Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2564

2564

Published by Tnp., 2022-08-30 06:17:52

Description: 2564

Search

Read the Text Version

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏิบัติท่ีเปน็ เลศิ *************************************** 1. ช่อื เรื่อง “จากห้องปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตรท์ ว่ั ไปส่คู วามเปน็ ห้องปฏิบัติการมาตรฐาน ความปลอดภัยต้นแบบ ระดับชาติ” 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น ดา้ นบริหารจดั การ 3. ชอ่ื หนว่ ยงาน ห้องปฏบิ ัติการ 4 คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 4. ประเภทของโครงการ  ประเภทที่ 1 แนวปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลิศ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผา่ นการคัดเลือกโดยเวทีหรือผ้บู ริหารของคณะ)  1.1 สายวชิ าการ  1.2 สายสนบั สนุน  ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ี  1.1 สายวิชาการ  1.2 สายสนบั สนนุ 5. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลศิ 5.1 นางสาวสิริลกั ษณ์ แกว้ มณี นกั วทิ ยาศาสตร์ดแู ลหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 5.2 นางสาวเสาวคนธ์ อนิ ทรด์ ้วง นกั วิทยาศาสตรด์ ูแลห้องปฏิบัตกิ าร 5.3 นายพีรพล สรยิง นักวิทยาศาสตรด์ แู ลห้องปฏิบัติการ 5.4 นางสาวนรศิ รา แกว้ ชนะ นกั วิทยาศาสตรด์ แู ลห้องปฏบิ ตั ิการ 5.5 นายทวีศักดิ์ ปัญญาใส ดูแลด้านโครงสร้างกายภาพและสง่ิ แวดล้อม 5.6 นายปณิธาน แกว้ เจรญิ ดแู ลดา้ นโครงสรา้ งกายภาพและสงิ่ แวดลอ้ ม 5.7 นายธนกร ไกรดิษฐ์ ดแู ลดา้ นโครงสรา้ งกายภาพและสงิ่ แวดล้อม 5.8 ผศ.ดร.วรรณรัตน์ แซ่ชนั่ ดแู ลด้านประสานงานและเป็นที่ปรกึ ษา 6. การประเมนิ ปญั หา / ความเสย่ี ง (Assessment) ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เป็นห้องปฏิบัติที่มีความสำคัญในหน่วยงานการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับ คณะที่มีการเรียนการสอนที่ต้องฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับสารเคมี หรืองานวิจัยของบุคลากรที่ต้องใช้สารเคมี เมื่อมีการใช้ สารเคมีเพอ่ื การเรียนการสอน งานวิจัย หรืองานบรกิ ารวชิ าการแล้วยอ่ มต้องเกิดของเสยี อนั ตรายดา้ นสารเคมี หรือของเสยี ดา้ นชวี ภาพ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทรเ์ ปน็ หนว่ ยงานหน่ึงทีป่ ระสบปัญหาเหล่านี้ เนอ่ื งจากคณะ สัตวแพทยศาสตร์มีห้องปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตรห์ ลายหอ้ งทเี่ กี่ยวขอ้ ง หอ้ งปฏบิ ัติการ 4 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เป็นหนึ่งในหอ้ งปฏิบตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี มีการใช้สารเคมีชนิดต่าง ๆ หลากหลายประเภทและชนิด ตั้งอยู่ ณ ชั้น 4 อาคารจุฬาภรณการุณยรักษ์ คณะสัตว แพทยศาสตร์ ถนนปุณณกัณฑ์ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ก่อสร้างแล้วเสร็จปี 2558 อายุของอาคารน้ี ประมาณ 7 ปี ห้องปฏิบัติการ 4 ประกอบด้วยห้องปฏิบัติการ 2 ห้อง ห้องหลักใช้เพื่อรองรับการเรียนการสอนในวิชา 43

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ชีวเคมีทางสัตวแพทย์ วิชาภูมิคุ้มกันวิทยาทางสัตวแพทย์ วิชาชีวเคมีคลินิกทางสัตวแพทย์ วิชาวิจัยทางวิทยาศาสตร์สัตว แพทย์ วิชาเภสัชวิทยาทางสตั วแพทย์ และเป็นพืน้ ที่สำหรับงานวิจยั ของคณาจารย์และบุคลากรในคณะ ส่วนห้องย่อยเปน็ ห้องปฏิบัติ BSL2 enhance สำหรับงานวิจัยทางชีวภาพที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย์ระดับ 3* แก่คณาจารย์ นกั วจิ ยั จากต่างคณะ เช่น คณะเภสชั ศาสตร์ คณะเทคนคิ การแพทย์ เปน็ ต้น ซง่ึ ทง้ั 2 ห้องปฏบิ ัติการมกี ารใช้สารเคมีและมี การผลติ ของเสียอันตรายหลายประเภท ทั้งของเสียทเี่ กิดจากการใชส้ ารเคมี และของเสยี ทเ่ี กิดจากงานทางดา้ นชีวภาพ ซึ่ง นำไปส่กู ารระบุอันตราย หรือการระบุปญั หาท่อี าจจะเกิดขน้ึ จากการปฏบิ ตั งิ านในห้องปฏิบตั กิ าร 4 จากปจั จัยต่อไปนี้ - ระบุชนิดของสารเคมีและวัสดุที่ใช้งาน โดยระบุจากฉลาก และเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) ของสารเคมนี ั้น ๆ เพื่อนำไปสู่วิธีการใช้งาน การกำจัด และข้อควรระวังต่อผู้ใช้งาน เพื่อประเมนิ ความเส่ยี งท่อี าจเกิดอันตรายตอ่ ผูใ้ ชง้ านตอ่ ไป - ระบุเครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชง้ าน โดยทำการสำรวจ ตรวจสอบสภาพเครอ่ื งมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ว่ายังสามารถ ใชง้ านได้ปกติหรอื ไม่ จัดทำคู่มือวธิ ีการใช้งานแต่ละเครอ่ื งมอื พรอ้ มทำสมุดบนั ทกึ การใช้เครอื่ งมอื เพ่ือไว้สืบค้น กลับและประเมนิ ปัญหาทจ่ี ะเกดิ ขึ้นจากการใช้งาน - ระบลุ กั ษณะทางกายภาพของห้องปฏบิ ัตกิ าร โดยทำการสำรวจลกั ษณะทางกายภาพโดยรอบตั้งแต่ ระยะห่าง ทิศทางของทางเดิน ระบบไฟฟ้า ระบบระบายอากาศ แสงสว่าง ความร้อน ระบบฉุกเฉิน และระบบการ ติดตอ่ สือ่ สารเม่อื เกิดเหตุการณท์ ี่ไม่พึงประสงค์ จากการระบุถึงสาเหตุและปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในห้องปฏิบัติการ 4 แล้ว ทางทีมคณะทำงานจึงได้ร่วมกัน ประเมินความเสี่ยงที่อาจะเกิดขึ้น โดยนำระบบการประเมินความเสี่ยงในระบบเมทริกซ์ ซึ่งประกอบด้วยการระบุ ความ เป็นอันตราย (hazard) กับความเป็นไปได้ในการรับสัมผัส (probability of exposure) หรือ ความเป็นไปได้ที่จะเกิดขน้ึ (likelihood/probability) กับผลลัพธ์ที่ตามมาด้านสุขภาพและ/หรือความปลอดภัย (health and/or safety) ซึ่งการ ประเมินความเสี่ยงครอบคลุมในระดับบุคคล, ระดับโครงการ และระดับห้องปฏิบัติการที่อาจเกิดขึ้นได้ เพื่อวางแผนการ ป้องกันและจดั การความเสี่ยงในแตล่ ะระดับ เป็นการป้องกนั ภยั และลดความเสยี หายทีอ่ าจเกดิ จากปัจจยั เสีย่ งตา่ ง ๆ ทีม่ ี ผลจากการประเมินปญั หาและความเส่ยี งทอี่ าจเกิดขึน้ สามารถจำแนกได้ดงั นี้ - ความเสี่ยงจากสารเคมี เนื่องจากห้องปฏิบัติการ 4 มีผู้ใช้บริการจากหลายหลายระดับตั้งแต่ระดับ นักศึกษา คณาจารย์ นักวิจัยที่มาใช้บริการห้องปฏิบัติการ นักวิทยาศาสตร์ประจำแต่ละรายวิชา และบุคลากรผู้มาทำ ความสะอาด ซึ่งระดับความรู้ ความสามารถในการใช้หรือสัมผัสกับสารเคมีในห้องปฏิบัติการแตกต่างกัน จึง ก่อให้เกิดความเสี่ยงของการสัมผัสกับสารเคมีกับสุขภาพของผู้มาใช้ห้องปฏิบัติการนี้ได้ อีกทั้งเมื่อใช้สารเคมี แล้วเกิดของเสียจากการใช้สารเคมีเหล่านี้ ไม่มีการกำจัดให้ถูกต้องตามมาตรฐานการกำจัดของเสยี อนั ตราย ก็ จะทำให้ของเสยี เหลา่ นอ้ี อกสชู่ มุ ชนและสง่ิ แวดลอ้ มไดด้ ว้ ย - ความเส่ียงจากการใช้เครือ่ งมือและอุปกรณใ์ นห้องปฏิบตั ิการ จากการที่ห้องปฏิบัติการ 4 ใช้สำหรับการเรียน การสอนหลายหลายรายวิชาทำให้มเี คร่ืองมือ อุปกรณ์ เครอ่ื งแกว้ จำนวนมากและหลากหลายชนดิ ทำใหค้ วาม เข้าใจในการใช้เครือ่ งมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ เกิดความสับสน ใช้งานไม่ถกู ต้อง ก่อให้เกิดความเสี่ยงอนั ตรายตอ่ ผูใ้ ชง้ าน และอปุ กรณ์ เครอื่ งมอื เหลา่ น้ันได้ ทำใหต้ อ้ งเสียค่าใช้จา่ ยในการซอ่ มแซมเครื่องมอื และอาจทำให้ผู้ใช้ เกิดการบาดเจ็บไดด้ ้วย - ความเสี่ยงจากลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ เนื่องจากโครงสร้างทางกายภาพของอาคารและ ห้องปฏิบัติการมีการออกแบบและดำเนินการก่อสร้างมามากกว่า 7 ปีที่แล้ว ทำให้ระบบบางระบบเช่น ระบบ 44

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ไฟฟ้า ความเข้มแสงไม่ไดต้ ามมาตรฐานของอาคารในปจั จุบัน จำนวนปล๊กั ไฟไมพ่ ยี งพอก็จำนวนเคร่ืองมือท่ีเพ่ิม มากขึ้น ระบบฉุกเฉินเช่นระบบแสงสว่างฉุกเฉินเสื่อมสภาพ ไม่ทำงานเมื่อเกิดไฟฟ้าดับ ระบบฝักบัวและที่ล้าง ตาฉุกเฉินทำงานไดไ้ มเ่ หมาะสม ความดันน้ำน้อยหรือแรงเกนิ ไป การขาดการดูแลและตรวจเชค็ สภาพอปุ กรณ์ ดับเพลิงต่าง ๆ ก่อให้เกิดความเสี่ยงอันตรายต่อชีวิตของบุคลากรผู้ใช้งาน และเสี่ยงอันตรายเกิดเพลิงไหม้ต่อ อาคารหน่วยงานได้ 7. เป้าหมาย/วตั ถุประสงคข์ องโครงการ ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสำคัญกับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัย โดยเฉพาะห้องปฏิบัติการท่ี เกี่ยวข้องกับการใช้สารเคมี ทางสำนักงานการวิจัยแหง่ ชาติ (วช.) ได้วางเป้าหมายให้ห้องปฏบิ ตั ิการที่เกีย่ วข้องกับสารเคมี ในประเทศมีมาตรฐานทัดเทียมกับนานาชาติ เพื่อควบคุมกำกับดูแลด้านความปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมต่อ ผู้ปฏบิ ตั ิงานและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้อง คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงานการศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตด้านสัตวแพทย์ ทางภาคใต้ มีการพัฒนางานด้านการเรียนการสอนและการวิจัยในสาขาต่าง ๆ ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งที่มีห้องปฏิบัติการท่ี เกี่ยวข้องกับสารเคมีและของเสียอันตรายที่หลายหลายประเภท จึงเห็นควรว่า “ห้องปฏิบัติการ 4” ซึ่งมีการใช้สารเคมี สำหรับการเรียนการสอนและการวิจัย ควรจะยกระดับห้องปฏิบัติการให้ได้มาตรฐานความปลอดภัยที่สูงขึ้น และได้ มาตรฐานที่ถูกต้อง ห้องปฏิบัติการ 4 คณะสัตวแพทยศาสตร์จึงได้เสนอโครงการ “จากห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ท่ัวไปสู่ความเปน็ ห้องปฏิบัติการปลอดภยั ตน้ แบบระดับชาติ” ขน้ึ วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการ 4 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้เป็น ห้องปฏิบัติการปลอดภัยระดับชาติตามมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย (Enhancement of Safety Practices in Research Laboratory in Thailand, ESPReL) และเป็นตัวอย่างห้องปฏิบัติการวิจัยปลอดภัย ใหก้ ับมหาวทิ ยาลยั อ่นื ๆ และหน่วยงานเอกชน ในภูมภิ าคทางใต้ 8. ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั 8.1 อาจารย์ นักวิจัย นักศึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง มีความปลอดภัยจากการปฏิบัติงาน เมื่อปฏิบัติงานใน ห้องปฏบิ ตั กิ าร 4 ชนั้ 4 อาคารจฬุ าภรณการุณยรักษ์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 8.2 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ไดห้ อ้ งปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ปลอดภยั ตน้ แบบ สำหรบั ภมู ิภาคทางใต้ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ กี าร/แนวทางการปฏิบัติจรงิ (PDCA) ข้นั ตอนวิธกี ารดำเนินโครงการใช้หลักการ PDCA ในการปฏบิ ตั กิ ารจรงิ โดยเริ่มจาก 9.1.1 เริ่มจากวิสัยทัศน์ของผู้บริหารองค์กรระดบั มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ นำโดยผู้อำนวยการสำนักวจิ ยั และ พัฒนาคนปจั จุบนั (รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ ศิลป์ มณรี ตั น)์ ได้เล็งเหน็ ถงึ จัดการองคก์ รให้มีห้องปฏิบัติการท่ี เกี่ยวข้องกับสารเคมีและสารชีวภาพที่มีความปลอดภัยสำหรับการทำงาน มีความน่าเชื่อถือ และเป็น แบบอยา่ งให้กับห้องปฏิบัตกิ ารอนื่ ๆ ในองคก์ ร ห้องปฏิบัตกิ าร 4 คณะสัตวแพทยศาสตร์จึงไดร้ ับข้อเสนอที่ จะการพัฒนาห้องปฏิบัติการดังกล่าวให้เป็นห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ปลอดภัยตามมาตรฐานความ ปลอดภัยห้องปฏิบตั ิการวจิ ัยในประเทศไทย 45

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 9.1.2 Plan : ประเมินถึงข้อบกพร่องและความเสี่ยงต่าง ๆ ข้อมูลสถานภาพเริ่มต้นโครงการ เช่นระบุความเป็น อันตรายด้านเคมี ชีวภาพ และความเป็นอันตรายอื่นๆ พร้อมทำการประเมินความเสี่ยงของกิจกรรมใน ห้องปฏิบัติการ รวมถึงระบุอุปกรณ์ ลักษณะทางกายภาพของโครงสร้างอาคาร ระบบการป้องกันอันตราย ต่าง ๆ ตามองคป์ ระกอบความปลอดภัยของหอ้ งปฏิบัติการ ESPReL ทั้ง 7 องค์ประกอบ โดยใช้แบบสำรวจ (checklist) ที่กำหนดขึ้นโดยกองมาตรฐานการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติตามที่อยู่ต่อไปน้ี http://esprel.labsafety. nrct.go.th/checklist.asp 9.1.3 Do : จัดการแก้ไขข้อบกพร่องในแต่ละองค์ประกอบทั้ง 7 องค์ประกอบ ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบที่ 1 (การบริหารระบบการจัดการด้านความปลอดภัย) องค์ประกอบที่ 2 (ระบบการจัดการสารเคมี) องค์ประกอบที่ 3 (ระบบการจัดการของเสีย) องค์ประกอบที่ 4 (ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ) องค์ประกอบที่ 5 (ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอนั ตราย) องค์ประกอบท่ี 6 (การ ให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ) องค์ประกอบที่ 7 (การจัดการข้อมูลและ เอกสาร) ที่ประเมนิ ไดจ้ ากขอ้ 9.1.2 9.1.4 Check : ตรวจตดิ ตามประเมนิ ผลการปรบั ปรงุ ขอ้ บกพร่องของแตล่ ะองค์ประกอบทไ่ี ดด้ ำเนินการแก้ไขแล้ว โดยคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตรวจติดตามผลจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และคณะกรรมการบริหาร โครงการจากศูนย์บริหารจัดการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ม.อ. 9.1.5 Act : วางแผนพัฒนา และปรับปรุงตามข้อเสนอแนะจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้ให้คำแนะนำจากข้อ 9.1.4 เพ่ือใหไ้ ด้ผลการประเมนิ ESPReL checklist ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ 80% ทุกองค์ประกอบ เพ่ือให้ได้รับ การแต่งต้ังเป็นให้เปน็ หอ้ งปฏิบัตกิ ารวิจัยปลอดภยั ตน้ แบบแห่งชาติ 9.1.6 ดำเนนิ การทบทวน เรียนรู้ วางแผนพัฒนา/ปรับปรุง ขยายผลให้ความรู้ และเป็นตน้ แบบในการพัฒนาให้กับ หอ้ งปฏบิ ัติการอ่ืนทัง้ ภายใน ภายนอกคณะสัตวแพทยศาสตร์ จนถึงหนว่ ยงานอื่นระดบั ภมู ิภาคทางใต้ตอ่ ไป 9.2 งบประมาณทใ่ี ช้ในการจัดโครงการ-กิจกรรม ได้รับการสนับสนุนโครงการดำเนินงานจาก ทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและพฒั นายกระดับมาตรฐาน “ห้องปฏิบัติการ 4 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกบั ศูนย์บริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามยั และส่ิงแวดล้อมในการทำงาน มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ จำนวน 380,000 บาท 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมลู เชิงเปรียบเทยี บ (3 ป)ี และ/หรอื เปรียบเทียบกบั หน่วยงาน จากการดำเนินงานเพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการ 4 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้เป็น ห้องปฏิบัติการปลอดภัยต้นแบบระดับชาติ นั้นเริ่มจากการดำเนินการกอ่ นการปรับปรุงเมื่อเดือนกรกฎาคม 2563 จนถึง ปจั จบุ ัน เดอื นพฤษภาคม 2565 น้ัน คะแนนผลการประเมนิ ESPReL checklist มผี ลการดำเนินงานดงั น้ี ตารางที่ 1. ตารางเปรียบเทียบระดับคะแนน ESPReL checklist แต่ละองค์ประกอบของห้องปฏิบัติการ 4 คณะสตั วแพทยศาสตร์ 46

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ องคป์ ระกอบ % คะแนนกอ่ น % คะแนน % คะแนนปจั จบุ นั เร่ิมโครงการ หลงั ส้นิ สุดโครงการ พฤษภาคม 2565 กรกฎาคม 2563 สิงหาคม 2564 1. การบรหิ ารระบบการจัดการดา้ นความปลอดภยั 36.7 100 100 2. ระบบการจดั การสารเคมี 51.4 100 100 3. ระบบการจดั การของเสยี 69.8 100 100 4. ลกั ษณะทางกายภาพของหอ้ งปฏบิ ตั ิการ อปุ กรณ์ 82.1 100 100 และเครื่องมือ 5. ระบบการป้องกันและแกไ้ ขภยั อันตราย 43.1 93.8 100 6. การให้ความรูพ้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั ดา้ นความปลอดภัยใน 3.7 100 100 89.3 100 ห้องปฏบิ ตั ิการ 7. การจัดการขอ้ มลู และเอกสาร 21.4 คะแนนรวม 49 97.8 100 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอย่างตอ่ เนือ่ งในอนาคต จากผลลัพธ์ที่ได้ของการทำโครงการ “จากห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ทั่วไปสู่ความเป็นห้องปฏิบัติการ มาตรฐานความปลอดภัยตน้ แบบระดบั ชาติ” ทำให้ห้องปฏิบตั ิการ 4 คณะสตั วแพทยศาสตรไ์ ดร้ บั การพัฒนายกระดับให้ เป็นห้องปฏิบัติการวิจัยปลอดภัยต้นแบบห้องหนึ่งในภูมิภาคภาคใต้ (ขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินการมอบเกียรติบัตร สญั ลกั ษณ์หอ้ งปฏิบัตกิ ารมาตรฐานความปลอดภยั และโล่ จากสำนกั การวจิ ัยแห่งชาติ) ถึงแมว้ า่ ปัจจุบันหอ้ งปฏิบัติการ 4 จะได้รับการยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการแล้วก็ตาม ทั้งผู้บริหารองค์กรและทมี ผู้ร่วมพฒั นาโครงการก็มิได้หยุดอยู่ เพยี งเทา่ นี้ แตย่ งั มีแผนการพฒั นาคุณภาพอยา่ งต่อเนอ่ื งดังนี้ - การพฒั นาด้านบคุ ลากร 1. องค์กรมีการส่งเสริมให้บุคลากรที่ร่วมโครงการได้พัฒนาตนเองให้มีความรู้ด้านมาตรฐานความปลอดภัย ห้องปฏิบัติการมากขึ้น ยกระดับจากการเปน็ เพยี งผู้ปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์ใหเ้ ปน็ วิทยากรด้านมาตรฐาน ความปลอดภยั ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตรร์ ะดับโรงเรียน เพ่ือขยายขอบเขตและจำนวนห้องปฏิบัติการ ระดับโรงเรยี นให้ไดม้ าตรฐานความปลอดภยั มากขึน้ 2. บุคลากรผู้ร่วมโครงการเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหาร การจัดการ ความปลอดภัยหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแกห่ น่วยงานตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกองคก์ ร 3. พัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้ตรวจประเมินภายในตามมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ เพื่อเสริมสร้าง ความชำนาญของบคุ ลากรใหม้ ากขึ้น 4. เชิญชวนและสร้างแรงจูงใจให้นักวิทยาศาสตร์ที่ประจำอยู่ห้องปฏิบัติการอื่น ๆ ในคณะฯ ให้ดำเนินการ พัฒนาห้องปฏิบัติการที่ตนเองรับผิดชอบอยู่ให้เป็นห้องปฏิบัติการที่มีมาตรฐานความปลอดภัยมากขึ้น มี การแลกเปลย่ี นเรยี นรกู้ ันในแต่ละสว่ นงานมากขนึ้ 47

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ - การพฒั นาด้านการบริหารจดั การ 1. ผ้บู รหิ ารองค์กรระดับคณะเล็งเห็นถงึ ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากโครงการ ก่อใหเ้ กดิ ความปลอดภัยในการทำงาน เกี่ยวกับสารเคมีต่อบุคลากรในคณะฯ และช่วยลดมลภาวะการปล่อยสารเคมีสู่สิ่งแวดล้อม ผู้บริหารจงึ ได้ ต้ังเป็น OKR เปา้ หมายขององคก์ รขอ้ หน่ึงทีใ่ ช้เป็นตัวช่ีวดั ใหบ้ คุ ลากรดำเนินการ 2. เกิดการวางแผนการทำงานท่เี กย่ี วข้องกับระบบความปลอดภัย การตอบโต้เหตุฉุกเฉนิ อย่างตอ่ เนอื่ ง มีการ กำหนดและปฏบิ ตั ิตามแผนท่ีวางไวอ้ ยา่ งชัดเจน เชน่ มีการอบรมแผนตอบโต้เหตฉุ กุ เฉนิ และซ้อมการระงับ อัคคีภัยในองค์กร จากเดิมที่ห่างหายการอบรมเรื่องนีม้ านาน เป็นการสรา้ งความปลอดภัยให้กับบุคลากร เดิม บุคลากรใหม่ รวมถึงสัตว์ป่วยและเจ้าของสัตว์ซึ่งเป็นลูกค้าที่มาใช้บริการ ณ โรงพยาบาลสัตว์ ให้มี ความปลอดภยั สามารถอพยพและหนีไฟได้อย่างถกู ตอ้ ง ไม่เกิดอันตรายท่ีร้ายแรง อีกทั้งยังก่อให้เกิดความ ปลอดภยั ต่ออาคารคณะสัตวแพทยศาสตรอ์ ีกดว้ ย 3. มีการพัฒนานำระบบบริหารจดั การความปลอดภัยหอ้ งปฏิบตั กิ ารใหม่ ๆ (Smart Lab Platform) มาปรับ ใชอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง เชน่ การนำระบบดจิ ิทลั อจั ฉรยิ ะเพ่ือการบริหารจัดการความปลอดภยั ในห้องปฏิบตั ิการมา ใช้งานให้มากขึ้น ระบบ REAL-TIME RECORDS ของการบริหารจัดการสารเคมี การเพิ่ม การเบิก การ ติดตาม การจัดเก็บ และการรายงานของสารเคมีและของเสยี ที่เกดิ ขนึ้ 4. มีการขยายผลไปสู่ห้องปฏิบัติการอื่นที่อยู่ในคณะสัตวแพทยศาสตร์ให้จัดทำมาตรฐานความปลอดภัย ห้องปฏบิ ัติการเพ่ิมข้นึ เช่น หอ้ งปฏบิ ตั ิการโลหิตวิทยาและชวี เคมี ศูนยช์ นั สตู รโรคสัตว์ ได้เข้าร่วมโครงการ มหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ปี 2564 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จนได้รับรางวัลการนำเสนอผลงานประเภทโปสเตอร์ระดับดี ในการประชุมวิชาการด้านมาตรฐานความ ปลอดภัยหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ประจำปี พ.ศ. 2564 จากสำนักงานการวจิ ยั แห่งชาติ 11.2จุดแข็ง (Strength) หรือ ส่งิ ทท่ี ำไดด้ ใี นประเดน็ ที่นำเสนอ ห้องปฏิบัติการ 4 คณะสัตวแพทยศาสตร์ สามารถพัฒนาจากห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ทั่วไปสู่ ห้องปฏิบัตกิ ารมาตรฐานความปลอดภัยต้นแบบระดับชาติได้นั้น จุดแข็งของห้องปฏิบตั ิการนี้คือ เป็นห้องปฏิบัติการใน อาคารที่มีอายุของอาคารยังไม่เกิน 10 ปี ทำให้โครงสร้างทางกายภาพรองรับตามมาตรฐานการก่อสร้างอาคาร และ รองรับตามมาตรฐานห้องปฏิบัติการ เช่น ระบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง งานวิศวกรรมสุขาภิบาล ระบบระบายอากาศ และปรบั อากาศ ระบบฉกุ เฉนิ และระบบติดต่อส่อื สาร ไวแ้ ลว้ การพัฒนาใหอ้ งค์ประกอบน้ผี ่านตามเกณฑ์ก็จะไม่ยากนัก ยกเว้น งานวิศวกรรมสถาปัตยกรรมภายใน ที่มีการดัดแปลงสถาปัตยกรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ภายในอาคาร รวมทั้งเมื่อมี ครุภัณฑ์เครื่องมือมากขึ้นตามงบประมาณเพื่อการเรียน การสอน วิจัย มากขึ้น จึงต้องมีการเพ่ิมเติมในเรื่องของปลั๊กไฟ และระบบไฟฉุกเฉิน เพื่อรองรับเครื่องมือที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับด้วยความที่เนื้อที่อาคารมีจำกัด จึงต้องมีการจัดวาง เครื่องมอื ให้เหมาะสม ไดร้ ะยะหา่ งตามมาตรฐานท่ีควรจะเป็นตามข้อกำหนด 11.3 กลยุทธ์ หรอื ปัจจัยที่นำไปส่คู วามสำเรจ็ กลยุทธ์และปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จคือ วิสัยทัศน์ของผู้บริหารองค์กรทั้งจากผูบ้ ริหารระดับมหาวิทยาลัย ผู้บริหารระดับคณะฯ ที่เห็นด้วยและสอดคล้องกับนโยบายยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการของสำนักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สนับสนุนให้บุคลากรที่รับผิดชอบห้องปฏิบัติการ 4 เข้าร่วมโครงการพัฒนาตัวอย่าง ห้องปฏิบัติการวจิ ยั ปลอดภัย ระยะที่ 2 อีกทัง้ ผ้บู รหิ ารระดับมหาวิทยาลยั ได้สบทบงบประมาณ ร่วมกับงบประมาณจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ทำให้เกิดความมุ่งมั่นที่จะทำให้เกิดห้องปฏิบัติการต้นแบบที่มีความปลอดภัยตอ่ สุขภาพต่อผูใ้ ชง้ าน ผทู้ ี่เกย่ี วข้อง และปลอดภยั ต่อสงิ่ แวดลอ้ มท่ปี ระชาชนทั่วไปอาศัยอยู่ 48

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ความสำเร็จของโครงการจะเกิดขึ้นไม่ได้เลยถ้าหากปราศจากความเข้าใจ ความร่วมมือ ร่วมใจกันของ บคุ ลากรท้ังองค์กร ทช่ี ว่ ยกันปรบั ปรุง แกไ้ ข และปฏบิ ตั ิให้เปน็ ไปตามขอ้ กำหนดที่ถกู ต้อง ปลอดภัย เช่น องค์ประกอบที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการด้านสารเคมี ตั้งแต่เรื่องของระบบการจัดการสารเคมีในองค์ประกอบที่ 2 ระบบการจัดการ ของเสีย ในองค์ประกอบท่ี 3 รวมถึงระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย ต่าง ๆ ในองค์ประกอบที่ 5 ซึ่งต้องใช้ ระยะเวลาในการดำเนินงานเพ่อื สำรวจสารเคมีตา่ ง ๆ ท่ีมหี อ้ งปฏิบตั กิ าร เพือ่ จดั ทำแบบฟอรม์ รายการสารเคมที ีม่ ี วธิ กี าร ทำลายที่ถูกต้อง รวมถึงการจัดการแหล่งที่เก็บสารแต่ละประเภทให้เหมาะสม การจัดหาอุปกรณ์การรองรับของเสียท่ี เกิดขึน้ จากปฏิบตั กิ าร การส่งกำจัดสารอันตรายทไ่ี ด้มาตรฐาน และเมอ่ื มีการวิเคราะหค์ วามเสย่ี งที่เกิดข้ึนแล้วต้องมีการ จัดหาอปุ กรณ์ตอ้ งกนั ตัวให้ปลอดภยั จากความเสย่ี งท่จี ะเกิดขึ้นไดด้ ว้ ย เชน่ ชดุ PPE ทเี่ หมาะสมอีกด้วย ฉะนั้นปัจจัยที่นำไปสู้ความสำเร็จให้ได้นั้น ต้องอาศัยนโยบายของผู้บริหาร บุคลากรผู้ทำงาน และการ สนับสนุนงบประมาณทีเ่ พยี งพอในการพฒั นาห้องปฏิบัตกิ ารปลอดภยั ท่ไี ดม้ าตรฐานระดับสากล 12. ประเด็น (จดุ เดน่ ) ท่ีเป็นแนวปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลิศ ประเด็น (จุดเด่น) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศคือ การนำวงจรบริหารงานคุณภาพ ซึ่งประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน Plan-Do-Check-Act หรือ PDCA ที่เริ่มจากการวางเป้าหมายที่มุ่งมั่นว่าจะต้องทำให้สำเร็จ ไปให้ถึง แล้วจึงร่วมกัน วางแผนงานระบุและวเิ คราะห์ปญั หา สาเหตุ ความเสยี่ งตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วข้อง นำไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ ดำเนนิ การตามแผนที่วางไว้ เพื่อแกป้ ญั หาแต่ละปัญหาทีไ่ ด้ระบุไว้ เมื่อได้ดำเนินการเสร็จแล้วจะต้องมกี ารรายงานผลและตรวจสอบ มีการประเมินผล จากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญในด้านน้ัน ๆ เพื่อนำเอาข้อเสนอแนะนั้นมาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องที่ยังมีอยู่ และ วางแผนใหม่ต่อไป เป็นกระบวนการที่ใช้ปรับปรุงการทำงานของโครงการอย่างเป็นระบบ โดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหา และเกดิ การพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง โครงการกจ็ ะมีการพฒั นาให้ดยี งิ่ ๆ ขน้ึ ไปและมีการพฒั นาอยา่ งไม่มที ีส่ ิ้นสุด 13. เอกสารอา้ งอิง 13.1 สำนกั งานรางวัลคุณภาพแหง่ ชาต.ิ เกณฑร์ างวัลคณุ ภาพแห่งชาติ ปี 2565-2566. กรงุ เทพมหานคร: บริษทั โรงพิมพ์ ตะวนั ออก จำกดั (มหาชน); 2564. 13.2 โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏบิ ตั ิการวจิ ัยในประเทศไทย. คู่มือการประเมนิ ความปลอดภัยห้อง ปฏิบัติการ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2558. 13.3 สุชาตา ชินะจิตร. บนเสน้ ทางระบบมาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั ิการ. กรงุ เทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศ ดา้ นการจดั การสิ่งแวดล้อมและของเสียอนั ตราย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ; 2556. 13.4 โครงการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย. แนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยใน ห้องปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: ศนู ย์ความเป็นเลิศด้านการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มและของเสียอนั ตราย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ; 2555. 13.5 สุชาตา ชินะจิตร. ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ : พัฒนาได้อย่างไร ใช้จริยธรรมสร้างความตระหนักรู้สู่ วัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ความเป็นเลิศ ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ; 2555. 49

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 14. บทสรปุ โครงการ “จากห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ทั่วไปสู่ความเป็นห้องปฏิบัติการมาตรฐานความปลอดภัยต้นแบบ ระดับชาติ” เป็นโครงการที่ได้ดำเนินการขน้ึ จากการจดุ ประกายเลก็ ๆ แตว่ ่าทา้ ทายจากผบู้ ริหารระดับมหาวิทยาลัย นำไปสู่ การขอทุนสนบั สนุนระดบั ชาตอิ ย่างสำนกั งานการวิจัยแหง่ ชาติ เพ่อื พฒั นาหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารท่ใี ช้สำหรับการเรียนการสอนของ นักศึกษาคณะสัตวแพทยศาสตร์ต้ังแต่ชั้นปีท่ี 1 จนถึงชั้นปีที่ 6 เพื่อสนับสนุนรายวิชาชวี เคมีทางสัตวแพทย์ ชีวเคมีคลินกิ ทางสัตวแพทย์ ภูมิคุ้มกันวิทยาทางสัตวแพทย์ พิษวิทยา และวิชาวิจัยทางสัตวแพทย์ ท่ีมีการใช้สารเคมีหลายชนิดทั้งที่มี อันตรายตั้งแต่ระดับสูง เช่นกรดชนิดต่าง ๆ จนถึงระดับต่ำ เช่น เกลือแกง (sodium chloride) ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อ สุขภาพนักศึกษา อาจารย์ หรือ ผู้ที่มีโอกาสสัมผัสกับสารเคมีเหล่านี้ เช่นแม่บ้าน และพนักงานทำความสะอาดเครื่องแกว้ และอปุ กรณ์วทิ ยาศาสตร์ จนเปน็ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารที่มมี าตรฐานความปลอดภัยตน้ แบบระดบั ประเทศได้ การยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการจะทำให้สำเร็จได้น้ันต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจ ของ บุคลากรทุกฝ่าย รวมทั้งการสนับสนนุ ทั้งนโยบาย งบประมาณ จากผู้บริหารองค์กร เพื่อให้เกิดความมุ่งมัน่ ที่จะทำใหเ้ กดิ หอ้ งปฏิบตั ิการต้นแบบทมี่ คี วามปลอดภัยต่อสุขภาพต่อผูใ้ ช้งาน และปลอดภยั ตอ่ สิ่งแวดล้อมท่ีประชาชนทั่วไป รวมถึงต้อง มีการนำเอาแนวปฏิบตั ิที่เป็นระบบอย่าง วงจรบริหารงานคุณภาพ (PDCA) มาใช้ ซึ่งเป็นระบบบรหิ ารที่มีความสำคญั ที่ ใช้เพื่อแก้ปญั หาและเกิดการพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ ง ปัจจุบันผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินการ โครงการยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ตามมาตรฐานความ ปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย ทำให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะสัตวแพทยศาสตร์ มี หอ้ งปฏบิ ัติการมาตรฐานความปลอดภัยตน้ แบบเพ่ิมขนึ้ 1 ห้องจากเดิมทไี่ มเ่ คยมมี าก่อน เพ่อื ใชเ้ ปน็ แหล่งเรียนรู้ และเป็น ต้นแบบในการจัดการเรื่องความปลอดภัยสำหรับคณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เอง รวมถึงเป็นหน่วยงาน ตน้ แบบในการจดั การมาตรฐานความปลอดภยั หอ้ งปฏิบตั ิการ ให้กับมหาวิทยาลยั อ่ืน ๆ หน่วยงานเอกชน ในภูมิภาคทาง ใตไ้ ด้อีกด้วย ประโยชน์เชิงประจักษ์ในการถ่ายทอดประสบการณ์ในการทำโครงการคือ สามารถขยายผลไปสู่ห้องปฏิบัติการ โลหิตวิทยาและชีวเคมี ศูนย์ชันสูตรโรคสัตว์ ให้เข้าร่วมโครงการมหาวิทยาลัยแม่ข่ายด้านมาตรฐานความปลอดภัย ห้องปฏบิ ตั กิ าร ปี 2564 มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ และได้รับรางวลั จากการนำเสนอผลงานประเภทโปสเตอร์ระดับดี ในการประชมุ วชิ าการดา้ นมาตรฐานความปลอดภัยหอ้ งปฏิบตั กิ าร ประจำปี พ.ศ. 2564 จากสำนักงานการวจิ ยั แห่งชาติ บทสรุปจากการทำโครงการนี้ ทำให้ผู้บริหารระดับคณะเห็นความสำคัญในเรื่องของความปลอดภัยของ ห้องปฏิบัติการจนออกมาเป็นนโยบายให้ทุกห้องปฏบิ ัตกิ ารดำเนินการให้มีความปลอดภัยให้ได้ตามมาตรฐานระดับชาติ อาจารย์ นกั วิจัย นักศึกษาและบคุ ลากรท่เี กยี่ วขอ้ ง มีความปลอดภัยจากการปฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ ไม่ปล่อยของเสียอนั ตราย จากห้องปฏิบัติการสู่สิ่งแวดล้อม เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงานทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ระดับแม่บ้าน หน่วยรักษาความ ปลอดภัย เจ้าหน้าที่ฝ่ายโครงสร้างกายภาพ นักวิทยาศาสตร์ อาจารย์ นักวิจัย รวมถึงนักศึกษา มีความเข้าใจถึงการ จัดการความปลอดภัยทั้ง 7 องค์ประกอบ และร่วมมือรักษาระเบียบปฏิบัติของห้องปฏิบัติการ การดูแลตรวจตราส่ิง ผิดปกติทั้งในเรื่องของระบบ ลักษณะกายภาพภายในคณะ เมื่อพบสิ่งที่ผิดปกติจะต้องรายงานต่อผู้ดูแล เพื่อป้องกัน อันตรายท่ีอาจจะเกิดขนึ้ ร้ายแรงตามมา และนำไปส่กู ารปฏบิ ตั ไิ ปในทิศทางเดยี วกันดงั เปา้ หมายของโครงการท่ีจะพัฒนา ให้ดยี ิง่ ๆ ข้นึ ไป 50

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 51

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ภาคผนวก ภาพกิจกรรมประกอบการดำเนนิ โครงการตามองคป์ ระกอบมาตรฐานความปลอดภัยทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ภาพแสดงแผนภูมิการพฒั นาการของการยกระดบั มาตรฐานความปลอดภยั ของห้องปฏิบัติการ 4 52

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การเตรียมความพร้อม/ตอบโตภ้ าวะฉุกเฉิน 53

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ Oral Presentation ห้องย่อยท่1ี HR & Environment 54

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏิบตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ *************************************** 1. ช่ือเร่ือง “การขบั เคลื่อนการเข้าสตู่ ำแหน่งทางวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ พรอ้ มระบบ ก.พ.อ. 03 online” 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น ด้านบรหิ ารจัดการ 3. ชอ่ื หน่วยงาน งานบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ ร่วมกบั หน่วยเทคโนโลยสี ารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ 4. ประเภทของโครงการ ❑ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคัดเลือกโดยเวทหี รือผู้บริหารของคณะ)  1.1 สายวชิ าการ  1.2 สายสนับสนนุ ❑ประเภทท่ี 2 แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี  2.1 สายวิชาการ  2.2 สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏบิ ัตทิ เี่ ป็นเลศิ หัวหน้างานบริหารทรัพยากรมนษุ ย์ 1) นางสาวศริ พิ ร เทพอรัญ งานบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์ 2) นายวันชยั วรรณโณ หนว่ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ 3) นายภษู ติ แซอ่ ยุ้ งานบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ 4) นางสาวศรณั ยา นพสุวรรณ งานบริหารทรัพยากรมนุษย์ 5) นายชญานนท์ พรอ้ มมลู งานบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์ 6) นางสาวพมิ พาภรณ์ ชมุ สวุ รรณ์ งานบริหารทรัพยากรมนษุ ย์ 7) นางสาวกชภัส ไพยรัตน์ หวั หนา้ งานสนบั สนุนการวจิ ัย 8) นางสาวธนภัทร สุระกลุ รองคณบดฝี า่ ยพฒั นาบคุ ลากรและวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา รองคณบดฝี า่ ยเทคโนโลยีและสนับสนนุ การเรยี นการสอน 1) รองศาสตราจารย์ ดร.อรุ าพร วงศ์วัชรานนท์ รองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั และนวัตกรรม 2) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จารณุ ี ดวงสุวรรณ รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการและการศึกษา 3) รองศาสตราจารย์ ดร.พมิ ลศรี มิตรภาพอาทร 4) รองศาสตราจารย์ ดร.สทุ ธดิ า รกั กะเปา 6. การประเมินปัญหา/ความเส่ยี ง (Assessment) เน่ืองจากคณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เป็นคณะทม่ี ีขนาดองค์กรใหญ่ รับผดิ ชอบการเรยี น การสอนหลายหลกั สตู ร จงึ ต้องมอี าจารยส์ ายวิชาการจำนวนมาก แม้จะมีการกำหนดคณุ สมบัติเรอื่ งวฒุ ิการศึกษา แต่ ก็จำเป็นจะต้องมีการพัฒนาตนเองและการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ซึ่งงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะ วิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่โดยตรงในการพัฒนาบุคคลากรของคณะวิทยาศาสตร์ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน แต่ 55

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ พบว่าจากผลการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เมื่อปี พ.ศ 2562 คณะ วิทยาศาสตร์มีความเสี่ยงในเรื่องจำนวนของอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการซึ่งยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของ มหาวทิ ยาลยั โดยตอ้ งมีจำนวนอาจารย์ทด่ี ำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่น้อยกว่า 60% ของจำนวนอาจารย์ทั้งหมด ซึ่ง ในปงี บประมาณ 2562 คณะวทิ ยาศาสตรม์ จี ำนวนอาจารยท์ ่ีดำรงตำแหน่งทางวชิ าการ คิดเปน็ 55.91% ของจำนวน อาจารย์ทั้งหมด การดำรงตำแหน่งทางวิชาการถือเป็นความก้าวหน้าของอาชีพและเป็นปัจจัยสำคัญในเรื่องความ ผูกพัน นอกจากนี้ ยงั แสดงถึงมาตรฐานของหลักสตู ร และสง่ ผลตอ่ การจัดอบั ดบั (Ranking) มหาวิทยาลัยดว้ ย ดงั นั้น ทีมบริหารของคณะวิทยาศาสตร์ จึงได้มอบหมายภารกิจในการส่งเสริมให้อาจารย์ขอตำแหน่งทางวิชาการมากขึ้น และมีจำนวนอาจารย์ที่ขอตำแหน่งทางวิชาการมากกว่า 60% ของจำนวนอาจารย์ทั้งหมด จึงทำให้งานบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ รว่ มกบั รศ.ดร.อรุ าพร วงศว์ ัชรานนท์ รองคณบดฝี า่ ยพฒั นาบุคคลากรและวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ ได้ มีการประชุมวางแผนเพื่อขับเคลื่อนการขอกำหนดตำแหน่งทางวชิ าการขึน้ โดยระยะแรก ได้ดำเนินการเร่ืองการให้ ความรู้การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ โดยประชาสัมพันธ์ให้อาจารย์เข้าฟังหลักเกณฑ์การขอกำหนดตำแหน่ง ทางวิชาการที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น หลังจากนั้นมีอาจารย์ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้นแต่ยังไม่ถึงตาม เป้าหมาย จึงได้ทำแบบสอบถามความต้องการในการพัฒนาตนเอง(สายวิชาการ) ขึ้น ประชุมร่วมกับกลุ่มอาจารย์ท่ี ตดิ มาตรการภาระงานไดร้ บั การเพ่มิ ค่าจ้างไม่เกินร้อยละ 2 เน่อื งจากไมไ่ ดย้ น่ื ขอตำแหน่งทางวิชาการในระยะเวลาท่ี มหาวิทยาลัยกำหนด และได้รับทราบข้อมูลในเรื่องปัญหาและอุปสรรคในการขอตำแหน่งทางวิชาการหลายๆ ด้าน ได้แก่ ในเรอื่ งการขอกำหนดตำแหนง่ ทางวชิ าการ อาจารยใ์ หมๆ่ และอาจารย์บางสว่ นยังไมท่ ราบว่าต้องเตรยี มผลงาน อะไรบ้าง ไม่แน่ใจวา่ ผลงานที่มีอยู่เพียงพอต่อการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการแล้วหรือไม่ อยากให้มีอาจารย์ที่มี ความเชี่ยวชาญมาให้คำแนะนำ อาจารย์หลายๆ ท่านยังไม่มีผลงานที่จะขอตำแหน่ง รวมถึงอาจารย์ส่วนใหญ่รูส้ กึ วา่ การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการต้องเตรียมเอกสารเยอะและขั้นตอนยุ่งยาก [เอกสารประกอบที่ 1 รายงานการ ประชุมติดตามกลุ่มติดมาตรการภาระงานได้รับการเพิ่มค่าจ้างไม่เกินร้อยละ 2 และเอกสารประกอบที่ 2 แบบสอบถามความต้องการในการพัฒนาตนเอง(สายวิชาการ) และสรุปผล] จึงนำไปสู่การประชุมวางแผนเพื่อจัด โครงการในการขบั เคลือ่ นการขอกำหนดตำแหนง่ ทางวิชาการข้ึน โดยไดว้ างแนวทางในการขับเคลือ่ นการขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ 4 แนวทางไดแ้ ก่ 1) การอบรมใหค้ วามร้ใู นเรอ่ื งการขอกำหนดตำแหนง่ ทางวชิ าการ 2) การอบรมให้ความรู้ในการผลิตผลงานในการขอกำหนดตำแหน่งทางวชิ าการ โดยจดั อบรมตัง้ แต่การปรับทัศนคติ (เรือ่ ง Growth mindset) การผลติ ผลงานตีพิมพ์จากการเรยี นการสอน การเขียนหนังสอื และตำรา และร่วมการงาน สนับสนุนการวิจัย ในการจัดอบรมเร่อื ง การขอทุนวจิ ัยภายในประเทศและต่างประเทศ 56

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 3) การแต่งตั้งพี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ เพื่อให้คำปรกึ ษาในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ การขอทุน วจิ ยั การแตง่ ตำรา/หนงั สอื และการตีพิมพผ์ ลงานวิจัย โดยจะมกี ารประชุมกับพเ่ี ลี้ยงทกุ 3 เดอื น เพ่อื วางแผนการจัด กิจกรรมและประเมนิ ผลการดำเนินการ 57

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4) จัดทำระบบการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการแบบ online ขึ้น ได้แก่ การประเมินผลการสอน และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ในการประเมินผลการสอน online และการจัดทำระบบ ก.พ.อ. 03 online ขึ้น เพื่อลดขั้นตอนในการ การเตรยี มเอกสารทยี่ ุง่ ยาก และลดกระดาษ ทใ่ี ชด้ ำเนนิ การ 7. เป้าหมาย/วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 7.1 เพ่อื ใหอ้ าจารย์มคี วามรใู้ นเรอ่ื งเกณฑ์การขอกำหนดตำแหนง่ ทางวิชาการ 7.2 เพอื่ ใหอ้ าจารย์มคี วามรูใ้ นเรอื่ งการทำวจิ ัยและการเตรยี มผลงานต่างๆ ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ 7.3 เพื่อให้อาจารย์มีพี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ ที่สามารถให้คำแนะนำ ในการขอกำหนดตำแหน่งทาง วชิ าการ 7.4 พัฒนาระบบการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ (การประเมินผลการสอน และเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการ ประเมนิ ผลการสอน online และการจดั ทำ ระบบ ก.พ.อ. 03 online) 8. ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ จำนวนอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการมีมากกว่า 60% ของจำนวนอาจารย์ทั้งหมด ซึ่งผ่านเกณฑ์การ ประเมินการบริหารความเสยี่ งและการควบคมุ ภายใน ตามท่มี หาวทิ ยาลัยกำหนด 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ กี าร/แนวทางการปฏบิ ัตจิ รงิ (PDCA) Risk : จำนวนของอาจารยท์ ด่ี ำรงตำแหนง่ ทางวิชาการยังไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ทม่ี หาวิทยาลัยกำหนด (น้อยกว่า 60% ของจำนวนอาจารยท์ ้งั หมด) แนวทางการจัดการ เป็นการวางแผนเพื่อเพิ่มจำนวนอาจารย์ที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการให้เป็นไปตามเกณฑ์ท่ี มหาวทิ ยาลัยกำหนด (มากกว่า 60% ของจำนวนอาจารย์ทงั้ หมด) วิธกี ารดำเนินการ P: ปี 2562 ประชมุ วางแผนขับเคลือ่ นการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ D: ปี 2562 เรมิ่ จัดกิจกรรมในการให้ความรู้เกย่ี วกบั การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ C: ปี 2563 ประชุมเพอ่ื ประเมินผลการดำเนนิ งาน A: ปี 2564 ปรับปรุงแนวทางการขับเคลือ่ นการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ให้สอดคล้องกับความต้องการของ อาจารย์ P: ปี 2564 ประชมุ วางแผนโครงการขับเคล่อื นการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ 58

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ D: ปี 2564 ดำเนินการขบั เคลอ่ื นตามแนวทาง 4 แนวทางไดแ้ ก่ 1) การอบรมให้ความรใู้ นการขอกำหนดตำแหนง่ ทางวิชาการ 2) การอบรมใหค้ วามรใู้ นการผลิตผลงานในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ 3) การแตง่ ตั้งพ่เี ลย้ี งพฒั นาศกั ยภาพทางวิชาการ 4) จัดทำระบบการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ แบบ online (การประเมินผลการสอน และเอกสาร หลักฐานทใี่ ช้ในการประเมินผลการสอน online และการจัดทำระบบ ก.พ.อ. 03 online) ขึน้ C: ปี 2565 ประชุมเพื่อประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน A: ปี 2565 ปรับปรุงแนวทางการขับเคลื่อนการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ โดยแต่งตั้งพี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพ ทางวิชาการเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมย่อยให้เหมาะสมกับอาจารย์ในแต่ละกลุ่ม เช่น กลุ่มที่จะยื่นขอตำแหน่ง ศาสตราจารย์ กลมุ่ อาจารย์ใหม่ เปน็ ต้น 9.2 งบประมาณท่ีใช้ในการจดั โครงการ – กจิ กรรม 9.2.1 กิจกรรม “ขอศาสตราจารย์” ไมย่ ากอยา่ งท่ีคิด ใชง้ บประมาณ 1,430 บาท 9.2.2 กิจกรรม การเตรยี มเอกสารสำหรบั การยื่นขอกำหนดตำแหนง่ วิชาการ (ไมค่ า่ ใช้จา่ ย) 9.2.3 กจิ กรรม ปลดล็อคความคดิ พิชติ การทำงานดว้ ย Growth Mindset ใช้งบประมาณ 2,525 บาท 9.2.4 กิจกรรม เปลีย่ นงานสอนเป็นงานวิจยั ดา้ นการสอน (และการตพี มิ พ์) ใช้งบประมาณ 1,025 บาท 9.2.5 กจิ กรรม การเขยี นหนังสอื ละตำรา ใช้งบประมาณ 2,900 บาท 9.2.6 กจิ กรรม รู้จกั ทนุ เขา้ ใจทุน และแนวทางการเขยี นขอทวุ จิ ัยในปัจจุบัน ใช้งบประมาณ 2,175 บาท 9.2.7 กิจกรรม โครงการเพิ่มสมรรถนะด้านการวิจัย Sci Research Forum : International Funding Opportunities ใชง้ บประมาณ 2,500 บาท 9.2.8 กจิ กรรม ชี้แจงการใชง้ านระบบ ก.พ.อ.03 online (ไมค่ า่ ใช้จา่ ย) (งบประมาณทงั้ หมดที่ใช้ 12,555 บาท) 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับหน่วยงาน ภายใน/ภายนอก 1) จำนวนอาจารย์ท่ยี นื่ ขอตำแหนง่ ทางวิชาการและได้ตำแหน่งทางวชิ าการ จากกราฟ แสดงจำนวนผู้ขอกำหนดตำแหน่งทางวชิ าการ เพ่มิ ขนึ้ ปงี บประมาณ 2562 จำนวน 19 ราย ปีงบประมาณ 2563 จำนวน 19 ราย และในปีงบประมาณ 2564 เพิ่ม จำนวนมากขน้ึ เป็น 28 ราย ตามลำดับ 59

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ จากกราฟ แสดงจำนวนของผูไ้ ดร้ บั ตำแหน่งทางวชิ าการในแต่ ละปีงบประมาณ โดยปงี บประมาณ 2562 จำนวน 27 ราย ปงี บประมาณ 2563 จำนวน 34 ราย และปงี บประมาณ 2564 จำนวน 28 ราย ซงึ่ ตัง้ ปงี บประมาณ 2562-2564 มีจำนวนผู้ ได้รบั ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ จาก 4 ราย เพ่มิ ข้ึนเป็น 14 ราย และตำแหนง่ ศาสตราจารย์(รอโปรดเกลา้ ฯ) จาก 1 ราย เป็น 2 ราย (ปงี บประมาณ 2565 รอโปรดเกล้าฯ เพ่ิมอีก 3 ราย) จากกราฟ แสดงจำนวนตำแหน่งทางวิชาการของอาจารยค์ ณะ วทิ ยาศาสตร์ โดยมจี ำนวนอาจารย์ดำรงตำแหนง่ ทางวชิ าการ เพิ่มขึน้ โดยเฉพาะตำแหนง่ รองศาสตราจารย์ เพ่มิ ขน้ึ จาก ปงี บประมาณ 2562 จำนวน 33 ราย เป็น 55 ราย ใน ปีงบประมาณ 2564 จากกราฟ แสดงให้เหน็ เปอร์เซน็ การดำรงตำแหน่งทาง วิชาการของคณะจารย์ที่เพิ่มข้ึน เม่อื เทยี บกบั จำนวนอาจารย์ ท้งั หมด จาก 55.91% ในปงี บประมาณ 2562 62.04% ใน ปีงบประมาณ 2563 และในปงี บประมาณ 2564 เพมิ่ เปน็ 63.41 % 2) ระบบการขอตำแหนง่ ทางวชิ าการ 2.1) การประเมนิ ผลการสอน และเอกสารหลักฐานทใี่ ชใ้ นการประเมนิ ผลการสอน แบบ online การประเมินผลการสอน และเอกสารหลักฐานที่ใช้ในการประเมินผลการสอน แบบ online เป็นการยื่นขอ การประเมนิ ผลการสอน และเอกสารหลักฐานท่ีใช้ในการประเมินผลการสอน โดยใช้ Google Forms เข้ามาช่วยใน การดำเนินการ และช่วยลดขั้นตอนในการดำเนินการเอกสาร อีกทั้งยังลดการใช้ทรัพยากรกระดาษ โดยเริ่มใช้งาน ตั้งแต่ ปี 2563 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งระบบจะให้ผู้ขอกรอกข้อมูลและแนบไฟล์ผ่านระบบ Google Forms หลังจากนนั้ ระบบจะส่งอีเมลม์ ายังเจา้ หน้าที่ และเจา้ หนา้ ทจ่ี ะดำเนินการออกคำสง่ั แตง่ ตัง้ กรรมการสำหรบั ประเมนิ ผลการสอนฯ ปัจจุบันมีผู้ใช้บริการแล้ว จำนวน 61 ราย และได้รับคำชมจากผู้ใช้บริการ (เอกสารประกอบท่ี 3 ผลการประเมิน 60

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ความพึงพอใจการประเมนิ ผลการสอน และเอกสารหลักฐานทใี่ ชใ้ นการประเมนิ ผลการสอน แบบ online อยูท่ ่รี ะดบั 4.56 จาก 5) เนือ่ งจากทำให้การย่นื ขอฯ มคี วามรวดเรว็ และยงั ช่วยลดค่าใช้จา่ ยและกระดาษในการพมิ พเ์ ล่มเอกสาร หลกั ฐานทใี่ ช้ในการประเมินผลการสอนเพราะเดิมจะตอ้ งพิมพ์เล่มสง่ (3-5 ชุด) ตามจำนวนกรรมการ ล้งิ แบบฟอรม์ >>https://shorturl.asia/Vl5yP 2.2) ระบบ ก.พ.อ. 03 online ระบบ ก.พ.อ. 03 online คือระบบที่อำนวยความสะดวกในการกรอกข้อมูล ในแบบฟอร์ม ก.พ.อ.03 ที่ใช้ สำหรับยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการทุกระดับ โดยการทำงานของระบบจะดึงข้อมูลพื้นฐาน จากฐานข้อมูล ตา่ งๆ เช่น ฐานข้อมูลสารสนเทศบคุ ลากรคณะวทิ ยาศาสตร์ ฐานขอ้ มลู HRMIS ฐานขอ้ มูล SIS เพอ่ื ช่วยลดระยะเวลา ในการกรอกข้อมลู และตวั ระบบยงั เปดิ โอกาสใหผ้ ู้ขอฯ สามารถเพ่มิ เติมข้อมูลไดเ้ พ่อื ความสมบูรณข์ องข้อมูล พร้อม ทั้งยังสามารถแนบไฟล์ผลงาน และเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ เมื่อผู้ ขอฯ กรอกข้อมลู และสง่ ให้หวั หนา้ สาขาหรือผูบ้ งั คบั บัญชา หัวหน้าสาขาหรือผู้บงั คบั บัญชาสามารถเลอื กผทู้ รงคณุ วฒุ ิ สำหรบั ประเมินผลงานทางวิชาการในระบบ และเมื่อเสรจ็ สนิ้ จะส่งมายงั เจา้ หนา้ ทีเ่ พ่ือตรวจสอบและดำเนินการตาม ขั้นตอน โดยที่ผู้ขอฯ ไม่ต้องดำเนินการพิมพ์เอกสาร ดังนั้น ระบบดังกล่าวช่วยลดระยะเวลา ลดขั้นตอน ลดการใช้ กระดาษ (เดิมพิมพ์เอกสาร 8 ชุด ปัจจุบันเหลือเพียง 1 ชุด) ระบบ ก.พ.อ. 03 online เปิดใช้งานตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน 2564 โดยมีอาจารย์เข้าไปใช้งานระบบ จำนวน 113 ราย และมีผู้ที่ยื่นขอฯ ผ่านระบบแล้ว จำนวน 7 ราย (เอกสารประกอบที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจการใช้ระบบ ก.พ.อ. 03 online อยู่ที่ระดับ 4 จาก 5) นอกจากน้ี ระหว่างที่เปดิ ใชง้ านระบบ ได้มีการรับฟังประเด็นปัญหาผ่านช่องทางต่างๆ เช่น e-mail โทรศัพท์ Line เพื่อปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านการดึงข้อมูล การ Export ข้อมูล และอื่นๆ เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ ผูใ้ ช้บริการมากทีส่ ดุ 61

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ลง้ิ ค์ระบบ>> https://gpo03.sci.psu.ac.th/site/ ลงิ้ ค์ค่มู อื >>https://drive.google.com/file/d/1GO0NafyDc1zcewqXNWxpyHHYOE3--PTj/view 3) สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการในภาพรวม อยู่ในระดับ 4.5 จาก 5 (เอกสาร ประกอบที่ 3) 4) มอี าจารยเ์ ขา้ ร่วมอบรมเก่ียวกบั หลักเกณฑ์การขอกำหนดตำแหนง่ ทางวิชาการ จำนวน 98 คน และผลการประเมินความ พงึ พอใจเฉล่ยี อยู่ในระดบั 4.7 จาก 5 (เอกสารประกอบท่ี 4) 5) มีอาจารย์เข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับการทำวิจัยและการเตรียมผลงานต่างๆ ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 395 คน และผลการประเมนิ ความพึงพอใจเฉล่ยี อยู่ในระดบั 4.62 จาก 5 (เอกสารประกอบที่ 4) 6) มพี ่ีเลี้ยงพฒั นาศักยภาพทางวชิ าการ ทีส่ ามารถให้คำแนะนำ ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ (เอกสารประกอบที่ 5 คำสง่ั แต่งตงั้ พเ่ี ล้ียงพฒั นาศักยภาพทางวิชาการและเอกสารประกอบที่ 6 รายงานการประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม) 11. การเรียนรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอย่างตอ่ เนอ่ื งในอนาคต มีการประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมกับพี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ ทุก 3-4 เดือน ซึ่งกิจกรรมท่ีจัด ต่อไปเป็นกิจกรรมท่ีเจาะกลุ่มอาจารย์ในแต่ละกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่มีศักยภาพในการขอกำหนดตำแหน่งศาสตราจารย์ กลุ่มอาจารย์ที่มีอายุงานนอ้ ยกว่า 5 ปี กลุ่มที่ครบระยะเวลาการขอกำหนดตำแหน่งทางวชิ าการแล้วแต่ยังไม่ไดข้ อฯ เพ่อื สนบั สนนุ ใหค้ วามช่วยเหลือ ในการย่นื ขอกำหนดตำแหนง่ ทางวชิ าการและแกไ้ ขปัญหา อปุ สรรคต่างๆ ตอ่ ไป 11.2 จดุ แข็ง (Strength) หรือส่งิ ที่ทำไดด้ ใี นประเด็นที่นำเสนอ 1) กิจกรรมการให้ความรูใ้ นเรื่องการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการทุกกิจกรรม อาจารย์ให้ความสนใจเข้า ร่วมอบรมเป็นจำนวนมาก รวมทุกโครงการประมาณ 395 คน มีผลการประเมนิ ความพงึ พอใจเฉลย่ี ในระดับสงู (4.62) เนอ่ื งจากมกี ารออกแบบการใหค้ วามรู้ ตรงกบั ความตอ้ งการทห่ี ลากหลาย จดั ให้มีพ่ีเลี้ยงพัฒนาศกั ยภาพทางวิชาการ ช่วยให้คำแนะนำอาจารย์ในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ทำให้อาจารย์มีความมั่นใจในการยื่นขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ และผลงานทางวิชาการมีคณุ ภาพ เพิ่มโอกาสผา่ นเกณฑก์ ารพจิ ารณาโดยผทู้ รงคณุ วุฒิฯ 62

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2) พัฒนาระบบการยื่นขอตำแหน่งแบบ online 2 ระบบ ได้แก่ การประเมินผลการสอน และเอกสาร หลักฐานทีใ่ ช้ในการประเมินผลการสอน online และระบบ ก.พ.อ. 03 online เพื่อลดขั้นตอนความยุ่งยากของการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวชิ าการ ทำให้มีอาจารยย์ ื่นขอกำหนดตำแหน่งวิชาทางการเพ่ิมขึ้น (ปีงบประมาณ 2562 มีผู้ ยน่ื ขอฯ จำนวน 19 คน ปงี บประมาณ 2563 มีผู้ยนื่ ขอฯ จำนวน 19 คน ปีงบประมาณ 2564 มีผู้ยนื่ ขอฯ จำนวน 28 คน) และมอี าจารยด์ ำรงตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มขนี้ (ปงี บประมาณ 2562 มผี ู้ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 27 คน ปีงบประมาณ 2563 มีผู้ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 34 คน ปีงบประมาณ 2564 มีผู้ได้รับตำแหน่งทาง วิชาการ จำนวน 28 คน) 11.3 กลยทุ ธ์หรอื ปจั จยั ทน่ี ำไปสูค่ วามสำเรจ็ 1) ไดร้ บั การสนับสนนุ จากทีมบรหิ าร คณะวิทยาศาสตร์ 2) ออกแบบการดำเนินงาน ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของอาจารยท์ ่ีมีความหลากหลาย 3) มีการทำงานแบบบูรณาการร่วมกันของงานบริหารทรัพยากรมนุษย์และงานสนับสนุนการวิจัยทำให้มี ความเขม้ แข็งในการผลติ ผลงานวิจัย 4) มีการทำงานรว่ มกนั ในสว่ นของงานบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ ร่วมกบั หนว่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการทำ ระบบ ก.พ.อ. 03 online 5) เชิญอาจารย์ที่มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญด้านวิชาการมาเป็นอาจารย์พี่เลี้ยงเพื่อให้คำปรึกษา รวมทง้ั ร่วมวางแผนในการจัดกจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ 12. ประเดน็ (จดุ เด่น) ท่ีเป็นแนวปฏิบัติทเี่ ปน็ เลิศ มีกระบวนการสนับสนุนในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการครบทุกขั้นตอน ตั้งแต่การให้ความรู้เรื่อง หลกั เกณฑ์การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ การผลิตผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวชิ าการ และการมีพเี่ ลี้ยง พฒั นาศักยภาพทางวิชาการเป็นที่ปรกึ ษา ซึ่งทำให้อาจารย์ทยี่ ื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการมคี วามมั่นใจท่ีจะย่ืน ขอฯ และมผี ลงานท่ีเกดิ ขึน้ มคี ณุ ภาพ มโี อกาสผ่านเกณฑ์การพจิ ารณาโดยผทู้ รงคุณวุฒิฯ มากขน้ึ นอกจากนี้ ยังมกี าร พัฒนาระบบการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการแบบ online 2 ระบบ ได้แก่ การประเมินผลการสอน และ เอกสารหลักฐานที่ใช้ในการประเมินผลการสอน online และการจัดทำ ระบบ ก.พ.อ. 03 online ทำให้การยื่นขอ กำหนดตำแหน่งทางวิชาการมีความสะดวกและรวดเรว็ กวา่ เดิม 13. เอกสารอ้างอิง เอกสารประกอบท่ี 1 รายงานการประชุมติดตามกลมุ่ ติดมาตรการภาระงานไดร้ ับการเพิ่มคา่ จ้างไม่เกินร้อยละ 2 https://drive.google.com/file/d/1lAdcc5xwm1tUQGRWPkBviYbk-9F9BfbF/view?usp=sharing เอกสารประกอบท่ี 2 แบบสอบถามความต้องการในการพฒั นาตนเอง(สายวชิ าการ)และสรุปผล https://forms.gle/1AabBRZquWW9jwsY6 https://drive.google.com/file/d/1Ry989ryNh1ALV8vkjDLkZ3rTLIrzAiwn/view?usp=sharing เอกสารประกอบท่ี 3 ผลการประเมินความพึงพอใจการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ https://forms.gle/rmkcYoNoBFDh6Mj47 https://drive.google.com/file/d/1zBXw5El830iYo345avJHc7nft9QOE6Q2/view?usp=sharing เอกสารประกอบท่ี 4 การขับเคลอ่ื นการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ https://drive.google.com/file/d/1 KU9 gL8 oHwCkCRLeZquEt9 9 E2 9 ZobpZYc/view?usp=sharing เอกสารประกอบที่ 5 คำสงั่ แต่งต้งั พเี่ ลีย้ งพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ https://drive.google.com/file/d/1TrIr0uwL5v1JtajsYN8920rx_uWfEfuf/view?usp=sharing 63

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เอกสารประกอบท่ี 6 รายงานการประชุมวางแผนการจัดกิจกรรม https://drive.google.com/file/d/1WYK7avjtwYer2VWERcYlV6g-46HLQcnS/view?usp=sharing 14. บทสรุป จากการที่งานบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์ คณะวิทยาศาสตร์ จัดทำโครงการขับเคลื่อนตำแหน่งทางวิชาการขน้ึ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและครอบคลุมอาจารย์ทุกกลุ่ม เน้นกระบวนการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการโดย เร่ิมต้ังแต่การให้ความรู้ในเรือ่ งเกณฑ์การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ การทำวิจัย การผลิตผลงานเพื่อขอกำหนด ตำแหน่งทางวิชาการ และมีพี่เลี้ยงพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ คอยให้คำปรึกษา อีกทั้งยังพัฒนาระบบการยื่นขอ กำหนดตำแหน่งทางวชิ าการ แบบ online 2 ระบบ ได้แก่ การประเมินผลการสอน และเอกสารหลกั ฐานที่ใช้ในการ ประเมินผลการสอน online และการจัดทำ ระบบ ก.พ.อ. 03 online ทำให้การยื่นขอกำหนดตำแหน่งวิชาการมี ความสะดวกและรวดเร็ว ส่งผลให้มีอาจารย์ดำรงตำแหน่งทางวิชาการเพิ่มข้ึน ซึ่งในปัจจุบันคณะวิทยาศาสตร์มี จำนวนอาจารย์ท่ีดำรงตำแหน่งทางวิชาการเพ่ิมจากเดิม 55.91% เป็น 64.63% ของจำนวนอาจารย์ทั้งหมด ซึ่งผ่าน เกณฑ์การบริหารความเส่ยี งและการควบคมุ ภายใน มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ทีก่ ำหนด 64

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ *************************************** 1. ช่ือเร่อื ง ระบบการบริหารมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของบุคลากรสำนกั วทิ ยบรกิ าร 2. โครงการ/กิจกรรมด้าน ด้านบรหิ ารจัดการ 3. ช่ือหน่วยงาน สำนกั วิทยบรกิ าร 4. ประเภทโครงการ (✓) ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคดั เลอื กโดยเวทหี รือผ้บู รหิ ารของคณะ) ( ) 1.1 สายวชิ าการ (✓) 1.2 สายสนับสนนุ ( ) ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี ( ) 2.1 สายวชิ าการ ( ) 2.2 สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลิศ คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลสำนักวทิ ยบริการ 6. การประเมนิ ปญั หา/ความเสยี่ ง (Assessment) สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นหน่วยงานประเภทอำนวยการและสนับสนุนภารกิจ กลางของมหาวิทยาลัยที่ให้บริการสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และบุคคลภายนอก โดย สำนกั วทิ ยบริการประกอบดว้ ย 3 หน่วยงานย่อย คอื 1) ฝ่ายหอสมดุ จอห์น เอฟ เคนเนด้ี 2) ฝา่ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรมการ เรียนรู้ และ 3) สำนักงานบรหิ าร มบี ุคลากรรวมทง้ั ส้ิน จำนวน 59 คน (ข้อมลู ณ เดือนเมษายน พ.ศ. 2565) สำนักวิทยบริการ มีนโยบายให้บุคลากรทุกคนมีการปฏิบัติงานตามมาตรฐานภาระงาน (Load Unit) มาตั้งแต่ก่อนปี พ.ศ. 2551 ภายใต้แนวคิด มาตรฐานการทำงานทำให้บุคลากรทำงานอย่างเป็นระบบมีมาตรฐานเดียวกัน ทั้งงานประจำและงานเชิงพัฒนา ส่งผลให้การ ประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานเป็นไปอยา่ งยุติธรรม โปร่งใสและตรวจสอบได้ ทัง้ น้ีบคุ ลากรใหม่ทเ่ี ข้ามาปฏบิ ัติงานในสำนักวิทยบริการ จะได้รับทราบแนวทางการทำงานและยึดถือปฏิบัติตามภายใต้ค่านิยมองค์กร (SQI S = service mind, Q = quality, I = innovation) โดยมาตรฐานภาระงานจะมกี ารทบทวนปรบั ปรงุ ให้เป็นปัจจุบันทุกปี เพอ่ื พฒั นางานในองค์กรใหม้ คี ณุ ภาพ สำนักวิทยบริการ กำหนดมาตรฐานภาระงานบุคลากรทุกคน ดังนี้ ภาระงานของบุคลากรสำนักวิทย บรกิ ารตอ่ ครึง่ ปี หรือ 6 เดอื น มีภาระงานรวม 770 (Load Unit - L.U.) ซึง่ มหี ลักคดิ มาจากเวลาปฏิบัติงานของบุคลากรในวัน เปิดทำการวันละ 7 ชั่วโมง (ไม่รวมเวลา พักกลางวันจำนวน 1 ชั่วโมง) โดยหลักการเปรียบเทียบหน่วยชั่วโมง ดังน้ี 1 ชั่วโมง เทา่ กับ 1 หนว่ ยภาระงาน, 1 วันมี 7 หนว่ ยภาระงาน, 1 สปั ดาห์ 35 หน่วยภาระงาน, 1 เดือนมี 140 หนว่ ยภาระงาน, 6 เดือน มี 840 หน่วยภาระงาน ทั้งนี้ได้ยกเว้นภาระงานตามสิทธ์ิการลาพักผ่อน 10 วัน (70 หน่วยภาระงาน) ดังนั้นจึงกำหนดภาระ งานรวมในรอบ 6 เดือนไม่นอ้ ยกวา่ 770 หน่วยภาระงาน 1 ปี ไมน่ ้อยกวา่ 1,540 หนว่ ยภาระงาน โดยมีการกำหนดมาตรฐาน ภาระงาน ดังนี้ 1) ภาระงานประจำ จำนวน 6 เดือน ไม่ต่ำกว่า 462 และไม่เกิน 693 L.U. (ร้อยละ 60-90 ของภาระงาน ทั้งหมด) 2) ภาระงานพัฒนา งานพิเศษ และงานอื่น ๆ จำนวน 6 เดือน ไม่ต่ำกว่า 77 และไม่เกิน 308 L.U. (ร้อยละ 10-40 ของภาระงานทั้งหมด) ทั้งนี้สำนักวิทยบริการใช้ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรสำนักวิทยบริการ (TOR for OAR) 65

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เป็นเครื่องมือในกำกับติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทั้งปริมาณงานและคุณภาพการทำงาน เมื่อได้ผล คะแนนการประเมินรายบคุ คลแลว้ จงึ นำขอ้ มูลทไ่ี ด้ไปดำเนนิ การตอ่ ในระบบประเมินสว่ นกลางของมหาวทิ ยาลยั ตอ่ ไป สำนักวทิ ยบรกิ าร จึงนำระบบการบริหารมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากรสำนกั วิทยบรกิ ารมาใช้เป็นแนวทางใน การบรหิ ารจัดการองค์กรเพอ่ื สร้างความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ของบุคลากรสำนกั วิทยบรกิ าร 7. เปา้ หมาย/วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 7.1 เพื่อพัฒนาสู่การเป็นองค์กรที่มีระบบบริหารมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนับสนุน มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 7.2 เพื่อพัฒนาระบบบริหารจดั การองคก์ ร 7.2 เพ่ือดำเนินงานตามแนวทางองค์กรคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (ITA) 8. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั 8.1 สำนักวิทยบริการมีระบบการบรหิ ารมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคลากรท่ีเป็นแบบอยา่ งใหก้ ับหน่วยงานอืน่ 8.2 สำนักวทิ ยบรกิ ารมีระบบบรหิ ารจัดการองค์กรทเี่ ปน็ เลศิ 8.3 สำนักวิทยบริการมีระบบประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีมาตรฐานและยุติธรรม โปร่งใส่ ตรวจสอบได้ ตามแนวทาง ITA 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวทางการปฏิบตั ิจรงิ (PDCA) P – Plan คือ การวางแผน การวางแผนการทำงานด้านมาตรฐานภาระงานบุคลากร โดยสำนกั วิทยบรกิ ารมีการประชุมร่วมกับบุคลากรเพื่อคิด ค่ามาตรฐานภาระงานส่วนกลางที่ต้องใช้ร่วมกันทุกคนและแตล่ ะฝ่ายคิดค่ามาตรฐานภาระงานของแต่ละงาน ทั้งฝ่ายหอสมดุ จอห์น เอฟ เคนเนดี้ ฝ่ายเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ และสำนักงานบริหาร โดยฝ่ายหอสมุดฯ ประกอบด้วย งาน บรรณารักษ์ งานโปรแกรมเมอร์ งานจัดชั้นและงานบริการ ฝ่ายเทคโนฯ ประกอบด้วย งานสื่อสิ่งพิมพ์ งานสื่อโสตฯ งานส่ือ ดจิ ทิ ลั งานบริการอาคารเรียนรวม และสำนกั งานบรหิ าร ประกอบด้วย งานบุคคล งานพัสดุ งานนโยบายและแผน งานการเงนิ และบญั ชี เป็นต้น โดยกำหนดมาตรฐานภาระงานสว่ นกลาง ดงั นี้ 1. ภาระงานประจำ บุคลากรของสำนักวิทยบริการจะต้องมีภาระงานประจำ (ร้อยละ 60-90 ของภาระงานทั้งหมด) ดังนี้ ข้าราชการ จำนวน 6 เดือน ไม่ต่ำกว่า 462 และไม่เกิน 693 L.U. พนักงานมหาวิทยาลัย/พนักงานเงินรายได้ จำนวน 12 เดือน ไม่ต่ำกวา่ 924 และไม่เกิน 1,386 L.U. ท้ังนใ้ี หใ้ ช้มาตรฐานภาระงานเปน็ คมู่ ือในการจัดทำปริมาณงานเพอ่ื การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการทำงาน 2. ภาระงานพัฒนา งานพิเศษ และงานอื่น ๆ บุคลากรของสำนักวิทยบริการจะต้องมีภาระงานเชิงพัฒนา งานพิเศษ และงานอื่น ๆ (ร้อยละ 10-40 ของภาระงานทั้งหมด) ดังนี้ ข้าราชการ จำนวน 6 เดือน ไม่ต่ำกว่า 77 และไม่เกิน 308 L.U. พนักงานมหาวทิ ยาลยั /พนกั งานเงนิ รายได้ จำนวน 12 เดือน ไมต่ ่ำกว่า 154 และไม่เกิน 616 L.U. โดยมกี รอบเบื้องต้นในการกำหนดภาระงานดงั น้ี 2.1 งานวจิ ัยและงานพัฒนา 1) ภาระงานวิจัยและพัฒนาของบุคลากรที่ได้รับความเห็นชอบจากสำนักวิทยบริการ สามารถนับเป็นภาระ งานไดไ้ มเ่ กนิ 3.5 L.U. ต่อสัปดาห์ ทัง้ นีจ้ ะตอ้ งมผี ลงานวจิ ัยอย่างน้อย 1 เรอื่ งภายในระยะเวลา 2 ปี 2) งานเรียบเรียงบทความ งานพัฒนาสิ่งประดิษฐ์หรือสื่อต่าง ๆ สามารถนับเป็นภาระงานได้ไม่เกิน 3.5 L.U. ตอ่ สัปดาห์ ทัง้ นีจ้ ะต้องมีผลงานอย่างนอ้ ย 1 เรอ่ื งภายในระยะเวลา 1 ปี 3) คู่มือปฏิบัติงาน 5 บท จำนวน 60 L.U. (บทที่ 1 = 5 L.U. บทที่ 2 = 5 L.U. บทที่ 3 =15 L.U. บทที่ 4=25 L.U. บทท่ี 5=10 L.U.) 1 เรอ่ื งภายในระยะเวลา 2 ปี 4) การปรับปรุงงานดว้ ยระบบ LEAN และ Kaizen จำนวน 30 L.U. 66

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 5) การทำ Work instructions จำนวน 10 L.U. 2.2 งานอื่น ๆ ในกรณีที่บุคลากรของสำนักได้รับการแต่งตั้งหรือมอบหมายให้ปฏิบัติภารกิจอื่นใน มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์นอกเหนอื จากงานประจำ ใหม้ ีภาระงานดงั น้ี 1) ตำแหนง่ หวั หน้าฝา่ ยและเลขานกุ ารสำนกั ให้คิดภาระงานที่ดำรงตำแหนง่ ไม่เกนิ 21 L.U. ตอ่ สัปดาห์ ตำแหน่งหวั หนา้ กล่มุ งาน ใหค้ ิดภาระงานทดี่ ำรงตำแหน่งไมเ่ กิน 14 L.U. ต่อสัปดาห์ 2) เป็นคณะกรรมการหรือคณะทำงานที่ได้รับการแต่งตั้งจากสำนักวิทยบริการหรือมหาวิทยาลัยให้คำนวณ ภาระงานตามจำนวนชั่วโมงที่ประชุมหรือร่วมปฏิบัติงานจริง แต่จะไม่รวมภาระงานที่เป็นกรรมการโดย ตำแหน่ง เนื่องจากไดร้ ับภาระงานในตำแหนง่ อย่แู ลว้ 3) กำหนดใหภ้ าระงานสำหรับการเข้าอา่ น E-doc และ E-mail วนั ละ 40 นาที สำนกั วิทยบริการมีการกำหนดคา่ มาตรฐานภาระงานประจำในแตล่ ะงาน ดงั ต่อไปนี้ 1. ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนด้ี ภาระงาน ลักษณะงาน/กจิ กรรม เกณฑ์มาตรฐาน กรณีตวั อยา่ ง ปรมิ าณงาน LU คำอธิบายเพม่ิ เตมิ งานบริการยืม - คนื ทรัพยากรสารสนเทศ 1.ให้ บรกิ ารยืม-คืน ทรัพยากร กรณปี ฏบิ ัติงานนอกเคานเ์ ตอร์ สารสนเทศที่เคานเ์ ตอรย์ มื -คืน ลงเวลาตามทปี่ ฏิบตั ิงานจริง 60 1.1 รบั สมคั รสมาชิกใหม/่ ตอ่ อายบุ ตั ร/บตั ร 5 นาที/รายการ 0.085 คิดค่า LU ตาม เวลาท่ีปฏิบตั งิ าน นาที/ คร้ัง= 1.02 LU 105 ชำรุด/บตั รหาย คือ1 ชม.=1.02 นาที/คร้ัง= 1.785 LU 1.2 ใหร้ ับบัตรสมาชิกทท่ี ำเสรจ็ แลว้ 1 นาที/รายการ 0.017 1.3 ดำเนนิ การต่อผใู้ ช้ท่ที ำผดิ ระเบียบ 5 นาท/ี ครั้ง 0.085 1.4 รับแจ้งทรพั ยากรสารสนเทศสญู หาย 5 นาท/ี คร้งั 0.085 1.5 ตรวจสอบราคาทรพั ยากรสารสนเทศ 5 นาที/คร้งั 0.085 สญู หายจากระบบ 1.6 จดั การทรัพยากรสารสนเทศสญู หายใน 10 นาที/ 0.17 ระบบและเกบ็ เงินคา่ ปรบั การสญู หาย รายการ 1.7 การเปิด-ปดิ /คนื ผา่ นตู้รบั คืน 30 นาท/ี ครง้ั 0.51 1.8 บรกิ ารยมื /ยมื ต่อ/รบั คนื หนังสือ/ 1 นาที/รายการ 0.017 โสตทศั นวสั ด/ุ วารสาร หนงั สอื พิมพ์ (ปกต)ิ 10 นาท/ี 0.17 รายการ (มี ปญั หา) 3 นาท/ี รายการ 0.085 (ยมื โสตฯ) 67

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 1.9 เพม่ิ สญั ญาณหนงั สอื วารสาร และ 1 นาท/ี เลม่ 0.017 โสตทศั นวสั ดุ เพือ่ เตรียมข้นึ ช้ันบรกิ าร 1 นาท/ี 10 เล่ม 0.017 1.10 ตรวจสอบซ้ำก่อนนำหนังสือข้นึ ชนั้ 1.11 ปรับทรพั ยากรสารสนเทศเกนิ กำหนดส่ง 2 นาที/รายการ 0.034 1.12 บริการหยิบตวั เล่มหนงั สอื /สอื่ โสต 1 นาท/ี เล่ม 0.017 ทัศนท์ ีผ่ ู้ใชจ้ องไว้จากช้นั หนงั สือจอง 1.13 การแกป้ ญั หาการใหบ้ รกิ ารยืม-คืน 10 นาท/ี ครั้ง 0.17 (กรณีปฏิบตั ิงานนอกเคานเ์ ตอร)์ 1.14 เตรียมหนังสอื พิมพเ์ พื่อออกบรกิ าร 105 นาที/ครัง้ 1.785 ปฏบิ ัติงานนอก เคานเ์ ตอร์ 1.15 เก็บ/สแกนวารสาร เกบ็ หนงั สอื พิมพ์ 30 นาที/ครัง้ 0.51 ฉบบั ปจั จบุ ันและล่วงเวลาเขา้ ช้ัน 2. ฝ่ายเทคโนโลยีและนวตั กรรมการเรียนรู้ ภาระงาน ลกั ษณะงาน / กจิ กรรม เกณฑม์ าตรฐาน ปริมาณงาน หนว่ ยนับ L U คำอธิบาย เพิ่มเตมิ 2 กล่มุ งานผลิตและบริการ 2.1 ผลิตสื่อ 1. ถ่ายภาพจากตน้ ฉบบั ท่มี ขี นาดเท่ากัน 3 นาที 0.05 1 แผน่ ภาพ ถา่ ยภาพ 2. ถา่ ยภาพจากตน้ ฉบบั ที่มขี นาดตา่ งกัน 2 นาที 0.03 1 แผน่ ภาพ (ภาพสี สไลด์) 3. ถา่ ยภาพกจิ กรรม / ภาพเหตกุ ารณ์ 60 นาทีตอ่ ครัง้ 1.02 4. เตรยี มอปุ กรณ์ถ่ายภาพ 10 นาทตี อ่ ครั้ง 0.17 5. เดินทางถา่ ยภาพนอกอาคารภายในวิทยาลยั 15 นาทตี ่อคร้ัง 0.26 6. เดนิ ทางถ่ายภาพภายนอกสถานที่ 30 นาที 0.51 ระยะทางไมเ่ กิน 5 กม 2.2 ผลติ สื่อ 1. จัดเตรยี มและขนย้ายอปุ กรณ์ เทปโทรทัศน์ ถา่ ยทำ ใช้กลอ้ ง 1 ชุด 10 นาที 0.17 (ถ่ายทำเทป 2. จัดเตรยี มและขนย้ายอปุ กรณ์ถา่ ยทำ ใชก้ ลอ้ ง 2 30 นาที 0.51 โทรทศั น์) ชุด 3. เดินทางถ่ายทำเทปโทรทัศนภ์ ายในมหาวทิ ยาลยั 15 นาที 0.26 4. เดินทางถา่ ยทำเทปโทรทัศนภ์ ายนอก 30 นาที 0.51 ระยะทางไมเ่ กิน มหาวทิ ยาลยั 5 กม. 5. ขนยา้ ยและตดิ ตงั้ อุปกรณก์ ลอ้ ง 1 ชดุ 20 นาที 0.34 6. ขนยา้ ยและตดิ ตั้งอุปกรณ์กล้อง2 ชดุ 60 นาที 1.02 7. ถ่ายทำเทปโทรทัศน์ 60 นาที 1.02 เวลาทำงาน : ชว่ั โมง D – DO คอื การปฏบิ ัตติ ามแผน 68

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การปฏบิ ัตติ ามแผน: บคุ ลากรสำนกั วิทยบริการกรอกข้อตกลงภาระงาน (TOR) ซึ่งประกอบด้วย 1) ภาระงานประจำ 2) ภาระงานเชิงพัฒนา/งานพิเศษ 3) ภาระส่วนงานกำหนด และระบุปริมาณร้อยละการทำงานในแต่ละส่วนลงในระบบ ประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรสำนักวิทยบริการ (TOR for OAR) โดยระบบจะคำนวณค่า L.U. ให้อัตโนมัติ ปริมาณงาน ทั้งสิน้ 12 เดือน จำนวนร้อยละ 100 จะเท่ากับ 1,540 L.U. และเมือ่ ถึงรอบการรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานบคุ ลากรจะรายงาน ปรมิ าณงานตามมาตรฐานภาระงานตามที่ได้ปฏบิ ัตงิ านจรงิ ภาพตัวอยา่ ง การกำหนดสดั สว่ นขอ้ ตกลงการปฏบิ ัติงานในระบบ TOR for OAR ภาพตวั อย่าง การจดั ทาขอ้ ตกลงการปฏบิ ตั งิ านและการรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน ภาพตัวอย่าง การเลอื กหน่วยนบั ภาระงานตามมาตรฐานการปฏิบตั งิ านของแต่ละงานตอนรายงานผลในระบบ TOR for OAR 69

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ C – Check คอื การตรวจสอบ การตรวจสอบ: การกำหนดข้อตกลงการปฏิบัติงานของบุคลากรจะถูกตรวจสอบความถูกต้องว่าเป็นไปตาม ข้อกำหนดภาระงานของสำนักวิทยบริการหรือไม่ ดังนี้ 1.งานประจำ ประกอบด้วย งานประจำในหน้าที่ การอบรมพัฒนา ตนเอง งานอ่นื ๆทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 2.งาน ภาระงาน รอ้ ยละ เป้าหมาย/ตวั ช้ีวดั 1. งานประจำ 40-70% 1.1 งานประจำ ดำเนนิ การบรรลเุ ปา้ หมาย 1.2 การอบรมพฒั นาตนเอง เข้าร่วมอบรมพัฒนาตนเองตามกลุ่มการพัฒนา -กล่มุ ผนู้ ำไมน่ ้อยกวา่ 80 ชม. /ปี -กลุ่มผู้มีความสามารถพิเศษ ไม่น้อยกว่า 50 ชม. / ปี -กลมุ่ ทั่วไป ไมน่ ้อยกวา่ 30 ชม. /ปี 1.3 งานอืน่ ๆ (ประชมุ /เข้ารว่ มกิจกรรม) งานที่ได้รบั มอบหมายสำเร็จ 2. งานเชงิ พัฒนา 10-40% ผลงาน KM อยา่ งนอ้ ย 1 เรอื่ ง/ปี และผลงานพฒั นา อืน่ ๆ อยา่ งน้อย 1 ชนิ้ 2.1 ผลงานพัฒนา (คู่มือ/งานวิจัย/นวัตกรรม/ Lean/kaizen/กจิ กรรมบรกิ ารใหม่ ๆ) 2.2 พัฒนาชมุ ชน (ไม่บังคับ) 3. ภาระส่วนงานกำหนด 20 % 3.1 Green office 10 ร่วมขบั เคลอ่ื นบรรลเุ ป้าหมาย Green office 3.2 งานบรกิ ารวชิ าการแก่สังคม 6 บรกิ ารวิชาการอยา่ งนอ้ ยปีละ 2 กิจกรรม 3.3 การรว่ มกิจกรรมกับมหาวิทยาลยั 4 ร่วมกิจกรรมกับมหาวิทยาลัยอย่างน้อยปีละ 5 กจิ กรรม 3.4 งานเชงิ นโยบายทไ่ี ด้รบั มอบหมาย ไดร้ ับมอบหมายจากผู้อำนวยการ เมื่อสิ้นรอบการปฏิบัติงาน คณะกรรมการประเมินฯ ระดับฝ่ายจะดำเนินการตรวจสอบการรายงานการปฏิบัติงาน ของบุคลากรในระบบ TOR for OAR วา่ เป็นตามขอ้ ตกลงการปฏิบัติงานหรอื ไม่ และตรวจสอบการรายงานปริมาณงานจะต้อง ตรงตามมาตรฐานภาระงานทั้งงานประจำ งานเชิงพัฒนา และภาระส่วนงานกำหนด ซึ่งคณะกรรมการฯ จะประเมินผลการ ปฏิบัติงานทั้งปริมาณงาน และคุณภาพงานในระบบ TOR for OAR ดังนี้ คือ 1) การประเมินปริมาณงานจะพิจารณาจากค่า L.U. ที่ทำได้หากทำได้ตามที่ตกลงไวจ้ ะได้คะแนนปริมาณงานเต็ม 2) การประเมินคณุ ภาพการทำงานจะพิจารณาแยกรายข้อ คือ งานประจำ งานเชงิ พฒั นา และภาระงานทส่ี ่วนงานกำหนด ดงั น้ี 70

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การประเมนิ คุณภาพงานประจำ 1. คุณภาพและผลสมั ฤทธ์ขิ องงาน 2. ความทนั เวลาในการสง่ มอบงาน 3. ความพยายามทุ่มเท มุ่งมนั่ เพือ่ ให้งานสำเร็จ ไมเ่ ป็นท่ีน่าพอใจ ต้องปรับปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10  การประเมินคุณภาพงานเชิงพฒั นา 1. การนำไปพัฒนางานในหนา้ ที่ 2. การนำไปใชป้ ระโยชน์ 3. คุณคา่ ของผลงาน (Outcome/Impact) ท้งั ภายในและภายนอก ไม่เปน็ ทนี่ า่ พอใจ ต้องปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10  การประเมนิ คุณภาพงานสว่ นงานทก่ี ำหนด 1. การมีสว่ นรว่ ม OAR team 2. คุณภาพและผลสัมฤทธ์ขิ องงาน 3. ความม่งุ มั่น ต้งั ใจ เสียสละในการปฏิบัตงิ าน ไมเ่ ปน็ ทน่ี ่าพอใจ ต้องปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10  โดยมีการแสดงผลคะแนนประเมินรวมที่มีทั้งคะแนนปริมาณงานและคุณภาพงาน เพื่อให้กรรมการไปกรอกลงในระบบ TOR Online ต่อไป ดังนี้ A – Act คือ การปรบั ปรงุ การดำเนนิ การ การปรับปรุงการดำเนินงาน: สำนักวิทยบริการมีการทบทวนมาตรฐานภาระงานเป็นประจำทุกปี เพื่อคุณภาพการ ทำงาน เนื่องจากเมื่อบุคลากรมีความเชี่ยวชาญงานมากขึ้นระยะเวลาการปฏิบัติงานจะต้องน้อยลง ทั้งนี้เมื่อมีภาระงานหรือ ระบบงานใหม่ๆ เข้ามา สำนักวิทยบริการจะมีการเพิม่ และปรับปรุงมาตรฐานภาระงานของบุคลากรเสมอ โดยแต่ฝ่ายฯ จะมี การทบทวนมาตรฐานภาระงานบุคลากรให้เป็นปัจจุบันสอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริง ทั้งภาระงานประจำ ภาระงานเชิง พัฒนา รวมทั้งระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักวิทยบริการ TOR for OAR จะมีการทบทวนและปรับปรุง ระบบให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยจะต้องอยู่บนมาตรฐานการทำงานที่โปร่งใส บคุ ลากรสามารถตรวจสอบได้ ทั้งนใ้ี นปี 2565 สำนักวิทยบรกิ ารมกี ารทบทวนการกำหนดมาตรฐานภาระงานส่วนกลาง ได้แก่ งานประจำและงานเชิงพฒั นาใหม่ ดังนี้ นำหัวข้อย่อยการอบรมพัฒนาตนเองและงานประจำอ่ืนๆ จากงานเชิงพัฒนา ย้ายไป รวมกับหัวขอ้ งานประจำ เพ่ือความชัดเจนของผลงานเชงิ พฒั นาประเภท คมู่ ือ งานวิจยั นวัตกรรม สิ่งประดษิ ฐ์และทบทวนการ คดิ Load Unit ประเภทผลงานพฒั นา เพอ่ื กระตุ้นให้บคุ ลากรเกิดแนวคดิ พัฒนาผลงาน ดังน้ี 71

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 1) งานวจิ ัย 364 L.U./เร่ือง (บทท่ี 1 = 40 L.U. บทที่ 2 = 80 L.U. บทท่ี 3 =60 L.U. บทที่ 4=100 L.U. บทท่ี 5=84 L.U. ) 2) คู่มือ 5 บท จำนวน 100 L.U. (บทท่ี 1 = 10 L.U. บทที่ 2 = 15 L.U. บทที่ 3 =25 L.U. บทท่ี 4=30 L.U. บทที่ 5=20 L.U. ) 3) Work instruction จำนวน 20 L.U./เรอ่ื ง 4) LEAN และ Kaizen จำนวน 30 L.U./เรอื่ ง 5) นวัตกรรม สำหรับโปรแกรมเมอร์ ขนาด SS 105 L.U. , ขนาด S 210 L.U. , ขนาดM 420 L.U.,ขนาด L 840 L.U. , ขนาด XL 1260 L.U. 6) นวัตกรรม สำหรบั ผู้ร่วมงาน ขนาด SS 21 L.U. , ขนาด S 42 L.U., ขนาด M 84 L.U. , ขนาด L 168 L.U. , ขนาด XL 252 L.U. 7) นวตั กรรมเพอื่ การพัฒนางาน (1-5 คน ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับงาน) ไดแ้ ก่ บริการใหม่ กิจกรรมใหม่ เคร่อื งมอื ในการทำงาน เชน่ แบบสอบถามออนไลน์ เป็นตน้ จำนวน 30 L.U. 8) ส่งิ ประดษิ ฐ์ เชน่ ตู้ UVC ท่ตี ัดซองกาแฟ จำนวน 30 L.U. 9) KM เขยี นงาน จำนวน 6 L.U./เร่ือง 10) KM เล่าเรือ่ งงาน (เปิดเวท)ี จำนวน 14 L.U./เร่ือง 11) บทความวชิ าการที่เผยแพรใ่ นวารสาร 35 L.U. /เรอื่ ง 12) การนำเสนอผลงานวชิ าการ จำนวน 35 L.U. /เรอ่ื ง 13) โครงการใหม่ (ท่ีไม่เคยจัดมากอ่ น) จำนวน 35 L.U. /โครงการ ภาพตัวอย่าง การปรับเปล่ยี นการจัดทำขอ้ ตกลงการปฏบิ ัตงิ าน 9.2 งบประมาณทใี่ ช้ในการจัดโครงการ-กิจกรรม (ถ้าม)ี (ไมม่ ี) 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโนม้ ข้อมูลเชงิ เปรียบเทียบ (3 ป)ี และ/หรือเปรียบเทียบกับ หน่วยงานภายใน/ภายนอก 72

เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ การทีส่ ำนกั วิทยบรกิ ารมกี ารกำหนดมาตรฐานภาระงานประจำและงานเชงิ พฒั นาสง่ ผลใหอ้ งค์กรสามารถประเมินผล การปฏิบัตงิ านได้อยา่ งยุตธิ รรม โปร่งใส ไม่มกี ารร้องเรียนและบุคลากรมีเป้าหมายในการพัฒนางานอย่างตอ่ เน่ือง เช่น ผลงาน นวตั กรรม งานวิจยั คมู่ อื การนำเสนอในทีป่ ระชมุ วชิ าการต่าง ๆ เปน็ ตน้ 10.1 ผลการดำเนินงานของบุคลากรสำนักวิทยบรกิ าร รอ้ ยละบุคลากรมขี ดี ความสามารถสงู ขนึ้ ร้อยละของบุคลากรทมี่ คี วามเช่ียวชาญ/กา้ วหนา้ ตามตำแหนง่ งาน ผลลัพธช์ ัว่ โมงการพฒั นาขีดความสามารถของบุคลากร รอ้ ยละของบคุ ลากรที่ทำงานวิจยั เทียบกบั บคุ ลากรทั้งหมด รอบประเมนิ รอบประเมนิ รอบประเมนิ ระดั บ 2561 2562 2563 การ ประเมนิ จำนวน ร้อย จำนวน รอ้ ย จำนวน ร้อย บุคลากร ละ บคุ ลากร ละ บุคลากร ละ (66 (49 คน) (59 คน) คน) ระดับ 50 75.76 49 83.05 39 79.59 ดีเด่น ระดับ 11 16.67 9 15.26 10 20.41 ดีมาก ระดับ 5 7.57 1 1.69 - - ดี จำนวนผลงานวจิ ัยหรอื นวตั กรรมทนี่ ำไปใชป้ ระโยชน์ ในการพัฒนาองค์กร ผลการประเมนิ การปฏบิ ตั ิงานของบุคลากร 73

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ จำนวน Idea ทีบ่ ุคลากรนำเสนอ (ร้อยละ) ร้อยละของจำนวน Idea ที่นำไปพัฒนาเป็นนวัตกรรม เทยี บกับจำนวน Idea ทง้ั หมด จำนวนนวัตกรรมทพี่ ฒั นาเพอ่ื แก้ปญั หา บคุ ลากรที่พฒั นานวัตกรรม ในการทำงาน/บริการลกู คา้ ในองคก์ รเทยี บกบั บุคลากรทงั้ หมด (รอ้ ยละ) ผลงานนวตั กรรมทีน่ ำไปเผยแพร่ จำนวนนวัตกรรมทีห่ นว่ ยงานอน่ื นำไปใช้ประโยชน์ 10.2 ผลลัพธ์ของบคุ ลากรสำนักวิทยบริการเมอ่ื มกี ารนำระบบมาใช้ - บุคลากรมีความเชย่ี วชาญในหนา้ ท่ีและมผี ลงานพัฒนาอย่างตอ่ เนื่อง ส่งผลให้บุคลากรมีการนำเสนอผลงานในเวทีประชุม วิชาการต่าง ๆ และได้รับรางวลั จากการนำเสนอผลงาน ปี เวทกี ารประชมุ วชิ าการ ผลงาน รางวัล ปี 2562 PSU Innovation Challenge 2019 1.ระบบลงเวลาปฏิบตั ิกจิ กรรม 7 ส ดว้ ย QR code รางวัลระดบั ดเี ด่น วนั ท่ี 8-9 สงิ หาคม 2562 2.กระบวนการทำบัตรสมาชิกบุคลากรภายนอก ฝา่ ยหอสมดุ จอหน์ เอฟ เคนเนด้ี สำนกั วทิ ยบริการ รางวัลระดับชมเชย 74

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2563 -PSU Innovation Challenge 2020 ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากรสำนัก รางวลั ระดับดเี ด่น ปี 2564 ระหว่างวันท่ี 6-7 ส.ค. 2563 วทิ ยบรกิ าร V.2 รางวลั ระดับชมเชย -PSU Innovation Challenge 2021 1.ระบบพัฒนาบุคลากรสํานักวิทยบริการ (HRM) รางวลั ระดบั ชมเชย ระหวา่ งวันท่ี 12-13 ม.ค. 2565 สาํ นกั วิทยบริการ รางวลั ระดับชมเชย ระดับดี 2.เคร่ืองกำจดั เชือ้ Covid-19ดว้ ยแสงUVCแบบอัตโนมัติ 3.ระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศผ่านช่องทาง เดียวของสาํ นกั วิทยบรกิ าร -PULINET 2022 “New Generation การพัฒนานวัตกรรมเครื่องกำจัดเชื้อ Covid-19 Libraries: Toward House of ภายในตัวเล่มหนงั สือด้วยแสดง UVC Access” ระหวา่ งวนั ท่ี 5-7 ม.ค.2565 -โครงการ \"การประกวดนวัตกรรมจาก รางวัลรองชนะเลศิ วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือ เคร่อื งทำลายหลอดไฟ อันดับ 1 อุตสาหกรรม\" เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า ทางเศรษฐกิจและเกดิ ประโยชน์สูงสดุ - นวัตกรรมที่บคุ ลากรสำนักวิทยบรกิ ารพฒั นาและหน่วยงานอ่ืนนำไปใชป้ ระโยชน์ 1. การใช้ Microsoft Teams จัดการเรยี นการสอน ณ โรงเรยี นสาธิต ม.สงขลานครินทร์ (ฝา่ ยประถม) 2. การรับส่งสัญญาณภาพและเสียงความคมชัดสงู ดว้ ยเทคโนโลยี NDI 3. ระบบบันทึกการเรียนการสอนอัตโนมัติ ณ ห้องเรยี น วมว.คณะวทท. 4. ระบบบรจิ าควัสด/ุ อุปกรณ/์ ส่งิ ของของศนู ย์อาสาลูกพระบิดา มอ.ปตั ตานี 5. ระบบประเมินความเส่ยี งในการตดิ เช้อื โควิด 19 6. ระบบภมู สิ ารสนเทศโควดิ 19 7. ระบบบนั ทกึ การลงเวลาเข้า-ออก ห้องสมุด 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเนื่องในอนาคต สำนักวิทยบริการมีการทบทวนมาตรฐานภาระงานเปน็ ประจำทุกปี เพื่อความเช่ียวชาญทางวิชาชีพและมี จติ บรกิ ารโดยมุ่งเนน้ ผูใ้ ชบ้ ริการเป็นสำคัญตามสมรรถนะหลกั ขององค์กร และพฒั นาปรับปรงุ ระบบประเมินผลการปฏิบัติงาน TOR for OAR ให้บุคลากรสามารถใช้งานง่ายเกิดความคล่องตัว และสอดคล้องกับแนวทางการดำเนินงานของ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 11.2 จุดแขง็ (Strength) หรือ สง่ิ ทที่ ำได้ดีในประเด็นทีน่ ำเสนอ การสร้างความเข้าใจและการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร ในการร่วมกันออกแบบและพัฒนาระบบ การคิดค่ามาตรฐานภาระงานและมีการใช้งานมาตลอดมากกว่า 10 ปี ซึ่งมีระบบประเมินที่สอดคล้องการทำงาน มีความ ยุตธิ รรม โปรง่ ใส่ สามารถตรวจสอบได้ เนื่องจากการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านมีเกณฑก์ ารประเมนิ ทีช่ ดั เจน ผปู้ ระเมนิ ไม่ได้ใช้ ความรสู้ ึกในการประเมินและผถู้ ูกประเมินก็รับทราบในหลกั เกณฑ์ 11.3 กลยทุ ธ์ หรอื ปจั จัยทีน่ ำไปส่คู วามสำเร็จ สำนักวิทยบริการมีวัฒนธรรมองค์กรในการทำงานเป็นทีม ซึ่งเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร ดังนั้นในกระบวนการพฒั นาระบบและการนำไปใช้ บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะใน การพฒั นาและปรับปรงุ จึงเปน็ สิ่งสำคญั ท่นี ำไปสูค่ วามสำเร็จของระบบ และนำไปสู่วิสัยทศั น์ของสำนักวทิ ยบรกิ าร 12. ประเด็น (จดุ เด่น) ท่ีเปน็ แนวปฏิบัตทิ เ่ี ป็นเลิศ 75

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ สำนกั วทิ ยบริการเป็นหนว่ ยงานบรกิ ารทีม่ ีเฉพาะบคุ ลากรสายสนบั สนุน มีวฒั นธรรมองค์กรการทำงานเปน็ ทีม (OAR TEAM) และคา่ นยิ มองคก์ ร (SQI S = service mind, Q = quality, I = innovation) เม่ือองค์กรมีแนวทางการปฏิบัติงานที่ดี ในการทำงานทม่ี ีการกำหนดใหบ้ ุคลากรทุกคนปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานภาระงานหรือการส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรคิดพฒั นางานต่าง ๆ บคุ ลากรพร้อมปฏบิ ัติตามดว้ ยความมุ่งมั่นและเตม็ ใจ ซ่ึงการปฏิบัตงิ านตามระบบการบริหารมาตรฐานการปฏิบัติงานของ บุคลากรสำนักวิทยบริการ บุคลากรเกิดการเรียนรู้ปัญหาจากการทำงาน กระตุ้นให้แสวงหาแนวทาง กระบวนการในการ แก้ปัญหาวิธีการใหม่ ๆ เกิดแนวคิดหรือวิธีการสู่แนวทางในการไปสู่วิสัยทัศน์ของสำนักวิทยบริการ ส่งผลให้เกิดเ ป็นแนว ทางการทำงานของบุคลากรสายสนบั สนุนของมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ดงั นี้คอื 12.1 สำนักวิทยบริการมีระบบการบริหารมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของบุคลากรทเี่ ปน็ แบบอย่างให้กับหน่วยงานอ่นื 12.2 สำนักวิทยบรกิ ารมรี ะบบบริหารจัดการองค์กรท่เี ป็นเลศิ 12.3 สำนักวิทยบริการมีระบบประเมนิ การปฏิบัติงานของบุคลากรที่มมี าตรฐานและยุติธรรม โปร่งใส่ ตรวจสอบได้ ตามแนวทาง ITA 13. เอกสารอ้างอิง จอมใจ เพชรกลา้ , และชารฟี ลามาก. (2563). ระบบประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านบุคลากรสำนกั วทิ ยบรกิ าร (TOR for OAR).ใน การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ PULINET ครงั้ ที่ 10: NEW NORMAL FOR LIBRARIES: OPPORTUNITIES & CHALLENGES (น. 479-491). ขอนแกน่ : สำนักวทิ ยบรกิ าร. (2563). รายงานวิธกี ารและผลการดำเนนิ งานตามเกณฑร์ างวัลคณุ ภาพ 2563. ปัตตานี งานนโยบายและแผน สำนักวิทยบริการ (2564) แผนกลยุทธ์สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561-2565) ปัตตานี 14. บทสรปุ ผลลัพธ์ของการที่สำนักวิทยบริการมีระบบการบริหารมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคลากร ทำให้บุคลากรทุกคน ยึดถือปฏิบัติการทำงานโดยมคี ่ามาตรฐานภาระงานของแตล่ ะงาน เป็นการทำงานทีม่ ีมาตรฐานมีความชัดเจนในระบบงานท้งั ยังมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรที่สอดคล้องการทำงานที่มีความยุติธรรม โปร่งใส่ สามารถตรวจสอบได้ ส่งผลทำใหบ้ คุ ลากรมีพึงพอใจในรูปแบบการทำงานและการประเมินท่ียตุ ิธรรม บคุ ลากรจงึ มคี วามสุขในการทำงานเกิดแนวคิด ในการพัฒนางานประจำและงานเชิงพัฒนาตลอดเวลา ส่งผลใหม้ ีผลงานเชิงพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและมีนำเสนอผลงานตา่ งๆ ใน ท่ีประชุมวชิ าการและไดร้ บั รางวัลจำนวนมาก 76

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏิบตั ทิ ่เี ปน็ เลิศ *************************************** 1. ชื่อเรือ่ ง การพัฒนาระบบการใหค้ ะแนนภาระงานทส่ี ่วนงานกำหนด คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น การบรหิ ารจัดการ 3. ช่ือหน่วยงาน กล่มุ งานบรหิ ารและบคุ คล คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4. ประเภทของโครงการ แนวปฏบิ ตั ิที่ดสี ายสนับสนุน 5. คณะทำงานแนวปฏิบตั ิท่ีดี (Best Practices) 5.1 นางกิติยาภรณ์ สินศุภเศวต 5.2 นายณรงค์ชัย ดวงเทศ 5.3 วา่ ท่ีร้อยตรีหญงิ ทพิ วรรณ จนั ทมาส 6. การประเมินปญั หา / ความเสีย่ ง (Assessment) ตามท่ีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ไดก้ ำหนดใหม้ กี ารคดิ คะแนนภาระงานท่สี ่วนงานกำหนด (16 คะแนน) เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยเร่ิมใช้ตั้งแต่รอบการประเมินปี 2563 เป็นต้นมา ในส่วนของ คณะวิศวกรรมศาสตร์ได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ รายการคะแนนสำหรับแต่ละรายการ และนำเสนอที่ ประชุมคณะกรรมการประจำคณะพิจารณาให้ความเห็นชอบ เพ่อื เป็นเคร่ืองมอื ในการขับเคลื่อนการทำงานให้บรรลุ เป้าหมาย พันธกิจของคณะ ซ่ึงได้กำหนดให้มีผู้บริหารบางกลุ่มท่ีไม่ต้องมีภาระงานส่วนนี้ ได้แก่ ผู้บริหารคณะ/ ผบู้ ริหารมหาวิทยาลยั หวั หนา้ สาขาวชิ า และประธานหลกั สตู ร พร้อมได้มีการทบทวนรายการทใี่ หค้ ะแนนภาระงาน ท่ีส่วนงานกำหนดปรับเปล่ียนไปตามเรื่องที่คณะต้องการขับเคล่ือนแต่ละปี ซ่ึงโดยรวมแบ่งเป็น 2 ส่วนหลักๆ ส่วน แรกเปน็ ภารกิจที่คณะกำหนด ซ่ึงคณะไดม้ อบหมายใหก้ ล่มุ งานบริหารและบุคคลเป็นผู้ใหค้ ะแนนส่วนน้ีตามเกณฑ์ท่ี กำหนดไวแ้ ล้ว สำหรบั ส่วนหลงั เป็นภารกิจทีห่ นว่ ยงานตน้ สังกดั กำหนดโดยประธานการประเมนิ (ผู้บงั คบั บัญชาตาม สายงาน) จะเปน็ ผ้ใู หค้ ะแนนสว่ นน้ี ในชว่ งปแี รกคณะได้กำหนดให้บุคลากรทกุ คนเป็นผู้รายงานผลภาระงานท่สี ว่ นงานกำหนดของตนเอง และ จดั สง่ เป็นเอกสารผา่ นผบู้ งั คับบญั ชาตามสายงานเพื่อใหค้ ะแนนสว่ นที่เกยี่ วข้องและสง่ มาท่กี ลมุ่ งานบริหารและบคุ คล โดยมีรองคณบดีและหัวหน้ากลุ่มงานเป็นผู้ให้คะแนนในส่วนที่คณะกำหนดตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้แล้ว จากการ ดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าผู้ให้คะแนนไม่ทราบว่าข้อมูลที่บุคลากรรายงานมาถูกต้องหรือไม่ รวมถึงมีบางส่วนที่ไม่ สะท้อนความเป็นจริงเท่าทีค่ วร เน่อื งจากรายงานมาไม่ครบถว้ น ทงั้ ที่ผู้ประเมินทราบว่ามภี าระงานส่วนนจ้ี รงิ แตไ่ ม่มี การรายงาน ทำให้ต้องพิจารณาตรวจสอบ ค้นหาข้อมูลเป็นรายบุคคลเพิ่มเติม เพ่ือให้ได้ผลที่ตรงกับความเป็นจริง มากที่สุด ซ่ึงคณะวิศวกรรมศาสตร์เป็นคณะใหญ่ มีจำนวนบุคลากรถึง 300 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2565) ทำให้ต้องใช้เวลาในการดำเนนิ การมาก และคาดการณ์วา่ ในอนาคตหากต้องมีการขับเคล่ือนให้สอดคล้องกับ พันธกิจทุกด้านเต็มรูปแบบ การให้คะแนนจะมีความยุ่งยาก ซับซ้อนเพ่ิมข้ึน อาจทำให้ผลการประเมินไม่ถูกต้อง 77

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตามที่ควรจะเปน็ ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการให้คะแนน อีกทั้งตอ้ งมีการส่งเอกสารจำนวนมากไปมา จงึ มี ความเส่ียงที่เอกสารหาย ดังน้ันกลุ่มงานบริหารและบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร์จึงได้พัฒนาระบบการให้คะแนน ภาระงานที่ส่วนงานกำหนดขึน้ เพอื่ ลดปัญหาและเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการประเมนิ ส่วนน้ี 7. เปา้ หมาย/วัตถุประสงค์ของโครงการ 7.1 เพื่อลดเวลาการรายงานและใหค้ ะแนนภาระงานที่สว่ นงานกำหนด 7.2 เพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพการรายงานและใหค้ ะแนนภาระงานทส่ี ว่ นงานกำหนด 7.3 เพ่ือลดการใช้ทรพั ยากร 8. ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ 8.1 สามารถลดเวลาในการจัดทำรายงานและให้คะแนนภาระงานทสี่ ว่ นงานกำหนด 8.2 การให้คะแนนภาระงานท่ีสว่ นงานกำหนดมปี ระสทิ ธิภาพเพ่มิ ขนึ้ 8.3 ไม่มีการใช้กระดาษในการประเมินภาระงานทสี่ ว่ นงานกำหนด (Paperless) 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวทางการปฏบิ ัตจิ ริง (PDCA) การพัฒนาระบบรายงานภาระงานทส่ี ว่ นงานกำหนด (16 คะแนน) ของคณะวศิ วกรรมศาสตร์ มีการ ดำเนินงานเปน็ ไปตามข้ันตอน (PDCA) ดงั แสดงในรูปที่ 1 รปู ท่ี 1 ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานตามกระบวนการ PDCA ขัน้ ตอนท่ี 1 การวางแผน 1. รวบรวมรายการที่จะต้องประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนท้ังหมดของคณะ (สายวิชาการและสาย สนบั สนนุ ) ทผ่ี า่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำคณะมาแล้ว ดงั แสดงในรปู ท่ี 2 78

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รูปที่ 2 ตวั อยา่ งเกณฑภ์ าระงานทส่ี ว่ นงานกำหนด (สายวิชาการ) 2. ระดมสมอง วางแผนรว่ มกนั กับบุคลากรในกลุ่มงานเพ่อื กำหนดโครงสรา้ งของขอ้ มูลทีจ่ ำเป็นตอ้ งใช้ เช่น ขอ้ มลู รายการท่ตี อ้ งประเมนิ ชว่ งเวลาในการจัดเกบ็ เกณฑ์การใหค้ ะแนน หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ เคร่อื งมือที่ใชจ้ ัดเก็บขอ้ มลู รวมถงึ การวเิ คราะห์ คาดเดาปัญหาทจี่ ะเกดิ ขน้ึ เพื่อจดั ทำแผนการดำเนนิ งานและกำหนดผรู้ บั ผดิ ชอบ เปน็ ต้น 3. จดั ประชุมหวั หนา้ กลุ่มงานและเจ้าหน้าที่ผ้รู ับผิดชอบกับข้อมูลในรายการที่ต้องประเมินจากหน่วยงานตา่ ง ๆ เพ่ือช้ีแจงรายละเอียดของข้อมูลที่ต้องจัดเก็บเพื่อเตรียมการเบื้องต้น สำหรับรายงานในระบบการให้คะแนน พร้อมรับฟัง ปญั หาอปุ สรรค หรือประเด็นท่ีไม่เขา้ ใจในการดำเนินการ เพ่อื นำมาปรบั ปรุงระบบตอ่ ไป ข้นั ตอนที่ 2 การออกแบบและพฒั นาระบบ ในปี 2563 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้นำเอา Google Workspace มาให้บุคลากรใช้งาน โดย เช่ือมโยงกับ Email @psu.ac.th ซ่ึงมีโปรแกรมท่ีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน เช่น Google Sites Google Sheets กลุ่ม งานบริหารและบุคคลจึงนำเอาข้อดีของแต่ละโปรแกรมมาเพือ่ ออกแบบระบบดังกล่าว โดยปรับปรงุ พัฒนาต่อเนอ่ื ง มาจนถึงปี 2565 ทง้ั นีร้ ะบบแบง่ ออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 การจัดทำข้อตกลงและรายงานข้อมูลของบุคลากร จัดทำเป็น Google Sites เพ่ือง่ายต่อการ เขา้ ถงึ การกรอกข้อมูล ดงั แสดงในรปู ที่ 3 โดยได้แยกแตล่ ะสาขาวชิ า/กลุ่มงาน บคุ ลากรเพยี งเลือกหน่วยงานที่ตนเอง สังกดั และกรอกข้อมูลข้อตกลง รวมถึงการรายงานใน Google Sheets ดังแสดงในรปู ท่ี 4 ในแถบแสดงรายชอื่ แผ่น งาน ของบุคลากร ซึ่งคณะได้กำหนด และเปิดสิทธเิ์ ฉพาะให้แต่ละบุคคลไว้แล้ว ซ่งึ จะต้อง Login ดว้ ย @psu.ac.th หรอื @gmail.com ทบ่ี คุ ลากรไดแ้ จง้ ไวเ้ ท่านั้น 79

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รปู ท่ี 3 หนา้ หลกั Google Sites การจดั ทำขอ้ ตกลงและรายงานข้อมลู ของบคุ ลากร รปู ท่ี 4 Google Sheets เพอื่ รายงานภาระงานส่วนบคุ คลทสี่ ว่ นงานกำหนด ส่วนที่ 2 การกรอกข้อมูลของผู้รับผิดชอบข้อมูลในแต่ละรายการ โดยมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบในแต่ละ หัวขอ้ ของเกณฑ์ภาระงานที่คณะกำหนดเปน็ ผู้รวมรวมข้อมลู และใหก้ รอกข้อมูลสำหรับเตรียมระบบใหค้ ะแนนภาระ งานทค่ี ณะกำหนด ดังแสดงในรูปท่ี 5 80

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ รปู ท่ี 5 การกรอกข้อมูลสำหรบั ให้คะแนนภาระงานท่ีคณะกำหนดจากหน่วยงานตา่ ง ๆ ส่วนที่ 3 ระบบการให้คะแนนของผู้บังคับบัญชา นำข้อมูลที่ได้รับจากการกรอกข้อมูลของผู้รับผิดชอบ ส่วนที่ 2 มาดำเนินการสรุปขอ้ มูลรายบุคคลแยกตามหน่วยงาน และมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาต้นสังกัดให้คะแนน ในสถานะของ “ประธานประเมิน” โดยเลือกสังกัดท่ีรับผิดชอบ ดังแสดงในรูปท่ี 6 เพื่อให้คะแนน ส่วนท่ี 2 คือ คะแนนท่มี าจากภารกิจที่หน่วยงานต้นสงั กดั กำหนด (1) ซึง่ ระบบจะดำเนนิ การรวมคะแนนทุกส่วน เพอ่ื ให้นำข้อมูล ดังกล่าว (2) ไปกรอกในระบบ TOR online ในส่วนของภารกจิ ทสี่ ่วนงานกำหนดตอ่ ไป ดังแสดงในรูปที่ 7 รูปที่ 6 หน้าหลักระบบการให้คะแนนภาระงานท่ีสว่ นงานกำหนด 81

เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ รปู ท่ี 7 ระบบการใหค้ ะแนนภาระงานที่หน่วยงานตน้ สงั กดั กำหนด ขั้นตอนที่ 3 การทดสอบการใชง้ าน - การทดสอบความถูกต้องของการรายงานคะแนน โดยดำเนินการสอบทานการประมวลผลในรายการจาก หวั ข้อต่าง ๆ พร้อมจับเวลา - การประเมินความคิดเห็นของผู้ใช้งาน ได้ดำเนินการทดลองใช้งานโดยผู้ใช้งานภายในกลุ่มงานบริหารและ บุคคลก่อน และปรับปรุงแก้ไขเพ่ือให้ใช้งานสะดวกข้ึน จากนั้นรับฟังปัญหาเพ่ิมเติมจากผู้ใช้งานส่วนอื่น เช่น ผู้กรอก ข้อมูล ประธานการประเมิน เป็นต้น ขั้นตอนที่ 4 การปรับปรงุ และพัฒนา หลังจากที่ได้รับฟังปัญหาและความต้องการจากผู้ใช้งานระบบแล้ว ได้นำข้อเสนอแนะต่างๆ มาปรับปรุง พฒั นา รวมทั้งจากการระดมสมองในทีมงานของกลุ่มงานบริหารและบุคคลเพิ่มเตมิ เพ่ือค้นหาปัญหาอุปสรรคในการ ดำเนินการ เพ่อื หาแนวทางแก้ไขและปรบั ปรงุ พฒั นาให้ผู้รบั บรกิ ารใชง้ านได้สะดวกข้นึ โดยมรี ายละเอยี ด ดังแสดงใน ตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ปัญหาอปุ สรรคและแนวทางแก้ไข ปญั หาอุปสรรคในการดำเนินการ แนวทางแก้ไข 1. ดา้ นระบบ - ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งไมส่ ามารถเขา้ ใช้งานในระบบได้ทุกคน - ดำเนินการเปิดใช้สิทธ์ิการ Login ด้วย @psu.ac.th หรอื @gmail.com ให้ - การใช้งานยาก เน่ืองจากทำเป็น Google Sheets - ปรับเป็น Google Sites เพ่ือความสะดวกในการใช้ ทำให้มีหลาย Link แยกเป็นหน่วยงาน ต้องเข้าไป งาน (รปู ที่ 5) ค้นหาและคดั ลอก Link มาวาง 2. ดา้ นข้อมลู - ประธานการประเมนิ สว่ นของสำนกั งานบริหารคณะ - เพ่ิมสิทธิให้เป็นผู้ประเมินร่วม โดยให้ลงช่ือเห็นชอบ มีหัวหนา้ กลุม่ งานเปน็ ประธานการประเมนิ ทำให้รอง มาพรอ้ มกบั ประธานดว้ ย ค ณ บ ดี ต าม ส า ย บั ง คั บ บั ญ ช าไ ม่ ส า ม า ร ถ ดู แ ล ะ ให้ คะแนนภาระงานท่ีหน่วยงานต้นสังกัดมอบหมาย 82

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ รว่ มกนั ได้ แนวทางแก้ไข ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินการ - มขี อ้ มลู ผู้บรหิ ารบางกลมุ่ ที่ไม่ตอ้ งประเมินภาระงาน - ในเบื้องต้นได้ใช้สีพ้ืนแยกให้เห็นความแตกต่าง ส่วนน้ปี รากฏในระบบ ทำให้เกิดความสบั สน ชัดเจนว่าไม่ต้องประเมิน และในรอบถัดไปจะทำช่อง สถานะตำแหน่งเพิ่ม และกรองสถานะท่ีไม่ต้อง ประเมินออกก่อน 3. ด้านคน - ผู้กรอกข้อมูลบางคนมีการลบข้อมูลผู้อ่ืน เน่ืองจาก - ดำเนนิ การแยก sheet เป็นรายหน่วยงาน ท้ังในส่วน ใชง้ านบน sheet เดียวกนั ท่ีกรอกข้อมูล และในส่วนรายงานผลส่วนบุคคลล็อค สิทธิใหแ้ ก้ไขเฉพาะเจา้ ของ - ผูใ้ ช้งานไม่เขา้ ใจเกณฑ์แตล่ ะรายการ ทำให้มีการใส่ - เพมิ่ คำอธิบายรายละเอียดในแตล่ ะหัวข้อ หัวข้อสลบั กนั เชน่ การเขา้ ร่วมกิจกรรม การอบรม เปน็ ต้น - ผใู้ ชง้ านไมเ่ ข้าใจการใช้ระบบ Google sheets - จัดทมี งานสอนการใชง้ านให้เบือ้ งตน้ เพื่อให้ ดำเนนิ การได้ ตอ่ มาทางกลุ่มงานฯ เห็นวา่ Google sheets น่าจะเป็นเครอื่ งมอื ในการพัฒนางานด้านอื่นๆ ที่นอกเหนอื จากงานนไี้ ด้ดว้ ย จงึ ไดจ้ ัดอบรม Google Apps ให้บุคลากรในคณะให้มคี วามรู้ความเข้าใจเพอ่ื จะนำไปใช้ประโยชนต์ ่อด้วย 4. ดา้ นอน่ื ๆ - มบี างรายการในภาระงานที่คณะกำหนด เช่น การ - ตรวจสอบเปรยี บเทียบการรายงานผลการ พัฒนาตนเองไม่มีในระบบ ทำใหค้ ะแนนไมต่ รงความ ดำเนนิ งานของเจ้าของอีกครง้ั เปน็ จริง 9.2 งบประมาณท่ีใชใ้ นการจดั โครงการ-กิจกรรม (ไม่มี) 10. การวัดผลและผลลัพธ์ (Measures) ระบบการรายงานและใหค้ ะแนนภาระงานทสี่ ว่ นงานกำหนด คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มีการพัฒนาต่อเนอ่ื ง มา 3 รอบการประเมิน ทำให้สามารถบรรลุเป้าหมายทง้ั 3 ขอ้ คอื 10.1 สามารถลดเวลาในการจัดทำรายงานและให้คะแนนภาระงานที่ส่วนงานกำหนด โดยมีรายละเอียด ดงั แสดงในตารางท่ี 2 ตารางที่ 2 แสดงระยะเวลาในการจัดทำรายงานและให้คะแนนก่อนและหลังมีระบบเปรียบเทียบข้อมูล ย้อนหลงั 3 รอบปกี ารประเมนิ กจิ กรรม ขอบเขต กอ่ นมรี ะบบ หลงั มีระบบ 83

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ - จดั ทำข้อตกลงภาระงานที่ เริม่ ต้ังแต่ทำรายงาน ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 สว่ นงานกำหนด จนถึงประธานลงนาม (นาที) (นาท)ี (นาที) 180 180 30 เห็นชอบ (รวมเวลาเดินทางของ เอกสาร) กิจกรรม ขอบเขต กอ่ นมรี ะบบ หลังมรี ะบบ ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 - การตรวจสอบความถูกตอ้ ง เรม่ิ ต้ังแตไ่ ดร้ บั รายงาน (นาท)ี (นาที) (นาท)ี จนเสรจ็ ครบถว้ น - การให้คะแนนภาระงานท่ี เริม่ ตง้ั แตใ่ หค้ ะแนน 180 180 180 คณะกำหนด จนถงึ สง่ เอกสารกลบั คนื 120 11 มาทกี่ ลมุ่ งานบริหารฯ (รวมเวลาเดินทางของ เอกสาร) 10.2 การให้คะแนนภาระงานที่ส่วนงานกำหนดมปี ระสิทธภิ าพเพมิ่ ขึน้ โดยมีรายละเอียด ดังแสดงใน ตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 แสดงประสิทธิภาพกอ่ นและหลังมรี ะบบ รายการประสิทธภิ าพ ก่อนมรี ะบบ หลงั มรี ะบบ ปี 2563 - ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู x ปี 2564 ปี 2565 - ความตรงเวลาของการส่งรายงาน x - ความยดื หยุ่นในการเปลยี่ นแปลงข้อมูล x // // // 10.3 ลดการใช้ทรัพยากร พบว่าหลังจากการพัฒนาระบบการรายงานและการให้คะแนนภาระงานที่ส่วน งานกำหนดแล้วเสร็จ พบว่าในรอบการประเมินปี 2564 ยังมีรายงานท่ีเป็นกระดาษจำนวนมากท่ีต้องให้ ผู้บังคับบัญชาท่ีเก่ียวข้องทุกคนลงนามเห็นชอบมาก่อน ดังน้ันในรอบการประเมินปี 2565 จึงได้มีการกำหนดให้ ผบู้ งั คับบัญชาทเี่ ก่ียวข้องลงนามผ่านระบบ โดยกำหนดสิทธใ์ิ นชอ่ งที่ตอ้ งลงนามเฉพาะรายบุคคล และไมต่ อ้ งพิมพส์ ่ง มาที่กลุ่มงานบริหารและบุคคลอีก จึงไม่มีการใช้กระดาษในการประเมินภาระงานที่ส่วนงานกำหนด (Paperless) ดงั แสดงในตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 แสดงการใช้ทรพั ยากร (กระดาษ) กอ่ นและหลงั มรี ะบบ รายการประสิทธิภาพ กอ่ นมีระบบ หลังมรี ะบบ 84

เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การใชท้ รัพยากร (กระดาษ) ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 / / x 11. การเรียนรู้ (Study / Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคุณภาพอยา่ งต่อเนอื่ งในอนาคต มีแผนในการนำข้อมูลมาใช้เพ่ือการบริหารและพัฒนาคนเพิ่มขึ้น โดยจะนำ Google Data Studio มาใช้ ในการวิเคราะหเ์ พือ่ สรปุ รายงานเพือ่ ให้เหน็ ขอ้ มูลศกั ยภาพ จดุ เดน่ รายบุคคลในแต่ละดา้ นตามรายการประเมนิ แตล่ ะ ข้อมาใช้ในการส่งเสริมเป็นกลุ่ม Talent และพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพบุคลากรในคณะและเพื่อประโยชน์ของ คณะต่อไป 11.2 จุดแข็ง (Strength) หรือส่ิงทที่ ำได้ดีในประเด็นทน่ี ำเสนอ คือ - สามารถปรับให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงท้ังในระหว่างปี และในแต่ละปีได้โดยใช้เวลาไม่มาก เนื่องจากมคี วามยดื หยนุ่ สูง และไมจ่ ำกดั สถานที่ดำเนินการ - สามารถนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้ นอกเหนือจากประเมินการปฏิบัติงานเพ่ือพิจารณา คา่ ตอบแทน เช่น การคัดเลือกบคุ ลากรดเี ด่น การคน้ หากลุ่ม Talent เป็นตน้ - สามารถเป็นตน้ แบบใหก้ บั คณะอืน่ ทส่ี นใจนำไปประยกุ ตใ์ ชง้ านตอ่ ได้ - มกี ารปรบั ปรงุ และพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่อื งตามกระบวนการ PDCA - บุคลากรมีความรู้เรื่องเคร่ืองมือท่ีนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน ทำให้สามารถพัฒนาได้เอง โดยไม่ต้องขอ ความอนุเคราะห์เจา้ หนา้ ท่จี ากฝ่ายคอมพิวเตอร์ 11.3 กลยุทธห์ รอื ปัจจัยสคู่ วามสำเร็จของระบบน้ี คือ - ไดร้ ับความรว่ มมือจากบุคลากรท่เี ก่ียวขอ้ งทุกระดับในคณะ ตงั้ แตผ่ บู้ ริหารจนถึงผปู้ ฏิบัติงาน - มีการพัฒนาใหบ้ ุคลากรในกลุ่มงานสามารถทำงานทดแทน ในฐานะ Admin ของระบบได้ - มีการกำหนดเร่ืองการปรับปรุงพัฒนาระบบในภาระงานที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด และ TOR ของ ผู้เก่ียวขอ้ งทุกระดับ 12. ประเดน็ (จุดเด่น) ท่เี ป็นแนวปฏิบตั ิที่เป็นเลิศ เปน็ ระบบทม่ี ีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ืองตามกระบวนการ PDCA สามารถใช้เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการรายงาน ผลและให้คะแนนภาระงานท่ีสว่ นงานกำหนดได้เป็นอย่างดี เชน่ การลดเวลาในการดำเนินการ มีความยดื หยุ่นสูงใน การเปล่ียนแปลงข้อมลู มคี วามนา่ เช่อื ถือของข้อมูลเน่ืองจากมาจากผู้รบั ผดิ ชอบขอ้ มลู โดยตรง นอกจากนี้ยงั สามารถ นำขอ้ มลู ไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากกวา่ การให้คะแนนภาระงานท่ีสว่ นงานกำหนดเพยี งอยา่ งเดียว อกี ทง้ั สามารถเป็น ตน้ แบบให้กับหนว่ ยงานอืน่ ในมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทรท์ ีส่ นใจนำไปประยกุ ต์ใชต้ ่อได้ 13. เอกสารอ้างองิ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร.์ (2562). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการของข้าราชการ พลเรอื นในสถาบันอดุ มศึกษา (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2562. http://www.personnel.psu.ac.th/com/com_372.pdf มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์. (2562). หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านประจำปขี อง พนกั งานมหาวิทยาลัย (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ 2562. http://www.personnel.psu.ac.th/com/com_371.pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์. (2562). หลักเกณฑ์และวิธีการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของลูกจ้างประจำ 85

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ 2562. http://www.personnel.psu.ac.th/com/com_373.pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์. (2562). หลักเกณฑ์และวธิ กี ารประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากรสาย สนับสนนุ 20% = 16 คะแนน. http://www.personnel.psu.ac.th/new1/new_40.33.pdf คณะวิศวกรรมศาสตร.์ (2564). หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ภาระงานทสี่ ่วนงานกำหนด (16%)ของบคุ ลากร สายวิชาการและสายสนบั สนุน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สำหรบั รอบการประเมนิ ปี 2565. https://drive.google.com/file/d/1KWx-MwCz- orV39HpfTxk8ObAHK9ojT9y/view?usp=sharing 14. บทสรปุ การพัฒนาระบบการให้คะแนนภาระงานท่ีส่วนงานกำหนด คณะวิศวกรรมศาสตร์ สามารถจัดการปัญหา ต่างๆ ในส่วนของกระบวนการดำเนินงานที่เกิดข้ึนได้ โดยลดเวลาการรายงานภาระงานและให้คะแนนภาระงานที่ ส่วนงานกำหนด เพิ่มประสิทธิภาพการรายงานภาระงานและให้คะแนนภาระงานท่ีส่วนงานกำหนด และลดการใช้ ทรัพยากรได้อย่างชัดเจน เนื่องจากระบบดังกล่าวมีความยืดหยุ่นสูงเหมาะสมกับเกณฑ์ท่ีมีการปรับเปลี่ยนในทุกปี และการนำเข้าข้อมูลจากหลายแหล่งข้อมูลเพ่ือมารวบรวมประมวลผลคะแนนภาระงานที่ส่วนงานกำหนด ท้ังน้ี สามารถเป็นต้นแบบให้กับคณะอน่ื ทส่ี นใจนำไปประยุกต์ใช้งานต่อได้ ตลอดจนสามารถพัฒนาตอ่ ยอดระบบดังกล่าว สำหรับการส่งเสริมกลุ่ม Talent การคัดเลือกบุคลากรดีเด่น และพัฒนาเพ่ือยกระดับคุณภาพบุคลากรในคณะและ เพอ่ื ประโยชน์ของคณะ มหาวทิ ยาลยั ต่อไป 86

เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ัตทิ เี่ ปน็ เลศิ *************************************** 1. ช่อื เร่ือง ระบบบรหิ ารจดั การภูมทิ ศั น์แบบยงั่ ยืน (Sustainable Landscape Management) 2. โครงการ / กจิ กรรมดา้ น ด้านการบรหิ ารจดั การ 3. ช่ือหน่วยงาน กองกายภาพและสิ่งแวดลอ้ ม วิทยาเขตหาดใหญ่ 4. ประเภทของโครงการ  ประเภทที่ 2 แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี  2.1 สายวิชาการ  2.2 สายสนับสนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวการปฏิบัติท่เี ปน็ เลศิ รองอธิการบดวี ทิ ยาเขตหาดใหญ่ (ทป่ี รกึ ษา) 1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วศิน สวุ รรณรัตน์ คณะวิทยาศาสตร์ (ท่ปี รึกษา) 2. รองศาสตราจารย์ ดร.สชุ าดา จนั ทร์พรหมมา ผู้อำนวยการกองกายภาพและสง่ิ แวดล้อม วิทยาเขตหาดใหญ่ 3. นายนติ ิธร ชำนาญเมือง ผู้ช่วยผอู้ ำนวยการกองกายภาพและสิง่ แวดล้อม วทิ ยาเขตหาดใหญ่ 4. นายชยั ยศ ชิตวฒั น์ หวั หน้างานภูมทิ ศั น์และสงิ่ แวดล้อม 5. นายเทวนิ ทร์ ยอดสวัสดิ์ หัวหน้าหนว่ ยภมู ทิ ัศน์ 6. นายพลภัทร กุลฑล หวั หน้าหนว่ ยสาธารณสุขและสิ่งแวดลอ้ ม 7. นายธวัชชยั รยุ ลั หวั หนา้ หมวดเรือนเพาะชำ 8. นายอนันต์ อุไรรตั น์ รักษาการในตำแหน่งหวั หน้างานสาธารณูปโภค 9. นายณัฐวฒั น์ บัวก่งิ หัวหนา้ หน่วยไฟฟ้าและปรบั อากาศ 10. นายนวิ ัฒน์ ชูสวา่ ง รักษาการในตำแหนง่ หวั หนา้ งานออกแบบและกอ่ สรา้ ง 11. นายสุทธิ สทุ ธโิ มกข์ หัวหน้าหน่วยโยธาและซ่อมบำรงุ 12. นายธวฒั ชยั พนู เพ่ิม หัวหน้าหนว่ ยวิศวกรรม 13. นายณัฐดนัย ประทมุ หัวหนา้ หน่วยน้ำเสยี และสุขาภบิ าล 14. นายพนา เมฆตรง หัวหนา้ หน่วยประปา 15. นายนวิ ตั ร์ ทองอุปการ 6. การประเมนิ ปัญหา / ความเสย่ี ง (Assessment) ในแต่ละวันมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ มีผู้คนท่ีใช้พื้นที่ในการศึกษา ทำงาน และใช้ ชีวติ ประจำวันเพ่ือทำกิจกรรมต่าง ๆ มากมายจำนวนวันละไม่ตำ่ กว่า 3 หม่นื คน (อ้างอิงจากการสำรวจข้อมูลของกองกายภาพ และสิ่งแวดล้อม วิทยาเขตหาดใหญ่) อีกทั้งมีจำนวนยานพาหนะมากมายท่ีสัญจรไปมา นอกจากการเป็นสถานที่สำหรับ 87

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ การศึกษา และการทำงาน วิทยาเขตหาดใหญ่ยังเป็นสถานทีพ่ ักอาศัย การออกกำลงั กาย และการพักผ่อนหยอ่ นใจ อีกด้วยจงึ ทำให้วทิ ยาเขตหาดใหญ่เปน็ สถานท่ีของคนทกุ ชว่ งวัย ผู้บริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีความมุ่งหมายเพื่อให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ และเพื่อสังคมของภาคใต้ และไดเ้ ล็งเห็นความสำคัญของการมีภูมทิ ัศน์และส่ิงแวดล้อมที่ดีเอื้อต่อการศึกษา การทำงาน และ การใช้ชีวิตประจำวัน ซึ่งปัจจัยดังกล่าวเป็นปัจจัยสนับสนุนแวดล้อมที่สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการศึกษา การทำงาน และ สุขภาพของนักศึกษา บุคลากร และบุคคลทัว่ ไป จึงพัฒนาวิทยาเขตหาดใหญ่ใหม้ ีภมู ทิ ัศน์และสิ่งแวดล้อมที่ดเี อื้อต่อการศึกษา การทำงาน การอยู่อาศยั และการใช้ชีวิตประจำวันของคนทุกช่วงวัย โดยการวางโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาสถานที่ในความ รับผิดชอบมาโดยตลอดเพอื่ สรา้ งภมู ทิ ัศน์และส่งิ แวดลอ้ มท่ีดขี องวิทยาเขตหาดใหญ่ นนั่ คอื วิทยาเขตหาดใหญ่ตอ้ งเป็นสถานทท่ี ่ี เหมาะกับการศึกษา การทำงาน และการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข สะดวกสบาย และปลอดภัย ในการน้ีกองกายภาพและ สิ่งแวดล้อม วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้ดำเนินการ 4 มิติ คือ (1) ด้านความปลอดภัย (2) ด้านสุขภาพและการเป็นอยู่ที่ดี (3) ด้าน การดแู ลภูมิทศั นแ์ ละส่งิ แวดล้อม (4) ดา้ นการเดินทางภายในวิทยาเขต เพือ่ การเป็นวิทยาเขตน่าอยู่ ทันสมัย และพัฒนาอย่าง ยั่งยืน โดยทำการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และทางกองกายภาพฯ ตระหนักดีว่าหากขาดระบบการดูแลภูมิทัศน์และ สิง่ แวดลอ้ มทีด่ อี าจสง่ ผลกระทบต่อความเป็นวิทยาเขตน่าอยู่ ปลอดภยั และทนั สมยั ได้ ซง่ึ จะสง่ ผลตอ่ เน่อื งถึงบรรยากาศ ในการศึกษา การทำงาน สขุ ภาพทางกายและใจ ของผใู้ ช้บรกิ ารสถานที่และผู้ท่ีพักอาศัยในวิทยาเขตหาดใหญ่ และอาจมี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อการดึงดูดนักศึกษาในการมาศึกษา ผู้ที่จะมาทำงาน และการเลือกใช้บริการสถานที่ต่างๆ ของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ซงึ่ มีพืน้ ที่จำนวน 1,760 ไร่ และจดั เป็นพนื้ ทีส่ ่วนกลางท่ีวิทยาเขต ต้องดูแลภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมจำนวนประมาณ 900 ไร่ ความเสี่ยงในการบริหารจัดการภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมให้มี ความร่มรื่น สะดวกและปลอดภัยจำเป็นต้องอาศัยทรัพยากรที่สำคัญ คือ ทางสัญจร ต้นไม้ น้ำ ไฟฟ้าส่องสว่าง และ บคุ ลากรท่ีทำหนา้ ทดี่ แู ล ดังน้นั ทรพั ยากรดงั กล่าวและระบบการบรหิ ารจัดการจงึ เปน็ ปจั จยั เสย่ี งทสี่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพของภูมิ ทศั นแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 7. เป้าหมาย / วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพ่ือพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการภมู ทิ ศั น์และส่งิ แวดลอ้ มใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากข้นึ 2. เพอ่ื ใหพ้ ืน้ ทีม่ หาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เปน็ วิทยาเขตน่าอยู่ ทันสมยั และพัฒนาอย่างยัง่ ยืน 8. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 1. มีระบบบรหิ ารจัดการภมู ิทศั นแ์ ละสง่ิ แวดล้อมของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ ที่มปี ระสทิ ธิภาพ 2. มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ เป็นวทิ ยาเขตน่าอยู่ ทันสมัย และพฒั นาอย่างยงั่ ยืน 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1. วธิ ีการ/แนวทางการปฏิบัติจริง (PDCA) 88

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ • ถ้าผลลพั ธท์ ไ่ี ด้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย Act Plan • กาหนดเปา้ หมาย คอื ทาให้วิทยาเขตหาดใหญ่ นา่ อยู่ ทาการ ทบทวนแผนงาน กระบวนการทางาน Check Do ทนั สมยั และพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื อุปสรรค และแก้ทีส่ าเหตุอีกครงั้ โดย พิจารณาแตล่ ะขน้ั ตอน เชน่ สาเหตขุ องการ • กาหนดวัตถุประสงค์ คือ การมีระบบการบริหาร ไม่เป็นไปตามแผน จดั การภูมิทัศน์และสิ่งแวดลอ้ มที่มีประสิทธิภาพ • สว่ นการแกป้ ัญหาเฉพาะกิจ พจิ ารณาสาเหตุ ของความลา่ ชา้ ในการรับแจง้ เหตุ และ/หรือ • กาหนดตัวชีว้ ดั คอื พ้นื ทสี่ เี ขยี ว ทางสัญจร ไฟฟา้ สอ่ ง ความล่าช้าในการแก้ปญั หาน้นั ๆ สวา่ ง และการแก้ปญั หาเฉพาะกจิ • พัฒนาและปรับปรงุ ขัน้ ตอนและกระบวนการ ทางานให้ดีขึน้ • ศึกษาปัญหาของการให้บริการที่เกดิ ข้นึ ในอดีต • ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิวา่ เปน็ ไปตาม • กาหนดขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงานและแก้ปัญหา กระบวนการท่กี าหนดหรือไม่ • ตรวจสอบการดาเนินการและแก้ปัญหาตาม • วางแผนการบริหารความเส่ียง เมอ่ื ขาดทรัพยากร ตัวชว้ี ดั วา่ เป็นไปตามเป้าหมายหรอื ไม่ • ตรวจสอบคณุ ภาพ โดยพิจารณาจาก • หากการปฏิบัติมปี ญั หาทาการปรับปรุงและดาเนนิ การ ความสาเร็จในการดาเนินการและแกป้ ัญหา ตามกระบวนการทไ่ี ดป้ รับปรุง • ศกึ ษาแผนกลยทุ ธข์ องวทิ ยาเขตหาดใหญ่ • ศึกษาและทาความเขา้ ใจข้นั ตอนการฏบิ ตั งิ านท่ี กาหนด • ปฏบิ ัตติ ามกระบวนการทก่ี าหนด • รายงานการทางานและแกป้ ัญหาในระบบ • เก็บขอ้ มลู ตามตัวชีว้ ดั ท่กี าหนด คื อพน้ื ท่ีสเี ขียว ทางสัญจร ไฟฟา้ ส่องสวา่ ง และ การปญั หา เฉพาะกจิ โดยกิจกรรมทดี่ ำเนนิ การตามกระบวนการ PDCA มดี งั น้ี กระบวนการ กจิ กรรม จำนวนครง้ั ผลลพั ธ์ - ประชมุ หวั หนา้ หนว่ ย/หัวหน้างาน รว่ มกบั ผบู้ รหิ ารเพื่อวางแผน 4 ครัง้ /เดือน - ทำให้ทราบ และกำหนดเป้าหมาย คือ ภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมท่ีน่าอยู่ โดยประชุมทกุ เป้าหมายท่ชี ัดเจน มี ทันสมัย และพฒั นาอย่างย่ังยืน วันพฤหัสบดี ทิศทางในการทำงาน - กำหนดวตั ถุประสงค์ คือ ตอ้ งการการพัฒนาระบบดูแลภูมิทัศน์ - สามารถกำหนด และสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ กำหนดตัวชี้วัด คือ ความ ข้ันตอนการทำงาน สะอาดและรม่ รนื่ ของพ้ืนทีส่ เี ขียว ไฟฟา้ สอ่ งสวา่ ง และพ้นื ผิวถนน เพอ่ื บรรลุเปา้ หมาย ที่ได้มาตรฐานงานทาง และการแก้ปัญหาเฉพาะกิจ โดย - สามารถวางแผน เปรียบเทียบกบั ข้อมลู ในอดตี และตัง้ เป้าหมายท่ีต้องการสำเร็จ การทำงาน และ - ระดมสมองเพอื่ กำหนดข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน สามารถแก้ปัญหา เฉพาะกิจ เม่ือพบ ปัญหา และอปุ สรรค -ทำใหเ้ กิดความ พรอ้ มในการทำงาน - ประชุมกับรองอธิการบดีวิทยาเขตหาดใหญ่ และผู้อำนวยการ 12 คร้ัง/ เดอื น -สามารถติดตามการ กองกายภาพฯ เพอ่ื วางแผน และติดตามงานตามตัวชี้วดั และ ทกุ วันพฤหัสบดี ทำงาน และรบั ทราบ การบริหารความเสีย่ ง เมือ่ ขาดทรัพยากรหลกั ที่จำเปน็ อุปสรรคเพ่ือหาทาง และศุกร์ แกไ้ ข - กำหนดแผนงานและกระบวนการปฏิบัติ ทุกวัน - สามารถปฏิบตั ิงาน - ทำความเขา้ ใจขอบเขตงาน ข้นั ตอนและวิธีในการปฏิบตั ิ ทุกวนั ตามข้ันตอน และ - ปฏิบตั ิตามข้ันตอนท่ีกำหนดที่ไดจ้ ากการประชมุ ร่วมกัน ทกุ วัน 89

เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ - เก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดที่กำหนด คอื ความสะอาดและร่มร่ืนของ ทุกวนั พฒั นางานที่ พ้ืนที่สีเขียว ไฟฟ้าส่องสว่าง พื้นผิวการสัญจร และการแก้ปัญหา รบั ผดิ ชอบได้ เฉพาะกจิ ตามกำหนดการ - เกดิ ทักษะในการ ดูงาน และ ทำงาน - พัฒนาคุณภาพเจ้าหน้าที่เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการ หลกั สูตรการ -สามารถเก็บขอ้ มูล ปฏิบตั งิ านโดยการไปดูงานและฝึกอบรมในสว่ นท่เี กยี่ วขอ้ ง ฝกึ อบรม เป็นระบบ - ตรวจสอบการปฏิบัติว่าเป็นไปตามขั้นตอนที่กำหนดจากการ ทุกคร้งั ของ - ทำให้ทราบผลการ ประชุมหรือไม่ การปฏบตั ิ ปฏบิ ตั ิว่าบรรลุ - ตรวจสอบคุณภาพและปริมาณ โดยพิจารณาความสะอาด 1 ครงั้ /สัปดาห์ เปา้ หมายหรือไม่ ควร ความปลอดภัย และความกา้ วหนา้ ของแผนงานเปา้ หมายที่ตง้ั ไว้ ปรบั ปรงุ อยา่ งไร - ประชมุ ทมี ปฏิบตั งิ านเพอ่ื แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 2 ครัง้ /สัปดาห์ -ทำใหท้ ราบขอ้ มูล เพอ่ื นำมาพัฒนางาน -ประชุมรว่ มกับรองอธิการบดวี ิทยาเขตหาดใหญ่ เพอ่ื รายงานการ 1 ครง้ั /สัปดาห์ -ทำให้มีความพร้อม ทำงาน และ เสนอแนวทางในการแก้ปัญหา และรับฟัง 2 ครงั้ /สัปดาห์ เรื่องเจ้าหน้าที่และ ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ เพ่ือพัฒนา อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และแนวทางการ -ทำการประชุมเมื่อดูผลลัพธ์ ถ้าผลลัพธ์ที่ได้ไม่เป็นไปตาม แก้ปัญหา และทราบ เป้าหมาย เชน่ ความไม่สะอาด แสงสวา่ งไมเ่ พียงพอ พน้ื ที่มีส่ิงกีด ภารกิจ ขวาง ระยะเวลาที่ใช้ในการแก้ปัญหา จะทำการหาปัญหา - สามารถมองเห็น อุปสรรค ร่วมกันวิเคราะห์ และหาทางแก้ที่สาเหตุอีกครั้ง โดย ปัญหา เพ่ือทำการ ตรวจสอบแต่ละขั้นตอน เช่น การปฏิบัติหน้าที่ของผู้รับผิดชอบ แกไ้ ข เพื่อปิดชอ่ งว่าง ความล่าช้าในการรับแจ้งเหตุ และ/หรือ ความล่าช้าในการ เพื่อนำไปสู่ระบบที่ดี แก้ปัญหาเฉพาะกิจ ค้นหาสาเหตุและอุปสรรคเพื่อพัฒนาและ ข้นึ ปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น เช่น ขั้นตอนการรับแจ้งเหตุ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการติดตามงาน และขั้นตอนการ - สามารถนำ ให้บรกิ าร เป็นต้น ข้อคิดเห็นและ - มีการฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องในการทำงานเพื่อนำมา ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือไป พฒั นา พฒั นาให้บรรลุ - มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บรกิ ารเพอื่ นำไปปรบั ปรุง เป้าหมาย 9.2 งบประมาณท่ีใช้ในการดำเนินโครงการและกิจกรรม - ใชง้ บประมาณทไ่ี ด้รบั การจัดสรรตามปีงบประมาณ เพ่อื ดำเนนิ การตามภาระกิจของหนว่ ยงาน (งบปกต)ิ 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโน้มข้อมลู เชงิ เปรยี บเทียบ (3 ป)ี 90

เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การดำเนินการดา้ นภูมิทศั น์และสง่ิ แวดลอ้ มแบ่งออกเปน็ 5 ดา้ น คือ 1. พน้ื ทีส่ ีเขียว : ภมู ทิ ัศน์ร่มร่ืนสบายตา ซ่ึงเก่ียวขอ้ งกบั SDG15 เป็นการเพม่ิ พ้นื ทสี่ ีเขียว การทำสวนหย่อม การเพาะพันธุ์ ไม้ดอกและไมป้ ระดับ 2. ถนนและทางเดนิ เท้า : ภมู ทิ ัศน์เพือ่ การสญั จรทส่ี ะดวก ปลอดภัย และมาตรฐาน ซึ่งเกีย่ วขอ้ งกบั SDG11 เปน็ การสรา้ ง ปรับปรงุ และดแู ลถนน ทางเดินเทา้ และศาลาพักคอย 3. ไฟฟา้ ส่องสว่าง : ภูมทิ ัศน์ประหยัดพลังงาน (ไฟฟา้ ส่องสว่าง) ซ่งึ เกยี่ วข้องกับ SDG7 เปน็ การจัดการไฟฟ้าสอ่ งสวา่ งของ ทางสญั จรใหม้ แี สงสว่างที่เพยี งพอและลดค่าไฟฟ้า 4. ระบบจัดการน้ำในการดแู ลภมู ิทศั น์ : ซงึ่ เกีย่ วข้องกับ SDG6 เปน็ การบรหิ ารจดั การนำ้ ในการดูแลภมู ิทัศน์ โดยการใช้ แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ (นำ้ บาดาล) และนำ้ เสียท่ีไดร้ บั การบำบัดจนได้คา่ มาตรฐานนำ้ ทิง้ เพอ่ื นำมารดน้ำตน้ ไม้ 5. การจดั การขยะ : การบรหิ ารจดั การขยะ ซ่ึงเกีย่ วขอ้ งกับ SDG12 เปน็ การแยกขยะ การจัดการขยะ และ การ recycle ขยะสเี ขียวท่ไี ด้จากการจดั การภูมิทศั นม์ าทำป๋ยุ ผลลพั ธ์การดำเนินการของดา้ นต่าง ๆ ปี พ.ศ.2562 - พ.ศ.2564 แสดงดังตาราง 1. ภมู ทิ ศั น์รม่ ร่ืนสบายตา งานดแู ลต้นไมแ้ ละสวนหยอ่ มพ้ืนทส่ี ว่ นกลางมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตวั ชว้ี ัด ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. การเพิ่มพนื้ ที่สีเขยี ว 3 แหง่ (a) 7 แหง่ (b) 5 แหง่ (c) (จำนวนการจัดสวนหย่อม) 2. การเพาะพันธพุ์ ชื - ไม้ดอก 20,000 ต้น 30,000 ต้น 35,000 ต้น - ไมป้ ระดบั 35,000 ต้น 40,000 ตน้ 20,000 ต้น 3. การใช้ปุ๋ย (รอ้ ยละของการใช้ ปยุ๋ ทำเองจากการ recycle ขยะ 65 75 80 สีเขียวจากการจดั การภมู ทิ ศั น์) (a) = 1. สวนหยอ่ มเทดิ พระเกียรติ ร.10 2. สวนหยอ่ มวงเวียนหน้าคณะวศิ วกรรมศาสตร์ 3. แนวขอบถนนหนา้ ตกึ ฟักทอง (b) = 1. แนวขอบถนนสหศาสตร์ 2. เกาะกลางถนนศรีทรัพย์ 3. แนวขอบถนนหนา้ ปมั๊ น้ำมันบางจาก 4. เกาะกลางถนนทางเข้าประตูมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ (ประตูใหญ)่ 5. สวนหยอ่ มหนา้ ปา้ ยปณธิ านฯ สนอ. 6. ขอบถนนฝั่งคณะวิทยาศาสตร์ สามแยกไดโนเสาร์ 7. สวนหยอ่ มหนา้ ประตูศรีทรพั ย์ (c) = 1. สวนหย่อมวงเวยี นคณะทันตแพทย์ 2. สวนหยอ่ มบรเิ วณอา่ งน้ำ 3. สวนหยอ่ มทางเข้าหมู่บ้านเกา่ 4. แนวถนนคณะวทิ ยาการจดั การ 5. แนววถนนทพี่ กั บคุ ลากรทางไปหมู่บ้านใหม่ 2. การบรหิ ารจดั การนำ้ ในการดูแลภมู ิทศั น์ ตัวชว้ี ัด ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 รวม 60 80 - 1. น้ำรดต้นไม้ (รอ้ ยละการใช้ 50 500 1,000 1,500 นำ้ บาดาล และน้ำเสยี ทีไ่ ดร้ ับ การบำบัด) 2. ปริมาณนำ้ เสยี ทไ่ี ดร้ บั การ - 91

เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ บำบดั ท่ีใชใ้ นการรดน้ำตน้ ไม้ ลูกบาศก์เมตร ลูกบาศก์เมตร ลกู บาศกเ์ มตร 3. ภมู ทิ ศั น์เพือ่ การสญั จรทีส่ ะดวก ปลอดภัย และ มาตรฐาน : งานถนน ทางเดนิ เทา้ และศาลาพักคอย ตัวชวี้ ดั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. ผิวถนน 70 90 95-100 90 100 100 (ซ่อม ปรับปรุงทาง การตีเส้น จราจร การแบง่ เลนสจ์ ักรยาน) 85 90 100 รอ้ ยละของเสน้ ทางตามแผน 2. ป้ายจราจร 3 ศาลา 4 ศาลา 4 ศาลา (ตามมาตรฐานตำแหนง่ ) 3. ทางเดินเท้า - แบบมหี ลงั คา (Cover way) - แบบมหี ลังคาธรรมชาติ (Natural cover way) - ทางเดินแบบไม่มหี ลงั คา (รอ้ ยละของแผนที่ตัง้ ไว)้ 4. ศาลาพกั คอยภายในวทิ ยาเขต (ปรบั ปรุงและจำนวนที่เพิ่มขน้ึ ) 4. ภูมิทศั นป์ ระหยดั พลงั งาน (ไฟฟ้าส่องสว่าง) (Energy-efficient) เพอ่ื ลดการใชพ้ ลงั งาน โดยให้ความสำคญั ทั้งพลงั งานทใี่ ชใ้ นระหว่างการใชง้ านและการดูแลรักษา มกี ารใช้ อุปกรณ์ตรวจจับระดบั แสงสว่าง (sensor) และใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟา้ ประสิทธภิ าพสูง (หลอด LED) ตัวชี้วัด ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1. เส้นทางทมี่ ีไฟฟา้ ระบบอัจฉรยิ ะ - 2 2 (Sensor เพอื่ ให้แสงสวา่ ง) 2. การใชห้ ลอด LED 20 50 70 (ร้อยละของหลอดไฟในพนื้ ท)ี่ 3. ไฟพลังงานแสงอาทิตย์ - 6 - (จำนวนหลอด) 4. สายไฟใตด้ นิ (จำนวนแนวถนน) 1 2 3 5. การดบั ของกระแสไฟฟ้า 22 6 4 (จำนวนคร้ัง) 5. การเพม่ิ คุณคา่ จากขยะสีเขยี ว ตวั ชี้วดั ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 100 100 1. รอ้ ยละของ reuse ไม้ดอก และ 100 92


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook