Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564

2564

Published by Tnp., 2022-08-30 06:17:52

Description: 2564

Search

Read the Text Version

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5. ผลการคน้ หา ผลจากการคน้ หาจะเหน็ ภาพ ครุภณั ฑ์ รปู ท่ี 5.แสดงผลการคน้ หาครภุ ณั ฑ์ ผลจากการคน้ หาทำให้ ทราบตำแหน่งท่ีตั้ง และ รายละเอยี ดต่างๆ ของ ครภุ ณั ฑ์ รูปที่ 6.แสดงผลการค้นหาตำแหนง่ ครุภณั ฑ์ 441

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ตารางเปรียบเทยี บการใชฐ้ านขอ้ มลู กับ ไมใ่ ชฐ้ านข้อมูล ตารางเปรียบเทียบการใชฐ้ านขอ้ มูล กับ ไม่ใชฐ้ านขอ้ มลู กิจกรรม ใช้ฐานข้อมูลครภุ ณั ฑ์ ไมใ่ ชฐ้ านข้อมลู ครุภณั ฑ์ ถามผรู้ ับผดิ ชอบ 1. การตรวจสอบครภุ ณั ฑ์ประจำปี คณะ บคุ ลากรทกุ คนสามารถคน้ หา เพราะ ถามผรู้ บั ผิดชอบ วศิ วกรรมศาสตร์ ทราบตำแหน่ง และรปู รา่ งลกั ษณะ ถามผ้รู ับผดิ ชอบ 2. อาจารยต์ อ้ งการทราบเครื่องมอื และรายละเอยี ด สามารถค้นหาผา่ นฐานข้อมลู ถามผู้รับผิดชอบ ในการทำวิจัย 3. นกั ศกึ ษาตอ้ งการทราบสถานทตี่ ั้งเครื่องมือ สามารถค้นหาท่ตี ้งั ผา่ น โทรศพั ทม์ อื ถือได้ 4. บุคลากรทกุ คนสามารถตอ้ งการหาครภุ ณั ท์ หาผ่านฐานขอ้ มลู จากตารางการเปรียบเทียบกิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับครุภัณฑ์เมื่อใช้ฐานข้อมูลครุภัณฑ์ บุคลากร และนักศึกษา สามารถค้นหาได้ โดยไม่ต้องถามผู้รับผิดชอบ ทำให้ลดเวลาการทำงาน พร้อมมีข้อมูลของครุภัณฑ์ทำให้มีความสะดวก และ รวดเรว็ ในการดูขอ้ มลู ของครุภัณฑ์ 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอย่างตอ่ เน่ืองในอนาคต - เพ่มิ คู่มอื การใชง้ านของครภุ ัณฑใ์ นรปู แบบ VDO ในฐานข้อมลู - เพิม่ รายละเอยี ดของเครื่องมอื อปุ กรณ์ (Spec) 11.2 จดุ แขง็ (Strength) หรือ สง่ิ ที่ทำไดด้ ีในประเดน็ ทน่ี ำเสนอ - สะดวก และง่ายในการค้นหาครภุ ณั ฑ์ 11. ประเดน็ (จุดเดน่ ) ที่เปน็ แนวปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ - เป็นฐานข้อมลู ทรี่ วบรวมขอ้ มลู ตา่ งๆ ของครภุ ัณฑ์ เชน่ ตำแหนง่ ที่ต้งั ภาพถ่าย รหัสครภุ ณั ฑ์ เป็นตน้ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2515 –ปีปัจจบุ นั - บคุ ลากรและนกั ศกึ ษาสามารถค้นหาข้อมลู ครภุ ัณฑไ์ ด้ด้วยตนเอง 12. เอกสารอา้ งอิง - https://chem.eng.psu.ac.th/new_chem/ 13. บทสรปุ ฐานข้อมูลครุภณั ฑส์ าขาวิศวกรรมเคมี เป็นโปรแกรมฐานข้อมลู ทีร่ วบรวมขอ้ มลู ครภุ ัณฑ์ทกุ ประเภทของสาขาวศิ วกรรมเคมี สรา้ งขึน้ เพอื่ เก็บรวบรวมขอ้ มลู ต่างๆ ของครภุ ัณฑ์ เพ่ือให้บุคลากร และนักศึกษา สามารถคน้ หาได้งาน สะดวก และรวดเร็ว หมายเหตุ – การรายงานผลการดำเนนิ งาน (Result) จะตอ้ งมคี วามสอดคลอ้ งกบั เป้าหมาย/วตั ถุประสงค์ของโครงการ - ลักษณะอักษร TH SarabunPSK ขนาด 14 pt. และใสห่ มายเลขหนา้ เว้นระยะขอบมาตรฐาน - จำนวนหนา้ ในการนำเสนอขอ้ มลู (รวมเอกสารอา้ งอิงและภาคผนวก) คอื จำนวนไมเ่ กนิ 10 หน้า (A4) 442

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ตั ิที่เปน็ เลิศ *************************************** 1. ชอ่ื เรอ่ื ง การใชง้ านเคร่อื งมือและความปลอดภัยในห้องปฏิบัตกิ ารวิศวกรรมสง่ิ แวดล้อม สาขาวิชา วศิ วกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขต หาดใหญ่ 2. โครงการ/กจิ กรรมดา้ น การเรยี นการสอนและคณุ ภาพบัณฑติ / ดา้ นงานวจิ ยั / ด้านการประกนั คณุ ภาพทางการศึกษาทส่ี อดคล้องกับขอ้ กำหนดของ Edpex “Education Criteria for Performance Excellence” ในประเดน็ ด้านการมมี าตรฐานของหอ้ งปฏบิ ัติการท่ี ปลอดภยั 3. ชื่อหน่วยงาน ห้องปฏบิ ตั กิ ารวิศวกรรมส่ิงแวดลอ้ ม สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธาและสง่ิ แวดล้อม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 4. ประเภทของโครงการ ประเภทที่ 2 5. คณะทำงาน 2.2 สายสนบั สนุน 1. รศ.ดร.ธนยิ า เกาศล ทป่ี รกึ ษาโครงการ 2. ดร.เชาวนา ยีร่ งค์ หัวหน้าห้องปฏิบตั กิ ารวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3. นางอมรรตั น์ หวลกะสนิ หัวหนา้ โครงการ/วทิ ยากร 4. นางสาวเพ็ญนภา ทองประไพ ผดู้ ูแลรับผิดชอบโครงการ/วิทยากร 5. นางสาวสพุ ศิ นนทะสร ผู้ประสานงานโครงการ 6. นางสาวจริ าพร ยวงใย ผปู้ ระสานงานโครงการ 6. การประเมินปญั หา/ความเส่ยี ง (Assessment) จากการดำเนินงานด้านการเรียนการสอน พบว่านักศึกษาหรือนักวิจัย รวมถึงผู้ใช้งาน หอ้ งปฏิบัติการมีความเส่ียงท่เี กดิ จากการบาดเจ็บขณะทำปฏบิ ัตกิ าร และเครือ่ งมอื วิทยาศาสตร์ เสียหาย รวมถึงปัญหาเคร่ืองแก้วแตกชำรดุ ซ่ึงปจั จยั ท่กี ่อให้เกิดความเสย่ี ง ประกอบดว้ ย • ผ้ปู ฏิบัตงิ านทีเ่ ก่ยี วข้องกับสารเคมขี าดความรู้ ความเขา้ ใจ • ผู้ปฏบิ ัตงิ านไมเ่ ขา้ ใจระบบการจดั การสารเคมแี ละของเสยี อนั ตราย • ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านไมม่ คี วามตระหนกั ในความเป็นอนั ตราย • ผู้ปฏบิ ตั งิ านไมท่ ราบขอ้ มลู ความปลอดภัยของสารเคมี • ผูป้ ฏบิ ตั ิงานใชง้ านเครือ่ งมอื วิทยาศาสตรผ์ ดิ พลาด โดยเพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน และปลอดภัยต่อส่ิงแวดล้อม เพิ่มประสิทธิภาพ การทำงานของห้องปฏิบัติการวิศวกรรมส่ิงแวดล้อม สังกัดสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและ สิง่ แวดลอ้ ม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ซง่ึ เปน็ ห้องปฏิบัติการดา้ นการ เรียนการสอน ที่มีการทำปฏิบัติการเกีย่ วข้องกบั สารเคมี จึงตระหนักถึงความสำคัญของการและ จัดหาแนวปฏบิ ัติเพื่อแกไ้ ขความเส่ียงท่ีจะเกิดขึ้น 443

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 7. เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 1. เพื่อทบทวนให้นักศึกษามีความเข้าใจมากข้ึนในการใช้งานเคร่ืองมือพื้นฐานประจำ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิศวกรรมส่งิ แวดลอ้ ม 2. เพ่ือความปลอดภัยของตัวนักศึกษาในการทำปฏิบัติการและลดอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดข้ึนจาก การใช้งานเครื่องมือผิดประเภท การโต้ตอบภาวะฉุกเฉินในกรณีต่าง ๆ รวมถึงหลักการ ปฐมพยาบาลกรณีต่าง ๆ 3. เพ่ือรับทราบกฎระเบียบการใช้งานห้องปฏิบัติการ ข้อกำหนดและอันตรายการใช้งาน สารเคมี ข้อกำหนดการจัดการของเสียอนั ตราย ของเสียจากการทดลอง 4. เพ่อื รบั ทราบระเบียบวิธีการเบิก-จ่าย ค่าสารเคมที ่ีเก่ยี วข้องกบั การวิเคราะหใ์ นเบ้อื งตน้ ได้ 8. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ 1. นักศึกษามีความเข้าใจมากข้ึนในการใช้งานเครื่องมือพื้นฐานประจำห้องปฏิบัติการ วิศวกรรมส่งิ แวดล้อม 2. นักศึกษามีความรเู้ รื่องความปลอดภัยของตัวนักศึกษาในการทำปฏิบตั ิการและลดอุบัติเหตุ ท่อี าจเกดิ ขนึ้ จากการใชง้ านเครื่องมอื ผดิ ประเภท 3. นักศึกษาทราบถึงกฎระเบียบการใช้งานห้องปฏิบัตกิ าร ระเบยี บการใชง้ านทถ่ี กู ต้อง 4. นกั ศกึ ษาเข้าใจหลกั การเบิก-จ่าย คา่ สารเคมีในเบอื้ งตน้ ได้ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวทางการปฏบิ ัติจริง (PDCA) ระยะเวลาดำเนนิ การ จำนวน 1 วนั (เรม่ิ ต้งั แต่ 8.30 น.-16.30 น.) โดยรายละเอยี ด ดำเนินการโดยการจะมรี ูปแบบของการบรรยายและการทำ Work Shop โดยมรี ายละเอยี ดดงั ภาพที่ 1 ภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดโครงการ 444

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากกรอบแนวคดิ โครงการ (ภาพที่ 1) สามารถอธบิ ายขั้นตอนการถ่ายทอดความรู้ไดด้ งั น้ี 1. การประมวลผลความรู้ก่อนการอบรม โดยการทำ Pre–Test ในประเด็นคำถามที่เก่ียวข้อง กับความปลอดภัย การใช้งานสารเคมี การโต้ตอบภาวะฉุกเฉิน และเครื่องมือทาง วิทยาศาสตร์ เปน็ เวลา 20 นาที เพ่ือใช้ดคู ะแนนพ้ืนฐานความร้ขู องผู้เขา้ ร่วมโครงการแต่ละ คน ซ่ึงแบบสอบถาม Pre-Test และ Post-Test ผ่านการตรวจสอบและปรับปรุงข้อมูล รว่ มกับหัวหน้าห้องปฏิบตั ิการวิศวกรรมสง่ิ แวดล้อมที่มีประสบการณ์และความเช่ียวชาญท้ัง ดา้ นสารเคมแี ละของเสียอันตราย ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อปฏิบตั ิท่ัวไป ท่ีควรทราบเกี่ยวกับสารเคมี 2) วัตถุประสงค์ของเคร่ืองมือเพื่อความปลอดภัย และ 3) ข้อ ปฏิบัติท่คี วรทราบภายในห้องปฏิบัตกิ ารวิศวกรรมสิ่งแวดลอ้ ม คิดเปน็ สดั ส่วนน้ำหนกั คะแนน 60, 30 และ 10 เปอร์เซน็ ต์ ตามลำดบั 2. ชมวิดีโอเก่ียวกับการใช้งานห้องปฏิบัติทางเคมีและอุบัติเหตุท่ีอาจเกิดขึ้นขณะทำปฏิบัติการ เพ่ือกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นถึงความสำคัญและตระหนักถึงอันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นได้ใน ห้องปฏิบตั ิการ 3. บรรยายเก่ยี วกับขอ้ กำหนดในการใช้งานห้องปฏิบัตกิ าร ระบบการจดั การสารเคมี ระบบการ จัดการของเสีย อุปกรณ์ความปลอดภัยและการโต้ตอบภาวะฉุกเฉิน การใช้งานเครื่องมือ ประจำห้องปฏิบัติการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมรวมถึงวิธีการตรวจวัดพารามิเตอร์พื้นฐาน ทางด้านวศิ วกรรมสิง่ แวดล้อม ใหน้ ักศกึ ษาทราบและปฏิบตั ติ ามเพ่อื ความปลอดภยั สงู สดุ 4. กิจกรรม Work Shop การใช้งานเครื่องมือ การทำ Work Shop โดยนำนักศึกษาเข้าดู เค รื่ อ ง มื อ พ ร้ อ ม ส า ธิ ต ก า ร ใช้ ง า น เค รื่ อ ง มื อ พ้ื น ฐ า น ท่ี ส ำ คั ญ แ ล ะ ใช้ ง า น บ่ อ ย ป ร ะ จ ำ ห้องปฏบิ ตั กิ าร เน่อื งจากการบรรยายเพยี งช่องทางสื่อสารอย่างเดียว อาจกระตนุ้ ให้นักศกึ ษา เกิดการเรียนรู้ในระดับหน่ึง แต่การทำกิจกรรม Work Shop เพิ่มขึ้นจัดเป็น Active Learning ท่ชี ่วยสร้างปฏสิ มั พันธร์ ะหว่างผบู้ รรยายและผู้เรยี น ซงึ่ จะทำให้การเรียนรู้นั้นเป็น การเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ทำให้นักศึกษาได้ปฏิบัติจริง เกิดประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลที่ตอ่ เนือ่ งและยาวนาน 5. การประมวลผลการทำ Post–Test ในประเด็นคำถามท่ีเกี่ยวข้องกับความปลอดภัย การ โต้ตอบภาวะฉุกเฉิน การใช้งานสารเคมี และเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เป็นเวลา 20 นาที ซ่ึงเป็นคำถามเดียวกับแบบสอบถาม Pre -Test ท่ีกำหนดนักศึกษาจะต้องผ่านเกณฑ์การ ทดสอบไม่ต่ำกว่า 80 % ของคะแนนแบบทดสอบ กรณีนักศึกษาไม่ผ่าน Post–Test จะให้ คำปรึกษาโดยนักวิทยาศาสตร์และให้ทำแบบทดสอบใหม่ นักศึกษาถึงจะผ่านและมีสิทธิใน การเขา้ ใช้งานห้องปฏิบัติการด้วยตนเอง 6. จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจโครงการ โดยการอบรมปี 2563 พัฒนาระบบงานให้มีการ ประเมินความพึงพอใจเพ่ิมขึ้นครั้งแรก ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลท่ัวไปของ แบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ และ ระดับการศึกษา 2) ประเด็นความพึงพอใจ และ 3) ข้อเสนอแนะต่อโครงการ เพ่ือใช้ประกอบการวางแผนงานเพ่ือดำเนินการตามหลักวงจร PDCA ในการปรับปรุงพัฒนาคณุ ภาพของโครงการตอ่ ไป เมื่อกำหนดกรอบแนวคิดและขั้นตอนการดำเนินการเรียบร้อย จึงนำไปสู่ขั้นตอนการถ่ายทอด ความรู้ในเร่ืองการใช้งานเครื่องมือและความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิศวกรรมส่ิงแวดล้อมแก่ นกั ศึกษาก่อนการทำปฏิบัตกิ ารด้วยตัวเอง 445

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 9.2 งบประมาณทใี่ ชใ้ นการจัดโครงการ-กิจกรรม (ถา้ ม)ี งบประมาณท่ีใชอ้ า้ งอิงจากงบประมาณจดั อบรมรอบปกี ารศึกษา 2563 ประกอบด้วย - คา่ อาหารกลางวนั และน้ำดมื่ สำหรับนกั ศึกษา คณาจารยแ์ ละบุคลากร (จำนวน 40 คน คนละ 80 บาท) เปน็ เงนิ 3,200.- บาท - คา่ อาหารวา่ งสำหรบั นักศกึ ษา คณาจารยแ์ ละบคุ ลากร - (จำนวน 40 คน คนละ 25 บาท จำนวน 2 ครั้ง ) เป็นเงิน 2,000.- บาท รวมเปน็ เงินท้งั สิน้ เปน็ เงิน 5,200.- บาท 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโนม้ ขอ้ มูลเชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทยี บกับ หน่วยงานภายใน/ภายนอก สำหรบั การวัดผลและผลลัพธ์ สามารถแบ่งออกเปน็ 3 ประเด็น รายละเอยี ดดังนี้ 1.การวัดผล โดยการกำหนดเป็นเงื่อนไขร่วมกับทางสาขาวิชาฯ กำหนดให้นักศึกษาทุกคนใน สาขาวิชาวิศวกรรมส่ิงแวดล้อมท่ีใช้งานห้องปฏิบัติการด้วยตัวเอง จะต้องผ่านโครงการฝึกอบรม เทา่ นั้น 2. การวัดผลจากการทำ Pre-Test และ Post – Test (อ้างอิงข้อมูลการจัดอบรมโครงการปี การศึกษา 2563) ซง่ึ ผลพบวา่ นกั ศึกษาทุกคนที่เข้ารว่ มมีคะแนน Post – Test ท่ีเพ่มิ ข้ึนทุกคน คิด เป็น 100 เปอร์เซ็นต์ โดยแสดงค่าเปรียบเทียบค่าร้อยละความเข้าใจดังตารางท่ี 1 และผลพบว่า นกั ศกึ ษาผ่านเกณฑ์การอบรมที่กำหนดรอ้ ยละ 80 ในครง้ั ที่ 1 ทุกคน ตารางที่ 1 เปรียบเทียบค่าร้อยละความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้งานเคร่ืองมือวิทยาศาสตร์และความปลอดภัยใน ห้องปฏิบัตกิ ารวิศวกรรมสิง่ แวดล้อมแก่นักศกึ ษาก่อนการทำปฏิบตั ิการด้วยตัวเอง ค่าร้อยละความรคู้ วามเขา้ ใจ กลุ่มตวั อย่าง เร่อื ง การใช้งานเครอ่ื งมือวทิ ยาศาสตร์และความปลอดภยั ใน หอ้ งปฏบิ ัติการวิศวกรรมสง่ิ แวดลอ้ ม กลุม่ ตัวอยา่ งปี 2562 (n=36) กล่มุ ตวั อย่างปี 2563 (n=30) ก่อนการอบรม หลังการอบรม 71.25 84.30 70.33 82.83 3. การวัดผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการฯ (อา้ งองิ ขอ้ มูลการจัดอบรมโครงการปี การศึกษา 2563) พบว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉล่ียความพึงพอใจต่อโครงการจัดอบรมใน ประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ 1. กระบวนการ/ขั้นตอนการให้ความรู้ 2. เจ้าหน้าที่/วิทยากร/ผู้ประสานงาน 3. การอำนวยความสะดวก 4. คุณภาพการให้บริการ 5. ความพึงพอใจของท่านต่อภาพรวมของ โครงการ เท่ากับ 4.38 ± 0.60 , 4.63 ± 0.55 , 4.25 ± 0.76 , 4.63 ± 0.51 และ 4.70 ± 0.46 446

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ตามลำดับ และทำการแปลผลค่าเฉลี่ยความพึงพอใจพบวา่ ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในระดับท่ี ดี ดีเยยี่ ม ดี ดีเยยี่ ม และดเี ยีย่ ม ตามลำดบั 11. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเน่ืองในอนาคต จากการดำเนินโครงการพบว่า นักศึกษามีความสนใจ และใหค้ วามร่วมมอื เป็นอย่างดี ซึง่ เห็นได้จากการทำ Pre-Test และ Post – Test วัดผลกอ่ นและหลงั การดำเนินโครงการ พบวา่ นักศกึ ษามคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในการใช้งาน ห้องปฏิบัติการ การใช้งานเครื่องมือ และข้ันตอนการเบิกจ่ายค่าสารเคมีได้ดีขึ้น นำไปสู่การใช้ งานห้องปฏิบัติการท่ีปลอดภัย สอดคล้องกับนโยบายความปลอดภัยของคณะกรรมการความ ปลอดภยั ห้องปฏบิ ตั ิการทางเคมีของมหาวทิ ยาลัย นโยบายความปลอดภัยระดบั คณะ และระดับ สาขาวิชาฯ ซึ่งถอื เป็นแนวปฏิบัติทด่ี ี และจะดำเนินการอย่างต่อเน่ือง เพ่ือพัฒนาห้องปฏิบัติการ ใหม้ มี าตรฐานท่ีสงู ข้ึน 11.2 จุดแข็ง (Strength) หรือ ส่ิงท่ีทำได้ดีในประเด็นที่นำเสนอ หลังจากนักศึกษาผ่านการอบรม พบว่า นักศึกษาสามารถนำข้อปฏิบัติและความรู้ท่ีได้จากการอบรมมาใช้กับเคร่ืองมือ อุปกรณ์ และสามารถดำเนินการใช้งานห้องปฏิบัติการได้อย่างปลอดภัย โดยนักศึกษาสามารถใช้งาน เครื่องมือได้ด้วยตนเอง จัดวางและจัดเก็บอุปกรณ์ได้เป็นระเบียบ ลดการทำงานซ้ำซ้อนของ เจ้าหน้าท่ี และมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้งานห้องปฏิบัติการ ถือเป็นแนวทางที่ส่งต่อให้กับ คณะกรรมการความปลอดภัยและอาชีวนามัยของคณะวิศวกรรมศาสตร์นำไปประยุกต์ใช้เป็น แนวปฏบิ ัตสิ ำหรับห้องปฏิบัตกิ ารอ่ืน ๆ ในคณะ ท่ีมีการเรยี นการสอนปฏิบัติการ จะตอ้ งแนะนำ ใหน้ กั ศึกษาทราบถงึ แนวปฏบิ ัตแิ ละความปลอดภัยของผู้ใช้งานห้องปฏิบัตกิ ารนน้ั ๆ 11.3 กลยุทธ์ หรือ ปัจจัยทีน่ ำไปสู่ความสำเร็จ เป็นโครงการที่ห้องปฏิบตั ิการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญในการทำปฏิบัตกิ ารท่ีปลอดภัย ลดอันตรายความเส่ียงท่ีอาจ เกิดขึน้ เพ่อื ความปลอดภยั ของผทู้ ำปฏบิ ตั ิการและสงิ่ แวดล้อม จงึ กำหนดเป็นเงื่อนไขรว่ มกบั ทาง สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและส่ิงแวดล้อม กำหนดให้นักศึกษาทุกคนในสาขาวิชาวิศวกรรม ส่ิงแวดล้อมที่ใช้งานห้องปฏิบัติการด้วยตัวเองจะต้องผ่านโครงการฝึกอบรมเท่านั้น ถึงจะมีสิทธิ์ เข้าใช้งานห้องปฏิบัติการเพื่อทำโครงงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ได้ ทำให้นักศึกษาตระหนักถึง ความสำคัญและเขา้ รว่ มกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 12. ประเดน็ (จุดเด่น) ทเ่ี ป็นแนวปฏิบตั ิท่ีเป็นเลศิ โครงการท่สี อดคลอ้ งกบั นโยบายความปลอดภยั ของคณะกรรมการความปลอดภยั หอ้ งปฏิบัตกิ ารทาง เคมีของมหาวิทยาลัย นโยบายความปลอดภัยระดับคณะ ที่เห็นความสำคัญของมาตรฐานความปลอดภัยใน ห้องปฏิบัติการ ซ่ึงผู้ดำเนินการหลักคือนักวิทยาศาสตร์ประจำห้องปฏิบัติการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ท่ีทราบ ขอ้ มลู และสถานการณภ์ ายในห้องปฏิบตั ิการท่ดี ูแล รวมถงึ ข้อมูลขา่ วสารที่มกี ารพฒั นาทางด้านมาตรฐานความ ปลอดภัยอย่างต่อเน่ือง โดยสามารถนำมาถ่ายทอดให้กับผู้ท่ีเก่ียวข้องได้รับทราบและถือปฏิบัติ เพ่ือความ ปลอดภัยทั้งต่อผู้ใช้งานและต่อส่ิงแวดล้อม และเม่ือผู้ใช้งานห้องปฏิบัติการได้ผ่านการอบรมแล้ว พบว่า นักศึกษาสามารถปฏิบัติตามข้ันตอนการใช้งานห้องปฏิบัติการได้อย่างถูกต้อง สามารถใช้งานเคร่ืองมือใน ห้องปฏิบัติการได้เองโดยไม่มีการถามซ้ำ สามารถจัดวางและจัดเก็บอุปกรณ์ได้อย่างเป็นระเบียบ สามารถ จัดเก็บของเสียได้อย่างถูกต้อง สามารถใช้งานอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยได้ ซ่ึงส่งผลให้นักศึกษามีความ ปลอดภยั มากขึ้น และลดการทำงานซ้ำซอ้ นของเจา้ หนา้ ทีไ่ ด้ 447

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 13. เอกสารอ้างอิง Napharat Khananthai and Chitsanuphong Pratum. ( 2 0 1 6 ) . The Effects Knowledge Distribution in Scientific Laboratory Safety Management on Understandarding of Students, Faculty of Environment and Resource Studies, Mahidol University, Salaya. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), (163-172). 14. บทสรปุ จากผลการให้ความรู้เรื่องการใช้งานเคร่ืองมือวิทยาศาสตร์และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ วศิ วกรรมสิ่งแวดล้อมแก่นักศึกษาก่อนการทำปฏิบัติการด้วยตัวเอง นักศึกษากลุ่มตัวอย่างยังมีความรู้ในเร่ือง ดงั กล่าวท่นี ้อย จำเป็นต้องมีการให้ความรเู้ พิ่มเติมในส่วนของขน้ั ตอนและข้อปฏบิ ัติการใช้งาน แนวปฏิบัตกิ าร ใช้งานสารเคมี หลักการใช้งานเครื่องมือวิทยาศาสตร์แต่ละชนิด ตลอดถึงอุปกรณ์ความปลอดภัยใน หอ้ งปฏบิ ัติการ พรอ้ มหลกั การปฐมพยาบาลและการโต้ตอบภาวะฉุกเฉนิ จากกลุม่ ตวั อย่างนกั ศึกษาทส่ี นใจเข้า ร่วมในปี 2562 และ 2563 จำนวน 36 คน และ 30 คน ตามลำดับ โดยการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการอบรม ผา่ นการทดสอบก่อนการอบรมและหลังการอบรมด้วยสถิติทดสอบที พบว่า ในปี 2562 และ 2563 มีค่าสถิติ ทดสอบทีเท่ากับ 5.88 และ 7.17 ตามลำดับ ท่ีระดับนัยสำคัญ 0.00 ซึ่งน้อยกว่า 0.05 (p < 0.05) แสดงให้ เห็นว่า ผลการได้รับความรู้หลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้ง 2 ปีการศึกษา และมีค่าเฉลี่ยด้านความพึงพอใจของการจัดโครงการในปี 2563 ในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ 1.กระบวนการ/ ขั้นตอนการให้ความร้รู ะดับดี 2. เจ้าหน้าท่ี/วทิ ยากร/ผู้ประสานงานมคี ่าความพึงพอใจในระดับดเี ยยี่ ม 3. การ อำนวยความสะดวกมีคา่ ความพงึ พอใจในระดับดี 4. คุณภาพการให้บริการมีค่าความพึงพอใจในระดับดเี ย่ยี ม 5. ความพึงพอใจของทา่ นตอ่ ภาพรวมของโครงการมคี ่าความพงึ พอใจในระดับดีเย่ียม การสรา้ งความตระหนัก ท่ีตรงกับหัวข้อที่ต้องการและทัศนคติที่มีผลต่อพฤติกรรม สามารถสร้างได้โดยกิจกรรมการส่งเสริมที่มี ประสิทธิภาพ ถงึ แมจ้ ะมีวธิ กี ารที่หลากหลาย แต่วัตถปุ ระสงค์จะตอ้ งชัดเจนเหมือนเดมิ คือ เพอื่ เพ่มิ การควบคุม ความสูญเสีย ลดความผิดพลาดและอุบัติเหตุ ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับการใช้กิ จกรรมท่ี หลากหลายอยา่ งเหมาะสม และเข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างแทจ้ รงิ 448

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ภาพประกอบการดำเนนิ โครงการ ภาพท่ี 2 นกั ศกึ ษาทเี่ ข้าร่วมโครงการปี 2563 ร่วมกับหวั หน้าสาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธาและสงิ่ แวดลอ้ มและวิทยากร ภาพที่ 3 บรรยากาศกล่าวเปดิ โครงการอบรมปี 2563 โดยหัวหนา้ หอ้ งปฏิบตั กิ ารส่งิ แวดล้อมและภาคทฤษฏีช่วงเชา้ 449

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ภาพประกอบการดำเนินโครงการ(ตอ่ ) ภาพท่ี 4 บรรยากาศการทำ Work Shop ชว่ งบา่ ย ภาพท่ี 5 ภาพที่ 4 บรรยากาศการทำ Work Shop ช่วงบา่ ย โดยการใชง้ านเคร่อื งมือจรงิ หมายเหตุ การจัดอบรมการใช้งานเคร่ืองมือและความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ประจำปีการศึกษา 2564 เนื่องจาก สถานการณ์โรคระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019 ทางผู้จัดอบรมได้ดำเนินโครงการอบรมใน รปู แบบออนไลน์ ในวนั ท่ี 28 มกราคม 2565 ซง่ึ รูปแบบดำเนนิ การปรับปรุงเนื้อหาเฉพาะทฤษฎีเท่าน้ัน ไม่สามารถ ให้นักศึกษาเข้าทำ Work Shop ได้ และมีนักศึกษาเพียง 12 คนที่เข้าร่วมโครงการ เน่ืองจากโครงงานวิจยั เปลี่ยน รปู แบบไม่ต้องทำปฏิบัติการเพ่ือให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ผลพบว่าหลังอบรมซ่ึงนักศึกษาท้ัง 12 คน สามารถ ทำคะแนน Post-Test ผ่านเกณฑ์ 80 % ทกุ คน 450

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏิบตั ิที่เปน็ เลิศ *************************************** 1.ชอ่ื เรือ่ ง การจดั ทา่ ให้นมบุตร สำหรับมารดาหลังผา่ ท้องทำคลอด 2.โครงการด้าน งานวจิ ัย 3.ช่อื หน่วยงาน หอผู้ป่วยพเิ ศษสตู กิ รรม โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4. ประเภทของโครงการ ประเภทที่2 แนวปฏบิ ัตทิ ่ีดี สายสนับสนนุ 5.คณะทำงานพัฒนาแนวปฏิบัติท่เี ปน็ เลิศ 5.1 นางนรู ีฮา ฤทธ์ิหมนุ พยาบาลชำนาญการพิเศษ หอผ้ปู ว่ ยพิเศษสูติกรรม 5.2 นางสาวอญั ชลี อินทสร พยาบาลชำนาญการ หอผู้ปว่ ยพิเศษสูติกรรม 6.การประเมินปัญหา/ความเส่ียง การผ่าตัดทุกชนิดทำให้มีการฉีกขาดของเนื้อเยือ่ มีความเจ็บปวดเกิดขึ้น โดยเฉพาะใน 24 ชั่วโมงแรก และจะเพ่ิมขึน้ เมื่อมีการเปล่ียนท่าหรือขยับตัว1,2,3 ความปวดนอกจากจะมีผลเสยี ต่อวัยวะและระบบต่างๆ ทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจแล้วยังเป็นอุปสรรคต่อการสร้างความผูกพันระหว่างมารดาและบุตรโดยเฉพาะการกระตุ้นให้นมบุตรในทา่ พ้นื ฐาน คือ ทา่ ลูกนอนขวางบนตัก (Cradle hold) ทา่ ลกู นอนขวางบนตกั แบบประยกุ ต์ (Modified /cross cradle hold) ท่า อุ้มลูกฟุตบอล (Clutch hold หรือ Football hold) ท่านอนตะแคง (Side lying position) เพราะทุกท่าต้องให้มารดาขยับ เปลี่ยนท่าจากนอนหงายปกติเป็นท่านั่งหรือนอนตะแคงซึ่งก่อให้เกิดความปวดมากขึ้น2,4,5 มีการศึกษาในต่างประเทศพบว่า ความปวดมผี ลกระทบตอ่ การกระตุ้นนมบตุ รในระยะแรกหลังผา่ ท้องทำคลอดและการเลกิ ให้นมบุตรเพราะการผ่าตัดทำให้เกิด ความปวด ไม่สะดวกสบาย ซึ่งระดับความปวดนี้จะสูงใน 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด และกลุ่มตัวอย่างถึงร้อยละ78 มีระดับ ความปวด >46, คณะทำงานตระหนกั ถงึ ความจำเปน็ ในการจดั การความปวดแผลผา่ ตดั ขณะให้นมบตุ รของมารดาหลงั ผา่ ทอ้ งทำ คลอดใน 24 ชว่ั โมงแรกทเ่ี หมาะสม 7.เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อคิดค้นแนวปฏิบัติที่ดีต่อการให้นมบตุ รสำหรับมารดาหลังผา่ ท้องทำคลอดใน 24 ชัว่ โมงแรกท่สี ามารถลดระดบั ความปวดแผลผา่ ท้องทำคลอดและบุตรสามารถดดู นมมารดาได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 8.ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั ได้แนวปฏบิ ัติทด่ี อี ันจะก่อใหเ้ กิดประโยชน์ ดังนี้ ประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงาน -เปน็ ข้อมูลเบอ้ื งต้นในการศึกษา วจิ ยั -ตอบสนองงานบริการพยาบาลของหน่วยงานเนื่องจากผรู้ ับบรกิ ารมากกว่าร้อยละ 50 เปน็ มารดาหลัง ผา่ ท้องทำคลอด ประโยชนต์ ่อผ้รู ับบรกิ าร -ประยกุ ตใ์ ช้งา่ ยและประหยดั 451

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประโยชน์ตอ่ วชิ าชีพ -กระตุน้ ให้มกี ารศึกษาในบทบาทอสิ ระของวชิ าชีพมาสร้างสรรคอ์ งคค์ วามรแู้ ละแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ี ทางการพยาบาล -กระบวนการสังเคราะห์แนวปฏิบตั ิ สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้กบั การพยาบาลสาขาอื่นหรือวชิ าชีพอื่น 9. การออกแบบกระบวนการ เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหาจากงานประจำเพือ่ สังเคราะห์ให้เกิดแนวปฏิบัติใหม่ๆท่เี ปน็ เลศิ โดยใชแ้ นวคดิ ของการจดั การความรู้ทางการพยาบาล (knowledge management in nursing) มาเป็นกรอบแนวคิดใน การศึกษา โดยผู้เขียน (knowledge practitioner) เสาะหาความรู้ (acquire) และสั่งสมความรู้ (accumulate) จาก ข้อจำกัดของมารดาหลังผ่าท้องทำคลอด รวมทั้งหลักฐานทางวิชาการ มาผสมผสานกับประสบการณ์ในการปฏิบัติการ พยาบาล ประสบการณ์ตรงของผู้เขยี น มาเป็นแนวทางในการสังเคราะห์ (synthesis) เพอื่ สร้าง (create) ท่าให้นมบุตรของ มารดาหลงั ผ่าทอ้ งทำคลอดที่เหมาะสมช่วยลดระดับอาการปวดแผลผ่าท้องทำคลอดใน 24ชั่วโมงแรกและบุตรสามารถดูดนม มารดาได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย ภาวะคุกคามของขั้นตอนการจัดท่าให้นมบุตรพื้นฐานทั้ง4 ท่าน้ัน พบว่าไม่เหมาะสมกับมารดาหลังผ่าท้องทำคลอดเพราะทุกท่าจำเป็นต้องให้มารดา ขยับ ปรับเปลี่ยนท่า พลิกตัวจากท่านอน หงายเป็นท่าน่ัง หรือนอนตะแคง ผู้เขียนจึงหาโอกาสพัฒนาท่าให้นมบุตรที่เหมาะสมขึ้นใหม่โดยใช้ช่ือวา่ ท่านอนหงายแบบ ประยุกต์ (Modified Lying Position: MLP) แล้วนำแนวคดิ ปรกึ ษาผู้ทรงคุณวฒุ ิกอ่ นนำไปศกึ ษาและปฏิบัติจริงในหนว่ ยงาน และประเมนิ ผลงานด้วยระเบยี บ วิธวี จิ ยั เปน็ การพฒั นางานประจำส่งู านวจิ ยั (routine to research) 7,8 ขนั้ ตอนและวธิ ีการวเิ คราะห/์ สังเคราะห์ เครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการสงั เคราะห์แนวปฏิบัตคิ รงั้ นี้ใช้วงจรคณุ ภาพของแดมมิ่ง (PDCA) 9 การประยุกตใ์ ชว้ งจรเดมม่ิง (PDCA) ในงานสงั เคราะห์แนวปฏิบัตมิ ีดงั นี้ 1) ค้นหาปัญหาและความสำคัญ ดว้ ยการระดมความคดิ ในหน่วยงานจึงเห็นความจำเปน็ ในการแกไ้ ขปญั หาการจดั ทา่ ให้นมบตุ รในมารดาหลังผ่าทอ้ งทำคลอดด้วยเหตุผลดงั ต่อไปน้ี - มารดาหลังผา่ ทอ้ งทำคลอดเพ่ิมขึ้น -.การผ่าท้องทำคลอดก่อใหเ้ กิดความปวด - ความปวดสง่ ผลกระทบต่อการกระต้นุ นมมารดาใน 24 ชัว่ โมงแรกหลังผา่ ตดั 2.) แสวงหาเครอ่ื งมือเพือ่ ใชใ้ นการแก้ไขปัญหา โดยวางแผนใช้วงจรเดมม่ิง (PDCA) ดังรายละเอียดตอ่ ไปนี้ 1. Plan วางแผนหาแนวปฏิบัตเิ พื่อจัดท่าให้นมบุตรพื้นฐานที่เหมาะสมกับมารดาหลังผ่าท้องทำคลอด เมื่อวิเคราะห์การจดั ท่าใหน้ มบตุ ร พบวา่ มีขัน้ ตอน ทั้งหมด 4 ช่วง คอื 1. ก่อนให้นมบุตรหรอื ระรยะพกั หมายถึง ระยะที่มารดานอนพักกอ่ นให้นมบตุ ร 2. เตรียมให้นมบุตร หมายถงึ ระยะทม่ี ารดาเจัดทา่ ให้นมบตุ ร 3. ขณะใหน้ มบตุ ร หมายถึง ระยะทมี่ ารดาใหบ้ ตุ รดดู นม 4. ใหน้ มบตุ รเสร็จ หมายถึง ระยะท่ีบตุ รดูดนมมารดาเสร็จและมารดาเตรยี มเขา้ สรู่ ะยะพกั 452

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. Do วางแนวปฏบิ ตั กิ ารจดั ให้นมบุตรทา่ พื้นฐาน ดงั รายละเอยี ดในตาราง ขั้นตอน ตารางแสดงรายละเอยี ด ขั้นตอนการจัดทา่ ใหน้ มบตุ รทา่ พื้นฐาน ทา่ ให้นมบตุ รพนื้ ฐาน การให้นมบุตร ลกู นอนขวางตัก ลูกนอนขวางตักแบบ อมุ้ ลกู บอล นอนตะแคง ประยุกต์ กอ่ นใหน้ มบุตร มารดานอนหงายหนุน มารดานอนหงายหนุน มารดานอนหงายหนุน มารดานอนหงายหนุนหมอน หมอน 1ใบ หมอน 1ใบ หมอน 1ใบ 1ใบ เ ต ร ี ยม ให้นม ไขหวั เตยี งมารดาให้สูง ไขหัวเตยี งมารดาให้สูง ไขหวั เตียงมารดาให้สูง มารดาขยับจากท่านอนหงาย บุตร จนเปน็ ท่าน่งั จนเป็นท่าน่ัง จนเป็นทา่ น่งั เป็นทา่ นอนตะแคงขา้ ง ขณะใหน้ มบุตร บุตรดูดนมมารดาใน -บุตรดูดนมมารดาใน บุตรดูดนมมารดาใน บุตรดูดนมมารดาในท่านอน ท่านั่งโดย เป็นท่าที่อุ้ม ท่านั่งโดยโดยใช้มือ ทา่ นั่งโดยบตุ รอย่ใู นท่า ตะแคงโดยมารดา-บุตรนอน บุตรวางไว้บนตัก มือ ข้างเดียวกับเต้านมท่ี กึ่งตะแคงกึ่งนอน ตะแคงเข้าหากัน มารดานอน และแขนประคองตัว บุตรดูดประคองเต้า หงาย ขาชี้ไปทางด้าน ศีรษะสูงเล็กน้อย หลังและ บุตรไว้ ให้บุตรนอน นม มืออีกข้างรองรับ หลังของมารดา มือแม่ สะโพกตรง ให้ปากบุตรอยู่ตรง ต ะ แ ค ง เ ข ้ า ห า ตั ว ต้นคอและท้ายทอย จับที่ต้นคอและท้าย กับหัวนมของมารดา มือที่อยู่ มารดา ศีรษะบุตรอยู่ ของบุตรแทน ท่านี้ ทอยของบุตร กอด ด้านล่างประคองตัวบุตรให้ชิด สูงกว่าลำตัวเล็กน้อย เหมาะสำหรับนำบุตร บุตรให้กระชับกับ ลำตัวมารดา อาจใช้ผ้าขนหนู ท้ายทอยบุตรวางอยู่ เข้าอมหัวนม จะช่วย สีข้างมารดา บุตรดูด ที่ม้วนไว้หรือหมอนหนุนหลัง บริเวณแขนของมารดา ในการควบคุมการ นมจากเต้านมข้าง บตุ รแทนแขนมารดากไ็ ด้ มือท่ี มืออีกข้างประคองเต้า เคลื่อนไหวของศีรษะ เดียวกับมือที่จับบุตร อยู่ด้านบนประคองเต้านมใน นมไว้ บตุ รได้ดี มืออีกข้างประคองเต้า ช่วงแรกที่เริ่มเอาหัวนมเข้า นมไว้ ปากบุตร เมื่อบุตรดูดได้ดี ก็ ขยับมอื ออกได้ ให้บุตรดูดนม วางบุตรบนที่นอน วางบุตรบนที่นอน วางบุตรบนที่นอน มารดาขยับจากทา่ นอนตะแคง เสร็จ และมารดานั่ง/นอน และมารดานั่ง/นอน และมารดานั่ง/นอน กลับไปสู่ท่านอนหงายหนุน พกั บนเตยี ง พกั บนเตยี ง พกั บนเตียง หมอน1ใบ 3. Check เม่ือปฏบิ ัตติ ามแนวทางการจดั ท่าใหน้ มบุตรพื้นฐานดังรายละเอยี ดในตารางท่ี 1 พบวา่ การให้นมบุตร ท่า ลูกนอนขวางตัก ท่าลูกนอนขวางตักแบบประยุกต์ และ ท่าอุ้มลูกฟุตบอล นั้นไม่เหมาะสมสำหรับมารดาหลังผ่าท้องทำคลอด เนอื่ งจากมารดาจำเป็นตอ้ ง ขยับ ปรบั เปล่ยี นท่า พลิกตวั จากนอนหงายเปน็ ท่านง่ั ทำให้ปวดแผลผ่าตดั มากขึ้น10,11 ดังนั้นท่า ทเ่ี หมาะสมคือ ทา่ นอนตะแคง 453

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 4. Act สรา้ งแนวปฏบิ ัติการพยาบาลเพอื่ จดั ท่าใหน้ มบุตร สำหรับมารดาหลงั ผ่าทอ้ งทำคลอด ดงั นี้ กิจกรรมพยาบาล เหตุผล 1.สรา้ งสัมพันธภาพทีด่ ีกบั มารดาด้วยทา่ ทีเป็นกนั เอง : เพ่ือใหเ้ กิดความไวว้ างใจ 2. เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก ความคับข้องใจโดย : เพื่อให้มารดามีความรู้สึกว่า พยาบาลเข้าใจและ พยาบาลรับฟังคำบอกเล่าของมารดาด้วยท่าทีเอาใจใส่ ยอมรับความรู้สึกของตนเองและยินดีให้ความ สังเกตสีหน้า และพฤตกิ รรมการแสดงออก ช่วยเหลือตลอดเวลา 3. เตรียมเจตคตแิ ละสภาพความพร้อมต่อการให้นมบุตรแรก : เพื่อประเมินเจตคติ ความพร้อมทางร่างกาย คลอด ประสบการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา และ -ประเมนิ ทางกายภาพ เชน่ ลกั ษณะหวั นม ลานนม ส่งเสริมให้มารดาตระหนักถึงคุณค่าและ ความสามารถของตนเองในการเลี้ยงบุตรด้วยนม -ประเมินทางจิตใจเช่น ความรู้ ความต้องการ ประสบการณ์ มารดา การเล้ียงลูกด้วยนมแม่ -ชมเชย ให้กำลังใจและพร้อมให้ความช่วยเหลือเมื่อมารดามี ความตอ้ งการ 4.ประเมินและให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดท่าให้นมบุตรท่ี : การจัดท่าให้นมบุตรที่เหมาะสม ช่วยให้แผลผ่าตัด เหมาะสมกบั มารดาหลังผ่าตัด ไม่กระทบกระเทือน ลดระดับอาการปวดแผลผ่าตดั - ให้ความช่วยเหลือ ด้วยการจัดท่าให้นมบุตรที่เหมาะสม ได้ ส่งผลให้สามารถกระตุ้นนมแม่หลังผ่าท้องทำ ดงั นี้ คลอดได้เร็ว และสมำ่ เสมอย่ิงข้นึ -24 ชม.แรกให้นมในท่านอนตะแคงซา้ ยหรอื ขวา -24 ชม.หลังผ่าตัดให้ทา่ นอนตะแคงซา้ ยหรอื ขวา ทา่ ลกู นอนขวางตกั ทา่ ลูกนอนขวางตกั แบบประยุกต์ และ ทา่ อุ้มลูกฟตุ บอล 3) ติดตามประเมินผลการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล การจัดท่าให้นมบุตรพื้นฐาน สำหรับมารดาหลังผ่าท้องทำ คลอด พบว่า การให้นมบตุ รทา่ นอนตะแคงยงั คงทำใหม้ ารดาหลังผา่ ทอ้ งทำคลอดมอี าการปวดแผลผ่าตัด เพราะมารดายังต้อง มีการขยับ ปรบั เปลยี่ นทา่ พลิกตัว จากทา่ นอนหงายปตเิ ป็นทา่ นอนตะแคง ซ่งึ การนอนตะแคง จะทำใหก้ ลา้ เนอ้ื หนา้ ท้องท่ียืด ขยายจากการตั้งครรภ์หย่อนลงด้านข้าง ทำให้เกิดการกระทบกระเทือน ดึงรั้งแผลผ่าท้องทำคลอดทำให้ระดับความปวดแผล ผา่ ตัดเพมิ่ ขน้ึ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยอ่ืนๆ ที่มารดาไม่สามารถกระตุ้นนมมารดาใน 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัดในท่าพื้นฐาน เช่น ไม่ สามารถให้บตุ รดูดนมไดใ้ น 6 ชวั่ โมงแรกหลังผา่ ตัดเพราะมารดาถูกจำกัดให้นอนราบ ในรายท่ไี ด้รบั ยาระงบั ความรู้สึกทางช่อง ไขสนั หลงั ไมส่ ะดวกเพราะต้องคาสายใหส้ ารน้ำทางหลอดเลอื ดดำสว่ นปลาย และคาสายสวนปสั สาวะ และมารดายงั ตอ้ งการ การพกั ผ่อนเพราะความเหน่ือยลา้ จากการผ่าตัด เปน็ ต้น ผ้เู ขยี นเห็นความสำคัญ และความจำเปน็ ต้องพฒั นางานดว้ ยการมอง หาทางเลือกใหม่ จึงไดว้ างแผนการพัฒนางานโดยใช้ วงจรเดมมิง่ (PDCA) อกี เปน็ รอบท่2ี 454

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การคิดค้น เพื่อปรบั ปรงุ และพฒั นาแนวปฏิบตั ิรอบที่ 2 1. Plan ระดมสมอง เพอ่ื หาแนวทางในการพัฒนางานข้ันตอ่ ไป ด้วยการวิเคราะหต์ ามกรอบแนวคดิ ตา่ งๆ และผล การประเมินการใชแ้ นวปฏบิ ตั ใิ นการพัฒนางานรอบที่1 สรปุ ว่า ปัญหาการให้นมบตุ รหลังผา่ ท้องทำคลอดใน 24 ชั่วโมงแรก คอื ความปวดจากการจัดท่าให้นมมารดาทไี่ มเ่ หมาะสม และจากการวิเคราะหก์ ารจัดทา่ ใหน้ มบตุ รพน้ื ฐานไมส่ ามารถขจัด ปัญหานี้ได้ ในการระดมสมองครงั้ นี้ผู้คิดค้นไดน้ ำเสนอทางเลอื กใหมค่ อื การให้นมบตุ รท่านอนหงาย โดยใช้ช่ือว่า ท่านอนหงาย แบบประยกุ ต์ (Modified Lying Position: MLP) ซ่ึงทีป่ ระชมุ เหน็ ชอบ จงึ ได้นำแนวคิดน้ปี รกึ ษาผู้ทรงคุณวฒุ ิ 2ท่าน คือ อาจารย์แพทยห์ นว่ ยเวชศาสตรฟ์ นื้ ฟู ภาควิชาออโธปิดกิ ส์ และอาจารย์แพทย์ประจำหน่วยทารกแรกเกดิ ภาควิชากุมารเวช ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ซ่ึงผทู้ รงคุณวฒุ ิท้งั 2 ทา่ นเห็นควรใหท้ ดลองปฏบิ ตั แิ ละศึกษาต่อไปได้ 2. Do ลงมือปฏบิ ัตกิ ารใหน้ มบุตรทา่ นอนหงายแบบประยุกต์ ดังรายละเอียดในตาราง ตาราง แสดงรายละเอียด ขนั้ ตอนการจัดท่าให้นมบตุ รทา่ นอนหงายแบบประยุกต์(MLP) ขัน้ ตอนการใหน้ มบุตร รายละเอยี ด ภาพแสดง กอ่ นให้นมบตุ ร มารดานอนหงายหนุนหมอน 1ใบ เตรียมให้นมบตุ ร มารดานอนหงายชันเข่าทั้งสองข้างสอดหมอน รองใตเ้ ขา่ ขณะใหน้ มบตุ ร มารดาให้บุตรดูดนมในท่านอนหงาย มีหมอน รองใต้เข่า หลังและสะโพกตรง โดยบุตรนอน ด้านข้างของมารดาในท่าตะแคงเข้าหามารดา บนที่นอน/หมอนที่มีความยาวตั้งแต่หัวไหล่ มารดาจนถึงสะโพก (มีความยาว และความ กว้างพอที่จะรองรับตวั บตุ รได้) และมารดาใช้วง แขนโอบกอดบุตร โดยให้ศีรษะบุตรอยู่บนต้น แขนของมารดา แหงนคอเล็กน้อย /และ/หรือ ใช้ผ้าขนหนูที่ม้วนไว้หรือหมอนหนุนศีรษะบุตร เพื่อปรับระดับปากของบุตรให้อยู่ในระดับพอดี 455

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ข้ันตอนการให้นมบุตร รายละเอยี ด ภาพแสดง กับหัวนมมารดามืออีกข้างประคองเต้านมใน ช่วงแรกที่เริ่มเอาหัวนมเข้าปากบุตร เมื่อบุตร ดดู ไดด้ ี กข็ ยบั ออกได้ ให้นมบุตรเสรจ็ ขยับเอาหมอนรองใต้เข่ามารดาออกและนอน หงายหนุนหมอน1ใบเชน่ เดิม 3. Check จะเห็นได้ว่าขั้นตอนการจัดท่าให้นมบุตรท่านอนหงายแบบประยุกต์นั้นมารดาไม่จำเป็นต้อง เปลี่ยนท่า พลิกตัว เพยี งแตข่ ยับเพ่อื สอดหมอนรองใต้เขา่ ระดบั อาการปวดแผลผ่าท้องทำคลอดจึงไมเ่ พมิ่ ขึ้น ดงั ภาพเปรียบเทียบน้ี Positioning SLP MLP Breastfeeding Resting Positioning Feeding Returning SLP=Side Lying Position MLP=Modified Lying Position ภาพ แสดงเปรยี บเทียบรายละเอยี ดขนั้ ตอนการให้นมบตุ ร ท่า MLP และ SLP 456

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4. Act สรา้ ง แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาล การจัดท่าให้นมบตุ ร สำหรับมารดาหลังผ่าทอ้ งทำคลอด ดังน้ี กจิ กรรมพยาบาล เหตผุ ล 1.สรา้ งสมั พนั ธภาพทีด่ ีกับมารดาด้วยทา่ ทีเป็นกันเอง : เพอ่ื ให้เกดิ ความไวว้ างใจ 2. เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก ความคับข้องใจโดย : เพื่อให้มารดามีความรู้สึกว่า พยาบาลเข้าใจและยอมรับ พยาบาลรับฟังคำบอกเล่าของมารดาด้วยท่าทีเอาใจใส่ ความรู้สกึ ของตนเองและยินดใี ห้ความชว่ ยเหลือตลอดเวลา สงั เกตสีหน้า และพฤติกรรมการแสดงออก 3. เตรียมเจตคติและสภาพความพร้อมต่อการให้นมบุตร : เพอื่ ประเมนิ เจตคติ ความพร้อมทางรา่ งกายประสบการณ์ แรกคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา และส่งเสริมให้มารดาตระหนัก -ประเมินทางกายภาพ เชน่ ลักษณะหวั นม ลานนม ถึงคุณค่าและความสามารถของตนเองในการเลี้ยงบุตรด้วย -ประเมินทางจติ ใจ เชน่ ความรู้ ความตอ้ งการ ประสบการณ์ นมมารดา การเลีย้ งลกู ด้วยนมแม่ -ชมเชย ให้กำลงั ใจและพร้อมใหค้ วามช่วยเหลอื เม่ือมารดามี ความต้องการ 5. แนะนำให้ครอบครัวและญาติแสดงพฤติกรรมให้ทราบว่า : เพื่อให้มีกำลังใจในการปรับตัวกับบทบาทใหม่ได้อย่าง มารดามคี ุณคา่ เปน็ ท่ีต้องการของครอบครัว มีเจตคตทิ ี่ดีต่อ เหมาะสม การให้นมบตุ ร 4.ประเมินและให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดท่าให้นมบุตรท่ี : การจัดท่าให้นมบุตรที่เหมาะสม ช่วยให้แผลผ่าตัดไม่ เหมาะสมกบั มารดาหลังผ่าตดั กระทบกระเทือน ลดระดับอาการปวดแผลผ่าตัดได้ ส่งผล ให้สามารถกระตุ้นนมแม่หลังผ่าท้องทำคลอดได้เร็ว และ - ให้ความช่วยเหลือ ด้วยการจัดท่าให้นมบุตรที่เหมาะสม สม่ำเสมอยง่ิ ขึน้ ดงั น้ี -24 ชม.แรกใหน้ มในท่านอนหงายแบบประยกุ ต์ -24 ชม.ท่ีสองให้ท่านอนตะแคงซ้ายหรอื ขวา -วันที่ 3 แนะนำทา่ พน้ื ฐานเพม่ิ เติมเพ่อื ปรบั ใชใ้ นระยะตอ่ ไป การประเมินผล การพยาบาลตามแนวปฏิบัติรอบใหม่น้ี พบว่าการให้นมบุตรท่านอนหงายแบบประยุกต์ทำให้ระดับอาการ ปวดแผลผ่าท้องทำคลอดไม่เพิ่มขึน้ 8 และเพื่อพัฒนาและเผยแพร่ ผลงานท่ี คดิ ค้น สังเคราะห์ขนึ้ อยา่ งเป็นระบบ ระเบยี บ สามารถอา้ งอิงเป็นหลกั ฐานเชิง ประจักษ์ได้ จึงประเมินผลงานที่สังเคราะห์ได้ด้วยระเบียบวิธีวิจัย เป็นการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ( Routine to research) โดย ทำการศกึ ษาวิจัยในหวั ขอ้ “ผลการจัดท่าให้นมบตุ รตอ่ ระดบั ความปวดแผลผา่ ตัดและประสทิ ธภิ าพการให้นม ของมารดาหลังผ่าท้องทำคลอด” (Effect of Positioning Breastfeeding on pain level and Latch-on for cesarean patients) ด้วยการศึกษาเปรียบเทียบขั้นตอน หรือ กระบวนการจัดท่าให้นมบุตร ระหว่างท่านอนหงายแบบประยุกต์ 457

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ (Modified Lying Position: MLP) ที่คิดคน้ ขนึ้ ใหมก่ ับทา่ นอนตะแคง (Side Lying Position: SLP) ผลการศึกษา พบว่าระดับความปวดแผลผ่าตัดโดยรวมของการให้นมบุตรท่า MLP ต่ำกว่าท่า SLP อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติ (P<.001) เมื่อเปรียบเทียบทั้ง 4 ช่วง พบว่า 1) เตรียมให้นมบุตร 2) ขณะให้นมบุตร 3) ให้นมบุตรเสร็จ มีความ แตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำคญั ทางสถติ ิ (P<.001) ตามลำดับ สว่ นก่อนใหน้ มบุตรไม่มีความแตกตา่ ง ( P-value=.180) สำหรับ ประสิทธภิ าพการใหน้ มบุตร นัน้ ไมแ่ ตกต่างกัน (MLP M=7.94 SD=.72 SLP M=8.11 SD=.83)10 9.2 งบประมาณ ไม่มี 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) วัดเปน็ 2สว่ น 10.1 การให้นมบุตรท่านอนหงายแบบประยุกต์ นั้น ปัจจุบันได้นำไปใช้กับผู้รับบริการในหน่วยงาน และเผยแพร่ในการจัด อบรมนมแมแ่ กบ่ ุคลากรในทมี สุขภาพ 10.2 รายงานกระบวนการสังเคราะห์แนวปฏิบัติ ได้รันการจัดเก็บในฐานข้อมูลของ PSU Knowledge Bank: dc date accession→2020-8-28T04:51:58Z & dc date available→2020-8-28T04:51:58Z มีผู้สนใจติตามเฉลี่ยมากกว่า 265คน/เดือน(8คน/วัน) ดังนี้ Statistic at. 2022-5-18T10:30 --→ Total visit 195 views, File Downloads =5651 views, Top Country views Thailand 3 views, USA 3 views, Top City Views Din Deang 3 views, Bangkok 3 views. 11.การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเนื่องในอนาคต นำแนวปฏิบัติไปศึกษาในผู้รับบริการกลุ่มอื่น (การวิจัยผล การให้นมบตุ รท่านอนหงายแบบประยุกตต์ ่อระดบั อาการปวดหลงั และประสทิ ธิภาพการให้นมบุตรในมารดาหลงั คลอด) เผยแพร่.แนวปฏิบตั ิในรูปแบบอเิ ลกทรอนิค (ผลติ วดิ ทิ ศั น์ ) 11.2 จดุ แข็ง (Strength) หรือส่ิงทที่ ำได้ดี คือ ท่าใหน้ มบุตรนั้นเปน็ สิ่งที่ตอ้ งเกดิ ควบค่กู บั การให้นมบุตรและไม่สามารถให้ผู้อื่น มาปฏบิ ตั แิ ทนมารดาได้ ดงั น้ันหากมารดาใหน้ มบตุ รในท่าที่เหมาะสมยอ่ มสง่ ผลให้เกดิ ความสุขจากการใหน้ มบุตรอย่างย่ังยนื 11.3 กลยุทธห์ รือปจั จยั ที่นำไปสู่ความสำเรจ็ การยึดมั่นในวัฒนธรรมองค์กรและค่านิยมหลักของสถาบันจะทำให้เกิดความมุ่งมั่นในการสร้างแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศสู่สังคม อยา่ งมืออาชพี เพอ่ื ประโยชนส์ ุขของเพอ่ื นมนษุ ย์อย่างย่ังยนื 12. ประเด็น (จุดเดน่ ) ทเี่ ปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ คือ ผลลพั ธเ์ ข้าถึงงา่ ย ปฏิบัติได้จริง ประหยัดคุ้มค่าทั้งระยะสั้นและระยะ ยาว ส่วนกระบวนการสังเคราะหแ์ นวปฏบิ ัติสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ บั ทกุ สาขาวิชาชพี 13. เอกสารอา้ งอิง 1. รุจิเรศ ธนูรักษ์. การพยาบาลผู้ป่วยในระยะก่อนและหลังผ่าตัด. ใน: สุปราณี เสนาดิสัย, วรรณภา ปรไพพานิช, บรรณาธิการ. การพยาบาลพื้นฐาน แนวคิดและการปฏิบัติ พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุดทอง; 2551. หน้า 677-697 2. ปิยนุช พรหมสาขา ณ สกลนคร. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพหลังคลอด. 458

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ฉบับปรับปรงุ ครัง้ ท่ี 2. อดุ รธานี: โรงพมิ พศ์ ักด์ศิ รอี ักษรการพมิ พ;์ 2551. 3. ศศิกานต์ นิมมานรัชต์. แนวคิดความปวด: องค์ความรู้ใหม่ทศวรรษที่21. ใน: การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีความปวด เฉียบพลนั การประยุกต์ องคค์ วามร้สู กู่ ารปฏิบตั ิ. เอกสารประกอบการอบรมวชิ าการ คร้ังที่ 2 ประจำปี 2547 ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ และภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร;์ 2547. หนา้ 1-30 4. Ruth A. Lawrence Breastfeeding A guide for the medical profession FOURTH EDITION Mosby- YearBook; 2007 5. The Best Breastfeeding Position 74 [ Internet] . 2012 [ cite 2012 Jan 02] . Available from: http://tawnyrumler.hubpages.com/hub/The-Best-Breastfeeding 6. Karlstrom A, Engstrom- Olofsson R, Norbergh KG, Sjoling M; Hildingsson I. Postoperative pain after cesarean birth affects breastfeeding and infant care. J Obstet Gynecol Neonatal Nurs 2007;36: 430-40. 7. เพ็ญจันทร์ แสนประสาน,อุไร พานิชยานุสนธิ์, ลัดดาวัลย์ ทัดศรี, อารีย์ ฟองเพชร,รุ่งนภา ป้องเกียรติชัย, วนิดา รัตนานนท์. Quality In Nursing and Learning Organization. ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. กรงุ เทพฯ:สขุ ุมวทิ ยก์ ารพมิ พ์;2547.หน้า 1-14. 8. นูรีฮา ฤทธิ์หมุน. รายงานสังเคราะห์เรื่อง การจัดท่าให้นมบุตรสำหรับมารดาหลังผ่าท้องทำคลอด: บูรณาการงาน ประจำสูง่ านวจิ ัย[อินเทอร์เน็ต]. สงขลา:มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์;2555 [เขา้ ถึงเม่อื 17พฤษภาคม 2565]. เขา้ ได้จาก:https://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2553/3600 9. เรืองวทิ ย์ เกษสุวรรณ. การจดั การคณุ ภาพ. กรงุ เทพฯ: ซเี อ็ดยเู คช่นั จำกดั ; 2547. 10. นรู ีฮา ฤทธ์ิหมุน,อญั ชลี อนิ ทสร.ผลการจดั ทา่ ให้นมบตุ รตอ่ ระดับความปวดแผลผา่ ตัดและประสทธิภาพการให้ของ มารดาหลงั ผ่าท้องทำคลอด.ว.พยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ปีที่32 ฉบับท่ี3 กนั ยายน-ธันวาคม 2555 หน้า37-50 14. บทสรุป การมงุ่ เนน้ แก้ไขปัญหาหน้างานให้เปน็ ระบบด้วยกระบวนการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ วจิ ัย จะทำให้ได้ผลลัพธ์/องค์ ความรู้ทด่ี ที เ่ี ข้มแขง็ กอ่ ประโยชนใ์ นวงกว้างและย่ังยนื 459

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ *************************************** 1. ช่อื เร่อื ง โครงการสาธิตด้านการจดั การธรุ กิจและจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ (chana way) 2. โครงการ/กจิ กรรมดา้ น ด้านบริการวิชาการ 3. ชื่อหนว่ ยงาน สถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ ฝ่ายสถานบี รกิ ารวชิ าการชมุ ชนและพันธกจิ สัมพันธ์ สำนกั สง่ เสริมและบริการวชิ าการ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปัตตานี 4.ประเภทของโครงการ  ประเภทที่ 2 แนวปฏิบตั ทิ ีด่ ี  2.2 สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลศิ 5.1 ที่ปรกึ ษา 1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มนูญ ศริ ินุพงศ์ ผูอ้ ำนวยการสำนักสง่ เสรมิ และบรกิ ารวิชาการ 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ณชพงค์ จนั จุฬา รองผู้อำนวยการ ฝา่ ยยุทธศาสตรแ์ ละพัฒนาองคก์ ร 3.ดร.ไมตรี แก้วทับทมิ หวั หนา้ ฝา่ ยสถานีบริการวชิ าการและพันธกจิ สมั พนั ธ์ 5.2 คณะทำงาน 1. นายณรงค์ฤทธ์ิ บุตรมาตา นักวิชาการอดุ มศกึ ษา ประธานคณะทำงาน 2. นายณรงค์ ประทมุ สนิ ธุ์ พนกั งานขับรถยนต์ คณะทำงาน 3. นางต๋ิว ภมู พิ ัฒน์ แมบ่ า้ น คณะทำงาน 4. นางมีน๊ะ แฉะ คนงาน คณะทำงาน 5. นายนเิ ลาะ นิมะ คนงาน คณะทำงาน 6.นายณรงคฤ์ ทธ์ิ เมืองมสุ กิ พนกั งานบริหารทว่ั ไป คณะทำงาน 6. การประเมนิ ปัญหา/ความเสี่ยง (Assessment) สถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ ฝ่ายสถานีบริการวิชาการชุมชนและพันธกิจสัมพันธ์ สำนักส่งเสริมและบริการ วิชาการ ตั้งอยู่ ณ หมู่ท่ี 1 ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา เป็นหน่วยงานท่ีก่อตัง้ ข้ึนต้งั แต่ปี 2523 เพอื่ ฝกึ อบรม ด้านอาหารโภชนาการใหก้ ลมุ่ แม่บา้ น และผ้สู นใจทต่ี อ้ งการประกอบเป็นอาชีพในพ้ืนท่ี 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ มีความพรอ้ ม ดา้ นวิทยากร และองค์ความรู้ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์ต่างๆ ประเภทผัก ผลไม้ เพ่ือการเพ่ิมมูลค่าด้านผลิตภัณฑ์ให้กับกลุ่ม แม่บ้าน กลุ่มผู้สนใจ โดยการทำงานทั้งในสถานีและในชุมชนตามความต้องการของชุมชน มีสถานท่ีฝึกอบรม ห้องปฏิบัติการ อาหาร อุปกรณ์ต่างๆ ท่ีใช้ในการฝึกปฏิบัติการอาหาร โดยการบริหารจัดการอย่างมีระบบระหว่างชุมชนและสถานีบริการ วชิ าการชุมชนจะนะ จากการให้บริการดังกล่าวต้ังแตป่ ีพ.ศ.2523 ถงึ ปจั จบุ นั สถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ ฝา่ ยสถานีบรกิ ารวชิ าการ ชุมชนและพนั ธกิจสมั พนั ธ์ สำนักส่งเสรมิ และบริการวชิ าการ มภี ารกิจหลกั ในการบริการวิชาการชุมชนด้านต่างๆเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตประชาชน อาหารปลอดภัย อาหารปลอดสารพิษ และให้ความสำคัญในการส่งเสริมให้ชุมชนใช้ทรัพยากรใน ท้องถ่ิน และยังสง่ เสริมและสนับสนุนให้ชุมชนในพื้นที่ปลูกพืชผักเพื่อการบริโภคแบบปลอดภัยในครัวเรือน ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี งโดยการประสานงานขอความร่วมมอื จากชมุ ชนและทุกภาคส่วนเป็นการนำความรู้จากมหาวทิ ยาลัยสู่ชมุ ชน เพ่อื ประกอบเปน็ อาชพี และสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับตนเองและครอบครัวตลอดมา 460

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ในส่วนของการประเมินปัญหา ความเส่ียง (Assessment) ที่เกดิ ขึ้น แต่เดิมสถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ มี โครงการท่ีช่ือว่า “โครงการร้านสาธิตธุรกิจการจัดบริการอาหาร” และมีร้านค้าที่ก่อสร้างอยู่ภายในพื้นท่ีของสถานีและทาง สำนักส่งเสริมและบริการวิชาการได้ดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 2535 ซ่ึงการดำเนินการดังกล่าวได้ใช้งบประมาณจากเงิน งบประมาณเงินรายได้ของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ เพื่อเป็นทุนในการบริหารจัดการ ทั้งการจัดซ้ือวัสดุ การจ้าง บคุ ลากรท่ีให้บริการประจำร้าน และค่าบริหารจดั การต่างๆเป็นประจำทกุ ปี จนมาถึงปี 2558 รวมระยะเวลาประมาณ 23 ปี เม่ือระบบการจดั การภายในสำนกั สง่ เสรมิ และบรกิ ารวชิ าการ ไม่ไดเ้ อื้อให้การทำโครงการลกั ษณะนีม้ ากนกั กล่าวคอื ระบบการ จัดซอื้ จดั จา้ งต้องผา่ นระบบพสั ดุกลางและงานการเงินและบัญชี ทำให้การจัดซือ้ วสั ดุมีขั้นตอนท่ยี ุ่งยากมากขึ้นและไม่เอ้อื ให้กับ ระดับความสามารถของบุคลากรที่ทำงานอยู่ ประกอบกับเม่ือการจดั ซ้ือผ่านระบบของภาครัฐทำให้ค่าใชจ้ ่ายสูงขึน้ มาก เพราะ ร้านค้าหรือแม่ค้าในตลาดสดจะไม่ค่อยให้ความสนใจ เน่ืองจากมองว่า ยุ่งยาก ต้องมีการเขียนใบเสร็จและต้องใช้สำเนาบัตร ประชาชนของผคู้ า้ ทำใหเ้ กิดความไม่สบายใจที่จะจำหน่ายสนิ คา้ ให้ ทำใหส้ ำนักสง่ เสรมิ และบริการวชิ าการต้องมาใช้ระบบการ จัดซ้ือผ่านตัวแทนหรอื ผู้รับจ้าง เมื่อมีการจัดซื้อทำให้ต้นทุนสูงขนึ้ มาก แต่ทางร้านสาธิตฯยังขายสินค้าและบริการในราคาเท่า เดิม และในรายได้ทค่ี งที่ในแต่ล่ะเดอื น ประกอบกับคแู่ ข่งในภาคเอกชนในพนื้ ที่ใกล้เคียงมีเพ่ิมมากข้ึน และสามารถปรบั ตัวได้ เร็วกว่า ทำให้ร้านสาธิตฯ เกิดภาวะเร่ิมขาดทุน ผู้บริหารจึงได้ประกาศยกเลิกโครงการและปิดร้านไป จนบุคลากรที่เก่ียวข้อง ตอ้ งมาคดิ หาวิธีใหม่ เพื่อแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึน้ เลยปรับมาใช้รูปแบบของโครงการ “โครงการสาธิตด้านการจัดการธุรกิจและ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ (chana way)” โดยการใช้รูปแบบการดำเนินกิจกรรมด้านการจัดการแบบธุรกิจ เพื่อรองรับผลิตภัณฑ์ ของทางสถานบี รกิ ารวิชาการชมุ ชนจะนะผลติ เอง โดยใช้องค์ความรแู้ ละเคร่ืองมอื วัสดอุ ปุ กรณท์ ่ที างสถานมี ีอยูใ่ หเ้ กิดประโยชน์ โดยมุ่งเน้นการบรหิ ารจัดการในเชิงธุรกจิ และการนำองค์ความรูด้ ้านการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรท่มี ีอยู่ในทอ้ งถ่ินและไม่ มมี ูลค่าในทางเศรษฐกิจมากนกั เช่น ตะลิงปลงิ มะขามป้อม กระเจ๊ียบ เป็นต้น นำมาเข้าสู่กระบวนการของการแปรรปู โดยใช้ องค์ความรู้ เป็น ตะลิงปลิงแช่อิ่ม มะขามป้อมแช่อ่ิม กระเจ๊ียบแช่อ่ิม โดยเป็นการผลิตท่ีได้มาตรฐาน ถูกต้องตามหลัก โภชนาการ สะอาดปลอดภัย นำมาบรรจุในผลิตภัณฑ์ที่ดี สามารถนำออกจำหน่ายสร้างรายไดใ้ ห้กับองคก์ รได้ และทางสถานี บรกิ ารวิชาการชุมชนจะนะ ยังรับซ้ือผลผลิตของชุมชนมาใช้ในการแปรรูปด้วย เช่น ตะลิงปลิงสด รบั ซื้อกิโลกรัมละ 10 บาท กระเจยี๊ บสด รบั ซือ้ กิโลกรมั ละ 10 บาท ทำใหส้ ามารถสร้างรายไดใ้ หก้ ับเกษตรกรในชุมชนไดอ้ ีกทางหนึ่งด้วย 7. เปา้ หมาย/วัตถุประสงคข์ องโครงการ เปา้ หมาย เป็นโครงการทเี่ น้นการสรา้ งและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ดา้ นการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร แบบครบวงจรโดยมี เปา้ หมายดงั น้ี 1. ใชว้ ตั ถดุ บิ จากในชมุ ชนเป็นหลกั และของสถานีเป็นลำดับรอง 2. ใช้องคค์ วามรจู้ ากบุคลากรประจำสถานใี นการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ 3. มีผลติ ภณั ฑ์ที่ไดม้ าตรฐานและสามารถจำหนา่ ยได้ 4. สร้างรายได้ใหก้ บั สำนกั ส่งเสรมิ และบรกิ ารวชิ าการ 5. ประชาชนมรี ายได้จากการจำหน่ายผลผลติ ตา่ งๆให้กับสถานี วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 1.เพ่ือเป็นการสาธติ การส่งเสรมิ การสรา้ งอาชีพและรายได้ของประชาชน 2.เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรของสถานีบรกิ ารวิชาการชมุ ชนจะนะ 3.เพื่อสร้างรายได้ใหก้ ับสำนกั ส่งเสรมิ และบริการวิชาการเป็นรายไดเ้ ข้าสู่หน่วยงาน 8. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั 8.1 ผลผลติ (output) 461

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ • เกดิ การพัฒนาผลติ ภณั ฑจ์ ากวัตถดุ บิ ในชมุ ชนอย่างต่อเนอ่ื ง และมีผลติ ภณั ฑท์ ห่ี ลากหลาย • ประชาชนมีทัศนคตทิ ่ีดแี ละเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ใี นการใหบ้ รกิ ารของสำนักส่งเสรมิ ฯ 8.2 ผลลัพธ์ (outcome) • เปน็ แหล่งเรยี นรู้ สาธิตการแปรรปู อาหาร และผลิตภณั ฑจ์ ากวตั ถดุ บิ ในทอ้ งถ่นิ โดยการมีส่วนร่วมจาก ประชาชนในชุมชนและก่อให้เกดิ รายได้ • สำนกั สง่ เสรมิ และบรกิ ารวิชาการมีรายได้จากการจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ของทางสถานีบรกิ ารวชิ าการชุมชน จะนะ 8.3 ผลกระทบ (impact) • เปน็ กิจกรรมท่สี ง่ เสริมให้บคุ ลากรได้เรยี นรู้การบรหิ ารจดั การธรุ กจิ การแปรรปู และพัฒนาผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจนการไดพ้ ัฒนาศกั ยภาพและบุคลกิ ภาพจากการนำเสนอสนิ คา้ และบริการใหก้ ับ ลกู ค้า • สำนกั สง่ เสรมิ และบริการวชิ าการสามารถใชผ้ ลติ ภณั ฑเ์ ป็นเครอ่ื งมอื ในการสอ่ื สารประชาสัมพนั ธช์ อ่ื เสยี ง ขององคก์ รไปสภู่ ายนอกไดม้ ากขึน้ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ ีการ/แนวทางการปฏบิ ตั ิจรงิ (PDCA) การดำเนนิ การโครงการ ยึดหลกั แนวคดิ ทส่ี ถานีบริการวชิ าการชุมชนจะนะ มบี คุ ลากรและทรพั ยากรท่ีเอ้ือให้เกิดการ สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์ขึ้นมา ใช้ในการฝึกอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับผู้สนใจ เมื่อภารกิจได้เปลี่ยนแปลงไป แต่ องคค์ วามรู้ยังอย่ทู บ่ี ุคลากรและทรพั ยากรยงั มอี ยู่ ทำให้ต้องเปลีย่ นวธิ ีคิดและรูปแบบการบริหารจดั การใหม่ เพอื่ ตอบสนองกับ ความต้องการของชุมชนและไม่ให้องคค์ วามรู้เหล่าน้สี ูญหายไป ประกอบกับทางสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการต้องการหา รายได้ให้กบั องคก์ รอีกทางหนึ่งดว้ ย กระบวนการดำเนินงานโครงการ 462

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การวางแผนการทำงานและการวเิ คราะหส์ ถานการณต์ ามหลักการ SWOT Analysis โดยสามารถจดั จำแนก จดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาสและอปุ สรรค ไดด้ งั ตาราง ต่อไปนี้ การวิเคราะหส์ ถานการณ์ (SWOT Analysis) จดุ แข็ง (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness) 1. วตั ถดุ บิ ท่ีมีอย่ตู ลอดฤดูกาล 1. ความรู้/ความเข้าใจมาตรฐานการผลติ /การควบคมุ 2. มอี งคค์ วามรูจ้ ากบคุ ลากร คณุ ภาพ 3. ความหลากหลายของผลติ ภณั ฑ์ 2. การบรรจภุ ัณฑห์ ีบห่อ 4. การใชท้ รพั ยากรทีม่ อี ยา่ งคมุ้ ค่าและสรา้ งสรรค์ 3. ช่องทางการตลาดอ่ืนๆ 5. ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ีประโยชนต์ ่อสุขภาพ 4. ระบบพสั ดุและการเบิกจา่ ย โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat) 1.มกี ารสนับสนุนจากภาครัฐ 1. สภาพ ดนิ ฟ้า อากาศ 2.แนวโน้มคนรักษ์สุขภาพในสภาวะกาลปัจจบุ ัน. 2. สภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศ 3.พัฒนาการของเทคโนโลยีท่ีใช้ในการผลติ 3. ผลติ ภัณฑป์ ระเภทเดยี วกนั มีมาก 4. การเขา้ ถงึ ตลาดในหลายระดับ 4.ใช้เวลาในการผลิตนาน เช่น ผลติ ภณั ฑ์ประเภทแชอ่ ิ่ม แนวทางการปฏิบัตจิ รงิ (PDCA) แนวทางการปฏิบัติจะยึดหลักการนำกระบวนการไปใช้ประโยชน์ (Deploy) ในรูปแบบของกระบวนการ PDCA มี การวางแผนการทำงานร่วมกัน แล้วลงมือผลิต ผลิตภัณฑ์ตามแผนงานท่ีวางไว้ จากนั้นจะนำผลการปฏิบัติมาวิเคราะห์ 463

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ประเมินผลหาข้อผิดพลาดที่เกิดข้ึนเพื่อปรับปรุงแก้ไข และติดตามผลและประเมินผลลัพธ์จากการจำหน่าย เพื่อนำไปสู่การ พัฒนาผลติ ภัณฑแ์ ละการตลาดใหด้ ีข้นึ ตลอดจนการเป็นผู้ถ่ายทอดองคค์ วามรู้และเผยแพรข่ ้อมลู ทางวชิ าการได้ 1. การวางแผนการผลติ ผลติ ภัณฑ์จากองค์ความร้แู ละ เครื่องมอื ที่มอี ยู่ 4. นำผลลพั ธ์ท่ไี ดไ้ ปพัฒนาโครงการ 2. ลงมอื ผลติ ตามแผนโดยใชว้ ัตุดบิ ทร่ี บั ซอ้ื ผลติ ภัณฑ์และการตลาดใหด้ ขี น้ึ จากชมุ ชนและของสถานี 3. นำผลิตภณั ฑ์ออกจำหน่ายและติดตาม ประเมนิ ลพั ธจ์ ากการจำหน่าย 9.2 งบประมาณท่ใี ชใ้ นการจัดโครงการ-กจิ กรรม ในส่วนของงบประมาณที่ใช้ในการจัดโครงการ-กิจกรรม ได้รับงบประมาณสนบั สนนุ จากเงนิ รายได้ของ สำนกั สง่ เสริม และบริการวิชาการ ดังตารางตอ่ ไปนี้ ตารางแสดงงบประมาณทไี่ ดบ้ รรจไุ วใ้ นแผนปฏบิ ตั กิ ารเงนิ รายได้ตงั้ แตป่ ีงบประมาณ 2561-2564 ซึ่งกำลังดำเนิน กิจกรรมโครงการมาอย่างต่อเนือ่ ง ปีงบประมาณ 2561 2562 2563 2564 จำนวนเงิน(บาท) 180,000 180,000 180,000 258,000 10. การวัดผลและผลลพั ธ(์ Measures) แสดงแนวโนม้ ขอ้ มลู เชงิ เปรยี บเทยี บ (3 ปี) และ/หรอื เปรียบเทียบกบั หนว่ ยงาน ภายใน/ภายนอก สำหรับจำนวนผลติ ภณั ฑท์ ีท่ างสถานีบรกิ ารวิชาการชมุ ชนจะนะ ไดม้ กี ารวางแผนผลติ และจดั จำหน่ายตลอดทั้งปี โดยแสดงได้ตามตารางดังต่อไปนี้ ตารางแสดงจำนวนผลติ ภณั ฑท์ ีจ่ ำหน่ายตามแผนพฒั นาผลิตภณั ฑข์ องสถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ ปีงบประมาณ จำนวนผลิตภณั ฑ์ทวี่ างจำหนา่ ย จำนวนตามแผน ข้อมูลอา้ งองิ 1) 2561 5 5 2) 2562 7 5 แผนพฒั นาผลิตภณั ฑ์ 464

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 3) 2563 12 10 สถานจี ะนะ 4) 2564 10 10 โดยผลติ ภณั ฑข์ องสถานีบริการวิชาการชมุ ชนจะนะ จะมีชอ่ งทางในการจำหน่ายหลกั ๆอยู่ 5 ชอ่ งทาง และยงั ใชว้ ธิ ใี น การกำหนดให้บุคลากรของสถานีในการเป็นนกั การขาย โดยการนำข้อมูลของผลิตภัณฑ์และตัวอย่างผลิตภัณฑ์ไปนำเสนอต่อ ลกู ค้าท่ีตนเองหาได้ เช่น เพื่อนสนิท เพอ่ื นรว่ มงาน ญาติหรือประชาชนทวั่ ไป โดยบุคลากรตอ้ งใช้เทคนิคการสอ่ื สาร วิธีการพูด และนำเสนอผลิตภัณฑ์ในลูกค้าเกิดความพึงพอใจ และยอมส่ังซื้อผลิตภัณฑ์ของสถานี แล้วนำข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่ลูกค้าส่ัง มา บันทึกในใบสั่งสินค้า เพ่ือให้บุคลากรที่มีหน้าท่ีผลิตและบรรจุผลิตภัณฑ์ตามที่ลูกค้าสั่งจอง เช่น ลูกค้าส่ังซ้ือตะลิงปลิงแช่อ่ิม จำนวน 10 กระปุก หรอื ส่ังซอื้ กระเจี๊ยบจำนวน 1 กิโลกรมั เปน็ ตน้ โดยชอ่ งทางการขายผลิตภัณฑข์ องสถานฯี จะนะ มชี อ่ งทาง การจำหน่ายดงั ตารางตอ่ ไปน้ี ตารางแสดงชอ่ งทางการจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ ผลผลติ /ผลลพั ธ์ของโครงการ/ตัวช้ีวัด ขอ้ จำกัด วิธแี ก้ไข 1) วางจำหน่ายยังรา้ นสาธติ ฯ(ร้านมากนั นะ) หักเปอรเ์ ซ็นต์ฝากขาย 20% เปน็ ขอ้ ตกลงร่วมกนั 2) จำหน่ายผา่ นเพจ Facebook ของสถานี โดนตรวจสอบจาก Facebook ใชว้ ิธีการโพสแบบหลกี เลยี่ งการขาย 3) การส่ังจองล่วงหนา้ (pre order) บางคร้ังสัง่ มากระช้ันชิด พยายามต่อรองเวลา 4) การขายส่งปรมิ าณมาก ตอ้ งขายราคาสง่ ขายให้สูงกว่าต้นทนุ เล็กนอ้ ย 5) นักการขาย (บุคลากรสถานี) การหาลกู คา้ ฝึกทักษะและกระบวนการขาย เมื่อมกี ารจำหน่ายผลิตภัณฑ์ไดแ้ ล้ว บุคลากรจะนำเงนิ ท่ีไดม้ าส่งคืนตามจำนวนผลิตภัณฑ์ที่นำไปจำหนา่ ย โดย เงนิ ที่ นำมาคืนจะเป็นเงินตามราคาผลิตภัณฑ์ทีท่ างสถานีกำหนด แต่บุคลากรจะได้รับเงินส่วนต่างจากการขายซ่ึงยอดเงนิ ทข่ี ายจริง จะขึ้นอยกู่ ับความสามารถของบุคลากรเอง ทำให้สถานีสามารถสร้างยอดขายไดจ้ ากบุคลากรที่นำผลิตภัณฑ์ไปขายได้มากข้ึน และบุคลากรยังมีเงินส่วนต่างจากการจำหน่ายของตนเอง หรือ เรียกว่าวิธีการแบบ win win สำหรับรายรับในการจำหน่าย ผลติ ภณั ฑ์ สามารถแสดงได้ดังตารางตอ่ ไปน้ี ตารางแสดงข้อมูลรายรับรายจา่ ยในการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ ตั้งแตป่ ี 2561-2564 ปงี บประมาณ รายจา่ ย รายรบั คงเหลอื (รายไดเ้ ข้าหนว่ ยงาน) 11,180 2561 20,795 31,975 7,052 26,788.40 2562 16,609.00 23,661 1,874.50 2563 22,911.60 49,700 46,894.90 2564* 1,500.50 3,375 รวม 4 ปี 61,816.10 108,771 *หมายเหตุ เน่ืองจากสถานการณโ์ ควดิ ทำใหไ้ ม่สามารถจำหนา่ ยผลติ ภณั ฑไ์ ด้ 10. การเรียนรู้ (Study/learning) 10.1 แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคุณภาพอย่างตอ่ เน่อื งในอนาคต 465

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การพัฒนาโครงการเพื่อเป็นแนวทางที่เปน็ เลศิ สามารถนำเดนิ การได้โดยการพัฒนาใน 4 ด้านหลกั ๆคือ 1. ดา้ นการพัฒนาคนหรือบุคลากรใหม้ คี วามสามารถมากขึ้น เชยี วชาญมากข้นึ และเนน้ การฝกึ สาธติ และทดลองเพ่ือหา คำตอบหรือผลลัพธ์ท่ีดีท่ีสุดของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ กล่าวคือ ถ้าบุคลากรหรือคนท่ีรับผิดชอบมีความเก่งและ เชย่ี วชาญในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑแ์ ล้ว จะสามารถสรา้ งงานและพฒั นาผลิตภณั ฑ์ในอนาคตไดอ้ ย่างยอดเยี่ยม 2. ดา้ นการพัฒนารูปแบบการบรกิ ารวิชาการให้สามารถตอบสนองชุมชนได้อย่างรวดเรว็ ต้องหารูปแบบท่ีเหมาะสมให้ บุคลากรทำงานได้สะดวก ลดข้นั ตอน และไม่สร้างภาระให้คนที่รับผิดชอบโดยไม่จำเป็น มีการแบ่งงานกันให้ชัดเจน คนทำผลิตภัณฑ์กับคนทำเอกสาร หลักฐานต่างๆ กล่าวคือ ใครถนัดงานไหนให้ทำงานนั้น จะได้ทำได้ดี มีผลลัพธ์ท่ี ชดั เจนและลดปัญหาท่ีจะตามมาจากการทำงาน 3. ด้านการพัฒนาโครงสร้างด้านกายภาพ เช่น การปรับปรุงอาคาร ห้องปฏิบัติการ เครื่องมือ ให้ได้มาตรฐาน ทำให้ ผลิตภัณฑ์ที่ผลติ ไดม้ มี าตรฐาน และสามารถจำหนา่ ยได้ในตลาดทใ่ี หญข่ นึ้ และได้ราคาจำหนา่ ยทสี่ งู ขน้ึ 4. ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความเป็นมาตรฐานและการปรับปรุงสินค้าและบริการให้ดีขึ้น โดยการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลจากเสยี งของลูกคา้ ทมี่ ตี อ่ ผลิตภัณฑ์ 10.2 จุดแข็ง (Strength) หรอื สงิ่ ท่ที ำได้ดีในประเดน็ ที่นำเสนอ จุดแขง็ ของโครงการทที่ ำไดด้ ีสามารถเบง่ ออกเป็น 3 ประเด็นดงั ต่อไปนี้ 1. จุดแขง็ ของโครงการมาจากการท่ีสถานบี ริการวิชาการชมุ ชนจะนะ มที รัพยากรที่จำเป็นและยังใช้งานได้จากเมอ่ื คร้ัง ที่เริ่มก่อต้ังหน่วยงานใหม่ๆ ทำให้มีต้นทุนในการบรกิ ารจัดการท่ีดีได้ โดยท่ีหน่วยงานไม่ต้องลงทุนเพิ่มด้านอุปกรณ์ และเคร่ืองมือ และสิ่งสำคัญที่สุดคือ บุคลากรที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรแู้ ละพยายามศึกษาหาความรู้อยู่เสมอ และนำความรู้และประสบการณน์ ้ันมาใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาผลติ ภณั ฑข์ องทางสถานี ทำให้ต้นทุนเหล่านี้สามารถ นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์กบั องคก์ รในการสร้างรายได้จากการจำหน่ายผลิตภณั ฑ์ 2. การรับซ้ือวัตถุดิบจากชุมชน ทำให้หน่วยงานสามารถเป็นที่พ่ึงของชุมชนในด้านการสร้างรายได้และการช่วยเหลือ ชมุ ชนเพ่อื แก้ไขปญั หาวตั ถุดบิ ล้นตลาดหรอื ไมม่ จี ุดรบั ซอื้ ในชมุ ชน 3. เป็นช่องทางหนึ่งในการสร้างรายได้ให้กับหน่วยงานโดยการบริหารงานแบบเชิงธุรกิจมากข้ึน ทำให้บุคลากรมีความ กระตอื รือรน้ ในการทำงานและสร้างรปู แบบการทำงานเป็นทีม 10.3 กลยุทธ์หรอื ปัจจยั ท่นี ำไปสคู่ วามสำเร็จ 1. กลยทุ ธท์ นี่ ำไปสคู่ วามสำเรจ็ ในการพฒั นาโครงการ ได้ถกู ออกแบบและทดลองทำซ้ำแล้วซ้ำอีก จนเกดิ ความถนัด พอ เกิดความถนัดแล้วจะเกิดความเช่ียวชาญ และสร้างความมั่นใจให้กับบุคลากร ในการพัฒนางานและนำมาพัฒนา ผลิตภัณฑ์ การเชื่อมโยงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เข้ากบั งานเชิงพฒั นาของบุคลากร ทำให้มีการวางระบบความคิด การ วางแผนการทำงานล่วงหนา้ การทดลองหาความเป็นไปได้และความเช่ือมโยงของการพัฒนาวตั ถุดบิ ต่างๆเข้าดว้ ยกัน ทำให้เกิดการประยุกต์ทางความคิดและนำผลลัพธ์ท่ีได้มาใช้ในการพัฒนางานประจำเป็นงานเชิงพัฒนาท่ีสาม ารถ ปรบั เปลีย่ นเปงการเพ่ิมมูลค่าใหก้ ับหนว่ ยงานได้อีกดว้ ย 2. กลยุทธด์ ้านการวางแผนการทำงานรว่ มกัน การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต การสร้างแบรนด์ ตลอดจนการกระตนุ้ และ สรา้ งแรงจูงใจให้เกดิ ข้ึนกบั บุคลากร ให้ความสำคัญกับทกุ คนในการทำงานและปรับเปลี่ยนทัศนคติทีว่ ่า ทำไมไ่ ด้ ให้ เปน็ ลองทำดกู ่อน และพฒั นาไปสู่ ทำได้แล้ว บุคลากรทุกคนต้องเปน็ นกั การขาย ที่ตอ้ งนำผลติ ภัณฑ์ของทางสถานี ไปส่ลู กู ค้า และให้ลูกค้าซอ้ื ผลิตภัณฑ์ให้ได้ 466

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11.บทสรปุ โครงการสาธิตด้านการจัดการธุรกิจและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ (chana way) เป็นโครงการที่ดำเนินการภายใต้ ภารกิจของสถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ ซ่ึงใช้หลักการของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงท่ีสุด ไม่ว่าจะเป็น ทรัพยากรด้านเคร่ืองมือเครื่องใช้ บุคลากร รวมถึงองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ในตัวของบุคลากร นำทุกอย่างมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดย สามารถตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆได้อย่างครบถ้วน เช่นชาวบ้านและชุมชนท่ีนำผลผลิตท่ีไม่มีมูลค่า นำมาจำหน่าย ให้กับทางสถานี ทำใหช้ าวบ้านเกิดรายได้และมคี วามสุข เมือ่ นำวัตถุดบิ มาแล้ว บุคลากรของสถานีใช้องคค์ วามรู้และเครือ่ งมือ เคร่ืองใช้ มาพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยการเชื่อมโยงกับงานเชิงพัฒนาในภาระงานประจำของบุคลากร เม่ือได้ผลผลิตมาแล้ว นำ ผลผลิตเหล่าน้ันมาพัฒนาและปรับปรุงเพ่ือเพ่ิมมูลค่าในการแปรรูปและสร้างรายได้ให้กับองค์กร ทำให้สามารถตอบสนอง ผลลัพธ์ขององค์กรไดห้ ลายตวั ชว้ี ดั คือ ยงิ ปืนนัดเดยี วได้นกหลายตัว 12. เอกสารอ้างอิง 1. โครงการร้านสาธิตธรุ กิจการจดั บริการอาหาร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561-63 2. สรปุ รายรบั รายจ่ายโครงการรา้ นสาธิตธุรกิจการจดั บริการอาหาร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2561-63 3. แผนพฒั นาผลติ ภณั ฑข์ องสถานบี ริการวิชาการชุมชนจะนะ 13. ประเด็น(จุดเดน่ )ทีเ่ ป็นแนวปฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลิศ โครงการสาธติ ดา้ นการจัดการธรุ กจิ และจำหน่ายผลิตภณั ฑ์ (chana way) สามารถสรุปประเด็นทเ่ี ป็นจดุ เดน่ สามารถเป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลิศ ได้ในหลายประเด็น ดังต่อไปน้ี 1. เป็นโครงการทท่ี ำต่อเนือ่ งมากมากว่า 5 ปี 2. เป็นโครงการท่ใี ชท้ รพั ยากรด้านต่างๆของหน่วยงานมาเพ่ิมมลู คา่ และสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั องคก์ ร 3. สามารถตอบสนองชมุ ชนในการเพิ่มรายได้ใหก้ บั ชมุ ชนและตอบสนองยุทธศาสตร์ขององค์กร 4. หน่วยงานยังรักษาองค์ความร้แู ละนำเครื่องมอื เครือ่ งใช้มาใชป้ ระโยชนใ์ หเ้ กดิ มลู ค่าให้คมุ้ ค่าทสี่ ุด 5. โครงการสาธิตด้านการจัดการธุรกิจและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ (chana way) เป็นโครงการท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ของสถานีบริการวิชาการชุมชนจะนะ สำนักสง่ เสริมและบริการวชิ าการ ในการทำโครงการด้านบริการวิชาการที่ไม่เหมอื นใคร สามารถตอบสนองประเด็นยุทธศาสตรไ์ ด้หลากหลาย และยังสรา้ งรายได้ให้เกิดข้ึนกับหน่วยงาน แตห่ น่วยงานจำเปน็ ท่จี ะต้อง รักษาบุคลากรและเคร่ืองมือต่างๆเอาไว้ให้ได้ หรือการพัฒนาบุคลากรใหม่ขึ้นมาทดแทนให้ได้ โดยต้องให้ความสำคัญกับงาน และภารกจิ ขององคก์ รเปน็ ทต่ี ้งั มากกวา่ ส่ิงอ่นื ใด 467

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็นเลศิ *************************************** 1. แนวปฏิบตั ทิ ี่ดี โครงการให้ความรแู้ กผ่ ใู้ ชบ้ รกิ าร Customer Take Care 2. โครงการ/กจิ กรรมด้าน ดา้ นบริการวิชาการ 3. ชอื่ หน่วยงาน ฝ่ายเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้ สำนกั วิทยบริการ 4. ประเภทของโครงการ  ประเภทที่ 1 แนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ ระดับคณะ/หนว่ ยงาน (ผ่านการคดั เลือกโดยเวทหี รอื ผู้บรหิ ารของคณะ)  1.1 สายวิชาการ  1.2 สายสนับสนนุ  ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ัติทีด่ ี  2.1 สายวิชาการ  2.2 สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลศิ 1) นายพรหม จันทาโพธิ์ 2) นายอำนาจ สุคนเขตร์ 3) นายวิษณุ เพชรประวัติ 4) นายคณศิ ร รกั จติ ร 5) นายอนุภาพ ดว้ งน่ิม 6) นางสาวขวัญเนตร ปญุ ญถาวร 7) นายอนนั ต์ คาเรง 6. การประเมนิ ปญั หา/ความเสีย่ ง (Assessment) 1) ความเปลีย่ นแปลงด้านเทคโนโลยี 2) งบประมาณที่ไดร้ บั ไมส่ ัมพันธ์กบั ความล้ำหนา้ ของเทคโนโลยี 3) การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยใ์ หม้ คี วามเทา่ ทนั กับเทคโนโลยี 7. เป้าหมาย/วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 1) เพอื่ พฒั นาความรู้และทกั ษะการพฒั นาส่อื การเรยี นร้สู มัยใหม่แกค่ ณาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและผูส้ นใจ 2) เพื่อเผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยี เทคนิคและวิธกี ารพฒั นาสื่อการเรียนรู้สมัยใหม่แก่คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ผู้สนใจและหน่วยงานอนื่ ทงั้ ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย 3) เพอื่ ส่งเสริมให้มีผ้ใู ช้บรกิ ารฝา่ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรูเ้ พม่ิ ขน้ึ 8. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั 1) คณาจารย์ บคุ ลากร นกั ศึกษาและผสู้ นใจมีความรแู้ ละทักษะการพฒั นาส่อื การเรยี นรสู้ มัยใหม่ 2) ไดเ้ ผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยี เทคนิคและวธิ กี ารพฒั นาส่อื การเรยี นรสู้ มยั ใหม่แก่คณาจารย์ บคุ ลากร นักศกึ ษา ผ้สู นใจและหนว่ ยงานอื่นท้งั ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั 3) ฝา่ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการเรยี นรมู้ ผี ใู้ ช้บรกิ ารเพิ่มมากขนึ้ 468

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวทางการปฏิบัตจิ ริง (PDCA) การวางแผน (P-Plan) - ศึกษาความตอ้ งการการฝึกอบรมจากผู้เข้าอบรม โดยรวบรวมจากการทำแบบสอบถามของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม - ประชุมคณะทำงานเพ่อื กำหนดเป้าหมาย หลักสตู ร วิทยากร ชอ่ งทางการฝึกอบรม ชอ่ งทางการเผยแพร่ การประชาสัมพันธ์ การขออนุมัติโครงการ เครื่องมือวัสดุและอุปกรณ์ ความสำเร็จของโครงการ และผ้รู บั ผดิ ชอบในแตล่ ะงาน การดำเนนิ งาน (D-Do) - คณะทำงานขออนุมัติโครงการพร้อมคา่ ใช้จ่าย จัดทำหนังสือเชิญวิทยากร ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง ต่างๆ จัดเตรียมเครือ่ งมือวัสดุและอุปกรณ์ อาคาร สถานที่ โสตทัศนปู กรณ์และสตดู โิ อ - ดำเนนิ การฝกึ อบรมตามกำหนดการทวี่ างแผนไว้ การตรวจสอบ (C-Check) - คณะทำงานรวมบรวมขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากผเู้ ขา้ อบรม โดยรวบรวมและสรปุ ขอ้ มลู จากการทำแบบสอบของผู้ ฝึกเขา้ อบรม - คณะทำงานรวบรวมค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานพร้อมเบิกจ่ายให้ถูกต้องตามระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศ ด้านพัสดแุ ละการเงินของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ - คณะทำงานวเิ คราะหป์ ัญหา อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ พรอ้ มจดั ทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการ เสนอต่อผ้บู รหิ ารสำนกั วทิ ยบริการ การปรบั ปรงุ (A-Act) - คณะทำงานกำหนดแนวทางการปรับปรงุ งานและสรุปหลักสูตรเพื่อใช้ฝึกอบรมในครงั้ ถัดไป 469

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 9.2 งบประมาณท่ใี ช้ในการจัดโครงการ – กจิ กรรม (ถ้าม)ี งบประมาณท่ใี ชใ้ นการจัดโครงการ 60,000 50,000 50,000 50,000 43,855 48,000 40,000 30,000 2253,,000450 25,000 20,000 20,000 20,000 10,000 0 0 2,560 2565 0 2560 2561 2562 2563 2564 งบประมาณทไ่ี ดร้ ับ งบประมาณที่ใช้ 10.การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดบั แนวโนม้ ขอ้ มูลเชงิ เปรยี บเทียบ (3 ป)ี และ/หรือเปรียบเทยี บกบั หน่วยงานภายใน/ภายนอก จานวนหลกั สตู ร 12 10 10 9 8 68 46 6 24 0 2560 2561 2562 2563 2564 2565 หลกั สูตร Linear (หลักสูตร) 470

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จานวนผ้เู ขา้ อบรม 15,100 16,670 16,959 10,100 9,557 5,100 238 240 2563 2564 2565 226 2561 2562 ผู้เข้าอบรม Online ผู้เขา้ อบรม Onsite 100 2560 ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรม 2560 2561 2562 2563 2564 2565 5 4.5 4.37 4.55 4.6 4.59 4.75 4.55 4.25 4.32 4.48 4.42 4.52 4.25 4.55 4.75 4.52 4.95 4.85 4.98 4.99 4.98 4.9 4.85 4.77 4.82 4.98 4.75 4 4.5 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0.5 0 0 0 0 วทิ ยากร อาคาร สถานที่ การจดั เลี้ยง ระยะเวลา เน้อื หา การนาไปใชง้ าน 11.การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเนื่องในอนาคต สำนักวิทยบริการสนับสนุนการแสวงหาความรู้ของบุคลากร การพัฒนาบุคลากรในรูปแบบต่างๆ ตลอดจน แสวงหางบประมาณที่เหมาะสมกบั เทคโนโลยี 11.2 จดุ แข็ง (Strength) หรอื สิ่งทที่ ำได้ดีในประเดน็ ทน่ี ำเสนอ สำนกั วิทยบริการมบี ุคลากรทีม่ คี วามเช่ยี วชาญในการพฒั นาส่อื การเรียนรู้ทกุ ประเภท 11.3 กลยุทธ์หรอื ปจั จัยท่ีนำไปสคู่ วามสำเรจ็ สำนกั วทิ ยบรกิ ารมีองค์ความร้แู ละใหบ้ ริการความรู้แกผ่ ู้ใชบ้ ริการทัง้ แบบแบบ Hybrid Training และ Mix Reality 12.ประเด็น (จดุ เด่น) ทเ่ี ปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ 471

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ สำนักวิทยบรกิ ารเปน็ หน่วยงานท่ีมีความเชยี่ วชาญในการพัฒนาสือ่ การเรียนรทู้ ุกประเภท ตลอดจนส่ือส่ือการเรียนรู้ ที่ทันสมัย อีกทั้งมีบุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ทุกประเภท อีกทั้งเป็นหน่วยงาน สนบั สนนุ และที่ปรึกษาการพฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้ของคณาจารย์คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ผ้สู นใจ หน่วยงานอ่ืนท้ังภายใน และภายนอกมหาวิทยาลยั ปจั จุบันจัดใหม้ กี ารให้ความรแู้ บบไฮบรดิ (Hybrid Training) 13. เอกสารอ้างองิ สำนักวทิ ยบริการ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร.์ (n.d.). Retrieved May 23, 2022, from https://www.oas.psu.ac.th ฝ่ายเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรยี นรู้ สำนกั วทิ ยบรกิ าร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ (n.d.). Retrieved May 23, 2022, from https://techno.oas.psu.ac.th 14. บทสรปุ สำนักวิทยบริการเห็นความสำคัญของการพัฒนาความรู้และทักษะการพัฒนาสื่อการเรียนรู้สมัยใหม่แก่คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษาและผู้สนใจ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาประจำทุกปีมุ่งเน้นการเผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยี เทคนิค และวิธีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้สมัยใหม่แก่คณาจารย์ บุคลากร นักศึกษา ผู้สนใจ หน่วยงานอื่นทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลยั ตลอดจนเปน็ แหล่งความรู้ เทคโนโลยี เทคนิคและวธิ ีการพฒั นาส่อื การเรยี นรทู้ ่ีทันสมัยของประเทศ 472

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏิบัติทีเ่ ป็นเลศิ *************************************** 1. ชือ่ เร่อื ง ระบบแจ้งการนำส่งเงินด้านบริการวชิ าการ คณะวิทยาศาสตร์ 2. โครงการ/กจิ กรรมด้าน ดา้ นบรกิ ารวชิ าการ 3. ชอื่ หน่วยงาน งานสนบั สนุนการบรกิ ารวชิ าการ คณะวิทยาศาสตร์ 4. ประเภทของโครงการ ❑ ประเภทที่ 1 แนวปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลศิ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคดั เลือกโดยเวทีหรอื ผบู้ รหิ ารของคณะ)  1.1 สายวิชาการ  1.2 สายสนบั สนนุ ❑ ประเภทท่ี 2 แนวปฏิบัติที่ดี  2.1 สายวิชาการ  2.2 สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลิศ 1. รองคณบดีฝา่ ยกจิ การพเิ ศษและสหกจิ ศึกษา 2. ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบรกิ ารวิชาการ 3. นางสาวธมลพรรณลออ ขนุ ศรี 4. นางสาวกสุ มุ า อชิรเสนา 5. นางสาววรสา เรืองหริ ญั วงศ์ 6. นางณฐั รุจา สองเมอื งหนู 7. นางสาววรษั ฐาน ราชยอด 6. การประเมนิ ปัญหา/ความเส่ยี ง (Assessment) ด้วยคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของภาคใต้ที่มุ่งเน้นการ สอนทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมีพันธกิจในการถ่ายทอดองค์ความรู้และให้บริการวิชาการที่ถูกต้องทันสมัยสู่ สังคม และเพือ่ เป็นการเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจไดเ้ ข้ามาศึกษา ค้นคว้า และฝกึ ประสบการณท์ างวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ โดยมุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีกระบวนการคิดการทำงานรู้จักแก้ปัญหาอย่างมีระบบ ได้มี โอกาสได้ฝึกปฏิบัติจริงจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่งงานสนับสนุนการบริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่มี หน้าที่สนบั สนนุ การให้บริการวิชาการของของคณะวิทยาศาสตร์ ภายใต้ระเบียบ และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้แล้วงาน สนับสนนุ การบริการวิชาการเป็นหน่วยงานท่ีประสานงานระหว่างคณะ กับมหาวิทยาลัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บรกิ าร วิชาการ ที่สามารถตอบโจทย์ให้กับสังคมชุมชนได้มากยิ่งขึ้น โดยมีการให้บริการวิชาการ แบ่งออกเป็น 7 กลุ่ม ตามระเบียบ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว่าดว้ ยการใหบ้ รกิ ารทางวิชาการ พ.ศ.2551 ดังนี้ คอื 1. การวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบและตรวจซ่อม การใหบ้ ริการเครอ่ื งมือและอปุ กรณต์ า่ งๆ 2. การให้บรกิ ารเก่ียวกบั สุขภาพทน่ี อกเหนือจากหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบโดยตรงของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง 473

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 3. การจดั ฝึกอบรม สมั มนา ประชุมปฏบิ ัติการ 4. การศกึ ษา สำรวจ วเิ คราะห์ ออกแบบและประเมิน 5. การให้คำปรกึ ษา และคำแนะนำ 6. การให้บรกิ ารข้อมลู การแปล 7. การใหบ้ ริการวชิ าการอนื่ ๆ จากการให้บริการวิชาการที่ผ่านมา โครงการที่มีการเก็บเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในโครงการนั้น ซึ่งที่ผ่านมา พบว่า เจ้าหน้าที่งานสนับสนุนการบริการวิชาการ จะต้องจัดทำหนังสือบันทึกข้อความนำส่งเงินค่าใช้จ่ายดังกล่าวไปยังงาน การเงินและบัญชี ของคณะฯ เพื่อออกใบเสร็จรับเงินค่าใช้จ่าย เพื่อส่งให้กับผู้มาใช้บริการ ทำให้ในบางครั้งการจัดทำเอกสารมี ความผิดพลาด ซึ่งส่งผลประกอบให้ผู้มาใช้บริการ ต้องเสียเวลาในการรอคอย ประกอบกับการที่คณะวิทยาศาสตร์ มีการปรับ โครงสรา้ งการทำงานแบบรวมศนู ย์ ทางงานสนับสนุนการบริการวิชาการ จึงไดจ้ ดั ทำระบบแจ้งการนำส่งเงนิ ด้านบริการวชิ าการ คณะวิทยาศาสตร์ ขึ้นมา เพื่อกระชับเวลาในการทำงานด้านเอกสารการนำส่งเงิน และลดการใช้กระดาษ ซึ่งทำให้สะดวกและ รวดเร็ว เห็นได้ชัดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 เจ้าหน้าที่งานสนับสนุนการบริการวิชาการ ของคณะฯ สามารถที่จะแจ้งการนำส่งเงิน ผ่านระบบแจ้งการนำส่งเงินด้านบริการวิชาการ ของคณะวิทยาศาสตร์ ได้สะดวก รวดเร็ว และ ตอบโจทยค์ วามต้องการของกล่มุ ลูกค้าทม่ี าใช้บริการได้ทันที ถึงแมเ้ จา้ หนา้ จะปฏิบัตงิ าน Work from Home 7. เปา้ หมาย/วตั ถุประสงค์ของโครงการ 7.1. เพื่อลดระยะเวลาในการดำเนินการแจ้งการนำสง่ เงินดา้ นบริการวิชาการ ของคณะวทิ ยาศาสตร์ 7.2. เพ่อื ลดข้อผิดพลาดในการจดั ทำเอกสาร ในช่วั โมงเร่งดว่ น 7.3. เพอ่ื ลดการใชก้ ระดาษในการจดั ทำหนังสือนำสง่ เงนิ ดา้ นบริการวิชาการ ของคณะวทิ ยาศาสตร์ 8. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ 8.1. มชี ่องทางในการแจง้ การนำส่งเงนิ ด้านบรกิ ารวชิ าการ คณะวิทยาศาสตร์ 8.2. มขี ้อมูลรายงานรายรบั จากการบรกิ ารวชิ าการ ของคณะวทิ ยาศาสตร์ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ ีการ/แนวทางการปฏบิ ัตจิ ริง (PDCA) 9.1.1 ขนั้ วางแผนงาน (Plan) 1. สร้างแบบฟอร์มการนำส่งเงิน โดยใช้ Platform Google form โดยอิงเนื้อหา ตามหนังสือ บนั ทกึ ข้อความนำสง่ เงนิ ดา้ นบริการวชิ าการ ของคณะฯ โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี - ปรเภทหนว่ ยงาน - ความตอ้ งการที่จะรับใบเสรจ็ รบั เงนิ - ชอื่ โครงการ/กจิ กรรม/รายการวเิ คราะหท์ ดสอบ - หวั หน้าโครงการ/ ผู้ประสานงาน - จำนวนเงินท่ีนำส่ง - รปู แบบการนำสง่ เงนิ เช่น เงินสด, เงนิ โอน - รายละเอียดการออกใบเสร็จรบั เงิน ได้แก่ ชอ่ื ทอ่ี ยู่ และรายการ - แจ้งนำส่งเข้าเป็นเงินรายได้บริการวิชาการ ของศูนย์บริการ ภายใต้กลุ่มงานพันธกิจเพื่อสังคม คณะฯ 474

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - หน่วยงานท่ีเกีย่ วข้อง - แจ้งความประสงค์ให้งานการเงนิ และบญั ชี ดำเนนิ การตอ่ 2. จัดประชมุ ร่วมกนั งานการเงนิ และบญั ชี เพอ่ื นำเสนอระบบแจง้ การนำส่งเงินด้านบริการวิชาการ ของคณะวิทยาศาสตร์ 9.1.2 ขั้นดำเนนิ การ (Do), ข้นั สรุปและประเมินผล (Check) และข้นั ปรับปรงุ ตามผลการประเมนิ (Act) เวอร์ชั่น ปัญหาที่พบ การปรับปรุง ระบบแจ้งการนำส่งเงินด้านบริการวิชาการ รายละเอียด แจ้งความประสงค์ให้งาน ของคณะวิทยาศาสตร์ เวอร์ชน่ั 1 การเงินและบญั ชี ดำเนินการต่อ ไมช่ ดั เจน ปรับปรุงรายละเอียดการแจ้งความประสงค์ให้ ชัดเจน โดยอา้ งองิ ตามรูปแบบการให้บริการ ดังนี้ ระบบแจ้งการนำส่งเงินด้านบริการวิชาการ รูปแบบการนำส่งเงิน ในระบบฯ ไม่ - ยืมเงินทดรองจ่าย จะเบิกจ่ายเมื่อจัดโครงการ/ ของคณะวิทยาศาสตร์ เวอร์ชน่ั 2 ครอบคลมุ กับการใชง้ านจรงิ กิจกรรม เสรจ็ ส้นิ - เบิกจา่ ยตามงวดงาน - เบิกจา่ ยเมื่อจดั โครงการ/กิจกรรม เสรจ็ สิน้ - เบกิ จา่ ยเมือ่ ไดก้ ารอนุมัตริ ับงาน - เบิกจา่ ยตามการจัดสรร ปรับปรุงรายละเอียดรูปแบบการนำส่งเงิน โดยมี การเพิม่ รายละเอยี ด ดังนี้ 1. โอนทางบญั ชี กรณที ี่เปน็ หน่วยงานภายใน ม.อ. 2. อื่นๆ : กรณีทีท่ างผู้มาใช้บรกิ าร ชำระค่าบรกิ าร โดยจ่ายเปน็ เช็คเงนิ สด • ภาพแสดงการปรงั ปรงุ วธิ กี าร 475

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10 .การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับ หนว่ ยงานภายใน/ภายนอก 10.1 รายรบั จากการบริการวิชาการ 5 ปยี ้อนหลัง รายรบั จากการบริการวิชาการ 5 ปยี ้อนหลัง (ล้านบาท) 40 30 28.6 28.7 29.00 23.09 20.2 20 10 0 2560 2561 2562 2563 2564 10.2 ตารางแสดงข้อมลู การลดใชก้ ระดาษ ระหว่างปีงบประมาณ 2564 ถงึ ปงี บประมาณ 2565 (ณ วนั ที่ 20 พ.ค.65) ปงี บประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565 (ณ วนั ที่ 20 พ.ค. จำนวนครงั้ ปริมาณการลดใช้กระดาษ 65) 140 ครง้ั 200 ครั้ง 11.การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเน่อื งในอนาคต 11.1.1. พฒั นาระบบแจ้งการนำส่งเงินด้านบรกิ ารวิชาการ ของคณะวิทยาศาสตร์ จาก Platform Google form เป็น โปรแกรมสำเร็จรูปที่พัฒนาขึ้นา เพื่อนำมาใช้ประโยชน์เป็นฐานข้อมูลรายรับด้านบริการวิชาการ ของคณะ วิทยาศาสตร์ ตอ่ ไป 11.2 จดุ แข็ง (Strength) หรือ สงิ่ ทท่ี ำไดด้ ีในประเดน็ ท่ีนำเสนอ 11.2.1. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เปน็ สถาบันการศกึ ษาช้ันนำของภาคใต้ ที่มีชอ่ื เสยี งและได้รับ การยอมรบั จากสถาบนั การศึกษาตั้งแต่ระดบั ปฐมวยั จนถึงระดับอมุ ดศกึ ษา 11.2.2. บคุ ลากรคณะวทิ ยาศาสตร์ มีประสบการณใ์ นการถ่ายทอดองคค์ วามรู้แก่ชุมชน และสังคม 11.2.3. มีการนำเทคโนโลยเี ขา้ มาช่วยในการติดตอ่ ประสานงาน การดำเนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ 11.3 กลยุทธ์หรอื ปจั จยั ทีน่ ำไปสูค่ วามสำเรจ็ 11.3.1. การนำเทคโนโลยเี ข้ามาช่วยในการปฏิบตั ิงานเพอ่ื ลดระยเวลา และลดการใช้กระดาษ 12.ประเด็น (จดุ เด่น) ทเ่ี ป็นแนวปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลศิ 12.1 การที่เจ้าหน้าท่ีงานสนับสนนุ การบริการวิชาการ สามารถท่ีจะปฏิบัติงานนำสง่ เงินรายรบั ด้านบรกิ ารวิชาการ ได้ทุกที่ และทกุ เวลา 476

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 13. เอกสารอ้างองิ 13.1. ระบบแจง้ การนำสง่ เงิน ด้านบริการวชิ าการ คณะวิทยาศาสตร์ https://forms.gle/GbwH3ZD41Bma6Qyk7 13.2. ระเบยี บมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ว่าดว้ ยการให้บรกิ ารวชิ าการ พ.ศ.2552 13.3. ระเบยี บคณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วา่ ดว้ ยการดำเนนิ งานภายใตก้ ล่มุ งานพันธกจิ เพ่ือสังคม พ.ศ.2563 14. บทสรุป จากการที่งานสนับสนุนการบริการวชิ าการ คณะวิทยาศาสตร์ ได้มีจดั ทำระบบระบบแจง้ การนำส่งเงิน ด้าน บริการวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ ขึ้นมานั้นทำให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เกิดความสะดวก และคล่องตัว มากยิ่งขึ้น และ สามารถที่จะปฏิบัติงานนำส่งเงินรายรับด้านบริการวิชาการนอกสถานที่ได้ นอกจากนี้ ส่งผลให้ผู้มาใช้บริการเกิดความพึง พอใจมากย่งิ ขน้ึ หมายเหตุ - การรายงานผลการดำเนินงาน (Result) จะต้องมคี วามสอดคล้องกบั เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ - ลกั ษณะอักษร TH SarabunPSK ขนาด 14 pt. และใสห่ มายเลขหน้า เว้นระยะขอบมาตรฐาน - จำนวนหน้าในการนำเสนอขอ้ มลู (รวมเอกสารอ้างอิงและภาคผนวก) คอื จำนวนไมเ่ กนิ 10 หนา้ (A4) 477

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ *************************************** 1. ชื่อเรอื่ ง กระบวนการรับนักศึกษาใหมเ่ ชิงรกุ 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น ด้านบริหารจัดการ 3. ชอื่ หน่วยงาน งานสนับสนนุ วิชาการ สำนกั งานวิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 4. ประเภทของโครงการ ประเภทที่ 1 แนวปฏบิ ัติท่เี ป็นเลศิ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคัดเลือกโดยเวทีหรือผบู้ รหิ ารของคณะ) 1.1 สายวชิ าการ 1.2 สายสนับสนนุ ประเภทท่ี 2 แนวปฏิบตั ิทีด่ ี 2.1 สายวิชาการ สายสนบั สนุน 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัติที่เป็นเลศิ 1. รองอธิการบดฝี ่ายวชิ าการ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 2. ผู้อำนวยการสำนกั งานวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี 3. รองผอู้ ำนวยการสำนักงานวทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี 4. หัวหน้างานสนับสนนุ วิชาการ 5. นายอานนท์ โชตมิ ณี 6. นายสทิ ธกิ ร สอ่ งแกว้ 6. การประเมนิ ปัญหา/ความเสี่ยง (Assessment) ก่อนปีการศึกษา 2561 วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีมีจำนวนนักศึกษายืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาเฉลี่ย ปีละหนึ่งพันคน (โดยอ้างอิงข้อมูลจากปีการศึกษา2560) ท่ีประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ) ได้กำหนดให้มหาวิทยาลัยทั่วประเทศเปลี่ยนแปลงระบบการรับสมัครเป็นระบบ TCAS (Thai University Central Admission System) ก ำ ห น ด ใ ช ้ ต ั ้ ง แ ต ่ ป ี ก า ร ศ ึ ก ษ า 2561 เ ป ็ น ต ้ น ไ ป ร ะ บ บ TCAS มีแนวคิดต้องการให้นักเรียนควรอยู่ในห้องเรียนจนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้สมัครแต่ละคนมีเพียง 1 สิทธ์ิ ในการตอบรับในสาขาวิชาที่เลือก เพื่อความเสมอภาค สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งจะเข้าระบบ Clearing House เพอ่ื บริหาร 1 สทิ ธิ์ ของผูส้ มัครโดยแบ่งออกเป็น 5 รอบ ซง่ึ มเี ง่ือนไขทแ่ี ตกต่างกันออกไปดงั น้ี 478

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 6.1 รอบที่ 1 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) เป็นรอบที่ทุกสถาบันไม่มีการจัดการสอบคัดเลือก ใช้การยื่นผลงานและผลการเรียนของตนเองเป็นหลัก (ยกเว้นคณะ / สาขาวิชาบางมหาวิทยาลัย ทอ่ี าจมีการทดสอบปฏิบัตอิ ืน่ ๆ เพมิ่ เตมิ ) 6. 2 ร อ บ ท ี ่ 2 ร ั บ แ บ บ โ ค ว ต า ( Quota) ท ี ่ จ ะ เ น ้ น ใ ห ้ ส ิ ท ธ ิ ์ ผ ู ้ ส ม ั ค ร เ ฉ พ า ะ ก ลุ่ ม เชน่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ใช้คะแนนการสอบวิชาสามญั 9 วชิ า ในการยน่ื สมัครคณะ/สาขาวิชาต่าง ๆ ในรอบรับตรงแบบโควตาในโครงการ “รับตรง 14 จังหวัดภาคใต้” โควตาภูมิภาค เปิดรับสมัครพร้อมกัน 5 วทิ ยาเขต 6.3 รอบที่ 3 รับตรงแบบร่วมกัน (Admission 1) เป็นรอบที่มีการคัดเลือกตามรูปแบบ ของแตล่ ะสถาบันแต่จะกำหนด ให้มาสมคั รที่ระบบเดียวกนั 6.4 รอบที่ 4 แอดมิชชั่น (Admission 2) เป็นรอบที่ให้สมัครที่ระบบเดียวกันเหมือนกัน แตจ่ ะใช้เกณฑ์คะแนนได้แก่ เกรด 6 ภาคการศกึ ษา คะแนน O-NET GAT/PAT มาเป็นตัวคัดเลือก 6.5 รอบที่ 5 รับตรงอิสระ เป็นรอบที่เปิดให้มหาวิทยาลัยเปิดรับสมัครเอง ใช้เกณฑ์ของตนเอง โดยที่มหาวิทยาลัย สามารถกำหนดรูปแบบการคัดเลือกได้อย่างอิสระตามเป้าหมาย / วัตถุประสงค์ของ โครงการ ในปีการศกึ ษา 2564 ทปอ.ได้มีการปรับปรุงรปู แบบการรับนักศึกษาในระบบ TCAS ใหม่ ซึ่งเดิมมีการ รับนักศึกษาดว้ ยกัน 5 รอบ และไดป้ รบั ปรุงใหม่ให้เหลอื 4 รอบ ดังน้ี รอบท่ี 1 แฟม้ สะสมผลงาน (Portfolio) รอบที่ 2 รบั ตรงแบบโควตา (Quota) รอบท่ี 3 แอดมิชช่ัน (Admission ) รอบที่ 4 รับตรงอสิ ระ ก่อนปีการศึกษา 2561 วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มีจำนวนนักเรียนยืนยันสิทธิ์ปีละหนึ่งพันคนขึ้นไป ตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยเปลีย่ นระบบการรับนกั ศึกษามาเป็นระบบที่ TCAS ปรากฏว่ามีผู้ยนื ยัน สทิ ธิเ์ ข้าศกึ ษาในปกี ารศกึ ษา 2561 จำนวน 872 คน ปกี ารศึกษา 2562 มีจำนวนนักเรียนยืนนยนั สิทธิ์ จำนวน 858 คน ปีการศึกษา 2563 มีจำนวนนักเรียนยืนยันสิทธิ์ จำนวน 835 คน ทั้งนี้ งานสนับสนุนวิชาการ (รับนักศึกษาใหม่) ได้เล็งเห็นถึงผลลัพธ์และปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตต่อไปถึงจำนวนนักศึกษา ที่ลดลงของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ทำให้คณะกรรมการทีมผู้บริหารของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได ้ แ ต ่ ง ต ั ้ ง ค ณ ะก ร ร ม ก า ร ป ระช า สั ม พั นธ ์ห ลั ก ส ูต ร เช ิง ร ุก ข ึ ้ น ม าโ ดย ใ ห ้ค ณ ะก ร ร ม ก า รช ุด นี้ ด ำเ น ินการ วางแผน ปรับปรุงกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์เพื่อเสนอให้คณะกรรมการทีมบริหารวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เห็นชอบ คณะกรรมการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุกดำเนินการนัดประชุมหัวหน้าสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องเพ่ือ ใหเ้ ขา้ ใจถึงสถานการณ์ ทเ่ี กดิ ขน้ึ และแจ้งกลยุทธ์การประชาสัมพันธร์ ับนักศึกษาเพื่อให้สาขาวิชาไปดำเนินการ วางแผนกลยุทธ์ประชาสัมพันธ์ รับนักศึกษาเชิงรุกและสร้างช่องทางการรับรู้แก่นักเรียนผู้สมัครใหม่มากข้ึน เพอ่ื ให้เป็นไปตามเป้าประสงค์ คือมจี ำนวนผู้สมคั ร สอบสัมภาษณ์ และยนื ยนั สิทธิ์ เพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 40 7. เปา้ หมาย / วตั ถุประสงค์ของโครงการ เพื่อให้มจี ำนวนนกั เรียนยนื ยันสทิ ธ์ิ TCAS รอบแรกเพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 40 479

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 8. ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ มีจำนวนนกั เรียนยนื ยนั สิทธิ์ TCAS รอบแรกเพ่มิ ข้นึ ร้อยละ 40 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 กระบวนการและวิธีปฏิบัติประชาสัมพนั ธร์ บั นักศึกษาใหม่ในอดตี 1.วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มีการบริหารแบบรวมศูนย์ โดยงานสนับสนุนวิชาการ (รับน นักศึกษาใหม่) สังกัดสำนักงานวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เป็นหน่วยงานหลักในการดูแลเรื่องการประชาสัมพันธ์ หลกั สตู ร 2. วทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี เขา้ รว่ มโครงการประชาสัมพันธห์ ลักสตู รกบั มหาวทิ ยาลัย 3. วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ประชาสัมพันธ์การรับนักศึกษาในเว็บไซต์สื่อออนไลน์ต่าง ๆ และส่งหนังสอื ไปตามโรงเรียนต่าง ๆ ทวั่ ประเทศ 9.2 กระบวนการและวธิ ีปฏบิ ตั ิประชาสมั พันธ์รับนักศึกษาใหม่รูปแบบใหม่ 1. วิทยาเขตสุราษฎรธ์ านี ดำเนินการแต่งตัง้ คณะกรรมการประชาสัมพันธห์ ลกั สูตรเชิงรกุ 2. วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ทำงานร่วมกับคณะมากขึ้นเพื่อเตรียมการวางแผนการ ประชาสัมพันธห์ ลักสูตรเชิงรุก 3. วทิ ยาเขตสรุ าษฎร์ธานี นำ PDCA มาใช้ประชาสัมพนั ธห์ ลักสตู รเชิงรุก 9.3 วิธกี าร / แนวทางการปฏิบัตจิ ริง (PDCA) 9.3.1 การวางแผน (Plan) 9.3.1.1 จัดตั้ง คณะกรรมการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ สร้างและปรับปรุงกลยุทธ์ในการประชาสัมพันธ์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน และรายงานผลการรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2561 ผ่านระบบ TCAS ทั้ง 5 รอบ และสถานการณ์ การรบั นกั ศกึ ษาใหมน่ อกมหาวิทยาลยั เพื่อประเมนิ สถานการณ์ 9.3.1.2 วิเคราะห์ SWOT ของการประชาสัมพันธ์ เพื่อการรับนักศึกษาใหม่ เพื่อนำประเด็น ในการวิเคราะห์มาพฒั นาปรับปรุงแก้ไขกระบวนการประชาสมั พนั ธ์ เพ่อื การรบั นักศกึ ษาใหม่ใหม้ ีประสิทธิภาพ สงู สดุ 9.3.1.3 นำผลการวิเคราะห์เสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุก โดยได้เป้าหมายการพัฒนาปรบั ปรงุ กระบวนการประชาสมั พนั ธห์ ลกั สตู รดงั ต่อไปน้ี 9.3.1.3.1 การประชาสัมพันธ์ Roadshow ตามโรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดภาคใต้ มีการกำหนดโรงเรียนเพิ่มขึ้น โดยอ้างอิงจำนวนผู้ที่เข้าศึกษาในวิทยาเขตเป็นหลัก เพื่อเป็นข้อมูลการ ยืนยัน ว่าจะมีผู้สมัครมากขึ้นและง่ายต่อการสื่อสาร โดยเฉพาะการสื่อสารระหว่างศิษย์เก่ากับศิษย์ปัจจุบัน เพือ่ เป็นการสรา้ งแรงจูงใจให้มาเรยี นเพ่มิ ข้ึน 480

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 9.3.1.3.2 การพัฒนาปรับปรุงเพจ Facebook: รับนักศึกษาใหม่ ม.อ. สุราษฎร์ธานี ให้มีความเคลื่อนไหวที่ถี่ขึ้น พัฒนาปรับปรุงสื่อที่จะถูกโพสต์ลงบนเพจ ให้ดูมีความทันสมัยมากยิ่งข้ึ น มีเนื้อหาที่ตรงกับความสนใจของกลุ่มเป้าหมายให้มากขึ้น และมีกระบวนการผลิตสื่อที่หลากหลาย เชน่ การทำ Infographic, Videos และการถ่ายทอดสดผ่านเพจ ฯลฯ 9.3.1.3.3 การปรับปรุงแผ่นพับ คณะ / สาขาวิชาของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ให้มีเนื้อหา และการออกแบบท่ที ันสมยั มากยิ่งขึน้ 9.3.1.3.4 การพัฒนาเว็บไซต์รับสมัครนักศึกษาใหม่ ให้สามารถเข้าถึงง่ายขึ้น มเี นื้อหาและการออกแบบหนา้ เวบ็ ทท่ี นั สมยั เขา้ ถึงง่าย มขี อ้ มูลครบถว้ น 9.3.1.3.5 การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาในการสื่อสาร เพ่ือเป็นส่วนหนี่งในการสื่อสาร ระหว่างผู้เรียนกับกลุ่มเป้าหมายโดยตรง โดยงานรับนักศึกษาได้มีชมรมนักศึกษาที่รองรับกลยุทธ์ดังกล่าว คือ ชมรม Roadshow ที่มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ ประชาสัมพนั ธ์คณะ / สาขาวิชาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ตรงกับยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ โดยการประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็นที่รู้จักในวงกว้าง เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเห็นถึงความสำคัญ และมแี รงจูงใจในการเป็นบัณฑิตของสถาบัน 9.3.1.4 กำหนดแผนการดำเนินงานการประชาสัมพันธ์หลักสูตรเชิงรุกของวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี โดยกำหนดช่วงเวลาการปฏิบตั ิงาน และเสนอต่อคณะกรรมการประชาสัมพนั ธ์หลักสตู รเชิงรกุ ดังต่อไปนี้ 9.3.1.4.1 เดือนกรกฎาคม เป็นต้นไป: ผลิตสื่อการประชาสัมพันธ์ผ่านเพจ “รับนักศึกษาใหม่ ม.อ. สุราษฎร์ธานี” เพื่อให้เพจมีความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับหลักสูตร และข่าวสาร การรบั สมัครอยูต่ ลอดเวลา โดยกำหนดโพสตอ์ ย่างนอ้ ย 3 ชน้ิ ต่อสัปดาห์ 9.3.1.4.2 เดือนกรกฎาคม: ขอข้อมูลหลักสูตรในการประชาสัมพันธ์ เพื่อออกแบบ แผ่นพับประชาสัมพันธ์หลักสูตรของวทิ ยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 9.3.1.4.3 เดือนสงิ หาคม: พัฒนาปรบั ปรงุ เวบ็ ไซต์ รบั นกั ศึกษาใหม่ ม.อ. สุราษฎร์ธานี 9.3.1.4.4 เดือนกันยายน – ตุลาคม: ประสานงานติดต่อโรงเรียนตามแผนเพื่อกำหนด วัน - เวลาในการเขา้ ประชาสัมพันธ์ตามโรงเรยี น 9.3.1.4.5 ช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม: ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์หลักสูตรตามโรงเรียน ต่าง ๆ ในภาคใต้ จำนวนโรงเรยี น 100 โรงเรียน โดยประมาณ 9.3.1.4.6 เดือนธันวาคม: ทำการถ่ายทอดสดเกี่ยวกับหลักสูตร โดยผู้บริหาร และคณาจารย์ 9.1.1.4.7 ประชุมติดตามผลการดำเนินการหลังการรับสมัครผ่านระบบ TCAS ตั้งแตร่ อบท่ี 1 – 5 เพ่ือวิเคราะห์เหตุการณ์ คาดการณ์อนาคต และปรบั ปรงุ แผนใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งขึน้ 9.1.1.4.8 ในปีการศึกษา 2563 เป็นปีแรกที่วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี จัดทำโครงการค่าย ม.อ. สุราษฎร์ธานี สานฝัน สู่เมล็ดพันธุ์ใหม่ (PSU Surat Seeded Camp) ขึ้นมา เพื่อให้นักเรียนที่สนใจ ในสาขาต่าง ๆ ของวิทยาเขตสุราษฎรธ์ านี ได้มาเรยี นรู้ และวิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านใี ห้สทิ ธพิ เิ ศษสำหรับนักเรียน 481

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เ ข ้ า ค ่ า ย ม . อ . ส ุ ร า ษ ฎ ร ์ ธ า น ี ส า น ฝ ั น ส ู ่ เ ม ล ็ ด พ ั น ธ ุ ์ ใ ห ม ่ ( PSU Surat Seeded Camp) โดยให้สิทธผิ์ ่านการคัดเลือกเขา้ ศึกษาภายใต้โครงการของวทิ ยาเขตสุราษฎร์ธานที ี่มอี ยู่ 9.1.1.4.9 ในปีการศึกษา 2565 วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ได้จัดทำข้อตกลงความร่วมมือทาง วิชาการกับโรงเรียนในเครือข่ายและโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 44 โรงเรียนทั่วภาคใต้ เพื่อยกระดับคุณภาพ การจัดการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต่อผู้เรียน ให้สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียนและท้องถิ่น และให้โควตากับโรงเรียนในเครือข่ายและโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มีความร่วมมือ กับมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎรธ์ านี เพื่อใหเ้ ขา้ ศึกษาในวิทยาเขตสุราษฎรธ์ านี 9.3.2 การปฏบิ ตั ิตามแผน (Do) 9.3.2.1 ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม เป็นต้นไป : ทางรับนักศึกษาใหม่และประชาสัมพันธ์ ได้ทำการคิดเนื้อหา ศึกษาพฤติกรรม อันนำมาสู่การสร้างสรรค์ สื่อในรูปแบบ Infographic และ Videos ที่หลากหลายเพื่อโพสต์ลงบนเพจ Facebook“รับนักศึกษาใหม่ ม.อ. สุราษฎร์ธานี” โดยมีการกำหนด Themes กับเนื้อหา เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง โดยอาศัยการแชร์และการกดถูกใจ เป็นตัวชี้วัดว่า Themes ประสบความสำเร็จหรือไม่ หากไม่จะทำการหา Themes สำรอง มาปรับปรุงแก้ไขสื่อทันที ยกตวั อย่างส่อื ดังต่อไปน้ี ยกตัวอย่าง : TCAS รอบที่ 4 ADMISSION โดยในช่วงดังกล่าวมีภาพยนตร์ เรื่อง AVENGERS : Endgame เข้าฉาย และเป็นที่สนใจในมุมกว้างโดยเฉพาะนักเรียนนักศึกษาที่รอยคอยภาพยนตร์ เรื่องนี้มาถึง 10 ปี ทางรับนักศึกษาใหม่ จึงอาศัยโอกาสนี้เกาะกระแสโดยการออกแบบ Infographic ที่คล้ายคลึงกับโปสเตอร์ภาพยนตร์ โดยผลลัพธ์คือ มีผู้สนใจสื่อตัวนี้มาก มีการกดถูกใจไป 224 ครั้ง และกดแชร์ 120 ครั้ง 9.3.2.1 พัฒนาเว็บไซต์ โดยมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างของเว็บไซต์ ทั้งหมดให้มีรูปแบบเดียวกัน ทั้งหมดเพื่อให้ เว็บไซต์ทันสมัย เข้าถึงง่ายทั้งในการสมัคร การประกาศผลและค้นหาข้อมูลทีผ่ ู้สมัครสนใจเปน็ พเิ ศษ เชน่ หลกั สูตรเรยี นเกี่ยวกบั อะไร มคี า่ ธรรมเนยี มการศกึ ษาเท่าไหร่ ฯลฯ โดยใช้เวลาพฒั นา 1 เดือน 482

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ เวบ็ ไซตเ์ กา่ เวบ็ ไซต์ใหม่ 9.3.2.3 ดำเนินการโทรติดต่อประสานงานกับโรงเรียนต่าง ๆ จำนวน 120 โรงเรียนตามแผนที่วาง เอาไว้ สำหรับการไปแนะแนวประชาสัมพันธ์ตามโรงเรียนต่าง ๆ ในปี 2564 เนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ของประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อเป็นจำนวนมากทำให้ไม่สามารถเดินทางไปประชาสัมพันธ์หลักสูตรตามโรงเรียน ต่าง ๆ จนปรับเปลี่ยนรูปแบบการประชาสัมพันธ์หลักสูตรมาเป็นรูปแบบออนไลน์แทน โดยในระบบ Google Meet หรอื ระบบ ZOOM หรอื ระบบอ่นื ๆ ตามท่ีโรงเรียนน้นั ๆ สะดวกใช้ ซ่ึงเปน็ การทำงานรว่ มกัน ระหว่างวทิ ยาเขตกบั คณะและวิทยาลยั ในการประชาสัมพันธ์หลกั สตู รในรูปแบออนไลน์ครัง้ แรกซึง่ ครอบคลมุ ทั้งภาคใต้ 14 จังหวัด มากกว่า 250 ครั้งเฉพาะที่ส่วนกลางวิทยาเขตดำเนินการเอง ไมร่ วมการประชาสมั พนั ธ์ในสว่ นของคณะ/วิทยาลัยดำเนินการ 9.3.2.4 ดำเนินการลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์หลักสูตรตามโรงเรียนต่าง ๆ ที่ได้ประสานงานไว้ โดยดำเนนิ การร่วมกบั คณาจารย์ของแตล่ ะสาขาวิชา และนักศึกษา อันแสดงออกถึงการทำงานร่วมกันระหว่าง คณาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา เพื่อประโยชน์ของมหาวิทยาลัยและยังสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง มหาวทิ ยาลัยกับนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ตามโรงเรยี นตา่ ง ๆได้ประชาสัมพนั ธห์ ลักสตู ร 9.3.2.5 ดำเนินการจัดทำการถ่ายทอดสดเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ผ่านเพจ Facebook รับนักศึกษาใหม่ ม.อ. สุราษฎร์ธานี (https://www.facebook.com/tcaspsusurat/) โดยมีการทำสื่อเพ่ือ ชี้แจงกิจกรรม เพื่อให้ผู้ที่ติดตามเพจ เข้ามาชมการถ่ายทอดสด โดยการถ่ายทอดสด มี 2 ช่วง ช่วงที่ 1 ชื่อตอน “เรียนอะไร ใน ม.อ. สุราษฎร์ธานี\" ซึ่งมีผู้เข้าชมสูงถึง 47,197 คน มีการกดถูกใจจำนวน 415 ครั้ง และกดแชร์จำนวน 541 ครั้ง ช่วงที่ 2 ชื่อตอน “Good VIBES Good LIFE @ PSU, Suratthani” มีผู้เข้าชม 19,947 คน มีผ้กู ดถูกใจจำนวน 165 คน และกดแชร์จำนวน 170 ครง้ั สามารถสร้างการรับรูไ้ ดเ้ ป็นวงกว้าง 9.3.2.6 หลังจากการดำเนินการต่าง ๆ จะมีการสรุปผล โดยใช้ข้อมูลผู้สมัครผ่าน TCAS ทั้ง 5 รอบ ในปีการศึกษา 2561 เพื่อดูความสอดคล้อง หากมีจำนวนที่คงเดิม หรือลดลง จะมีการเร่งประชาสัมพันธ์ ผ่านเพจในประเด็นต่าง ๆ ที่ยังไม่โดดเด่น สรุปผล ปรับปรุงแก้ไข และรายงานผลต่าง ๆ ต่อคณะกรรมการ ประชาสัมพนั ธห์ ลกั สตู รเชิงรกุ 9.3.2.7 ดำเนินจัดโครงการค่าย ม.อ.สุราษฎร์ธานี สานฝันสู่เมล็ดพันธุ์ใหม่ (PSU Surat Seeded Camp) จัดมาอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลา 3 ปี แล้ว ตั้งแต่ 2562 -2565 โดยโครงการนี้ได้ใช้งบประมาณ 483

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ จากงานบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์(ประชาสัมพันธ์) และงานสนับสนุนวิชาการ (รับนักศึกษาใหม่) เป็นผู้ดูแลโครงการ แต่เราทำงานร่วมกันโดยยึดเป้าหมายเดียวกัน โดยมียอดนักเรียนสมัครเข้าศึกษา เป็นที่น่าพอใจของผู้บริหาร ซึ่งในการดำเนินการจัดกิจกรรมปีที่ 1 จัด ณ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ในรูปแบบ 2 วัน 1 คืน พักในมหาวิทยาลัย ส่วนปีที่ 2-3 จัดในรูปแบบออนไลน์ 1 วัน เนื่องจากสถานการณ์ แพร่ระบาดไวรัสโควิด-19 ซึ่งนกั เรยี นเขา้ โครงการน้ีจะได้เขา้ สอบสัมภาษณ์ด้วย เม่อื เขา้ สอบสมั ภาษณ์นักเรียน มีสทิ ธเ์ิ ข้าศกึ ษาด้วย สำหรบั นักเรียนทกี่ ำลังศกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 เม่อื สอบสัมภาษณ์ผา่ นการคดั เลอื กแล้ว จะได้สิทธิเป็นผู้ผ่านการคัดเลือกภายใต้โครงการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษา โดยวิธีพิเศษ โครงการเยาวชนร่ม ศรีตรัง และนักเรียนที่กำลังศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 เมื่อสอบสัมภาษณ์ ผ่านการคัดเลือกแล้วจะได้สิทธิเป็นผู้ผ่านการคัดเลือกภายใต้โครงการคัดเลือกนักเรียนเข้าศึกษา โดยวธิ พี ิเศษ โครงการเสน้ ทางอาชีวศกึ ษาสู่รัว้ สงขลานครินทร์ ภาพจัดกจกรรมโครงการคา่ ย ม.อ.สรุ าษฎรธ์ านี สานฝันส่เู มลด็ พันธุ์ใหม่ (PSU Surat Seeded Camp) 9.3.2.8 การจัดทำข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับโรงเรียนในเครือข่ายและโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย งานสนับสนุนวิชาการ (รับนักศึกษาใหม่) ได้จัดทำโดยพิจารณาจากโรงเรียนที่มีนักเรียน มาศึกษา ณ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี จำนวนสูงสุด 10 อันดับแรก ของปีการศึกษา 2563 รวมถงึ โรงเรียนท่มี คี วามร่วมมือกบั คณะ/วิทยาลัย 484

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาพการลงนามขอ้ ตกลงความรว่ มมือทางวิชาการกบั โรงเรียนในเครอื ข่ายฯ 9.3.3 การตรวจสอบการดำเนินการ (Check) 9.3.3.1 ในการโพสต์สื่อผ่านเพจ Facebook จะใช้การตรวจสอบจากตัวชี้วัดเป็นหลัก คอื มจี ำนวนผ้กู ดถกู ใจ กดแชร์ หรอื แสดงความคดิ เห็นมากหรอื ไม่ 9.3.3.2 ในการติดต่อสื่อสารโรงเรียนเพื่อกำหนดวันและเวลาในการลงพื้นที่ Roadshow จริง ตอ้ งตรวจสอบว่าโรงเรยี นตอบรบั ให้ประชาสมั พนั ธ์เป็นไปตามแผนหรือไม่ 9.3.3.3 ในการลงพื้นที่ในโรงเรียนต่าง ๆ เพื่อ Roadshow ประเมินสถานการณ์เฉพาะหน้า จากพฤติกรรม และความสนใจของผู้สมัครใหม่เป็นหลัก เพื่อปรับการวางตัวให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ในการสือ่ สาร และสามารถคาดการณก์ ารวางตวั ในโรงเรียต่อไปได้ 9.3.3.4 ติดตามผลการตอบรับตั้งแต่การประชาสัมพันธ์กิจกรรม มีผู้กดถูกใจ กดแชร์ มากหรือไม่ และติดตามผลระหว่างการดำเนินงานมผี ้เู ขา้ มามสี ว่ นร่วมมากน้อยแคไ่ หน 9.3.3.5 สรปุ ผลการดำเนินงานและนำเสนอต่อคณะกรรมการประชาสัมพนั ธ์สูตรเชงิ รกุ 9.3.3.6 ดำเนินการตรวจสอบสรุปจำนวนนักเรียนยืนยันสิทธ์ิโครงการค่าย ม.อ. สุราษฎรธ์ านี สานฝันสเู่ มลด็ พันธใ์ุ หม่ (PSU Surat Seeded Camp) 9.3.3.7 ดำเนินการตรวจสอบสรุปจำนวนนักเรียนยืนยนั สทิ ธโ์ิ ครงการความรว่ มมือทางวิชาการ กบั โรงเรียนในเครือขา่ ยและโรงเรยี นกลุม่ เป้าหมาย 485

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ โครงการคา่ ย ม.อ.สรุ าษฎร์ธานี สานฝนั สเู่ มลด็ พนั ธใ์ุ หม่ (PSU Surat Seeded Camp) คา่ ย Seed คา่ ย Seed คณะ/สาขาวิชา รับ ประกาศ ผา่ น Clearing คณะ/สาขาวิชา รับ ประกาศ ผา่ น Clearing รายช่ือ สมั ภาษณ์ House รายชื่อ สมั ภาษณ์ House โครงการจดั ตง้ั คณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง คณะศลิ ปศาสตร์และวิทยาการจัดการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร 64 19 16 6 การจดั การธรุ กจิ 88 46 44 20 เทคโนโลยีอาหาร 64 6 5 0 การจัดการธรุ กจิ การทอ่ งเทย่ี ว 88 8 7 3 ทรัพยากรประมง 48 7 7 0 การจดั การรัฐกจิ 96 71 60 37 รวม 176 32 28 6 เศรษฐศาสตร์ธรุ กจิ 88 4 4 3 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม หลกั สตู รบญั ชี 88 26 22 10 เทคโนโลยกี ารจดั การอตุ สาหกรรมวัสดุ 64 4 4 1 รวม 448 155 137 73 เทคโนโลยีสารสนเทศ 64 23 21 14 เคมีเพอ่ื อตุ สาหกรรม 48 23 21 1 วิทยาลยั นานาชาติ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี สงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ ความย่งั ยนื 48 13 10 2 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 96 45 38 12 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารทางธรุ กจิ 160 34 22 15 การจดั การงานวิศวกรรม 48 21 14 5 368 129 108 35 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สารทางธรุ กจิ (2 ปริญญา) 32 4 4 1 รวม ภาษาจีนเพอ่ื การสอื่ สารทางธรุ กจิ (นานาชาต)ิ 48 16 16 4 สาขาวิชาภาษาเพอ่ื การสอื่ สารทางธรุ กจิ ระหว่าง 0 0 0 0 รวม 240 54 42 20 สรุปยนื ยันสทิ ธิ์ 1232 370 315 134 ข้อมูลวันท่ี 17 ก.พ.65 ภาพ สรปุ จำนวนนักเรียนยนื ยันสิทธ์ิโครงการค่าย ม.อ. สุราษฎรธ์ านี สานฝันสเู่ มล็ดพันธใ์ุ หม่ (PSU Surat Seeded Camp) โครงการคดั เลอื กนกั เรียนจากโรงเรียนในเครือข่ายและโรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมายทม่ี ีความร่วมมือกบั มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี รร เครือข่ายและกลมุ่ เปา้ หมาย รร เครือข่ายและกลมุ่ เปา้ หมาย คณะ/สาขาวิชา รับ ผา่ นสมั ภาษณ์ Clearing คณะ/สาขาวิชา รับ ผา่ น Clearing โครงการจัดตงั้ คณะนวัตกรรมการเกษตรและประมง House คณะศลิ ปศาสตร์และวิทยาการจดั การ สมั ภาษณ์ House วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ไม่จากดั 4 2 การจัดการธรุ กจิ ไม่จากดั 26 9 เทคโนโลยอี าหาร จานวน 7 0 การจัดการธรุ กจิ การท่องเทย่ี ว จานวน 15 3 ทรัพยากรประมง 5 3 การจดั การรัฐกจิ 54 20 16 5 เศรษฐศาสตร์ธรุ กจิ 6 3 รวม หลกั สตู รบญั ชี 21 9 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม เทคโนโลยกี ารจดั การอตุ สาหกรรมวัสดุ 1 0 รวม 122 44 เทคโนโลยีสารสนเทศ 7 4 วิทยาลยั นานาชาติ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี เคมีเพอื่ อตุ สาหกรรม ไม่จากดั 6 0 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารทางธรุ กจิ ไม่จากดั 33 21 สง่ิ แวดลอ้ มเพอ่ื ความย่งั ยนื จานวน 5 0 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สารทางธรุ กจิ (2 ปริญญา) จานวน 2 1 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 53 21 ภาษาจนี เพอื่ การสอื่ สารทางธรุ กจิ (นานาชาต)ิ 15 7 การจัดการงานวิศวกรรม 11 4 สาขาวิชาภาษาเพอื่ การสอ่ื สารทางธรุ กจิ ระหว่าง 8 2 83 29 58 31 รวม รวม สรุปยืนยนั สทิ ธ์ิ 279 109 ข้อมูลวันที่ 17 ก.พ.65 ภาพ สรปุ จำนวนนักเรยี นยนื ยนั สิทธ์โิ ครงการความร่วมมือทางวชิ าการกบั โรงเรียนในเครือขา่ ยฯ 9.3.4 การปรับปรุงแก้ไข (Act) 9.3.4.1 หากสื่อตัวใดไม่เป็นที่ตอบรับ จะมีการแก้ไขปรับปรุงการออกแบบ และกำหนดช่วงเวลา การโพสต์ใหม่เพ่อื ให้ตรงกับช่วงที่มีผู้เขา้ ใช้ Facebook มากท่สี ุด 9.3.4.2 หากโรงเรยี นมคี าบแนะแนว หรือประชุมระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ไมต่ รงกับแผนที่วางไว้ อาจต้องปรับแผนช่วงเวลาใหม่ให้ตรงกับโรงเรียนที่ไกล้เคียงมากที่สุด หรือในกรณีที่เลวร้ายสุดอาจจะต้องตัด 486

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ โรงเรียนดังกล่าว และหาโรงเรียนใหม่ที่มีคาบเรียนที่ตรงกับแผนที่วางไว้ เพื่อให้การใช้งบประมาณในการลง พ้ืนท่ปี ระชาสัมพนั ธถ์ ูกใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพสงู สดุ 9.3.4.3 ในการลงพื้นที่ มีการแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าตลอดเวลา เพื่อประเมินสถานการณ์ ไม่ให้ผู้สมัครใหม่เกิดอาการเบื่อ หรือไม่สนใจ สร้างความสนใจให้แก่ผู้สมัคร พยายามสร้างแรงจูงใจ และความสำคัญ ของการเปน็ บัณฑติ ของมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตสรุ าษฎรธ์ านี ใหม้ ากทสี่ ดุ 9.3.4.4 ในช่วงประชาสัมพันธ์ก่อนการจัดกิจกรรม พยายามดูว่าผู้ติดตามกดสนใจมากหรือไม่ โดยส่วนใหญ่ก็เป็นที่สนใจของผู้สมัครอย่างมาก และในช่วงการถ่ายทอดสด อาจมีการปรับเปลี่ยนบท และประเด็น ระหว่างพักรายการ เพื่อแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า เพื่อใ ห้หลังการพักรายการ จะสามารถบรกิ ารผู้สนใจไดต้ รงตามแผน 9.3.4.5 สรุปผลการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆเสนอต่อคณะกรรมการประชาสัมพันธ์หลักสูตร TCAS ตงั้ แตร่ อบที่ 1 – 5 9.2 งบประมาณท่ใี ช้ในการจัดโครงการ - กจิ กรรม 20,000 บาท ค่าอาหารกลางวนั ( 8,200 บาท ค่าอาหารว่าง (60 คน * 20 บาท) 2,750 บาท ค่ากาแฟ โอวัลติน 3,600 บาท ค่าตอบแทนนกั ศกึ ษาช่วยงานบรรจเุ อกสารประชาสมั พันธ์ 34,550 บาท รวมเป็นเงนิ 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3ปี) และ/ หรอื เปรียบเทยี บกับหน่วยงานภายใน / ภายนอก จากผลการดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิงรุก โดยพัฒนาสื่อบนเพจ Facebook รับนักศึกษาใหม่ ม.อ. สุราษฎร์ธานี (https://facebook.com/tcaspsusurat) และลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ผ่านโรงเรียน ต่าง ๆ ในภาคใต้ ผลปรากฏว่า ปีการศึกษา 2561 – 2562 จำนวนผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษายังคงมีอัตราการ เพิ่มที่สูงขึ้น และเมื่อเทียบกับ 2 วิทยาเขต ได้แก่ ภูเก็ต และ ตรัง ชี้ให้เห็นว่าวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ยังคงมีจำนวนผู้เข้าศึกษาในสัดส่วนที่สูงสุดเป็นอันดับที่ 1 และมีแนวโน้มที่สูงขึ้น คือ ปีการศึกษา 2561 มีจำนวนผู้เข้าศึกษาจำนวน 872 คน ปีการศึกษา 2562 มีจำนวนผู้เข้าศึกษาจำนวน 858 คน และในปีการศึกษา 2563 มีจำนวนผู้เข้าศึกษา จำนวน 835 คน ปีการศึกษา 2564 มีจำนวนผู้เข้าศึกษา 822 คน จะเห็นได้ว่าปีการศึกษา 2565 วิทยาเขตสุราษฎร์ธานีมีกระบวนรับนักศึกษาเชิงรุกมากขึ้น ทำให้มีนักเรียนยืนยันสิทธิ์ถึง 889 คน ในขณะเดียวกันวิทยาเขตภูเก็ตปีการศึกษา 2561 มีจำนวน 562 คน ในปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 553 คน และในปีการศึกษา 2563 มีจำนวน 323 คน ปีการศึกษา 2564 มีจำนวน 378 คน และปกี ารศึกษา 2565 มนี กั เรียนยืนยนั สิทธิ์ 395 คน และวทิ ยาเขตตรงั ปีการศกึ ษา 2561 มีจำนวน 731 คน ปีการศึกษา 2562 มีจำนวน 599 คน และในปีการศึกษา 2563 มีจำนวน 561 คน ปีการศึกษา 2564 มีจำนวน 476 และปีการศึกษา 2565 มีนักเรียนยืนยันสิทธิ์ 368 คน และจากการ ดำเนนิ การประชาสมั พนั ธเ์ ชิงรุก และการรับนกั ศึกษาเชงิ รุกมีจำนวนนกั ศึกษาท่ียืนยันสิทธิ์เพ่ิมขน้ึ อีกด้วย 487

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เปรียบเทียบจานวนนักศกึ ษายืนยันสทิ ธ์ิแตล่ ะวทิ ยาเขต 1,000 800 600 400 200 - 2561 2562 2563 2564 2565 ภเู กต็ 562 553 323 378 395 สรุ าษฎรธ์ านี 872 858 835 822 889 ตรงั 731 599 561 476 368 ภเู ก็ต สรุ าษฎร์ธานี ตรงั 11. การเรยี นรู้ (Study / Learning) 11.1. แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอยา่ งต่อเนื่องในอนาคต 11.1.1. สร้างกลยทุ ธก์ ารรับนักศึกษาใหมเ่ ชิงรุก 11.1.2. สรา้ งทมี งานประชาสัมพันธเ์ ชงิ รกุ เพ่ือประขาสัมพันธ์หลกั สูตรใหค้ รบทั่วภาคใต้ 11.1.3. ปรับปรงุ โครงการรับนกั ศกึ ษาใหมเ่ พ่ือให้ทันยุคปจั จบุ นั 11.2. จุดแข็ง (Strength) หรือ ส่งิ ทท่ี ำไดด้ ใี นประเด็นท่ีนำเสนอ 11.2.1. ผู้นำและผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญกับการรับนักศึกษา และส่งเสริม สนบั สนุนให้ทีมงานไดน้ ำเสนอกลยทุ ธใ์ หมๆ่ และเปดิ โอกาสให้ทำงานได้อยา่ งเต็มที่เพื่อมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ 11.2.2. มีความตั้งใจพัฒนาวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี เนื่องจากบุคลากรเป็นศิษย์เก่ า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงมีความมุ่งมั่นตั้งใจทำงานเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานีใหค้ วามก้าวหน้ามากข้ึนไป 11.2.3. ทีมงานมองเปา้ หมายในทศิ ทางเดียวกัน 11.2.4. สภาวะการทำงานที่มีความเป็นทมี 11.2.5. สภาวะการปรับตวั สงู ในการเผชญิ ปัญหาหรือสถานการณท์ ่ีพลิกผัน ก็สามารถปรับปรงุ พัฒนา แกไ้ ข หรอื สร้างโอกาสจากปัญหาดงั กล่าวเพ่ือนำไปสู่ผลลพั ธท์ ี่มปี ระสทิ ธิภาพสูงสดุ 11.2.6 มหี ลกั สูตรทีต่ อบสนองโจทย์และเปน็ ที่ใหค้ วามสนใจกับนกั เรยี น 11.2.7 พ้ืนทีต่ ้งั ของวทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี เปน็ พืน้ ทีม่ ีความเพียบพร้อมในทุกด้าน 11.3. กลยุทธ์ หรือ ปจั จัยทน่ี ำไปสู่ความสำเรจ็ 11.3.1. วิสัยทัศน์ของผนู้ ำองค์กร 488

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 11.3.2. ทมี งานมองเปา้ หมายในทศิ ทางเดยี วกนั 11.3.3. ทีมงานมีความตงั้ ใจพัฒนาวทิ ยาเขตสรุ าษฎร์ธานี 11.3.4. การวางแผนที่มีความมั่นคงและยื่นหยุ่นได้ในเวลาเดียวกันเพื่อปรับตัวรับมือ กับทุกสถานการณ์ หรือปัญหาที่จะเกิด เพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมี ประสิทธิภาพ 12. ประเด็น (จดุ เดน่ ) ทีเ่ ป็นแนวปฏิบัติที่เปน็ เลิศ 12.1 ทมี งานมจี ุดมงุ่ หมายเดยี วกัน อันนำไปสู่ผลลัพธ์ท่ีดีท่สี ดุ ในการทำงาน 12.2 มีพฒั นาการออกแบบส่ืออยู่ตลอดเวลา เพื่อเขา้ ถึงกบั กลมุ่ เปา้ หมายท่มี ีช่วงวยั ท่ีหลากหลาย 12.3 มีการวางแผนที่ชัดเจน และมีกระบวนการดำเนินการที่แสดงออกถึงการทำเป็นทีมสูง สามารถ ทำงานตามแผนที่วางไว้ได้ หรือสามารถวางตำแหน่งงานแทนกันได้โดยไม่กระทบกับแผนการดำเนินงาน ท่ีวางเอาไว้ 12.4 มีทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าสูง เพื่อให้เกิดผลกระทบกับงานน้อยที่สุดโดยระหว่างเดียวกัน กพ็ ัฒนาและปดิ ช่องโหวใ่ นการทำงานในเวลาเดียวกัน 13. เอกสารอ้างอิง 13.1.สถติ นิ กั ศึกษา วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี ปีการศกึ ษา 2560 – 2565 (ลงิ ค์ : https://tinyurl.com/uoxkmug ) 13.2. เพจ Facebook : รับนักศึกษาใหม่ ม.อ. สรุ าษฎร์ธานี (ลิงค์ : https://www.facebook.com/tcaspsusurat/ ) 13.3. เวบ็ ไซตร์ ับสมคั รนักศกึ ษาใหม่ วทิ ยาเขตสุราษฎรธ์ านี (ลิงค์ : http://entrance.surat.psu.ac.th/ ) 14. บทสรปุ สืบเนื่องจากนโยบายของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ได้ประกาศให้มหาวิทยาลัย ในระบบ ทุกมหาวิทยาลัย ต้องดำเนินการรับนักศึกษาผ่านระบบ TCAS (Thai university Central Admission System) อันส่งผลกระบทต่อจำนวนผู้สมัคร ผู้มาสัมภาษณ์ และผู้เข้ายืนยันสิทธ์ิ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี มีการปรับตัว และปรับปรุงกระบวนการประชาสัมพันธ์ การรับนักศึกษาเชิงเชิงรุก เพื่อให้คณะ / สาขาวิชา และมหาวิทยาลัย เป็นที่รับรู้ต่อกลุ่มเป้าหมายมากย่ิงขึ้น โดยมีตัวช้ีวัดจากจำนวนนักเรียนยืนยันสิทธิ์ ของปีการศึกษา 2565 มากถึง 889 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ 4 ปี ทผ่ี ่านมา มีนกั เรียนยนื ยันสิทธิ์เขา้ ศกึ ษาเฉลี่ยปีละ 800 คน แต่ปีการศกึ ษา 2565 ยืนยนั สิทธ์ถิ งึ 889 คน 489

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลิศ *************************************** 1. ช่อื เร่อื ง การบริหารจดั การความเสี่ยงภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา่ (Covid-19) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 2. โครงการ/กิจกรรมด้าน การบรหิ ารจัดการ 3. ช่อื หน่วยงาน กลมุ่ งานบรหิ ารและบคุ คล คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4. ประเภทของโครงการ แนวปฏบิ ัตทิ ่ดี สี ายสนบั สนุน 5. คณะทำงานแนวปฏิบตั ทิ ี่ดี (Best Practices) 5.1 นางกติ ยิ าภรณ์ สนิ ศุภเศวต 5.2 นางสาวจารวุ รรณ สุวรรณรัตน์ 5.3 นางอาภาพรรณ อิทธิพลานุคุปต์ 6. การประเมนิ ปญั หา / ความเส่ียง (Assessment) จากสถานการณ์การอุบัติของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรน่า (Covid-19) เมื่อปลายปี พ.ศ.2562 และไดม้ ีการแพร่กระจาย เขา้ มาสปู่ ระเทศไทยอยา่ งรวดเร็วทว่ั ทกุ ภมู ิภาคของประเทศในเวลาไม่นาน จนทำให้รัฐบาลตอ้ งประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินท่ัว ราชอาณาจักร พร้อมจัดตั้งศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค Covid-19 (ศบค.) เพื่อดูแลเรื่องดังกล่าวโดยตรง รวมทั้งไดแ้ บ่งเขตพืน้ ท่ีเพ่อื เฝา้ ระวังตามระดบั ความรนุ แรงของการแพรร่ ะบาด ซึ่งส่งผลกระทบเปน็ วงกวา้ งต่อทุกภาคส่วน ทั้ง ด้านเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งในวงการศึกษา ทำให้ทุกภาคส่วนต้องมีการปรับตัวแบบ New Normal เพื่อให้สามารถดำเนิน ชีวิตในชว่ งสถานการณ์ดังกลา่ วได้อย่างปลอดภัย โดยหนว่ ยงานภาครฐั ต่าง ๆ ได้พร้อมใจกันนำนโยบายมาสู่การปฏบิ ตั ิ ตั้งแต่ ระดบั ประเทศลงมาถงึ ระดบั จังหวดั รวมถงึ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์เองไดม้ กี ารประกาศมาตรการ แนวปฏิบตั ิเก่ียวกบั การ เฝา้ ระวงั และควบคมุ การระบาดของโรคเพื่อให้เกดิ ความปลอดภยั ในชวี ติ ให้กับบุคลากร นกั ศึกษาตลอดจนผู้เก่ียวข้องทกุ คน กลุ่มงานบริหารและบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ดูแล รับผิดชอบหลักในเรื่องดังกล่าว จึงได้นำนโยบายจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มาจัดทำแนวทางในการบริหารจัดการความเสี่ยง จากการตดิ เช้ือ Covid-19 เพือ่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั จากการตดิ เชือ้ ดังกล่าวของบคุ ลากรภายในคณะ รวมถงึ สรา้ งความเชื่อมนั่ ในความปลอดภยั ทงั้ กายและใจ ภายใต้บริบททส่ี ามารถดำเนินการได้ 7. เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 7.1 เพอ่ื ใหม้ ีระบบการดูแลความปลอดภัยบคุ ลากรของคณะวิศวกรรมศาสตร์จากการติดเช้อื Covid-19 7.2 เพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ 8. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ 8.1 มีระบบการดแู ลความปลอดภยั ของบคุ ลากรจากการตดิ เช้ือ Covid-19 8.2 การบริหารจัดการภายใต้สถานการณ์ Covid-19 ของคณะวศิ วกรรมศาสตร์มปี ระสิทธิภาพสงู ขึ้น 490


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook