เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ัตทิ ่เี ป็นเลศิ *************************************** 1. ชื่อเรื่อง การให้คำปรกึ ษาและส่งต่อการรกั ษาผูป้ ่วยมะเร็งชนิดกอ้ นโดยใชโ้ ปรแกรม อิเลก็ ทรอนกิ ส์สารสนเทศ (E-consult) 2. โครงการ/กจิ กรรมดา้ น ดา้ นการดำเนนิ งานท่ใี ช้เครอื่ งมอื Lean & Kaizen 3. ช่อื หน่วยงาน ศนู ยอ์ งค์รวมเพือ่ การศกึ ษาและบำบัดโรคมะเรง็ หน่วยมะเร็งวิทยา สาขาวิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 4. ประเภทโครงการ ประเภทท่ี 1 แนวปฏิบตั ทิ ี่เป็นเลศิ ระดับคณะ/หน่วยงาน (ผ่านการคัดเลอื กโดยเวทีหรือผ้บู ริหารของคณะ) สายวิชาการ สายสนบั สนุน ประเภทท่ี 2 แนวปฏบิ ัติที่ดี สายวชิ าการ สายสนบั สนุน 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏิบตั ทิ ีเ่ ปน็ เลิศ คณะทำงานในการให้คำปรกึ ษาและส่งตอ่ การรักษาผูป้ ว่ ยมะเร็งชนิดกอ้ น แบ่งออกเป็น 2 กล่มุ หลัก ไดแ้ ก่ 5.1 ทีมโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ ประกอบดว้ ย 5.1.1 ทีมอายุรแพทย์โรคมะเร็ง ได้แก่ รศ.พญ. ภัทรพิมพ์ สรรพวีรวงศ์, ผศ.พญ. อรุณี เดชาพันธ์ุกุล, ผศ.พญ. จริ วดี สถติ เรืองศกั ดิ์, นพ. จริ ภัทร วงศห์ ล่อ 5.1.2 ทมี แพทย์และพยาบาลรังสีรักษา ได้แก่ รศ.นพ. เต็มศักดิ์ พึ่งรศั มี, ผศ.พญ. ดวงใจ แสงถวัลย์, อ. นพ. เพทาย รอดละมูล, อ.พญ. รุ่งอรุณ กติ ติเชษฐ์, รศ.นพ. ธนาพนั ธ์ุ พรี วงศ์, อ.พญ. จิดาภา พฤฒิกิตติ, อ.พญ. เอมวรินร์ ตั้งคณานันท์, อ.พญ. นฤมล จันมุณี, อ.พญ. พิชญา ทองขาว,อ.นพ. กรวิทย์ พฤกษานุ ศักดิ์, พว. ศศิวิมล ภัทรนาวิก, พว. ดวงหทัย ตนั วมิ ล, พว. วรุณยุพา แสงทอง, พว. สุวรรณลี ขาวหวาน, พว. กลั ยกร พักไชย 5.1.3 ผปู้ ระสานงานระบบ E-consult ได้แก่ คณุ นนั ทยิ า รตั นคชและคณุ มลิวรรณ ส่งเสริม 5.2 ทีมโรงพยาบาลเครือข่าย ประกอบด้วย ทีมแพทย์และพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วยมะเร็ง โรงพยาบาลศูนย์ตรัง โรงพยาบาลศูนย์ยะลา โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ โรงพยาบาลศูนย์วชิระภูเก็ต โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ โรงพยาบาลพัทลงุ โรงพยาบาลปัตตานี โรงพยาบาลกระบี่ และโรงพยาบาลสงขลา 143
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 6. การประเมนิ ปญั หา/ความเส่ียง (Assessment) ปัจจุบนั โรคมะเร็งเปน็ ปัญหาสาธารณสุขท่สี ำคญั ของโลกและประเทศไทย โดยในปี พ.ศ. 2562 กองยุทธศาสตร์ และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ รายงานว่า มีประชากรไทยเสียชีวิตจากโรคมะเรง็ สูงถึง 84,073 ราย/ ปี1 และมีการรายงานอุบัติการณ์การเกิดโรคมะเร็งในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2562 จากองค์กร International Agency for Research on Cancer (IARC) วา่ สูงเป็นอันดับท่ี 13 ของทวปี เอเชีย และมีการคาดการณ์ว่า อัตราการเสียชีวิตจาก โรคมะเร็งของประชากรทั่วโลกจะเพ่ิมข้ึนมากถึง 12 ล้านคนในปี พ.ศ. 25732 เนื่องจากโรคมะเร็งเป็นโรคท่ีซับซ้อน ยุง่ ยากทั้งด้านการคัดกรองโรค การตรวจวินิจฉัย รวมถึงการรักษาดูแลผู้ป่วยมะเร็ง การรักษาด้วยยาเคมีบำบัดหรือรังสี รกั ษามักจำกัดอยู่เฉพาะโรงพยาบาลขนาดใหญท่ ม่ี เี ทคโนโลยกี ารแพทย์ขน้ั สงู ทำใหม้ ีความแออดั ในการให้การบริการทาง การแพทย์แก่ผู้ป่วย ส่งผลให้การดูแลรักษาไม่ท่ัวถึงและไม่ต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังมีปัญหาหลายประการในการรับส่งต่อ ผปู้ ่วยระหว่างโรงพยาบาล ได้แก่ ประเด็นขัน้ ตอนการส่งตอ่ ทีย่ ังไม่เป็นระบบ และการส่อื สารขอ้ มูลการส่งต่อไม่เพียงพอ ไม่ชัดเจน รวมถึงความแตกต่างในระบบข้อมูลและรายงานของแต่ละสถานพยาบาลที่แตกต่างกนั แม้ในปัจจบุ ันจะมีการ นำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในโรงพยาบาลต่างๆ มากขึ้น แต่ก็ยังมีความยุ่งยากในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้ข้อมูล ร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลอยู่ เป็นต้น ทำใหผ้ ู้ป่วยไดร้ บั การดแู ลรักษาล่าชา้ ส่งผลใหผ้ ้ปู ว่ ยมีอาการรุนแรงมากข้นึ และมี ผลการรักษาที่แยล่ ง นอกจากนีย้ งั มีข้อจำกัดในส่วนของแพทย์ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะสาขาวชิ ามะเร็งวิทยาที่มีจำนวนน้อย ทำ ให้ไม่เพียงพอกับจำนวนผู้ป่วยมะเร็งโดยเฉพาะในภาคใต้ ซึ่งมีจำนวนแพทย์เฉพาะทางด้านอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา จำนวนไม่มาก รวมถึงปัญหาในด้านการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพน้อย ทำให้ผู้ป่วยเสียเวลา เสียโอกาสท่ีดีในการ รกั ษา และมขี ้อจำกัดในการเข้าถึงบริการทางการรกั ษา จากการวิเคราะห์ระบบงานเดมิ จะเห็นว่าผู้ปว่ ยต้องเดินทางมาพบแพทย์หลายครงั้ กว่าจะได้เร่ิมต้นการรักษาท่ี เฉพาะกับโรคของผู้ป่วย ทำให้สูญเสียเวลา สูญเสียรายได้และค่าใช้จ่าย นอกจากน้ียังพบปัญหาในการสื่อสารระหว่าง แพทย์โรงพยาบาลต้นทางและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ท่ีเกิดจากข้อจำกัดด้านเอกสารส่งตัวผู้ป่วย เพราะเป็นเอกสารท่ีเขียน ดว้ ยลายมือแพทย์ รายละเอยี ด ข้อมูลและผลการตรวจวินิจฉัยเบ้ืองต้นของผู้ป่วยท่ีถูกส่งต่อ อาจจะไม่สมบูรณ์ครบถ้วน หรอื ไมช่ ัดเจน ส่งผลกระทบต่อกระบวนการรักษา ทำให้มีความล่าชา้ มากขนึ้ ศนู ย์องค์รวมเพ่ือการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง หน่วยมะเร็งวิทยา สาขาวิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ทำการสำรวจข้อมูลผู้ป่วยจำนวน 64 รายก่อนเริ่มพัฒนาโปรแกรม E-consult พบว่า จำนวนครง้ั การมาโรงพยาบาลจนผปู้ ่วยไดเ้ รมิ่ รบั การรักษาคดิ เป็นจำนวนคร้งั เฉลยี่ 6 ครัง้ โดยสาเหตุหลักท่ที ำใหผ้ ปู้ ่วยไม่ สามารถเริ่มรบั การรกั ษาได้ทนั ทเี นือ่ งจาก 1) ขอ้ มลู การรักษาทไี่ ดม้ าไมเ่ พยี งพอ (ขาดรายงานผลทางพยาธิวิทยา ขาดราย ผลเอ็กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ ไม่ได้นำ block ทางพยาธิวิทยามาจากโรงพยาบาลต้นทาง เป็นต้น) 2) ต้องการทีมสหสาขา วิชาชีพในการให้การดูแลรักษาผู้ป่วย (อายุรแพทย์โรคมะเร็ง, แพทย์รังสีรักษา และศัลยแพทย์โรคมะเร็ง ทำให้ต้องมา โรงพยาบาลเพ่อื พบแพทย์ในแตล่ ะสาขาหลายครงั้ นอกจากน้ี จากการสำรวจพบว่าคา่ ใช้จา่ ยเฉลย่ี ในการมาพบแพทย์ คดิ เปน็ จำนวนเงนิ สงู ถึง 4,300 บาทต่อครัง้ ของการมาโรงพยาบาล คิดเป็นเงินรวมทงั้ สน้ิ 25,300 บาทตอ่ ราย 144
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 7. เปา้ หมาย/วัตถุประสงค์ของโครงการ 7.1 เพ่ิมการเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม รวดเร็ว รวมทั้งลดจำนวนครั้งในการมา โรงพยาบาลสงขลานครินทรท์ ีไ่ มจ่ ำเปน็ ลง 7.2 สร้างเครอื ขา่ ยในการดแู ลผปู้ ว่ ยมะเรง็ ชนดิ ก้อนในภาคใต้ 7.3 ลดภาระคา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางของผู้ปว่ ยและครอบครัว 8. ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 8.1 ลดจำนวนครั้งการมาโรงพยาบาลที่ไม่จำเป็นจนเรมิ่ การรักษาตามแผนของอายุรกรรมมะเรง็ และรังสรี ักษา 8.2 ลดคา่ ใช้จ่ายของผปู้ ่วยและครอบครัวในการเดนิ ทางมารักษายังโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ 8.3 มีการเชื่อมโยงการทำงานแบบเครือขา่ ยระหว่างทีมผใู้ ห้การรักษาผู้ปว่ ยมะเร็งชนิดกอ้ นในภาคใต้โดยการใช้ โปรแกรม E-consult 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวทางการปฏบิ ัติจริง (PDCA) ศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็งได้พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งชนิด กอ้ น (E-consult) โดยใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาและส่งต่อการรกั ษาผ้ปู ว่ ยมะเรง็ ชนิดก้อนซ่ึงผใู้ ช้สามารถดูข้อมูลและ โตต้ อบกบั ข้อมูลสารสนเทศทีจ่ ดั เก็บในหน้าเว็บทีส่ รา้ งดว้ ยภาษาเฉพาะ โดยเน้นให้สามารถใช้งานได้ง่าย (User friendly) ไม่ซับซ้อน สามารถใช้กับอุปกรณ์ส่ือสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ทุกประเภท ท้ังคอมพิวเตอร์ต้ังโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบพกพา หรอื โทรศพั ท์มือถือ เปน็ ต้น แนบไฟล์ข้อมลู ผปู้ ว่ ยได้หลากหลาย ท้งั ข้อมูลเอกสาร รูปภาพ พดี ีเอฟไฟล์ เพือ่ เป็นเคร่ืองมือ ในการใหค้ วามช่วยเหลอื และคำปรึกษาแนะนำแกท่ มี สขุ ภาพท่ีรว่ มดูแลผู้ป่วยมะเร็งในโรงพยาบาลต่างๆ รอบนอกในการ พิจารณาให้การรักษาที่เหมาะสมแก่ผู้ป่วยมะเร็งในโรงพยาบาลนั้นๆ ตามศักยภาพของแต่ละโรงพยาบาล รวมถึงส่งต่อ ผู้ป่วยและข้อมูลท่ีจำเป็นเพ่ือมารับการรักษายงั โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ในรายท่ีจำเป็นต้องได้รับการส่งตอ่ ผู้ป่วยมา รับการตรวจวินิจฉัยหรือให้การรักษาด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูงอีกด้วย โดยมีข้ันตอนและกิจกรรมการพัฒนา ตามวงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ (PDCA) โดยแบง่ ออกเป็น 3 ระยะ ดังรายละเอยี ด ระยะที่ 1 การวางแผนการดำเนนิ งาน (Plan) การวเิ คราะห์ระบบงานเดิม, กระบวนการที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์กับผู้ปว่ ย และออกแบบกระบวนการใหม่ดัง รปู ท่ี 1 145
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รปู ที่ 1 การวเิ คราะห์เสน้ ทางการรกั ษาของผู้ปว่ ยมะเรง็ ชนิดก้อน (Patient journey) ก่อนและหลังมรี ะบบ E-consult ระยะท่ี 2 การดำเนนิ การพัฒนา (Do) 1. ประชมุ ระดมสมองรว่ มกับผูอ้ อกแบบโปรแกรมเพอ่ื กำหนดรายละเอยี ดโครงสร้าง ดำเนนิ การออกแบบและ พฒั นาแบบจำลองของโปรแกรมการให้คำปรกึ ษาและส่งตอ่ ผปู้ ่วยมะเร็งชนดิ กอ้ น 2. ทำการทดสอบโปรแกรมโดยการทดสอบภายในกอ่ นการใช้งานจรงิ 3. ประชาสัมพันธ์โครงการและเริ่มใช้งานโปรแกรมการให้คำปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งจริง โดยมี กระบวนการทำงานของระบบ E-consult ดังรปู ท่ี 2 146
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ รูปที่ 2 กระบวนการทำงานของ E-consult ระยะที่ 3 การตรวจสอบการใช้งานซอฟทแ์ วร์ (Check) 1. เก็บขอ้ มูลและติดตามประเมนิ ผลการใช้งานโปรแกรมตามตัวชีว้ ัดทก่ี ำหนด 2. จัดทำรายงานผลลัพธ์การใชง้ านโปรแกรมในรายงานประจำปีของศูนย์ฯ ระยะท่ี 4 การปรับปรุงแก้ไขและพฒั นาซอฟทแ์ วร์ (Act) 1. วิเคราะห์ข้อมูลการใช้งานโปรแกรม เพื่อสรุปข้อจำกัดและจุดพัฒนาของการใช้งานโปรแกรม E-consult Phase II เพอื่ ใหโ้ ปรแกรมเกิดประโยชน์แกโ่ รงพยาบาลเครอื ข่ายสงู สดุ 2. ปรับปรุงแก้ไขข้อจำกัดและจุดพัฒนาโปรแกรม E-consult Phase II สำหรับการรายงานผลการใช้งาน โปรแกรมและการรกั ษาทไ่ี ด้รบั ในโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ และการส่งข้อมูลการรักษากลบั ยงั โรงพยาบาลเครือขา่ ย 3. ทดสอบการใช้งานโปรแกรม E-consult Phase II ทพี่ ฒั นาขึน้ ใหม่ 9.2 งบประมาณทใ่ี ช้ในการจดั การโครงการกิจกรรม (ถา้ มี) ใชง้ บประมาณของศูนย์องค์รวมเพอื่ การศึกษาและบำบัดโรคมะเรง็ ในการพฒั นาโปรแกรมการให้คำปรกึ ษาและ ส่งต่อผู้ป่วยมะเรง็ ชนดิ ก้อน ดงั นี้ 9.2.1 งบประมาณในการพฒั นาโปรแกรม E-consult Phase I เป็นเงิน 50,000 บาท 9.2.2 งบประมาณในการพัฒนาโปรแกรม E-consult Phase II เป็นเงนิ 50,000 บาท 10. การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measurable) แสดงระดับแนวโน้มข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับ หน่วยงานภายใน/ภายนอก 147
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ศูนยอ์ งค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเรง็ ได้นำโปรแกรม E-consult มาให้บรกิ ารให้คำปรกึ ษาและสง่ ต่อ การรักษาผู้ป่วยมะเรง็ ชนิดก้อนตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา ปัจจุบันมีจำนวนผูป้ ่วยท่ีส่งผ่านโปรแกรมแล้ว เป็นจำนวน 2,194 ราย จากโรงพยาบาลเครอื ขา่ ยทงั้ ส้ิน 9 แห่งในภาคใต้ ดังรปู ที่ 3 และ 4 จานวนผู้ปว่ ยที่สง่ ผา่ นระบบ E-consult 2500 2194 2000 ราย 1500 1000 346 462 597 548 191 *500 50 0 จำนวนรวม ต.ค. 58 - ธ.ค. 59 ม.ค. 60 - ธ.ค. 60 ม.ค. 61 - ธ.ค. 61 ม.ค. 62 - ธ.ค. 62 ม.ค. 63 - ธ.ค. 63 ม.ค. 64 - ธ.ค 64 หมายเหตุ: * มสี ถานการณก์ ารระบาดของโคโรนา่ ไวรสั (Covid-19) โดยเฉพาะในสามจงั หวดั ชายแดน ไดแ้ ก่ ยะลา นราธวิ าส และปัตตานี รปู ท่ี 3 จำนวนผปู้ ว่ ยมะเรง็ ชนดิ กอ้ นทส่ี ง่ ผา่ นโปรแกรม E-consult (วิเคราะห์ข้อมลู ถงึ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564) จานวนรพ. เครือข่ายในระบบ E-consult 10 8 6 4 2 0 พ.ศ. 2558-2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 รปู ท่ี 4 จำนวนโรงพยาบาลเครอื ขา่ ย E-consult 148
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ จากการวเิ คราะหก์ ารใช้งานโปรแกรม E-consult พบวา่ สามารถดำเนนิ การตอบกลบั แผนการรักษาได้ตามการ ประกันเวลาท่ีกำหนดไว้ท้ังของแผนกอายุรกรรมโรคมะเร็งและแผนกรังสีรักษา ดังรูปที่ 5 นอกจากน้ียังพบว่าการใช้ โปรแกรม E-consult สามารถลดจำนวนคร้ังการมาโรงพยาบาลของผู้ป่วยจนเริ่มการรักษาของทั้งสองแผนกลงได้ เมื่อ เทียบกับก่อนใช้โปรแกรม E-consult ดังรปู ที่ 6 รปู ท่ี 5 ระยะเวลาตอบกลับแผนการรักษาแผนกอายรุ กรรมโรคมะเรง็ และรงั สรี ักษา อายรุ กรรมมะเร็ง รังสีรกั ษา รูปที่ 6 จำนวนคร้ังการมาโรงพยาบาลสงขลานครินทรจ์ นเรมิ่ การรักษาตามแผนของอายรุ กรรมโรคมะเร็งและรงั สีรกั ษา นอกจากน้ียังพบว่าการใชง้ านโปรแกรม E-consult สามารถใหค้ ำแนะนำการดูแลผปู้ ว่ ยมะเร็งแก่แพทย์เจ้าของ ไข้เพื่อให้การรักษาต่อในโรงพยาบาลใกล้บ้านได้โดยท่ีผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องมาพบแพทย์เฉพาะทางในโรงพยาบาลสงขลา 149
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ นครินทร์ ดังรูปที่ 7 รวมถึงสามารถลดจำนวนครั้งที่ผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์เพ่ือทำการตรวจ วินิจฉัยเพิ่มเติมในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้อีกด้วย ดังรูปท่ี 8 และสามารถลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมา โรงพยาบาลสงขลานครินทรข์ องผปู้ ่วยและครอบครัว ตัง้ แต่ครัง้ แรกจนได้เรม่ิ การรกั ษาลงได้ รอ้ ยละ 50 ดังรูปท่ี 9 จานวนผู้ป่วยที่ได้รับคาแนะนาการดูแลรักษาและไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมาโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ค ั้รง 180 21 43 76 143 163 160 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 ราย 140 120 บาท100 80 60 40 20 7 0 พ.ศ. 2558-2559 รปู ท่ี 7 จำนวนผู้ปว่ ยทไ่ี ดร้ ับคำแนะนำการดแู ลรกั ษาในโรงพยาบาลเครือข่ายและไมจ่ ำเป็นต้องมาโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ การลดจานวนครงั้ ท่ผี ู้ป่วยไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมาโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คา่ ใช้จา่ ยเฉล่ียการเดนิ ทางมาโรงพยาบาลสงขลานครินทรต์ งั้ แตค่ รั้งแรกจน 700 40,000 เร่ิมรักษา 600 566 525 35,148 500 400 362 30,000 25,800 25,596 20,000 10,000 20,250 17,574 18,786 9,393 300 231 12,900 12,798 10,125 7,158 8,844 200 132 8,406 3,579 4,422 4,203 100 8 0 - พ.ศ. 2558-2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 สงขลำ ยะลำ นรำธวิ ำส ปตั ตำนี พัทลุง กระบี่ ภเู กต็ ตรงั กอ่ นระบบ E-consult หลังระบบ E-consult รูปที่ 8 การลดจำนวนคร้ังท่ีผูป้ ว่ ยไม่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาล รปู ท่ี 9 คา่ ใชจ้ ่ายเฉล่ียการเดินทางมาโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทรต์ ง้ั แต่ สงขลานครินทร์ คร้ังแรกจนเร่ิมรักษา 150
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 11. การเรียนรู้ (Study/ Learning) 11.1 แผนหรือแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอย่างต่อเนอื่ งในอนาคต จากการใช้งานโปรแกรม E-consult พบว่าเมื่อมีจำนวนโรงพยาบาลในเครือข่ายและจำนวนผู้ป่วยที่ส่งผ่าน ระบบเพ่ิมขึ้น จากการติดตามการมาพบแพทย์ตามนัดพบว่า มีผู้ป่วยท่ีไม่ได้มาพบแพทย์ตามนัด (ร้อยละ 1) เนื่องจาก การนัดผ่านโปรแกรม E-consult เป็นการออกบัตรนัดล่วงหน้า เช่น ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมท่ีต้องมารับการรักษาด้วยการ ฉายรังสี จะเป็นการนัดลว่ งหน้ามากกว่า 6 สัปดาห์ ทำใหเ้ กิดความคลาดเคล่อื นจากการจำวันนัดพบแพทย์ของผู้ปว่ ยผิด หลังจากโรงพยาบาลต้นสังกัดให้บัตรนัดกับผู้ป่วยไปแล้ว หรือโรงพยาบาลยังไม่ได้ประสานให้ผู้ป่วยมารับบัตรนัดที่ โรงพยาบาลต้นสังกัด เป็นต้น ทำให้ต้องเริ่มกระบวนการขอวันนัดพบแพทย์ใหม่ ร่วมกับโปรแกรม E-consult ไม่ได้ถูก ออกแบบให้สามารถแจ้งปฏิทินเตือนนัดล่วงหน้าได้ ทางผู้ประสานงาน จึงทดลองนำปฏิทินเตือนนัดของ Google Calendar มาใช้เพื่อปรับปรุงกระบวนการทำงาน เพื่อเป็นการเตือนนัดล่วงหน้าให้โรงพยาบาลต้นสังกัดทราบวันนัด ล่วงหนา้ ของผปู้ ว่ ย โดยกำหนดใหเ้ ตือนนดั ลว่ งหนา้ ท่ี 1 สัปดาห์ และ 3 วนั ก่อนวนั นดั พบแพทย์ แตก่ ารใช้ปฏทิ ินเตือนนดั ดงั กลา่ ว ผู้ประสานงานระบบตอ้ งลงทะเบียนเข้าทำงานในอีกโปรแกรมหนึ่ง ทำใหเ้ กดิ ความซำ้ ซอ้ นในการทำงานและอาจ เกิดความผิดพลาดได้ หากมีการลงปฏิทินเตือนนัดของผู้ป่วยคลาดเคลื่อน ทางผู้ประสานจึงได้นำปัญหานี้มาเป็นหน่ึงใน จุดพัฒนาโปรแกรม E-consult Phase II ให้สามารถแจ้งมีการเชื่อมโยงกับปฏิทินเตือนนัดโดยเม่ือผู้ประสานงานระบบ ออกบัตรนัดพบแพทย์แล้วระบบจะแจ้งเป็นปฏิทนิ เตือนนัดไปยังโรงพยาบาลตน้ สังกดั ไดท้ นั ที ซง่ึ จะช่วยลดภาระงานของ ผปู้ ระสานงานและความคลาดเคลอื่ นในการลงปฏิทนิ เตือนนัดผิดพลาดดว้ ย นอกจากน้ีในโปรแกรม E-consult Phase I ไม่ได้ออกแบบเร่ืองระบบการรายงานผลการใช้งานโปรแกรมและข้อมูลการมารับการรักษาในโรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ ทำให้ขาดการเช่ือมโยงข้อมูลการรักษาท่ีผู้ป่วยได้รับกลับไปยังแพทย์เจ้าของไข้ทราบ เกิดความไม่ต่อเนื่องใน การดูแลรักษาผู้ป่วย โดยเฉพาะเม่ือผู้ป่วยได้รับการรกั ษาเสร็จส้ินจากโรงพยาบาลสงขลานครินทร์และจำเป็นต้องไปรับ การรกั ษาตอ่ ในโรงพยาบาลต้นสงั กัด แผนการพฒั นาโปรแกรม E-consult Phase II นอกจากการจะเป็นการปรับปรงุ ดา้ น Font end ของโปรแกรม ให้มีหน้าเพจท่ีดูทันสมัยและใช้งานง่ายขึ้นแล้ว ยังเป็นการปรับปรุง Back end เพื่อการพัฒนาเป็นฐานข้อมูลในการทำ รายงานสถิติการใช้งานโปรแกรมและปฏิทินเตอื นนดั รวมถึงระบบแจ้งเตือนกล่องขอ้ ความใหม่/การอัพเดตแผนการรกั ษา เพ่ิมเติมของผู้ป่วย เพ่ือให้ผู้ประสานงานของแต่ละโรงพยาบาลเห็นการเปล่ียนแปลงจากโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ได้ ในทนั ที 11.2 จดุ แขง็ (Strength) หรอื สง่ิ ที่ทำได้ดใี นประเดน็ ที่นำเสนอ การมีโปรแกรมอิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีใช้งานงา่ ย มีความปลอดภยั ด้านการรักษาข้อมูลผู้ปว่ ยและสามารถเข้าถึงการใช้ งานผ่านระบบอนิ เตอรเ์ น็ตไดจ้ ากทกุ พ้นื ท่ี รว่ มกับกระบวนการทำงานทีม่ ีประสิทธิภาพทงั้ ของโรงพยาบาลสงลานครินทร์ และโรงพยาบาลเครือข่าย รวมถึงการกำหนดตัวช้ีวัดท่ีสามารถวัดผลการดำเนินการได้จริง ช่วยให้การเกิดกระบวนการ 151
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยทม่ี คี วามต่อเน่ือง เปน็ การทำงานรว่ มกนั โดยกระบวนการดูแลผปู้ ่วยเริ่มตน้ ตัง้ แตโ่ รงพยาบาลตน้ สงั กัดจน ผปู้ ว่ ยมาถึงโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ทำให้แผนการรกั ษาผปู้ ว่ ยท่ีกำหนดไว้ล่วงหน้าน้ันสัมฤทธิ์ผล 11.3 กลยุทธ์ หรอื ปจั จัยท่ีนำไปสู่ความสำเร็จ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ คือ การทำงานด้วยบูรณาการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมของทีมผู้ดูแลผู้ป่วยท้ังใน โรงพยาบาลต้นสงั กดั และโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ท่ีเกย่ี วข้องในการรบั สง่ ต่อผู้ป่วย โดยให้ความสำคัญกับการทำงาน เป็นทีม และการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายช่วยให้แผนการรักษาผู้ป่วยที่ถูกกำหนดขึ้นร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพ เปน็ ไปตามท่กี ำหนด ส่งผลให้ผปู้ ่วยไดร้ บั การรักษาตามมาตรฐานและมคี วามปลอดภัย นอกจากนี้การนำโปรแกรมทพ่ี ัฒนาข้นึ มาใช้ทำงานจริงสามารถชว่ ยลดชอ่ งวา่ งในการส่ือสารระหวา่ งทมี สขุ ภาพ โรงพยาบาลตน้ ทางกับโรงพยาบาลปลายทางได้ เป็นการทำงานเช่ือมโยงในรปู แบบเครือข่ายเพ่ือการดแู ลผู้ปว่ ยมะเร็งให้ ไดร้ ับการรักษาตามแผนที่กำหนดไว้ลว่ งหนา้ รว่ มกนั สามารถติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการดูแลรักษาผปู้ ว่ ยไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ ช่วยลดการเดินทางท่ไี ม่จำเป็นและค่าใชจ้ า่ ยระหวา่ งการรบั การรักษาของผู้ปว่ ยได้ ก่อให้เกิดประโยชนแ์ ก่ ผู้ป่วยและครอบครัว 12. ประเดน็ (จุดเด่น) ท่ีเปน็ แนวทางปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ การทำงานเป็นเครือข่ายในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งร่วมกันท้ังโรงพยาบาลต้นทางและโรงพยาบาลปลายทางผ่าน โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส์สารสนเทศท่มี ีประสิทธิภาพสูงสามารถช่วยให้มีการเช่ือมโยงข้อมูลผ้ปู ่วยเขา้ ด้วยกันได้ มีการใช้ ขอ้ มลู ทางการแพทยร์ ว่ มกนั ในการดแู ลผู้ปว่ ย ทำใหผ้ ู้ปว่ ยเข้าถงึ บริการทางการแพทย์ไดร้ วดเรว็ ข้นึ โดยยังไม่ต้องเดินทาง มายังโรงพยาบาลปลายทางเพ่อื วางแผนการรกั ษาล่วงหน้า ช่วยให้การดูแลรักษาผู้ป่วยมีความตอ่ เนอ่ื งไม่ซ้ำซ้อน และยัง ช่วยประหยดั คา่ ใช้จ่ายทางสาธารณสขุ ลงได้ด้วย 13. เอกสารอา้ งอิง 13.1. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข 2562. [เข้าถึงเมื่อ 10 ก.พ. 2565]. เขา้ ถึงได้จาก https://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/statistic62.pdf 13.2. The global cancer observatory, International agency for research on Cancer. 2020. [cited 2022 Feb 10]. Available from: https://gco.iarc.fr/today/fact-sheets-cancers 13.3 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์กรมหาชน). หนังสือรับรองผลงานรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 จากการ ประกวดผลงานนทิ รรศการ เรือ่ ง E-consult: โปรแกรมการส่งตอ่ และปรึกษาผู้ปว่ ยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกสส์ ารสนเทศสู่ การพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย Solid tumor ในภาคใต้. งานประชุมวิชาการ HA National Forum ครั้งท่ี 19 (16 มนี าคม 2561) 13.4 Kobayashi Foundation for cancer research. Kobayashi Foundation Award Award's list 2020. [cited 2022 May 7]. Available from: http://kficc.or.jp/download/asia_list_6th.pdf 152
เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ 14. บทสรปุ โปรแกรม E-consult เป็นทางเลือกท่ีมีประสิทธิภาพในการใช้งานทั้งในด้านการใช้งานท่ีง่าย เข้าถึงได้จากทุก พ้ืนที่ท่ีมีสัญญาณอินเตอร์เน็ต และในด้านความปลอดภัยของข้อมูลผู้ป่วย สามารถใช้ประสานงานเชื่อมโยงข้อมูลทาง การแพทย์ระหวา่ งโรงพยาบาลต้นทางและปลายทางในการดูแลผปู้ ่วยมะเร็งได้เป็นอย่างดี เป็นเคร่ืองมือท่ีทำให้เกิดการ ส่ือสารระหว่างทีมสุขภาพทำให้เกิดการดูแลรักษาผู้ป่วยตามแผนการรักษาท่ีกำหนดข้ึนร่วมกัน โดยผู้ใช้งานระบบท้ัง โรงพยาบาลต้นทางและปลายทางสามารถเข้าสู่การใช้งานโปรแกรม E-consult ด้วย Username และ password เฉพาะบุคคลท่ีถูกกำหนดขึ้น ผ่าน URL: http://econsult.medicine.psu.ac.th/ ในการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยเพื่อขอรับ คำปรึกษา/ส่งต่อผู้ป่วยมายังศูนย์องค์รวมเพื่อการศึกษาและบำบัดโรคมะเร็ง โดยมีผู้ประสานงานโปรแกรม E-consult เป็นศูนย์กลางในการติดต่อส่ือสารระหว่างทีมผู้ดูแลรักษาผู้ป่วยท้ังภายในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์และโรงพยาบาล เครือข่ายจนได้ข้อสรุปแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย กรณีท่ีผู้ป่วยต้องมารับการรักษายังโรงพยาบาลสงขลา นครินทร์ ผู้ประสานงานโปรแกรม E-consult จะเป็นผู้ออกใบนัดพบแพทย์เฉพาะทางอายุรแพทย์โรคมะเร็งหรือรังสี รักษาผ่านระบบ E-consult เพ่ือให้โรงพยาบาลต้นทางพิมพ์ใบนัดอิเล็กทรอนิกส์ออกมา พร้อมประสานงานแจ้งผู้ป่วย รับทราบวนั นดั และจดั เตรยี มขอ้ มูลการตรวจวินิจฉยั ต่างๆท่จี ำเป็นในวันที่มาพบแพทย์ทีโ่ รงพยาบาลสงขลานครินทร์ ชว่ ย ใหผ้ ู้ป่วยเข้าถึงบริการทางการแพทย์ท่ีจำเป็นและได้รบั การรักษาตามแนวทางทก่ี ำหนดไวใ้ นระยะเวลาที่เหมาะสม ซ่ึงจะ สง่ ผลให้ผูป้ ว่ ยมีผลลัพธ์ในการรักษาท่ดี ีข้นึ รวมถึงช่วยใหผ้ ู้ปว่ ยและครอบครวั มเี วลาเตรียมตวั วางแผนการเดินทางมายัง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ อีกทั้งยงั ประหยัดเวลาและค่าใชจ้ า่ ยของผปู้ ว่ ยและครอบครวั ไดด้ ้วย นอกจากนี้กระบวนการทำงานของ E-consult ยังเป็นเคร่ืองมือสำคัญที่ทำให้เกิดการจัดการความรู้ (Knowledge management) ร่วมกันระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพในต่างโรงพยาบาลที่ร่วมดูแลผู้ป่วยมะเร็ง โดยใช้องค์ ความรู้ท่ีมีมาใช้ในการทำงานเพ่ือให้เกิดผลสัมฤทธิ์ท่ีดีขึ้นกว่าเดิม เป็นการพัฒนางาน พัฒนาคนอย่างต่อเนื่องไม่ส้ินสุด เพ่ิมทุนปัญญาให้เกิดแก่องค์กร เป็นพลังบวกที่เกิดจากการทำงานร่วมกันระหว่างทีมดูแลผู้ป่วยทั้งในโรงพยาบาล เครอื ข่ายและโรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ ทำให้เกดิ ผลลพั ธท์ ด่ี ีตอ่ ผปู้ ว่ ยมะเร็งและครอบครัวไดอ้ กี ด้วย 153
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ *************************************** 1. ช่อื เรื่อง การประยุกตใ์ ช้แนวคิด LEAN ในการบรหิ ารจัดการกระบวนการสนบั สนนุ การวจิ ัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.สงขลานครนิ ทร์ 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น ดา้ นบริหารจัดการ / ด้านการดำเนินงานทใี่ ชเ้ ครือ่ งมือ Lean & Kaizen 3. ชือ่ หนว่ ยงาน งานสนบั สนุนการวิจยั คณะวทิ ยาศาสตร์ 4. ประเภทของโครงการ ❑ประเภทท่ี 1 แนวปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ ระดบั คณะ/หนว่ ยงาน (ผ่านการคัดเลอื กโดยเวทีหรอื ผบู้ ริหารของคณะ) 1.1 สายวชิ าการ 1.2 สายสนบั สนนุ ❑ประเภทท่ี 2 แนวปฏิบัตทิ ด่ี ี 2.1 สายวชิ าการ 2.2 สายสนบั สนุน 5. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏิบัติทเี่ ปน็ เลศิ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและนวตั กรรม ทีป่ รึกษา 1. รองศาสตราจารย์ ดร.พิมลศรี มิตรภาพอาทร งานแผนและประกนั คุณภาพ ท่ีปรกึ ษา 2. นางสาวเจนวดี หริ ญั รัตน์ หวั หน้างานสนบั สนนุ การวิจัย 3. นางสาวธนภทั ร สรุ ะกุล งานสนบั สนุนการวจิ ัย 4. นางสาวธญั ญาภรณ์ บุญเพชร งานสนบั สนุนการวิจัย 5. นางสวลี บวั ศรี งานสนบั สนุนการวิจยั 6. นางสาวกมลลักษณ์ อินชรู ัญ 6. การประเมนิ ปัญหา/ความเสีย่ ง (Assessment) จากสถานการณ์การระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ในช่วงปี พ.ศ. 2563 หลายองค์กรประสบปัญหาด้าน การบริหารจดั การงาน โดยเฉพาะงานที่ต้องมกี ารตดิ ตอ่ ประสานงานกับบุคคลหลายฝ่าย หลายหน่วยงาน หรือ มีความจำเป็นตอ้ ง ได้รับการอนุมตั จิ ากผู้บริหาร มาตรการจำเป็นต่าง ๆ เช่น การจัดให้บุคลากรรอ้ ยละ 50 สลับการทำงานระหวา่ งทีท่ ำงานและการ ทำงานจากที่บ้าน (Work From Home : WFH) ประกอบสถานการณ์การปรับโครงสร้างภายในคณะวิทยาศาสตร์ จึงเป็นปัญหา สำคัญทส่ี ่งผลกระทบตอ่ การดำเนนิ งานและจำเป็นต้องมีการปรบั ปรุงพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การ ในส่วนของระบบงานสนบั สนุนการวจิ ัย คณะวทิ ยาศาสตร์ ไดน้ ำแนวคดิ LEAN มาประยุกตใ์ ชใ้ นกระบวนการท่ีเกี่ยวข้อง กับระบบบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อลดกิจกรรมที่ไม่จำเป็น ลดเวลา ลดการใช้ทรัพยากร มีความยืดหยุ่น สามารถปฏิบัติงานโดย บุคลากรและผูบ้ ริหารไดแ้ บบออนไลน์ กลา่ วคอื ทำงานนอ้ ยลงแตไ่ ด้ผลงานมากขนึ้ และทำให้ผใู้ ชบ้ รกิ ารพึงพอใจ จากการวิเคราะห์ เส้นทางของระบบการทำงานเอกสารในรูปแบบเดิม พบว่าหลายระบบมีรูปแบบการทำงานที่ไม่แตกต่างกันมากประกอบด้วย ขัน้ ตอน ดังน้ี ผูใ้ ช้บรกิ าร -> จนท. รับเรือ่ ง -> เสนอเร่ือง -> ผ้บู ริหารพิจารณา -> จนท. แจง้ ผลพิจารณา -> ผู้ใช้บรกิ าร และ ผู้เก่ยี วข้อง 154
เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ การใช้แนวคิด LEAN ทำให้สามารถวิเคราะห์กระบวนการที่สูญเปล่า (wastes) หลายประเด็น ระบบงานฯ จึงได้ค้นหา และเรียนรู้การใช้เครื่องมือ “Google Form Approvals” ซึ่งเป็นชุดเครื่องมือส่วนเสริม (Add on) ที่สามารถทำงานร่วมกับ เครื่องมือพื้นฐาน Google form ซึ่งเป็นมิตรต่อผู้ใช้บริการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการ นอกจากนี้ยังสามารถเก็บ ข้อมูลในรูปของ Google sheet เสมือนฐานข้อมูลที่สามารถเรียกใช้ข้อมูล วิเคราะห์ และนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้อยา่ งรวดเร็ว โดยระบบงานฯ ได้ใช้แนวคิด LEAN มาบริหารจัดการงานวจิ ัยผ่านเทคโนโลยดี งั กล่าวอย่างตอ่ เนื่องมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2563 ดังน้ี ปี 2563 1. การเบกิ จา่ ยเงนิ สนับสนนุ ทุนวิจยั 2. การเบกิ จ่ายเงินค่าตอบแทนผู้ทรงคณุ วุฒิพจิ ารณาโครงการวิจัย 3. การเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณการสนับสนนุ การตพี มิ พบ์ ทความวิชาการ 4. การสง่ บทความขอรบั การสนับสนุนผ้มู ีผลงานตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติ ปี 2564 1. การนำเสนอเอกสารต่อผ้บู รหิ ารผา่ นระบบออนไลน์ 2. การแจ้งขอความประสงค์ขอใช้สัตวเ์ พือ่ งานทางวิทยาศาสตร์ 3. การการขออนุญาตเขา้ เยยี่ มชม/ประเมินหอ้ งปฏิบัตกิ าร 4. การขออนญุ าตเขา้ ปฏบิ ัติงานของบุคลากรและผูช้ ว่ ยวจิ ัยที่เข้ามาทำวจิ ัยในช่วงสถานการณ์ COVID-19 ปี 2565 (อยใู่ นระหว่างการวิเคราะห์ผใู้ ช้บริการและหนว่ ยงานท่เี ก่ียวขอ้ งเพิม่ เตมิ ) 7. เปา้ หมาย/วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 7.1. เพื่อพัฒนากระบวนการสนับสนุนการวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพ โดยการนำแนวคิด LEAN มาใช้ในการลดความสูญเปล่า จากกระบวนการทำงาน ให้สามารถตอบสนองผ้ใู ชบ้ ริการได้อย่างรวดเร็วในทกุ สถานการณ์ 7.2. เพื่อพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีในการทำงานของบุคลากรในระบบงานสนับสนุนการวิจัยและเป็นต้นแบบให้แก่ หนว่ ยงานอ่นื ภายในคณะวิทยาศาสตร์ 8. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 8.1 สามารถลดความสูญเปล่า ได้แก่ เวลา วัสดุ และขั้นตอน จากการทำงานในกระบวนการสนับสนุนการวิจัย และ ตอบสนองผูใ้ ชบ้ รกิ าร เช่น อาจารย์ นกั วจิ ัย ผู้ทรงคณุ วุฒภิ ายนอก ได้อย่างรวดเร็วทุกสถานการณ์ 8.2 สามารถถ่ายทอดแนวคิดและเทคโนโลยี เพอื่ ใหเ้ กดิ การประยกุ ต์ใชไ้ ด้ในระบบงานอนื่ ๆ ภายในคณะวิทยาศาสตร์ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/แนวทางการปฏบิ ตั จิ ริง (PDCA) ในการนำแนวคิด LEAN มาลดความสูญเสยี ในกระบวนการทำงาน ได้ดำเนินงานตามวงจร PDCA ดังนี้ 9.1.1 Plan − การระบุปญั หาและวเิ คราะหค์ วามต้องการ ระบบงานฯ ได้ศึกษากระบวนการก่อนปรับปรุง วิเคราะห์กระบวนการ และผู้เกี่ยวข้องทั้งหมดตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด กระบวนการ โดยขอยกตัวอย่างกระบวนการนำเสนอเอกสารต่อผู้บริหาร (ตารางที่ 1) จากนั้นทำการระบุสาเหตุปัญหาที่ จำเป็นต้องได้รับการแก้ไข ความสูญเปล่าจากกระบวนการ และแนวทางการแก้ไข โดยการระดมสมองถึงทรัพยากรที่ต้องการบน พื้นฐานของทรพั ยากรทีม่ ี จากการวิเคราะหพ์ บความสูญเปล่า 5 ประการ (ตารางที่ 2) 155
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ กระบวนการกอ่ นปรับปรงุ ตารางที่ 1 กระบวนการทวั่ ไปในการนำเสนอเอกสารต่อผบู้ ริหารพิจารณาและลงนามในรูปแบบเอกสาร ท่ี ผงั ข้ันตอนกระบวนการ เวลา คำอธิบายกิจกรรม บคุ คลในกระบวนการ 1 2 รบั เอกสารเข้า 1 วัน 1. รับเอกสารเข้างานสนบั สนุนการวิจยั 1.เจ้าหนา้ ทส่ี นบั สนุนการวจิ ัย นำเสนอเรอ่ื งตอ่ 2. เจา้ หนา้ ทพี่ จิ ารณาเอกสาร 2. หัวหน้างานสนับสนนุ การวจิ ัย ผบู้ รหิ ารพิจารณา 3. เจ้าหน้าที่เขยี นนำเสนอเอกสาร และใส่แฟม้ 3. เจา้ หนา้ ทสี่ ารบรรณ 4. เจา้ หน้าทน่ี ำแฟม้ เสนอผู้บริหารเพอื่ พิจารณา (ผ่านตลาดนัดเอกสาร 2 คร้ัง/วัน) 3 2 วัน 5. ผู้บริหารพิจารณาเอกสาร 1. ผู้บริหารท่ีเกีย่ วขอ้ ง พิจารณา 6. นำสง่ เร่อื งกลบั มายังงานสนับสนนุ การวิจัย 2. เจ้าหนา้ ทีส่ ารบรรณ 4 1 วัน 7. เจา้ หนา้ ที่ Scan เร่อื งเก็บเอกสาร 1. เจ้าหน้าทีส่ นับสนนุ การวจิ ัย สง่ เอกสารออก 8. แจง้ เรือ่ งกลับ หรอื สง่ ต่อผา่ นทาง Email 2. เจา้ หนา้ ทส่ี ารบรรณ 9. นำส่งเอกสารออกไปยังหน่วยงานปลายทาง 3. บุคคลตน้ เร่ือง/ปลายทาง (ผา่ นตลาดนดั เอกสาร) 4 วัน บุคคลในกระบวนการ 1. เจ้าหน้าทส่ี นับสนุนการวจิ ัย 2. หวั หนา้ งานสนับสนนุ การวิจยั 3. ผู้บรหิ ารท่ี เกย่ี วขอ้ ง 4. เจ้าหน้าท่สี ารบรรณ 5. บคุ คลต้นเรอ่ื ง/ปลายทาง การวเิ คราะห์กระบวนการทสี่ ญู เปลา่ ตารางท่ี 2 การวเิ คราะห์ความสญู เปล่าของกระบวนการ ความสูญเปลา่ กระบวนการท่ีเก่ยี วข้อง สาเหตขุ องปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา กระบวนการรับเอกสารเข้า 1. ความสูญเสียเน่ืองจาก - สญู เสยี วสั ดุ เช่น กระดาษ - ลดการจัดพิมพ์เอกสารเพ่ือเสนอ กระบวนการผลิต (เอกสารรับเขา้ บางกรณี หมกึ พิมพ์ ผู้บรหิ าร และใหล้ งนามแบบ (Processing) ออนไลน์ จำเปน็ ตอ้ งพิมพ์เสนอผู้บริหารลง นามในรูปแบบเอกสาร) 2. ความสญู เสยี เนื่องจาก กระบวนการนำเสนอเรอื่ งตอ่ - การเขยี นเสนอเอกสารดว้ ย - ใชข้ ้อความอตั โนมตั ิและใชก้ าร การผลติ ของเสีย ผบู้ รหิ ารพจิ ารณา ลายมอื ทำใหเ้ กดิ ความเข้าใจ พิมพด์ ้วยคอมพิวเตอร์เพ่อื ลดความ (Defect) คลาดเคลื่อน ต้องมกี ารติดตอ่ ผิดพลาดและให้ผู้บรหิ ารเขา้ ใจงา่ ย (เจ้าหนา้ ทีเ่ ขยี นรายละเอียด กลับเพือ่ สอบถามทำให้ - นำเสนอเอกสารผ่านระบบออนไลน์ 3. ความสญู เสียเน่ืองจาก นำเสนอเร่อื งตอ่ ผบู้ รหิ าร) เสยี เวลาและล่าช้า การเคลือ่ นไหว - ลดข้ันตอนลงโดยเสนอผา่ นระบบ (Motion) กระบวนการนำเสนอเร่อื งตอ่ - การเตรยี มแฟ้มเสนองานมี ออนไลน์ ดำเนนิ การได้ทันทีเรอ่ื ง ผู้บริหารพจิ ารณา การเคลอื่ นไหวหลายขัน้ ตอน ตอ่ เรือ่ ง โดยไมต่ อ้ งเตรยี มแฟ้ม 4. ความสญู เสียเนื่องจาก เช่น การพมิ พเ์ อกสาร การ การรอคอย (Delay) (การจัดเตรยี มแฟม้ เอกสารเพอ่ื ให้ เขียน การจดั เตรียมแฟม้ การ - ปรบั เป็นระบบออนไลน์ ไมต่ อ้ งใช้ ผู้พิจารณา) ทวนเอกสารต่าง ๆ ในแฟม้ เจ้าหน้าที่เดนิ เอกสาร - กระบวนการนำเสนอเรอ่ื งตอ่ - ไมม่ เี จา้ หนา้ ท่ีเดนิ เอกสาร ผ้บู ริหารพิจารณา เนอื่ งจากการติดเชื้อของ บคุ ลากร - กระบวนการพิจารณา 156
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ความสูญเปลา่ กระบวนการทเ่ี กีย่ วขอ้ ง สาเหตขุ องปัญหา แนวทางแกไ้ ขปัญหา (ระยะเวลารอคอยในการนำเสนอ - ให้ผบู้ ริหารสามารพิจารณา 5. ความสูญเสยี เน่ืองจาก - ผ้บู รหิ ารไมส่ ามารถลงนามได้ อนุมตั ิเอกสารได้แบบ real time การขนสง่ เรอ่ื งตอ่ ผูบ้ รหิ าร และการ ทนั ที จากสาเหตุ ติดภารกจิ จากทุกท่ี ทุกเวลา (Transportation) พจิ ารณาลงนามในเอกสาร) ประชุม การเดนิ ทางไปราชการ การกักตวั เป็นต้น - ให้ระบบส่งการแจ้งไปยัง กระบวนการสง่ เอกสารออก หน่วยงานปลายทางและผู้เก่ียวขอ้ ง (จดั สง่ เอกสารทางตลาดนัดไปยัง - การเดินทางเอกสารของงาน เช่น เจ้าหน้าทร่ี ะบบงานสนับสนุน สารบรรณ สญู หาย หรอื ล่าช้า การวิจยั ไดแ้ บบอัตโนมตั ทิ นั ทีท่ี หน่วยงานปลายทาง) เกิดปญั หาจากการติดตาม ผ้บู รหิ ารพิจารณาและลงนามแล้ว เสน้ ทางเอกสารตกค้าง 9.1.2 Do − การพฒั นากระบวนการและลงมอื ปฏบิ ตั ิ 9.1.2.1 การพัฒนากระบวนการโดยใช้แนวคิด LEAN ระบบงานฯ ได้นำแนวทางแก้ไขปัญหาข้างต้นมาทำการพัฒนากระบวนการโดยใช้แนวคิด LEAN ทำให้กระบวนการใหม่สามารถลดความสูญเปล่าในด้านระยะเวลาลงได้จาก 4 วัน เป็น 25 นาที และลดขั้นตอนจาก 9 ขั้นตอน เหลอื เพียง 5 ขนั้ ตอน อีกท้ังยงั สามารถลดจำนวนบุคคลทีเ่ ก่ียวข้องในกระบวนการได้ (ตารางท่ี 3) ตารางที่ 3 กระบวนการใหม่ในการนำเสนอเอกสารตอ่ ผู้บริหารพจิ ารณาและลงนาม ที่ ผังข้นั ตอนกระบวนการ เวลา คำอธิบายกิจกรรม บคุ คลในกระบวนการ 1 รบั เอกสารเข้า 5 นาที 1. รบั เอกสารเขา้ งานสนับสนุนการวิจัย 1. เจา้ หนา้ ที่งานสนบั สนุนการวจิ ัย 2 นำเสนอเร่อื งต่อ 15 นาที 2. เจา้ หนา้ ที่พิจารณาเอกสาร 1. เจา้ หน้าทส่ี นบั สนนุ การวจิ ยั ผู้บริหารพจิ ารณา 3. เจ้าหนา้ ทน่ี ำเสนอเอกสาร 2. หัวหน้างานสนบั สนนุ การวจิ ยั (ผ่าน Google form ทเี่ สรมิ ดว้ ยระบบ Google Form Approvals) 3 พิจารณา 5 นาที 4. ผบู้ ริหารพจิ ารณาเอกสารออนไลน์ ผา่ น 1. ผู้บริหารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ระบบ Google approval ทาง Email 4 สง่ เรอ่ื งออก (ระบบส่งเรือ่ งกลบั /สง่ ต่อผู้เก่ียวข้อง 1. เจ้าหนา้ ท่สี นบั สนุนการวิจยั อตั โนมตั ิ เช่น แจง้ ผลพิจารณากลบั ไปยงั 2. บคุ คลตน้ เรอื่ ง/ปลายทาง เจา้ หน้าที่ หรอื หน่วยงานปลายทาง) 3. เจา้ หนา้ ท่ีสารบรรณ ไมร่ วมกรณีการแจ้งผลผา่ นตลาดนดั เอกสาร 5. จัดสง่ เอกสารผ่านตลาดนดั เอกสาร (ข้ึนอยู่กับหนว่ ยงานปลายทาง) 25 นาที บุคคลในกระบวนการ 1. เจ้าหนา้ ทีส่ นับสนุนการวจิ ัย 2. หวั หนา้ งานสนับสนุนการวิจยั 3. ผู้บริหารที่ เกี่ยวขอ้ ง 4. บุคคลต้นเรอื่ ง/ปลายทาง 5. เจา้ หน้าที่สารบรรณ (ถ้ามเี อกสาร) 9.1.2.2 การสรา้ งระบบและทดสอบแบบฟอรม์ ท่ีใช้ในกระบวนการใหม่ 157
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ขน้ั ตอนท่ี 1 ทำการสรา้ ง Google form เรือ่ งท่ตี ้องการเสนอผูบ้ ริหารพิจารณา โดยตั้งค่า Add on “Form Approvals” ใส่ Email ผู้ที่ต้องการเสนอตามลำดับขั้น และ ผู้ที่เกี่ยวข้องและต้องการให้ได้รับการแจ้งเตือนเกี่ยวกับเอกสาร (รูปที่ 1) สำหรับการติดตัง้ Add on “Form Approvals” สามารถอ่านรายละเอียดไดต้ ามลงิ ค์ shorturl.at/irAQU รปู ที่ 1 ตัวอยา่ งแบบฟอร์มที่ สรา้ งโดย Google form และ บริเวณ Add on “Form Approvals” ทไี่ ดใ้ ส่ค่า บุคคลที่เก่ียวขอ้ งในกระบวนการ แลว้ (ลกู ศรชี้) ขนั้ ตอนท่ี 2 การเปิดใชง้ าน Form Approvals ท่พี ฒั นาแลว้ โดยเมอื่ ทำการใชง้ านเจา้ หนา้ ที่จะทำการกรอกข้อมลู เสนอผู้บริหารใน ระบบ (รปู ท่ี 2) จากนัน้ เสนอผู้บรหิ ารลงนาม โดยผบู้ ริหารจะไดร้ ับการแจง้ เตอื นทาง Email (รปู ที่ 3) จากการตั้งค่าในข้ันตอนที่ 1 ภายใน Email จะมีข้อความหัวข้อที่นำเสนอเรื่อง และรายละเอียดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมเอกสารแนบ และปุ่มสำหรับผู้บริหาร พิจารณา (รูปที่ 4) โดยสามารถติดตาม (tracking) เส้นทางเอกสารได้แบบ real time (รูปที่ 5) โดยเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการ พจิ ารณาทุกขั้นตอนจะมีการตั้งค่าให้แจ้งไปยังผู้เก่ียวข้องอตั โนมัติ (รปู ท่ี 6) นอกจากน้รี ะบบยงั จัดเก็บเอกสารในรปู แบบ Google Sheet ทส่ี ามารถติดตามสถานะ (รูปที่ 7) และขอ้ มูลการพจิ ารณาอนมุ ตั ไิ ดจ้ าก Request ID ที่เฉพาะ (รปู ที่ 8) รูปที่ 2 หนา้ ต่าง Google form ทเี่ จา้ หนา้ ทกี่ รอก รปู ที่ 3 Email ท่ผี ู้บรหิ ารไดร้ ับการแจง้ เตอื นใหพ้ ิจารณาเอกสาร ข้อมลู เพอ่ื นำเสนอผ้บู รหิ าร แสดงหัวข้อ Request for your review (ลูกศรช้ี) 158
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ รูปที่ 4 หน้าต่างรายละเอยี ดที่ผูบ้ รหิ าร ดำเนินการพจิ ารณา กล่องสเ่ี หลีย่ ม แสดง Approve = อนุมตั ,ิ Decline = ไมอ่ นุมัต,ิ Comment = พจิ ารณาแบบ มีข้อเสนอแนะ รูปท่ี 5 หน้าต่างแสดงลำดับขัน้ ตอนการพิจารณาเอกสารท่สี ามารถ รูปที่ 6 หนา้ ต่างแสดงเร่ืองเสนอผูบ้ ริหาร ติดตามสถานะ (tracking) ได้ ท่ไี ดร้ บั การพิจารณาจนเสรจ็ สิ้นกระบวนการ รูปที่ 7 Google sheet แสดงข้อมูลท่ี บนั ทึกไว้ โดยแสดงวัน-เวลาทเ่ี อกสารอนุมัติ รูปท่ี 8 Google sheet แสดงผลการ พิจารณาของผูบ้ ริหาร และลำดับเลขคำขอ (Request# xxx) 9.1.3 Check − การประเมินและสรปุ ผล ระบบงานฯ ได้ประเมินผลลัพธข์ องกระบวนการใหม่ผ่านการวิเคราะหข์ ้อมูลและใชห้ ลักแนวคิดแบบ LEAN โดยนำข้อมูล มาเปรียบเทียบกับกระบวนการเดิม พบว่าการ LEAN กระบวนการ นอกจากจะสามารถลดความสูญเปล่าในด้านระยะเวลาลงได้ จาก 4 วัน เป็น 25 นาที และลดขั้นตอนจาก 9 ขั้นตอน เหลือเพียง 5 ขั้นตอน ลดจำนวนบุคคลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการไดแ้ ลว้ ยังสามารถลดการใช้ทรัพยากร ได้แก่ ลดเวลา ลดการใช้กระดาษ ลดพื้นที่และการจัดเก็บเอกสาร ลดขั้นตอนและกิจกรรมใน 159
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ กระบวนการ ดงั รายละเอียดทไี่ ดแ้ สดงไว้ในหวั ข้อ 10. การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measures) นอกจากนี้ยังสามารถติดตามเอกสาร และแสดงข้อมูลสรุปได้แบบ real time ซึ่งในขั้นตอนนี้ เช่น สรุปสถานะผู้ขอรับการสนับสนุนค่าตีพิมพ์ และค่าควอไทล์ของ วารสาร (รูปที่ 9) หรือ แหล่งทุนและช่ือทนุ ที่เบกิ จา่ ย (รูปที่ 10) เป็นต้น ซึ่งหากตอ้ งการข้อมูลสรุปในด้านใด สามารถกำหนดได้ จากการตั้งค่าข้อมูลที่ให้กรอกในแบบฟอร์ม ซึ่งข้อมูลสำคัญที่แสดงยังเกิดประโยชน์ต่อผู้บริหาร เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการ ตดั สนิ ใจ วางแผนกลยทุ ธแ์ ละนโยบายสนบั สนุนการวจิ ยั ไดอ้ กี ด้วย (รปู ที่ 11) รปู ที่ 9 หน้าตา่ งสรปุ ขอ้ มลู จากระบบการขออนุมตั ิ รูปที่ 10 หน้าต่างสรปุ ขอ้ มูลจากระบบการขออนุมัติ สนับสนุนผมู้ ผี ลงานตพี ิมพ์บทความวิจัยในวารสารวิชาการ เบิกจา่ ยเงนิ ทุนอุดหนุนการวจิ ยั รปู ท่ี 11 หนา้ ตา่ งแสดงข้อมูลสำคญั จากระบบ ไดแ้ ก่ จำนวนผลงานวิจยั ทคี่ ณะอนมุ ัตงิ บประมาณสนบั สนุนแตล่ ะปี (ซา้ ย) จำนวน ผลงาน Q1 ทีไ่ ดร้ บั การสนับสนุนแต่ละปีงบประมาณ (กลาง) และงบประมาณทค่ี ณะสนับสนนุ ทั้งหมดแต่ละปีงบประมาณ (ขวา) 9.1.4 Act − การประยกุ ตใ์ ช้กบั ระบบงานอ่ืนในองค์กร จากผลตอบรับทผี่ ูบ้ รหิ ารและผู้เกย่ี วข้องมีความพึงพอใจกับกระบวนการใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ จึงมีนโยบายให้ใช้ระบบ LEAN ในการบรหิ ารจัดการระบบงานสนบั สนุนอ่ืน ๆ ภายในคณะ โดยมหี วั หน้าระบบงานสนับสนุนการวจิ ัยทำหน้าท่ีเป็นวิทยากร อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มทักษะการใช้งาน Google From Approvals ให้แก่บุคลากรในระบบงานอื่น ๆ ในหัวข้อ “Google form เพื่อการอนุมัติออนไลน์” กิจกรรมดังกล่าวจัดโดยงานบริหารทรัพยากรมนุษย์ ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2563 เวลา 13.30- 15.30 น. (ลิงค์วิดีโออบรม: https://drive.google.com/file/d/1OinbUgFfmGVYBgDOISYwLgNnkiUxC0z0/view) โดยการ อบรมมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจและผลักดันให้เกิดการพัฒนากระบวนการที่สามารถใช้เทคโนโลยี Google Form Approvals เขา้ มาใชใ้ นการ LEAN กระบวนการต่าง ๆ ซง่ึ ผลตอบรบั จากผเู้ ขา้ อบรมเป็นไปในทศิ ทางทด่ี ี (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 ความคิดเหน็ ต่อการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดประสบการณก์ ารใช้งาน ประเดน็ ความคิดเหน็ คะแนนเฉล่ยี การแปลความ การดำเนนิ กิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 4.63 เหน็ ดว้ ยมากท่สี ุด เนือ้ หาการอบรมเปน็ ไปตามความคาดหวัง 4.51 เห็นด้วยมากที่สดุ สามารถนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้กับการปฏิบัตงิ านได้จรงิ 4.46 เหน็ ดว้ ยมาก ความเหมาะสมของวทิ ยากร 4.67 ความพึงพอใจในภาพรวมของกิจกรรม 4.57 เห็นด้วยมากที่สุด หมายเหตุ เห็นด้วยมากทีส่ ดุ 1. จำนวนผ้ทู ำแบบประเมินทงั้ สิ้น 130 คน 160
เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2. เกณฑ์การประเมิน: (5 = เหน็ ดว้ ยมากที่สดุ 4 = เหน็ ด้วยมาก 3 = เหน็ ดว้ ยปานกลาง 2 = เห็นด้วยนอ้ ย 1 = เห็นดว้ ยน้อยมาก 0 = ไม่เหน็ ด้วย) 9.2 งบประมาณทใ่ี ช้ในการจัดโครงการ-กจิ กรรม 9.2.1 งบประมาณทใี่ ชใ้ นการตดิ ตง้ั Add on “Form Approvals” ประมาณ 15,000 บาท 10. การวดั ผลและผลลัพธ์ (Measures) 10.1 การลดความสูญเปล่า ได้แก่ เวลา วัสดุ และขั้นตอน จากการทำงานในกระบวนการสนับสนุนการวิจัย และ ตอบสนองผู้ใช้บรกิ าร เช่น อาจารย์ นกั วิจยั ผ้ทู รงคณุ วุฒิภายนอก ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วทกุ สถานการณ์ 10.1.1 เวลา ระยะเวลาในการนำเสนอเอกสารลดลงจาก 4 วนั เหลือเพียง 25 นาที (ลดลงร้อยละ 99.30) (ตารางที่ 5) ตารางที่ 5 การเปรียบเทยี บระยะเวลาท่ีใชใ้ นกระบวนการนำเสนอเอกสารเพอ่ื ผู้บริหารพิจารณา กระบวนการ เวลาที่ใช้ในกระบวนการ กระบวนการก่อนปรับปรงุ กระบวนการหลงั ปรบั ปรุง รบั เรื่องเข้า 1 วัน 5 นาที พิจารณาและนำเสนอเอกสาร 15 นาที ผบู้ รหิ ารพิจารณา 2 วัน 5 นาที สง่ เรือ่ งออก 1 วัน E-mail อตั โนมัติ รวม 4 วนั 25 นาที 10.1.2 กระดาษ ปริมาณการใชก้ ระดาษตลอด 3 ปที ่ผี า่ นมา ตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2563 – 2565 ลดลงจาก 19,118 แผน่ เหลือ เพียง 1,360 แผ่น (ลดลงร้อยละ 92.89) (ตารางท่ี 6) ตารางท่ี 6 การเปรยี บเทยี บปริมาณการใช้กระดาษในกระบวนการต่าง ๆ กระบวนการบริหารจัดการงานวจิ ัย* จำนวนครั้งท่ี จำนวนกระดาษ ปริมาณกระดาษท่ีใช้ในกระบวนการ การสง่ บทความขอรับการสนับสนุนผ้มู ีผลงาน นำเสนอเอกสาร ท่ใี ช้ข้นั ต่ำตอ่ ท้ังหมด (แผ่น) ตพี มิ พใ์ นวารสารวิชาการระดับนานาชาติ แบบออนไลน์ การเบิกจา่ ยเงินงบประมาณการสนับสนนุ การ การเสนอ กอ่ นการปรบั ปรุง หลงั การปรับปรุง ตพี มิ พบ์ ทความวชิ าการ 385 พจิ ารณาต่อครัง้ 3,850 0 91 273 0 (แผ่น) 10 3 การเบกิ จ่ายเงินทุนวิจยั 197 6 1,182 0 การเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวฒุ ิ 89 3 267 0 พิจารณาโครงการวจิ ยั การนำเสนอเอกสารต่อผู้บรหิ ารผา่ นระบบ 650 5 3,250 1,000** ออนไลน์ 1,984 5 9,920 0 การขออนุญาตเขา้ ปฏิบตั ิงานของบุคลากร และผ้ชู ่วยวิจยั ท่เี ขา้ มาทำวจิ ยั ในช่วง สถานการณ์ COVID-19 การแจง้ ขอความประสงค์ขอใชส้ ตั ว์เพอ่ื งาน 18 20 360 360 ทางวิทยาศาสตร์ การการขออนุญาตเข้าเย่ยี มชม/ ประเมนิ 8 2 16 0 ห้องปฏบิ ัตกิ าร หมายเหตุ รวมปริมาณกระดาษที่ใชใ้ นกระบวนการ 19,118 1,360 161
เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ * จำนวนคร้ังที่นำเสนอเอกสารแบบออนไลนเ์ ปน็ จำนวนคร้ังที่ใชจ้ รงิ ต้งั แตป่ ี 2563 เป็นต้นมา ** แม้ว่าจะมีกระบวนการบริหารจัดการงานวิจัยเข้ามารองรับ แต่เป็นการบริหารจัดการแบบภายใน ซึ่งหน่วยงานปลายทางบาง หน่วยงานยังไม่ยอมรับเอกสารในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ปริมาณการใช้กระดาษในกระบวนการจึงมีอัตราการลดลงน้อยกว่าเมื่อ เทียบกับกระบวนการอืน่ ๆ 10.1.3 พื้นที่จัดเก็บเอกสาร พื้นท่ีที่ใช้ในการจัดเก็บเอกสารลดลงตามปริมาณเอกสารที่ใช้ลดลง เนื่องจากเอกสารถูก จดั เกบ็ ในรปู แบบออนไลนใ์ น Google Drive หรือ พ้นื ท่อี อนไลนภ์ ายใต้แพลตฟอรม์ อืน่ และยังสามารถสบื คน้ ไดท้ กุ ที่ทุกเวลา 10.1.4 ขนั้ ตอนและกิจกรรมในกระบวนการ กระบวนการใหม่ไม่ต้องอาศัยเจ้าหน้าที่เดินเอกสาร อีกทั้งระบบงานฯ ไม่จำเป็นต้องแจ้งสถานะของเอกสารที่ผู้บริหาร พิจารณาเอง เนื่องจากเทคโนโลยีสามารถตั้งค่าการใช้งานให้ส่งเอกสารจากผู้รับเรื่องไปยงั ผู้บริหารและส่งผลพิจารณาที่ครบถ้วน แล้ว (Complete) ไปยงั ผรู้ ับบรกิ ารและผเู้ กีย่ วข้องโดยอตั โนมตั ิผา่ นทาง Email แม้จะมีผเู้ ก่ียวข้องในกระบวนการหลายระบบงาน เช่น กระบวนการเบกิ จา่ ยเงินค่าตอบแทนผทู้ รงคณุ วฒุ ิภายนอก ท่ีตอ้ งเกีย่ วขอ้ งกับระบบงานคลังและบคุ คลภายนอก (รปู ที่ 12) รูปที่ 12 หน้าต่างแสดงสถานะและรายงานการแจ้งเตือนไปยังผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกองค์กร 10.2 สามารถถ่ายทอดแนวคดิ และเทคโนโลยี เพือ่ ใหเ้ กิดการประยกุ ต์ใช้ได้ในระบบงานอนื่ ๆ ภายในคณะวทิ ยาศาสตร์ หลังการอบรมเผยแพร่องค์ความรู้ให้กับบุคลากรในระบบงานอื่น ๆ ภายในคณะวิทยาศาสตร์ ในหัวข้อ “Google form เพื่อการอนุมัติออนไลน์” ดังที่กล่าวแล้วก่อนหน้า ทำให้เกิดการร่วมมือพัฒนางาน โดยมีการต่อยอดไปใช้งานกับระบบงานอื่น ๆ ภายในคณะวิทยาศาสตร์จำนวน 4 ระบบงาน จากจำนวนทั้งสิ้น 15 ระบบงาน (ร้อยละ 26.67) ได้แก่ 1) งานสนับสนุนการจัด การศกึ ษา: กระบวนการขออนุญาตเข้าพื้นที่คณะวิทยาศาสตร์ ภาคการศกึ ษา 1/2564 สำหรบั นักศกึ ษาทีม่ หาวิทยาลยั อนุมตั ิแล้ว (https://forms.gle/3W5BpcjfpwSoH86X8) 2) งานบริหารทรัพยากรมนุษย์: กระบวนการสมัครทุนสนับสนุนค่าใช้จ่าย พัฒนา ตนเอง ณ ต่างประเทศ (https://forms.gle/TctuyEs76WotnGYT6) 3) งานพัสดุ: กระบวนการขอจัดซือ้ /จัดจา้ ง ไนโตรเจนเหลว (https://forms.gle/LoX3Cv4ZxgJKhzgZ7) 4) งานบริการกลาง: กระบวนการขออนุมัติใช้ห้องประชุมสำนักงานคณบดี 1 (https://forms.gle/NjZrey4EKtLYz4VF9) ทั้งนี้คณะวิทยาศาสตร์ได้ให้ความสำคัญในการ LEAN ระบบงาน และมีการกำหนดนโยบายให้ทุกหน่วยงานนำแนวคดิ นี้ ไปขยายผลใช้กับทุกกระบวนการ โดยเฉพาะเรื่องที่สามารถบูรณาการการทำงานร่วมกันได้ และวางแผนจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยน ประเดน็ ปัญหา เพ่ือพฒั นากระบวนการต่อไป 11. การเรยี นรู้ (Study/Learning) 11.1 แผนหรอื แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพอยา่ งต่อเน่ืองในอนาคต 162
เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11.1.1. นำข้อมูลที่มีอยู่ (Google sheet) ไปสร้างเป็นระบบสารสนเทศที่มีคุณภาพ เพื่อการประชาสัมพันธ์ และ ประกอบการตัดสินใจของผบู้ ริหารในการกำหนดนโยบายเก่ียวกับการสนบั สนนุ การวจิ ยั 11.1.2. ผลกั ดนั ใหเ้ กิดการปรับปรงุ กระบวนการบรหิ ารจดั การแบบบูรณาการรว่ มกันเพ่อื ให้นักวิจยั ได้รบั ประโยชนส์ งู สดุ 11.2 จุดแขง็ (Strength) หรอื สง่ิ ทที่ ำได้ดใี นประเดน็ ท่ีนำเสนอ 11.2.1. ผู้นำและผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญกับการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการงานวิจัย พร้อมสนับสนุน บคุ ลากรใหส้ รา้ งผลงานทางวชิ าการ และส่งเสริมสนบั สนุนการทำงานท่ีมุ่งผลสัมฤทธิ์ 11.2.2. การนำแนวคิด LEAN ควบคู่กับเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในกระบวนการการบริหารจัดการงานสนับสนุนการวิจัย สง่ ผลให้สามารถลดความสญู เปลา่ จากกระบวนทำงานได้ และเอื้อประโยชนต์ ่อผู้เกี่ยวขอ้ งตลอดกระบวนการ 11.2.3. มีการบูรณาการการทำงานร่วมกันกับระบบงานอื่น ๆ และเกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่าง ระบบงาน ให้สามารถทำงานร่วมกันไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 11.3 กลยทุ ธห์ รอื ปจั จยั ท่ีนำไปส่คู วามสำเรจ็ 11.3.1. ผ้นู ำและผู้บรหิ ารทกุ ระดับใหค้ วามสำคัญกับการพฒั นากระบวนการจัดการงานวิจัยภายในคณะฯ 11.3.2. การปรบั ตวั อย่างรวดเรว็ ของผู้เกี่ยวขอ้ ง และความพร้อมในการเปดิ รับเทคโนโลยใี หม่ 11.3.3. การพัฒนาและปรับปรงุ กระบวนการอยเู่ สมอ เพื่อให้งา่ ยและสะดวกต่อผู้รับบริการ 11.3.4. การบูรณาการการทำงานร่วมกับระบบงานอื่น ๆ และมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของกระบวนการทำให้งานมี ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน 12. ประเด็น (จดุ เด่น) ทีเ่ ป็นแนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ การนำแนวคิด LEAN มาใช้ร่วมกับเทคโนโลยี Google Form Approvals สามารถลดความสูญเปล่าของ กระบวนการบริหารจัดการงานสนับสนุนการวิจัย ตอบโจทย์องค์กรที่ต้องปรับตัวอย่างรวดเร็วในโลกยคุ COVID-19 และหลงั COVID-19 อีกทั้งยังมีการบูรณาการและถ่ายทอดให้เกิดประโยชน์กับระบบงานอื่น ๆ ภายในคณะวิทยาศาสตร์ และการ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีท่เี หมาะสมเพอื่ ลดความสูญเปลา่ ในกระบวนการยงั ตอบสนองนโยบายของทุกภาคสว่ นทมี่ งุ่ สูก่ ารเปน็ Green University 13. เอกสารอา้ งองิ 13.1 กองบริหารศูนยพ์ ทั ยา. การปรับปรงุ กระบวนการจัดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนในภาคตะวนั ออก โดยใช้แนวคิดลีน (Lean Project). แหล่งที่มา https://pattayacenter.tu.ac.th/ 13.2 งานบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิทยาศาสตร์. (2564). ประกาศคณะวิทยาศาสตร์ เรื่อง การปฏิบัติงานที่บ้าน (Work from Home) เพอ่ื ลดความเสี่ยงการติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19). แหลง่ ท่มี า https://sites.google.com/psu.ac.th/scipersonnel/ 13.3 ประยูร ภักดีพัฒนาทร, พิศมัย ฮะเหยี่ยว, น้ำค้าง จันทา. Lean Assessment การเบิก-จ่ายยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา ใน คลงั เวชภณั ฑ์โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ ศูนยอ์ นามัยท่ี 5 ราชบุรี. แหลง่ ทม่ี า https://apps.hpc.go.th/dmkm/ 13.4 ปิน่ กมล สมพีรว์ งศ์, สฤษฏ์ชยั ปรดี าวลั ย์. การประยกุ ต์ใช้ Google Sheet สำหรับการจดั ทำแผนปฏิบตั ิงานของวิทยาลัย การสาธารณสขุ สิรนิ ธร จงั หวัดชลบรุ .ี วารสารวจิ ยั ระบบสาธารณสุข 2564;15(4):490-510. 13.5 อาพร สุนทรวัฒน์, ทัดทอง พราหมณี. การประยุกต์ใช้ Google Sheet ในการบริหารงบประมาณ. PULINET Journal September-December 2017;4(3):24-33. 14. บทสรุป 163
เวทคี ุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การนำแนวคิด LEAN มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการงานสนับสนุนการวิจัย ผ่านเทคโนโลยี Google From Approvals ส่งผลให้เกิดประโยชน์แกอ่ งคก์ รดังนี้ ดา้ นนโยบาย ตอบสนองนโยบาย Digital transformation และ Green University ด้านการบริหาร ผูบ้ ริหาร หวั หนา้ งาน และผู้ทเ่ี กีย่ วข้อง สามารถดขู ้อมูลจากระบบท่ีแสดงผลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งถือเป็น เครือ่ งมอื ทชี่ ่วยในการตัดสนิ ใจ หรอื กำหนดนโยบายที่เกีย่ วขอ้ ง อกี ท้งั ยังสามารถลดการใช้ทรพั ยากรทุกด้าน ด้านการบรกิ าร ผใู้ ชบ้ ริการทราบผลการพจิ ารณาอยา่ งรวดเรว็ ลดข้ันตอน การรอคอยและความผดิ พลาดจากการสือ่ สาร ด้านการปฏิบัติงาน ไม่จำเป็นต้องใช้บุคลากรในการเดินเอกสาร ลดระยะเวลาในการนำเสนอเรื่องต่อผู้บริหารเพื่อ พิจารณา ผู้บริหารสามารถดำเนินการอนุมัตเิ อกสารออนไลน์ได้ทุกที่ ทุกเวลา สามารถตรวจสอบสถานะของเอกสารที่นำเสนอได้ ประหยดั เวลาในการยา้ ย หรอื คน้ หาขอ้ มลู เกิดความคลอ่ งตัวในการทำงาน และเกิดการบูรณาการงานรว่ มกัน ด้านบุคลากร มีการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้ให้แก่บุคลากรในระบบงานอื่น เป็นการ upskill ทักษะและส่งเสรมิ ให้บุคลากรพฒั นาตนเอง ตามนโยบายการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต การพัฒนากระบวนการบริหารจัดการงานสนับสนนุ การวิจัย โดยการนำแนวคิด LEAN หรือ Kaizen หรือ แนวคิดอื่น ๆ ท่ีมปี ระโยชนม์ าใช้ควบค่กู ับเครื่องมือ หรือ เทคโนโลยใี หม่ หรือ การพัฒนาระบบสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนาองค์กรถือเป็นเร่ือง สำคญั และจำเป็นในยคุ digital disruption ซ่ึงองค์กรตอ้ งปรับตวั ใหส้ ามารถเก็บรวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมูลเพ่ือนำมาใช้ออกแบบ นโยบายและทิศทางการสนับสนุนการวิจยั ได้ การนำเคร่อื งมือ Google Form Approvals มาใช้ในกระบวนการ LEAN มีจุดแข็งที่ ยอมรับได้หลายประเด็นดังที่กล่าวมาข้างต้น อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีนี้ยังมีข้อจำกัดที่เป็นปัญหาระดับโลกซึ่ง Google ยังคง ประสบปัญหานี้และไม่สามารถแก้ไขได้ คือ การจัดการความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้งาน นอกจากน้ีการใช้เครื่องมือส่วนเสริม (Add on) Google Form Approvals ยงั จำเปน็ ตอ้ งอาศัยงบประมาณในการจดั ซ้อื เนือ่ งจาก Google Form Approvals แบบใช้งานฟรี ไมเ่ พยี งพอต่อการบรหิ ารจดั การ ซึง่ งานสนับสนุนการวิจยั มปี รมิ าณการใชง้ านต่อเดือน (94 ครั้ง/เดือน) สูงกว่าปริมาณการใช้งาน ที่ให้ฟรี (20 ครั้ง/เดือน) หากคำนึงถึงผลกระทบจากการปรบั เปลีย่ นโครงสรา้ งองค์กร ตลอดจนความมุ่งหวังขององค์กรที่ต้องการ จะปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนเป็นศูนย์ (carbon neutral) การลดใช้กระดาษใหน้ ้อยลง ไดถ้ ึงร้อยละ 92.89 แม้จะมีตน้ ทนุ ราคาท่ีต้องจ่าย ยังถือว่ามีความคุ้มค่ามาก นอกจากน้ีหลังจากเกิดโรคระบาดทำให้ต้องทำงานที่บ้านแบบ “ออนไลน์” จึงถึงเวลาแล้วที่ทุก หน่วยงานจะต้องพิจารณาความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นจากกระบวนการทำงานของตน ซึ่งได้แสดงให้เห็นไว้แล้ว ณ ที่นี้ว่าก่อให้เกิด ประโยชนแ์ กอ่ งคก์ รมากเชน่ ไร 164
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ Oral Presentation หอ้ งย่อยที่3 Healthcare 165
เวทคี ุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ัติที่เป็นเลศิ *************************************** 1. ชื่อเรอ่ื ง เพิ่มประสิทธิภาพการคดั กรองผูป้ ่วยนอกโรงพยาบาลทนั ตกรรม คณะทนั ตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2. โครงการ/กิจกรรม ด้านการดำเนนิ งานท่ใี ชเ้ ครื่องมอื Lean & Kaizen 3. ชอื่ หน่วยงาน โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 4. ประเภทของโครงการ ประเภทที่ 1 แนวปฏิบัติที่เปน็ เลิศ ระดับคณะ/หน่วยงาน สายสนบั สนนุ 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัติทเ่ี ปน็ เลิศ โรงพยาบาลทนั ตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 6. การประเมนิ ปญั หา/ ความเสีย่ ง (Assessment) ในกระบวนการดูแลผู้ป่วยของโรงพยาบาลทันตกรรม ได้มีการออกแบบการเข้าถึงและเข้ารับบริการ โดยมี เป้าหมายให้ผูป้ ่วยมีอุปสรรคต่อการเข้าถึงน้อยที่สุด ซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอนการคัดกรอง ซักประวัติและคัดแยกผูป้ ่วย เพ่ือใหผ้ ปู้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ลอยา่ งเหมาะสมกับปัญหาสขุ ภาพและปลอดภยั เดิมโรงพยาบาลทันตกรรม ได้จัดผู้ช่วยทันตแพทย์ และพยาบาล รวมจำนวน 8 คน ทำหน้าที่คัดกรองและ คัดแยกโดยใช้แบบคดั กรองสุขภาพทีเ่ ป็นเอกสาร เพื่อให้ผู้ปว่ ยที่มารับบรกิ ารได้รบั การดูแลอยา่ งเหมาะสม แต่พบว่าต้อง ใช้เจ้าหน้าทจี่ ำนวนมาก ใชร้ ะยะเวลานานในการซกั ประวัตแิ ละบันทึกขอ้ มูล ทั้งยังต้องใชก้ ระดาษจำนวนมากอีกด้วย ในปี 2563 เกิดสถานการณ์การแพรร่ ะบาดโรค COVID-19 โรงพยาบาลทันตกรรมไดเ้ พมิ่ มาตรการเข้มงวดมาก ขึ้นในการคัดกรองผู้ป่วย ทำให้ผู้ป่วยรอคิวยาวในการคัดกรองและมีความแออัด เพิ่มความเสี่ยงสัมผัสระหว่างผู้ป่วยกับ ผู้ป่วย และผูป้ ่วยกับเจ้าหน้าที่ เวลาในการคดั กรองผูป้ ่วยโดยเฉลี่ยมากถึง 21 นาทีต่อคน โรงพยาบาลจึงได้พัฒนาระบบ การตรวจคัดกรอง (Smart Screening COVID-19 for Dental Patients) เพื่อให้สอดคล้องตามเป้าหมายกลยุทธ์ของ คณะฯ Smart Dental Hospital โดยปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บรกิ าร ตั้งแต่การลงทะเบียนผู้ป่วยผ่านเครื่องให้บริการ อัตโนมัติ (kiosk) การตรวจคัดกรองประวัติเสี่ยงผ่านโทรศัพท์ (mobile application) การคัดกรองอุณหภูมิร่างกาย (Thermoscan) การบนั ทึกสัญญาณชีพทจี่ ดุ วดั สญั ญาณชีพ (Vital sign) เพื่อชว่ ยลดระยะเวลาและลดความเสีย่ ง โดยเริ่ม ใชง้ านเม่ือเดอื น มนี าคม 2564 จากการใช้งานระบบพบว่า ผู้ป่วยยังใช้เวลาโดยเฉลี่ย 13 นาทีต่อคน ทีมงานจึงได้มีการวิเคราะห์ทบทวน กระบวนการ พบวา่ สาเหตุทใ่ี ชเ้ วลานานเกิดจาก 1. การประเมินความเสี่ยง COVID-19 โดย Scan QR Code ผ่านมือถือไม่สามารถทำได้ในผู้ป่วยบางราย โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยสงู อายุ ซ่งึ เป็นผรู้ ับบรกิ ารกล่มุ ใหญข่ องโรงพยาบาล 166
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 2. ผู้ป่วยต้องตอบคำถามคัดกรองซ้ำซ้อนในการ Scan QR Code ก่อนเข้าพื้นที่อาคารโรงพยาบาล แล้วยังต้อง ตอบคำถามทห่ี นา้ จอจดุ วดั สัญญาณชพี (Vital sign) อีกครั้ง 3. ผู้ป่วยไม่ทราบขั้นตอนการเข้ารับบริการ รวมทั้งไม่สามารถใช้เครื่องให้บริการอัตโนมัติ (kiosk) ได้ด้วยตนเอง จงึ ตอ้ งมเี จ้าหน้าทีค่ อยให้บรกิ าร 4. การตั้งค่าเพื่อคัดกรองผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวไม่ได้ระบุโรคชัดเจน ทำให้ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวต้องมารอพบ พยาบาลทกุ คน ซ่งึ โรคประจำตัวบางโรคไมไ่ ดม้ ีความเส่ยี งตอ่ การรกั ษาทางทันตกรรม ทางโรงพยาบาลทันตกรรมจึงได้วิเคราะห์ขั้นตอนที่ซ้ำซ้อน ไม่เกิดประโยชน์ ร่วมกับการรับฟังเสียงของ ผู้ป่วยที่เข้ารับบริการ โดยใช้เครื่องมือ LEAN ปรับปรุงขั้นตอนที่ไม่จำเป็นออก ได้เริ่มปรับปรุงกระบวนการ ในปี 2565 ทั้งนี้เพื่อมุ่งหวัง ให้เกิดความรวดเร็วและความปลอดภัยในการเข้ารับบริการ ซึ่งเป็นไปตามวิสัยทัศน์ “โรงพยาบาลทนั ตกรรมคณุ ภาพ ทมี่ ีบริการเปน็ เลศิ ในระดบั สากล เพื่อประโยชนข์ องเพอื่ นมนุษย์” แผนผงั กา้ งปลา แสดงการวิเคราะห์สาเหตุ เพ่ือปรบั ปรุงใหก้ ารบรกิ ารมีประสิทธิภาพ 7. เป้าหมาย/ วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ - ลดระยะเวลาการรับบรกิ ารในกระบวนการคัดกรองจากเดิมเฉลีย่ 13 นาทีต่อคน เป็นเฉลย่ี 7 นาทตี อ่ คน โดยไมม่ ผี ลกระทบตอ่ ความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ยและผใู้ หบ้ รกิ าร - อบุ ตั ิการณผ์ ้ปู ่วยร้องเรียนในขั้นตอนการใหบ้ รกิ ารซำ้ ซอ้ นท่ีจดุ คดั กรอง = 0 8. ผลที่คาดว่าจะได้รบั - ระยะเวลาการรบั บรกิ ารในกระบวนการคัดกรองลดลง - ลดความแออดั ในจดุ คัดกรอง - ไม่เกดิ อบุ ัตกิ ารณผ์ ปู้ ่วยร้องเรยี นในข้ันตอนการให้บริการซ้ำซ้อนทีจ่ ดุ คดั กรอง 167
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วิธีการ/ แนวทางการปฏบิ ตั จิ รงิ ขั้นตอน Scan QR Code มีความซำ้ ซอ้ น เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการ ปญั หา วิธกี ารปรับปรงุ ปรบั ปรุง ยกเลิกขน้ั ตอนการ Scan QR Code ใหผ้ ู้ป่วยประเมินโรคที่มีการ Eliminate ผู้ป่วยต้อง Scan QR Code เพอื่ แพร่กระจายทางเดนิ หายใจ หรอื การ สมั ผสั ดว้ ยตนเองแทน หากมปี ญั หา ตอบคำถามคัดกรองแล้วยงั ต้อง หรือไม่แนใ่ จใหม้ าพบเจา้ หนา้ ท่ี ให้มกี ารตอบคำถามคัดกรองโรค ตอบคำถามซำ้ ท่ีเครือ่ ง Vital ประจำตัวและแพ้ยา ทจี่ ดุ วดั สัญญาณ ชพี (Vital sign) sign ระบบการดงึ รายงาน URL จาก Scan QR Code ท่ีดา่ นหนา้ Visual control ไม่สามารถเก็บข้อมลู จาก QR - ตดิ ตั้งป้าย เพือ่ แสดงข้ันตอนการคดั Code ที่ผปู้ ่วยตอบคำถามได้ กรองโรคที่มโี อกาสแพร่กระจายเชอ้ื ใน ผ้ปู ่วยไม่ทราบขนั้ ตอน จึงไม่ โรงพยาบาล ใหผ้ ูป้ ่วยสามารถคัดกรอง สามารถคดั กรองดว้ ยตนเองได้ อาการไดด้ ้วยตนเอง ทำใหค้ วิ การคัดกรองลา่ ช้า - จดั ทำ VDO ขนั้ ตอนและวิธีการรบั การรกั ษาท่ีโรงพยาบาลทนั ตกรรม โดย Skill development ทางเข้ามที างเดยี วทำให้ผตู้ ้องรอ เปิดผ่านจอโทรทัศนห์ นา้ โรงพยาบาล คิวยาว ตาม URL พยาบาล ไม่เพยี งพอต่อการ https://fb.watch/dlyAz5aiKV/ ประเมนิ โรคทม่ี โี อกาส และ แพร่กระจายเชื้อและผปู้ ่วย https://drive.google.com/file/d ฉกุ เฉินทางทันตกรรม /1hBEb6U13dGNwFv- lhINmzrBdKhnA5x7A/view ช่องทางเข้า 2 ชอ่ ง เปน็ ช่องผปู้ ว่ ยนดั และผปู้ ว่ ย Walk-in พฒั นาทักษะการประเมนิ โรคทมี่ โี อกาส แพร่กระจายเช้ือในโรงพยาบาลและ ผู้ปว่ ยฉกุ เฉินทางทันตกรรมของ เจา้ หนา้ ทปี่ ระจำจดุ คดั กรอง 168
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ข้นั ตอนคดั กรองโรคประจำตวั เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการ ปัญหา วิธกี ารปรับปรุง ปรบั ปรุง ผู้ปว่ ยทมี่ โี รคประจำตวั ทุกราย แก้ไขคำถามเร่อื งโรคประจำตวั ในตคู้ ดั Simplify ตอ้ งพบพยาบาล ทำให้ต้องรอคิว กรองอจั ฉรยิ ะ เพ่ือลดจำนวนผู้ปว่ ยท่ี นาน จะตอ้ งไปคดั กรองโดยพยาบาล และ Eliminate กำหนดเป้าหมายในข้นั ตอนการคดั Visual control ผู้ปว่ ยแพ้ยาทุกราย ต้องพบ กรองโรคประจำตัวโรคประจำทเ่ี ฝา้ Skill development พยาบาล เพื่อสง่ ตอ่ ไปเภสัชกร ระวัง เช่น ความดัน เบาหวาน หัวใจ หอบหดื ไมม่ ีช่องทางระบุ เพ่อื คดั แยก กรณผี ู้ป่วยแพย้ า แตไ่ มม่ โี รคประจำตัว ความเรง่ ด่วนของผปู้ ว่ ย ลดข้ันตอนโดยให้ทางเวชระเบียนสง่ ตอ่ พยาบาล ไมเ่ พียงพอต่อการ เภสชั กรโดยไมต่ ้องพบพยาบาล ประเมินโรคทม่ี โี อกาส มีชอ่ งให้ check list ในใบนำทางเพอ่ื แพร่กระจายเช้อื และผปู้ ่วย คดั แยกความเร่งด่วนในการรักษาผปู้ ่วย ฉกุ เฉนิ ทางทันตกรรม พัฒนาทกั ษะการประเมินโรคทม่ี โี อกาส แพรก่ ระจายเช้ือในโรงพยาบาลและ ผูป้ ่วยฉกุ เฉนิ ทางทนั ตกรรมของ เจ้าหน้าทีป่ ระจำจดุ คัดกรอง ระบบสารสนเทศของเครื่องคัดกรองอัจฉริยะ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ใน ปญั หา วธิ กี ารปรบั ปรงุ การปรบั ปรุง Visual control ผปู้ ่วยดำเนนิ การคดั กรองท่ีเครือ่ ง เม่อื ผู้ปว่ ยทำรายการท่ีเครอื่ งวัดสญั ญาณ คดั กรองแล้ว ไม่ทราบวา่ ต้องทำ ชพี (Vital sign) และตู้ Kiosk เรยี บรอ้ ย Simplify อะไร ท่จี ุดไหน ทำให้ผู้ปว่ ยต้อง แล้ว จะมขี อ้ ความแสดงจดุ บรกิ ารถดั ไป สอบถามเจ้าหน้าท่ี ท่ผี ู้ปว่ ยต้องไปติดตอ่ ผู้ปว่ ยไม่รู้จกั ช่อื คลนิ ิกทีใ่ หบ้ ริการ ออกแบบการเลอื กคลินกิ ทีใ่ หก้ ารรกั ษา ทำให้เลอื กผดิ คลินิก หรือต้องรอ ใหม่ โดยใชเ้ ป็นอาการทผ่ี ปู้ ่วยจะมารบั สอบถามเจา้ หนา้ ท่ี การรักษาแทน 9.2 งบประมาณทใ่ี ช้ในการจัดโครงการ-กจิ กรรม (ถา้ มี) 10. การวดั ผลและผลลพั ธ์ (Measures) ในการเกบ็ ขอ้ มลู เพ่ือเปรยี บเทยี บ จะเกบ็ ข้อมลู โดยใช้วิธีการจบั เวลาในแต่ละขัน้ ตอนของผปู้ ่วยทม่ี ารบั บริการทงั้ กอ่ นปรับปรุง 100 คน และหลังปรับปรุง 100 คน ดงั รปู แนบ 169
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ข้ันตอนกอ่ นการปรบั ปรงุ ขนั้ ตอนหลงั การปรบั ปรุง จากการเกบ็ ข้อมลู พบวา่ ระยะเวลาการรับบรกิ ารในกระบวนการคดั กรองจากก่อนปรับปรงุ เฉลยี่ 13 นาที ต่อคนและหลังปรับปรุงเฉล่ีย 10 นาทีต่อคน รวมทั้งอุบัติการณ์ผูป้ ว่ ยรอ้ งเรยี นในขั้นตอนการให้บริการซ้ำซ้อนที่จดุ คัดกรอง จากเดิม 2 อบุ ัตกิ ารณ์ เป็น ไม่เกิดอบุ ตั ิการณ์ 11. การเรยี นรู้ ทางโรงพยาบาลได้เรียนรูก้ ระบวนการออกแบบและพัฒนาระบบบริการท่ีสอดคล้องกับความตอ้ งการของ ลูกค้า โดยการรับฟังเสียงและความต้องการของผู้รับบริการเป็นหลัก โดยเริ่มจากการเก็บข้อมูลเชิงลึก สังเกตส่ิง 170
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รอบตัวและพฤติกรรมผู้รับบริการ เพื่อค้นหาความต้องการ ทำความเข้าใจกับปัญหา เพื่อปรับปรุงให้เกิดความ พึงพอใจและตัง้ อย่บู นมาตรฐานการใหบ้ รกิ ารท่ปี ลอดภัย 12. ประเด็น (จุดเดน่ ) ทเี่ ป็นแนวปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ การนำเครื่องให้บริการอัตโนมัติ (kiosk) และเครื่องวัดสัญญาณชีพ (Vital sign) มาใช้ในการให้บริการ ทัง้ การลงทะเบียนผปู้ ่วยใหม่ การคัดกรองดว้ ยตนเอง การออกคิวอัตโนมตั ิ การตรวจสอบสทิ ธกิ ารรกั ษา ซึ่งสามารถ ทำงานได้อย่างแม่นยำและยังเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลของโรงพยาบาล ทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็ว ช่วยลดความ แออัด ลดความเสี่ยง และทำให้เกิดความคลอ่ งตัว ท้ังด้านการใช้บรกิ ารของผู้ปว่ ยและการให้บรกิ ารของเจ้าหน้าที่ 13. บทสรปุ โรงพยาบาลได้มีการพัฒนากระบวนการบริการโดยการนำเทคโนโลยีมาใช้ ทั้งเครื่องให้บริการอัตโนมัติ (kiosk) และเครื่องวัดสัญญาณชีพ (Vital sign) ซึ่งหลังจากการใช้ในระยะแรกก็ยังพบปัญหา โดยปัญหาสำคัญ คือขั้นตอนการรับบริการมีความซ้ำซ้อน ซึ่งทางโรงพยาบาลก็ได้นำปัญหาทั้งจาก VOCs ของผู้รับบริการและ ผู้ปฏิบัติงาน มาวิเคราะห์และปรับปรุงร่วมกัน โดยใช้เครื่องมือปรับปรุงที่สอดคล้องกับปัญหา โดยหลังจากการ ปรบั ปรุง พบวา่ กระบวนการรบั บริการใช้เวลาลดลง และได้รับเสยี งตอบรับที่ดีจากผูร้ บั บรกิ าร 171
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภาคผนวก ภาพที่ 1.1 ภาพแสดงผ้ปู ่วยรอคิวหน้าโรงพยาบาลกอ่ นการปรับปรุง ภาพที่ 1.2 ภาพแสดงช่องทางเขา้ 2 ช่อง แยกเป็นชอ่ งผู้ป่วยนดั และผ้ปู ่วย Walk-in 172
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ภาพที่ 1.3 ภาพแสดงปา้ ยบอกชอ่ งทางเขา้ ผู้ปว่ ยนัดและผู้ปว่ ย Walk-in 173
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ภาพท่ี 1.4 ภาพแสดงขน้ั ตอนการรับบรกิ ารโรงพยาบาลทันตกรรม เพอื่ ใหผ้ ู้ปว่ ยทราบและรับบริการไดด้ ว้ ยตนเอง ภาพท่ี 1.5 ภาพแสดงข้อความจดุ บริการถดั ไปทีผ่ ปู้ ว่ ยต้องไปตดิ ตอ่ เพ่ือลดการสอบถามเจา้ หน้าท่แี ละผูป้ ว่ ยสามารถทราบไดด้ ้วยตนเอง ภาพที่ 1.6 ภาพแสดงตู้ทผ่ี ้ปู ่วยสามารถทำรายการได้ด้วยตนเอง 174
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลิศ *************************************** 1. ช่ือเรอ่ื ง แนวปฏบิ ตั กิ ารประเมนิ แรกรบั และรายงาน โดยใช้ PAT and PEWS 2. โครงการ/กจิ กรรมดา้ น ด้านบริหารจดั การ 3. ชอ่ื หน่วยงาน หอผู้ปว่ ยเดก็ กง่ึ วิกฤต (PMCU) ฝา่ ยบริการพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ 4. ประเภทของโครงการ ประเภทที่ 1 แนวปฏบิ ัติทีเ่ ปน็ เลิศ ระดับคณะ/หนว่ ยงาน (ผา่ นการคัดเลือกโดยเวทหี รือผู้บรหิ ารของ คณะ) 1.1 สายวิชาการ 1.2 สายสนับสนนุ ประเภทท่ี 2 แนวปฏบิ ัติทด่ี ี 2.1 สายวิชาการ 2.2 สายสนับสนุน 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลิศ บุคลากรทกุ ระดับในหอผู้ป่วยเดก็ กึ่งวกิ ฤต (PMCU) 6. การประเมินปัญหา/ความเส่ยี ง (Assessment) หอผู้ป่วยเด็กก่ึงวกิ ฤตให้บรกิ ารผูป้ ว่ ยเดก็ ทีม่ ีอายตุ ้ังแต่ 1 เดือน ถงึ 15 ปี ตามโรคของ CLT ที่มปี ญั หาทางโรคระบบ ทางเดินหายใจ ระบบประสาท และระบบหัวใจและหลอดเลือด ที่ต้องได้รับการดูแลที่ต่อเนื่อง ให้การดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคท่ี สำคัญ 5 ลำดับโรคแรกคือ 1) โรคหอบหืด 2) โรคปอดอักเสบ 3) โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด 4) โรคเนื้องอกในสมอง และ 5) โรค DKA มีหัตถการท่ีสำคัญ ได้แก่ การใส่ท่อช่วยหายใจ การแทงเส้นทางหลอดเลือดดำส่วนกลาง (CVC) การเคลื่อนย้าย ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ การถอดท่อช่วยหายใจ และการพ่นยากับเครื่องช่วยหายใจ เป็นต้น ซึ่งการดูแลผู้ป่วยตามมิติ คุณภาพและคำนึงถึงประเด็นคุณภาพสำคัญจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก ผู้ป่วยกึ่งวิกฤตเร่งด่วนได้รับการเข้ารับการดูแลรักษาอย่าง รวดเร็ว (Early detection) เหมาะสม ถูกต้อง ตามมาตรฐานวิชาชีพ (Safe) ปราศจากความเสีย่ งและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ตา่ ง ๆ (Efficient) ผปู้ ่วย/ผดู้ ูแลพึงพอใจ (People-centered) ได้รบั การดูแลตามมาตรฐานวิชาชพี (Appropriateness) และ การฟ้นื ฟู สร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) ทำให้เกิดผลลพั ธ์ดี (Effectiveness) ตอ่ ผปู้ ่วยและผู้ดูแล ผู้ป่วยเด็กกึ่งวิกฤต (PMCU) เป็นผู้ป่วยที่ต้องการการเฝ้าระวัง สังเกตอาการและอาการแสดง การเปลี่ยนแปลง ของระบบต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อให้การดูแลรักษา ช่วยเหลือได้รวดเร็วและทันเวลา ตรงกับปัญหาและความต้องการของ ผู้ป่วยที่แท้จริง และหอผู้ป่วยเป็นหอผู้ป่วยที่เปดิ ใหม่ บุคลากรมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในการปฏิบตั ิงานที่แตกต่าง กนั จงึ ต้องมีการเพม่ิ พูนความรแู้ ละมแี นวทางในการดแู ลผปู้ ่วยเดก็ ก่ึงวิกฤตทเี่ ป็นรปู แบบเดยี วกัน ดังนั้นหอผู้ป่วยเด็กก่ึงวิกฤต (PMCU) จงึ ได้มกี ารนำ PAT (Pediatrics Assessment Triangles) และ PEWS (Pediatric Early Warning Score) มาใชใ้ น 175
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การประเมินผู้ป่วยแรกรับและประเมินผูป้ ่วยกอ่ นรายงานแพทยท์ กุ ครัง้ ซึ่งการประเมินผู้ป่วยเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการนำมา เป็นข้อมูลเบ้ืองต้นในการรวบรวมประเด็นปัญหาท่ีครอบคลุม และมีการสื่อสาร (communication) ทางวาจาและการบันทกึ ข้อมูลในระบบ HIS ระหว่างกันของบุคลากรทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ สร้างความปลอดภัยให้กับผู้ป่วย ช่วยลด อุบตั กิ ารณ์การสอ่ื สารผิดพลาด ซึ่งเปน็ การดักจับความเส่ียงเชิงรุกของผู้ป่วยไดอ้ ย่างรวดเรว็ สามารถแกป้ ัญหา ดูแลรักษา ทำ ใหไ้ มเ่ กดิ ภาวะแทรกซ้อนทีป่ ้องกันได้และผู้ป่วยปลอดภยั ไดร้ ับการดูแลรักษาทีร่ วดเร็วทเ่ี หมาะสมกบั สภาวะของผู้ป่วย มีการ ตอบสนองต่ออาการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว พ้นจากภาวะวิกฤตได้ นอกจากน้ีการประยุกต์ใช้ PAT and PEWS ยังเป็น แนวทางในวางแผนกิจกรรมและการปฏบิ ัติกิจกรรมการพยาบาลเป็นทีมไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง มีการบันทึกขอ้ มูลทคี่ รอบคลมุ ถกู ต้อง ครบถว้ น เพอ่ื ช่วยปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกดิ ข้ึน ผู้ป่วยเดก็ ที่เขา้ รบั การรกั ษาในหอผูป้ ่วยไดร้ ับบริการท่ีดีตามมาตรฐาน แห่งวชิ าชีพและมีความปลอดภยั 7. เปา้ หมาย/วตั ถุประสงคข์ องโครงการ 1. บุคลากรในหอผู้ป่วยนำเครอ่ื งมอื PAT (Pediatrics Assessment Triangles) และPEWS มาใช้ในการปฏิบตั งิ าน รอ้ ยละ 100 2. ผู้ป่วยเดก็ ได้รบั การประเมนิ เฝา้ ระวงั และดูแลรักษาอยา่ งเหมาะสม รวดเรว็ ทันเวลา ร้อยละ 100 3. ผ้ปู ่วยเดก็ ปลอดภยั ไมเ่ กดิ ภาวะ Respiratory Failure และ Cardiac Arrest 8. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั 1. เพอ่ื ลดอบุ ตั กิ ารณ์ Unplanned ETT intubation, Unplanned CPR, ภาวะ Respiratory failure, ภาวะ Cardiac arrest และจำนวนวนั นอนในโรงพยาบาล 2. ผ้ปู ่วยเดก็ ไดร้ บั การปฏบิ ัตติ ามนโยบายความปลอดภยั Patient Safely 3. ผปู้ ่วยเด็กก่งึ วิกฤตไดร้ บั การเฝา้ ระวังและตอบสนองตอ่ อาการเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ไดร้ บั การชว่ ยเหลือ ดูแล รักษาอยา่ งเหมาะสมและทันเวลา 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 กิจกรรมการพฒั นา ครงั้ ท่ี 1 (PDCA) 1. จดั In-service training เตรยี มเปิดหอผปู้ ่วย วันท่ี 15 และ 16 พฤศจกิ ายน 2561 - อธิบายเครอ่ื งมอื PAT (Pediatrics Assessment Triangles) ซึง่ ประกอบดว้ ย 1) Appearance 2) Work of Breathing 3) Circulation และวธิ กี ารใช้ Appearance (ลกั ษณะปรากฏท่วั ไป) สามารถบอกถงึ ภาวะความพรอ่ งออกซเิ จน การได้รบั เลือดของสมอง และ การทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบหลายประการทปี่ ระกอบกนั เปน็ ลกั ษณะปรากฏทว่ั ไป ได้แก่ ความ ตืน่ ตัว (Alertness): เด็กตอบสนองหรอื ไม่ ไมอ่ ยนู่ ง่ิ กระวนกระวาย หรอื เซ่อื งซึม การดึงดูดความสนใจ (Distractibility): สามารถดึงดดู ความสนใจของเด็กไดด้ ว้ ยส่งิ ลอ่ หรอื ไม่ การกล่อมให้นง่ิ (Consolability) พอ่ แมห่ รอื ผเู้ ลยี้ งเด็กกล่อมใหเ้ ดก็ รสู้ กึ สบายข้นึ ไดห้ รือไม่ การสบตา (Eye contact): เด็กคงสบตาได้หรือไม่ การพดู /ร้อง (Speech/Cry): การพูด/รอ้ งเปน็ อย่างไร 176
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ เสยี งอ่อนหรืออูอ้ ห้ี รือแหบห้าวหรอื ไม่ การเคลือ่ นไหวดว้ ยตนเอง (Spontaneous motor activity): เดก็ มีการเคลื่อนไหว หรอื ไม่ กล้ามเน้อื มกี ำลังดีหรอื ไม่ WORK OF BREATHING (งานการหายใจ) โดยสังเกต ท่าทางผิดปกติ หมายถงึ ลกั ษณะการหายใจ เชน่ การดงึ รงั้ กล้ามเน้ือหายใจและการหายใจไดย้ นิ เสยี งหวดี (Wheezes) ท่านัง่ สามขา (Tripod position) CIRCULATION/SKIN SIGNS (อาการแสดงการไหลเวียนเลอื ดที่ผวิ หนัง) เป็นอาการแสดงทผี่ ิวหนงั สะทอ้ น โดยตรงถงึ สภาวะระบบไหลเวียนเลอื ด โดยสังเกต สีผิว (Skin Color) อณุ หภมู ิ (Temperature) และเวลาเตมิ เต็มหลอดเลอื ด ฝอย (Capillary Refill Time) 2. จดั ทำแบบเกบ็ ขอ้ มลู และจดั ทำโครงการพัฒนางาน เรอ่ื ง เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการใช้ PAT (Pediatrics Assessment Triangles) ในการประเมินผปู้ ่วยแรกรับและการรายงานแพทย์ แบบประเมินผลการใช้ PAT ในการประเมนิ ผู้ป่วยแรกรบั วัตถุประสงค์: เพือ่ ใหบ้ ุคลากรใช้ PAT and PEWS ในการประเมินผปู้ ว่ ยแรกรบั และก่อนรายงานแพทย์ทุกคร้ัง เกณฑเ์ ชงิ กระบวนการ มกี ารปฏบิ ตั ทิ กุ ขอ้ 100 % เกณฑ์เชิงผลลัพธ์ ผปู้ ่วยปลอดภัยและไมเ่ กิดภาวะแทรกซ้อนท่ีสามารถป้องกันได้ คำชีแ้ จง: กรณุ าทำเครือ่ งหมาย ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ ไมพ่ บกิจกรรม 177
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอ้ ท่ี เกณฑเ์ ชิงกระบวนการ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ไมพ่ บกจิ กรรม วธิ กี ารประเมนิ 1. สังเกตลักษณะทัว่ ไป ตนื่ ร้อง การเคลื่อนไหว สังเกต/ตรวจสอบจากบันทกึ การตอบสนองต่อสง่ิ กระต้น การพดู คุย สง่ เสยี ง ทางการพยาบาล 2. สังเกตลกั ษณะการหายใจ ฟงั ปอด สงั เกต/ตรวจสอบจากบันทึก ทางการพยาบาล 3. สงั เกตลกั ษณะผวิ หนังตามตัว (ซีด ตวั ลาย สังเกต/ตรวจสอบจากบันทกึ เขยี ว) และคลำความอนุ่ ความเยน็ ของปลาย ทางการพยาบาล มือปลายเท้า 4. คลำชีพจร ความแรง ความชัดและสม่ำเสมอ สังเกต/ตรวจสอบจากบนั ทึก ทางการพยาบาล 5. บนั ทกึ กิจกรรมใน Nursing Progress Note สังเกต/ตรวจสอบจากบนั ทกึ - Assessment ทางการพยาบาล - Nursing Intervention 6. ประเมนิ ผลกิจกรรมใน Nursing Progress สงั เกต/ตรวจสอบจากบนั ทึก Note ทางการพยาบาล - Evaluation 3. In-service training การใช้ Bedside Monitoring and EWS แกผ่ ้ปู ฏบิ ัตติ ิงานพยาบาลและผชู้ ว่ ยเหลือคนไข้ เดือนกนั ยายน 2563 9.2 กจิ กรรมการพัฒนา คร้งั ที่ 2 (PDCA) 1. ปรับปรงุ แบบบนั ทกึ สญั ญาณชพี ทเ่ี หมาะสมกบั บริบทของหอผู้ปว่ ย 2 ครง้ั ในเดือนตลุ าคม 63 เดอื นมกราคม 64 และเดือนธนั วาคม 2564 2. ตรวจสอบการบนั ทกึ ขอ้ มลู สำคญั ของผูป้ ่วยในระบบ HIS ใหม้ คี วามถกู ต้อง ครบถ้วนและมคี วามเฉพาะรายบคุ คล 178
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 3. ทบทวนบริบทหนว่ ยงานใน 5 โรคหลัก และความเสย่ี งสำคญั รายโรค 4. จดั ทำแผ่นป้าย PAT ท่ีตำแหนง่ เครอื่ งเฝา้ ระวงั สญั ญาณชีพ (Bedside monitor) และแขวนไว้ท่ีเครอ่ื ง เฉพาะกบั เตยี งผู้ป่วย 5. จัดอบรม In-service Training และประเมินสมรรถนะของบคุ ลากรใน 5 โรคหลกั ของหนว่ ยงาน 6. ทบทวนการใช้ PAT and PEWS ตรวจสอบการบันทึกเป็นราย Case ภาพแสดง EWS ของผปู้ ่วยโรคหวั ใจ ภาพแสดง EWS ของผปู้ ่วยโรคระบบทางเดนิ หายใจ 9.2 กจิ กรรมการพัฒนา คร้งั ที่ 3 (PDCA) 1. ตรวจสอบและวเิ คราะห์ขอ้ มลู 5 โรคหลักของหน่วยงานท่ีปรบั ตามสถานการณ์หน้างานประจำ และ การเฝ้าระวงั สัญญาณชีพท่เี หมาะสม (Early Detection) กับผูป้ ว่ ยที่ความเฉพาะโรค ดังน้ี 179
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - นำเครอ่ื งมือ Pediatric Septic Early Warning Signs Protocol มาใชใ้ นการประเมนิ และเฝา้ ระวงั ผู้ป่วยติดเช้ือ (Sepsis) เพือ่ ป้องกันภาวะ Septic Shock - นำเคร่ืองมือ Modified Clinical Respiratory Score (mCRS) ในการประเมนิ และเฝ้าระวังผู้ปว่ ยทม่ี ี ภาวะ Respiratory Distress ที่ใชเ้ ครือ่ งช่วยหายใจ Non-Invasive ชนดิ HFNC 180
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 2. ตรวจสอบและตดิ ตามการบนั ทกึ การใช้ mCRS และ Sepsis score ใน Nursing Progress Note ใหม้ คี วาม ครบถ้วนและประเมินอย่างตอ่ เนอื่ ง 1.1 งบประมาณท่ีใช้ในการจดั โครงการ-กิจกรรม (ถา้ มี) ไม่มี 2. การวัดผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดับแนวโนม้ ขอ้ มลู เชิงเปรียบเทยี บ (3ปี) และ/หรอื เปรียบเทยี บกบั หนว่ ยงานภายใน/ภายนอก ผลการเก็บขอ้ มลู อัตราการใช้ PAT and PEWS 100 98 96 94 92 90 88 86 84 Appreance Work of Breathing Circulation การบนั ทกึ ใน HIS 2563 2564 2565 ครั้งที่ 1 ปี 2563 จากผลการเกบ็ ข้อมลู พบว่า บุคลากรมกี ารใช้ PAT and PEWS ในการประเมนิ ผู้ป่วยแรกรับและ ก่อนรายงานแพทย์ทุกครั้ง 100% แต่ในรายข้อ ของการฟังปอด เป็นกิจกรรมที่มีการปฏิบัติไมค่ รบถ้วน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มี 181
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ปญั หาระบบทางเดินหายใจ ซ่งึ ไม่ไดม้ กี ารปฏบิ ตั ทิ กุ ราย จึงมีการสอนงานโดยใชร้ ะบบพเ่ี ลยี้ งท่ีมีประสบการณ์มากกว่าสอนรุ่น น้องที่มีทักษะและประสบการณ์การฟังปอดน้อยกว่า และการได้ร่วมกับทีมสหสาขาในกิจกรรม Nursing round ทำให้มีการ รับทราบปัญหาของผู้ป่วย มีกิจกรรมการฟังปอดในผู้ป่วยทุกราย จึงมีการปฏิบัติเพื่อติดตามอาการและอาการแสดงมากขึ้น รอ้ ยละ 95 - การปฏิบตั ใิ นรายข้อของการคลำความอ่นุ ความเยน็ ของปลายมอื ปลายเทา้ การคลำชพี จร ความแรง ความชัดและ สมำ่ เสมอ มีการปฏิบัตทิ ่ีครบ บุคลากรให้ความสำคัญมากข้นึ โดยเฉพาะผปู้ ่วยโรคหัวใจและผู้ปว่ ยท่ีมกี ารติดเช้อื - รายขอ้ ของการบนั ทึกกจิ กรรมใน Nursing Progress Note มีการบนั ทกึ กจิ กรรมที่ยงั ไม่ครอบคลมุ ครบถ้วน - แนวทางการแก้ไข มีการนิเทศ ติดตามและตรวจสอบการบันทึกโดยหัวหน้าหอผู้ป่วยและแกนนำบันทึกทางการ พยาบาล ในขณะรับ-ส่งเวร และการ Audit ประจำเดอื น ครัง้ ท่ี 2 ปี 2564 จากผลการเก็บข้อมลู พบว่า - การปฏิบัตใิ นรายขอ้ ของในการสังเกตลักษณะการหายใจและการฟงั ปอด มีการฟังปอดมากข้ึน โดยเฉพาะผู้ป่วยมี ปัญหาระบบทางเดินหายใจ ท่ีต้องไดร้ บั การฟังปอดท้ังก่อนและหลังพน่ ยา รอ้ ยละ 100 - ผู้ป่วยโรคหัวใจมีการคลำความอุ่น ความเย็นของปลายมือปลายเท้า การคลำชีพจร ความแรง ความชัดและ สมำ่ เสมอไดม้ ีการปฏิบตั คิ รบถ้วน เพ่อื ใหเ้ กิดความสมำ่ เสมอและตอ่ เน่ืองในการปฏบิ ัตงิ าน - แนวทางการแก้ไข มีการมอบหมาย Team lead และแกนนำบันทึกทางการพยาบาลเป็นผู้ตรวจสอบข้อมูลการ บันทึกกจิ กรรมใน Nursing Progress Note ให้ครอบคลุม ครบถว้ นในผปู้ ว่ ยทกุ ราย ครง้ั ที่ 3 ปี 2565 จากผลการเก็บข้อมลู พบว่า - การประเมินเรื่องการปฏิบัติตามบูรณาการ PAT และ PEWS ในส่วนของการรายงานแพทยย์ ังไม่ครบถว้ น ยังไม่มี ความเฉพาะราย สว่ นใหญจ่ ะเน้นเก่ียวกับหวั ขอ้ สังเกตลักษณะการหายใจ ฟงั ปอด ซึ่งผู้ปว่ ยทม่ี ีปัญหาทางระบบหวั ใจไหลเวียน ซึ่งการคลำชีพจร ความแรง ความชัดและสม่ำเสมอในผู้ป่วยบางรายที่ยังไม่ครบถ้วน และจากตรวจสอบการบันทึกกรรมใน Nursing Progress Note มีการบนั ทกึ รอ้ ยละ 98 และผู้ป่วยท่ีมปี ญั หาทางระบบประสาทยังมีการประเมินทีย่ ังไม่ครบถ้วน ไม่ มีความเฉพาะรายที่เหมาะสมกับอายุของผู้ป่วย - แนวทางการแก้ไข ทบทวน Early Warning Signs ที่มีความเฉพาะรายและประเมินให้ครอบคลุมมากขึ้นและมี ข้อมูลครบถ้วนพร้อมสำหรับการรายงานแพทย์ และในส่วนของบันทึกทางการพยาบาลยังคงตรวจสอบให้มีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน อยา่ งต่อเนอื่ ง 3. การเรียนรู้ (Study/Learning) 3.1 แผนหรอื แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอ่ื งในอนาคต 1. ทบทวนองคค์ วามรู้ ความเข้าใจ ทที่ นั สมยั เกย่ี วกับการใช้ PAT แกบ่ ุคลากรในหน่วยงานเก่ียวกับการวนิ ิจฉยั ภาวะ Shock ภาวะ CNS/Metabolic และภาวะ Cardio/Respiratory Failure และสามารถนำมาประยกุ ต์ใชก้ ับผู้ปว่ ยทม่ี ี ความซับซอ้ นและเหมาะสมกบั บรบิ ทของหนว่ ยงาน 182
เวทีคุณภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 2. จากการทบทวนงานวิจัย การนำไปประยกุ ต์ใช้ ในบรบิ ทของห้องฉกุ เฉิน (Emergency Department) มี ประโยชน์ในการคดั แยก (Triage) ตามความเร่งด่วน มงี านวิจยั ทสี่ ามารถพิสจู นป์ ระสิทธผิ ลของการใช้ PAT เพอ่ื คัดแยกความ รุนแรงของภาวะสุขภาพของผ้ปู ่วยทีร่ ับเขา้ มในโรงพยาบาลได้ และมกี ารนำ PAT ไปใชใ้ นการคาดคะเน ทำนายภาวะฉกุ เฉิน ทางกาย จากการประเมนิ เบื้องตน้ ในหอ้ งฉุกเฉิน (Emergency Department) ได้ 3. การใช้ PAT และ EWS มีความสำคัญและมีประโยชน์ เหมาะสมกบั บริบทของหน่วยงาน ซึ่งใช้ในการประเมนิ ผู้ปว่ ยและมผี ลตอ่ การตดั สินใจในการเคลือ่ นย้าย จงึ มคี วามจำเป็นในการทำวจิ ัยในการใช้ PAT and PEWS เพอื่ ยนื ยันผลทาง คลนิ ิกทเ่ี กิดขึ้นกบั ผรู้ ับบริการ 4. จากการทบทวนงานวจิ ัย การนำ PAT มคี วามสำคญั มปี ระโยชนต์ ่อการประเมินเดก็ ป่วย ในระยะกอ่ นมาถงึ โรงพยาบาล (Pre-hos) ซ่งึ หอผปู้ ว่ ยสามารถนำองคค์ วามรูข้ องการใช้ PAT ไปใช้ในการให้ขอ้ มูล แนะนำผ้ปู ว่ ย/ผู้ดแู ลในการฝา้ ระวัง สงั เกตอาการและอาการเปลยี่ นแปลงไดท้ นั ท่วงที อยา่ งครอบคลมุ ครบถว้ น มีความเฉพาะเจาะจงกบั ผ้ปู ่วยและตดั สนิ ใจ ในภาวะฉุกเฉินได้รวดเร็วมากยิ่งขนึ้ ทำให้ผ้ปู ่วยเดก็ ไดร้ บั การช่วยเหลอื และปลอดภยั 3.2 จุดแข็ง (Strength) หรือ สงิ่ ทที่ ำได้ดใี นประเด็นท่นี ำเสนอ - สามารถ Early detection ผู้ปว่ ยทภ่ี าวะ Respiratory distress และให้การดแู ลรกั ษา ชว่ ยเหลอื ใหใ้ ช้เคร่อื งช่วย หายใจชนดิ Non-Invasive ชนดิ HFNC โดยไมต่ ้องใส่ท่อชว่ ยหายใจ (Intubation) - สามารถหยดุ การใช้ HFNC ในระยะเวลาทเี่ หมาะสมของผู้ปว่ ยเฉพาะราย ทำใหผ้ ู้ป่วยปลอดภัยจากการติดเชื้อและ ลดระยเวลาการนอนโรงพยาบาล - สามารถใหก้ ารดแู ลผ้ปู ่วยเดก็ โรคหวั ใจพิการแตก่ ำเนดิ ทมี่ ีภาวะเส่ียงสงู ต่อการเกิดภาวะ Cardiac Arrest เช่น มี ภาวะ Arrhythmia หรือ Hypoxic spell ได้รบั การ Early detection รายงานแพทย์และดแู ลรกั ษาอย่างรวดเร็ว เหมาะสม ผปู้ ว่ ยปลอดภัย ร้อยละ 100 183
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ - บคุ ลากรใหค้ วามสำคญั ในการนำเครื่องมือ PAT (Pediatrics Assessment Triangles) ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานอย่าง สมำ่ เสมอและตอ่ เนอ่ื ง รอ้ ยละ 100 11.3 กลยทุ ธ์ หรอื ปัจจยั ทนี่ ำไปสคู่ วามสำเร็จ - การทบทวนความรเู้ กีย่ วกับ PAT และ PEWS อย่างสมำ่ เสมอ และมคี วามเข้าใจโรคหลักในบริบทของหนว่ ยงาน ทำให้สามารถดูแลผู้ป่วยไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและปลอดภยั - การใหค้ วามสำคญั ในการนำเครอ่ื งมอื PAT (Pediatrics Assessment Triangles) ใชใ้ นการประเมนิ แรกรบั และ รายงานแพทยใ์ นผ้ปู ว่ ยทกุ ราย และมีการปฏิบัตงิ านอย่างสมำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง ทำใหผ้ ้ปู ว่ ยไดร้ บั การชว่ ยเหลือในภาวะวิกฤต เรง่ ดว่ นทนั ที และปลอดภยั ไมเ่ กดิ ภาวะแทรกซ้อน - การบรู ณาการใช้ PAT และ PEWS ในผปู้ ่วยเด็ก สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในหอผูป้ ว่ ยอื่น ๆ ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท ของหอผูป้ ว่ ยนั้น ๆ ได้ 4. ประเด็น (จุดเด่น) ท่เี ป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลิศ สรุปข้นั ตอนการใช้ PAT and PEWS ในการปฏิบตั ิงาน 1. ผูป้ ว่ ยท่ีเขา้ รบั การรักษาในหอผปู้ ว่ ยเดก็ กงึ่ วกิ ฤต (PMCU) ไดร้ ับการประเมินแรกรบั ในแตล่ ะผลดั เวร โดยใช้ เครอ่ื งมอื PAT and PEWS ทุกราย และผปู้ ่วยได้รบั การเฝ้าระวังและมีอาการเปลีย่ นแปลง มกี ารประเมินซ้ำและรายงาน แพทยท์ ุกราย ทำใหผ้ ้ปู ว่ ยได้รบั การดูแล ช่วยเหลอื ได้ทนั เวลา รับผดิ ชอบโดยพยาบาลเจ้าของไข้ 2. บันทึกใน Flow Chart ปลายเตียง ขณะ Pre-Conference กับผูร้ ่วมทีมในการวางแผนการพยาบาลร่วมกนั ใน การดแู ลผู้ป่วย และตรวจสอบการบนั ทกึ ในระบบ HIS ของโรงพยาบาลทมี่ ีความเฉพาะของผูป้ ่วยทกุ รายใหม้ คี วามถูกตอ้ ง ครบถว้ น โดยผูป้ ฏบิ ตั ิงานและผ้ชู ว่ ยเหลอื คนไข้ 3. ทบทวนการประเมนิ แรกรบั ในใบ Flow Chart สัญญาณชีพปลายเตียง และการบนั ทกึ ใน Problem/Need Intervention Evaluation ของ Nursing Progress Note รบั ผิดชอบโดยพยาบาลเจา้ ของไข้ 4. ทบทวนองคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั สญั ญาณชีพท่มี คี วามเฉพาะกับผู้ปว่ ย และการนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บรบิ ท ของหน่วยงาน รับผดิ ชอบโดยหัวหน้าหอผปู้ ว่ ย 5. นำหลกั จริยธรรม 6 หลกั และ4 แนวคิด มาประยุกต์ใช้ในหนว่ ยงาน ทำใหบ้ คุ ลากรในหนว่ ยงานมพี ฤติกรรมทม่ี ี จรยิ ธรรมในการดแู ลผปู้ ่วย มคี วามยึดมน่ั ใน MEDPSU และ ยดึ หลกั สมรรถนะ PSU ของมหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ในการ ปฏิบตั งิ าน ผ้ดู ูแลมคี วามพงึ พอใจ คา่ คะแนนความพงึ พอใจภาพรวมของโรงพยาบาล ปี 2563 และ 2564 เทา่ กบั 4.86 4.76 (mean=4.62) ตามลำดบั 6. ได้รับคดั เลอื กจากศูนย์คณุ ภาพ โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ เขา้ รว่ มสง่ ผลงานโปสเตอร์ HA National Forum 22 เรอื่ ง PAT and PEWS กระชบั แรกรับและรายงาน ในงานประชุม HA National Forum 22: Towards Scaling Up and Resilience in Healthcare วันที่ 9-11 มนี าคม 65 ผา่ นระบบ Zoom ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ 184
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 5. เอกสารอ้างอิง 1. Hohenhaus S, Travers D, Mecham N. Pediatric triage: a review of emergency education literature. J Emerg Nurs. 2008; 3: 308-13. 2. Dieckemann RA. Pediatric assessment. In: Fuchs S, Yamamoto L, editors. Emergency medicine resource. 5th ed. Burlington, MA: Jones & Barlett Learning; 2012. 2-37. 3. Royal College of Paediatrics and Child Health. Available from: http://www.rcpch.ac.uk/training- examinationsprofessionaldevelopment/postgraduate-training/sub-specialty-training/ paedia-3 [cited 01.04.17]. 4. Almond C. Issues in paediatric triage. Austral Emerg Nurs J. 2000; 3: 12-4. 5. Dieckmann RA, Brownstein D, Gausche-Hill M. The pediatric assessment triangle: a novel approach for the rapid evaluation of children. Pediatr Emerg Care. 2010; 26: 312-5. 6. Horeczko T, Enriquez B, McGrath NE, Gausche-Hill M, Lewis RJ.The Pediatric Assessment Triangle: accuracy of its application by nurses in the triage of children. J Emerg. Nurs. 2013; 39: 182-9. 7. American Academy of Pediatrics, and American College of Emergency Physicians. Continuing medical education. American Academy of Pediatrics; 2017. Available from: http://www. aap.org/en-us/continuing-medical-education/life-support/Pages/Life-Support.aspx [cited 30.03.17]. 8. American Academy of Pediatrics, and American College of Emergency Physicians. History of the APLS. Jones & Bartlett Learning LL; 2012. Available from: http://www.aplsonline.com/about/abouthome.aspx [cited 30.03.17]. 9. ธนู ตงั้ ศรีเจริญ, สุภารัชต์ กาญจนะวณิชย์. ความสามารถของ Pediatric Early Warning Score (PEWS) ในการ ทำนายการเสยี ชวี ิตเรว็ ภายใน 24 ชั่วโมงและสาเหตุการเสยี ชวี ิตในหอผ้ปู ่วยหนกั กมุ ารเวชกรรม Journal of Nakornping Hospital. 2018; 9 (2) 10. Pediatric Early Warning System (PEW System) - developing a standardized tool for England; 2020. Available from: http://www.https://www.rcpch.ac.uk/resources/paediatric-early-warning-system- pewsystem-developing-standardised-tool-england 11. สมพร พูลพานิชอปุ ถัมย์ ณัฐชยั อนันตสทิ ธิ์ สมหญงิ กุณฑล พฤหัส พงษ์มี. ประสทิ ธผิ ลของการใชร้ ะบบ ตอบสนองเรง่ ดว่ นในหอผปู้ ่วยเดก็ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี JOPN. 2020; 12 (2). 12. J. F. de Groot, N. Damen, E. de Loos, L. van de Steeg, L. Koopmans, P. Rosias, M. Bruijn,J. Goorhuis5 and C. Wagner. Implementing pediatric early warning scores systems in the Netherlands: future implications. BMC Pediatrics. 2018; 18: 128. 13. Gerri Sefton G., Lane S., Killen R., Black S., Lyon M., P Ampah P, Sproule C.et al., Accuracy and Efficiency of Recording Pediatric Early Warning Scores Using an Electronic Physiological Surveillance 185
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ System Compared with Traditional Paper-Based Documentation. Available from https://journals.lww.com/c in journal by BhDMf5ePHKav1zEoum1tQfN4a 6. บทสรปุ บุคลากรในหอผู้ป่วยปฏิบัติงานยึดหลักวิสัยทัศน์และพันธกิจของคณะแพทยศาสตร์ (DEDICATED & EXCELLENT MEDICAL SCHOOL FOR MANKIND) ให้บริการด้านการรักษาพยาบาลที่เป็นเลิศจนถึงระดับเหนือกว่าตติยภูมิ ด้วยจิต วิญญาณ โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ โดยมุ่งเน้นความปลอดภัยของผู้ป่วยตาม SIMPLE ตอบสนองด้าน Emergency response ในผ้ปู ว่ ยเด็กอายุ 1-15 ปี ได้อยา่ งรวดเรว็ สามารถดักจบั ความเสีย่ งเชิงรุกและจัดการ ดูแลช่วยเหลือ เบื้องต้นได้อย่างรวดเร็ว จากความร่วมมือและการทำงานเป็นทีมที่ดีของสหสาขาวิชาชีพ ซึ่งเป็นบทบาทสำคัญในการดูแล ผู้ป่วยร่วมกันตลอดระยะเวลาที่ผู้ป่วยเขา้รับการรักษาในหอผู้ป่วยจนถึงจำหน่ายจากโรงพยาบาล/กลับบา้ น จากการนำ PAT and PEWS มาประยุกต์ใช้ ทำให้สามารถประเมิน เฝ้าระวัง และดูแลรักษาผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้น เพิ่มคุณภาพการบริการ ผูร้ ับบริการปลอดภัยและมคี วามพึงพอใจ ----------------------------------------------------------------------------------------------- 186
เวทีคุณภาพ II มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ แนวปฏิบตั ิท่ีเปน็ เลิศ *************************************** 1. ชอื่ เรื่อง การส่งเสรมิ การเลีย้ งลูกด้วยนมแม่ 2. โครงการ/กิจกรรมดา้ น ดา้ นการประกันคณุ ภาพ 3. ช่อื หนว่ ยงาน หอผปู้ ่วยพเิ ศษสูติ-นรเี วช ฝา่ ยบรกิ ารพยาบาล โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 4. ประเภทโครงการ ( ) ประเภทท่ี 1 แนวปฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลิศ ระดบั คณะ/หน่วยงาน (ผา่ นการคดั เลือกโดยเวทหี รือผู้บรหิ ารของคณะ) ( ) 1.1 สายวิชาการ ( ) 1.2 สายสนบั สนุน ( √ ) ประเภทท่ี 2 แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี ( ) 2.1 สายวิชาการ ( √ ) 2.2 สายสนบั สนุน 5. คณะทำงานพัฒนาแนวปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลิศ 1. นางนุรฮูดา ชรี ะ พยาบาลปฏิบัติการ 2. นางสาวมัณฑนา คงวจิ ติ ร พยาบาลชำนาญการพิเศษ ท่ีปรกึ ษา นางประดับ ธรรมโชเต พยาบาลชำนาญการพิเศษ miss นมแม่ 6. การประเมนิ ปญั หา/ความเส่ยี ง (Assessment) การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เป็นรากฐานที่สำคัญ เนื่องจากนมแม่ให้ประโยชน์ด้านอาหารที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เป็น ภูมิคุม้ กันโรค ส่งเสรมิ การสรา้ งเซลล์สมองและเชาว์ปัญญาของทารก อีกทั้งยังเปน็ มอบให้ความรัก เพิ่มความผูกพันแก่มารดา และทารก องค์การอนามัยโลกและองค์การกองทุนเด็กระหว่างประทศ ได้แนะนำให้ทารกกินนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน และกินควบคอู่ าหารตามวัยจนถึง 2 ปี หรอื มากกวา่ (WHO & UNICEF, 2003) ปัจจัยสำคัญที่จะสงเสริมให้มารดาหลังคลอดเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่สำเร็จ คือ พยาบาลและทีมบุคลากรทางการ พยาบาล ซึ่งให้การดูแลมารดาหลังคลอด ทารกปกติและทารกป่วย กลุ่มบุคลากรเหล่านี้ เป็นบุคคลสำคัญที่จะช่วยให้มารดา หลงั คลอดมคี วามรู้และทกั ษะท่ีถูกต้อง สามารถเลีย้ งลกู ด้วยนมแม่และสามารถแก้ไขปัญหาทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ได้ตัง้ แต่อยู่ในโรงพยาบาล จนกลับถึงบ้าน และสามรถเล้ียงลูกด้วยนมแม่ท่ีบ้านได้อยา่ งต่อเนื่อง ทั้งนี้บุคลากรจะต้องมี ความรู้และทักษะที่ถูกต้องในเรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ รวมทั้งต้องมีการฝึกฝนประสบการณ์และติดตามความรู้ใหม่อย่าง สมำ่ เสมอ หอผู้ป่วยพิเศษสูติและนรีเวช โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เห็นความสำคัญของการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แต่เนื่องจากหอผู้ป่วยยังไม่มีแนวทางในการปฏิบัติในการส่งเสริมการเลี้ยงลูกดว้ ยนมแม่ที่ชัดเจน ทำให้มีความหลากหลายใน การปฏบิ ตั ิ ผรู้ บั บรกิ ารเกิดความสบั สน จึงได้จดั ทำแนวปฏิบตั กิ ารสง่ เสริมการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ 187
เวทีคณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ 7. เปา้ หมาย/วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1. อัตราการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่อยา่ งเดยี วก่อนจำหนา่ ย exclusive breastfeeding ≥ 60% 2. อตั ราการเลยี้ งลกู ด้วยนมแมอ่ ย่างเดียว 6 เดอื น ≥50% 3. อัตราการส่งนมแม่ให้ทารกที่ต้องรกั ษาตวั ใน NMCU/NICU ใน 24 ชม. ≥80% 8. ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 1. มแี นวปฏิบตั ิในการส่งเสรมิ การเลยี้ งลกู ด้วยนมแมไ่ ปในทศิ ทางเดยี วกนั 2. มารดาหลังคลอดทุกรายไดร้ ับการส่งเสริมการเลย้ี งลกู ด้วยนมแมอ่ ยา่ งเปน็ ระบบ 3. เพ่ิมคุณภาพในการใหบ้ ริการในการดแู ลมารดาหลงั คลอดในการสง่ เสรมิ การเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่ 9. การออกแบบกระบวนการ 9.1 วธิ ีการ/แนวทางการปฏิบตั จิ รงิ (PDCA) 1. ทบทวน ค้นคว้าหาข้อมูลเกย่ี วกับความรู้การสง่ เสริมนมแม่ 2. จดั ทำแนวปฏบิ ัติการส่งเสริมการเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่ 3. นำแนวปฏบิ ัติ ลงสกู่ ารปฏิบตั ใิ นหอผู้ป่วย 4. ปรับปรงุ พฒั นาแนวปฏิบัติการสง่ เสรมิ การเลยี้ งลูกด้วยนมแม่ ให้ครอบคลมุ ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ยในการนำไปใช้ 5. เก็บข้อมูลตวั ชีว้ ัด อัตราการเล้ยี งลกู ด้วยนมแมอ่ ย่างเดยี วก่อนจำหนา่ ย exclusive breastfeeding, อัตราการ เลี้ยงดว้ ยนมแม่อย่างเดียว 6 เดอื น และอัตราการสง่ นมแม่ให้ทารกท่ีต้องรักษาตัวใน NMCU/NICU ใน 24 ชม 6. วเิ คราะห์ข้อมลู หาโอกาสพฒั นา 7. สรุปประเมินผล 188
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ แนวปฏบิ ตั ิ version 1 แนวปฏบิ ตั ิการสง่ เสริมการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ หอผู้ปว่ ยพิเศษสตู ิและนรเี วช 189
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ัติ version 2 แนวปฏบิ ตั ิการสง่ เสริมการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ หอผู้ปว่ ยพเิ ศษสูตแิ ละนรเี วช 190
เวทีคณุ ภาพ II มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ แนวปฏบิ ตั ิ version 3 แนวปฏบิ ตั ิการสง่ เสริมการเล้ียงลูกดว้ ยนมแม่ หอผู้ปว่ ยพเิ ศษสูตแิ ละนรเี วช 191
เวทคี ณุ ภาพ II มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 9.2 งบประมาณทใ่ี ช้ในการจดั โครงการ-กิจกรรม (ถ้ามี) - เครือ่ งปม้ั นมและเคร่อื งนึ่งขวดนมท่ีไดร้ บั การสนับสนนุ จากคณะกรรมการส่งเสริมการใหน้ มบตุ รและพฒั นาการเดก็ โรงพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ 10. การวัดผลและผลลพั ธ์ (Measures) แสดงระดบั แนวโนม้ ข้อมลู เชิงเปรียบเทียบ (3 ปี) และ/หรือเปรียบเทียบกับ หน่วยงานภายใน/ภายนอก กราฟท่ี 1 แสดงอัตราการเลยี้ งลูกด้วยนมแมอ่ ย่างเดยี วก่อนจำหน่าย จากกราฟ พบว่าอตั ราการเล้ียงลกู ด้วยนมแมอ่ ยา่ งเดียวก่อนจำหนา่ ย Exclusive breast feeding บรรลเุ ป้าหมาย มอี ัตราทเี่ พิม่ ขน้ึ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ในปี พ.ศ. 62 = 62.28% ปี พ.ศ. 63 = 65.58% และปี พ.ศ. 64 ไตรมาสท่ี 1-2 = 69.55% กราฟที่ 2 แสดงอตั ราการเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งนอ้ ย 6 เดอื น จากกราฟ พบวา่ อตั ราการเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแมอ่ ยา่ งน้อย 6 เดือน บรรลุเป้าหมาย มีอัตราที่เพมิ่ ข้นึ อย่างต่อเน่ือง ในปี พ.ศ. 62 = 53.06% ปี พ.ศ. 63 = 53.86% และปี พ.ศ. 64 = 64.1% 192
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
Pages: