Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564

2564

Published by Tnp., 2022-08-30 06:17:52

Description: 2564

Search

Read the Text Version

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลศิ *************************************** 1. ชอ่ื เรื่อง การเพ่ิมประสิทธภิ าพกระบวนการป้องกันภาวะขาดโปรตนี สำหรับผู้ปว่ ยท่เี ขา้ รับการรกั ษาโรค อว้ นดว้ ยวิธีการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะ 2.โครงการ/กจิ กรรมด้าน ด้านบริหารจดั การ 3.ช่อื หน่วยงาน งานโภชนาการ โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ ผู้รับผดิ ชอบ นางสาวพรพศิ เรืองขจร นกั วชิ าการโภชนาการชำนาญการพเิ ศษ นางกาญจนา ฉมิ เรือง นักวชิ าการโภชนาการชำนาญการ นางสาวภคั จริ า เบญญาปัญญา นกั วชิ าการโภชนาการชำนาญการพเิ ศษ 4.ประเภทของโครงการ ประเภทที่2 แนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี  2.1 สายวิชาการ  2.2 สายสนับสนุน 5.คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัติที่เปน็ เลศิ การรักษาโรคอ้วนด้วยการผ่าตัดกระเพาะอาหาร ได้รับการยอมรับว่าเป็นการรกั ษาท่ีมีประสิทธิภาพสูงในโรคอ้วน เน่ืองจาก สามารถลดน้ำหนกั ได้อยา่ งต่อเนอื่ ง และลดการเกิดโรครว่ ม รวมถึงส่งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ของผปู้ ว่ ย ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตดั ลดขนาดกระเพาะอาหารเพือ่ ลดนำ้ หนัก จำเป็นต้องได้รับการดูแลด้านโภชนาการท่เี หมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงภาวะแทรกซอ้ นดา้ นโภชนาการ อาทิ การขาดโปรตนี เน่ืองจากการยอ่ ยและการดูดซมึ โปรตีนมีประสทิ ธิภาพ ลดลง เป็นภาวะแทรกซอ้ นท่สี ำคัญของผู้ปว่ ยหลงั การผ่าตดั ลดขนาดกระเพาะอาหาร โดยปกตจิ ะเกิดขน้ึ ในชว่ ง 2-8 เดือนหลัง การผ่าตัด และสาเหตุหลักจากผู้ป่วยรับประทานอาหารประเภทโปรตีนไม่เพียงพอ โดยมีอาการทางคลินิก คือ การสลาย กล้ามเน้ืออย่างรวดเร็ว อาการบวมน้ำ การหายของแผลไมด่ ีและมีผมรว่ ง นอกจากนี้ เกิดภาวะที่อาหารผ่านกระเพาะอย่าง รวดเร็วเข้าสู่ลำไส้ (Dumping Syndrome) ซึ่งอาหารจะดึงเอาสารน้ำหรือของเหลว ที่อยู่ในหลอดเลือดเข้าไปในลำไส้ ทำให้ ลำไส้เกดิ การโปง่ พองและบีบตวั มากขึน้ ส่งผลให้ผูป้ ่วยมีอาการปวดท้อง อาเจยี น ทอ้ งเสีย และยังส่งผลให้มกี ารลดลงของสาร น้ำท่ีอยู่ในหลอดเลอื ด(Intravascular Volume) จนรา่ งกายตอบสนองด้วยการหลงั่ สื่อประสาทต่างๆ ทำให้มีอาการใจสั่น มึน ศีรษะ เหงื่อออกท่วมตัว โดยภาวะแทรกซ้อนที่กล่าวมาข้างต้น จำเป็นท่ีผู้ป่วยจะต้องได้รับการดูแลและให้ความรู้ด้าน โภชนาการ เพอื่ ลดความเสย่ี งที่อาจจะเกิดข้นึ งานโภชนาการ เป็นหน่วยงานสนับสนุน ด้านการรักษาพยาบาลผูป้ ่วย ในลกั ษณะทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยทำหน้าท่ี วางแผนและสนับสนุนการดูแลด้านโภชนาการและโภชนบำบัด ตามพยาธิสภาพของผู้ป่วยก่อน-หลังการรักษา รวมถึงการให้ ความรู้แกผ่ ู้ป่วยและครอบครัวในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมดา้ นการบรโิ ภคอาหารทเี่ หมาะสม 541

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 6.การประเมินปญั หา/ความเส่ียง(Assessment) สมาคมแพทยต์ ่อมไรท้ อ่ แห่งสหรฐั อเมริกา กำหนดแนวทางปฏบิ ตั ดิ ้านคลนิ กิ สำหรบั การสนบั สนนุ ดา้ นโภชนาการ ถึง ความตอ้ งการสารอาหารกล่มุ โปรตนี สำหรับผู้ป่วยหลงั การผ่าตดั ลดขนาดกระเพาะ คอื 60 - 120 กรัมต่อวนั ของนำ้ หนกั ตัวใน อุดมคติเทา่ กับปรมิ าณโปรตนี 1.1-1.5 กรัมต่อน้ำหนักตวั 1 กโิ ลกรมั ตอ่ วันและควรเปน็ โปรตนี ที่มคี ุณภาพสงู งานโภชนาการ ทำการเก็บข้อมูลผู้ป่วยหลังผ่าตัดลดขนาดกระเพาะ 4 สัปดาห์ และ 6 สัปดาห์ตามลำดับ โดยการ ประเมินการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง จำนวนผู้ป่วยท้ังหมด 134 พบว่าผปู้ ่วยได้รบั โปรตีน 0.5 - 0.9 gm/kg/d ซึ่งเป็นปริมาณโปรตีนน้อยกว่าเกณฑ์มีจำนวน 36 ราย ผู้ป่วยที่ได้รับโปรตีน 0.9 - 1.1 gm/kg/d มีจำนวน 59 ราย และ ผู้ป่วยที่ได้รับโปรตีน ตามเกณฑ์ท่ีกำหนดคือ1.2 – 1.5 gm/kg/d มีเพียง 39 รายเท่านั้น จากปัญหาดังกล่าวจึงเป็นที่มา ของการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพกระบวนการปอ้ งกนั ภาวะขาดโปรตีนในผ้ปู ว่ ยทเ่ี ขา้ รับการผา่ ตดั ลดขนาดกระเพาะอาหาร 7.เป้าหมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ เพ่อื ศกึ ษาผลลพั ธ์ของการเพ่ิมประสทิ ธิภาพกระบวนการป้องกนั ภาวะขาดโปรตีนในผ้ปู ่วยที่เข้ารบั การผ่าตดั ลดขนาดกระเพาะ อาหาร 8.ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ บั - ผู้ปว่ ยทเ่ี ข้ารบั การรกั ษาโรคอ้วนดว้ ยวธิ ีการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร สามารถลดความเสีย่ งต่อการขาดโปรตีนในระยะ ยาว - ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาโรคอ้วนด้วยวิธีการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร มีอาหารบดท่ีมีโปรตีนสูง พลังงานอาหารที่ เหมาะสม เพื่อใชเ้ ป็นทางเลอื กในการรับประทานเม่อื กลบั ไปพกั รกั ษาตัวตอ่ ที่บ้าน 9.การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวทางปฏิบัติจริง (PDCA) เป็นการพัฒนาประสิทธิภาพกระบวนการป้องกันภาวะขาดโปรตีนสำหรับ ผู้ปว่ ยทีเ่ ข้ารบั การรกั ษาโรคอ้วนดว้ ยวิธกี ารผา่ ตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร จำนวน 50 ราย ดังนี้ วิธกี าร/แนวปฏิบตั ิ มูลเหตุจงู ใจ 1.การพัฒนาอาหารบดโปรตีนสงู การประเมินพบว่าผ้ปู ่วยไมส่ ามารถเข้าถงึ อาหารบดท่มี โี ปรตนี สูงเพยี งพอต่อความ ต้องการไดอ้ ยา่ งครบถว้ น จะสง่ ผลต่อการขาดโปรตนี เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผ้ปู ่วย หลังผ่าตดั ลดขนาดกระเพาะอาหาร 2.การพฒั นาระบบการตดิ ตามการ -กำหนดแนวปฏิบัติในการแกไ้ ขปญั หาด้านโภชนาการของผู้ปว่ ยเพอื่ ลดภาวะเสย่ี งต่อ รบั ประทานอาหารผู้ปว่ ยหลงั การขาดโปรตีน ผา่ ตดั ฯ -พฒั นาแบบประเมนิ การบรโิ ภคอาหาร เพอ่ื ประเมนิ สัดส่วนสารอาหารและพลังงานที่ เหมาะสม ได้อยา่ งรวดเร็ว 3.การพฒั นากระบวนการให้ เปน็ การสง่ เสรมิ ผู้ป่วย/ญาตใิ ห้มีความรคู้ วามเข้าใจ สามารถปฏบิ ตั ติ ัวไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ความรู้ดา้ นโภชนาการหลงั การ เหมาะสม สนบั สนนุ การดแู ลตนเองต่อเนือ่ งทบ่ี า้ น(Empowerment) ผา่ ตัดฯ รายละเอยี ดวธิ กี าร/แนวปฏิบตั ิ 9.1.1การเข้าถึงอาหารพร้อมรับประทาน ใน2-4สัปดาห์แรกหลังการผ่าตัด ผู้ป่วยจะต้องรับประทานอาหารชนิดที่ต้องปั่น ละเอียดและมีโปรตีนสูง 60 -120 กรัมต่อวัน โดยทานคร้ังละ 30 ซีซีทุกช่ัวโมงเนื่องจากระบบการย่อยอาหารยังไม่สามารถ ทำงานอย่างเปน็ ปกติ จึงเปน็ ท่ีมาของการพัฒนาอาหารบดโปรตนี สูง ซึง่ เป็นผลิตภณั ฑ์ต้นแบบสำหรบั ผูป้ ่วย เป็นลกั ษณะซุป 542

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ทบ่ี ดละเอยี ดพรอ้ มรับประทาน เพ่ือความสะดวกแก่ผู้ปว่ ยโดยกำหนดใหอ้ าหารทจี่ ะพฒั นาขึ้นมีองคป์ ระกอบของโปรตนี ไขมัน และคารโ์ บไฮเดรต ดังตาราง องค์ประกอบ Thai RDI เกณฑท์ ี่ใช้ในการพัฒนาผลิตภณั ฑต์ ่อหนึ่งหน่วยบริโภค/ม้อื พลังงาน 2,000 160(120-200) กิโลแคลอร/ี มื้อ โปรตนี 50 13(12-14) กรมั /มอื้ พลงั งานจากโปรตีน 10 32.5(30-35) %ของพลงั งานตอ่ ม้ือ ไขมัน 65 2.6-3.6 กรมั /มื้อ พลงั งานจากไขมัน 30 15-20 %ของพลงั งานต่อมื้อ คารโ์ บไฮเดรต 300 19-21 กรัม/มื้อ พลงั งานจากคาร์โบไฮเดรต 60 47.52.5 %ของพลังงานตอ่ ม้อื โซเดยี ม 2,000 400 มิลลิกรมั /มอ้ื การพัฒนาซปุ บดคร้ังที่ 1 รปู ผลิตภณั ฑ์ ส่วนประกอบ 1.ซุปไกร่ สกระเทียม เน้ือไก่ , แปง้ ขา้ วเจ้า, มอลโตเด็กซต์ ริน ,นำ้ ตาล,พรกิ ไทยขาว, กระเทยี ม,ผงปรงุ รสไก,่ เกลือ,แซนแทนกัม,นำ้ มนั ทานตะวัน,นำ้ 2.ซุปไก่รสฟักทอง เนื้อไก่ , ฟกั ทอง ,แครอท,หอมใหญ่, มอลโตเด็กซต์ ริน ,น้ำตาล, พริกไทยขาว,กระเทียม,ผงปรุงรสไก,่ เกลอื ,แซนแทนกัม,น้ำมัน ทานตะวัน,น้ำ 3.ซปุ ไก่รสต้นกระเทียม เนือ้ ไก่ , ไข่ไก,่ แปง้ ข้าวเจ้า,ต้นกระเทยี ม, มอลโตเด็กซต์ ริน ,นำ้ ตาล, พริกไทยขาว,กระเทยี ม,ผงปรุงรสไก,่ เกลอื ,แซนแทนกัม,นำ้ มัน ทานตะวัน,น้ำ 4.ซุปไกร่ สกุ้ง เนอื้ ไก่ , เน้ือกุ้ง , ข้าวหอมมะล,ิ ขนึ้ ฉ่าย ,ขิง ,ต้ังฉ่าย , มอลโตเด็กซ์ ตริน ,นำ้ ตาล,พริกไทยขาว,กระเทยี ม,ผงปรุงรสไก,่ เกลอื ,แซนแทนกมั , นำ้ มันทานตะวัน,นำ้ 543

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 5.ซปุ ไกร่ สปลากะพง เน้อื ไก่ , เนื้อปลากะพง,ขา้ วหอมมะล,ิ มอลโตเด็กซต์ รนิ ,ขึ้นฉ่าย ,ขงิ , ตงั้ ฉา่ ย ,น้ำตาล,พริกไทยขาว,กระเทยี ม,ผงปรงุ รสไก่,เกลอื ,แซน แทนกัม,น้ำมันทานตะวัน,นำ้ 6.ซปุ ไก่รสไข่แดง เนอื้ ไก่ , ไขแ่ ดง,แป้งข้าวเจา้ , มอลโตเด็กซต์ ริน ,นำ้ ตาล,พริกไทยขาว, กระเทียม,ผงปรุงรสไก,่ เกลอื ,แซนแทนกัม,น้ำมันทานตะวนั ,นำ้ ,กลนิ่ วานิลา จากการพฒั นาสตู รอาหารเบ้ืองตน้ ท้ังหมด 6 สูตร ประเมนิ ผลดา้ นรสชาติ ความหนืด เน้ือสัมผสั และกลน่ิ และเลือกสตู รท่ี พัฒนาปรบั ปรุงจำนวน 4 สูตรคือ ซปุ ไกร่ สต้นกระเทยี ม ซุปไกร่ สฟักทอง ซปุ ไกร่ สปลากะพงและซุปไกร่ สไข่แดง ที่ ชื่อ ส่วนประกอบ รปู ผลิตภณั ฑ์ 1 ซุปไกร่ สตน้ นำ้ 57%, เนือ้ ไก่ 30%, ไขแ่ ดงผง 2.5%, แปง้ ขา้ วเจ้า กระเทียม 1.3%, น้ำตาลทราย 1.0%, ต้นกระเทยี ม 0.9%, เกลอื 0.4%, เครอื่ งเทศ 0.3%. สารใหค้ วามขน้ หนดื (มอลโตเด็กซต์ ริน, INS415) 2 ซปุ ไก่รส น้ำ 40%, เน้อื ไก่ 32%, เน้อื ฟักทอง 11%, แครอท ฟักทอง 5%, หอมใหญ่ 4%, นำ้ มันทานตะวนั 0.8%, เกลอื 0.4%, น้ำตาลทราย 0.3%, เครอื่ งเทศ 0.3% สารใหค้ วามข้นหนดื (มอลโตเดก็ ซต์ รนิ , INS415) 544

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ที่ ช่ือ สว่ นประกอบ รูปผลติ ภณั ฑ์ 3 ซปุ ไกร่ สปลา นำ้ 55%, เนอ้ื ไก่ 27%, เนอื้ ปลากระพง 3.5%, ข้าว กระพง หอมมะลิ 2.7%, ขึ้นฉา่ ย 1.8%, น้ำมันทานตะวัน 1.3%, ขงิ 1.0%, ตง้ั ฉ่าย 1.0%, น้ำตาลทราย 0.7%, เครอ่ื งเทศ 0.3%, เกลือ 0.2% สารใหค้ วามขน้ หนืด (มอลโตเดก็ ซต์ รนิ , INS415) 4 ซปุ ไก่รสไข่ น้ำ 58%, เนอื้ ไก่ 29%, ไขแ่ ดงผง 2.5%, แดง แปง้ ขา้ วเจ้า 1.8%,น้ำตาลทราย1.0%, เกลือ0.3%, เครอ่ื งเทศ 0.3% สารใหค้ วามข้นหนดื (มอลโตเด็กซต์ รนิ , INS415) คณุ คา่ ทางโภชนาการของตวั อยา่ งตอ่ 1 หนว่ ยบริโภค( 200 กรัม/ซอง) พารามเิ ตอร์ รสต้นกระเทยี ม รสฟกั ทอง รสปลากะพง รสไข่แดง หน่วย 132.4 154.2 กิโลแคลอรี พลังงาน 148.6 124.0 12.78 13.66 กรมั 14.54 18.26 กรมั โปรตีน 13 12.38 23 26.4 กิโลแคลอรี 51.1 54.6 กิโลแคลอรี คารโ์ บไฮเดรตท้ังหมด 18.08 14.66 58.2 73.0 กิโลแคลอรี 2.56 2.94 กรัม พลงั งานจากไขมัน 24.4 15.58 0.38 0.92 กรัม 40.6 154.4 มิลลกิ รมั พลงั งานจากโปรตีน 52.0 49.5 0.72 0 กรัม 1.48 2.34 กรมั พลงั งานจากคาร์โบไฮเดรต 72.3 58.6 438 348 มิลลิกรมั ไขมนั ท้งั หมด 2.70 1.76 -ไขมันอ่มิ ตวั 0.88 0.28 โคเลสเตอรอล 155.4 35.6 -ใยอาหาร 0.58 1.52 -น้ำตาล 2.24 2.4 โซเดียม 372 374 545

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 9.1.2การพฒั นาระบบการติดตามการรับประทานอาหารผู้ป่วยหลังผ่าตดั ฯ -กำหนดแนวปฏบิ ัติในการแก้ไขปญั หาดา้ นโภชนาการของผู้ป่วยเพอ่ื ลดภาวะเสยี่ งตอ่ การขาดโปรตนี ของผู้ปว่ ยดังนี้ แนวปฏบิ ัติ รายละเอียด การกำหนดสัดส่วนสารอาหาร เป็นการกำหนดปรมิ าณสดั ส่วนสารอาหาร ทเ่ี หมาะสมเปน็ รายบุคคล พัฒนาแบบประเมินการ เพื่อใชใ้ นการสมั ภาษณ์ปรมิ าณอาหารท่ีผู้ปว่ ยรับประทาน เป็นขอ้ มลู Food Composition บรโิ ภคโดยระบบคอมพิวเตอร์ Database ลงในระบบคอมพิวเตอร์ ใช้ในการวเิ คราะหป์ ริมาณโปรตีนจากอาหาร สามารถ ประมวลผลได้ภายใน 5 - 7 นาที การใช้กล่มุ Lineเพือ่ การ - Dumping Syndrome ตดิ ตามผู้ปว่ ยเปน็ รายบคุ คล - Reactive hypoglycemia ตามรายละเอียด - Protein requirement - Modular protein supplements - ปัญหาด้านโภชนาการท่ีเกี่ยวขอ้ ง อาทิ ภาวะขาดนำ้ ท้องผกู อาเจยี น - Weight control 9.1.3การพฒั นากระบวนการให้ความร้ดู า้ นโภชนาการหลังการผ่าตัดฯ เปน็ การให้ความรู้ด้านโภชนาการหลังการผา่ ตัดเป็นรายบุคคล รวมถึงการส่งเสรมิ ผู้ป่วย/ญาตใิ ห้มีความรู้ ความเข้าใจสามารถ ปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นการให้ข้อมูลด้านโภชนาการส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลตนเองต่อเน่ืองที่บ้าน (Empowerment) ในการใหค้ วามรผู้ ูป้ ว่ ยและครอบครัวในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมดา้ นการบริโภคอาหารทเ่ี หมาะสม 9.2 งบประมาณทีใ่ ชใ้ นการจดั โครง-กิจกรรม 15,000 บาท 10. การวัดผลและผลลัพธ์(Measures)แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ(3ปี)และ/หรือเปรียบเทียบกับหน่วยงาน ภายนอก 10.1 ผลการประเมินซปุ พรอ้ มรับประทาน ด้านรสชาติ ด้านรสชาติ รสปลากะพง รสฟกั ทอง รสผัก รสไข่ ระดับดีมาก 53 53 57 57 ระดบั ดี 41 41 29 21 ระดบั ปานกลาง 6 6 14 21 เฉยๆ 0 0 0 0 ไมช่ อบ 0 0 0 0 546

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ผลการประเมินซุปพร้อมรับประทาน ด้านรสชาติ ในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร จำนวน 100 ราย ผู้ประเมินในระดับดีมาก-ดี ให้รสฟักทองและรสปลากะพง คะแนนเท่ากันท่ี 94 ราย รสผักประเมินท่ี 86 รายและรสไข่ให้ คะแนนประเมนิ ระดบั ดีมาก-ดที ี่ 78 ราย ผลการประเมนิ ซปุ พรอ้ มรับประทาน ด้านเนอื้ สมั ผสั ดา้ นรสชาติ รสปลากะพง รสฟกั ทอง รสผกั รสไข่ ระดับดีมาก 55 23 43 40 ระดบั ดี 30 62 50 47 ระดับปานกลาง 15 15 7 13 เฉยๆ 0 0 0 0 ไมช่ อบ 0 0 0 0 ผลการประเมินซุปพร้อมรับประทาน ด้านเนื้อสัมผัส ในผู้ป่วยหลังการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร จำนวน 100 ราย ผู้ ประเมินในระดับดีมาก-ดี ให้รสผกั คะแนนที่ 93 ราย รสไข่ประเมนิ ท่ี 87 ราย รสปลากะพงและรสฟักทองให้คะแนนประเมิน ระดบั ดมี าก-ดที ่ี 85 ราย 10.2การพัฒนาระบบการติดตามการรบั ประทานอาหารผปู้ ่วยหลงั ผ่าตัดฯ การติดตามระดับProtein in take จากการรับประทานอาหารหลังผา่ ตดั ฯ 2 และ 4 เดือน Protein in take 2 เดือน 4 เดอื น ราย % ราย % Protein 0.5 -0.8 gm/kg/d 10 20 4 8 Protein 0.9 -1.1 gm/kg/d 13 26 9 18 Protein 1.2-1.5 gm/kg/d 27 54 37 74 ผลการการวิเคราะหป์ ริมาณโปรตนี จากอาหารทีผ่ ปู้ ว่ ยรบั ประทานพบว่าใน 2 เดอื นหลงั การผา่ ตดั ผ้ปู ่วย 54 % สามารถ รบั ประทานโปรตนี ไดต้ ามทีก่ ำหนด แต่ยงั มีผปู้ ว่ ยทไ่ี มส่ ามารถรบั ประทานโปรตีนไดต้ ามท่ีกำหนด 46 % ตดิ ตามตอ่ ไปที่ 4 เดอื นพบวา่ ผปู้ ว่ ย 74 % สามารถรบั ประทานโปรตนี ไดต้ ามที่กำหนด และผูป้ ว่ ยท่ไี มส่ ามารถรับประทาน โปรตนี ไดต้ ามท่กี ำหนด 26 % การตรวจหาระดับอลั บมู ิน(Alb)ในเลือด* จากติดตามหลังผา่ ตดั ฯ 2-6 เดอื น *Albumin เป็นโปรตีนชนดิ หนึ่งในกระแสเลอื ดทีผ่ ลติ จากตับและมปี ริมาณมากกวา่ โปรตนี ชนดิ อื่นเปน็ สดั สวน 60 %ของTotal protein เปน็ เครอื่ งมือตรวจสอบว่ารา่ งกายได้รบั โปรตีนจากอาหารในแตล่ ะวนั ท่บี ริโภคเพยี งพอหรือไม่ ระดับอลั บูมิน ราย Alb < 3.5 mg/Ld 5 Alb 3.5 - 5 mg/Ld 71 การตดิ ตามระดับอลั บมู ินในเลอื ด พบว่าผปู้ ว่ ยหลังผ่าตดั ฯมรี ะดบั อัลบมู นิ ที่อย่ใู นเกณฑ์ปกติ 71 ราย( 93 %) และต่ำกวา่ เกณฑ์ 5 ราย ( 7%) 10.3 การพัฒนากระบวนการให้ความร้ดู ้านโภชนาการหลังการผ่าตดั ฯ ผลการประเมนิ ผลการใหค้ วามรหู้ ลงั ให้ความรทู้ ันที 547

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ หัวข้อ ระดับคะแนน การใหค้ วามร้ชู ดั เจน เขา้ ใจง่าย 4.41 สามารถปฏบิ ัตไิ ด้ 4.35 เวลาที่ใชใ้ นการใหค้ วามรเู้ หมาะสม 4.4 มีการตดิ ตามผลหลงั ผ่าตดั ฯ 4.56 11.การเรียนร้(ู Study/Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคต - การพัฒนาต่อยอดซุปบดโปรตีนสูง สามารถใช้กับผู้ป่วยได้หลายกลุ่ม อาทิ ผู้ป่วยสูงอายุที่มีปัญหาการเค้ียว ผู้ป่วยติดเตียง ผ้ปู ว่ ยมะเรง็ ทีต่ อ้ งการโปรตนี สงู 11.2 จดุ แขง็ (Strength)หรือสิ่งท่ที ำได้ดีในประเดน็ ท่ีนำเสนอ การเพ่ิมประสิทธิภาพกระบวนการป้องกันภาวะขาดโปรตีนสำหรับผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาโรคอ้วนด้วยวิธกี ารผ่าตดั ลดขนาด กระเพาะ เป็นการตดิ ตามดูแลผปู้ ่วยเพ่อื ให้เกดิ ผลลัพธ์ทต่ี อบสนองตอ่ การรกั ษาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ลดภาวะแทรกซ้อนอนั จะ ทำให้ผลการรักษาผูป้ ว่ ยไมเ่ ป็นไปตามกระบวนการ 11.3 กลยุทธ์ หรอื ปัจจัยทน่ี ำไปสู่ความสำเรจ็ -การพัฒนางานตามค่านิยมองค์กร(STEMCQI) ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเน่ืองโดยยึดผู้ป่วยเป็น ศูนยก์ ลาง 12.ประเดน็ (จุดเด่น)ทเ่ี ป็นแนวปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลิศ - ผปู้ ว่ ยหลังการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ไดร้ ับการติดตามผลลพั ธ์หลังการรักษาอยา่ งใกล้ชิดและตอ่ เน่ืองเป็นระยะเวลา 2 ปี ทำให้มแี นวทางแกไ้ ขปัญหาได้อยา่ งเป็นระบบ ลดความเสย่ี งต่อภาวะแทรกซอ้ น อันจะสง่ ผลตอ่ สุขภาพของผู้ป่วยในระยะ ยาว -การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์อาหาร ทสี่ อดคลอ้ งกบั ภาวะโภชนาการและให้ผู้ป่วยเขา้ ถึงผลติ ภณั ฑไ์ ดอ้ ย่างสะดวก 13.เอกสารอา้ งองิ - ไดร้ บั รางวัลจากสมาคมนักกำหนดอาหารแหง่ ประเทศไทยประจำปี 2563 -นำเสนอผลงานและเผยแพร่ ในวารสารสมาคมนักกำหนดอาหารแห่งประเทศไทยในปี 2564 -นำเสนอผลงานเวที Towards Scaling –up and Resilience in Healthcare สถาบันรับรองคุณ ภาพโรงพยาบาล (องค์การมหาชน) ประจำปี 2565 -นำเสนอ ในงานประชมุ วิชาการ ประจำปี2564 เรอ่ื งPerioperative Nutritional Management in Bariatric Patients 548

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ -นำเสนอ ในงานประชุมวิชาการสาขาวชิ าศัลยศาสตร์ ประจำปี2564 เรือ่ ง Successful Weight Loss Surgery The Role of Multidisciplinary Team : Dietician's perspective 14.บทสรปุ -การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการป้องกันภาวะขาดโปรตีน ในผู้ป่วยท่ีเข้ารับการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร ถือว่าเป็น กระบวนท่ีใช้ในการติดตามภาวะโภชนาการ ท่ีให้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการและ ภาวะขาดโปรตีน ซง่ึ เปน็ ภาวะท่ีรนุ แรงทสี่ ุดท่สี มั พนั ธ์กบั การผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหารไดเ้ ป็นอย่างดี. 549

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ *************************************** 1. ชื่อเร่ือง การปอ้ งกนั และเฝ้าระวังการตดิ เช้ือด้อื ยา CRE ในหอผ้ปู ่วยเดก็ 2 (ไฟจราจร กบั การจัดการเช้อื ดอื้ ยา) 2. โครงการ/กจิ กรรมดา้ น ด้านการประกนั คณุ ภาพ 3. ชื่อหนว่ ยงาน หอผู้ป่วยเดก็ 2 ฝา่ ยบริการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 4. ประเภทของโครงการ ⃣ ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคดั เลือกโดยเวทีหรอื ผู้บรหิ ารของคณะ) ⃣ 1.1 สายวชิ าการ ⃣ 1.2 สายสนับสนุน ⃣√ ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ัติที่ดี ⃣ 2.1 สายวิชาการ ⃣√ 2.2 สายสนบั สนนุ 5. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ พว.ชวนพศิ วิรยิ ะสขุ , พว.สวรรยา เทยี นแพ และทีม 6. การประเมินปัญหา / ความเสีย่ ง (Assessment) หอผปู้ ่วยเด็ก 2 รพ.สงขลานครนิ ทร์ รับผู้ป่วยเดก็ แรกเกดิ - 15 ปี ทีม่ ภี าวะภูมติ า้ นทานตำ่ เดือนธนั วาคม 2560 พบ ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา CRE 1 ราย จึงได้มีการส่งอจุ จาระผู้ปว่ ยท้ังหมดในขณะนั้นจำนวน 27 ราย ตรวจหาเชื้อ พบผู้ป่วยติดเช้อื อีก 10 ราย รวมเป็น 11 ราย ซึ่งการติดเชื้อดื้อยาในผู้ป่วยกลุ่มนี้มีความเสี่ยงสูงและอาจร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ หรือทำให้ ต้องเสียคา่ ใชจ้ ่ายมากขึ้น ต้องนอนโรงพยาบาลนานขนึ้ สง่ิ ที่จะช่วยป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื ได้ คอื การสง่ เสริมให้บคุ ลากรท่ี เกี่ยวข้องปฏิบตั ิตามมาตรการการปอ้ งกันการแพร่กระจายเชือ้ อยา่ งเคร่งครดั 7. เป้าหมาย/วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพ่ือป้องกันการแพรก่ ระจายเช้อื ดื้อยา CRE ทำให้ไม่เกดิ Secondary case of CRE (Secondary case of CRE = 0) 550

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 2. บคุ ลากรทางการแพทย์ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดอื้ ยาไดถ้ กู ตอ้ ง รอ้ ยละ 100 8. ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั 1. Secondary case of CRE = 0 2. บุคลากรทางการแพทยป์ ฏิบัตติ ามมาตรการการปอ้ งกันการแพร่กระจายเช้อื ด้อื ยาได้ถูกต้อง รอ้ ยละ 100 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ กี าร/ แนวทางการปฏิบัติจริง (PDCA) วิธกี ารดำเนนิ งาน : Zoning พน้ื ทีต่ ามสญั ญาณไฟจราจร ระยะที่ 1 : Plan : รวบรวมข้อมลู เพ่อื วางแผนการป้องกันและเฝา้ ระวังการติดเชอ้ื ดือ้ ยา Do : ประสานงานกับหน่วยควบคุมการติดเชื้อของ รพ.มีการให้ความรู้แก่แพทย์ พยาบาล จนท.ทุกระดับ รวมทั้งนศ.แพทย์ นศ.พยาบาล อธิบายสถานการณ์ วิธีการเฝ้าระวัง แนวทางการปฏิบตั ิ การตดิ ตาม และให้ทำตามแนวปฏิบัติ หน่วยควบคมุ การ ติดเชื้อออกนโยบายให้มกี าร surveillance ผู้ป่วยทุกรายที่ admit และแยกการดูแลผู้ปว่ ยเปน็ 3 โซน โซนแดง:ผู้ป่วยติดเช้ือ (แยกอุปกรณ์ แยกบุคลากรที่ให้การดแู ล แยกการใช้ห้องนำ้ ) , โซนเทา:ผู้ป่วยทีย่ ังไม่แนใ่ จวา่ ติดเชื้อ ต้องเฝ้าระวัง มีอุปกรณ์ เฉพาะโซน , โซนขาว: ผู้ป่วยไมต่ ดิ เช้ือ มอี ปุ กรณเ์ ฉพาะโซน จำกดั คนเยย่ี ม และทสี่ ำคญั คอื การล้างมอื -ด้านระบบสารสนเทศ มีการ pop up เมือ่ ผล lab ออก ทำใหเ้ ตรียมแยกผปู้ ่วยไดเ้ ร็ว Check ผล : Secondary case of CRE = 0 และบุคลากรทางการแพทย์ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการ แพร่กระจายเช้ือด้อื ยาไดถ้ ูกตอ้ ง ร้อยละ 80 Act : ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่จัดทำขึ้น แต่พบว่าผู้ป่วยและญาติยังไม่ค่อยเข้าใจกับสีโซนที่แยก และผู้ป่วยที่อยู่โซนสีเทา ช่วงเวลาที่รอผล ถ้ามีผู้ป่วยที่ติดเชื้ออาจมีการแพร่กระจายเชื้อให้ผู้ป่วยรายอื่นที่อยู่ในโซนเดียวกันได้ ซึ่งทำให้ต้องมีการส่ง อุจจาระตรวจซำ้ อีกครั้งในผปู้ ่วยรายอื่น ทำให้มีคา่ ใช้จา่ ยเพมิ่ ข้นึ เพิ่มระยะเวลาในการรอผล เกิดความไม่พึงพอใจ ในส่วนของ เจา้ หนา้ ทก่ี ย็ ังปฏบิ ตั ไิ ดไ้ มถ่ กู ต้อง รอ้ ยละ 100 ระยะท่ี 2 : Plan : วเิ คราะห์สาเหตเุ พ่มิ เติม และปรบั ปรุงแนวปฏบิ ัติ Do : ให้ความรูผ้ ู้ป่วย ญาติ และเจ้าหนา้ ท่ีเพิม่ เตมิ อธิบายรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ ในแตล่ ะโซน และเพิ่มการแยกอุปกรณ์ในโซนสี เทาเช่นเดยี วกับโซนสีแดง แบ่งจุดแยกรับเสอ้ื ผา้ นำ้ ด่มื Check ผล : Secondary case of CRE = 0 และบุคลากรทางการแพทย์ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการ แพรก่ ระจายเชอ้ื ดือ้ ยาไดถ้ กู ต้อง รอ้ ยละ 90 Act : ปฏบิ ตั ิตามแนวปฏบิ ัตทิ ี่ปรบั ปรุงใหม่ แต่พบวา่ ผ้ปู ว่ ยและญาติยังไม่ค่อยเขา้ ใจการปฏิบัติตวั ตามสโี ซนทแี่ ยกระหว่าง โซน เทา กับ โซนขาว ในส่วนของเจา้ หน้าท่ีก็ยงั ปฏบิ ตั ไิ ด้ไม่ถกู ตอ้ ง ร้อยละ 100 ระยะท่ี 3 : Plan : วเิ คราะหส์ าเหตเุ พิม่ เตมิ และปรับปรงุ แนวปฏบิ ตั ิ Do : ปรบั สีโซนใหม่ตามไฟจราจร เพื่อให้ผปู้ ว่ ยและญาติจำไดง้ า่ ย เพราะไฟจราจรอยู่ในชีวิตประจำวนั คือ แดง : ห้าม , เหลือง : ระวัง , เขยี ว : ผ่านตลอด ปลอดภยั 551

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ สแี ดง : โซนผูป้ ว่ ยทต่ี ิดเชอ้ื สีเหลือง : โซนผปู้ ่วยท่ยี ังไม่ทราบผลการตรวจ สเี ขียว : โซนผูป้ ว่ ยไมม่ กี ารตดิ เช้ือ มีป้ายสถานะของผู้ป่วยแต่ละรายตามโซน สื่อให้เห็นชัดเจนแก่บุคคลทั่วไป และป้ายสีแจ้งสถานะผู้ป่วยแต่ละรายที่หัวเตียง เพ่อื ให้ตนเองไปเขา้ ห้องนำ้ หอ้ งอาบน้ำ อา่ งลา้ งมอื ตามป้ายสตี วั เองทห่ี วั เตียง และเพื่อเพม่ิ ความปลอดภยั ในเรือ่ งการใชห้ อ้ งน้ำรว่ มกันในผปู้ ่วยโซนเดยี วกัน จดั หานำ้ ยาทำความสะอาดฝารองชักโครก และ ใหค้ วามรู้ผู้ปว่ ย ญาติ และเจ้าหน้าท่เี พมิ่ เติม โดยเพม่ิ สเปรย์ 70% Alcohol ไว้ในหอ้ งสุขาทุกห้อง แบง่ สตี ามโซนผปู้ ่วย ฉีดบน ขอบชักโครก แล้วเช็ดกอ่ นจะนงั่ ทกุ ครง้ั Check ผล : Secondary case of CRE = 0 และบุคลากรทางการแพทย์ปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันการ แพรก่ ระจายเชื้อดอื้ ยาได้ถกู ตอ้ ง ร้อยละ 100 Act : ปฏบิ ตั ติ ามแนวปฏบิ ัตทิ ีป่ รบั ปรุงใหม่ 12 3 4 56 7 8 9 10 11 12 9.2 งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการจัดโครงการ-กจิ กรรม (ถา้ มี) 552

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดบั แนวโนม้ ข้อมลู เชิงเปรียบเทียบ (3ปี) และ/หรอื เปรียบเทยี บกับหนว่ ยงาน ภายใน/ภายนอก อัตราการเกดิ Secondary case ในการตดิ เชือ้ ดอื้ ยา CRE 1323 1008 1048 833 35 47 24 32 383 4.2 3.6 9 0 0 2.4 3.1 2.4 ปี งบฯ2561 ปี งบฯ2562 0 0 0 จานวนผปู้ ่ วยทงั้ หมด จานวนผปู้ ่ วยทต่ี ดิ เชือ้ CRE ปี งบฯ2563 ปี งบฯ2564 ปี งบฯ2565(ถงึ มี.ค.65) ร้อยละของผปู้ ่ วยทต่ี ดิ เชอื้ CRE Secondary case of CRE ร้อยละการปฏบิ ัติตามมาตรการการป้องกนั การแพร่กระจายเชื้อดือ้ ยา 120 100 100 90 80 80 60 40 20 0 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 1 553

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 11. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เนอ่ื งในอนาคต - การควบคุมติดตาม กำกับ : ให้มีการประกาศเป็นนโยบาย นำนโยบายลงสู่การปฏิบัติ ติดตามผลการปฏิบัติทุก 3 เดือน - Orientation แกแ่ พทย์ประจำหอผปู้ ่วยทีเ่ วยี นมาทุกเดอื น ในวันที่ 1 โดย หวั หนา้ หอผ้ปู ่วยและหวั หนา้ เวร - จัดทำสมดุ บันทกึ ความผิดพลาด การRound โดย HW / ทีม Lead 11.2 จุดแข็ง (Strength) หรอื สิง่ ที่ทำไดด้ ใี นประเดน็ ท่ีนำเสนอ - กำกับติดตามให้ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อดื้อยา CRE ในหอผู้ป่วยเด็ก 2 อย่าง เครง่ ครัด โดยหวั หนา้ หอผู้ปว่ ยและหัวหนา้ เวร 11.3 กลยทุ ธ์ หรอื ปัจจยั ที่นำไปสู่ความสำเร็จ - ความร่วมมือ และความตระหนกั ของทมี บคุ ลากรทกุ ทา่ นในหอผปู้ ว่ ยเด็ก 2 ทกุ ระดบั รวมถงึ ผู้ป่วยและญาติ - วธิ ีคดิ วิเคราะห์ของบคุ ลากรทุกคนว่า สิ่งสำคญั ในการป้องกันการเฝ้าระวังการติดเช้ือดอื้ ยา คอื Cohort : Zoning แยกอุปกรณ์ แยกห้องน้ำ แยกผู้ดูแล จำกดั คนเย่ยี ม การล้างมือ ทัง้ บุคลากรทางการแพทย์ ผปู้ ่วย และญาติ และต้องทำงาน รว่ มกันอยา่ งมีระบบและมีการเฝ้าระวังท่ีดี ติดตามการปฏิบัตแิ ละนำมาพฒั นาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อผู้ป่วย - การตั้งใจทำงานและคิดแก้ปัญหา เพ่ือพัฒนาระบบการให้บริการพยาบาล จะทำให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และ ไดร้ ับการสนบั สนุนจากผบู้ ริหาร - ความใสใ่ จ ความรับผิดชอบตอ่ สงั คม : แนะนำผูป้ ่วยเมือ่ กลับไปอยทู่ ่บี ้าน นอกจากปอ้ งกันตนเอง ถ้าในบ้านมีเด็ก เล็ก ผ้สู งู อายุ ผู้ปว่ ยทไ่ี ด้รบั ยากดภูมิ ผู้ปว่ ยภูมติ า้ นทานตำ่ ให้หลีกเลี่ยง ไม่คลกุ คลี เน้นล้างมือ เนน้ ความสะอาดหลังใช้ห้องน้ำ การรับประทานอาหารรว่ มกนั ใหใ้ ชช้ ้อนกลาง 12. ประเด็น (จดุ เดน่ ) ทีเ่ ป็นแนวปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ แนวปฏิบัติ การป้องกนั และเฝ้าระวังการติดเช้ือดื้อยา CRE (Carbapenem-Resistant Enterobacteriaceae) ของหอ ผปู้ ว่ ยเด็ก 2 (ไฟจราจรกบั การจดั การเชอื้ ดือ้ ยา) แบง่ เป็น 4 ระยะ ดงั น้ี 1.ระยะกอ่ นรับผปู้ ่วย 1.1 เตรียมสถานท่ี : Zoning พ้ืนทต่ี ามสญั ญาณไฟจราจร โซนแดง : หมายถงึ บริเวณทร่ี บั ผปู้ ่วยตดิ เชือ้ CRE / และรวมถึง กรณผี ปู้ ว่ ย rectal swab culture for CRE = positive ภายใน 3 เดอื น รบั เข้าโซนแดง โดยไมต่ ้องสง่ rectal swab culture for CRE (ใชม้ าตรการป้องกนั การ แพร่กระจายเช้อื CRE อย่างเคร่งครัด) โซนเหลือง : หมายถึงบรเิ วณทรี่ ับผูป้ ว่ ยเข้ามานอนในหอผูป้ ่วยเด็ก 2 เปน็ คร้งั แรกในรอบนั้นๆ เช่น Admit ใหม่ รับ ย้ายจากหอผู้ป่วยต่างๆที่ออกไปจากหอผู้ป่วยเด็ก 2 เกิน 24 ชั่วโมง หรือสงสัยว่าอาจจะมกี ารติดเชื้อ CRE รวมถึงระหว่างรอ 554

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ผล Lab rectal swab culture for CRE มกี ารแยกของใชแ้ บบราย : ราย หรือมกี ารทำความสะอาดอุปกรณท์ กุ คร้ังหลังใช้กับ ผู้ป่วยแต่ละราย โซนเขียว : หมายถงึ บริเวณท่ีรับผปู้ ่วยไมต่ ิดเช้อื CRE 1.2 เตรยี มสถานที่ : หอ้ งอาบน้ำ, ห้องสขุ า, อา่ งล้างมือ, จุดรับผา้ , จดุ รับนำ้ ดื่ม, จุดชง่ั น้ำหนกั ตามโซนและตามสสี ถานะทตี่ ดิ ไวต้ รงหวั เตยี งผูป้ ่วย 1.3 เตรียมอุปกรณ์ : อุปกรณ์ : เช่น cup BP, ปรอท, Tourniquet, ราย : ราย และอุปกรณ์ตรวจร่างกาย, stethoscope, สายวัด, รถเจาะเลือด, ตูเ้ ยน็ , ไมโครเวฟ, กระตกิ นำ้ ร้อน, แยกใช้ตามโซนสี (โซนแดง, โซนเหลอื ง, โซนเขยี ว) โดยมีป้ายสกี ำกบั 1.4 เตรียมผ้ดู แู ล : จดั ทีมบคุ ลากร (พยาบาลและผปู้ ฏิบัติงานพยาบาล) ดูแลโดยเฉพาะ 2.ระยะรบั ดูแลผู้ป่วย 2.1. เมื่อมีการAdmit ผปู้ ว่ ยเขา้ หอผู้ปว่ ยเดก็ 2 - ในการAdmitแตล่ ะครงั้ ทกุ ราย หรอื รบั ย้ายจากหอผ้ปู ว่ ยต่างๆ รวมถงึ ผู้ปว่ ยทยี่ า้ ยออกจากหอผปู้ ่วยเด็ก 2 เกิน 24 ชั่วโมง หรือสงสัยว่าอาจจะมีการติดเชื้อ CRE รับผู้ป่วยเข้าโซนเหลือง ใช้มาตรการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ CRE อย่าง เครง่ ครดั เน้นลา้ งมอื เนน้ แยกอุปกรณ์ราย : ราย - กรณผี ู้ปว่ ย rectal swab culture for CRE = positive ภายใน 3 เดอื น (นับจากวันแรกทส่ี ่ง rectal swab culture for CRE) รับเขา้ โซนแดง โดยไมต่ อ้ งส่ง rectal swab culture for CRE (ใช้มาตรการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชื้อ CRE อยา่ งเครง่ ครดั ) 2.2. แจง้ แพทย์ให้ order สง่ ตรวจ rectal swab culture for CRE ทกุ ราย ( การส่ง stool CRE 1. แพทย์ Order Rectal swab culture ระบุ “CRE surveillance 2. รวบรวม Tube rectal swab ใสใ่ นถุงซิป ตดิ ฉลากกระดาษ “CRE” ท่ี tube และ นอกถงุ ใหเ้ หน็ ชัดเจน 3. สง่ specimen ห้อง lab ) 2.3. รอผล rectal swab culture for CRE 3-5 วนั ผ้ปู ่วยจะอยู่ในโซนสเี หลอื ง 2.4. เม่อื หอ้ ง Lab รายงานผล rectal swab culture for CRE : No CRE growth ย้ายผปู้ ว่ ยเข้าโซนเขยี ว : ผลพบเชื้อ CRE ย้ายผู้ป่วยเข้าโซนแดง โดยเริ่มนับระยะเวลาการลงมาตรการตั้งแต่วันสุดท้ายที่พบเชื้อครั้งใหม่ (นับวนั สง่ stool) 2.5.การดแู ลผู้ปว่ ยขณะ admit - ปฏิบัตติ ามหลกั Standard precautions ขณะให้การดแู ลผูป้ ่วยทกุ ราย 555

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ - ปฏิบัติตามหลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact precautions) เมื่อให้การดูแลผู้ป่วย CREทุกราย (ล้างมือตามหลัก 5 moments,สวมถุงมือและเสื้อกาวน์เมื่อสัมผัสผู้ป่วย + สิ่งคัดหลั่ง,แขวนป้าย Contact precautions) - แยกผู้ป่วย : จัดผูป้ ่วยตดิ เชื้อชนดิ เดยี วกัน อยู่ด้วยกัน (Cohort) กัน้ โซน แขวนป้ายใหช้ ัดเจน : รวมทงั้ ห้องอาบนำ้ , ห้องสขุ า, อา่ งลา้ งมอื , จุดรบั ผ้า, จดุ รับน้ำด่มื , จุดช่ังนำ้ หนัก วดั ส่วนสงู , มีปา้ ยแจง้ เตอื นชดั เจน - แยกอปุ กรณ์ : เช่น cup BP, ปรอท, Tourniquet, ราย : ราย และอปุ กรณต์ รวจร่างกาย, stethoscope, สายวดั , รถเจาะเลอื ด, ตูเ้ ยน็ , ไมโครเวฟ, กระตกิ นำ้ ร้อน, แยกใช้เปน็ โซน - การให้ข้อมูล : เน้นย้ำญาติ ล้างมือก่อน-หลังสัมผัสผู้ป่วย งดเยี่ยม ห้ามออกจากโซน ใช้อุปกรณ์ในโซนตนเอง ใช้ ห้องนำ้ ในโซนตนเอง : บุคลากร เน้นล้างมือก่อน-หลังสัมผัสผู้ป่วย ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติการเฝ้าระวังและป้องกันการตดิ เชือ้ ด้อื ยาอยา่ งเครง่ ครดั - ระหว่างรอผล Lab rectal swab culture for CRE ให้ใช้มาตรการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ CRE อย่าง เครง่ ครัด - ใหก้ ารพยาบาลผู้ป่วยติดเช้อื CRE เป็นรายสดุ ทา้ ย (ในกรณไี ม่ฉุกเฉิน) - กรณีผล Lab rectal swab culture for CRE = positive ย้ายผู้ป่วยเขา้ โซนแดง โดยเริ่มนบั ระยะเวลาการลงมาตรการ ตั้งแตว่ ันสดุ ท้ายท่พี บเชื้อครง้ั ใหม่ (นบั วนั เริ่มส่งstool) - แยกผปู้ ว่ ย : จัดผปู้ ว่ ยติดเชื้อชนดิ เดียวกนั อยูด่ ้วยกนั (Cohort) กั้นโซน แขวนป้ายใหช้ ดั เจน : รวมทั้ง ห้องอาบน้ำ, ห้องสขุ า, อา่ งลา้ งมือ, จุดรับผ้า, จุดรบั นำ้ ด่ืม, จดุ ช่งั น้ำหนัก วัดสว่ นสงู , มปี ้ายแจ้งเตือนชดั เจน - แยกอปุ กรณ์ : เช่น cup BP, ปรอท, Tourniquet, ราย : ราย และอปุ กรณต์ รวจรา่ งกาย, stethoscope, สายวัด, รถเจาะเลอื ด, ตเู้ ยน็ , ไมโครเวฟ, กระติกน้ำรอ้ น, แยกใช้เป็นโซนแดง - การแยกเชิงโครงสรา้ ง : เชน่ สถานทีแ่ ยกโซนแดง, หอ้ งอาบน้ำ, ห้องสุขา, อา่ งลา้ งมือ - การแยกคนดูแล : จัดทีมบคุ ลากรดูแลโดยเฉพาะโซนแดง - การแยกญาติ : จำกดั ญาตเิ ฝา้ ญาติเย่ยี ม งดเยี่ยม ให้ญาตเิ ฝ้าแค่ 1 คน - การให้ข้อมูล : เน้นย้ำญาติ ล้างมือก่อน-หลังสัมผัสผู้ป่วย งดเยี่ยม ห้ามออกจากโซน ใช้อุปกรณ์ในโซนตนเอง ใช้ หอ้ งนำ้ ในโซนตนเอง : บุคลากร เน้นล้างมือก่อน-หลังสัมผัสผู้ป่วย ปฏิบัติตามแนวปฏบิ ัติการเฝ้าระวังและป้องกันการตดิ เชอื้ ด้ือยาอยา่ งเครง่ ครดั - การทำความสะอาดอุปกรณ์ต่างๆตามคู่มือการทำความสะอาดและทำลายเชื้อสำหรับสิ่งของและเครื่องมือ เครือ่ งใช้ใน รพ. 556

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - ระบบการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ระบบการรับ ส่งผู้ป่วย : การส่งต่อผู้ป่วยไปตรวจปลายทางควรแจ้งหน่วยปลายทาง และส่อื สารให้ชดั เจน - การทำความสะอาดอุปกรณท์ ี่ใช้เคล่ือนยา้ ยผูป้ ่วย การทำความสะอาดและทำลายเชือ้ ในส่งิ แวดล้อมรอบตวั ผู้ป่วย - รวมทั้งการเฝ้าระวังเชิงรุก (active surveillance) : การทำ Active Surveillance เพื่อยกเลิกมาตรการตาม แนวทางปฏบิ ัตขิ อง IC 2.6. ยกเลกิ มาตรการเมื่อผล rectal swab culture for CRE = No CRE growth จำนวน 2 ครง้ั ตดิ ต่อกัน (การใช้มาตรการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ CRE และการ F/U rectal swab culture for CRE เพื่อยกเลิกมาตรการ แยกผปู้ ว่ ย) 2.6.1. กรณีผู้ป่วย admit น้อยกว่า 3 เดือน (นับจากการตรวจพบเชื้อ CRE ครั้งสุดท้าย นับวันแรกที่ส่ง stool) ให้ แยกผู้ป่วยเข้าโซนแดง ใช้มาตรการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ CRE อย่างเคร่งครัด โดย ไม่ต้องส่งตรวจ rectal swab culture for CRE 2.6.2. กรณผี ูป้ ว่ ย admit ต่อเนอ่ื งนานมากกวา่ 3 เดอื น (นบั จากการตรวจพบเชอ้ื CRE ครง้ั สดุ ท้าย นับวันแรกท่ีส่ง stool) - แยกผปู้ ่วยเข้าโซนแดง (ในช่วงกอ่ นครบ 3 เดือน) - เมอ่ื ครบ 3 เดอื น แยกผูป้ ่วยเข้า (ก่ึงแดง) หรือ โซนเหลอื ง สง่ rectal swab culture for CRE จำนวน 3 ครง้ั (สง่ สปั ดาหล์ ะ 1 คร้งั ) - ยกเลิกมาตรการเมอ่ื ผล rectal swab culture for CRE = No CRE growth จำนวน 3 คร้ังตดิ ตอ่ กนั 2.6.3. กรณี re-admit 2.6.3.1 หลังครบ 3 เดือน (นับจากการตรวจพบเชื้อ CRE ครั้งสุดท้าย นับวันแรกที่ส่งstool) แยกผู้ป่วย เข้าโซนเหลือง และส่ง rectal swab culture for CRE ยกเลิกมาตรการเมื่อผล rectal swab culture for CRE = No CRE growth จำนวน 1 คร้ัง 2.6.3.2 ในช่วงกอ่ นครบ 3 เดือน (นบั จากการตรวจพบเชื้อ CRE ครง้ั สุดทา้ ย นบั วนั แรกทส่ี ง่ stool) - แยกผู้ปว่ ยเขา้ โซนแดง โดยไมต่ อ้ งสง่ rectal swab culture for CRE - เมื่อครบ 3 เดือน แยกผู้ป่วยเข้า (กึ่งแดง ) หรือ โซนเหลือง และส่ง rectal swab culture for CRE จำนวน 2 คร้ัง (สง่ สปั ดาหล์ ะ 1 ครั้ง) - ยกเลิกมาตรการเม่ือผล rectal swab culture for CRE = No CRE growth จำนวน 2 ครง้ั (สง่ สปั ดาห์ ละ 1 คร้งั ) 2.7. ยกเลกิ มาตรการทุกราย โทรแจ้งหน่วยควบคุมการตดิ เชือ้ ในวนั เวลาราชการ เพือ่ ยกเลิกการแจ้งเตือนในระบบ HIS 557

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2.8. ระบบ HIS จะแจง้ เตอื น (pop up) ผู้ป่วยติดเช้อื CRE เปน็ เวลา 1 ปี 2.9. ปฐมนเิ ทศนญ์ าติ/ผปู้ ว่ ยตามข้อกำหนดของหน่วยงาน - การแยกญาติ : จำกัดญาติเฝ้า ญาติเยีย่ ม งดเย่ยี ม ใหญ้ าติเฝา้ แค่ 1 คน - การใหข้ ้อมลู : เนน้ ยำ้ ญาติ ลา้ งมอื กอ่ น-หลงั สัมผสั ผปู้ ว่ ย งดเยย่ี ม ห้ามออกจากโซน ใชอ้ ุปกรณ์ในโซนตนเอง ( แยกสถานที่ : ห้องอาบน้ำ, ห้องสุขา, อ่างล้างมือ, จุดรับผ้า, จุดรับน้ำดื่ม, จุดชั่งน้ำหนัก ตามโซนและตามสีสถานะที่ติดไว้ ตรงหวั เตียงผปู้ ่วย แยกอุปกรณ์ : เช่น cup BP, ปรอท, Tourniquet, ราย : ราย และอุปกรณ์ตรวจร่างกาย, stethoscope, สายวัด, รถเจาะ เลือด, ตู้เยน็ , ไมโครเวฟ, กระติกน้ำรอ้ น, แยกใช้ตามโซนสี (โซนแดง, โซนเหลอื ง, โซนเขยี ว) โดยมปี ้ายสกี ำกบั ) 2.10. มอบหมายงานทีมผู้ดแู ลเฉพาะ : จดั ทมี บุคลากร(พยาบาลและผู้ปฏบิ ตั ิงานพยาบาล)ดแู ลโดยเฉพาะในแตล่ ะโซน 2.11. การควบคุมตดิ ตาม กำกับ : ให้มีการประกาศเป็นนโยบาย นำนโยบายลงสู่การปฏบิ ตั ิ ตดิ ตามผลการปฏบิ ตั ิทกุ 3 เดือน - กำกบั ติดตามให้ปฏบิ ตั ติ ามแนวปฏบิ ัติการปอ้ งกันและเฝ้าระวงั การตดิ เชอื้ ดือ้ ยา CRE ในหอผู้ป่วยเดก็ 2 อย่างเครง่ ครัด โดยหัวหน้าหอผู้ป่วยและหวั หนา้ เวร - จัดทำสมุดบันทกึ ความผดิ พลาด การRound โดย HW / ทมี Lead - Orientation แก่แพทย์ประจำหอผ้ปู ่วยท่เี วยี นมาทกุ เดือน ในวันท่ี 1 โดย หัวหนา้ หอผปู้ ว่ ยและหัวหนา้ เวร 3.ระยะเตรยี มจำหนา่ ยผ้ปู ว่ ย 1. การใหข้ ้อมลู : เน้นยำ้ ญาติ ล้างมอื ก่อน-หลังสัมผสั ผปู้ ่วย การดแู ลเรื่องความสะอาดทัง้ ตนเอง อุปกรณข์ องใช้ 2. กรณีเม่ือผู้ปว่ ยมีผลติดเชือ้ ดื้อยาภายใน 3 เดือน : แนะนำผูป้ ว่ ยเม่ือกลับไปอยู่ที่บ้าน นอกจากป้องกันตนเอง ถ้าในบ้านมี เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่ได้รับยากดภูมิ ผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำ ให้หลีกเลี่ยง ไม่คลุกคลี เน้นล้างมือ เน้นความสะอาดหลังใช้ ห้องน้ำ การรับประทานอาหารรว่ มกนั ใหใ้ ช้ช้อนกลาง 3. ประเมินความรู้ และการปฏิบัติตัวโดยการสังเกต และถามย้อนกลับ และให้คำแนะนำ/สอนเพิ่มในส่วนที่ยังทำได้ไม่ดี หรอื ไม่ถกู ต้อง 4. บนั ทกึ คำแนะนำของผปู้ ่วยแตล่ ะรายลงในโปรแกรม Nursing continuing care and discharge summary พรอ้ มลงช่ือ ตำแหนง่ วนั ที่ของผ้ใู หค้ ำแนะนำ 4.ระยะจำหนา่ ยผู้ป่วย 1. กรณีผู้ปว่ ยโซนแดงพยาบาลเขียน CRE ไว้บนมุมขวาสุดของใบนัด / กรณีผู้ป่วยโซนเหลืองพยาบาลเขยี น รอผล CRE ไว้ บนมมุ ขวาสุดของใบนดั / กรณีผปู้ ่วยโซนเขยี วพยาบาลไม่ต้องเขียนรายละเอยี ดในใบนดั 2. แพทยส์ รุป D/C Summary โซนแดง เขียนผลดอ้ื ยาในใบ เพ่ือสื่อสารกบั รพ.ปลายทางกรณีผปู้ ่วยไป รพ.ใกลบ้ า้ น 3. อธิบายผ้ปู ่วยและญาติถงึ การปฏิบตั ติ วั ท่ีบ้าน วนั มาตรวจตามนัด และการไป รพ.ใกล้บา้ นก่อนนัดถงึ การใหน้ ำใบสรปุ D/C Summary ยืน่ แก่ รพ.ใกล้บ้าน 558

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 4. ให้เบอรโ์ ทรของหอผู้ป่วยเด็ก 2 แก่ผูป้ ว่ ยทกุ ราย เพอ่ื ใชต้ ิดต่อกรณผี ้ปู ่วยและญาตมิ ปี ัญหา หรอื ตอ้ งการคำปรึกษา แนะนำ สามารถโทรหาพยาบาลไดต้ ลอด 24 ช่วั โมง 5. จัดทำสมุดบันทึกชื่อ-สกุล HN เบอร์โทรปัจจุบันที่สามารถติดต่อได้ ของผู้ป่วยกรณีที่ D/C แล้ว ผล stool ยังไม่ออก ตดิ ตามดผู ลและโทรแจง้ ผลแก่ผปู้ ่วยโดยพยาบาลเวร BD ในทกุ วนั 13. เอกสารอา้ งองิ 1. Apisarnthanarak A, Pinitchai U, Thongphubeth K, Yuekyen C, Warren DK, Fraser VJ.Amultifaceted intervention to reduce pandrug-resistant Acinetobacter baumannii colonization and infection in 3 intensive care units in a Thai tertiary care center: a 3-year study. Clin infect dis 2008; 47:760-7. 2. Association for Professionals in Infestion Control and Epidemiology. Guide to Preventing Clostridium difficile Infestions. https://apic.org/Resource_/EliminationGuideForm/59397fc6-3f90-43d1-9325- e8be75d86888/File/2013CDiffFinal.pdf2013. 3. Cohen SH, Gerding DN, Johnson S, Kelly CP, Loo VG, McDonal LC et al. Clinical practice guidelines for Clostridium difficile infection in adults: 2010 update by the society for healthcare epidemiology of America (SHEA) and the infectious diseases society of America (IDSA). Infect Control Hosp Epidemiol 2010; 31: 431-55 4. อะเคื้อ อุณหเลขกะ. แนวทางการป้องกนั การแพร่กระจายเช้ือด้ือยาในโรงพยาบาล. เชยี งใหม:่ ม่ิงเมือง; 2561. 5. คณะกรรมการควบคุมการตดิ เชอ้ื โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร.์ แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายของเช้อื ด้ือยาใน โรงพยาบาล. สงขลา: โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร;์ 2561. 14. บทสรุป - สง่ิ สำคัญในการป้องกนั การเฝา้ ระวังการตดิ เช้อื ด้อื ยา คือ Cohort : Zoning แยกอปุ กรณ์ แยกหอ้ งนำ้ แยกผู้ดูแล จำกดั คน เยี่ยม การล้างมือ ทั้งบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย และญาติ และต้องทำงานร่วมกันอย่างมีระบบและมีการเฝ้าระวังที่ดี ติดตามการปฏบิ ัตแิ ละนำมาพัฒนาเพือ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ผปู้ ่วย - การตั้งใจทำงานและคิดแก้ปัญหา เพื่อพัฒนาระบบการให้บริการพยาบาล จะทำให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และได้รับการ สนบั สนนุ จากผู้บริหาร - ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม : แนะนำผู้ป่วยเม่อื กลับไปอยู่ที่บา้ น นอกจากป้องกันตนเอง ถ้าในบ้านมีเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยท่ี ได้รับยากดภูมิ ผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำ ให้หลีกเลี่ยง ไม่คลุกคลี เน้นล้างมือ เน้นความสะอาดหลังใช้ห้องน้ำ การรับประทาน อาหารร่วมกนั ใหใ้ ชช้ ้อนกลาง 559

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ัติทเี่ ป็นเลศิ *************************************** 1.ชอื่ เร่อื ง แนวปฏิบตั กิ ารป้องกนั ผ้ปู ว่ ยพลดั ตก/ ลน่ื ลม้ (Fall/ Slip Prevention) 2.โครงการ/ กิจกรรมดา้ น ด้านการประกันคณุ ภาพ 3.ช่อื หนว่ ยงาน ทีมบรหิ ารคณุ ภาพบรกิ ารพยาบาล ฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ 4.ประเภทของโครงการ ประเภทที่ 1 แนวปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลศิ ระดับคณะ/ หน่วยงาน (ผา่ นการคัดเลอื กโดยเวทีหรือผบู้ รหิ ารของคณะ)  1.1 สายวชิ าการ  1.2 สายสนับสนุน  ประเภทท่ี 2 แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี  2.1 สายวชิ าการ  2.2 สายสนับสนุน 5.คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ พว.นงลกั ษณ์ ว่องวิษณุพงศ์ และคณะกรรมการคุณภาพการป้องกนั การพลัดตก/ลม้ ฝา่ ยบริการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 6.การประเมนิ ปัญหา/ ความเสยี่ ง (Assessment) การพลัดตก/ ลื่นล้ม หมายถึง การเปลี่ยนตำแหน่งของร่างกายจากการลื่น ไถล ถลา หรือตกไปสู่พื้นผิวที่ต่ำกว่า ร่างกาย ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือไม่สามารถควบคุมได้ อาจส่งผลให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บ หรือไม่ได้รับ บาดเจ็บก็ตาม การพลัดตก/ ลื่นล้ม (Fall/ Slip) ของผู้ป่วยที่เขา้ มารบั การรักษาในโรงพยาบาลเป็นเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ท่ี สำคัญและเป็นสาเหตุสำคัญทีท่ ำใหผ้ ู้ป่วยเกดิ การบาดเจบ็ และต้องนอนโรงพยาบาลนานขึ้น ถูกกำหนดใหเ้ ป็นตัวชี้วัดสำคญั ใน ดา้ นคุณภาพและความปลอดภัยของสถาบนั รบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล (ส.ร.พ.) การพลดั ตกหกลม้ จึงเป็นอุบตั ิการณ์ท่สี ถาน บริการสขุ ภาพทกุ แหง่ เฝ้าระวงั และให้ความสำคัญอย่างยง่ิ จากสถติ พิ ลดั ตกหกลม้ ของโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ในปงี บประมาณ 2558-2564 พบว่ามีอบุ ัติการณพ์ ลัดตก/ ลืน่ ล้ม 0.089, 0.081, 0.072, 0.078, 0.066, 0.070, 0.079 ครงั้ ตอ่ 1,000 วนั นอน โดยตัวชีว้ ดั อัตราผู้ป่วยในพลดั ตก/ ลื่นล้มท่ีมี ความรุนแรงระดับ C-I ≤ 0.25 ครั้งต่อ 1000 วันนอนรพ. วิเคราะห์ข้อมูลรายด้านเพิ่มเติมพบว่า ระยะเวลาการเกิดส่วนใหญ่ 560

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ เกิดชว่ งเวลาเวรบ่ายและเวรดึก ผทู้ ่มี ีอายุ > 55 ปี ลกั ษณะกลุม่ ผปู้ ่วยเปน็ ผปู้ ว่ ยท่มี โี รคทางอายรุ กรรมและจิตเวช สถานท่ีหรือ ลักษณะของหอผู้ป่วยหอผู้ป่วยพิเศษ ห้องน้ำ และการได้รับยาที่มีผลต่อจิตประสาท ง่วง ซึม เป็นต้น โรงพยาบาลสงขลา นครนิ ทร์มีการกำกบั ดแู ลผปู้ ว่ ยเพื่อปอ้ งกันการพลัดตก/ ล่ืนลม้ โดยการนำ Modified Morse Fall Risk Assessment Tool ประกอบดว้ ยเคร่ืองมือ 2 ชุดคือ Fall &Slip Risk factors และ MORSE FALL SCORE มาประเมินความเสี่ยงพลดั ตก/ ลื่นล้ม ในโรงพยาบาลครอบคลุมทกุ หน่วยบรกิ ารในฝา่ ยบรกิ ารพยาบาล และจัดระดับความเสี่ยงการพลัดตก/ลื่นล้ม เป็น 3 ระดับคือ low, Moderate, Severe Risk และปฏิบัตกิ ิจกรรมการพยาบาลที่สอดคล้องกบั ระดับความเสีย่ งในมาตรการป้องกัน 6 ด้าน ของฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ส่งผลให้อัตราการพลัดตก/ ลื่นล้มของฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาล สงขลานครินทร์ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ แต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้อัตราความเสี่ยงลดลง= 0 จึงมีการพัฒนาแนวปฏิบัติฉบับ ล่าสดุ เมือ่ 2565 เพื่อใหส้ อดคล้อง ทนั สมัยและนำสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พ่ือส่งผลให้ผ้ปู ่วยได้รับการดแู ลใหป้ ลอดภยั มากขึน้ 7.เปา้ หมาย/ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. พยาบาลสามารถประเมินความเสย่ี งการเกดิ พลัดตก/ ล่นื ล้มได้ครอบคลมุ ถูกตอ้ ง 2. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมการพยาบาลตามมาตรการป้องกนั การเกดิ การพลดั ตก/ ลน่ื ล้มสอดคลอ้ งกบั ระดับความเสย่ี ง 3. มกี ารบรหิ ารจดั การที่เหมาะสม เมอื่ เกดิ การพลดั ตก/ ลื่นล้ม 4. ผู้ป่วยไมเ่ กิดการพลดั ตก/ ล่นื ลม้ (Fall/ Slip) 8.ผลที่คาดว่าจะไดร้ บั ผู้ป่วยได้รับการดแู ลที่เหมาะสมและปลอดภัยจากภาวะพลดั ตก/ ล่ืนล้ม (Fall/ Slip) 9.การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/ แนวทางการปฏิบัตจิ ริง (PDCA) 1.ศกึ ษาแนวปฏบิ ัติทเ่ี กีย่ วข้องกบั การป้องกนั ผู้ป่วยพลดั ตก/ ลื่นลม้ 2.กำหนดแนวปฏิบัติการป้องกนั พลดั ตก/ ลน่ื ล้มฉบับ ปี 2558 เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบัติภายในหอ ผูป้ ว่ ยตา่ ง ๆ ฝา่ ยบรกิ ารพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ 3.ถ่ายทอด ทำความเข้าใจ และใหค้ วามรลู้ งสู่หนา้ งานเพอื่ ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ต้อง 4.นิเทศ กำกบั ติดตามการปฏบิ ตั ติ ามแนวปฏิบตั โิ ดยหัวหนา้ หอผปู้ ว่ ยและผู้ตรวจการพยาบาล 5.ผชู้ ่วยหวั หนา้ ฝา่ ยบริการพยาบาล ดา้ นบรหิ ารคณุ ภาพบรกิ ารควบคมุ ตวั ชี้วัดและทบทวนรว่ มกับหอผู้ป่วยเพื่อ หาทางแก้ไขปัญหา 6.สะท้อนขอ้ มูลและรายงานผลในภาพรวมของฝา่ ยบรกิ ารพยาบาล และสะท้อนหอผู้ปว่ ย 9.2 กำหนดหน้าทค่ี วามรับผิดชอบในหอผ้ปู ว่ ย 561

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 1.พยาบาลเจ้าของไข้ เปน็ ผปู้ ระเมนิ ผปู้ ่วยเพอื่ จำแนกผปู้ ่วยท่ีตอ้ งเฝา้ ระวัง 2.บคุ ลากรทางการพยาบาลทกุ ระดับมหี นา้ ท่ใี นการดูแลผ้ปู ่วย และเฝ้าระวงั จากการพลดั ตก/ ล่ืนลม้ ตามแนว ปฏิบตั ิ 9.3 ถ่ายทอด กำกบั การปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิการป้องกันการเกดิ พลดั ตก/ลื่นลม้ หอผู้ปว่ ยใน ดงั นี้ 9.3.1.พยาบาลประเมนิ ความเสย่ี งต่อการพลดั ตก/ ลื่นลม้ ในผู้ป่วยทกุ ราย ในระบบ HIS ตามขอบเขตการ ประเมนิ ทฝี่ า่ ยบรกิ ารพยาบาลกำหนดและจำแนกผูป้ ว่ ยตามเกณฑท์ ่ีกำหนด โดยใช้ Modified Morse Fall Risk Assessment Tool ตารางที่ 1 : ปัจจัยเสีย่ งตอ่ การพลัดตก/ลื่นล้ม(Fall &Slip Risk factors) Fall &Slip Risk factors YES NO 1.ผปู้ ว่ ยท่ีมอี าการใจสน่ั หลงลืม มภี าวะตดิ เช้อื มกี ารเปลี่ยนแปลงของระบบเมตาโบลคิ / ระบบของหวั ใจและ หลอดเลือด/ ระบบประสาทส่วนกลาง ผู้ปว่ ยทีม่ ภี าวะเสียเลอื ดมาก ผู้ป่วยทม่ี คี วามผดิ ปกตเิ ก่ยี วกับการนอน หลับ 2.ผ้ปู ่วยท่ไี ดร้ บั ยาตอ่ ไปนี้ ยาตา้ นจติ ประสาท ยาคลายกังวล ยาคลายอารมณ์เศรา้ ยาต้านหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะ Digoxin ยาต้านการแขง็ ตัวของเลือดยาทีม่ ผี ลต่อการเตน้ ของหัวใจ ยาลดความดัน ยาที่ใชใ้ นการ เตรยี มลำไส้ ยาแก้หวดั ยาแก้แพ้ ยาที่ ใช้ในการรกั ษาการถา่ ยปสั สาวะผดิ ปกติ ยาเคมีบำบัด 3. ผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหติ ตำ่ ขณะเปลีย่ นอริ ยิ าบถ หรือมคี วามผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติ 4. ผปู้ ว่ ยที่มปี ัญหาต้องเข้าหอ้ งน้ำบอ่ ย เช่น ถา่ ยเหลวกลน้ั ปสั สาวะ/อจุ จาระไมไ่ ด้ 5. ผ้ปู ่วยท่มี ปี ญั หาด้านการเคลอ่ื นไหว ผ้ปู ว่ ยท่ตี ้องใช้รองเทา้ ช่วยเดนิ / เคร่อื งช่วยเดิน 6. ผูป้ ว่ ยที่มีปญั หาด้านการมองเหน็ / การได้ยิน 7. ผปู้ ่วยเดก็ อายุ 0 – 15 ปี / ผู้สูงอายุ (อายุ 65 ปีข้ึนไป Hitcho et al, 2004) ตารางท่ี 2 : MORSE FALL RISK ASSESSMENT TOOL CATEGORY SCORE 1.มีประวัติการพลดั ตก/ล่ืนลม้ ใน 3 เดือนท่ผี า่ นมา หรอื พลดั ตก/ล่ืนลม้ ขณะอยโู่ รงพยาบาล YES 25 (ประวตั ิตก/ลม้ ใน 3เดอื นทีผ่ า่ นมา) NO 0 2.ได้รับการวนิ ิจฉัยโรคมากกวา่ 1 โรค / มี Underlying disease ทเี่ สยี่ ง เชน่ DM ทมี่ ี ปญั หาการมองเห็น YES 25 (มี underlying disease ทีเ่ ส่ียงตอ่ การตก/ลม้ เช่น DM ที่มีปญั หา retina, โรคขอ้ , เก๊า เปน็ ต้น) 0 NO 30 3. ความต้องการการชว่ ยเหลอื ในการเคลอ่ื นไหว: การชว่ ยเหลอื ในการเคลือ่ นไหว • เดินทรงตวั ดว้ ยตัวเองไมไ่ ด้ (Furniture) 15 • ใช้ไม้ค้ำเดนิ /ไมเ้ ทา้ /เคร่ืองช่วยเดนิ (Crutch, Cane, Walker, wheel chair) 0 • ไมต่ ้องช่วยเหลอื / Absolute Bed Rest/ พยาบาล ชว่ ยเหลือทง้ั หมด 562

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ CATEGORY SCORE 4.On IV Fluid / มีอปุ กรณท์ ต่ี อ้ งตดิ ตามอาการ / มีสายหรอื ทอ่ ตอ่ ต่าง ๆ YES 25 NO 0 5.การเดนิ และเคลอื่ นยา้ ย: • มีความบกพร่องในการเดิน เชน่ มอี าการออ่ นแรงของแขนขา ปวดขอ้ เท้าปกุ เทา้ ผิดรปู (Impair) 20 10 • อ่อนเพลยี (Weak) 0 • ปกติ/ไมม่ อี าการออ่ นแรง 15 0 6.สภาวะของจติ ใจ (Mental Status) • ไม่รับรู้ข้อจำกัดของตนเอง/หลงลมื (ไมร่ บั รขู้ อ้ จำกดั ของตนเอง) • รับร้คู วามสามารถของตนเอง ขอบเขตการประเมิน : - แรกรบั /รบั ย้าย - หลังผ่าตัดวันที่ 1 และวันท่ี 3 - มีการเปลยี่ นแปลงดา้ นอาการ และการรักษา - มีการพลดั ตก/ลน่ื ลม้ ตารางการจำแนกระดบั ความเสี่ยงการพลดั ตก/ลื่นลม้ Risk level Fall/slip risk factor Morse fall score 1. No risk No 0-24 2. Low risk No 25-50 3. Moderate risk Yes* 0-24 4. High risk Yes* ≥25 No ≥51 Yes** ≥0 หมายเหตุ :Yes* หมายถึง มี Fall/slip risk factor ข้อใดข้อหน่งึ 1 ข้อ Yes** หมายถงึ มี Fall/slip risk factor ตั้งแต่ 2 ขอ้ ขน้ึ ไป 2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการพยาบาลทีส่ อดคลอ้ งกบั ระดบั ความเสย่ี งในมาตรการปอ้ งกัน 6 ด้านของฝ่ายบริการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ • ผูป้ ่วย No Risk & Low Risk ปฏบิ ัติกจิ กรรมป้องกันการพลดั ตกล่ืนล้มตามมาตรการท่ี 1 • ผู้ป่วย Moderate Risk ปฏิบัติกจิ กรรมปอ้ งกันการพลัดตกลื่นลม้ ตามมาตรการท่ี 2 • ผปู้ ่วย High Risk ปฏิบตั ิกิจกรรมปอ้ งกนั การพลัดตกล่ืนล้มตามมาตรการที่ 3 ตารางแสดงรายละเอยี ดกิจกรรม 6 ด้านในมาตรการป้องกนั การพลดั ตก/ลืน่ ล้มแยกตามระดับความเส่ียง 563

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รายละเอยี ด/กิจกรรม มาตรการ 1 มาตรการ 2 มาตรการ 3 Low Risk Moderate High Risk 1. การส่อื สาร √ √ • การวางแผนการดูแล √ -วางแผนร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชพี ในการดแู ล/ปอ้ งกนั การพลัดตก /ลน่ื ล้ม PRN √ √ √ -วางแผนร่วมกับผ้ปู ่วยและญาตเิ พอื่ การดแู ลทเ่ี หมาะสม √√ √ √ • ให้ขอ้ มูล/ แนะนำผู้ป่วยและญาตเิ ก่ียวกับสิง่ แวดล้อม สถานทีแ่ ละอปุ กรณ์ตา่ ง ๆในหอ √ √ √ ผปู้ ว่ ย ได้แก่ การใช้ห้องนำ้ และอุปกรณต์ า่ ง ๆ ในหอ้ งน้ำ √ -การใชร้ าวก้ันเตยี งพรอ้ มประเมนิ การใชเ้ พอื่ ใหม้ ัน่ ใจว่าผปู้ ว่ ย/ญาตเิ ข้าใจและใช้เปน็ √ √ -การใชก้ ริง่ /ออดเรียกพยาบาลเมอื่ ตอ้ งการความช่วยเหลอื พร้อมประเมนิ การใชเ้ พอ่ื ให้ ม่นั ใจวา่ ผปู้ ว่ ย/ญาติเขา้ ใจและใช้เปน็ -ความเส่ยี ง อนั ตรายและวธิ ีการปอ้ งกนั การพลัดตก /ลน่ื ล้มเพอื่ ใหผ้ ปู้ ่วยและญาติมสี ่วน รว่ มในการปอ้ งกนั กรณผี ปู้ ว่ ยสับสนต้องใหค้ ำแนะนำกับญาติและแนะนำผู้ปว่ ยเมอ่ื พร้อม • การส่อื สารระหวา่ งผลดั -มกี ารส่อื สารระดับความเสีย่ งของผู้ปว่ ยให้ผลดั เวร ต่อไปทราบ √√ • ติดสญั ลักษณ์ป้องกนั การพลดั ตก/ลน่ื ล้ม ทหี่ ัวเตยี ง/หนา้ หอ้ งผูป้ ่วย ×√ 2. ดา้ นการขบั ถ่าย • ตอบสนองผปู้ ่วยทนั ทโี ดยเฉพาะกลุ่มทีม่ ีปัญหาในการขับถา่ ยปัสสาวะ/อุจจาระ ×√ • จดั วาง urinal /bed pan/ Portable Toilet ใหใ้ ชไ้ ดส้ ะดวก PRN PRN 3. ดา้ นการใช้ยา • ประเมินอาการข้างเคยี งจากการใชย้ า √√ • ใหข้ อ้ มลู กับผปู้ ่วยและญาตเิ กีย่ วกบั การปฏบิ ตั ิตัวและการเพม่ิ ความระมดั ระวงั กรณที ไี่ ด้รบั √ √ ยาท่ีมผี ลตอ่ การเพ่ิมความเสย่ี งตอ่ การพลดั ตก/ลืน่ ลม้ ของผ้ปู ว่ ย ช่วงเวลาทรี่ ะดับยามผี ลต่อ ระดบั ความร้สู ึกตวั การเดิน การขับถา่ ย เปน็ ต้น • มีการทบทวนการใชย้ าร่วมกบั แพทย/์ เภสัชกรเพื่อลดความเสย่ี งต่อการพลัดตก/ ลื่นล้ม PRN PRN 4. ดา้ นสงิ่ แวดล้อม • เตียง √√ - จัดชนิดเตยี งให้เหมาะสมกบั สภาพของผู้ป่วย และจดั หา อุปกรณ์/เครื่องปอ้ งกันการตกเตยี ง - จดั ตำแหนง่ เตยี งให้เหมาะสมกบั สภาพของผปู้ ว่ ย - ตรวจสอบสภาพราวกั้นเตียงลอ๊ คให้เรยี บร้อยทกุ คร้ัง 564

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รายละเอยี ด/กิจกรรม มาตรการ 1 มาตรการ 2 มาตรการ 3 Low Risk Moderate High Risk - ปรับความสูงเตียงให้อยู่ในระดับต่ำสดุ ลอ็ คล้อ และตรวจสอบสภาพพร้อมใช้ √ • ตู้/โตะ๊ ขา้ งเตยี ง √√ √ - จัดวางตู้/โต๊ะข้างเตยี ง เครอื่ งใช้และสิง่ ของตา่ ง ๆ ทจี่ ำเปน็ ไวใ้ กลม้ อื ผปู้ ่วยใหห้ ยบิ งา่ ย √ √ โดยเปน็ ดา้ นทผี่ ปู้ ว่ ยถนดั √ • กร่ิง/ออด - จัดวางใกล้มอื - ตรวจสอบความพร้อมในการใชง้ าน √√ √ √ • ดแู ลสิ่งแวดลอ้ มอ่ืน ๆ √ √ - จัดส่ิงของให้เปน็ ระเบยี บ ไมม่ ีสงิ่ กีดขวางทางเดิน เช่น สายไฟ/อุปกรณ์ตา่ ง ๆ √√ √ - ดแู ลใหพ้ ื้นแหง้ กรณพี ้นื เปยี กตอ้ งรบี เช็ดทำความสะอาด/ตดิ ปา้ ยเตือน √√ √ - ดูแลให้มีแสงสว่างตลอดทางเดนิ ไปหอ้ งนำ้ PRN √ √ √ 5. ดา้ นความปลอดภยั × • เลอื กใช้อปุ กรณ/์ เคร่ืองมอื ทีเ่ พมิ่ ความปลอดภยั √ - มีอุปกรณ์/เคร่อื งมอื ทเ่ี พิ่มความปลอดภัยเฉพาะสำหรบั ผ้ปู ่วย เชน่ อปุ กรณช์ ่วยเดนิ PRN √ (walker) แผน่ ยางกันลื่นในห้องน้ำ ราวจับ เบาะกนั้ ขา้ งเตยี ง เป็นตน้ -แนะนำผู้ป่วยใสร่ องเทา้ ยาง/รองเทา้ กนั ลื่น √√ - อุปกรณ์/เครอ่ื งมอื ท่สี ามารถล๊อคได้ ใหต้ รวจสอบ ลอ๊ คใหเ้ รยี บร้อยทกุ ครงั้ กอ่ นเคล่อื นยา้ ย √ √ - ตรวจสอบสภาพเตียง ราวก้นั เตยี ง และเกา้ อ้ีขา้ งเตยี งผ้ปู ่วยให้อยู่ในสภาพปลอดภยั √ √ ในการใช้งานอยา่ งสม่ำเสมอ • ให้เจ้าหนา้ ทห่ี รอื ญาติอยกู่ ับผปู้ ว่ ยตลอดเวลา ขณะที่ผูป้ ว่ ยอยใู่ นห้องหตั ถการหรือขณะ PRN √ ปดิ มา่ นเพ่ือให้การพยาบาลเช่น การเชด็ ตัว การขับถ่าย เปน็ ต้น • อนุญาตให้ญาติเฝ้าเพ่อื การดูแลอย่างใกล้ชิดกรณที ผี่ ปู้ ่วยสบั สน ไมร่ สู้ ึกตวั หลงลืม PRN √ ผู้ปว่ ยเด็ก มปี ญั หาเรอื่ งการมองเหน็ หรือผ้ปู ่วยท่ีอยหู่ ้องแยก • ประเมินความสามารถในการชว่ ยเหลือตนเองและการทรงตัวของผู้ปว่ ย ก่อนทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ √ √ • ใชอ้ ปุ กรณ์เสรมิ และเครอื่ งผกู มดั ตามความเหมาะสมกบั สภาพของผปู้ ่วย เช่น กรณี PRN √ ผูป้ ่วยไดร้ บั ยาสลบ/ยานอนหลับ ชัก สับสนมีปญั หาเรอ่ื งการมองเห็นเดก็ ผสู้ งู อายุ เป็นต้น 6. ด้านการตรวจเยี่ยม • ตรวจเยย่ี มอยา่ งนอ้ ยทกุ 2 ชม PRN √ • ตรวจเยยี่ มอยา่ งน้อยทุก 1 ชม PRN PRN ขั้นตอนการบริหารจัดการหลังการเกดิ การพลัดตก/ลื่นลม้ 565

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 9.4 งบประมาณที่ใชใ้ นการจดั โครงการ-กิจกรรม (ถา้ ม)ี ไมม่ ี 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโนม้ ข้อมลู เชงิ เปรยี บเทียบ (3ป)ี และ/ หรอื เปรียบเทยี บกบั หนว่ ยงาน ภายใน/ ภายนอก 566

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ขอ้ มูลผลลพั ธ์ยอ้ นหลัง ปีงปม. 2561-2564 11.การเรยี นรู้ (Study/ learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพฒั นาคุณภาพอย่างต่อเน่อื งในอนาคต เนื่องจากแนวปฏิบัติที่ใช้ในปัจจุบันเป็นแนวปฏิบัติสำหรับผู้ป่วยในโรงพยาบาล ยังไม่ครอบคลุมผู้ป่วยนอก มี แผนพัฒนาแนวปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั ผ้ปู ่วยพลดั ตก/ ลน่ื ลม้ ในผปู้ ว่ ยนอก (Fall/ Slip Prevention) และผปู้ ่วยในที่มีความจำเพาะ เชน่ ผ้ปู ่วยจติ เวช ผปู้ ่วยเด็ก เพอื่ จะได้แนวปฏบิ ตั ิท่สี ามารถดูแลผปู้ ่วยให้ปลอดภยั ยงิ่ ขนึ้ 11.2 จุดแขง็ (Strength) หรือส่ิงท่ีทำไดด้ ใี นประเด็นที่นำเสนอ การมีแนวปฏิบัติที่ดีแต่ถ้าไม่ได้นำลงสู่การปฏิบัติที่ดี อาจจะไม่ได้ผลลัพธ์ท่ีดีได้ ดังนั้นผลลัพธ์จากการใช้แนว ปฏบิ ตั ิการปอ้ งกันผู้ปว่ ยพลดั ตก/ ลื่นล้มทไ่ี ดผ้ ลดเี กดิ จากการสอ่ื สาร การทำความเขา้ ใจในการประเมนิ และการปฏิบัติการดูแล ตามแนวปฏิบตั ิท่ีกำหนดไว้ ร่วมกบั การนเิ ทศ กำกับของหัวหน้าหอผูป้ ว่ ยและผตู้ รวจการพยาบาลอย่างใกล้ชดิ 11.3 กลยุทธ์ หรือปัจจยั ที่นำไปสคู่ วามสำเรจ็ -การปลูกฝังค่านิยมของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ M-E-D-P-S-U (Mankind= ถือประโยชน์เพื่อมนุษย์, Excellence= มาตรฐานสูงสุดเพื่อทุกชีวิต, Dedication= อุทิศตนเพื่องาน, Professionalism= เชียวชาญ มีจรรยาบรรณ, Social responsibility= สรรคส์ ร้างเพ่ือสงั คม, Unity= ผสมผสานเป็นหนึ่งเดยี ว) โดยเฉพาะการปฏบิ ัตติ ามมาตรฐานหรือแนว ปฏิบัตทิ ่ีดี จะส่งผลใหผ้ ู้ปว่ ยเกิดความปลอดภยั มากขน้ึ ลดความขัดแยง้ และข้อร้องเรียนได้ -การสนับสนุนจากทีมบริหารฝ่ายบริการพยาบาล ทมี บรหิ ารโรงพยาบาลท้ังในด้านนโยบาย อปุ กรณป์ ้องกันการพลัด ตก/ ลน่ื ลม้ สง่ ผลใหบ้ ุคลากรในหอผู้ปว่ ยมีกำลังใจและรว่ มมือรว่ มใจในการดูแลผูป้ ว่ ยเพ่อื ปอ้ งกนั การพลัดตก/ ลน่ื ล้มมากขึน้ 567

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ -นโยบาย ไม่ตำหนิ กล่าวโทษ (No Blame Policy) โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ส่งผลให้บุคลากรกล้าที่จะรายงานอุบัติการณ์ สามารถนำเหตุการณ์มาวิเคราะห์เพื่อหาแนว ทางแก้ไขในเชงิ ระบบได้ 12. ประเด็น (จดุ เด่น) ทเ่ี ปน็ แนวปฏิบตั ิที่เปน็ เลิศ แนวปฏิบัติการป้องกันผู้ป่วยพลัดตก/ ลื่นล้ม (Fall/ Slip prevention) มีการวางแผนการปฏิบัติเป็นกระบวนการท่ี ครอบคลุมตั้งแต่การประเมินความเสี่ยงต่อการพลัดตก/ ลื่นล้มในผูป้ ่วยทุกราย ในระบบ HIS เพื่อวางแผนการดูแลตามระดับ ความเส่ียง จนถึงการแกป้ ัญหาการดูแลเมื่อมกี ารพลัดตก/ ล่นื ล้ม สง่ ผลใหส้ ามารถดแู ลผ้ปู ่วยไดค้ รอบคลมุ และป้องกนั การพลัด ตก/ ลน่ื ลม้ มากข้นึ 13.เอกสารอา้ งอิง 1.ฝา่ ยบรกิ ารพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร.์ (2558). แนวปฏบิ ตั ิการป้องกันการเกดิ พลดั ตก/ ลนื่ ลม้ ปรับปรงุ มกราคม 2558. 2.คณะทำงานตัวชวี้ ัดการพลัดตก หก ลม้ ชมรมเครอื ขา่ ยพฒั นาการพยาบาล .(2564). เอกสารประชมุ คณะทำงาน ตัวชี้วัดการพลดั ตก หก ลม้ ชมรมเครอื ข่ายพฒั นาการพยาบาล. วนั ที่ 21 มกราคม 2564. 3. http://www.networkofcare.org/library/Morse%20Fall%20Scale.pdf December1,2012 14. บทสรปุ อุบัติการณ์พลัดตก/ ลื่นล้มเป็นเหตุการณ์ที่สามารถป้องกันได้ ต้องอาศัยความร่วมมือจากบุคลากรทุก ๆด้าน การ กำหนดแนวปฏิบตั ิการปอ้ งกันผู้ป่วยพลดั ตก/ ลื่นล้ม (Fall/ Slip prevention) จะสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้จริงและสำเร็จ ตอ้ งอาศยั การสอ่ื สาร ทำความเขา้ ใจกับบุคลากรในหน่วยงานให้เข้าใจในรายละเอียดและปรบั ใช้ให้เข้ากับความจำเพาะของแต่ ละหอผู้ป่วย การนิเทศ กำกับ ติดตามจากหัวหน้าหอผู้ป่วย และการสนับสนุนอื่น ๆจากทีมบริหาร โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือ ความปลอดภยั ของผู้ปว่ ย หมายเหตุ -การรายงานผลการดำเนินงาน (result) จะต้องมีความสอดคล้องกบั เปา้ หมาย/ วัตถุประสงคข์ องโครงการ -ลกั ษณะอกั ษร TH SarabunPSK ขนาด 14 pt.และใส่หมายเลขหนา้ เวน้ ระยะขอบมาตรฐาน -จำนวนหนา้ ในการนำเสนอข้อมลู (รวมเอกสารอ้างอิงและภาคผนวก) คอื จำนวนไม่เกนิ 10หน้า (A4) 568

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ตั ทิ ี่เปน็ เลศิ *************************************** 1. ช่ือเรื่อง แบบตรวจสอบรายการผ่าตดั ปลอดภยั (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) 2. โครงการ/กิจกรรม ด้านการประกนั คณุ ภาพ 3. ชือ่ หนว่ ยงาน หอผปู้ ว่ ยผา่ ตดั ฝา่ ยบรกิ ารพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 4. ประเภทของโครงการ : ประเภทท่ี 2 แนวปฏิบัตทิ ด่ี ี (2.2. สายสนบั สนุน) 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏิบตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ : คณะกรรมการบริหารห้องผา่ ตดั โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประกอบดว้ ย คณบดีเป็นทีป่ รีกษา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็นประธาน กรรมการไดแ้ ก่ หัวหน้าสาขาวิชาที่เกีย่ วข้องและฝ่ายบริการ พยาบาล 6. การประเมินปัญหา/ความเสีย่ ง (Assessment) : หอผู้ป่วยผ่าตัด โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ให้บริการผู้ป่วยกลุ่มโรคซับซ้อนระดับเหนือกว่าตติยภูมิ มีผู้ป่วยเข้ารับ บริการผ่าตัดเฉลี่ย 3,000 รายต่อเดือน ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมีโอกาสเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ หรือเหตุการณ์รุนแรงที่ ไม่ไดค้ าดหมาย ซึง่ ก่อให้เกิดอันตรายรนุ แรง เช่น ผา่ ตัดผดิ คน ผดิ ขา้ ง ผิดหัตถการ หรือทำให้เสียชวี ติ ได้ ความปลอดภยั ของผู้ป่วยที่ได้รับการผา่ ตดั เป็นประเด็นท่ีองคก์ ารอนามัยโลก (WHO) ให้ความสำคญั และไดพ้ ัฒนาแบบ ตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัย (WHO Surgical Safety Checklist) ขึ้น เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการ ผ่าตัด ดังนั้นหอผู้ป่วยผ่าตัดจึงได้นำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัยของ WHO มาปรับและพัฒนาตามบริบทของ โรงพยาบาล เป็นแบบตรวจสอบรายการผา่ ตดั ปลอดภยั ของโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ (Songklanakarind Surgical Safety Checklist) เพ่อื ใหบ้ ริการผา่ ตดั ผู้ปว่ ยอย่างปลอดภยั ไมเ่ กดิ ภาวะแทรกซ้อน 7. เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ของโครงการ : 7.1 มีการใชแ้ บบตรวจสอบรายการผา่ ตดั ปลอดภยั (Songklanakarind Surgical Safety Checklist) ร้อยละ 100 7.2 เหตุการณไ์ ม่พงึ ประสงค์ ไดแ้ ก่ ผ่าตัดผิดคน ผิดขา้ ง ผดิ หัตถการ = 0 8. ผลที่คาดว่าจะได้รบั : ผู้ป่วยผ่าตัดปลอดภัยและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดทั้ง 3 ระยะ ได้แก่ ก่อนผ่าตัด ระหว่างผ่าตัด และหลัง ผา่ ตดั 569

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 9. การออกแบบกระบวนการ PL PLAN ประชมุ กรรมการบรหิ ารหอ้ งผา่ ตัด วางแผนเพอื่ ป้องกนั เหตกุ ารณไ์ ม่พึงประสงค์/ความเสย่ี ง ในผปู้ ่วยผ่าตดั กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย วิธีการ โดยมตี น้ แบบ surgical safety checklist ของ WHO สร้างแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภยั (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) AN LANPLAN DO ทดลองใชค้ รัง้ แรก ปี 2560 ในผู้ปว่ ย Elective case ปี 2562 ประกาศใชใ้ นผู้ปว่ ยทุกราย Elective case และ Emergency case CHECK N รายงานผลการใช้และความสมบูรณ์ แบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัย (Songklanagarind Surgical OK Safety Checklist) ต่อคณะกรรมการบรหิ ารหอ้ งผา่ ตดั ทกุ โตรมาส โดยมเี ปา้ หมาย = 100% Y ACT PDCA 1 (27 เม.ย. 2560) : เนื้อหาเปน็ ภาษาองั กฤษ เพือ่ ความเปน็ สากล PDCA 2 (31 ส.ค. 2560) : เพิ่มรายละเอียดที่สำคัญ เช่น การ Marked site อวัยวะที่มี 2 ข้าง Yes ,No. หรอื มเี พียง 1 ไม่ต้อง Marked site = N/A PDCA 3 (11 ต.ค. 2562) : ปรับเพิ่มเนื้อหาให้ครอบคลุมทั้งในเวลาและนอกเวลา รวมทั้งการบริการพิเศษ (Premium) เพอ่ื สะดวกต่อการวเิ คราะหข์ ้อมลู 9.1 วธิ ีการ/ แนวทางการปฏิบตั ิจริง(PDCA) ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิการผา่ ตัด แบ่งออกเปน็ 3 ระยะ คือ ก่อนให้ยาระงับความรูส้ ึก (Sign in) ก่อนลงมีด (Time out) และกอ่ นผูป้ ว่ ยออกจาก ห้องผ่าตัด (Sign out) ซึ่งในแต่ละระยะทีมผา่ ตัดจะต้องปฏิบัตภิ ารกิจให้เสร็จสิ้นก่อน จึงจะเริ่มปฏิบัติภารกิจใน ระยะต่อไป โดยมแี นวทางปฏิบตั ิดังน้ี 1. ก่อนให้ยาระงบั ความรูส้ ึก (Sign in) โดยทมี ผ่าตดั คือแพทยผ์ ่าตดั ,วสิ ัญญแี พทย์ / พยาบาล,พยาบาลหอ้ งผา่ ตัด ร่วมกันดำเนนิ การต่อไปน้ี 1.1 การยืนยนั ความถูกต้อง (Verification) ของชอ่ื -นามสกลุ ผ้ปู ว่ ย ตำแหน่งผา่ ตัดชนิดของการผ่าตัด และใบ ยนิ ยอมผา่ ตดั โดยมีหลักการสำคัญคอื ต้องยนื ยันกับผปู้ ่วย 1.2 การทำเครื่องหมายบริเวณที่จะทำผ่าตัด (Mark site) โดยทีมผ่าตัดจะต้องสื่อสารและตรวจสอบร่วมกนั โดยมีแนวปฏิบัติดังน้ี 570

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 1.2.1. ในการผ่าตัดอวัยวะที่มี 2 ข้าง กำหนดให้ทำสัญลักษณ์วงกลม (O) ด้วย surgical skin marker ชนาดไมน่ ้อยกว่า 1 เซนติเมตร เพือ่ บง่ ช้ีข้างทจ่ี ะทำผ่าตดั ให้เสร็จสิ้นก่อนการ sign in โดยจะทำที่ OPD หรือหอ ผู้ปว่ ย และ Mark site โดยใคร ใหแ้ ต่ละสาขาวชิ ามอบหมายตามความเหมาะสมกบั บริบทและลักษณะภาระงาน 1.2.2. ยกเว้นกรณีผ่าตัดที่ต้องใช้เครื่องมือพิเศษในการระบุตำแหน่ง ข้างที่จะผ่าตัด เช่นการใช้ Flu ให้ Mark site หลงั การ sign in ได้ 1.3 การตรวจสอบความครบถ้วนของอปุ กรณแ์ ละยาทใี่ ช้ในการระงับความร้สู กึ 1.4 การตรวจสอบว่ามี Pulse ox meter ตดิ ใหผ้ ู้ป่วยและใช้การได้ 1.5 การตรวจสอบประวตั กิ ารแพย้ า 1.6 การตรวจสอบประวัติการใส่ทอ่ ชว่ ยหายใจลำบากหรือเส่ยี งที่จะเกดิ อาการสำลักขณะใส่ท่อชว่ ยหายใจ 1.7 การตรวจสอบว่ามีโอกาสเสียเลือดมากกว่า 500 มล. ในผู้ป่วยผู้ใหญ่ หรือ 7 มล./กก.ในผู้ป่วยเด็ก ถ้ามี ความเสี่ยง ให้ใส่สายสวน (Cannula / catheter) ในหลอดเลือดดำส่วนปลาย (Peripheral vein) 2 ตำแหน่ง หรือหลอดเลือดดำส่วนกลาง และเตรียมสารนำ้ ทจ่ี ะให้ทดแทน 2. ก่อนลงมดี (Time out) ทมี ผ่าตัดประกอบดว้ ย ศลั ยแพทย์ วสิ ญั ญีแพทย์ / พยาบาล และพยาบาลหอ้ งผา่ ตดั รว่ มกนั ดำเนนิ การต่อไปน้ี 2.1 สมาชกิ ทีมผา่ ตดั ทุกคนมกี ารแนะนำช่อื และบทบาทของตนเองเพือ่ ยืนยนั การเขา้ ผา่ ตัดถูกตอ้ ง 2.2 ศัลยแพทย์ วิสัญญีแพทย์ / พยาบาล และพยาบาลห้องผา่ ตดั กลา่ วยืนยันช่อื นามสกลุ ผูป้ ่วย ชนิดของการ ผา่ ตัด และตำแหน่งทีจ่ ะผา่ ตัด 2.3 ใหย้ าปฏชิ ีวนะเพอ่ื ปอ้ งกันการตดิ เชอื้ ภายใน 60 นาที ก่อนลงมดี 2.4 ศัลยแพทย์ทบทวนขั้นตอนการผ่าตดั ทสี่ ำคญั หรือขน้ั ตอนที่อาจเกิดเหตุการณไ์ มพ่ งึ ประสงค์ การคาดคะเน ระยะเวลาผา่ ตัด และการสูญเสียเลอื ด 2.5 วิสัญญแี พทย์ / พยาบาล ทบทวนปัญหาท่ตี ้องระมัดระวงั ในผู้ปว่ ยเฉพาะราย 2.6 พยาบาลตรวจสอบความพรอ้ มของเครอ่ื งมือผา่ ตัด และอุปกรณ์อน่ื ๆ รวมถงึ การทำให้เครือ่ งมือปราศจาก เชื้อมีความถกู ตอ้ งครบถว้ น 2.7 การเตรียมพร้อมเพื่อนำเสนอภาพทางรังสี หรือข้อมูลที่สำคัญทางคลินิกอื่น ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ระหว่าง ผ่าตัด 3. กอ่ นผปู้ ว่ ยออกจากหอ้ งผ่าตดั (Sign out) ทีมผา่ ตดั ประกอบด้วยศัลยแพทย์วิสัญญีแพทย์ / พยาบาล และพยาบาลหอ้ งผา่ ตดั รว่ มกันดำเนนิ การดังนี้ 3.1 ยืนยันชนิดของการผ่าตัดที่บันทึกในแบบบันทึกการผ่าตัดถูกต้อง และตัวบ่งชี้ (Identification) ของกาย อุปกรณห์ รอื สง่ิ ใส่เทียม (Prosthesis) ท่ใี สใ่ หผ้ ปู้ ว่ ย 3.2 การตรวจนบั เครอ่ื งมอื ผา่ ตดั ผา้ ซบั เลอื ด และเข็มเยบ็ ครบถว้ น หากมีการคงคา้ งของเคร่อื งมอื หรือผ้าซับ โลหติ จะต้องมีการระบุชนดิ และจำนวน ที่คงคา้ งไว้กบั ผปู้ ่วยลงในแบบบนั ทึกทางการพยาบาล 3.3 พยาบาลห้องผ่าตัดตรวจสอบชนิดของสิ่งส่งตรวจ จำนวน และเขียนป้ายสิ่งส่งตรวจให้ถูกต้องตรงกับ Order ส่ิงส่งตรวจ 3.4 ถ้ามีปญั หาเก่ียวกบั เคร่อื งมือผา่ ตดั ให้ระบุปญั หาและวธิ แี กไ้ ข 571

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 3.5 ศลั ยแพทย์ วสิ ญั ญแี พทย์ / พยาบาล ทบทวนเหตกุ ารณส์ ำคญั ท่เี กดิ ขึ้นระหว่างการผา่ ตดั และต้องแจ้งให้ ทมี ห้องพักฟนื้ เพ่ือการดูแลผู้ปว่ ยอย่างตอ่ เนือ่ ง (ขอ้ 3.1-3.4 พยาบาลหอ้ งผา่ ตัดกล่าวให้ทีมผ่าตดั ได้ยิน และขอคำยืนยนั ด้วยวาจาจากทมี ) วธิ ีการ/ แนวทางการปฏิบตั ิจริง (PDCA) รายการ เดิม ปรบั ใหม่ PDCA 1 - แบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัย - ปรบั โดยใช้คำยอ่ ทจ่ี ดจำงา่ ย Sign in = I (27 เม.ย. 2560) เดิมมีเนื้อหารายละเอียดมากใช้เวลานาน AM B / Time out = I AM SAN / Sign ในการปฏบิ ตั ิ out = I LOVE Patient - เนือ้ หาเป็นภาษาไทย - เนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อความเป็น -ทดลองใช้เฉพาะผู้ปว่ ย Elective case สากล (ภาคผนวก 1) PDCA 2 - เนื้อหาบางส่วนทีมเข้าใจไม่ตรงกันและ - เพิ่มรายละเอียดที่สำคัญ เช่น การ (31 ส.ค. 2560) ไมม่ รี ายละเอยี ด Marked site อวยั วะที่มี 2 ขา้ ง Yes ,No. -ทดลองใชเ้ ฉพาะผ้ปู ว่ ย Elective case หรือ มีเพียง 1 ไม่ต้อง Marked site = N/A (ภาคผนวก 2) PDCA 3 - เนื้อหาไม่ครอบคลุมทั้งในเวลาและนอก - ปรับเพิ่มเนื้อหาให้ครอบคลุมท้ังในเวลา (11 ต.ค. 2562) เวลา รวมทง้ั การบรกิ ารพเิ ศษ (Premium) และนอกเวลา รวมทั้งการบริการพิเศษ ไมส่ ะดวกต่อการวิเคราะหข์ อ้ มูล (Premium) เพื่อสะดวกต่อการวิเคราะห์ - ประกาศใช้ในผู้ป่วยทุกราย Elective ขอ้ มูล (ภาคผนวก 3) case และ Emergency case 9.2 งบประมาณท่ใี ชใ้ นการจดั โครงการ : ไมม่ ี 572

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดบั แนวโนม้ ข้อมูลเชงิ เปรียบเทียบ( 3 ป)ี 10.1. ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบรายการผา่ ตดั ปลอดภยั (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) ร้อยละของการใช้แบบตรวจสอบรายการผ่าตดั ปลอดภยั (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) ปงี บประมาณ 2562-2564 120 100 80 60 40 20 0 2562 2563 2564 10.2. ผลลัพธ์ของความสมบูรณ์ในการทำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัย (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) รอ้ ยละผลลัพธข์ องความสมบูรณใ์ นการทาแบบตรวจสอบรายการผา่ ตดั ปลอดภัย (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) ปีงบประมาณ 2562-2564 120 92.05 96.65 100 73.18 80 60 40 20 0 2562 2563 2564 หมายเหตุ ความสมบูรณ์ในการทำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัย (Songklanagarind Surgical Safety Checklist) หมายถงึ มีการตรวจสอบรายการผา่ ตัดในกระบวนการ Sign in, Time out, Sign out ครบถว้ นทกุ รายการ (15 รายการ) 573

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 10.3. อบุ ัตกิ ารณ์การผา่ ตัด ผดิ คน ผิดขา้ ง ผิดหตั ถการ จานวนครง้ั ของการทาผา่ ตดั ผิดคน ผดิ ขา้ ง ผดิ หัตถการ ปีงบประมาณ 2562-2564 2 1 0 2562 2563 2564 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1. แผนหรือแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เนอ่ื งในอนาคต - เพ่มิ มาตรการการ mark site โดยแพทยผ์ า่ ตัดจะ mark site ในตอนเยน็ ก่อนวนั ผ่าตัด - การกำหนดอายุผ้ปู ว่ ยเดก็ ข้ันตอน sign in : Surgical Safety Checklist 11.2. จุดแขง็ (Strength) หรือส่ิงทที่ ำไดด้ ีในประเดน็ ท่ีนำเสนอ - มีการใช้ Surgical Safety Checklist ก่อนทำผ่าตัดทุกราย 11.3. กลยุทธ์ หรือปัจจยั ทนี่ ำไปส่คู วามสำเรจ็ - มีการประกาศเชงิ นโยบายผู้บรหิ าร และคณะกรรมการบริหารห้องผา่ ตดั ประชมุ ตดิ ตาม การใช้ Surgical Safety Checklist - มีการประกาศใชค้ รงั้ แรกเมือ่ ปพี .ศ. 2554 และไดป้ รับปรงุ หลายครั้งเพ่ือให้เนอื้ หาทนั สมยั สอดคลอ้ งกับบริบท และปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง - จดั ทำคู่มือการใช้แบบตรวจสอบรายการผา่ ตดั ปลอดภยั เพ่ือให้ผู้ปฏิบัตใิ ช้ในการทบทวนความรู้ และทำความ เข้าใจในการนำแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 12. ประเด็น(จดุ เดน่ ) ทีเ่ ปน็ แนวปฏิบตั ทิ ่เี ป็นเลศิ : 12.1. เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างทีมผ่าตัด (แพทย์ผ่าตัด วิสัญญีแพทย์/พยาบาล และพยาบาลห้อง ผา่ ตดั ) โดยมเี ป้าหมายคือ ผ้ปู ่วยปลอดภัยจากการผ่าตัด 12.2. เป็นแนวปฏิบัติที่ใช้กันเป็นมาตรฐานสากลทั่วโลก (WHO) แต่มีการปรับปรุงเพื่อให้เข้ากับบริบทของ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ทำให้มีความเหมาะสม สะดวกต่อการนำมาใช้ในทางปฏิบัติ ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ ดี ผู้ป่วย ปลอดภัยไมเ่ กิดอบุ ตั ิการณผ์ า่ ตดั ผดิ คน ผิดขา้ ง ผิดหัตถการ 13. เอกสารอ้างองิ : - WHO Guidelines for safe surgery: safe surgery saves lives, 3 April 2009 - คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ . (2565). ความเสย่ี ง ( Risk register) 574

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ - Patient Safety Goals 2018: สถาบนั รับรองคณุ ภาพสถานบริการ - Surgical safety checklist, รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารห้องผ่าตดั : 2560. โรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ - บันทึกข้อความ เรื่อง แนวปฏิบัติการทำ Mark site ข้างที่จะทำผ่าตัด โรงพยาบาลสงขลานครินทร์, 31 ตุลาคม 2562 14. บทสรุป : Surgical Safety Checklist หมายถงึ เคร่อื งมือสำหรบั ช่วยตรวจสอบและประเมินความพร้อม โดยการส่อื สารในทมี ให้เกิดความมน่ั ใจในความปลอดภยั แก่ผ้ปู ่วยท่ีได้รับการผ่าตัด เพื่อลดขอ้ ผิดพลาดและเหตกุ ารณไ์ ม่พงึ ประสงค์จากการผ่าตัดท่ี ป้องกันได้ และเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร การทำงานเป็นทีม โดยนำหลักคิดและวิธีการมาจาก Surgical Safety Checklist จาก WHO โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ มีความพยายามที่จะนำ Surgical Safety Checklist มาใช้ตรวจสอบ รายการผ่าตัดปลอดภัยเกิด PDCA อย่างต่อเนื่องแม้ในระยะเริ่มแรกอาจมีปัญหาอุปสรรคและยุ่งยาก แต่การทำความเข้าใจ ร่วมกันในทีม การได้รับความร่วมมือในระดับนโยบาย การติดตามกำกับ และปรับปรุงพัฒนาให้มีการปฏิบัติอยา่ งตอ่ เนื่องจน เกดิ ความเคยชนิ สงู่ านประจำจนกลายเป็นวฒั นธรรมความปลอดภยั บรรลุเป้าหมายขององค์กร 575

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ภาคผน Songklanagarind Surg OR Number………………. Service  1. ENT  2. ORT  3. OB-GYN  4. EYE Service  5. Gen A  6. Gen B  7. Gen C  8.Gen D  9. Trauma  10. Vascular  11. U Before induction of anesthesia Before ski Sign in (I AM B) Time out (  Information of patients  Information of patient —Identity (Name, Surname, HN) —Identity — Site — Site —Procedure — Procedure —Consent  Antibiotic prophylaxis  Anesthesia safety check (I AM SAM)  Marked site  iMaging displayed  Blood (G/M, Estimate blood loss)  Surgeon Concern Note  Anesthesia team Conce  Nursing team Concern Name Surgeon …………………………………… Anesth………………………5…7

ทยาลยั สงขลานครินทร์ นวก 1 gical Safety Checklist Patient Name……………….... HN. …………………………… Uro  12. Neuro  13. CVT  14. Plastic  15. Ped  GA  RA  LA in incision Before patient leaves operating room (I AM SAN) Sign out (I LOVE Patient) (Verbally confirms all of following items)  Instruments, sponges and needles  Labeled the specimen  Operation reviews ern  Equipment problems …76…………………  Patient care plan OR Nurse……………………………………………

เวทคี ุณภาพ II มหาวิท ภาคผน Songklanagarind Su OR Number………………. Service  1. ENT  2. ORT  3. OB-GYN  4. EYE Service  5. Gen A  6. Gen B  7. Gen C  8.Gen D  9. Trauma  10. Vascular Before induction of anesthesia Before sk Sign in (I AM B) Time out 1 Information of patient 1 Information of pa —Identity (Name, Surname, HN) —Identity — Site — Site —Procedure — Procedure —Consent 2 Antibiotic prophyl 2 Anesthesia safety check (I AM SAM) 3 Marked site  Yes  No 3 iMaging displayed 4 Surgeon concern  N/A 5 Anesthesia team 4 Blood (G/M, Estimate blood loss)  Yes  No  N/A Note 6 Nursing team con Name Surgeon …………………………………… Anesth………………… 57

ทยาลยั สงขลานครินทร์ นวก 2 urgical Safety Checklist Patient Name……………….... HN. ……………………………  11. Uro  12. Neuro  13. CVT  14. Plastic  15. Ped  GA  RA  LA kin incision Before patient leaves operating room (I AM SAN) Sign out (I LOVE Patient) (Verbally confirms all of following items) atient 1 Instruments, sponges and needles laxis  Yes  N/A 2 Labeled the specimen  Yes  No d  Yes  No  N/A  N/A 3 Operation reviews ns m concerns 4 Equipment problems  Yes  No ncerns 5 Patient care plan …………………………… OR Nurse…………………………………………… 77

เวทคี ุณภาพ II มหาวิท ภาคผน Songklanagarind Sur OR Number………………. Service  1. ENT  2. ORT  3. OB-GYN  4. EYE Service  5. Gen A  6. Gen B  7. Gen C  8.Gen D  9. Gen E  10. Trauma  Service  Elective  Emergency  Premium  OT Elective  ในเวลา  นอกเวลา Before induction of anesthesia Before ski Sign in (I AM B) Time out ( 1 Information of patient 1 Information of pati —Identity (Name, Surname, HN) —Identity — Site — Site —Procedure — Procedure —Consent 2 Antibiotic prophyla 2 Anesthesia safety check (I AM SAM) 3 Marked site  Yes  No  N/A 3 iMaging displayed 4 Blood (G/M, Estimate blood loss)  Yes  No  N/A 4 Surgeon concerns Note 5 Anesthesia team c 6 Nursing team conc Name Surgeon …………………………………… Anesth…………………… 57

ทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ นวก 3 rgical Safety Checklist Patient Name……………….... HN. ……………………………  GA  RA  11. Vascular  12. Uro  13. Neuro  14. CVT  15. Plastic  16. Ped  LA in incision Before patient leaves operating room (I AM SAN) Sign out (I LOVE Patient) ient (Verbally confirms all of following items) 1 Instruments, sponges and needles axis  Yes  N/A 2 Labeled the specimen  Yes  No  N/A d  Yes  No  N/A 3 Operation reviews s concerns 4 Equipment problems  Yes  No cerns 5 Patient care plan ………………………… OR Nurse…………………………………………… 78

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏิบตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ *************************************** 1. ชอ่ื เรือ่ ง การให้คาปรกึ ษาแนะนาในการตรวจวินิจฉยั ธาลัสซเี มีย 2. โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นบรกิ ารวิชาการ 3. ชอ่ื หนว่ ยงาน ศนู ย์บรกิ ารเทคนคิ การแพทย์ คณะเทคนคิ การแพทย์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4. ประเภทของโครงการ  ประเภทที่ 1 แนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลศิ ระดับคณะ/หน่วยงาน (ผา่ นการคดั เลอื กโดยเวทหี รอื ผู้บรหิ ารของคณะ)  1.1 สายวิชาการ  1.2 สายสนับสนนุ  ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ัติที่ดี  1.1 สายวิชาการ  1.2 สายสนบั สนนุ 5. คณะทางานพฒั นาแนวปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลศิ ดร.พัชราวดี พระยาลอ ประธานคณะทางาน นายมาโนช โลหิต คณะทางาน น.ส.จรุ รี ัตน์ เจรญิ ฤทธ์ิ คณะทางาน น.ส.วัชรี ท่มุ เอียด คณะทางาน นายภัทรภณ รตั นอารียกรณ์ คณะทางาน น.ส.อรอนงค์ ปานแกว้ คณะทางาน น.ส.พรทิพย์ ศรขี วญั คณะทางาน ดร.ธเนตร ประจนั ตะเสน คณะทางานและเลขานุการ 6. การประเมินปัญหา/ความเส่ยี ง(Assessment) ธาลัสซีเมียเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อยในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อุบัติการณ์ แตกต่างกนั ไปตามกลุม่ ชาติพันธุ์ การเปล่ียนแปลงในระดับโมเลกุลมีความซับซ้อน แม้ในผู้ป่วยท่ีมีอาการทางคลินิกคล้ายคลึง กนั แต่สามารถมีความผดิ ปกติในระดบั โมเลกุลได้หลายแบบแตกต่างกนั บคุ คลท่เี ป็นพาหะธาลัสซีเมียมีความเสี่ยงและมีโอกาส ที่จะมีบุตรเป็นโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง การควบคุมและป้องกันจานวนทารกเกิดใหม่ที่เป็นโรคตามแผนงานธาลัสซีเมีย แห่งชาติ ได้กาหนดจุดประสงค์หลักเพื่อป้องกันทารกป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง 3 โรค คือ homozygous -thalassemia 1, homozygous -thalassemia และ -thalassemia/Hb E การตรวจทางห้องปฏิบัติการจึงเข้ามามี บทบาทสาคัญในการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยผู้ที่มีพาหะ -thalassemia 1, -thalassemia และ Hb E ซึ่งไม่มีอาการ แสดงทางคลินิกให้ได้ เพื่อท่ีจะให้คาปรึกษาแนะนาทางพันธุกรรมที่เหมาะสมรวมไปถึงการวินิจฉัยทารกในครรภ์ก่อนคลอด (prenatal diagnosis) การตรวจคัดกรองพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ท่ีใช้ในปัจจุบันได้แก่ ดัชนีเม็ดเลือดแดง (red cell indices, MCV/MCH) การทดสอบความเปราะของเม็ดเลือดแดงชนิดหลอดเดียว (one tube osmotic fragility หรือ OF) และการ 579

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ทดสอบฮีโมโกลบินไม่เสถียรโดยการตกตะกอนด้วย ดีซีไอพี (DCIP test) สามารถใช้ OF และ DCIP หรือ MCV/MCH และ DCIP อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง ขนึ้ อย่กู บั ความพรอ้ มของหอ้ งปฏบิ ตั ิการในแต่ละโรงพยาบาลซึ่งหลังการตรวจคัดกรองให้ผลบวกจึงจะ ตรวจยนื ยนั ดว้ ย Hemoglobin typing และ PCR (polymerase chain reaction) Hemoglobin typing สามารถให้การวินิจฉัยพาหะ -thalassemia ฮีโมโกลบินผิดปกติ (Hb E trait, homozygous Hb E, Hb Constant Spring (Hb CS) trait, homozygous Hb CS) รวมท้ังโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ได้แก่ Hb H disease, -thalassemia/Hb E เป็นต้น ในขณะท่ีการตรวจ PCR ใน - thalassemia 1 และ -thalassemia 2 เปน็ การตรวจหาพาหะของ -thalassemia โดยการตรวจวเิ คราะห์ด้วยวิธี Gap PCR คนไทยพบ - thalassemia 1 ชนิด Southeast Asian (--SEA) และ Thai (--THAI) deletion ส่วน -thalassemia 2 พบท้ังชนิด 3.7 kb (-3.7) และ 4.2 kb (-4.2) deletion ห้องปฏิ บัติกา รตรวจ วินิจฉั ยธาลัส ซีเมีย ศูนย์บ ริการ เทคนิค การแ พทย์ ค ณะเทคนิคกา รแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้บริการวิชาการทางเทคนิคการแพทย์ เป็นศูนย์ให้บริการในด้านการตรวจวิเคราะห์ทาง ห้องปฏบิ ตั ิการธาลัสซเี มียแกโ่ รงพยาบาลทวั่ ไป โดยเปิดให้บริการท้งั การตรวจคัดกรอง การตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR เนอ่ื งจากในแต่ละโรงพยาบาลสามารถตรวจคัดกรองได้เอง ดังน้ันตัวอย่างส่งตรวจมากกว่า 90% จึงเป็นการตรวจ ยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR จากการส่งตรวจจากโรงพยาบาลน้ีเอง ทาให้มองเห็นว่าในบางโรงพยาบาล มีการประเมินผลการตรวจคัดกรองผิดพลาด เกิดผลบวกลวงหรือไม่เข้าใจเกณฑ์ (ค่า cut-off) ท่ีใช้เป็นตัวบ่งชี้การมียีน แฝงธาลัสซเี มยี (พาหะธาลสั ซีเมีย) แมจ้ ะมีแนวทางการวินจิ ฉัยโรคธาลสั ซีเมยี จากกระทรวงสาธารณสุขก็ตาม ส่งผลให้มีการส่ง ตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR โดยไม่จาเป็น ทาให้เกิดการสูญเสียเวลาของท้ังผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และผปู้ ว่ ยที่เพิม่ ระยะเวลาในการรอผลการตรวจ รวมท้ังสูญเสียค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นโดยไม่เกิดประโยชน์ จากปัญหาดังกล่าว ทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารตรวจวนิ จิ ฉัยธาลัสซเี มีย ศนู ยบ์ รกิ ารเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนคิ การแพทย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จงึ มีแนวทางในการชว่ ยลดการสง่ ตรวจยืนยนั ธาลัสซีเมียในตวั อย่างสง่ ตรวจรายทไ่ี ม่จาเปน็ 7. เปา้ หมาย/วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1. เพ่ิมความรแู้ ละความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการวินิจฉยั โรคธาลสั ซีเมียทางห้องปฏิบัติการให้แก่นักเทคนิคการแพทย์ พยาบาล แพทย์ และผู้เก่ยี วข้องอื่น ๆ เพ่อื ลดความผิดพลาดในการแปลผลการตรวจคดั กรองและการประเมนิ การสง่ ตรวจเพ่ือยนื ยัน Hemoglobin typing และ PCR 2. ลดเวลาและปริมาณงานของนักเทคนิคการแพทย์ท้ังในห้องปฏิบัติการของแต่ละโรงพยาบาลและห้องปฏิบัติการ ตรวจวนิ จิ ฉยั ธาลสั ซีเมีย ศูนยบ์ ริการเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3. ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR ทงั้ ของตวั ผ้ปู ว่ ยและทางห้องปฏบิ ตั ิการ 4. ผปู้ ่วยสามารถลดระยะเวลาในการรอผลการตรวจ 8. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 1. นักเทคนิคการแพทย์ พยาบาล แพทย์ และผู้เก่ียวข้องอ่ืน ๆ มีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการ วนิ ิจฉยั โรคธาลสั ซเี มียทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 2. นักเทคนิคการแพทย์ในแต่ละโรงพยาบาลประเมินผลการตรวจคัดกรองผดิ พลาดและเกิดผลบวกลวงลดลง 3. นกั เทคนิคการแพทยม์ ีความเข้าใจเกณฑ์ (คา่ cut-off) ที่ใช้เปน็ ตัวบ่งชี้การมียีนแฝงธาลสั ซีเมยี (พาหะธาลัสซเี มยี ) 4. ลดเวลาและปริมาณงานของนักเทคนิคการแพทย์ทั้งในห้องปฏิบัติการของแต่ละโรงพยาบาลและห้องปฏิบัติการ ตรวจวินจิ ฉัยธาลสั ซีเมยี ศนู ย์บริการเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนคิ การแพทย์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 580

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ กี าร/แนวทางการปฏบิ ัตจิ ริง (PDCA) • P – Plan (การวางแผน) ประเมนิ และค้นหาความผดิ พลาดรวมท้ังระบุความถใ่ี นการแปลผลการตรวจคดั กรองธาลสั ซเี มยี ของแตล่ ะ โรงพยาบาล ทสี่ ่งตรวจยนื ยนั Hemoglobin typing และ PCR โดยไม่มคี วามจาเป็นมายังหอ้ งปฏิบัติการ ต ร ว จ วิ นิ จ ฉั ย ธ า ลั ส ซี เ มี ย ศู น ย์ บ ริ ก า ร เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย์ ค ณ ะ เ ท ค นิ ค ก า ร แ พ ท ย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วา่ มีมากน้อยเพียงใด • D – DO (การปฏิบัตติ ามแผน) สอบถามความผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนกลับไปยังโรงพยาบาลท่ีส่งตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR โดยไม่มคี วามจาเป็นเพอ่ื หาสาเหตขุ องความผิดพลาดทีเ่ กิดขนึ้ ซึ่งสาเหตุสว่ นใหญท่ พ่ี บได้แก่ - นกั เทคนคิ การแพทย์มคี วามเข้าใจทคี่ าดเคลือ่ นในการแปลผลการตรวจคดั กรอง - นักเทคนิคการแพทย์/พยาบาล ไม่ปฏิบัติตามแนวทางการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียทาง ห้องปฏบิ ัตกิ าร กระทรวงสาธารณสขุ - แพทย์ผู้สั่งตรวจ ยืนยันการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการแม้จะทราบว่าไม่มีความจาเป็นใน การตรวจ เมื่อทราบถึงสาเหตุความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ทางห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมีย ศนู ยบ์ รกิ ารเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงได้แจ้งและอธิบาย เกี่ยวกับการแปลผลการตรวจคัดกรองที่ถูกต้องให้แก่นักเทคนิคการแพทย์ผู้ปฏิบัติงานในการตรวจและ แปลผลการคัดกรองของโรงพยาบาลที่พบความผิดพลาดก่อนหน้านี้ รวมถึงแนะนาการปฏิบัติตามแนว ทางการวินิจฉัยโรคธาลัสซเี มยี ทางห้องปฏบิ ตั ิการ กระทรวงสาธารณสขุ • C – Check (การประเมนิ ) หลังจากการแจ้งและอธิบายเกี่ยวกับการแปลผลการตรวจคัดกรองท่ีถูกต้องให้แก่นักเทคนิคการแพทย์ ผู้ปฏิบัติงานในการตรวจและแปลผลการคัดกรอง รวมถึงแนะนาการปฏิบัติตามแนวทางการวินิจฉัยโรค ธาลสั ซเี มียทางห้องปฏิบัติการ กระทรวงสาธารณสขุ พบว่ามีจานวนตวั อยา่ งสง่ ตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR ท่ีถกู ตอ้ งตามแนวทางการวนิ ิจฉัยโรคธาลัสซีเมียมากข้ึน ความผิดพลาดที่เคยเกิดข้ึนลด น้อยลง • A – Act (การปรับปรุงการดาเนินการ) ในแตล่ ะโรงพยาบาลหลังจากไดร้ บั คาแนะนาในการแปลผลการตรวจคดั กรองทถ่ี กู ตอ้ งและการปฏิบตั ติ าม แนวทางการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียทางห้องปฏิบัติการไปแล้วน้ัน สามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมมายัง ห้องปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยธาลัสซีเมีย ศูนย์บริการเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ได้ 9.2 งบประมาณทีใ่ ชใ้ นการจัดโครงการ-กจิ กรรม (ถ้าม)ี – ไมม่ ี – 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์(Measures) แสดงระดบั แนวโน้มขอ้ มลู เชงิ เปรยี บเทียบ(3ปี) และ/หรอื เปรยี บเทียบกับ หนว่ ยงานภายใน/ภายนอก 581

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การวัดผลและผลลัพธ์ของการให้คาแนะนาในการแปลผลการตรวจคัดกรองที่ถูกต้องและการปฏิบัติตามแนวทางการ วินิจฉัยโรคธาลสั ซีเมียทางหอ้ งปฏิบัตกิ ารแกน่ กั เทคนิคการแพทย์ในแตล่ ะโรงพยาบาล ระหว่างปี พ.ศ. 2563-2565 พบวา่ พ.ศ. 2563 มกี ารแปลผลการตรวจคัดกรองผิดพลาดเฉล่ียเดือนละ 10 ราย ส่งผลให้มีการตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR โดยไมจ่ าเป็นซ่ึงประเมินคา่ ใช้จ่ายทีส่ ูญเสียไปทง้ั สิ้นประมาณ 60,000 บาท พ.ศ. 2564 มีการแปลผลการตรวจคัดกรองผิดพลาดเฉล่ียเดือนละ 5 ราย ส่งผลให้มีการตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR โดยไมจ่ าเปน็ ซึง่ ประเมนิ ค่าใชจ้ า่ ยทีส่ ูญเสยี ไปท้ังส้นิ ประมาณ 30,000 บาท พ.ศ. 2565 มกี ารแปลผลการตรวจคัดกรองผดิ พลาดเฉล่ียเดือนละ 1-2 ราย ส่งผลให้มีการตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR โดยไมจ่ าเปน็ ซง่ึ ประเมินคา่ ใช้จา่ ยทส่ี ญู เสยี ไปทั้งสิน้ ประมาณ 6,000 – 10,000 บาท 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ งในอนาคต - บันทึกสถิติความผิดพลาดท่ีเกิดขึ้น โดยแยกเป็นจานวนครั้งและสาเหตุของความผิดพลาดในแต่ละ โรงพยาบาล เพอ่ื จะให้คาแนะนาและแนวทางการแก้ไขความผิดพลาดให้ตรงจุดมากย่งิ ขน้ึ - จัดอบรมเพอื่ เพิ่มความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมียทางห้องปฏิบัติการให้แก่นัก เทคนิคการแพทย์/พยาบาล หรือผู้เกีย่ วขอ้ ง 11.2 จดุ แข็ง (Strength) หรอื ส่ิงทท่ี าไดด้ ีในประเด็นทน่ี าเสนอ - สามารถลดภาระงานของนกั เทคนคิ การแพทยท์ ้งั ในห้องปฏบิ ตั กิ ารของแตล่ ะโรงพยาบาลและหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ตรวจวินิจฉยั ธาลสั ซเี มีย ศนู ย์บรกิ ารเทคนคิ การแพทย์ คณะเทคนคิ การแพทย์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - ลดคา่ ใช้จ่ายทส่ี ญู เสยี ไปโดยไม่จาเปน็ - นกั เทคนคิ การแพทย์ พยาบาล แพทย์ และผเู้ กยี่ วข้องอื่น ๆ มคี วามรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการ วินจิ ฉัยโรคธาลัสซีเมยี ทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร 11.3 กลยุทธ์ หรือปัจจัยที่นาไปสูค่ วามสาเรจ็ - นกั เทคนิคการแพทยใ์ นหอ้ งปฏบิ ัติการของแตล่ ะโรงพยาบาล ให้ความรว่ มมือในการคน้ หาความผิดพลาดของ การตรวจคัดกรองเป็นอย่างดีและมีความกระตือรือร้นที่จะทาความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการวินิจฉัยโรค ธาลัสซีเมียทางห้องปฏบิ ตั กิ าร - คณะทางานมีความมงุ่ มน่ั ในการชว่ ยลดความผดิ พลาดในการคัดกรองของแต่ละโรงพยาบาล 12. ประเดน็ (จุดเดน่ ) ทเี่ ปน็ แนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ คณะทางานและนักเทคนิคการแพทย์ในห้องปฏิบัติการของแต่ละโรงพยาบาลมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี เพื่อค้นหา ความผดิ พลาดของการตรวจคัดกรอง สง่ ผลใหล้ ดจานวนตัวอย่างส่งตรวจและค่าใชจ้ า่ ยท่ีสูญเสียไปโดยไม่จาเปน็ 13. เอกสารอา้ งองิ 1. แผนงานธาลสั ซีเมยี แหง่ ชาติ, กระทรวงสาธารณสขุ . พ.ศ. 2550-2554. การประชุมสมั มนาวชิ าการธาลัสซเี มีย แหง่ ชาตคิ ร้งั ท่ี 13 ประจาปี 2550. วนั ที่ 4-5 ตุลาคม 2550. ณ โรงแรมมริ าเคลิ แกรนด์ หนา้ 1-45. 2. แนวทางการวินจิ ฉัยและการรกั ษาโรคโลหติ จางธาลสั ซีเมยี ฉบับที่ 2 ประจาปี พ.ศ. 2557. พิมพ์คร้งั 1 กรงุ เทพมหานคร. บริษทั พ.ี เอ.ลฟิ วงิ่ จากดั ; 2557: p. 1-8. 14. บทสรุป ห้องปฏิ บัติกา รตรวจ วินิจฉั ยธาลัส ซีเมีย ศูนย์บ ริการ เทคนิค การแ พทย์ ค ณะเทคนิคกา รแพทย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ กาหนดเป้าหมายการใหบ้ รกิ ารวิชาการทางเทคนิคการแพทย์ คือ เป็นศูนย์ให้บริการในด้านการ 582

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ตรวจวิเคราะหท์ างหอ้ งปฏบิ ัติธาลสั ซีเมียสาหรับโรงพยาบาลโดยเฉพาะเขตพน้ื ทภ่ี าคใต้ คณะทางานพบว่าในบางโรงพยาบาลมี การแปลผลการตรวจคัดกรองท่ีผิดพลาด ทาให้มีตัวอย่างส่งตรวจยืนยัน Hemoglobin typing และ PCR มายังศูนย์บริการ เทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ โดยไม่จาเป็นทาให้สูญเสียเวลาและค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็นตามไปด้วย ดังน้ัน คณะทางานจึงม่งุ มน่ั ทจ่ี ะค้นหาความผดิ พลาดน้ี และไดร้ ับความรว่ มมือจากนกั เทคนิคการแพทยเ์ ป็นอย่างดี ทัง้ ในกระบวนการ คน้ หาความผิดพลาดในการตรวจคดั กรองและพร้อมที่จะเพม่ิ เตมิ ความรูค้ วามเขา้ ใจในแนวทางการตรวจวนิ ิจฉยั ธาลัสซีเมียทาง ห้องปฏิบัตกิ าร ผลลพั ธท์ ไี่ ด้คือสามารถลดภาระงาน ลดจานวนตวั อย่างส่งตรวจ และลดค่าใชจ้ ่ายในการตรวจยนื ยนั ธาลัสซเี มยี และจากข้อมูลเปรียบเทียบ 3 ปี ทาให้เห็นผลการดาเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพอย่างชัดเจน ทาให้คณะทางานมีความตั้งใจใน การพฒั นาและปรับปรงุ การใหค้ าแนะนาปรกึ ษาในการตรวจวนิ จิ ฉยั แก่โรงพยาบาลตอ่ ไป 583

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ภาคผนวก แผนภมู ิ แสดงขนั้ ตอนการตรวจกรองและการตรวจยืนยันสาหรบั วินิจฉยั พาหะ ของโรคโลหิตจางธาลสั ซีเมยี และฮีโมโกลบนิ ผดิ ปกติ ดัดแปลงจากค่มู อื ทางหอ้ งปฏบิ ัติการตรวจวินจิ ฉัยธาลสั ซเี มยี และปรมิ าณฮีโมโกลบินผิดปกติ. 2 ed. นนทบุร:ี บรษิ ัทหมัดเด็ด จากดั ; 2552. p.23. 584

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ แบบฟอร์มการส่งตรวจวินจิ ฉยั ธาลัสซเี มยี คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 585

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ตวั อย่างใบรายงานผล 586


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook