Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564

2564

Published by Tnp., 2022-08-30 06:17:52

Description: 2564

Search

Read the Text Version

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อตั ราการสง่ นมแม่ให้ทารกที่ตอ้ งรกั ษาตวั ใน NMCU/NICU ใน 24 ชม. กราฟที่ 3 แสดงอัตราการส่งนมแม่ให้ทารกท่ีตอ้ งรกั ษาตวั ใน NMCU/NICU ใน 24 ชม. จากกราฟ พบวา่ อตั ราการสง่ นมแมใ่ ห้ทารกที่ต้องรกั ษาตัวใน NMCU/NICU ใน 24 ชม. บรรลุเปา้ หมายในปี พ.ศ. 62 = 81.25% แตใ่ นพ.ศ. 63 = 74.07%, ปี พ.ศ. 64 = 61.50% มแี นวโนม้ ลดลง อาจจะมสี าเหตุเนื่องจากสถานการณ์ โควิด-19 ทำใหม้ ารดามคี วามกังวลในการบบี เก็บนำ้ นมส่งลูก และเน่ืองจากปี 64 มีการปรับย้ายหอผปู้ ่วยได้ปรบั ลดอตั รากำลงั ลงในแต่ละเวร เนอื่ งจากมกี ารปรบั ปรงุ หอผูป้ ่วยนำใหม้ กี ารใหไ้ มม่ เี วลามากพอท่ีจะไปช่วยกระตุน้ น้ำนมบีบเก็บน้ำนมให้ทารก ท่รี ักษาตัวท่ี NICU/NMCU ทางหอผูป้ ่วยถือเป็นโอกาสพฒั นาเพ่ือให้บรรลุตามเป้าหมาย 1. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคุณภาพอยา่ งตอ่ เนือ่ งในอนาคต - พัฒนาศักยภาพของบุคลากรในหน่วยงานระดับพยาบาล ผู้ปฏิบัติงานพยาบาล และพนักงานช่วยการ พยาบาล โดยการ 1. ทบทวนแนวปฏบิ ัติการสง่ เสรมิ การเลย้ี งลูกด้วยนมแม่ในหนว่ ยงาน 2. จดั อบรม/ส่งเสริมการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารทง้ั ภายนอกและภายในหนว่ ยงาน 3. มีการนำงานวิจัยมาใชแ้ ละมีการศกึ ษาวิจยั แบบ R2R เชน่ ศึกษาวจิ ัยเกย่ี วกบั อตั ราการไหลของน้ำนมใน 24 ชม.แรก, การส่งเสรมิ นมแมใ่ นทารกที่มี tongue tie 4. สรา้ งนวตั กรรม เชน่ ลกู ประคบ 5. สร้างเครือข่ายนมแม่ร่วมกับคณะกรรมการส่งเสริมการให้นมบุตรและพัฒนาการเด็ก โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ 193

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 11.2 จุดแขง็ (Strength) หรือ สิง่ ท่ีทำไดด้ ีในประเด็นท่ีนำเสนอ 1. มกี ารประเมนิ ความพร้อมของผดู้ แู ล และได้รับความร่วมมือ 2. มกี ารให้ความร้มู ารดาหลังคลอดส่งเสริมการใหน้ มบตุ รทกุ ราย 3. มีการประเมินและแกไ้ ขปญั หาเปน็ รายบุคคล 4. มีคลินิกนมแมใ่ นการให้คำปรึกษา 5. มีสอื่ การสอน 6. มี home call 11.3 กลยทุ ธ์ หรอื ปัจจัยทนี่ ำไปสคู่ วามสำเร็จ 1. นโยบายของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยมีคณะกรรมการ ส่งเสริมการให้ นมบุตรและพัฒนาการเดก็ 2. ทัศนคตทิ ด่ี ีของผปู้ ่วยและครอบครวั ต่อการเล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่ 3. การมสี ่วนร่วมของครอบครวั ในการส่งเสริมการเลี้ยงลกู ด้วยนมแม่ 4. บคุ ลากรต้องมคี วามรู้ ทักษะและทัศนะคตทิ ีด่ ใี นเรือ่ งการส่งเสริมเล้ยี งลูกด้วยนมแม่ 12. ประเด็น (จุดเดน่ ) ทเ่ี ป็นแนวปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลิศ - บุคลากรในหน่วยงานให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยใช้แนวปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน ทำให้การส่งเสริมการเล้ียงลูกดว้ ยนมแมข่ องหอผปู้ ว่ ยมแี นวโนม้ ท่ดี ขี นึ้ 194

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 13. เอกสารอ้างองิ 1. อนุชา ธาตรมี นตร.ี การบบี เกบ็ นมแม่ การจดั เกบ็ นมแม่ และการนำมาใช้. ใน:ภาวิน พวั พรพงษ์, คมกฤช เอี่ยมจิร กลุ , ศิรินชุ ชมโท, อรพร ดำรงวงศ์ศริ ิ, บรรณาธกิ าร. เวชปฏิบตั ิการเลีย้ งลกู ด้วยนมแม.่ กรุงเทพมหานคร: มลู นธิ ิศูนย์ นมแม่แหง่ ประเทศไทย; 2559. 299-303 2. กุสุมา ชูศิลป์. การประเมินทารกทีเ่ ลี้ยงดว้ ยนมแม่. ใน: ศุภวิทย์ มุตตามระ, กุสุมา ชูศิลป์, อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ, วราภาณ์ แสงทวีศิลป, ยุพยงค์ แห่งเชาวนิช, บรรณาธิการ. ตำราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พ์ไอยรา; 2555. หนา้ 163-174 3. มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย. แม่ทำงานกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่. ใน: ยุพยงค์ แห่งเชาวนิช, กรรณิการ์ วิจติ รสุคนธ,์ ศิรพิ ัฒนา ศิรธิ นารตั นกลุ , องั สนา วงศ์ศิริ, อัญชรี พรหมสกุล, บรรณาธิการ. คมู่ อื แมท่ ำงานเลี้ยงลกู ด้วย นมแม.่ กรงุ เทพมหานคร: มลู นธิ ิศูนย์นมแมแ่ ห่งประเทศไทย; 2557. หน้า 34-60 14. บทสรปุ - หอผู้ป่วยเห็นความสำคัญของการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตาม องค์การอนามัยโลก (WHO) จึงได้พัฒนาแนวปฏบิ ตั กิ ารสง่ เสรมิ การเลีย้ งลูกดว้ ยนมแมม่ าอย่างตอ่ เนอื่ งจนไดแ้ นวปฏบิ ตั ิที่ดี หมายเหตุ - สามารถดาวโหลดแบบฟอร์มไดท้ ี่เว็บไซต์ NUR KB คลงั ความร้คู ณะพยาบาลศาสตร์ “แบบฟอร์มการจัดการความรู้” - การรายงานผลการดำเนนิ งาน (Result) จะตอ้ งมีความสอดคลอ้ งกับเปา้ หมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ - ลักษณะอกั ษร TH SarabunPSK ขนาด 14 pt. และใส่หมายเลขหน้า เวน้ ระยะขอบมาตรฐาน - จำนวนหนา้ ในการนำเสนอข้อมลู (รวมเอกสารอ้างอิงและภาคผนวก) คอื จำนวนไม่เกิน 10 หน้า (A4) 195

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏิบัติท่เี ปน็ เลิศ *************************************** 1. ชือ่ เร่ือง แนวปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพอื่ ดูแลผู้ปว่ ยระบบหวั ใจและหลอดเลือดแดงใหญ่ในระยะวิกฤตให้ ปลอดภัยจากการติดเชื้อทีส่ ัมพันธ์กบั การใส่อุปกรณท์ างการแพทย์ (device-associated infection) 2. โครงการ/กจิ กรรมด้าน ด้านประกนั คณุ ภาพ 3. ช่อื หน่วยงาน หออภบิ าลผู้ปว่ ยศลั ยกรรมหัวใจ ทรวงอกและหลอดเลือด (ICU-CVT) โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ 4. ประเภทของโครงการ ( ) ประเภทที่ 1 แนวปฏิบตั ิที่เปน็ เลิศ ระดับคณะ/หนว่ ยงาน (ผ่านการคดั เลือกโดยเวทีหรือผูบ้ ริหารของคณะ) ( ) 1.1 สายวิชาการ ( ) 1.2 สายสนบั สนุน ( ) ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ัตทิ ่ีดี ( ) 2.1 สายวิชาการ (x) 2.2 สายสนับสนุน 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีเป็นเลศิ 1. นาง มณี ส่องสง ประธาน รองประธาน 2. นางสาว รุจริ า เลขาลาวัลย์ สมาชกิ สมาชิก 3. นางสาว วิชุตา จา่ วิสตู ร สมาชกิ สมาชิก 4. นางสาว อุรา แสงเงนิ สมาชกิ สมาชิก 5. นางสาว ปวณี า อนิ ทฤทธิ์ สมาชกิ สมาชกิ 6. นางสาว ขนษิ ฐา แชม่ ไล่ สมาชิก สมาชิก 7. นางสาว ขนษิ ฐา สุนกิจ สมาชกิ สมาชิก 8. นางสาว สิรลักษณ์ ทองห้ยุ สมาชิก สมาชกิ 9. นางสาว สาวติ รี คงเมฆา สมาชิก 10. นางสาว วิรากานต์ หวานหวิน 11. นางสาว จิราวรรณ เผือกแสง 12. นางสาว จาฎพุ จั น์ การดี 13. นาย อภินันท์ ลาวัลย์ 14. นาย ฤทธเิ ดช อินทฤทธ์ิ 15. นางสาวปณสิ รา ชลหตั ถ์ 16. นางสาว กัลยรตั น์ เช้าจนั ทร์ 17. นางสาวคอลียะ๊ ห์ เจะฆอ ทปี่ รึกษา นางสาวบปุ ผา อินทรัตน์ รักษาการหวั หน้าหอผ้ปู ว่ ย ICU-CVT 196

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 6. การประเมินปัญหา/ความเสี่ยง (Assessment) หออภิบาลผู้ป่วยศัลยกรรมหัวใจและทรวงอก (ICU-CVT) ให้การดูแลผู้ป่วยผู้ใหญ่ก่อนและหลังผ่าตัดหัวใจ ทรวงอกและหลอดเลอื ดแดงใหญ่ที่อยใู่ นภาวะวิกฤตหรอื ภาวะฉุกเฉินที่ตอ้ งตดิ ตามอาการและการดูแลอยา่ งใกลช้ ดิ ผู้ปว่ ยสว่ นใหญ่ มีความจำเป็นที่จะต้องใส่อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube) สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง (central venous pressure) และสายสวนปัสสาวะ เพ่ือประโยชน์ในการประคับประคองชีวิต และช่วยเหลือเฝ้าระวังดูแลให้ผูป้ ่วยมีความ ปลอดภัย แต่อย่างไรก็ตามการใส่อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆเข้าไปในตัวผู้ป่วยก็เป็นความเสี่ยงท่ีจะทำให้ผู้ป่วยเกิดการติดเช้ือที่ สมั พันธ์กบั การใส่อุปกรณน์ ั้นๆ (device-associated infection) ซ่ึงการติดเชือ้ ท่เี กดิ ขึ้นจะส่งผลต่อความรนุ แรงของความเจบ็ ป่วย และความปลอดภยั ตอ่ ชีวติ ผูป้ ่วยโดยตรง 7. เปา้ หมาย/วตั ถุประสงคข์ องโครงการ การตดิ เชอ้ื ทสี่ มั พนั ธ์กับการใส่อปุ กรณท์ างการแพทย์ (device-associated infection) ท่มี กี ารเทยี บเคียงใน ระดบั โรงพยาบาล ใชต้ ัวช้ีวัดเปน็ 50% National Healthcare Safety Network (NHSN) คือ 1. อัตราการติดเช้ือปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator Associated Pneumonia; VAP) จะต้องนอ้ ยกวา่ หรือเท่ากบั 0.9 ครง้ั ต่อ 1000 วนั ที่ใสเ่ ครอ่ื งชว่ ยหายใจ 2. อตั ราการตดิ เชื้อในกระแสเลือดท่สี ัมพนั ธก์ ับการใสส่ ายสวนทางหลอดเลอื ดดาํ สว่ นกลาง (Central Line Associated Blood Stream Infection; CLABSI) จะต้องน้อยกว่าหรอื เท่ากับ 0.9 คร้งั ต่อ 1000 วนั ท่ีใส่สายสวนทางหลอดเลอื ดดําสว่ นกลาง 3. อัตราการตดิ เช้ือระบบทางเดนิ ปสั สาวะทสี่ ัมพนั ธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะ (Catheter-Associated Urinary Tract Infection: CAUTI) จะตอ้ งน้อยกวา่ หรือเทา่ กบั 2.2 คร้ังต่อ 1000 วันท่ใี ส่สายสวนปัสสาวะ 8. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1. มีแนวปฏิบัติทางการพยาบาลท่ีดีในการดูแลผู้ป่วยให้มีความปลอดภัยจากการติดเช้ือที่สัมพันธ์กับการใส่ อปุ กรณท์ างการแพทย์ (device-associated infection) 2. ผู้ปว่ ยปลอดภัยจากการติดเช้ือท่สี มั พันธ์กบั การใส่อปุ กรณท์ างการแพทย์ (device-associated infection) 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวการปฏิบัตจิ ริง ทบทวนแนวปฏิบัติการพยาบาลภายใต้หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีดีและน่าเชื่อถือ แล้วนำมาปรับให้เป็นแนว ปฏิบตั ทิ ีม่ ีความเหมาะสมตามบรบิ ทของหอผ้ปู ่วย พรอ้ มกับพัฒนาระบบการควบคุมให้มกี ารปฏิบัตติ าม เพ่อื ดูแลใหผ้ ูป้ ว่ ยปลอดภัย จากการตดิ เชื้อที่สัมพันธ์กับการใส่อุปกรณ์นั้นๆ (device-associated infection) พร้อมกับกำหนดเป้าหมายและตัวช้ีวัดท่ีชัดเจน ดงั น้ี 1) สง่ เสริมการลา้ งมอื Hand Hygiene 5 Moment เปา้ หมาย อัตราการล้างมือ HH 5 Moment ≥ ร้อยละ 80 (ทกุ moment) แนวทางการปฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ เลิศ - กจิ กรรมการจัดการความรู้ (knowledge management; KM) โดยพยาบาลควบคมุ การติดเชือ้ ประจำหอผปู้ ่วย (ICWN) 2 คน ใหก้ ับพยาบาลทุกคนเพือ่ เพมิ่ ความตระหนกั รู้ (situation awareness) เกยี่ วกับการลา้ งมอื HH 5 moment และหลกั การสงั เกตการลา้ งมอื ทถี่ ูกต้อง - Standardize การเก็บขอ้ มลู HH 5 Moment กบั พยาบาลทกุ คน และกำหนดให้พยาบาลทกุ คน สงั เกตการลา้ งมือของบคุ ลากร และเก็บขอ้ มลู HH 5 Moment คนละ 10 โอกาสการลา้ งมือต่อเดือน โดยใช้ QR code ของ โรงพยาบาล จากการเก็บข้อมลู ในไตรมาสที่ 1 พบว่า อัตราการล้างมอื ในบาง moment (moment 1 และ 5) ยังไม่ได้ตามเป้าหมาย จึงมาทบทวนสรปุ (PDCA) เพ่ิมมาตรการกระต้นุ เตือนใหม้ ีการลา้ งมือ (remind) ในรูปแบบของ verbal พรอ้ มกับพัฒนาการ เก็บข้อมูล เพ่มิ ในส่วนของกจิ กรรมการ remind และผลลัพธข์ องการ remind (ไตรมาส 4) จนได้ผลลัพธ์ดีข้ึน ดงั นี้ 197

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นอกจากนพี้ บวา่ มีการกระตุ้นเตือนให้มีการล้างมือ (remind) ดว้ ยคำพูด (verbal) คิดเป็นร้อยละ 57.39 ของการไม่ล้าง มือท้ังหมด ซ่ึงยังพบว่าน้อยเนื่องจากการกระตุ้นเตือนให้มีการล้างมือด้วยคำพูดจะข้ึนอยู่กับความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้กระตุ้น เตือนและผู้ถูกกระตุ้นเตอื น แต่อย่างไรก็ตามพบข้อมูลว่ามีการล้างมอื ภายหลังการกระตุ้นเตือนคิดเป็นร้อยละ 94.99 ซึ่งแสดงว่า เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้อัตราการล้างมือ HH 5 moment ดีข้ึน จึงมีแผนพัฒนาเคร่ืองมือที่เป็นไปในลกั ษณะ visual control ควบคไู่ ปกับการ verbal ในการ remind ให้เปน็ วฒั นธรรม (safety culture) ของหอผู้ปว่ ยตอ่ ไป 2) กำหนดแนวปฏบิ ัติ (Bundle) สำหรบั การดแู ลผ้ปู ่วยปลอดภยั จากการติดเชอื้ ทีส่ มั พนั ธก์ บั การใส่ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ (device-associated infection) โดยมเี ปา้ หมาย คือ Compliance การปฏิบัติตามตามแตล่ ะ Bundle ≥ รอ้ ยละ 80 2.1) แนวปฏิบัติการพยาบาลเพ่ือป้องกันการเกิด VAP ได้แก่ ใช้ weaning protocol, ยกหัวสูง > 30 องศา, Oral care ควบคมุ ให้มคี วามสะอาดในช่องปากไมเ่ กิน 5 คะแนน กำหนดใหม้ ีการแปรงฟัน โดยใช้ 0.12% chlorhexidine ร่วมกับ ประเมินความสะอาดในช่องปากทุกเวร และเพ่ิมจำนวนการล้างปากทุก 2-4 ชม. เพื่อควบคุมให้ความสะอาดในช่องปากให้มี คะแนนไม่เกิน 5 คะแนน (โดยเฉพาะใน case severe high risk) โดยมีการประเมินสมรรถนะการทำความสะอาดช่องปาก (mouth care) และ Standardize การใช้แบบประเมินความสะอาดในช่องปาก (เนน้ พยาบาลใหม่), Control cuff pressure 20- 25 cmH2O, ดูแลไม่ให้มีน้ำขังใน circuit ของเคร่ืองช่วยหายใจ และการดูแลหลังถอดท่อช่วยหายใจเพ่ือป้องกันการ Re- intubation โดยมีแนวปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ ได้แก่ การใชแ้ นวปฏิบตั ิการหยา่ เครื่องช่วยหายใจ (weaning protocol) ซง่ึ พบว่า ผ้ปู ่วยสามารถถอดท่อชว่ ยหายใจได้ภายใน 24 ชั่วโมงหลังผา่ ตดั คดิ เป็นร้อยละ 76 ร่วมกบั การการควบคมุ ความสะอาดในช่องปาก ไม่เกนิ 5 คะแนน และการควบคมุ cuff pressure 20-25 cmH2O สามารถปฏบิ ัตไิ ด้มากกว่ารอ้ ยละ 80 2.2) แนวปฏิบตั กิ ารพยาบาลเพือ่ ปอ้ งกันการเกิด CLABSI - แนวปฏิบัติก่อนใส่สายสวน: พิจารณา indication ตำแหน่งการใส่สาย และการ Scrub ผิวหนัง ด้วย 4% Chlorhexidine หรือ Hibiscrub - แนวปฏิบัติขณะใส่สายสวน: ล้างมือท้ังคนใส่ และคนช่วย, ใช้น้ำยา 2% Chlorhexidine in 70% alcohol, ใช้ maximum sterile barrier precaution, ปดิ กอ๊ ส และใช้ needleless connector - แนวปฏิบตั ิขณะดูแลผู้ป่วยทใี่ สส่ ายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง: ล้างมอื ก่อน-หลัง สมั ผัสสายสวน, Scrub the hub 15 sec ดว้ ย 70% alcohol + รอใหแ้ ห้ง 5 sec ก่อนใช้งาน, ใช้ needleless connector, ใช้ Antiseptic cap (curos), ให้เฉพาะยาความเส่ียงสูง (High Alert Drugs), ชุดให้สารละลายไม่ปนเปื้อนเลือด รวมถึงคราบเลือดเก่าๆ, Label line position and circuit change, wound dressing (ปิดก๊อสเม่ือมี d/c เปน็ เลอื ดเท่านน้ั เปล่ียนแผลวันเวน้ วัน, ปดิ transparent 198

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ dressing เปล่ียนแผลทุก 7 วัน และใช้ transparent with CHG กรณีคาสายสวนนานเกิน 7 วัน), observe EWS of CLABSI (Daily inspection of site + BT > 38 C.) โดยมีแนวปฏิบัติท่เี ปน็ เลศิ ได้แก่ การดูแลผู้ปว่ ยทใ่ี ส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง ได้แก่ Scrub the hub 15 sec ด้วย 70% alcohol ร้อยละ 92, ใช้ needleless connector และ Antiseptic cap (curos) ร้อยละ 96, ให้เฉพาะยา ความเสี่ยงสูง (HAD) ร้อยละ 100 และสามารถกระตุ้นเตือนให้มีการถอดสายสวนเม่ือไม่มีข้อบ่งช้ีได้เพ่ิมข้ึนเป็นร้อยละ 75 (จาก เดิมร้อยละ 50) ซึ่งจะเป็นโอกาสพัฒนาต่อไปในการกำหนดข้อบ่งชี้การคาสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางให้เหมาะสมกับบริบท เพอ่ื จะไดพ้ ิจารณาถอดสายสวนไดท้ ันทีถ้าไม่มขี ้อบง่ ชี้ 2.3) แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิด CAUTI: Maintain unobstructed urine flow (kinking, the collection bag below the level of the bladder all time), Maintain Close Drainage and Sterile System, Clean the periurethral area with soap (Clean and Dry), Quality of strap catheter, Observe EWS of CAUTI (urine ขุ่น เป็นตะกอน, BT > 38 C.) และกำหนดการคดั กรอง case ท่มี ีความเสยี่ ง เน้นกลุม่ ท่ีใส่ foley’s cath มาจากที่อน่ื + BT > 38 C. ตอ้ งส่ง UA ทนั ที + ตามผล รายงานแพทย์พิจารณาสง่ U/C โดยมีแนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ได้แก่ การคัดกรองผู้ป่วยที่มีความเส่ียง ร่วมกับการพิจารณาข้อบ่งชี้การคาสาย สวนปัสสาวะแล้วรายงานแพทย์พิจารณาถอดสายสวนปัสสาวะได้ร้อยละ 77 ซึ่งจะเป็นโอกาสพัฒนาต่อไปในการกำหนดข้อบ่งชี้ การคาสายสวนปัสสาวะใหเ้ หมาะสมกับบรบิ ท เพ่ือจะไดพ้ ิจารณาถอดสายสวนได้ทันทีถ้าไม่มีข้อบ่งชี้ 3) พฒั นาระบบการพยาบาลเพ่อื ติดตาม นเิ ทศ ควบคมุ คณุ ภาพการปฏบิ ัติตาม Bundle 3.1 กำหนดให้มกี ารประเมนิ ความเส่ียงของการตดิ เชื้อที่สัมพันธก์ ับการใส่อุปกรณ์ (device-associated infection) ทกุ วนั และแสดงท่ี Dashboard ของหอผปู้ ว่ ยเพื่อตดิ ตามควบคมุ การปฏิบตั ติ าม Bundle ท่กี ำหนดไว้อยา่ งเครง่ ครดั 3.2 กำหนดใหเ้ ขยี น nursing problem and intervention และใช้ประกอบการส่งเวร 3.3 พัฒนา Template ใหเ้ หน็ ชดั ถงึ การปฏิบตั จิ รงิ ๆ ในแต่ละ case 3.4 กำหนด ข้อบง่ ชี้ (Appropriate Indication) ในการคาอปุ กรณต์ า่ งๆ 3.5 พิจารณาข้อบ่งชี้ (Indication) ในการคาอุปกรณต์ า่ งๆ ทกุ วัน 3.6 Remind แพทยเ์ พ่อื ถอดอุปกรณ์ตา่ งๆ เม่ือไม่มขี อ้ บ่งช้ี (indication) (พยาบาลเจ้าของไข้ -> หัวหน้าทีม - > แกนนำ ICWN -> หวั หน้าหอผปู้ ่วย) 3.7 Pre-conference ความเสย่ี ง และการปฏิบัตติ าม bundle ตา่ งๆ 3.8 Monitor compliance การปฏิบัตติ าม bundle ต่างๆ โดยพยาบาลหัวหนา้ ทมี พรอ้ มกับใหก้ ารนเิ ทศ พยาบาลเจา้ ของ case 3.9 RCA case ท่เี กดิ โดยใช้กรอบ 7-day Infection Window Period; IWP + Process compliance โดยมแี นวปฏิบัติที่เปน็ เลิศ ได้แก่ การมี Dashboard เพ่อื monitoring ความเส่ียงของการตดิ เชอ่ื ต่างๆ และมี การกำกบั ให้มีการปฏบิ ัตติ าม Bundle ต่างๆอย่างเครง่ ครดั โดยทมี แกนนำและหวั หนา้ หอผู้ป่วย รวมถึงการวิเคราะห์หาสาเหตุ รากเหงา้ ท่แี ทจ้ รงิ ใน case ทีม่ กี ารตดิ เชอื้ เพื่อมาพฒั นากระบวนการดแู ลต่อไป 9.2 งบประมาณท่ีใชใ้ นการจัดโครงการ-กิจกรรม (ถา้ มี) ไมม่ ี 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) จากการเก็บข้อมูลการติดเชื้อท่ีสัมพันธ์กับการใส่อุปกรณ์นั้นๆ (device-associated infection) โดยหน่วย ควบคมุ การติดเชอ้ื ของโรงพยาบาล พบวา่ อตั ราการติดเชอื้ ของหอผปู้ ว่ ย มีดังนี้ 199

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 1) อัตราการติดเช้อื VAP = 0 ใน 6 ไตรมาสติดต่อกนั ตง้ั แต่ปงี บประมาณ 2564 จนถงึ ปจั จบุ นั ดงั กราฟ ด้านลา่ ง (หอผู้ปว่ ยดแู ลผ้ปู ว่ ยทใี่ ชเ้ คร่ืองชว่ ยหายใจเฉลีย่ 300-350 วันตอ่ ไตรมาส มากเปน็ อันดับ 5 ของโรงพยาบาล, ปี 2563 มีอตั ราการ ติดเชอ้ื VAP 1 คร้งั คิดเปน็ 0.97 ครั้งต่อ 1000 วันท่ีใสเ่ ครื่องชว่ ยหายใจ) 2) อัตราการตดิ เชอื้ CLABSI = 0 ใน 3 ไตรมาสตดิ ตอ่ กนั ของปงี บประมาณ 2564 และพบวา่ ภาพรวมของปี 2564 อัตราการติดเช้อื ก็ได้ตามเป้าหมายคือ ≤ 0.9 ครั้งตอ่ 1000 วันท่ีใส่สายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลาง (= 0.69 พบการตดิ เชื้อ 1 ครงั้ ตอ่ 1000 วนั ทใี่ ส่สายสวนหลอดเลือดดำ ไตรมาสท่ี 4) และอตั ราการติดเชอ้ื CLABSI = 0 ใน 2 ไตรมาสแรกของ ปงี บประมาณ 2565 ดังกราฟ ด้านล่าง (หอผ้ปู ่วยดแู ลผูป้ ่วยทีใ่ ส่สายสวนหลอดเลือดดำสว่ นกลางเฉลยี่ 350-400 วันตอ่ ไตรมาส มากเปน็ อันดับ 2 ของโรงพยาบาล) 200

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 3) อัตราการติดเช้อื CAUTI = 0 ใน 3 ไตรมาสติดตอ่ กัน (2, 3 และ 4) ของปงี บประมาณ 2564 พบมกี ารตดิ เชื้อ 1 คร้ังต่อ 1000 วนั ท่ีใสส่ ายสวนปสั สาวะในไตรมาส 1 ปี 2564 และไตรมาส 1 ปี 2565 และพบว่าภาพรวมของปี 2564 อัตรา การตดิ เชื้อกไ็ ด้ตามเป้าหมายคอื ≤ 2.2 ครงั้ ต่อ 1000 วันท่ีใส่สายสวนปสั สาวะในไตรมาส (= 0.70) ดงั กราฟ ดา้ นล่าง 11. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต พฒั นาเป็นงานวจิ ยั เพื่อเผยแพรแ่ นวปฏบิ ัติ (process design) และกระบวนการควบคุมการปฏิบัติ (process control) รว่ มกบั การพฒั นา Innovation มาใช้ในการดแู ลผปู้ ว่ ย 11.2 จุดแขง็ (Strength) หรือสิง่ ท่ีทำไดด้ ใี นประเด็นท่ีนำเสนอ - แนวปฏบิ ัติ (process design) ทีเ่ ป็นเลิศภายใตห้ ลกั ฐานเชิงประจักษท์ ีด่ ี เหมาะสมกับบริบท - ระบบการพยาบาล (process control) ในการควบคุมใหม้ ีการปฏิบัติตามมาตรฐาน โดยเฉพาะ การพฒั นาหรือออกแบบกระบวนการควบคุมการปฏิบตั ใิ ห้มคี วามเหมาะสมกับบรบิ ท - Team ทง้ั ในสว่ นของทมี พยาบาลและทมี แพทย์ 11.3 กลยทุ ธ์หรือปจั จัยท่ีนำไปสู่ความสำเร็จ การตระหนกั รู้ (situation awareness) ในความสำคญั ของการดูแลผู้ปว่ ยใหป้ ลอดภยั จากการตดิ เชอื้ จากการใสอ่ ุปกรณ์ทางการแพทย์ เน่อื งจากมีผลตอ่ ความรนุ แรงของการเจ็บป่วยและอัตราตายของผปู้ ่วย ตามค่านยิ มของ คณะแพทย์ Mankind (ถือประโยชนข์ องเพือ่ นมนุษย์เปน็ กจิ ที่ Excellent (มาตรฐานสูงสุดเพ่ือทกุ ชีวติ ) และ Professionalism (เชย่ี วชาญมจี รรยาบรรณ) การปรับแนวปฏิบัติให้เหมาะสมตามบริบท การรวบรวม วิเคราะห์ และการจัดการข้อมูลท่ีถูกต้อง จะทำให้เหน็ ทิศทาง การพฒั นาคณุ ภาพทชี่ ดั เจน 12. ประเดน็ (จุดเด่น) ทเ่ี ป็นแนวปฏิบัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ ผลลัพธ์ อัตราการติดเชอื้ ที่สามารถเทยี บเคยี งกับนานาชาติ (50% National Healthcare Safety Network ;NHSN) 201

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 13. บทสรุป ด้วยบริบทของหอผู้ป่วย ICU-CVT การดูแลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและหลอดเลือดแดงใหญ่ โดยเฉพาะ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจให้มีความปลอดภัย ถือเป็นเป้าหมายสำคัญที่สุดของการดูแลผู้ป่วย การพัฒนากระบวนการดูแลทั้งแนว ปฏิบัติที่เป็นเลิศ และกระบวนการควบคุมให้มีการปฏิบัติท่ีดี สม่ำเสมอ โดยทีม จะต้องมีการเปล่ียนแปลง ปรับปรุง พัฒนาต่อไป ตามความรู้ และเทคโนโลยี ไมส่ ้นิ สุด 202

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏิบัตทิ ีเ่ ปน็ เลิศ *************************************** 1.ชอื่ เร่ือง การพัฒนาโทรเวชกรรมคลินกิ รงั สรี ักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 2.โครงการ/กจิ กรรมดา้ น ดา้ นการดำเนนิ งานทใี่ ชเ้ คร่อื งมือ Lean & Kaizen 3.ช่อื หนว่ ยงาน หน่วยรงั สีรักษาและมะเรง็ วิทยา โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 4.ประเภทโครงการ  ประเภทที่ 1 แนวปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ ระดับคณะ/หน่วยงาน (ผา่ นการคัดเลือกโดยเวทีหรอื ผูบ้ รหิ ารของคณะ)  สายวิชาการ  สายสนบั สนนุ  ประเภทท่ี แนวปฏบิ ัติทดี่ ี 2  สายวชิ าการ  สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ - พว.ศศวิ มิ ล ภทั รนาวิก - พว.ดวงหทัย ตนั วิมล - พว.สุวรรณลี ขาวหวาน - พว.วรุณยุพา แสงทอง - พว.กัลยกร พกั ไชย - นพ.เต็มศักด์ิ พงึ่ รศั มี 6. การประเมนิ ปญั หา/ความเส่ยี ง (assessment) คลนิ กิ รงั สรี กั ษาและมะเรง็ วิทยา เปน็ คลนิ ิกผปู้ ว่ ยนอกของหน่วยรังสรี ักษาและมะเรง็ วิทยา โรงพยาบาลสงขลา นครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ มผี ้ปู ่วยมารับบรกิ ารวนั ละ 150-200 รายต่อวัน (1) ท้งั ในเวลา ราชการ นอกเวลาราชการและวันหยดุ ราชการ ในกล่มุ ผูป้ ่วยก่อนการรักษา มีขนั้ ตอนทางรงั สีรักษาทีผ่ ู้ป่วยต้องเดินทางมาโรงพยาบาลหลายครงั้ กอ่ นได้รบั การรกั ษา และหากไมไ่ ดเ้ ตรียมตัว เตรียมเอกสาร ผลการตรวจ ยาทใ่ี ชท้ ้ังในอดีตและปัจจุบัน รวมถงึ ผดู้ แู ลหลักตามคำแนะนำของ พยาบาล อาจต้องต้องเลอื่ นนดั และเสียเวลาเดนิ ทางใหม่ ผ้ปู ว่ ยสง่ ตอ่ -รบั ปรึกษาใหมส่ ว่ นหนงึ่ ท่ีเดินทางมาจากต่างจงั หวัด มสี ภาพรา่ งกายไมแ่ ขง็ แรง หรือมภี าวะที่ทำใหไ้ ม่ สามารถให้รังสรี ักษาในขณะนน้ั ได้ จำเปน็ ตอ้ งสง่ ตัวกลบั โดยไมไ่ ดร้ ับการรักษา ทำให้เสียเวลาเดินทางและมคี วามเสี่ยงเพิ่มข้ึน ในสถานการณ์การระบาดของโควดิ -19 ความแออัดของผปู้ ว่ ยและญาติทมี่ ารบั บรกิ ารจำนวนมาก เพิม่ ความเสยี่ ง การตดิ เชอ้ื ในกลุ่มผูป้ ่วยโรคมะเรง็ ซึ่งมภี มู ิคุม้ กันต่ำกว่าบคุ คลทว่ั ไป 7. เปา้ หมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพ่อื พัฒนารูปแบบโทรเวชกรรมทีเ่ หมาะสมเพอ่ื ใหบ้ ริการผูป้ ว่ ยรังสรี กั ษา วัตถุประสงค์หลกั - ลดการเดินทางของผ้ปู ่วยรงั สีรกั ษาและญาติโดยใช้โทรเวชกรรม 203

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วตั ถปุ ระสงคร์ อง - ศกึ ษาความคิดเหน็ เกยี่ วกับการใชโ้ ทรเวชกรรมในผู้ป่วยรังสีรกั ษา - ศึกษาข้อด/ี ข้อจำกดั ของการใช้โทรเวชกรรมในผู้ป่วยรังสรี ักษา 8. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั - ผู้ป่วยรงั สรี ักษาและญาติลดการเดนิ ทางท่ีมคี วามเส่ยี ง/ ไม่จำเป็นลงได้ โดยใชโ้ ทรเวชกรรมแทนการเดนิ ทางมาพบแพทย์ท่ี โรงพยาบาล - หนว่ ยรังสรี กั ษาและมะเรง็ วิทยาทราบความคดิ เห็นเกยี่ วกับการใช้โทรเวชกรรมในผู้ปว่ ยรังสีรักษา - หน่วยรังสรี ักษาและมะเร็งวิทยามรี ปู แบบโทรเวชกรรมท่เี หมาะสมเพอื่ ให้บรกิ ารผูป้ ่วย 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ กี าร/แนวทางการปฏบิ ัติจรงิ (PDCA) Plan การวเิ คราะหส์ ภาพ/ปัญหาระบบงานเดมิ จากการทบทวนการบรกิ ารทผ่ี า่ นมา มผี ปู้ ว่ ยสว่ นหน่ึงต้องเดินทางมาโรงพยาบาลหลายคร้งั ก่อนไดร้ ับการรกั ษา โดย ต้องเล่ือนนดั และเสียเวลาเดินทางใหม่ ผูป้ ว่ ยส่งตอ่ -รบั ปรกึ ษาโดยเฉพาะผปู้ ว่ ยมะเร็งระยะลกุ ลามท่สี ภาพรา่ งกายไมแ่ ขง็ แรงท่ี เดินทางมาจากตา่ งจังหวดั หรือมภี าวะที่ทำให้ไมส่ ามารถใหร้ ังสรี กั ษาในขณะนน้ั ได้ จำเป็นตอ้ งสง่ ตัวกลบั โดยไมไ่ ดร้ ับการรักษา ทำใหเ้ สยี เวลาเดนิ ทางและมีความเส่ยี งเพ่ิมขนึ้ คณะทำงานจงึ เลอื กผูป้ ่วยกลมุ่ เปา้ หมายดงั นี้ เกณฑร์ บั ผู้ป่วย ผปู้ ่วยมะเรง็ ระยะลุกลามท่ตี อ้ งมารับรังสรี ักษาเพ่อื บรรเทาอาการของแพทย์รงั สีรกั ษา 1 คน ท้ัง - ผปู้ ่วยนอก ทั้งจากคลนิ ิกผู้ป่วยนอกแผนกอ่ืน และผ้ปู ่วยส่งตอ่ จากโรงพยาบาลอื่น - ผู้ป่วยจากระบบ e-consult ของศูนย์ HOCC-PSU: Holistic Center for Cancer Study and Care ของหนว่ ยมะเรง็ วิทยา สาขาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เกณฑไ์ มร่ บั ผู้ปว่ ย - ผปู้ ว่ ยใน เน่ืองจากผู้ป่วยในหอผปู้ ว่ ยรวม ไม่มคี วามเปน็ ส่วนตัวสำหรับโทรเวชกรรม - ผปู้ ว่ ยสำหรับการเรยี นการสอนของนักศกึ ษาแพทยแ์ ละแพทย์ใชท้ นุ เนอ่ื งจากตอ้ งพบแพทยโ์ ดยตรง - ผปู้ ่วยทไี่ มย่ นิ ยอนใช้โทรเวชกรรม วางแผนจำนวนผู้ปว่ ยท่ยี ินยอมใช้โทรเวชกรรม ประมาณ 100 ราย การทบทวนหลักปฏบิ ตั ิของโทรเวชกรรม คณะทำงานทบทวนแนวปฏิบัติและกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องกับโทรเวชกรรมจากแหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ เน่อื งจากทางสมาคม รงั สีรักษาและมะเร็งวิทยาแห่งประเทศไทยยังไมม่ ีแนวปฏิบตั ใิ นเรื่องนี้ คณะทำงานจงึ ใช้แนวปฏบิ ัตขิ องราชวิทยาลยั จิตแพทย์ แหง่ ประเทศไทย [2] Do คณะทำงานออกแบบและจัดทำระบบโทรเวชกรรมผปู้ ่วยรังสรี กั ษาและญาติผา่ นแอพพลิเคชน่ั ไลน์ โดยใช้วดิ โิ อคอลในการ สนทนาระหวา่ งแพทย์ ผู้ป่วยและญาติ ขั้นตอนท่ี 1: การอธบิ ายใหผ้ ู้ปว่ ยและญาติทราบขน้ั ตอนโทรเวชกรรม พยาบาลใหค้ ำแนะนำการใช้โทรเวชกรรมผา่ นวดิ ิโอคอลในแอพพลิเคชน่ั ไลน์ โดยใหผ้ ้ปู ่วยสแกน QR code ของไลน์ 'ฉายแสง@มอ' สำหรับใช้สนทนากับแพทย์รังสรี ักษา 204

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ขนั้ ตอนที่ 2: ผปู้ ว่ ยและญาตใิ หค้ ำยินยอมใช้โทรเวชกรรม ผ้ปู ว่ ยและญาติทสี่ มคั รใจลงนามยนิ ยอมใช้โทรเวชกรรม 2 วิธี คือ - การใหค้ ำยินยอม online ผา่ นแอพพลิเคช่นั ไลน์ - การให้คำยนิ ยอมในแบบฟอรม์ ทคี่ ลินิกรังสรี กั ษาและมะเรง็ วทิ ยา ขนั้ ตอนที่ 3: การลงทะเบียนผูป้ ว่ ย พยาบาลลงทะเบยี นผปู้ ว่ ยทกุ ราย ทัง้ ผู้ปว่ ยยนิ ยอมใชโ้ ทรเวชกรรม ผปู้ ่วยใน ผปู้ ว่ ยสำหรับการเรยี นการสอน และ ผปู้ ่วยทป่ี ฏิเสธการใชโ้ ทรเวชกรรม ใน Google form : การส่อื สารทางไกลกบั แพทย์ โดยสแกน QR code ขอ้ มูลทีบ่ ันทึก ประกอบด้วย - หมายเลขโรงพยาบาลของผู้ปว่ ย - ประเภทผู้ป่วย - ประเภทผปู้ ว่ ยรังสี - ผูแ้ จ้ง - ทอี่ ยู่ปจั จบุ นั - สทิ ธิค่ารกั ษาพยาบาล - วันทป่ี รึกษารงั สรี ักษา (ใช้ปี ค.ศ.) - การยนิ ยอมใชโ้ ทรเวชกรรม - เหตผุ ลทไ่ี มส่ ามารถใช้โทรเวชกรรม (เฉพาะผูป้ ่วยทป่ี ฏิเสธการใชโ้ ทรเวชกรรม) ขนั้ ตอนที่ 4: การตดิ ต่อและใหค้ ำแนะนำก่อนวิดิโอคอล แพทยใ์ ชแ้ ผน่ ภาพตอบกลบั เมือ่ เจา้ ของบัญชแี อพพลิเคช่นั ไลน์ทีจ่ ะใชว้ ดิ โิ อคอลกบั แพทยต์ ดิ ต่อมา 205

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แพทย์พมิ พ์ วัน เวลานัดหมายวดิ ิโอคอล ด้วยตนเอง เชน่ 13.00-14.00 น. วนั ท่ี 7 ตลุ าคม 2564 เมอ่ื ผู้ปว่ ยตอบรบั แสดงความพรอ้ มและสะดวกในช่วงวัน เวลานัดหมายดงั กล่าวแล้ว แพทยจ์ ะสง่ แผน่ ภาพยนื ยันและ ใหค้ ำแนะนำตอ่ ไป คำแนะนำสำหรับวิดโิ อคอล ประกอบดว้ ย - การเตรยี มสถานที่และอุปกรณส์ อ่ื สาร - การเตรยี มตัวผู้ปว่ ยและผดู้ ูแลหลกั - การส่งภาพถ่ายข้อมลู เอกสารเกย่ี วกบั โรคและการรักษา - การสง่ ภาพถ่ายซองยาท่ีใช้ ทง้ั ในปจั จบุ นั และอดีต - การเริม่ ตน้ วดิ ิโอคอลโดยแพทย์เอง 206

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ขั้นตอนที่ 5: การตดิ ตอ่ และสนทนาระหว่างวิดโิ อคอล แพทย์จะเป็นผู้ติดต่อเพื่อเร่ิมวิดิโอคอลกับผู้ป่วยเองตามลำดับวัน เวลาที่นัดหมาย โดยจะติดต่อ 3 คร้ัง หากยังติดต่อ ไมไ่ ด้จะบันทกึ ไว้ และพิมพ์แจ้งให้ผู้ป่วยตดิ ตอ่ เข้ามาใหม่ภายหลังเมอื่ พรอ้ ม หรือใหต้ ดิ ต่อคลนิ ิกรงั สีรักษาและมะเร็งวิทยาโดยตรง ขั้นตอนที่ 6: การให้คำแนะนำหลงั วิดิโอคอล ผูป้ ว่ ยทีพ่ จิ ารณาและตกลงมารบั รกั สีรักษา แพทยจ์ ะพิมพแ์ จง้ วนั เวลานัดหมายทคี่ ลินกิ รังสรี กั ษาและมะเรง็ วิทยา ด้วยตนเอง เชน่ _____________________ ชือ่ นามสกลุ ผปู้ ว่ ย HN: ยน่ื บัตร 11:00 น. 1 ธนั วาคม 2564 เพอื่ รบั คำแนะนำเรอ่ื งการนำแผน่ ซีดีไปเขา้ ระบบ พบแพทย์ 15:00 น. 1 ธันวาคม 2564 นพ.เต็มศกั ด์ิ พง่ึ รัศมี เพ่ือจำลองและฉายรงั สี หากสภาพรา่ งกายไม่สามารถเดนิ ทางได้ หรือมเี หตุขัดขอ้ ง กรุณาติดต่อ หนว่ ยรงั สีรักษา รพ.สงขลานครินทร์ โทร: 0-7445-1503 เวลาราชการ _____________________ เม่อื ผ้ปู ว่ ยตอบรับวัน เวลานัดหมายดงั กล่าวแล้ว แพทยจ์ ะส่งแผ่นภาพยนื ยันและให้คำแนะนำตอ่ ไป คำแนะนำสำหรบั ผู้ปว่ ยในวันนัด ประกอบดว้ ย - เอกสารสิทธคิ ่ารกั ษาพยาบาล การเงนิ - เอกสารเกีย่ วกับโรคและการรกั ษา - การเตรยี มตวั ผูป้ ่วยและผดู้ แู ลหลัก - ยาที่ใช้ ทัง้ ในปัจจุบันและอดีต 207

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ หลังจากนั้น แพทยจ์ ะสง่ link แบบประเมนิ online เพอ่ื สำรวจความเหน็ ของผู้ป่วยตอ่ การใช้โทรเวชกรรมในครงั้ นั้น โดย Google form : แบบประเมนิ การสอ่ื สารทางไกลกับแพทย์ ผา่ นแอพพลเิ คช่นั ไลน์ *โดยไมต่ อ้ งแสดงช่อื นามสกุล และ หมายเลขโรงพยาบาลของผ้ปู ว่ ย ข้อมลู ที่สอบถาม ประกอบด้วย - ท่ีอยปู่ จั จบุ นั - สทิ ธิคา่ รักษาพยาบาล - วันท่สี ื่อสารทางไกลผา่ นวดิ โิ อคอล (ใช้ปี ค.ศ.) - ความคิดเหน็ เกยี่ วกับเคร่อื งมือสอ่ื สาร - ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั สญั ญาณอนิ เตอรเ์ นต็ - ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การนดั หมายในไลนก์ ่อนสอ่ื สารทางไกลผา่ นวิดโิ อคอล - ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ขณะส่ือสารทางไกลผ่านวดิ ิโอคอล - ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการตดิ ตอ่ ในไลนห์ ลงั ส่อื สารทางไกลผา่ นวดิ โิ อคอล - ความคดิ เห็นเกย่ี วกับโทรเวชกรรมในสถานการณโ์ ควดิ -19 - ความคดิ เหน็ เกย่ี วกับโทรเวชกรรมเมื่อไม่มสี ถานการณโ์ ควดิ -19 แล้ว - เหตผุ ลของคำตอบข้างบน ขอ้ เสนอแนะ หรือ ความคดิ เหน็ อ่ืน ๆ เกยี่ วกบั โทรเวชกรรมครั้งนี้ Check คณะทำงานเก็บขอ้ มลู การดำเนนิ งาน 2 วธิ ี 1. วิธเี ชิงพรรณนา (descriptive method) คณะทำงานเก็บข้อมลู ดงั นี้ - ร้อยละของผู้ปว่ ยทีย่ นิ ยอมใชโ้ ทรเวชกรรม - ร้อยละของผู้ป่วยที่สมัครใจใช้โทรเวชกรรม แยกตามประเภท ภมู ิลำเนา และสทิ ธกิ ารรกั ษาของผู้ป่วย - รอ้ ยละของเหตุผลต่างๆ ทผี่ ู้ปว่ ยเลือก/ไมเ่ ลือกโทรเวชกรรม - รอ้ ยละของผปู้ ว่ ยทส่ี ามารถลดการเดนิ ทางมาโรงพยาบาลได้ แยกตามประเภท และภมู ลิ ำเนาของผู้ปว่ ย 208

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ - ร้อยละของความคดิ เหน็ ตา่ งๆ ของผู้ปว่ ยเกย่ี วกับเครอ่ื งมอื สอ่ื สาร สัญญาณอินเตอรเ์ นต็ การนดั หมายในไลน์ก่อนส่ือสาร ทางไกลผา่ นวดิ โิ อคอล ขณะสื่อสารทางไกลผ่านวดิ ิโอคอล และการตดิ ต่อในไลนห์ ลงั สอื่ สารทางไกลผ่านวดิ โิ อคอล จาก แบบประเมนิ ความคดิ เห็นของผปู้ ว่ ย - ตัวอยา่ งกรณีศึกษาจากบนั ทกึ ประสบการณ์ของแพทย์ 2. วธิ เี ชงิ เปรยี บเทียบ (comparative method) คณะทำงานวางแผนเก็บขอ้ มลู เปรยี บเทียบเชงิ ทดลอง 2 ประเดน็ ดงั น้ี - การใหค้ ำยินยอม ระยะแรก การใหค้ ำยินยอม online ผา่ นแอพพลเิ คชน่ั ไลน์ เปรยี บเทยี บกับ ระยะหลงั การให้คำยนิ ยอมในแบบฟอร์มที่ คลนิ กิ รงั สรี ักษาและมะเร็งวทิ ยา - การให้คำแนะนำกอ่ นวิดโิ อคอล ระยะแรก ไมม่ ีแผน่ ภาพขอ้ ความเตอื นเปน็ checklist กอ่ นล่วงหน้าวดิ โิ อคอล เปรียบเทยี บกบั ระยะหลัง มีแผ่นภาพ ข้อความเตือนเป็น checklist กอ่ นล่วงหน้าวิดโิ อคอล Act คณะทำงานนำขอ้ มลู ความคดิ เห็นของผู้ปว่ ย บันทกึ ประสบการณ์ของแพทย์ และผลการเปรียบเทยี บเชิงทดลอง มาปรบั ปรุง ระบบโทรเวชกรรมสำหรบั ผปู้ ว่ ย ไดแ้ ก่ - การปรบั คำแนะนำผปู้ ว่ ยและญาตขิ องพยาบาลเกีย่ วกบั การใช้โทรเวชกรรมผา่ นวิดิโอคอลในแอพพลิเคชน่ั ไลน์ - การใหค้ ำยินยอม online ผา่ นแอพพลิเคชั่นไลน์ ปรบั จากผปู้ ว่ ยคัดลอกขอ้ ความแสดงคำยินยอม และพิมพ์ชือ่ นามสกลุ ของตนเอง และวนั ท่ีแสดงคำยนิ ยอมในแอพพลิเคชั่นไลน์ เป็นผ้ปู ่วยอา่ นขอ้ ความ แลว้ พมิ พ์ตวั เลข แสดงคำยนิ ยอม เพ่อื อำนวยความสะดวกแกผ่ ู้ปว่ ยทีพ่ มิ พ์ตัวอกั ษรในโทรศัพท์มอื ถือไม่ถนดั - ผ้ปู ่วยรับปรกึ ษารงั สรี ักษาที่เป็นผปู้ ว่ ยนอกและมาติดตอ่ ทห่ี น่วยรังสรี กั ษาและมะเรง็ วิทยา ใหค้ ำยินยอมใน แบบฟอร์มทีค่ ลนิ กิ รังสรี ักษาและมะเร็งวิทยา ผ้ปู ่วยในระบบ e-consult ทอี่ ยูต่ า่ งจงั หวดั และไมไ่ ด้มาตดิ ตอ่ ที่ หนว่ ยรงั สีรกั ษาและมะเรง็ วทิ ยาเอง ใหค้ ำยนิ ยอม online ผา่ นแอพพลิเคชน่ั ไลน์ - การปรบั ใหผ้ ปู้ ่วยพิมพ์ตัวเลขแสดงความพร้อมและสะดวกในช่วงวัน เวลานดั หมายสำหรับวดิ โิ อคอล และการ พบแพทยท์ ี่โรงพยาบาล เพ่อื อำนวยความสะดวกแกผ่ ปู้ ่วยท่พี ิมพต์ ัวอักษรในโทรศพั ท์มอื ถอื ไม่ถนัด - การส่งแผน่ ภาพข้อความเตอื นเป็น checklist ก่อนลว่ งหน้าวดิ โิ อคอล หากผ้ปู ่วยไมไ่ ดด้ ำเนนิ การตามคำแนะนำ 9.2 งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการจดั การโครงการ-กิจกรรม (ถ้ามี) ไม่ใช้งบประมาณ ไม่รวมคา่ โทรศพั ทม์ ือถอื คอมพิวเตอรส์ ่วนตวั ค่าสมคั รใช้สัญญาณอินเตอร์เนต็ 209

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measurable) ระหว่างวันที่ 20 พฤษภาคม - 19 ตลุ าคม 2564 รวม 5 เดอื น มผี ปู้ ว่ ยรับปรกึ ษาท้ังหมด 154 ครงั้ (ผูป้ ว่ ยบางรายรับปรกึ ษามากกวา่ 1 ครง้ั ) ประเภทผู้ป่วย จำนวน ผ้ปู ว่ ยนอกรับปรึกษา 98 คร้ัง มผี ปู้ ่วยท่ยี นิ ยอมใชโ้ ทรเวชกรรม ผปู้ ว่ ยนอก 98 แตไ่ มไ่ ดด้ ำเนนิ การ 5 ราย ดว้ ยเหตผุ ลดงั นี้ ผปู้ ่วยใน e-consult 34 - เสียชวี ิต 2 ราย ผปู้ ว่ ยการเรียนการสอน 20 - ปฏเิ สธการรกั ษา 1 ราย 2 - ไปรักษา กทม. 1 ราย - มาโรงพยาบาลในวันนดั วดิ ิโอคอล 1 ราย 10.1 การลดการเดินทางของผปู้ ่วยรงั สรี ักษาและญาตโิ ดยใช้โทรเวชกรรม จากผู้ป่วยรบั ปรึกษาทง้ั หมด 154 คร้ัง คงเหลอื ผู้ปว่ ยนอกและ e-consult จำนวน 113 ครง้ั เลือกใชโ้ ทรเวชกรรม 98 ครงั้ คิดเป็นร้อยละ 87 โดยผปู้ ว่ ยท่เี ลือกใช้โทรเวชกรรม 98 ครง้ั หลงั วดิ โิ อคอลแล้วพิจารณาและตัดสินใจไมร่ บั รงั สรี ักษา หรอื ส่งต่อไปรบั การรกั ษาทส่ี ถาบนั อ่ืนเพ่ือความสะดวกของผ้ปู ว่ ย 38 ครัง้ คดิ เปน็ ร้อยละ 39 ของผปู้ ่วยท่ีเลอื กใช้โทรเวชกรรม หรือร้อยละ 34 ของผู้ปว่ ยทง้ั หมด ประเภทผ้ปู ว่ ย จำนวนรวม โทรเวชกรรม ไม่รบั รังสรี ักษา สง่ ตอ่ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ ผปู้ ่วยนอก 93 78 84 29 31 2 2 e-consult 20 20 100 5 25 2 10 รวม 113 98 87 34 30 4 4 ผ้ปู ่วยแยกตามสทิ ธิค่ารกั ษาพยาบาล เปน็ ผปู้ ว่ ยใชส้ ทิ ธขิ า้ ราชการและสขุ ภาพถ้วนหน้ามากท่สี ดุ ร้อยละ 43 และ 42 ตามลำดบั รองลงไปคอื สทิ ธิประกนั สงั คม ร้อยละ 8 เงินสด ร้อยละ 4 และอื่น ๆ รอ้ ยละ 3 สิทธิผ้ปู ว่ ย จำนวนรวม โทรเวชกรรม ไม่รบั รังสีรกั ษา ส่งต่อ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ข้าราชการ 49 44 90 16 33 1 2 สุขภาพถว้ นหนา้ 48 41 85 15 31 1 2 ประกันสงั คม 9 6 67 0 0 1 11 เงินสด 4 4 100 1 25 0 0 อนื่ ๆ 3 3 100 2 67 1 33 รวม 113 98 87 34 30 4 4 ผู้ปว่ ยแยกตามท่ีอยูป่ ัจจบุ นั เปน็ ผปู้ ว่ ยจงั หวดั สงขลาและพทั ลุงมากท่สี ดุ รอ้ ยละ 21 และ 15 ตามลำดบั รองลงไป คือ นครศรีธรรมราช ตรังและยะลา รอ้ ยละ 11 โดยไมม่ ผี ู้ป่วยจากจงั หวดั ชุมพร ระนองและสว่ นอ่นื ของประเทศไทย ท่ีอยู่ผู้ปว่ ย จำนวนรวม โทรเวชกรรม ไมร่ ับรังสีรกั ษา สง่ ต่อ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ สรุ าษฎร์ธานี 1 1 100 0 0 1 100 พงั งา 1 1 100 0 0 0 0 กระบ่ี 4 3 75 1 25 0 0 ภูเก็ต 9 9 100 1 11 2 22 - ผปู้ ว่ ยนอก 2 2 100 0 0 0 0 210

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ที่อยผู่ ปู้ ่วย จำนวนรวม โทรเวชกรรม ไม่รบั รังสรี กั ษา ส่งต่อ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ - e-consult 7 นครศรีธรรมราช 12 7 100 1 14 2 29 ตรงั 12 10 83 5 42 18 - ผปู้ ่วยนอก 6 12 100 6 50 00 - e-consult 6 6 100 4 67 00 พัทลงุ 17 6 100 2 33 00 สงขลา 24 13 76 5 29 00 สตูล 4 21 88 8 33 00 ปัตตานี 10 3 75 1 25 00 - ผู้ป่วยนอก 9 9 90 3 30 00 - e-consult 1 8 89 3 33 00 ยะลา 12 1 100 00 00 - ผู้ป่วยนอก 6 11 92 4 33 00 - e-consult 6 5 83 2 33 00 นราธวิ าส 7 6 100 2 33 00 รวม 113 5 71 00 00 98 87 34 30 44 ผลเปรยี บเทียบการเลอื กใช้โทรเวชกรรม การให้คำยินยอม online ผา่ นแอพพลเิ คชนั่ ไลน์ กบั การให้คำยนิ ยอมในแบบฟอรม์ ทคี่ ลินิกรังสีรกั ษาและมะเร็งวทิ ยา ใบยินยอม จำนวนรวม โทรเวชกรรม ไม่รบั รังสีรกั ษา ส่งตอ่ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ไมม่ ี 8 8 100 4 50 0 0 online 48 38 79 8 17 2 4 ทคี่ ลนิ ิก 57 52 91 22 39 2 4 รวม 113 98 87 34 30 4 4 ผู้ปว่ ยท่ีปฏิเสธการใช้โทรเวชกรรม 15 ครั้ง ใหเ้ หตุผลเพราะ ไม่มสี ัญญาณอนิ เตอร์เนต็ หรอื เข้าถงึ สัญญาณลำบาก มากที่สดุ ร้อยละ 33 รองลงไปคอื ใชเ้ ครือ่ งมือสอ่ื สารไมเ่ ปน็ และ มั่นใจกับการมาตรวจกบั แพทย์ที่โรงพยาบาลมากกวา่ รอ้ ยละ 27 211

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เหตุผล จำนวน ร้อยละ * ไม่มสี ญั ญาณอนิ เตอร์เนต็ หรอื เข้าถงึ สัญญาณลำบาก 5 33 * ใช้เคร่อื งมือส่อื สารไมเ่ ปน็ 4 27 * ม่นั ใจกับการมาตรวจกับแพทยท์ โี่ รงพยาบาลมากกว่า 4 27 ^ ญาตไิ ม่สะดวก 3 20 * ไม่มีเครื่องมือสอ่ื สารโทรศัพท์ คอมพวิ เตอร์ หายมื ไมไ่ ด้ 17 * กลวั ขอ้ มลู สว่ นตัวรว่ั ไหล 17 ^ บา้ นอยใู่ กลโ้ รงพยาบาล มาพบแพทย์สะดวกกวา่ 17 ^ เดินทางจากต่างจังหวัด มาเชา่ โรงแรมอยแู่ ลว้ 17 * อย่ใู นตัวเลือก เลอื กไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ ^ ไม่อยใู่ นตวั เลอื ก 10.2 ความคิดเหน็ เกย่ี วกับการใช้โทรเวชกรรมในผปู้ ว่ ยรงั สีรักษา ผปู้ ว่ ยท่เี ลอื กใช้โทรเวชกรรม 98 คร้ัง มผี ปู้ ว่ ยหรอื ผ้ดู ูแลหลกั ตอบแบบประเมิน online เพื่อสำรวจความเห็น 62 ครั้ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 63 และแพทยบ์ ันทกึ ประสบการณ์ 95 คร้ัง คดิ เปน็ ร้อยละ 97 2.1 อปุ กรณ์ส่ือสาร ความคดิ เหน็ ผู้ปว่ ยนอก e-consult รวม จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ สะดวกมาก ใชโ้ ทรศพั ท์หรอื คอมพิวเตอรว์ ิดิโอคอลเปน็ ประจำอยู่แล้ว 38 75 9 82 47 76 สะดวก มโี ทรศัพท์หรอื คอมพิวเตอรข์ องตนเอง แต่ไม่ค่อยได้ใช้วิดโิ อคอล 12 24 2 18 14 23 ย่งุ ยากพอสมควร หาโทรศัพท์หรอื คอมพิวเตอร์ ไมง่ ่าย 1 2 00 1 2 ยงุ่ ยากมาก หาโทรศัพท์หรือคอมพวิ เตอร์ ลำบากมาก 0 0 00 0 0 ประเมนิ ไมไ่ ด้ 0 0 00 0 0 2.1 สญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต ความคิดเหน็ ผูป้ ่วยนอก e-consult ผ้ปู ่วยรวม แพทย์ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ ไม่ตดิ ขดั เลย 29 57 7 64 36 58 67 71 ติดขดั นอ้ ยมาก 12 24 4 36 13 26 12 13 ติดขัดบา้ ง 6 12 0 0 6 10 13 14 ติดขัดเปน็ ส่วนใหญ่ 3 6 0 0 35 3 3 ประเมนิ ไมไ่ ด้ 1 2 0 0 12 0 0 2.3 การนัดหมายในไลน์กอ่ นสอ่ื สารทางไกลผ่านวดิ โิ อคอล ความคดิ เหน็ ผู้ปว่ ยนอก e-consult รวม จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ การสอื่ สารชดั เจน สะดวกมาก 35 69 9 82 44 71 สะดวก 15 29 2 18 17 27 ไมส่ ะดวก 0 0 00 00 การส่อื สารไมช่ ัดเจน ไมส่ ะดวกมาก 1 2 00 12 ประเมินไมไ่ ด้ 0 0 00 00 212

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 2.4 ขณะส่ือสารทางไกลผ่านวดิ โิ อคอล ผ้ปู ว่ ยนอก e-consult รวม ความคิดเห็น จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ การสอ่ื สารชัดเจน สะดวกมาก 31 61 10 91 41 66 สะดวก ไม่สะดวก 18 35 1 9 19 31 การสื่อสารไม่ชัดเจน ไมส่ ะดวกมาก ประเมินไมไ่ ด้ 0 0 00 00 2 4 00 23 0 0 00 00 2.5 การตดิ ตอ่ ในไลน์หลังสอื่ สารทางไกลผา่ นวิดโิ อคอล ผู้ปว่ ยนอก e-consult รวม ความคดิ เหน็ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ การสื่อสารชดั เจน สะดวกมาก 31 61 9 82 40 65 สะดวก ไม่สะดวก 18 35 2 18 20 32 การส่ือสารไมช่ ัดเจน ไมส่ ะดวกมาก ประเมินไมไ่ ด้ 00 00 00 24 00 23 00 00 00 2.6 ความคิดเหน็ เกย่ี วกับโทรเวชกรรมในสถานการณ์โควิด-19 ความคิดเหน็ ผ้ปู ่วยนอก e-consult รวม จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ สอ่ื สารทางไกลผ่านวิดโิ อคอลสะดวกและปลอดภยั กวา่ 46 90 9 82 55 89 ไมแ่ น่ใจ 24 19 35 เดนิ ทางมาพบแพทยท์ ่ีโรงพยาบาลดกี วา่ แมจ้ ะเสย่ี งการตดิ เชื้อเพิม่ ขน้ึ 3 6 1 9 4 6 2.7 ความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั โทรเวชกรรมเมื่อไมม่ ีสถานการณโ์ ควิด-19 แลว้ ความคดิ เห็น ผู้ปว่ ยนอก e-consult รวม จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ ควร 40 78 9 82 49 79 ไม่แนใ่ จ 8 16 2 18 10 16 ไมค่ วร 3 6 0 0 3 5 2.8 ขอ้ เสนอแนะ หรอื ความคดิ เหน็ อ่ืน ๆ เก่ียวกับโทรเวชกรรมครงั้ นี้ ผปู้ ่วยนอก - สะดวกและปลอดภยั ทง้ั ผู้ปว่ ย คนดูแลผปู้ ว่ ย รวมถงึ แพทย์ด้วย - การส่ือสารทางไลน์ถอื ว่าเปน็ วิธีการทดี่ ีมาก นอกจากช่วยลดภาระการเดนิ ทาง ค่าใชจ้ ่าย ความอ่อนเพลยี ของผู้ปว่ ย ในขณะเดินทางไกล การหาผดู้ แู ลในช่วงเดินทางไปโรงพยาบาลแลว้ ยังชว่ ยใหผ้ ้ดู แู ลหลกั ไดม้ โี อกาสร่วมสอื่ สารกับคณุ หมอ โดยตรง เพราะปกตผิ ดู้ ูแลหลัก(ภรรยาผู้ป่วย) ตดิ ราชการบ่อยครัง้ ซงึ่ ไม่สามารถไปกบั ผู้ป่วยได้ ทำใหไ้ มไ่ ดอ้ ยรู่ ่วมสอ่ื สาร หรอื ฟงั ผลพร้อมผู้ปว่ ยโดยตรง 213

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ - ในสถานการณ์โควิด การสื่อสารทางไกลทำให้ปลอดภัยและสะดวกมากยงิ่ ข้ึนคะ - การใชเ้ ครือ่ งมือส่อื สารทางไกลทำใหส้ ะดวกและประหยดั เวลาตลอดจนเรื่องอนื่ ๆมากครบั - สะดวกและปลอดภยั ค่ะ - ทาง รพ. ตอ้ งสอบถามถึงความจำเปน็ หรอื ชอ่ งทางในการสื่อสารที่ทางผปู้ ว่ ยมีความคล่องตัวทสี่ ดุ - ไม่ได้ตดิ ตามไลนต์ ลอด อาจพลาดข่าวสารไมท่ นั เวลา หรอื ตอบไม่ทนั เวลา ทำใหต้ ้องเลอื่ นนดั หมายหรือการรกั ษาและตอ้ ง เปน็ กังวลกบั การตดิ ตามข่าวสารในไลน์ - ได้ข้อมลู ชดั เจนมาก ขณะคอลได้จดบนั ทึกความจำไดด้ ว้ ย - เปน็ การตดิ ตอ่ ท่คี นไขส้ ามารถคุยกบั หมอโดยตรงและชัดเจนมาก และไมเ่ หน่ือยตอ่ การเดินทางไกลสำหรบั ผู้ป่วย - เป็นวิธที ่ีดคี ะ่ - สะดวกรวดเร็ว - สะดวก กรณที ี่ผู้ป่วยช่วยเหลอื ตวั เองไมไ่ ด้ - ร้สู ะดวกและปลอดภยั มากคะ่ อาจารยใ์ หก้ ารแนะนำท่ดี ีมากค่ะ - หมอเกง่ มากครับ ชดั เจน ถูกตอ้ ง และลดการเดินทาง ลดระยะเวลา - ส่อื สารผา่ นวิดโี อคอล ช่วยประหยดั เวลา ค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไดเ้ ยอะเลยค่ะ - เนอ่ื งจากสถานการณข์ องโรคโควดิ ระบาดในตอนน้ี เพือ่ ความปลอดภยั ของทกุ คนคะ - สือ่ สารทางไกลผ่านวิดโิ อคอลดมี าก - เดินทางไปพบเเพทยท์ โ่ี รงพยาบาลดกี วา่ แตใ่ นสถานการณโ์ ควดิ -19 การวดิ โิ อคอลกโ็ อเคแลว้ - ตอ้ งกราบขออภัยคณุ หมอเป็นอยา่ งสงู เนอ่ื งจากปัญหาตดิ ขดั ของอนิ เตอร์เนต็ ฝ่งั ผปู้ ว่ ยเอง - บางคร้ังไมไ่ ดย้ ินเสยี งคะ่ - คอ่ นขา้ งลำบาก - สะดวกและปลอดภยั และคณุ หมอยงั ใหค้ ำแนะนำดมี าก - การ vdo call สะดวกมากสำหรับผู้ป่วยทีอ่ ยูน่ อกพ้นื ทจ่ี งั หวัดสงขลา และลดภาวะความเครยี ดของผปู้ ว่ ยได้ - คณุ หมอให้คำแนะนำดมี ากครับ - ดมี าก - ตอ้ งดตู ามสถานการณ์เป็นครง้ั ๆ ไป ท้ังสภาพรา่ งกายของผู้ป่วย และสถานการณร์ อบเร้าทีเ่ กดิ ขน้ึ ณ เวลานัน่ ๆ - เขา้ ใจผดิ วา่ หมอจะตดิ ต่อไป e-consult - มีผลใช้ได้ดี เข้าใจดี - คณุ หมอพดู ดแี ละเข้าใจครับ - เพ่ือความสะดวกในการเดินทางและพบหมอ - ขอบพระคณุ คณุ หมอที่ให้คำปรกึ ษาและแนะนำ สามารถมีความเขา้ ใจเปน็ อย่างดี และเป็นกันเองคะ - ดีมากเลยยย - ในกรณีผู้ท่อี ยตู่ จว. การสื่อสารสะดวก ไม่ตอ้ งเดนิ ทางไกล ประหยดั ท้ังเวลาและคา่ ใช้จ่าย และความปลอดภยั ใน - การเดนิ ทาง - ตรวจดูอาการผ่านวดิ ิโอคอล แลว้ ไปรบั ยาอย่างเดียวค่ะ - บางอยา่ งเราอาจจะตอ้ งการตดั สินใจที่แน่นอนมากกว่าน้ี 214

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 10.3 ข้อด/ี ข้อจำกัดของการใช้โทรเวชกรรมในผ้ปู ว่ ยรงั สีรักษา 3.1 การใช้เวลา ข้อดี ความประทับใจ ขอ้ จำกดั ข้อควรระวัง - สามารถลดการเดนิ ทางที่ไม่จำเปน็ ของผูป้ ว่ ยและผดู้ แู ล - แพทยต์ อ้ งใช้เวลากับผปู้ ว่ ยและผดู้ ูแลหลักนานกวา่ การมา หลกั ไดม้ าก จากโครงการ สามารถลดการเดนิ ทางโดย พบทโ่ี รงพยาบาล ประมาณ 1.5- 2 เท่า เชน่ จาก 30 ผปู้ ่วยเลือกใช้โทรเวชกรรม รอ้ ยละ 87 และไมต่ ้อง นาที เป็น 45-60 นาทีตอ่ ผ้ปู ่วยใหม่ 1 ราย สว่ นใหญเ่ กดิ เดนิ ทางมาเลย ร้อยละ 34 จากปญั หาสัญญาณอินเตอรเ์ นต็ และผปู้ ว่ ยไม่เตรียมตัว - ผู้ปว่ ยท่ปี ฏิบตั ิตามคำแนะนำกอ่ นวิดิโอคอล ไดแ้ ก่ การ ตามคำแนะนำ ไมต่ รงเวลานดั หมาย ไมเ่ ตรียมอปุ กรณ์ ไม่ เตรยี มและทดสอบอปุ กรณ์ เตรียมความพร้อมของตนเอง สง่ ภาพเอกสารหรือยาใหแ้ พทย์ทบทวนก่อน การสง่ แผน่ และผดู้ แู ลหลกั ส่งภาพเอกสารทเี่ กี่ยวข้องและซองยา ภาพแจ้งเตอื นเปน็ checklist ก่อนวิดโิ อคอล ชว่ ยให้ ครบถ้วน ชว่ ยลดระยะเวลาวดิ ิโอคอลลงไดใ้ กลเ้ คยี งกบั ผ้ปู ว่ ยปฏิบตั ติ ามคำแนะนำมากขนึ้ แต่ไม่ท้งั หมด มีสว่ น การมาพบแพทยท์ โ่ี รงพยาบาล หนงึ่ ทยี่ ังต้องใช้เวลารอตามผปู้ ว่ ยหรือผ้ดู ูแลหลกั คน้ หา เอกสารหรอื ยามายื่นใหแ้ พทย์ดูเลยขณะวดิ โิ อคอล ผลเปรยี บเทียบการสง่ ภาพซองยาของผปู้ ่วย การใหค้ ำแนะนำโดยไม่มี หรือมแี ผ่นภาพข้อความเตือนเป็น checklist ก่อนล่วงหน้าวดิ โิ อคอล แผ่นภาพเตือน จำนวนรวม ไมส่ ่ง ส่ง ไมค่ รบถ้วน ส่ง ครบถ้วน จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ไม่มี 17 1 6 4 23 12 71 มี 78 1 1 14 18 63 81 รวม 95 2 2 18 19 75 79 3.2 สถานท่ี ข้อดี ความประทบั ใจ ข้อจำกดั ข้อควรระวงั - ผู้ปว่ ยและผดู้ แู ลหลกั สว่ นใหญ่อยใู่ นบา้ นหรอื ที่พักอาศยั - ผู้ป่วยสว่ นหนึง่ ขณะวิดโิ อคอลที่บา้ น ไมไ่ ดอ้ ยใู่ นสถานที่ ซึ่งเป็นพืน้ ทขี่ องตนเอง ให้ความรู้สึกแพทย์เป็นฝา่ ยเขา้ เงียบ ไม่มีเสียงหรอื ผู้อ่นื รบกวนตามคำแนะนำ เชน่ น่ังอยู่ เยย่ี ม แตกต่างจากการมาโรงพยาบาล นอกบ้านรมิ ถนนทีม่ เี สยี งการจราจร สัตวเ์ ล้ียง มีเพอื่ นบา้ น - การได้เห็นสภาพแวดล้อม ความเปน็ อยู่ การจัดการสถานท่ี มาเยยี่ มขณะวดิ โิ อคอล ขับรถอยู่ หรอื นั่งในตำแหนง่ ยอ้ น ในบ้านหรอื ทพ่ี กั อาศัยของผู้ปว่ ย เชน่ เตยี ง อปุ กรณ์ แสง แพทย์มอง เห็นผปู้ ่วยไม่ชัดเจน ทำให้ต้องใชเ้ วลาเดิน ช่วยเหลอื หรือเคร่ืองแต่งกาย มสี ว่ นช่วยให้แพทย์สามารถ หาและเปลย่ี นสถานท่ี ใหค้ ำแนะนำการดแู ลรกั ษาไดเ้ ฉพาะเจาะจงมากขน้ึ - ผปู้ ่วยสว่ นหนงึ่ ขณะวดิ ิโอคอล อย่ใู นท่สี าธารณะ ไม่มี - ผู้เกี่ยวข้องทง้ั หมดของผูป้ ว่ ย สามารถรว่ มวดิ โิ อคอลกับ ความเป็นสว่ นตัว เช่น ร้านอาหาร ร้านค้า โรงพยาบาล ทำ แพทยไ์ ด้พรอ้ มกัน ใหต้ อ้ งเล่อื นวิดโิ อคอลครัง้ น้นั ออกไป เพอ่ื รกั ษาความเป็น - เม่ือตอ้ งการเอกสาร ยา หรืออปุ กรณ์ทเี่ กี่ยวขอ้ งซง่ึ ยังไม่ ส่วนตวั ของผูป้ ่วยเอง สง่ ภาพให้แพทยก์ ่อนวิดโิ อคอล กย็ ังสามารถคน้ หรือนำมา - ถา้ ท่ีพกั อาศยั ของผูป้ ่วยไม่มีหอ้ งแยกเป็นสว่ นตัว มีสมาชิก ใหแ้ พทยด์ ูได้เลยทางวิดโิ อคอล ในครอบครัวอยรู่ วมกนั ในห้องเดียว อาจมบี คุ คลที่ผูป้ ่วยไม่ ต้องการให้รบั ทราบเร่อื งความเจ็บปว่ ยของตนเองร่วมวิดิ โอคอลด้วย เช่น เด็ก ผูพ้ กั อาศัยอ่ืน เป็นตน้ 215

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 3.3 อปุ กรณส์ อ่ื สาร ขอ้ จำกัด ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ดี ความประทบั ใจ - ผ้ปู ว่ ยรอ้ ยละ 13 ปฏิเสธการใช้โทรเวชกรรม - ผปู้ ่วยสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 87 เลอื กใชโ้ ทรเวชกรรม - ผ้ปู ่วยท่ปี ฏิเสธปฏเิ สธการใชโ้ ทรเวชกรรม ร้อยละ 27 ใช้ - ผปู้ ว่ ยทีเ่ ลือกใช้โทรเวชกรรมสว่ นใหญ่ ร้อยละ 76 มี เคร่ืองมือสอื่ สารไม่เป็น รอ้ ยละ 7 ไมม่ เี คร่อื งมือส่อื สาร อปุ กรณ์ใช้สะดวกมาก และใช้โทรศพั ท์หรอื คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ คอมพวิ เตอร์ หายมื ไมไ่ ด้ วดิ ิโอคอลเป็นประจำอยแู่ ล้ว - การใช้คอมพิวเตอร์ต้ังโตะ๊ เพือ่ วิดโิ อคอล ไมส่ ะดวกในการ - การใชค้ อมพิวเตอรต์ ัง้ โตะ๊ เพอ่ื วดิ โิ อคอล จะจับภาพผปู้ ว่ ย เลื่อนเพ่อื จับภาพระยะใกล้ ระยะไกลเพือ่ ตรวจรา่ งกาย และผดู้ ูแลหลกั พรอ้ มกันในระดบั สายตา นิ่ง ภาพไม่ขยบั เชน่ ขณะเดิน - การใช้โทรศัพทม์ ือถอื เพ่ือวิดิโอคอล จะสะดวกในการ - การใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถือเพ่ือวิดโิ อคอล ถ้าวางไม่ม่นั คงบนโตะ๊ เลอื่ นเพื่อจบั ภาพระยะใกล้ ระยะไกลเพ่ือตรวจรา่ งกาย ผปู้ ่วยหรอื ผู้ดแู ลหลกั ใชม้ ือถือไว้เอง ภาพจะขยับไม่นิ่ง เช่น จับภาพกอ้ นบริเวณลำตัว การทดสอบกำลงั ของ และถา้ ภาพขยบั ตลอดการสนทนา แพทยจ์ ะเวยี นศรี ษะ กล้ามเน้ือแขนขา ขณะเดิน เปน็ ตน้ - การใชโ้ ทรศัพทม์ ือถือเพอื่ วิดิโอคอล ถ้ามสี ายโทรศพั ท์อ่ืน - ผปู้ ่วยและผดู้ แู ลหลกั ทไ่ี มม่ ีอุปกรณส์ ่ือสาร สว่ นหน่งึ มีญาติ เรยี กเขา้ ในระหว่างวิดิโอคอล จะรบกวนการสนทนา ภาพ พนี่ อ้ ง เพอ่ื นบา้ น หรือเจา้ หนา้ ที่โรงพยาบาลสง่ เสรมิ ดับ การสือ่ สารตดิ ขดั หรอื ยกเลกิ ไปเลย สขุ ภาพ ตำบล เอาอปุ กรณส์ ื่อสารใหย้ มื ใช้ ชว่ ยเตรยี ม - ส่วนหน่ึงเสียง-ภาพไม่ชัดเจน บางรายต้องติดตอ่ ใหมถ่ งึ 4 อุปกรณ์ และชว่ ยเหลือในขณะวิดโิ อคอลโดยตลอดได้ เปน็ คร้ัง หรือตอ้ งเปลยี่ นจากวดิ โิ อคอลเป็นเสียงอย่างเดยี ว ระบบสาธารณสุขและความช่วยเหลอื ทางสงั คมทดี่ มี าก บางรายใชโ้ ปรแกรมเบลอภาพพนื้ หลังแลว้ ไมส่ ามารถ เปลย่ี นกลับมาเป็นภาพธรรมดาได้ เมื่อแพทย์จะตรวจ ร่างกายผา่ นวดิ โิ อคอล - แพทยค์ วรใชห้ ฟู งั และไมโครโฟนระหว่างวิดโิ อคอล เพื่อ ลดปญั หาคณุ ภาพเสียงไม่ชัดเจน ซ่งึ อาจทำให้การสอื่ สาร ผิดพลาดได้ โดยเฉพาะการพูดผา่ นหนา้ กากอนามยั ซ่งึ ตอ้ งใชเ้ สยี งดังขน้ึ และฟังไมช่ ัดเจน - แพทย์ควรแยกโทรศัพท์มอื ถือทใ่ี ชส้ ำหรับโทรเวชกรรม เปน็ คนละเคร่อื งกบั ทีใ่ ชง้ านสว่ นตวั เพื่อลดการรบกวนวดิ ิ โอคอล จากโทรศพั ทส์ ว่ นตวั สายอนื่ รวมถึงเพื่อความเป็น สว่ นตวั ของแพทย์เอง เชน่ สามารถปดิ เครอ่ื งโทรศัพท์ สำหรับโทรเวชกรรมในชว่ งนอกเวลาราชการได้ 3.4 สญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต ขอ้ จำกดั ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ดี ความประทบั ใจ - ผปู้ ่วยร้อยละ 13 ปฏิเสธการใช้โทรเวชกรรม - ผู้ปว่ ยทปี่ ฏิเสธปฏเิ สธการใชโ้ ทรเวชกรรม เหตผุ ลสว่ น - ผู้ปว่ ยสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 87 เลอื กใช้โทรเวชกรรม - ผู้ปว่ ยท่เี ลอื กใชโ้ ทรเวชกรรมสว่ นใหญ่ ร้อยละ 71 ใหญถ่ ึงรอ้ ยละ 33 เกดิ จากไมม่ สี ญั ญาณอนิ เตอรเ์ น็ต หรอื เข้าถงึ สญั ญาณลำบาก สัญญาณอนิ เตอรเ์ นต็ ไม่ติดขดั เลย รอ้ ยละ 13 สญั ญาณ - ผู้ป่วยที่ประเมนิ วา่ การส่ือสารไม่ชดั เจน ไม่สะดวกมาก ท้งั อนิ เตอร์เนต็ ตดิ ขดั น้อยมาก การนัดหมายในไลนก์ ่อนสื่อสารทางไกลผา่ นวิดิโอคอล ขณะสื่อสารทางไกลผา่ นวดิ ิโอคอล และการติดตอ่ ในไลน์ หลังส่ือสารทางไกลผ่านวดิ ิโอคอล ทั้งหมดประเมนิ ว่า สญั ญาณอินเตอร์เนต็ ติดขดั เปน็ ส่วนใหญ่ และมผี ู้ปว่ ย 1 รายต้องนัดมาพบแพทย์ทโี่ รงพยาบาลเพื่อคยุ เพม่ิ เตมิ 216

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 3.5 แอพพลิเคช่นั ไลน์ ข้อดี ความประทับใจ ข้อจำกัด ข้อควรระวัง - เป็นแอพพลิเคชน่ั ทสี่ ามารถสอ่ื สารทง้ั ขอ้ ความ ไฟล์ ภาพ - เป็นแอพพลเิ คชั่นสาธารณะ อาจมคี วามเสย่ี งในเรอ่ื งการ ภาพเคลื่อนไหว เสยี ง วิดิโอคอลไดด้ ี สามารถทำกลมุ่ รัว่ ไหลของขอ้ มลู สว่ นบุคคลของผปู้ ่วยไปยงั บุคคลท่สี าม สำหรับแพทย์ นกั ศกึ ษาแพทย์ หรอื ผูด้ แู ลหลายคนซงึ่ อยู่ - โทรเวชกรรมซ่งึ มีภาพ ภาพเคลอ่ื นไหว และเสยี ง หาก ต่างสถานทกี่ นั สำหรบั วดิ โิ อคอลพร้อมกันไดส้ ะดวก โดย กระทำโดยไมร่ ะมัดระวัง เช่น ในทีส่ าธารณะ มีความเสี่ยง ไมม่ ีค่าใช้จา่ ย การร่ัวไหลข้อมลู ส่วนบุคคลของผปู้ ว่ ยได้ ท้ังผู้ปว่ ย ผดู้ แู ล - ผ้ปู ่วยและผดู้ ูแลหลักสามารถถ่ายภาพ เช่น รอยโรคที่ หลกั และบุคลากรควรใช้แอพพลเิ คช่นั นสี้ ำหรบั โทรเวช เปลีย่ นแปลง ซองยา แบบบันทึกความปวด หรืออดั เสยี ง กรรมในสถานทสี่ ว่ นตัว หรอื สถานทโ่ี รงพยาบาลจดั ให้ แลว้ สง่ ใหแ้ พทยไ์ ด้โดยตรง ตลอดเวลาอยา่ งรวดเร็ว ผู้ปว่ ย เทา่ นน้ั 1 ราย แพทยต์ รวจพบการใส่ยาผดิ ซองทเ่ี ป็นอันตรายจาก - ผู้ปว่ ยควรไดร้ ับคำแนะนำใหล้ บภาพหรือขอ้ มูลสว่ นบคุ คล ภาพถ่าย คือ hydroxyzine ในซอง NTG สำหรับอมใตล้ ิน้ ของตนเองภายหลังวิดโิ อคอล เพอ่ื ลดความเสยี่ งเร่ืองการ - แพทยส์ ามารถส่งภาพ เชน่ ภาพอปุ กรณท์ ่ีใช้ใน รัว่ ไหลของข้อมูลไปยังบุคคลทีส่ าม กระบวนการรกั ษา คลิปเสียงหรือภาพเคลอ่ื นไหว เชน่ - ภาพและไฟลท์ สี่ ง่ ต่อในแอพพลิเคชั่นมีวนั หมดอายุ ไม่ คำแนะนำการดูแลตนเองของผปู้ ่วยทเ่ี หมอื นกันใหผ้ ปู้ ว่ ย สามารถเข้าถึงไดต้ ลอดไป หลายคน ไฟล์ เชน่ บันทึกความเห็นเพอ่ื สง่ ตวั ไปรับการ - มขี อ้ จำกดั สำหรับผู้สงู อายุ หรอื บุคคลทมี่ ีปญั หาทางสายตา รกั ษาท่ีอืน่ ลิงค์ เช่น แหลง่ ขอ้ มูลนา่ เชอ่ื ถือที่เก่ยี วข้อง ให้ การได้ยนิ การพิมพข์ ้อความ ความไมค่ ้นุ เคยกับอุปกรณ์ ผูป้ ่วยได้โดยตรง รวดเรว็ และมีบนั ทึกเกบ็ ไวโ้ ดยอตั โนมตั ิ สื่อสาร - แพทย์ ผ้ปู ว่ ยหรือผ้ดู ูแลหลักทไ่ี มถ่ นดั พมิ พ์เป็นข้อความ - ในโครงการนี้ ยงั ไม่ใช้ระบบตอบรบั อัตโนมตั ิ เช่น การสง่ สามารถอดั เสียงเป็นคลิปส้ัน ๆ แทนได้ แผ่นภาพทกั ทาย คำแนะนำ แบบฟอร์มคำถาม เป็นต้น ซ่งึ ผปู้ ว่ ยและผดู้ ูแลหลกั บางราย คดิ วา่ ระบบเปน็ เชน่ น้นั 3.6 การเข้าถงึ และเชื่อมโยงขอ้ มูลผูป้ ่วย ขอ้ ดี ความประทบั ใจ ข้อจำกดั ขอ้ ควรระวงั - การเขา้ ถึงฐานข้อมลู ผู้ป่วยของโรงพยาบาลจากทางไกล - แพทยย์ งั ไมส่ ามารถบันทกึ ขอ้ มลู จากโทรเวชกรรมเข้า ของแพทย์ ช่วยใหก้ ารบริการโทรเวชกรรมสะดวกขน้ึ ฐานขอ้ มูลผู้ป่วยของโรงพยาบาลได้โดยตรง ทำให้ต้อง สามารถทำงานทบี่ า้ น (work from home) ในชว่ งการ บนั ทึกในกระดาษระหวา่ งวดิ ิโอคอล แลว้ นำมาบันทกึ ลง ระบาดของโควดิ -19 ได้ ฐานขอ้ มูลผปู้ ว่ ยของโรงพยาบาลภายหลัง เป็นการทำงาน ซ้ำซ้อน - การเข้าถึงฐานขอ้ มลู ผูป้ ่วยของโรงพยาบาลจากทางไกล หากกระทำโดยไม่ระมัดระวงั เช่น ในท่ีสาธารณะ มคี วาม เสย่ี งการร่ัวไหลข้อมลู สว่ นบุคคลของผ้ปู ่วยได้ บคุ ลากรควร ใช้ระบบนี้ในทสี่ ่วนตวั หรือสถานท่ีโรงพยาบาลจัดใหเ้ ทา่ นน้ั 217

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 3.7 ประเด็นทางการแพทย์ ข้อจำกดั ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ดี ความประทับใจ - ในวันนดั หมายวดิ โิ อคอล ผู้ป่วยบางรายสภาพทรดุ หนกั - ผลพลอยไดอ้ ย่างหนงึ่ จากการดำเนินโครงการน้ี ทำให้ ใกล้เสยี ชวี ติ ที่บา้ น เชน่ air hunger หรือสตสิ ัมปชัญญะ สามารถตดิ ตามผู้ปว่ ยรับปรกึ ษาไดท้ ั้งหมด พบผูป้ ว่ ยไม่ แยล่ ง แพทย์ควรเผ่อื ใจและเวลาสำหรับใหค้ ำแนะนำ ตดิ ตอ่ กลบั มาหลงั ปรึกษาเพยี ง 4 ครงั้ คดิ เป็นเพยี งร้อยละ เบอ้ื งต้นทเี่ หมาะสมในภาวะเชน่ นนั้ กบั ครอบครวั ผปู้ ว่ ย 3 ลดลงจากกอ่ นโครงการท่มี ผี ปู้ ว่ ยไม่ตดิ ตอ่ กลบั มาหลัง ดว้ ย ท้ังนีต้ ้องระวังความเสย่ี งผิดพลาดจากการประเมิน ปรึกษาไมต่ ่ำกว่ารอ้ ยละ 10 และในผูป้ ่วยท่ีไมต่ ิดต่อ และส่ือสารทางไกลในภาวะวกิ ฤติ โดยเฉพาะบคุ ลากรที่ กลับมาหลงั ปรกึ ษา สามารถโทรศพั ทส์ อบถามสาเหตไุ ด้ ยงั ไม่มีประสบการณ์ และ ไมส่ ามารถตรวจรา่ งกายอย่าง ทง้ั หมด คือ เสียชีวิต 2 ราย ปฏิเสธการรักษา 1 ราย และ ครบถ้วน โดยเฉพาะการคลำ เคาะ ฟงั ไปรักษา กทม. 1 ราย ทำให้ผปู้ ว่ ยเกอื บทงั้ หมดไดร้ บั - โทรเวชกรรมเปน็ การสื่อสารทางไกล มีผลตอ่ การสอ่ื สาร ขอ้ มูลการรกั ษาจากแพทยก์ ่อนตัดสินใจ นอกจากนี้ ผดู้ แู ล ทั้งวจนภาษาและอวจนภาษา และสัมพนั ธภาพระหวา่ ง หลกั ของผปู้ ่วยบางรายจะแจ้งขา่ วผู้ปว่ ยเสียชวี ติ เปน็ แพทย-์ ผปู้ ่วย โดยเฉพาะการสื่อสารผ่านแผ่นภาพ ทไี่ มใ่ ช่ ข้อความผ่านไลน์มาเอง การใหค้ ำแนะนำเป็นคำพูดโดยตรง แตอ่ าจเปน็ มาตรการ ท่ไี ด้ผล ในกรณีทผี่ ปู้ ว่ ยหรือผู้ดูแลหลักส่งขอ้ ความหรือ - สามารถตรวจร่างกายไดบ้ างระบบทใี่ ชก้ ารดูเปน็ หลกั เช่น ข้อมลู ท่ีไมเ่ กยี่ วข้องกบั ความเจ็บปว่ ยในปัจจุบัน แผลหรือรอยโรคที่ผิวหนัง ตำแหนง่ ความปวด การตรวจ - โทรเวชกรรมในโครงการน้ี เป็นบรกิ ารเฉพาะในเวลา ทางระบบประสาท ท่าเดนิ การทดสอบกำลงั ของ ราชการ แตผ่ ปู้ ่วยและผดู้ ูแลหลักสามารถตดิ ตอ่ สอบถาม กล้ามเน้ือ การคลำกอ้ น โดยให้ผดู้ แู ลหลกั เปน็ ผูช้ ว่ ย เปน็ ข้อความไดต้ ลอด 24 ชม. ซึ่งอาจไมไ่ ด้รับคำตอบจาก ทดสอบหรอื คลำให้แทน แพทย์ทันที ในกรณเี รง่ ด่วนหรือฉกุ เฉนิ ตอ้ งมคี ำแนะนำ ใหต้ ิดตอ่ โรงพยาบาลใกล้บ้าน หรอื โทรศัพทถ์ ึงหนว่ ยงาน - การสอ่ื สารทางไกลผา่ นโทรเวชกรรม ทำให้เกดิ โดยตรง นอกจากนี้ยงั มผี ูป้ ว่ ยหรือผู้ดแู ลหลกั บางราย สัมพนั ธภาพระหว่างแพทย์-ผูป้ ่วยท่ีแตกตา่ งไปจากเดิม โทรศัพทห์ รอื วิดโิ อคอลตามความเคยชนิ เขา้ มานอกเวลา ผู้ปว่ ยและผดู้ ูแลหลักสามารถตดิ ตอ่ สอบถามเป็นขอ้ ความ นดั หมาย ในเวลานดั หมายของผู้ปว่ ยคนอ่ืนหรอื นอกเวลา ได้ตลอด 24 ชม. การส่ือสารไมถ่ กู จำกัดอยูเ่ ฉพาะเวลา ราชการ ซึ่งอาจรบกวนการสนทนาระหว่างแพทย์กับ ราชการ ผู้ป่วยคนอื่นท่นี ดั หมายไว้แล้ว และความเปน็ สว่ นตวั ของ แพทย์ 3.8 ภาพรวมของโทรเวชกรรม ขอ้ ดี ความประทบั ใจ ขอ้ จำกดั ขอ้ ควรระวงั - มีขอ้ จำกัดจากการสือ่ สารทางไกล ขาดการประเมินและ - สามารถลดการเดินทางที่ไม่จำเป็นของผ้ปู ว่ ยและผู้ดแู ล หลกั ได้มาก จากโครงการ สามารถลดการเดนิ ทางโดย ตรวจร่างกายอย่างครบถว้ น จึงเปน็ เพียงทางเลือก แตไ่ ม่ ผู้ป่วยเลอื กใชโ้ ทรเวชกรรม รอ้ ยละ 87 ไมต่ อ้ งเดินทางมา สามารถทดแทนการมาพบแพทย์ทโ่ี รงพยาบาลได้ เลย ร้อยละ 34 รวมถงึ ลดระยะเวลาท่ตี ้องใชใ้ น - การสอื่ สารทกุ ประเภท ทั้งข้อความ แผ่นภาพ คลิปเสยี ง โรงพยาบาล เพื่อลดความแออดั ลดความเส่ียงการตดิ เช้ือ ไฟล์ ถูกบันทกึ เปน็ หลักฐานท่สี ามารถนำมาอา้ งอิง ในสถานการณโ์ ควดิ -19 ไดม้ าก ภายหลงั ได้ทุกชนิด แตกตา่ งจากการมาพบแพทยท์ ี่ โรงพยาบาล 218

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11.การเรยี นรู้ (study/learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งต่อเน่ืองในอนาคต - ปรบั ปรงุ การให้คำแนะนำของพยาบาล และแผ่นภาพในแอพพลเิ คชนั่ ไลน์ ผา่ นกระบวนการวางแผน + การลงมอื ปฏิบตั ิ + การเกบ็ ขอ้ มลู ประเมินผล + การปรบั ปรงุ การทำงาน - ขยายการบริการโทรเวชกรรมสำหรบั ผปู้ ว่ ยติดตามผลหลงั การรักษาทอี่ าการคงท่ี ไมต่ ้องรับยา รวมถงึ ผูป้ ว่ ยในท่ีมี ความเปน็ ส่วนตวั สำหรับวดิ โิ อคอลได้ เชน่ ผู้ป่วยหอ้ งแยก หรอื ผู้ปว่ ยห้องพิเศษ 11.2 จดุ แข็ง (strength) หรือสงิ่ ท่ที ำไดด้ ีในประเด็นทีน่ ำเสนอ - การนำเทคโนโลยสี อ่ื สารทค่ี า่ ใชจ้ ่ายไมม่ าก คอื โทรเวชกรรมผา่ นวิดิโอคอลในแอพพลเิ คชน่ั ไลน์ มาปรับใหบ้ ริการ ผปู้ ว่ ยในภาวะวกิ ฤติทมี่ ีความเสีย่ งเรอื่ งการระบาดของโควดิ -19 สามารถลดค่าใช้จา่ ยและปญั หาการเดนิ ทางทีไ่ ม่จำเป็นของ ผปู้ ว่ ยมะเร็งระยะลกุ ลามทส่ี ภาพรา่ งกายไมแ่ ขง็ แรงที่เดนิ ทางมาจากต่างจงั หวัด หรือมภี าวะท่ีทำใหไ้ มส่ ามารถให้รังสรี ักษาใน ขณะน้ันได้ - ผ้ปู ่วยและญาตมิ ที างเลอื กในการรบั บริการแทนการเดินทางมาพบแพทย์ทีโ่ รงพยาบาล ยงั ไดร้ บั บริการที่จำเปน็ ใน ช่วงเวลาการระบาดของโควดิ -19 ท่ีมีความเขม้ งวดเรอ่ื งการเดินทางขา้ มจงั หวัด 11.3 กลยุทธ์หรอื ปัจจยั ทนี่ ำไปสคู่ วามสำเรจ็ การประสานงานของบคุ ลากรสขุ ภาพสหวชิ าชีพ ทงั้ ในหน่วยรงั สีรกั ษาและมะเรง็ วิทยาเอง ข้ามหน่วยงานใน โรงพยาบาล และกับหนว่ ยงานนอกโรงพยาบาล - ความมุ่งมัน่ และความสขุ ท่จี ะช่วยเหลือผู้ป่วยของบุคลากรสขุ ภาพสหวิชาชีพ ถึงแม้จะมีอปุ สรรคและบุคลากรตอ้ งมี ภาระงานมากขนึ้ ใชเ้ วลาใหบ้ รกิ ารนานข้นึ - การวางแผนศึกษาเปรยี บเทยี บเชงิ ทดลองและเกบ็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานไปพรอ้ มกบั การบรกิ ารรูปแบบใหม่ ทำให้มี หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ สามารถนำผลลพั ธม์ าปรบั ปรงุ รปู แบบการใหบ้ รกิ ารได้อย่างสอดคล้องกับปญั หาและบริบทของ หนว่ ยงาน 12. ประเด็น (จดุ เดน่ ) ที่เปน็ แนวทางปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลศิ ประเด็น (จุดเดน่ ) ท่เี ปน็ แนวทางปฏิบตั ิที่เปน็ เลศิ - การยึดผปู้ ่วยเป็นศนู ย์กลาง โดยพฒั นารปู แบบบริการผ่าน โทรเวชกรรมใหเ้ ปน็ ทางเลอื กสำหรบั ผูป้ ว่ ยแทนการเดนิ ทางมาพบแพทย์ทโี่ รงพยาบาล ใหไ้ ดร้ บั การบรกิ ารท่ีจำเปน็ ในชว่ งเวลา การระบาดของโควดิ -19 ท่มี คี วามเข้มงวดเรื่องการเดนิ ทางขา้ มจังหวัด ถงึ แมจ้ ะมอี ุปสรรคและบคุ ลากรต้องมีภาระงานมากขึ้น ใช้เวลาใหบ้ รกิ ารนานข้ึน - ความร่วมมือประสานงานของบคุ ลากรสขุ ภาพสหวชิ าชีพ ท้งั ในหนว่ ยรังสรี ักษาและมะเรง็ วิทยาเอง ขา้ มหนว่ ยงาน ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และกบั หน่วยงานนอกโรงพยาบาล เชน่ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล เพ่ือนัดหมาย ใหค้ ำแนะนำ และจดั การอำนวยความสะดวกการสือ่ สารโทรเวชกรรมของผูป้ ว่ ยและผ้ดู แู ลหลักกับแพทยผ์ ูร้ ักษา - การนำเทคโนโลยสี อื่ สารทค่ี า่ ใช้จ่ายไมม่ าก คือ โทรเวชกรรมผา่ นวดิ ิโอคอลในแอพพลิเคชัน่ ไลน์ มาปรบั ใหบ้ ริการ ผปู้ ว่ ยในภาวะวกิ ฤติทมี่ ีความเสีย่ งเรื่องการระบาดของโควดิ -19 สามารถลดคา่ ใชจ้ ่ายและปัญหาการเดนิ ทางที่ไม่จำเปน็ ของ ผปู้ ว่ ยมะเร็งระยะลุกลามทสี่ ภาพรา่ งกายไม่แขง็ แรงทเี่ ดนิ ทางมาจากต่างจงั หวัด หรือมภี าวะทที่ ำใหไ้ มส่ ามารถให้รังสรี กั ษาใน ขณะน้นั ได้ - การวางแผนศึกษาเปรยี บเทยี บเชงิ ทดลองและเก็บข้อมลู พ้ืนฐานไปพร้อมกับการบริการรูปแบบใหม่ ทำใหม้ ี หลกั ฐานเชิงประจักษ์ สามารถนำผลลัพธ์มาปรบั ปรุงรูปแบบการใหบ้ ริการไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งกบั ปัญหาและบริบทของ หนว่ ยงาน 13. เอกสารอา้ งอิง [1.] 2564. หนว่ ยรงั สีรักษาและมะเร็งวทิ ยา สาขารังสวี ทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์. สถติ ผิ ู้ปว่ ยรงั สี รกั ษา โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2564 219














































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook