ปจั จยั ท่มี ีอทิ ธิพลตอ่ การดม่ื เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติของวยั รนุ่ ในจังหวัดขอนแกน่ FACTORS INFLUENCING PROBLEMATIC DRINKING AMONG ADOLESCENTS IN KHONKAEN PROVINCE นางสาวอทุ ยั ทิพย์ จนั ทร์เพ็ญ วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิต มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ พ.ศ. 2554
ปัจจยั ที่มีอิทธพิ ลตอ่ การดมื่ เครื่องด่มื แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติของวยั รุ่น ในจงั หวดั ขอนแกน่ นางสาวอทุ ยั ทิพย์ จันทรเ์ พญ็วทิ ยานพิ นธ์นี้เป็นสว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปรญิ ญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ พ.ศ. 2554
FACTORS INFLUENCING PROBLEMATIC DRINKING AMONG ADOLESCENTS IN KHONKAEN PROVINCE MISS UTHAITIP CHANPENA THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF DOCTOR OF PHILOSOPHY IN NURSING GRADUATE SCHOOL KHON KAEN UNIVERSITY 2011
อุทยั ทิพย์ จันทร์เพญ็ . 2554. ปัจจัยทมี่ ีอทิ ธิพลตอ่ การดม่ื เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์แบบผิดปกตขิ อง วัยรุ่นในจังหวดั ขอนแกน่ . วิทยานิพนธป์ ริญญาปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาการพยาบาล บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาวิทยานพิ นธ์: รศ.ดร.ดารุณี จงอดุ มการณ์, ผศ.ดร.จิราพร เขียวอยู่ บทคัดยอ่ งานวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบตัดขวางนี้เป็นการศึกษาเพื่อตรวจสอบอิทธิพลของปัจจัยตามกรอบทฤษฎอี ิทธพิ ลไทรอาดิกท่ีมีต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นในจังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามเป็นนักเรียนสายอาชีพในสถาบันการศึกษาที่สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จังหวัดขอนแก่น อายุ 15-19 ปี จานวน 1,149 คน เป็นชาย 409 คน หญิง 740 คนได้มาโดยการสุ่มอยา่ งง่าย เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นงานวจิ ัยเปน็ แบบสอบถามที่ผา่ นการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและความเช่ือม่ัน โดยความเชื่อม่ันมีค่าอยู่ระหว่าง 0.70-0.94 ตรวจสอบความสัมพันธ์และอิทธิพลของปัจจัยในกลุ่มตัวอย่างชายด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ ยกเว้นปัจจัยจากกลุ่มอิทธิพลจากภายในตัวบุคคลวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างหญิงวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่ม กาหนดระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกตขิ องทง้ั วยั ร่นุ หญิงและชายในจังหวัดขอนแก่นคือ การแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การสบู บหุ รี่ และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัย รุ่นชายและหญิงแตกต่างกันคือความกังวลในการเข้าสงั คม และทัศนคติตอ่ การดืม่ เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ มอี ิทธิพลเฉพาะต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นชาย ความรู้ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางท่ีดี การมีเพ่ือนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มอี ิทธพิ ลเฉพาะต่อการดมื่ เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวยั รนุ่ หญิง การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่นได้รบั อิทธพิ ลจากปัจจยั ทัง้ เหมือนและแตกต่างกัน ดังนน้ั การจัดกระทาเพื่อลดการดื่มของวัยรุ่นและการป้องกันวัยรุ่นด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติจึงควรมีรูปแบบที่เฉพาะของแต่ละเพศโดยครอบคลุมปัจจัยที่มีอิทธิพลดังท่ีได้กล่าวมาแล้ว นอกจากน้ีปัจจัยที่พบดังกล่าวมิได้มาจากอิทธิพลจากภายในตัวบุคคลเพียงอย่างเดียว บางส่วนมาจากอิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรมการจดั กระทาเพื่อลดและป้องกันปัญหานี้จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ใหญ่ในสังคมทุกภาคส่วนมิใช่บุคลากรทางสุขภาพเพยี งกล่มุ เดยี ว
Uthaitip Chanpen. 2011. Factors Influencing Problematic Drinking among Adolescents in Khon Kaen Province. Doctor of Philosophy Thesis in Nursing, Graduate School, Khon Kaen University.Thesis Advisors: Assoc. Prof. Dr. Darunee Jongudomkarn, Asst. Prof. Dr. Jiraporn Khiewyoo ABSTRACT This analytical cross-sectional study aimed to investigate influences of factors derivedfrom Theory of Triadic Influence (TTI) on problematic drinking among adolescents in KhonKaen province. Participants of 1,149 vocational and technical students, 409 males and 740females, aged 15 to 19 years old from colleges in Khon Kaen province were randomly selected tocomplete 11 self-report questionnaires. All questionnaires had approved content validity andreliability (α = 0.70-0.94). For male, Ordinal Logistic Regression Analysis was used to analyzerelationship between factors from TTI and three levels of problematic drinking. Exceptionally,intra-personal factors were analyzed by using Multinomial Logistic Regression Analysis. Forfemale, data were analyzed by using Binary Logistic Regression Analysis. A p<0.05 wasconsidered to be statistically significant throughout. Findings show that factors influencingproblematic drinking among male and female adolescents in Khon Kaen province were sensationseeking, cognitive emotional preoccupation, perceived drinking norms, values of alcohol use,smoking, and drinking refusal self-efficacy. However, factors influenceing only male problematicdrinking were social interaction anxiety and attitudes toward alcohol. Meanwhile, knowledgeabout drinking alcohol, positive alcohol expectancies, and peer drinking influenced femalesproblematic drinking. This study reveals that factors influencing problematic drinking among male and femaleadolescents in Khon Kaen province were both same in parts and different in parts. Thus, reducingand preventive actions should be concern all factors influencing on male and female. Someactions should be specific for each gender. Furthermore, these factors were not from only intra-personal stream but also from social and culture. Therefore, all segments in Khon Kaen province,not only health care sections, should co-operate the actions.
กติ ตกิ รรมประกาศ วทิ ยานิพนธฉ์ บบั น้เี สร็จสมบูรณ์ได้ด้วยข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น คาปรึกษา และตรวจสอบแก้ไขจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ดารุณี จงอุดมการณ์ อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก และผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.จิราพร เขียวอยู่ อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ข้อเสนอแนะข้อคิดเห็น และกาลังใจในทุกข้ันตอนของกระบวนการศึกษาวจิ ยั รวมทั้งสนบั สนุนให้ได้รับทุนในการศึกษาวิจัย และการนาเสนอผลงานวิจัยผู้วิจัยซาบซ้ึง และกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.พูลสุข ศิริพูล ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.วรรณี เดียวอิศเรศจากคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงพล ต่อนี จากคณะพลศึกษามหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ที่กรุณาให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชนย์ ิง่ ขอขอบพระคุณผู้สร้างและพัฒนาเคร่ืองมือในประเทศและต่างประเทศทุกท่าน ที่อนุญาตให้ผู้วิจัยนาเคร่ืองมือมาใช้ในการศึกษาวิจัย ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ให้ข้อเสนอแนะตรวจสอบเครอ่ื งมอื ทง้ั ด้านการแปล และความตรงของเนื้อหา งานวิทยานิพนธ์ฉบับน้ีสาเร็จได้ด้วยความร่วมมือจากนักเรียนสายอาชีพและผู้ปกครองที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม รวมท้ังความกรุณาเอื้ออานวยโอกาส และสถานท่ีในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้อานวยการ และคณาจารย์ของสถาบันการศึกษาทางด้านสายอาชีพในจังหวัดขอนแก่น ผู้วิจัยขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสน้ี และความสาเร็จนี้เป็นไปไม่ได้เลยหากไม่ได้รับกาลังทรัพย์ ซึ่งเป็นทุนการศึกษาวิจัยจาก ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา และบัณฑิตวิทยาลัยมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ในท้ายท่ีสดุ ผู้วิจัยขอขอบคุณวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พระพุทธบาท ท่ีให้โอกาสในการลาศกึ ษาอยา่ งเต็มเวลา ขอกราบขอบพระคณุ รองศาสตราจารย์ ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว คณะจิตวิทยาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท่ีกล่อมเกลาผู้วิจัยให้เป็นผู้ท่ีเข้มแข็ง อดทน ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอปุ สรรคทีผ่ ่านเขา้ มา ซ่งึ เปน็ ตน้ ทนุ อนั สาคัญในการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ขอขอบคุณเพ่ือนและพ่ีนักศึกษาปริญญาเอก ที่ให้คาแนะนา ช่วยเหลือ และให้กาลังใจในการศึกษาตลอดมาขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และญาติ พ่ีน้อง ของผู้วิจัยที่ให้การสนับสนุน และเป็นกาลังใจในการศึกษา ความงอกงามท่ีเกิดขึ้นจากการศึกษาวิทยานิพนธ์นี้ขอมอบแด่คุณพ่อ คุณแม่ท่ีรักและเคารพยง่ิ หากมขี ้อบกพร่องประการใดๆ ผวู้ จิ ัยขอนอ้ มรบั ไว้ด้วยความขอบคณุ ยิ่ง อุทัยทพิ ย์ จันทร์เพ็ญ
สารบัญ หนา้บทคดั ย่อภาษาไทย กบทคัดย่อภาษาองั กฤษ ขกติ ตกิ รรมประกาศ คสารบญั ตาราง ซสารบัญภาพ ฐบทที่ 1 บทนา 11. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 12. คาถามการวจิ ยั 63. วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ยั 74 สมมตฐิ านการวิจัย 75 ขอบเขตของการวิจยั 76 นยิ ามทใี่ ช้ในการวจิ ัย 87 ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั 108. กรอบแนวคิดท่ใี ช้ในการศกึ ษา 11บทท่ี 2 วรรณกรรมและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง 131. การสรา้ งองค์ความรทู้ างการพยาบาล 132. วยั ร่นุ กบั การดม่ื เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ 14 2.1 ธรรมชาติของวัยร่นุ 14 2.2 เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ 18 2.3 ผลจากการดม่ื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ 19 2.4 ความหมายและการประเมินการดม่ื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์แบบผิดปกติ 23 2.5 การดื่มเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติของวัยรุ่น 29 2.6 นโยบายการควบคุมการดม่ื และผลกระทบจากการดืม่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ 313. แนวคดิ และทฤษฎีท่ใี ชอ้ ธิบายพฤติกรรมเส่ียงดา้ นการใช้สารเสพตดิ ของวยั รุ่น 35 3.1 มโนทศั น์การแสวงหาความท้าทาย 36
จ สารบัญ (ตอ่ ) หนา้3.2 ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน 413.3 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ทางปัญญาสงั คม 433.4 ทฤษฎีพฤติกรรมทีเ่ ปน็ ปญั หา 483.5 ทฤษฎีอทิ ธพิ ลไทรอาดกิ 554. ปจั จัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลตอ่ การด่ืมแบบผิดปกติของวัยรนุ่ 61บทที่ 3 ระเบียบวิธวี ิจยั 911. รปู แบบการวจิ ัย 912. ประชากรและตวั อย่าง 913. ตัวแปรและการวดั ตัวแปร 964. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการวิจยั 1055. การสร้าง และการตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอื 1086. การพทิ กั ษส์ ิทธก์ิ ล่มุ ตวั อย่าง 1117. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1138. การประมวลผลข้อมูล 1149. การวเิ คราะหข์ ้อมูล 114บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 1211. ขอ้ มูลท่วั ไป 1212. การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และการดื่มแบบผดิ ปกติ 1233. ปจั จัยจากภายในตัวบคุ คล ปจั จัยจากบรบิ ททางสงั คมปจั จยั จากสง่ิ แวดลอ้ ม 124ทางวัฒนธรรม และพฤตกิ รรมอน่ื ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง4. ปจั จัยท่มี ีอิทธพิ ลต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติของวัยรนุ่ ชาย 1314.1 ผลการวิเคราะหเ์ บือ้ งต้น: ปจั จัยจากภายในตัวบุคคล ปจั จยั จากบริบท 131ทางสังคม ปัจจัยจากสิง่ แวดล้อมทางวฒั นธรรม และพฤตกิ รรมอืน่ท่ีเก่ียวขอ้ งของกลมุ่ ตัวอย่างเปรยี บเทียบระหว่างระดบั การดมื่ แบบผดิ ปกติ4.2 ผลการวเิ คราะห์อิทธพิ ลของตัวแปรทานายทมี่ ตี อ่ การดืม่ เครอื่ งดม่ื 136แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ
ฉ สารบัญ (ตอ่ ) หน้า5. ปัจจยั ที่มอี ิทธพิ ลต่อการด่มื เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกตขิ องวัยรนุ่ หญิง 1455.1 ผลการวิเคราะห์เบ้ืองต้น: ปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ปัจจยั จากบริบท 145ทางสังคม ปัจจัยจากสิง่ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม และพฤตกิ รรมอืน่ทเ่ี ก่ียวข้องของกลุ่มตวั อยา่ งเปรยี บเทยี บระหว่างระดับการดม่ื แบบผดิ ปกติ5.2 ผลการวเิ คราะหอ์ ิทธิพลของตัวแปรทานายที่มตี อ่ การดมื่ เครอ่ื งดม่ื 150แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติบทที่ 5 อภิปรายผลการวิจัย 1651. ลกั ษณะท่วั ไปและการดม่ื เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ 1652. ลักษณะของปัจจยั จากภายในตวั บุคคล ปจั จัยจากบริบททางสังคม 168ปจั จยั จากส่ิงแวดลอ้ มทางวฒั นธรรม และการสูบบุหร่ี3. ปจั จัยทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อการดม่ื เคร่ืองด่มื แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติของ 172วัยรุ่นชายและวยั ร่นุ หญิง4. ความครอบคลมุ ของมาตรการนโยบายแอลกอฮอล์ 180บทที่ 6 สรปุ ผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ 1871. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย 1872. วิธีการวจิ ัย 1873. สรุปผลท่ีไดจ้ ากการวจิ ยั 1884. องค์ความรู้ใหม่ทีไ่ ด้จากการวิจยั 1925. ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาผลการวจิ ัยไปใช้ 1966. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย 1987. ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั คร้งั ต่อไป 1998. จุดแขง็ และขอ้ จากดั ของการวจิ ัย 2009. การเรียนร้ทู ี่ไดจ้ ากการศึกษา 200
สารบัญ (ตอ่ ) ชบรรณานุกรม 203ภาคผนวก 223 225 ภาคผนวก ก การพิทักษส์ ิทธ์ิกลุ่มตวั อย่าง 233 ภาคผนวก ข การสร้างและพัฒนาเครือ่ งมือ 225 ภาคผนวก ค รายละเอยี ดในการวิเคราะหข์ อ้ มลู 275 ภาคผนวก ง การเผยแพรผ่ ลงานวทิ ยานิพนธ์ 279ประวตั ผิ ู้เขยี น
ซ สารบญั ตาราง หน้าตารางที่ 1 ความเหมาะสมของมโนทัศน์และทฤษฎใี นการนาไปอธบิ ายการดม่ื แบบ 60ผิดปกตขิ องวัยรุ่นตารางท่ี 2 การกาหนดนยิ ามของปจั จัยอธิบายการดื่มเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ 62ของวยั ร่นุ ตามกรอบทฤษฎไี ทรอาดกิ ในกลุ่มอิทธพิ ลภายในตวั บคุ คลตารางที่ 3 การกาหนดนยิ ามของปจั จยั อธบิ ายการดมื่ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ 63ของวัยรนุ่ ตามกรอบทฤษฎีไทรอาดกิ ในกลุ่มอทิ ธิพลบรบิ ททางสงั คมตารางท่ี 4 การกาหนดนิยามของปัจจัยอธิบายการด่มื เคร่ืองด่มื แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติ 64ของวยั รนุ่ ตามกรอบทฤษฎไี ทรอาดิกในกลุม่ อทิ ธิพลสิ่งแวดล้อมทางวฒั นธรรมตารางที่ 5 การกาหนดนยิ ามของปัจจยั อธบิ ายการดื่มเครื่องด่มื แอลกอฮอล์แบบผิดปกติ 65ของวัยรุ่นตามกรอบทฤษฎีไทรอาดิกในกลมุ่ อทิ ธิพลของปจั จยั อ่นืตารางท่ี 6 ปจั จัยทีม่ ีอิทธิพลต่อการดมื่ ท่ีมากเกินกวา่ ระดบั ท่ีปลอดภยั 66ตารางท่ี 7 นิยาม และเคร่อื งมือวัดของปัจจัยทมี่ ีอิทธิพลตอ่ การดื่มท่มี ากเกินกว่า 67ระดับท่ปี ลอดภัยตารางที่ 8 การเปรียบเทยี บนิยามของปัจจัยอธิบายการดื่มเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ 77แบบผิดปกตใิ นกลุ่มอทิ ธพิ ลภายในตัวบุคคลกบั นยิ ามของปัจจัยท่ไี ด้จากการทบทวนวรรณกรรมตารางท่ี 9 การเปรยี บเทียบนยิ ามของปัจจัยอธิบายการดมื่ เครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ 79แบบผิดปกติในกลุ่มอทิ ธิพลบรบิ ททางสงั คมกับนยิ ามของปจั จัยท่ีได้จากการทบทวนวรรณกรรมตารางท่ี 10 การเปรยี บเทยี บนยิ ามของปัจจัยอธิบายการด่ืมเครื่องด่มื แอลกอฮอล์ 80แบบผดิ ปกติในกลมุ่ อทิ ธพิ ลสิ่งแวดลอ้ มทางวฒั นธรรมกับนิยามของปจั จัยทไ่ี ดจ้ ากการทบทวนวรรณกรรมตารางที่ 11 การเปรยี บเทยี บนิยามของปัจจัยอธิบายการดม่ื เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ 81แบบผดิ ปกติอ่ืนๆ กบั นิยามของปัจจยั ทไ่ี ดจ้ ากการทบทวนวรรณกรรมตารางท่ี 12 สถาบันการศึกษาทีเ่ ปิดสอนทางสายอาชีพ สังกดั สังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 93ในจงั หวัดขอนแก่น และจานวนนักเรียนหญงิ และนกั เรียนชาย อายุ 15-19 ปี
ฌ สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หน้าตารางที่ 13 คา่ ความเชอ่ื มั่นของชุดแบบสอบถามท่ีผู้วจิ ัยสรา้ งขึน้ เอง 110ตารางที่ 14 คา่ สัมประสิทธแ์ อลฟาครอนบาชของชดุ แบบสอบถามทแ่ี ปลมาจากตน้ ฉบบั 111ภาษาองั กฤษตารางท่ี 15 ข้อมูลทั่วไปของนกั เรยี นสายอาชีพชายและหญิง จานวน 1,149 คน 122ตารางที่ 16 การดืม่ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลข์ องนักเรยี นสายอาชพี แยกชาย และหญงิ 123ตารางที่ 17 ลักษณะของปัจจัยจากภายในตัวบคุ คลของนกั เรยี นสายอาชพี จานวน 1,149 คน 125แยกชายและหญงิตารางท่ี 18 ลกั ษณะของปัจจยั จากบริบททางสังคม ของนกั เรียนสายอาชพี จานวน 1,149 คน 127แยกชายและหญงิตารางท่ี 19 ลกั ษณะของปัจจยั จากส่งิ แวดล้อมทางวฒั นธรรมของนกั เรียนสายอาชพี 129จานวน1,149 คน แยกชายและหญงิตารางที่ 20 การสูบบุหรข่ี องนกั เรยี นสายอาชีพจานวน 1,149 คน แยกชายและหญิง 131ตารางที่ 21 ปจั จัยจากภายในตวั บุคคล บรบิ ททางสังคม สิ่งแวดลอ้ มทางวัฒนธรรม 133และการสูบบหุ รขี่ องนักเรยี นสายอาชพี ชาย จานวน 409 คน แยกตามระดบั การดม่ื เครอื่ งด่มื แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติตารางที่ 22 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบหลายกลมุ่ แบบหยาบระหวา่ งปัจจยั 137จากภายในตัวบุคคลกบั การด่ืมแบบผดิ ปกตใิ นกลุม่ ตัวอยา่ งชาย จานวน 409 คนตารางท่ี 23 ปจั จยั จากภายในตวั บุคคลที่มีอทิ ธิพลตอ่ การดืม่ แบบผิดปกตขิ องวยั รุ่นชาย 138ตารางท่ี 24 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจสิ ติกแบบลาดับแบบหยาบระหวา่ งปัจจยั 139จากบรบิ ททางสังคมกับการดื่มแบบผิดปกตขิ องกลุ่มตัวอย่างชายจานวน 409 คนตารางท่ี 25 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจสิ ตกิ แบบลาดับระหว่างการมเี พื่อนด่มื เครื่องดื่ม 140แอลกอฮอล์และการดืม่ เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัวกับการดมื่ แบบผิดปกติของกลมุ่ ตัวอย่างชาย จานวน 409 คนตารางที่ 26 ปจั จยั จากบริบททางสังคมท่ีมีอทิ ธพิ ลตอ่ การดม่ื แบบผิดปกติของวยั รุ่นชาย 140
ญ สารบญั ตาราง (ต่อ) หน้าตารางท่ี 27 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจสิ ติกแบบลาดบั แบบหยาบระหวา่ งปัจจัย 142จากสง่ิ แวดลอ้ มทางวัฒนธรรมกับการด่ืมแบบผิดปกติของกล่มุ ตวั อยา่ งชายจานวน 409 คนตารางที่ 28 ผลการวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจิสตกิ แบบลาดับระหว่างความรู้ด้านการด่มื 142เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และคา่ นิยมดา้ นการดื่มเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์กบั การดืม่ แบบผดิ ปกติของกลมุ่ ตัวอย่างชาย จานวน 409 คนตารางที่ 29 ผลการวิเคราะหก์ ารถดถอยโลจสิ ติกแบบลาดบั ระหว่าง ค่านิยมดา้ นการดืม่ 143เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ การคาดหวงั ผลในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางที่ดีและการประเมินคา่ ผลจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลก์ ับการดื่มแบบผดิ ปกติของกลมุ่ ตวั อย่างชาย จานวน 409 คนตารางที่ 30 ปจั จยั จากสงิ่ แวดล้อมทางวัฒนธรรมท่มี ีอทิ ธพิ ลตอ่ การดื่มแบบผดิ ปกตขิ อง 144วัยรุน่ ชายตารางท่ี 31 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบลาดบั ระหวา่ งการสูบบหุ รี่กับการด่มื 145แบบผดิ ปกตขิ องกลุ่มตวั อย่างชาย จานวน 409 คนตารางท่ี 32 ปจั จยั จากภายในตวั บคุ คล บริบททางสงั คม สิง่ แวดล้อมทางวัฒนธรรมและการ 147สูบบุหร่ี ของกลุ่มตวั อย่างหญงิ จานวน 740 คน แยกตามระดับการด่มื เคร่ืองดมื่แอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติตารางที่ 33 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกล่มุ แบบหยาบระหว่างปัจจยั 150จากภายในตัวบคุ คลกับการด่ืมแบบผดิ ปกตขิ องกล่มุ ตวั อย่างหญงิจานวน 740 คนตารางท่ี 34 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลมุ่ ระหวา่ งการแสวงหาความ 151ทา้ ทายกบั การดม่ื แบบผดิ ปกติของกลุ่มตัวอย่างหญงิ จานวน 740 คนตารางที่ 35 ผลการวิเคราะหก์ ารถดถอยโลจิสติกแบบสองกล่มุ ระหวา่ งการแสวงหาความ 152ท้าทายและความกังวลในการเข้าสงั คมกับการดืม่ แบบผิดปกตขิ องกลุ่มตัวอย่างหญิงจานวน 740 คน
ฎ สารบญั ตาราง (ต่อ) หนา้ตารางที่ 36 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบสองกลมุ่ ระหว่างการแสวงหา 152ความทา้ ทายความโนม้ เอยี งที่จะดืม่ และการควบคมุ การด่ืมกบั การดื่มแบบผดิ ปกติของกลุ่มตวั อยา่ งหญงิ จานวน 740 คนตารางท่ี 37 ปัจจยั จากภายในตวั บุคคลท่มี ีอิทธพิ ลตอ่ การด่มื แบบผดิ ปกติของวยั รนุ่ หญงิ 153ตารางที่ 38 ผลการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบสองกล่มุ แบบหยาบระหวา่ ง 154ปัจจยั จากบริบททางสังคมกับการด่ืมแบบผดิ ปกติของกลุ่มตัวอย่างหญงิจานวน 740 คนตารางท่ี 39 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจสิ ติกแบบสองกลมุ่ ระหวา่ งการมีเพือ่ นดื่ม 155เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ และ การดืม่ เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชกิ ในครอบครวั กับการด่ืมแบบผิดปกตขิ องกล่มุ ตวั อย่างหญิง จานวน 740 คนตารางที่ 40 ปจั จยั จากบรบิ ททางสงั คมท่ีมอี ทิ ธิพลตอ่ การดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิง 155ตารางที่ 41 ผลการวิเคราะหก์ ารถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มแบบหยาบระหวา่ งปัจจัยจาก 157สิง่ แวดล้อมทางวัฒนธรรมกบั การดม่ื แบบผิดปกติของกลมุ่ ตวั อย่างหญิงจานวน 740 คนตารางที่ 42 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจสิ ติกแบบสองกลมุ่ ระหว่างความรดู้ ้านการดืม่ 157เคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์และคา่ นยิ มด้านการดมื่ เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์กับการดื่มแบบผดิ ปกติของกลมุ่ ตัวอยา่ งหญิง จานวน 740 คนตารางท่ี 43 ผลการวิเคราะหก์ ารถดถอยโลจิสตกิ แบบสองกลุ่มระหว่างความรดู้ ้านการดม่ื 158เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ ค่านยิ มด้านการดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การคาดหวงั ผลในการดมื่ เครอื่ งดื่มแอลกอฮอลใ์ นทางทด่ี แี ละการประเมินคา่ ผลจากการดม่ื เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์กับการดมื่ แบบผิดปกตขิ องกลุ่มตัวอย่างหญิงจานวน 740 คนตารางที่ 44 ปัจจยั จากสิง่ แวดล้อมทางวัฒนธรรมทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การดม่ื แบบผดิ ปกติ 159ของวยั ร่นุ หญิงตารางที่ 45 ผลการวเิ คราะห์การถดถอยโลจสิ ติกแบบสองกลมุ่ ระหวา่ งการสบู บุหรี่ 160กบั การดม่ื แบบผดิ ปกตขิ องกล่มุ ตวั อยา่ งหญงิ จานวน 740 คน
ฏสารบัญตาราง (ต่อ)ตารางท่ี 46 มาตรการนโยบายแอลกอฮอลใ์ นประเทศไทย หนา้ตารางท่ี 47 ความครอบคลมุ ของมาตรการนโยบายแอลกอฮอลใ์ นการจัดการปัจจัยเส่ียง 181 และสง่ เสริมปัจจัยปกป้องท่มี ีอิทธพิ ลตอ่ การด่มื แบบผิดปกติของวยั รุน่ 184 ในจังหวดั ขอนแก่น
ฐสารบัญภาพภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษาปัจจัยท่มี อี ิทธพิ ลตอ่ การดื่มเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ หน้า แบบผดิ ปกตขิ องวยั รนุ่ 12ภาพที่ 2 ระบบการทางานของโดปามนี 37ภาพท่ี 3 ระบบการทางานของซโี รโทนนิ 37ภาพท่ี 4 ระบบการทางานของนอร์อะดรีนาลนี 38ภาพที่ 5 มโนทัศนแ์ ละความสมั พนั ธต์ ามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน 42ภาพท่ี 6 ความสัมพันธแ์ บบสามเหลี่ยมของการกาหนดซึ่งกนั และกนั 43 (Triadic Reciprocal Causation) ระหว่าง P คอื ปจั จยั ทางพทุ ธิปัญญา 46 หรอื ปัจจัยส่วนบคุ คล B คือ พฤตกิ รรม และ E คือสภาพแวดลอ้ ม 50ภาพท่ี 7 กระบวนการเรยี นรูจ้ ากการสังเกต 56ภาพท่ี 8 กรอบแนวคิดพฤติกรรมท่เี ป็นปญั หา 57ภาพท่ี 9 กลมุ่ อิทธิพลทีม่ ตี อ่ พฤตกิ รรม 87ภาพท่ี 10 ทฤษฎอี ทิ ธิพลไทรอาดกิภาพที่ 11 กรอบการวิเคราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปัจจัยจากอิทธิพล 88 ภายในตัวบคุ คลกับการดื่มเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติภาพที่ 12 กรอบการวเิ คราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหว่างปจั จัยจากอิทธพิ ล 89 บริบททางสงั คมกับการด่ืมเคร่ืองด่มื แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติภาพท่ี 13 กรอบการวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ระหว่างปจั จัยจากอทิ ธิพลสง่ิ แวดลอ้ ม 90 ทางวัฒนธรรมกับการดมื่ เครอื่ งดื่มแอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติภาพท่ี 14 กรอบการวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหว่างการสูบบุหรก่ี ับ 96 การดม่ื เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติ 162ภาพที่ 15 แผนภูมิการสุม่ ตัวอยา่ งภาพท่ี 16 ปัจจยั ที่มอี ิทธพิ ลต่อการด่ืมเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์แบบผิดปกติของ 163 วัยรุ่นชายในจงั หวัดขอนแก่นภาพท่ี 17 ปัจจัยท่ีมีอิทธพิ ลต่อการด่มื เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติของ วยั รุ่นหญงิ ในจังหวัดขอนแก่น
บทท่ี 6 สรปุ ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวาง เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกกับการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่นในจังหวัดขอนแก่นเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง กันยายน พ.ศ. 2553 การสรุปผลการวิจัย ข้อเสนอต่อการกาหนดกลยุทธ์และการป้องกันการด่ืมแบบผิดปกติในวัยรุ่น จุดแข็งและข้อจากัดของการวิจัย และการเรียนรทู้ ่ไี ดจ้ ากการศึกษามรี ายละเอียดดงั ต่อไปนี้1. วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือตรวจสอบความสัมพันธ์และอิทธิพลของปัจจัยตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกที่มีต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงและชายในจังหวัดขอนแก่น แยกการตรวจสอบความสัมพันธ์ตามกลุ่มอิทธิพล ได้แก่ ปัจจัยจากภายในตวั บุคคล ปัจจยั จากบริบททางสังคม ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบบุหร่ี2. วธิ ีการวิจัย ผู้วิจัยใช้รูปแบบการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางสาหรับการศึกษาในครั้งน้ีการศึกษาน้ีศึกษาในกลุ่มตัวอย่างที่เป็นนักเรียนสายอาชีพ จากสถาบันการศึกษา สังกัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร อายรุ ะหว่าง 15-19 ปี จานวน 1,149 คน เป็นชาย 409 คน หญิง 740 คน ได้มาโดยการส่มุ อยา่ งง่าย เกบ็ ข้อมูลโดยให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจานวน 11 ส่วน ผู้วิจัยสร้างข้ึนเอง 5 ส่วน และแปลจากเครื่องมือมาตรฐานฉบับภาษาอังกฤษ 6 ส่วน แบบสอบถามได้ผ่านกระบวนการตรวจสอบเพื่อให้มีคุณภาพในระดับเช่ือถือได้ ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาเพ่ือพรรณนาข้อมูล และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในแต่ละกลุ่มอิทธิพลกับการด่ืมแบบผิดปกติ 3 ระดับในกลุ่มตัวอย่างชายด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ สาหรับปัจจัยจากภายในตัวบุคคลของกลุ่มตัวอย่างชายผู้วิจัยวิเคราะห์ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุ่มเน่ืองจากไม่เข้ากับข้อตกลงเบอ้ื งตน้ ของการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ สาหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยในแต่ละกลุ่มอิทธิพลกับการดื่มแบบผิดปกติ 2 ระดับในกลุ่มตัวอย่างหญิง ใช้การวิเคราะหก์ ารถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่ม
1883. สรปุ ผลที่ไดจ้ ากการวิจัย 3.1 ขอ้ มูลเบอ้ื งต้น กลุ่มตัวอย่างจานวนทั้งหมด 1,149 คน เป็นชาย 409 คน และหญิง 740 คน มีอายุระหว่าง 15-19 ปี อายุเฉลี่ย 17 ปี (SD=1.0) ค่ากลางมัธยฐาน เท่ากับ 17 ปี เท่ากันท้ังชายและหญิงกลุ่มตัวอย่างท้ังหมดเรียนอยู่ในช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปี 1-3 และประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สูง ปี 1-2 ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี 2 ทั้งชายและหญิง คือร้อยละ42.6 และ 36.6 ตามลาดับ เกอื บรอ้ ยละ 100 นับถือศาสนาพทุ ธ 3.2 การดมื่ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ และการด่มื แบบผิดปกติ กล่มุ ตัวอยา่ งชายและหญิงมีคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุราเฉลี่ยเท่ากับ 9.5 (SD=8.1) และเท่ากับ 4.7 (SD=5.5) ตามลาดับ กลุ่มตัวอย่างชายมากกว่าร้อยละ 80และกลุ่มตัวอย่างหญิงร้อยละ 65.3 เป็นผู้ที่เคยด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มาก่อน (คะแนนแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุรา>0) เม่ือนาคะแนนแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการดื่มสุรามาจัดระดับการดื่มพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีมีการด่ืมแบบเสี่ยงน้อย เป็นนักเรียนหญิงร้อยละ 73.6 เป็นนักเรียนชายน้อยกว่าร้อยละ 50 ระดับการด่ืมที่มีกลุ่มตัวอย่างรองลงมาคือ การดื่มแบบเสี่ยง ร้อยละ 32.8 ในชาย และ 20.7 ในหญิง 3.3 ปัจจัยจากภายในตัวบคุ คล ปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และพฤติกรรมอ่นื ท่ีเกีย่ วขอ้ ง กลุม่ ตวั อย่างมีลักษณะปจั จัยจากภายในตัวบุคคลดังนี้ 1) การแสวงหาความท้าทายมคี ะแนนเฉลยี่ เท่ากับ 17.8 (SD = 3.5; ค่ามธั ยฐานเทา่ กบั 18.0) ในชาย และ 16.1 (SD = 3.3; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 16.0) 2) ความกังวลในการเข้าสังคมมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 25.3 (SD = 12.4; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 25.0) ในชาย และ 24.4 (SD = 11.6; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 23.0) ในหญิง 3) ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืมมีคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 22.2 (SD = 8.2; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 22.0) ในชาย และ 17.9(SD = 6.8; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 16.0) ในหญิง 4) การควบคุมการดื่มมีคะแนนเฉล่ีย เท่ากับ 16.7(SD = 6.4; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 17.0) ในชาย และ 17.3 (SD = 7.6; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 18.0) ในหญิงและ 5) สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 86.4(SD = 19.4; คา่ มัธยฐานเทา่ กบั 86.0) ในชาย และ 97.6 (SD = 15.4; ค่ามัธยฐานเท่ากบั 101.0) ในหญงิ กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะปัจจัยจากบริบททางสังคม ดังน้ี 1) ร้อยละ 8 ของนักเรียนชายไม่มเี พ่อื นดม่ื เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ร้อยละ 90 มีเพ่ือนท่ีดื่ม ร้อยละ 22.4 ของนักเรียนหญิงไม่มีเพ่ือนดื่ม ร้อยละ 76 มีเพ่ือนที่ด่ืม 2) นักเรียนชายร้อยละ 50 มีสมาชิกท่ีเป็นผู้ใหญ่ในครอบครัวด่ืมเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ไม่บ่อยครั้ง คือ ไม่เคยดื่มถึงดื่ม 1 คร้ัง/เดือน นักเรียนหญิงร้อยละ 50 มีผู้ใหญ่
189ในครอบครัวดื่มบ่อยครั้ง คือ มากกว่า 1 คร้ัง/เดือน ถึงด่ืมทุกวัน และ3) บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์มคี ะแนนเฉล่ีย เทา่ กับ 32.3 (SD = 7.5; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 33.0) ในชายและ 27.9 (SD = 8.3; ค่ามัธยฐานเทา่ กับ 28.0) ในหญงิ กลมุ่ ตวั อยา่ งมีลกั ษณะปจั จัยปัจจัยจากสงิ่ แวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบบุหรี่ดังนี้ 1) ร้อยละ 63 ของนักเรียนชาย ไม่เคยปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาถึงปฏิบัติน้อยครั้ง ร้อยละ 53ของนกั เรียนหญงิ ไม่เคยปฏิบตั กิ ิจกรรมทางศาสนาถึงปฏบิ ัตนิ ้อยครง้ั 2) ความร้ดู า้ นการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.1 (SD = 2.7; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 6.0) ในชาย และ 7.7 (SD =2.7; คา่ มธั ยฐานเท่ากับ 8.0) ในหญิง 3) ค่านยิ มด้านการด่มื เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์มีคะแนนเฉล่ีย 25.8(SD = 5.8; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 26.0) ในชาย และ 23.9 (SD = 6.1; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 24.0) ในหญิง4) การคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดีมีคะแนนเฉล่ีย 54.7 (SD = 12.3;ค่ามัธยฐานเท่ากับ 55.0) ในชาย และ 49.4 (SD = 12.9; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 51.0) ในหญิง 5) การประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีคะแนนเฉลี่ย 62.2 (SD = 17.4; ค่ามัธยฐานเท่ากับ62.0) ในชายและ 53.2 (SD = 18.0; ค่ามธั ยฐานเท่ากับ 54.0)ในหญิง 6) ทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มีคะแนนเฉลี่ย 22.8 (SD = 5.9; ค่ามัธยฐานเท่ากับ 24.0) ในชาย และ 18.8 (SD = 6.0;ค่ามัธยฐานเท่ากับ 18.0) ในหญิง 7) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยสูบบุหรี่ในช่วง 1 เดือนที่ผ่านมาเปน็ หญงิ ร้อยละ 73 และชายร้อยละ 56 นกั เรยี นชายเกอื บคร่ึงเป็นผทู้ ี่เคยสูบบหุ ร่ี 3.4 ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกตขิ องนักเรียนชาย ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจากภายตัวบุคคลกับการด่ืมแบบผิดปกติด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุ่มระหว่างปัจจัยจากบริบททางสังคมปจั จยั จากสง่ิ แวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสบู บหุ ร่ี กับการดื่มแบบผิดปกติด้วยการวิเคราะห์การถดถอย โลจสิ ตกิ แบบลาดบั อย่างหยาบสรุปได้ดงั น้ี 1) ปัจจัยจากภายตัวบุคคลท่ีมีความสัมพันธ์กับระดับการด่ืมแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงที่จะด่ืมการควบคมุ การดม่ื และ สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอล์ 2) ปจั จัยจากบริบททางสังคมท่ีมคี วามสมั พนั ธก์ บั ระดับการด่ืมแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ การมีเพื่อนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครวั และบรรทัดฐานทางสงั คมด้านการดื่มเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์ 3) ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมและการสูบบุหรี่ ที่มีความสัมพันธ์กับระดับการดื่มแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ทัศนคติต่อการดมื่ เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ และการสบู บหุ รี่
190 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจากภายตัวบุคคลกับการด่ืมแบบผิดปกติด้วย การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุ่ม และผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบบุหร่ี กับการด่ืมแบบผิดปกติ ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับวิเคราะห์หาโมเดลที่ดีที่สุดสรุปได้ดังนี้ 1) วยั รนุ่ ชายทีด่ ่มื แบบเส่ียงน้อย มีการแสวงหาความท้าทายสูง จะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมแบบอันตรายถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มท่ีมีการแสวงหาความท้าทายต่า 2.07 เท่า (95%CI เท่ากับ1.11 ถงึ 3.89) 2) วยั ร่นุ ชายทด่ี ม่ื แบบเสยี่ งน้อย มคี วามกังวลในการเข้าสงั คมสูง จะมีโอกาสเป็นผูด้ ่มื แบบอันตรายถึงตดิ สรุ ามากกว่ากล่มุ ที่มีความกงั วลในการเข้าสังคมตา่ 2.09 เท่า (95%CI เท่ากับ1.13 ถงึ 3.86) 3) วัยรุน่ ชายท่ีดืม่ แบบเสีย่ งนอ้ ย มคี วามโน้มเอียงท่ีจะด่ืมสูง จะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบอันตรายถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มท่ีมีความโน้มเอียงท่ีจะดื่มต่า 3.57 เท่า (95%CI เท่ากับ 1.88ถงึ 6.77) 4) วัยรุ่นชายท่ีด่ืมแบบเส่ียงน้อย มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์สงู จะมโี อกาสเปน็ ผ้ดู มื่ แบบอนั ตรายถงึ ตดิ สรุ าน้อยกว่ากลุ่มที่มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ต่า 0.10 เท่า (95%CI เท่ากับ 0.05 ถึง 0.20) และจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบเสี่ยงน้อยกว่ากลุ่มท่ีมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่อง ดื่มแอลกอฮอล์ตา่ 0.12 เทา่ (95%CI เท่ากบั 0.07 ถึง 0.20) 5) จานวนเพื่อนท่ีดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อบรรทัดฐานทางสังคมดา้ นการด่ืมเครือ่ งดมื่ แอลกอฮอลข์ องวยั รุ่นชาย และวยั รนุ่ ชายท่ีดมื่ แบบเส่ียงน้อย มีบรรทัดฐานด้านการด่มื เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากกว่ากลุ่มท่ีมบี รรทัดฐานด้านการด่ืมเคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ต่า 1.99 เทา่ (95%CI เท่ากบั 1.52 ถงึ 2.62) 6) วัยรุ่นชายท่ีดื่มแบบเสี่ยงน้อย ให้ค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากกว่ากลุ่มท่ีให้ค่านิยมด้านการด่ืมเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ตา่ 2.55 เท่า (95%CI เท่ากับ 1.93 ถงึ 3.37) 7) วัยรุ่นชายท่ีดื่มแบบเส่ียงน้อย มีทัศนคติท่ีดีต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์จะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเคร่ืองดื่มแอล กอฮอล์แบบผิดปกติมากกว่ าก ลุ่มที่มีทัศนคติท่ีไม่ดีต่อการดื่มเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ 1.47 เท่า (95%CI เท่ากบั 1.13 ถึง 1.93)
191 8) วัยรุ่นชายที่ด่ืมแบบเสี่ยงน้อยและเคยสูบบุหรี่ จะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากกวา่ กลุ่มที่ไมเ่ คยสบู บุหร่ี 4.20 เท่า (95%CI เท่ากับ 3.16 ถึง 5.58) 3.5 ปัจจยั ทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ การดืม่ เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอล์แบบผิดปกตขิ องนกั เรียนหญิง ผลการวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหว่างปจั จัยจากภายตัวบุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบบุหรี่ กับการดื่มแบบผิดปกติด้วยการวเิ คราะห์การถดถอยโลจิสตกิ แบบสองกลุม่ อย่างหยาบสรปุ ได้ดังนี้ 1) ปัจจัยจากภายตัวบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับการดื่มแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม และ สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่มื เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ 2) ปัจจัยจากบริบททางสังคมที่มีความสัมพันธ์กับการดื่มแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ การมีเพื่อนดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่มื เครือ่ งด่ืมแอลกอฮอล์ 3) ปจั จยั จากสงิ่ แวดล้อมทางวัฒนธรรมและการสูบบุหรี่ที่มีความสัมพันธ์กับการด่ืมแบบผิดปกติอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ทางท่ีดีการประเมินคา่ ผลจากการดืม่ เคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ ทัศนคตติ อ่ การดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ และการสูบบุหร่ี ผลการวเิ คราะห์ความสมั พันธร์ ะหวา่ งปัจจยั จากภายตวั บุคคล ปัจจัยจากบริบททางสังคม ปัจจัยจากส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม และการสูบบุหร่ี กับการดื่มแบบผิดปกติด้วยการวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจิสติกแบบสองกลมุ่ วเิ คราะหห์ าโมเดลทดี่ ที ีส่ ุด สรปุ ไดด้ งั น้ี 1) วัยรนุ่ หญงิ ท่ดี ่ืมแบบเสย่ี งนอ้ ย มกี ารแสวงหาความทา้ ทายสูง จะมโี อกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มที่มีการแสวงหาความท้าทายต่า 2.72 เท่า(95%CI เทา่ กบั 1.82 ถงึ 4.07) 2) วยั รนุ่ หญงิ ที่ดืม่ แบบเสี่ยงน้อย มคี วามโนม้ เอียงที่จะด่ืมสงู จะมโี อกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบเส่ียงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มท่ีมีความโน้มเอียงที่จะด่ืม ต่า 1.88 เท่า(95%CI เท่ากบั 1.21 ถึง 2.71) 3) วัยรุ่นหญิงที่ดื่มแบบเส่ียงน้อย มีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดมื่ แอลกอฮอล์สงู จะมโี อกาสเป็นผู้ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบเส่ียงถึงติดสุราน้อยกว่ากลุ่มท่ีมีสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ต่า 0.09 เท่า (95%CI เท่ากับ 0.05ถงึ 0.15)
192 4) วัยรุ่นหญิงท่ีด่ืมแบบเส่ียงน้อย มีเพื่อน 2-3 คนดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมแบบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่า ผู้ที่ไม่มีเพื่อนดื่ม 2.73 เท่า (95%CI เท่ากับ 1.43 ถึง5.18) วัยรุ่นหญิงท่ีด่ืมแบบเสี่ยงน้อยที่คร่ึงหนึ่งของกลุ่มเพื่อนดื่มจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบเสี่ยงถึงติดสรุ ามากกวา่ ผูท้ ี่ไม่มีเพ่อื นดื่ม 4.86 เท่า (95%CI เท่ากบั 2.55 ถงึ 9.24) 5) วยั รุน่ หญิงท่ีด่ืมแบบเสี่ยงน้อย มีบรรทัดฐานด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มท่ีมีบรรทัดฐานด้านการด่มื เครื่องด่มื แอลกอฮอล์ตา่ 2.75 เทา่ (95%CI เท่ากบั 1.88 ถึง 4.03) 6) วัยรุ่นหญิงท่ีดื่มแบบเส่ียงน้อย มีความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ดีจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุราน้อยกว่ากลุ่มที่มีความรู้ด้านการด่ืมเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ไมด่ ี 0.68 เท่า (95%CI เท่ากับ 0.48 ถึง 0.96) 7) วัยรุ่นหญิงที่ดื่มแบบเส่ียงน้อย ให้ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์สูงจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มท่ีให้ค่านิยมด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอลต์ ่า 3.05 เท่า (95%CI เทา่ กบั 2.12 ถงึ 4.40) 8) วัยรุ่นหญิงท่ีด่ืมแบบเสี่ยงน้อย มีการคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางทดี่ สี งู จะมีโอกาสเปน็ ผู้ด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบเส่ียงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มที่มกี ารคาดหวังผลในการดม่ื เครื่องด่ืมแอลกอฮอลท์ างทด่ี ีต่า 1.62 เทา่ (95%CI เท่ากบั 1.14 ถึง 2.32) 9) วัยรนุ่ หญิงทด่ี ่ืมแบบเส่ียงน้อยและเคยสูบบุหร่ีมาแล้วในช่วง 1 เดือนท่ีผ่านมาจะมีโอกาสเป็นผู้ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงถึงติดสุรามากกว่ากลุ่มที่ไม่เคยสูบบุหรี่ 4.01เทา่ (95%CI เทา่ กบั 2.21 ถงึ 7.28)4. องค์ความร้ใู หมท่ ไี่ ดจ้ ากการวิจัย ผลจากการศึกษาน้ีเป็นองค์ความรู้ใหม่ท่ีได้มาจากการนาทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกเป็นกรอบช้ีนา (Theory guide) การได้มาซึ่งปัจจัย มีนิยามของปัจจัย และมีการแสดงทิศทางของความสัมพันธ์ของปัจจัยเพื่ออธิบายการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่นโมเดลปจั จยั ท่ีมอี ทิ ธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวยั ร่นุ ชาย และหญิงเปน็ ดังนี้ 4.1 โมเดลปัจจยั ทีม่ ีอทิ ธิพลตอ่ การดื่มแบบผิดปกติของวัยรุน่ ชาย โมเดลนี้เกิดจากความเชื่อตามทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกว่าอิทธิพลจากภายในตัวบุคคล บริบททางสังคม ส่ิงแวดล้อมทางวัฒนธรรม และพฤติกรรมอื่นที่เกี่ยวข้องส่งผลต่อการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นชาย โมเดลประกอบด้วยปัจจัยจานวน 9 ปัจจัย ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงที่จะดื่ม สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืม
193เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การมีเพ่ือนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ และมโนทัศน์การด่มื เครื่องดืม่ แอลกอฮอล์แบบผิดปกติ 4.1.1 นิยามของปัจจัยและมโนทศั น์ 1) การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ หมายถึง การดื่มเครื่องด่ืมทุกชนิดท่มี ีแอลกอฮอลผ์ สมอยู่มากเกนิ กวา่ ระดับที่ปลอดภัย มีความเส่ียงต่อการเกิดอันตราย หรือมีอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ 2) การแสวงหาความท้าทาย หมายถึง ลักษณะความต้องการความแตกต่าง ความแปลกใหม่ ความซับซ้อน และประสบการณ์ท้าทาย ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมที่เสี่ยงทางรา่ งกาย สงั คม กฎหมาย และการเงินใน 4 ดา้ น คือ ดา้ นความร้สู กึ ชอบในส่ิงท่ีต่ืนเต้นเร้าใจและเส่ียงภัย ด้านความต้องการประสบการณ์ในการแสวงหาหรือสารวจส่ิงใหม่ ด้านการไม่ยับยั้งช่ังใจหรือข่มใจ ด้านความรสู้ กึ ท่ไี วตอ่ ความน่าเบอ่ื หน่าย 3) ความกังวลในการเข้าสังคม หมายถึง ความยุ่งยากใจเม่ือพบปะและพูดกบั บคุ คลอื่น ได้แก่ เพือ่ นร่วมชั้นเรียน เพศตรงขา้ ม หรอื คนที่ไม่รูจ้ ักคุ้นเคย 4) ความโน้มเอียงที่จะด่ืม หมายถึง การคิดคานึงถึงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน 3 ประการ คือ การคิดถึงการด่ืมตลอดเวลา การรับรู้ความยากในการควบคุมการดื่มและการคิดถึงการดืม่ เพอ่ื ลดอารมณ์ขนุ่ มัว 5) สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หมายถึงการรับรู้ระดับความเช่ือมั่นในความสามารถในการปฏิเสธ /ต้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในสถานการณ์ต่างๆที่เอ้ือต่อการด่ืม 3 สถานการณ์ ได้แก่ สถานการณ์ท่ีมีความกดดันทางสังคม สถานการณ์ท่ีมีการผ่อนคลายอารมณ์และความรู้สึก และสถานการณ์ท่ีเป็นโอกาสท่ีเอื้อต่อการดม่ื 6) การมีเพ่ือนด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง การับรู้จานวนเพื่อนท่ีดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ใน 3 ระดับ ได้แก่ ไม่มีเพื่อนดื่ม เพ่ือน 2-3 คนดื่ม และคร่ึงหนึ่งของกลุ่มเพ่อื นดืม่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์ 7) บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึงการรับรู้เกี่ยวกับปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยท่ัวไปท่ีเพ่ือนวัยเดียวกันด่ืม และการรับรู้ระดับความยนิ ยอมหรอื การยอมรบั เรื่องการดม่ื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอลจ์ ากพ่อแมห่ รือผู้ปกครองและเพื่อน
194 8) ค่านยิ มด้านการด่มื เครอื่ งดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง ระดับการให้คุณค่าความสาคัญ และการยอมรับที่มีต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ซึ่งการให้คุณค่า ความสาคัญ หรือการยอมรับนี้ได้มาหรือรบั รูจ้ ากคณุ ค่าทีบ่ คุ คลอืน่ ๆในสงั คมใหต้ อ่ การดม่ื เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์ 9) ทศั นคตติ ่อการด่มื เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง ความคิดเห็นท่ีมีต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ตามทิศทางของความเชื่อและการตีค่าผลที่คาดว่าจะเกิดจากการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางใหป้ ระโยชน์หรอื โทษ 10) การสูบบุหร่ี หมายถึง ประสบการณ์การสูบบุหร่ีในช่วง 1 เดือนทีผ่ ่านมา 4.1.2 ทิศทางของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปัจจัยและมโนทัศน์ 1) การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ ต่างมีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกติโดยตรง 2) การมีเพ่ือนด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์มีอิทธิพลต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติทางออ้ มโดยผา่ นบรรทดั ฐานทางสังคมดา้ นการดืม่ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ 4.2 โมเดลปัจจัยทมี่ อี ิทธิพลตอ่ การดืม่ แบบผิดปกติของวัยรุ่นหญงิ โมเดลน้ีเกิดจากความเช่ือเช่นเดียวกับโมเดลของวัยรุ่นชาย โมเดลประกอบด้วยปจั จัยจานวน 9 ปัจจยั ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม สมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการดื่มเคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์ การมีเพื่อนดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการดื่มเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ทางท่ีดี การสูบบุหรี่ และมโนทศั นก์ ารดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ 4.2.1 นยิ ามของปจั จัยและมโนทัศน์ 1) การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ หมายถึง การด่ืมเคร่ืองด่ืมทกุ ชนิดท่มี แี อลกอฮอล์ผสมอย่มู ากเกินกวา่ ระดบั ที่ปลอดภัย มีความเส่ียงต่อการเกิดอันตราย หรือมีอันตรายต่อสขุ ภาพ 2) การแสวงหาความท้าทาย หมายถึง ลักษณะความต้องการความแตกต่าง ความแปลกใหม่ ความซับซ้อน และประสบการณ์ท้าทาย ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเสี่ยงทางร่างกาย สังคม กฎหมาย และการเงินใน 4 ด้าน คือ ด้านความรู้สึกชอบในส่ิงที่ต่ืนเต้นเร้าใจ
195และเสย่ี งภัย ด้านความตอ้ งการประสบการณใ์ นการแสวงหาหรอื สารวจส่ิงใหม่ ด้านการไม่ยับย้ังชั่งใจหรอื ขม่ ใจ ดา้ นความรู้สกึ ที่ไวต่อความน่าเบอื่ หน่าย 3) ความโน้มเอียงที่จะดื่ม หมายถึง การคิดคานึงถึงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ใน 3 ประการ คือ การคิดถึงการดื่มตลอดเวลา การรับรู้ความยากในการควบคุมการด่ืมและการคดิ ถงึ การดมื่ เพอ่ื ลดอารมณ์ขุ่นมัว 4) สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์หมายถึง การรับรู้ระดับความเชื่อมั่นในความสามารถในการปฏิเสธ/ต้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในสถานการณ์ต่างๆท่ีเอื้อต่อการดื่ม 3 สถานการณ์ ได้แก่ สถานการณ์ที่มีความกดดันทางสังคม สถานการณ์ที่มีการผ่อนคลายอารมณ์และความรู้สึก และสถานการณ์ที่เป็นโอกาสท่ีเอ้ือตอ่ การดืม่ 5) การมีเพ่ือนดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง การับรู้จานวนเพ่ือนท่ีดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ใน 3 ระดับ ได้แก่ ไม่มีเพ่ือนดื่ม เพื่อน 2-3 คนดื่ม และครึ่งหนึ่งของกลุ่มเพอ่ื นด่ืมเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ 6) บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึงการรับรู้เกี่ยวกับปริมาณเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์โดยทั่วไปที่เพ่ือนวัยเดียวกันด่ืม และการรับรู้ระดับความยินยอมหรอื การยอมรบั เรอ่ื งการดม่ื เครื่องดืม่ แอลกอฮอลจ์ ากพ่อแม่หรอื ผูป้ กครองและเพ่ือน 7) ความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง ข้อมูลเก่ียวกับเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ระดับการดื่มท่ีไม่เป็นอันตราย และผลท่ีเกิดข้ึนจากการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ท่ีบุคคลระลึกได้ ประกอบด้วยเร่ือง ลักษณะของเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ การดูดซึมเข้าสู่รา่ งกาย ระดบั การดื่มทป่ี ลอดภยั และอนั ตรายจากการดม่ื แอลกอฮอล์ 8) คา่ นิยมดา้ นการด่ืมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์ หมายถึง ระดับการให้คุณค่าความสาคัญ และการยอมรับท่ีมีต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซ่ึงการให้คุณค่า ความสาคัญ หรือการยอมรับนไ้ี ดม้ าหรอื รับรู้จากคณุ ค่าทบ่ี คุ คลอน่ื ๆในสงั คมใหต้ อ่ การด่ืมเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ 9) การคาดหวังผลในการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี หมายถึงความเชื่อ/คาดหวงั ในผลทจี่ ะเกดิ ข้ึนจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นชายและหญิงในทางท่ีดี4 ด้าน ได้แก่ ด้านการเข้าสังคม ด้านการลดความตึงเครียด ด้านความกล้าหาญ ด้านความสามารถทางเพศ 10) การสูบบุหรี่ หมายถึง ประสบการณ์การสูบบุหร่ีในช่วง 1 เดือนทผ่ี า่ นมา
196 4.2.2 ทิศทางของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปัจจัยและมโนทัศน์ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและมโนทัศน์ของโมเดลน้ีคือการแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอียงที่จะด่ืม สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การมีเพื่อนดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความรู้ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ทางที่ดี และการสูบบุหรี่ ต่างมีอิทธิพลต่อการด่ืมเคร่ืองดืม่ แอลกอฮอลแ์ บบผิดปกติโดยตรง5. ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาผลการวิจัยไปใช้ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงปัจจัยเสี่ยงและปัจจัยปกป้องท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นชายและหญิงในจังหวัดขอนแก่น ซ่ึงข้อค้นพบนี้นาไปสู่การจัดกระทา(Intervention) เพ่อื ลดการดืม่ ของกลุม่ ที่ดื่มแบบผดิ ปกติ และการป้องกนั ในเบื้องต้นก่อนจะมีการด่ืมแบบผิดปกตดิ งั น้ี 5.1 การจัดกระทาเพื่อลดการดม่ื ของกลุ่มท่ดี ืม่ แบบผดิ ปกติ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าปัจจัยส่งเสริมให้วัยรุ่นชายด่ืมแบบผิดปกติ คือการแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม บรรทัดฐานด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์จากอิทธิพลของจานวนเพ่ือนในกลุ่มท่ีดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมดา้ นการดม่ื เครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ และทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ปัจจัยควบคุมการดื่มมเี พียงปจั จัยเดียวคือสมรรถนะแหง่ ตนในการปฏเิ สธการดืม่ เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ การจัดกระทาเพื่อลดการด่ืมของวัยรุ่ นชาย ท่ีดื่มแ บบผิดป กติจึง ต้องเป็นวิธี ท่ีไปล ด ปัจจัย ส่งเส ริมแล ะเสริ มสร้า งประสิทธภิ าพปัจจยั ควบคุม ในระบบบริการสุขภาพมีการคัดกรอง และให้การบาบัดตามระดับของภาวะผิดปกติจากการดมื่ เครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ หากยังไม่เข้าสูภ่ าวการณ์ติดสุรา แต่ดื่มมากเกินระดับทปี่ ลอดภัยในระบบบรกิ ารสขุ ภาพจะใชก้ ารบาบดั แบบยอ่ (Brief intervention) ในการจัดกระทาเพื่อลดการดื่มและปัญหาจากการดื่มลง การบาบัดแบบย่อน้ีเป็นการจูงใจให้บุคคลลดการดื่มปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อการด่ืม และเสริมสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ตนเองในการลดหรือไม่ด่ืมการบาบัดแบบน้ีสามารถจัดการปัจจัยส่งเสริม 2 ปัจจัย คือ ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม และทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และเสริมสร้างปัจจัยปกป้องคือ สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ นอกจากนี้ในกลุ่มวัยรุ่นโดยเฉพาะสถาบันการศึกษาทางสายอาชีพมีโครงการคนพันธ์อา (R) สาหรับพัฒนาศักยภาพของนักเรียนสายอาชีพท่ีเร่ิมโครงการเมื่อปี พ.ศ.2551 และในกลุ่มเด็กวัยรุ่นท่ัวไปมีการส่งเสริมการร่วมโครงการ ทูบีนัมเบอร์วัน (To Be Number
197One) เพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นแสดงออกในทางที่เหมาะสม และห่างไกลจากการใช้สารเสพติดโครงการเหล่าน้ีอยู่นอกระบบบริการสุขภาพ และเป็นการจัดกระทาที่เก่ียวข้องโดยตรงกับการตอบสนองความต้องการการแสวงหาความท้าทายท่ีมีสูงในวัยรุ่นให้แสดงออกในทางที่สังคมยอมรับได้ เสรมิ สร้างทกั ษะการแสดงออกในสงั คม สร้างค่านยิ มใหมท่ ีไ่ ม่หนั ไปหาอบายมขุ การจัดกระทาในระบบบริการสุขภาพเป็นการจัดกระทาในเชงิ แนวรับมากกว่าแนวรุก และกลุ่มวัยรุ่นท่ีด่ืมแบบผิดปกตินี้ยังไม่สามารถเข้าถึงได้ ส่วนโครงการคนพันธ์อา และทูบีนัมเบอร์วันนั้น ถึงแม้ว่าโครงการเหล่านี้จะช่วยลดปัจจัยส่งเสริมได้หลายปัจจัย แต่โครงการมุ่งเน้นไปท่กี ลมุ่ วัยรนุ่ โดยทัว่ ไป ไม่เฉพาะกล่มุ ทด่ี ื่มแบบผิดปกติ และยงั ไม่ครอบคลมุ ไปถึงปัจจัยบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดม่ื เครื่องดมื่ แอลกอฮอล์ ดงั น้นั เพอื่ ลดการด่ืมของกลุ่มท่ีด่ืมแบบผิดปกติผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะว่าต้องมีการจัดกระทาที่ผสมผสาน เป็นความร่วมมือกันระหว่างหน่วยบริการทางสุขภาพ สถาบันการศึกษา และผู้ปกครอง จัดทาเป็นโปรแกรมสาหรับวัยรุ่นที่มีการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มากเกินกว่าระดับท่ีปลอดภัยที่ประกอบด้วย 1) การบาบัดแบบย่อ 2) การสอนและฝึกทักษะต่อไปนี้ การควบคุมตนเองที่จะไม่ด่ืม การสร้างความเชื่อมั่นในการปฏิเสธการด่ืมและทักษะการปฏิเสธคาชวน สร้างความเชื่อม่ันในการเข้าสังคม ทักษะการเข้าสังคม 3) การปรับการรับรู้บรรทัดฐานด้านการด่ืมโดยให้ข้อมูลบรรทัดฐานการดื่มที่แท้จริง และ 4) สร้างเวทีคนพันธ์อาแบบย่อเพื่อเป็นเวทีให้ผู้เข้าโปรแกรมได้แสดงออกและเรียนรู้ถึงการแสดงออกที่เหมาะสม โปรแกรมน้ีอาจบรรจุเป็นโปรแกรมเสริมคู่ขนานไปกับการเรียนในสถาบัน หรือเป็นความร่วมมือกันของส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ใ น จั ง ห วั ด ข อ น แ ก่ น ใ น ก า ร จั ด โ ป ร แ ก ร ม ร่ ว ม โ ด ย ใ ห้ นั ก เ รี ย น ช า ย จ า กสถาบันการศึกษาในจังหวัดเข้าร่วมโปรแกรม ดังน้ันผู้รับผิดชอบดาเนินการจึงต้องเป็นคณะทางานที่ประกอบด้วยอาจารย์จากสถาบันการศึกษา พยาบาลหรือบุคลากรทางสุขภาพท่ีมีความเช่ียวชาญในด้านการบาบดั ทางจิตสังคม และผู้ปกครองของวยั รุ่น สาหรับวัยรุ่นหญิง ปัจจัยส่งเสริมให้วัยรุ่นหญิงดื่มแบบผิดปกติ คือ การแสวงหาความท้าทาย ความโน้มเอยี งทจ่ี ะดม่ื การมเี พอื่ นดืม่ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ บรรทัดฐานทางสังคมด้านการด่ืมเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ ค่านิยมดา้ นการดืม่ เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ และการคาดหวังผลในการด่ืมเคร่อื งดืม่ แอลกอฮอล์ทางที่ดี ปัจจัยควบคุมการด่ืมคือ ความรู้ด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และสมรรถนะแห่งตนในการปฏเิ สธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การจัดกระทาที่มีอยู่เป็นดังท่ีกล่าวไปแล้วข้างต้นในกลุ่มของวัยรุ่นชายซึ่งไม่ครอบคลุมปัจจัยส่งเสริมคือ การมีเพื่อนด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการคาดหวังผลในการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ เพอื่ ใหม้ ีการจัดกระทาที่ลดการดื่มของกลุ่มวัยรุ่นหญิงที่ด่ืมแบบผิดปกติอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดกระทาควรประกอบด้วย 1) การบาบัดแบบย่อ 2) การสอนและฝึกทักษะ
198ต่อไปน้ี การควบคุมตนเองท่ีจะไม่ดื่ม การสร้างความเชื่อม่ันในการปฏิเสธการดื่มและทักษะการปฏิเสธคาชวน 3) การท้าทายความคาดหวัง (Expectancy challenge) เพ่ือปรับเปลี่ยนความคาดหวังผลในการด่ืม 4) การให้ความรู้เกี่ยวกับการดื่มท่ีปลอดภัย 5) การปรับการรับรู้บรรทัดฐานด้านการดื่มโดยให้ข้อมูลบรรทัดฐานการด่ืมท่ีแท้จริง และ 6) สร้างเวทีคนพันธ์อาแบบย่อเพื่อเป็นเวทีให้ผู้เข้าโปรแกรมได้แสดงออกและเรียนรู้ถึงการแสดงออกท่ีเหมาะสม ข้อเสนอแนะการบรรจุโ ป ร แ ก ร ม เ ป็ น โ ป ร แ ก ร ม เ ส ริ ม ห รื อ ก า ร จั ด เ ป็ น โ ป ร แ ก ร ม ท่ี ม า จ า ก ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั น ข อ งสถาบันการศึกษา และผู้รับผิดชอบเป็นเช่นเดียวกับที่กล่าวข้างต้นในโปรแกรมสาหรับวัยรุ่นชายโปรแกรมสาหรับวัยรุ่นชายและหญิงท่ีด่ืมแบบผิดปกติควรมีการจัดแยกกลุ่มก่อน ในบางกิจกรรมเช่นเวทีคนพันธ์อาแบบย่ออาจมีการจัดร่วมกันเพื่อให้วัยรุ่นเรียนรู้การมีปฏิสัมพันธ์กับเพศตรงข้ามนอกจากน้ีในโปรแกรมสาหรับวัยรุ่นชายและหญิงดังที่กล่าวมาข้างต้นผู้ดาเนินโปรแกรมควรมีความไวเชิงเพศภาวะ (Gender sensitive) ด้วยเพื่อการเข้าถึงจิตใจและตอบสนองความต้องการของวยั รนุ่ ผเู้ ข้าร่วมในโปรแกรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 5.2 การปอ้ งกนั ในเบ้ืองต้นก่อนจะมีการดืม่ แบบผิดปกติ ผลจากการศึกษาน้ีสามารถนามาสร้างการป้องกันในเบ้ืองต้นก่อนที่จะมีการด่ืมแบบผิดปกติโดยการสอนทักษะการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม การแสดงออกในสังคม ทักษะการปฏิเสธการดื่ม และสร้างเสริมความเช่ือม่ันในตนเองในการปฏิเสธการด่ืม ให้แก่เด็กต้ังแต่ช่วงวัยที่กาลังเรียนในช้นั ประถมปลาย และมธั ยมศึกษาตอนต้น อกี ทัง้ ยังควรเสริมสรา้ งความสัมพันธ์ภายในครอบครัว และเสริมสร้างทักษะการสื่อสารให้แก่ผู้ปกครองในครอบครัวท่ีมีบุตรที่เรียนและกาลังเข้าสู่วัยรุ่น สาหรับการป้องกันในระยะแรกน้ีครู/อาจารย์ และผู้ปกครองควรร่วมมือกันในการสงั เกตพฤติกรรมของเด็กและดาเนินการสอนทกั ษะดังกล่าวแกเ่ ดก็6. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย ผลจากการศกึ ษานี้ช้ีให้เห็นว่าปัจจัยส่งเสริมการด่ืมแบบผิดปกติของท้ังวัยรุ่นหญิงและชายในจังหวัดขอนแกน่ คือ การแสวงหาความทา้ ทาย บรรทัดฐานด้านการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และค่านิยมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ปัจจัยปกป้องคือสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ปัจจัยเหล่าน้ีมิได้มาจากภายในตัววัยรุ่นเพียงอย่างเดียว แต่ยังได้รับมาจากเพื่อน ผปู้ กครอง และส่งิ แวดลอ้ มอนื่ ๆทง้ั ในเชงิ วฒั นธรรมและสื่อต่างๆ บรรทัดฐานด้านการด่ืมน้ันวัยรุ่นรับรู้จากบุคคลใกล้ชิดได้แก่ เพ่ือน และผู้ปกครอง ค่านิยมด้านการดื่มวัยรุ่นได้รับมากจากความคิด การดาเนินชีวิตของคนในสังคม การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นจึงไม่ได้เป็นแค่เรื่องระดับบุคคล แต่เก่ียวข้องไปถึงผู้ใหญ่ในครอบครัว คือ ผู้ปกครอง ผู้ใหญ่ในโรงเรียน อาจารย์
199และผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ใหญ่ในชุมชน คือ ผู้บริหารระดับท้องถ่ินและจังหวัด ดังนั้นการดาเนินการลดการด่ืมของวัยรุ่น และป้องกันไม่ให้วัยรุ่นด่ืมแบบผิดปกติจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทกุ ภาคสว่ นในจงั หวัดขอนแกน่ ซ่ึงผวู้ จิ ัยขอเสนอแนะดงั นี้ 6.1 ผู้บริหารสถานศึกษาทางด้านสายอาชีพควรกาหนดนโยบายและมาตรการเพ่ือลดการด่มื ของนักเรียน โดย สนับสนนุ ให้มีการจดั ระบบคดั กรองผู้ท่ีดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ที่มากเกินกว่าระดับท่ีปลอดภัย สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมหรือโปรแกรมการบาบัดเพื่อลดการด่ืมของนักเรียน จัดให้มีระบบติดตาม ช่วยเหลือนักเรียนร่วมกับผู้ปกครอง สร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาในจังหวัดและผู้บริหารระดับท้องถิ่น และจังหวัดเพ่ือดาเนินนโยบายลดการด่ืมของนกั ศึกษา 6.2 ในสว่ นของระบบงานสาธารณสุขควรมีการพัฒนาระบบการคัดกรองและบาบัดที่เป็นเชิงรุกเข้าสู่โรงเรียนและสถานศึกษาท่ีสอนทางสายอาชีพ และเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดโปรแกรมการบาบัด และโปรแกรมการปอ้ งกัน 6.3 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้นควรมีนโยบายป้องกันการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในเบื้องต้น โดยจัดให้มีวิชาท่ีเสริมทักษะการเข้าสังคมให้แก่นกั เรียนชายและหญงิ และการเสริมสร้างพลังเพื่อการควบคุมตนเองในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการใช้สารเสพติด สร้างความร่วมมือระหว่างผู้ปกครองและโรงเรียนในการช่วยเหลือและดูแลนักเรียน 6.3 ผู้นาชุมชน ผู้บริหารระดับท้องถ่ิน และจังหวัดควรกาหนดมาตรการจัดระเบียบชมุ ชน และควบคมุ ความหนาแน่นของแหลง่ จาหนา่ ยเคร่ืองดมื่ แอลกอฮอล์ ติดตามให้มีการควบคุมการโฆษณาและการตลาดอย่างจริงจัง เสริมสร้างค่านิยมใหม่ที่ไม่ส่งเสริมการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์และประชาสัมพันธ์ขับเคลื่อนในพื้นท่ี สนับสนุนการสร้างกลุ่มวัยรุ่นทาดี และกลุ่มผู้ใหญ่เลิกด่ืมเพ่ือสร้างตัวแบบท่ีดีของจังหวัด และสนับสนุนการประสานความร่วมมือของสถาบันการศกึ ษาภายในจงั หวัด7. ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยครงั้ ต่อไป จากผลการศึกษาในครัง้ นคี้ วรมีการศึกษาต่อเนอ่ื งในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 7.1 การพัฒนาและทดลองใช้โปรแกรมการลดการด่ืมแบบผิดปกติที่มีความไวเชิงเพศภาวะ สาหรับวยั รุ่นในจงั หวดั ขอนแกน่ โดยใชผ้ ลการวิจัยนเี้ ปน็ ข้อมูลพ้นื ฐาน 7.2 พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของครอบครัวโรงเรียน และชุมชน เพื่อการเปลยี่ นแปลงค่านยิ ม และบรรทัดฐานด้านการดื่มเครื่องดืม่ แอลกอฮอลใ์ นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
200 7.3 พฒั นาระบบ และเคร่อื งมอื การคัดกรองนักเรียนท่ดี ม่ื เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์มากเกินกว่าระดบั ที่ปลอดภัย 7.4 ศึกษาเส้นทางความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการด่ืมแบบผิดปกติของวยั ร่นุ ชาย และหญงิ เพอื่ ให้สามารถอธบิ ายความสัมพันธไ์ ดอ้ ยา่ งชัดเจนว่าปัจจัยใดเป็นตัวแปรนาเข้าและมีความสัมพนั ธม์ ากนอ้ ยเพียงใด8. จดุ แขง็ และขอ้ จากดั ของการวิจัย 8.1 จุดแขง็ ของการวิจยั การศกึ ษานี้มีการเกบ็ ขอ้ มูลท่ีไม่ไดใ้ หก้ ลมุ่ ตวั อย่างระบุช่ือ และเปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอย่างไดต้ อบแบบสอบถามดว้ ยตนเอง เปน็ การไม่เข้าไปแทรกแซงเอา ความคิด ค่านิยมจากผู้วิจัยเข้าไปปนเปื้อน จึงทาให้กลุ่มตัวอย่างมีอิสระในการตอบ ประกอบกับกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการคานวณขนาดตัวอย่างท่ีมีการถ่วงน้าหนักจานวนกลุ่มตัวอย่างหญิงและกลุ่มตัวอย่างชายจากการศึกษาท่ีผ่านมา และมีการสุ่ม เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยได้ผ่านกระบวนการตรวจสอบคุณภาพใหม้ มี าตรฐานในระดบั ทเี่ ชือ่ ถือได้ มกี ารวิเคราะห์แยกเพศหญิงและชาย เน่ืองจากพบว่ามีผลต่อการดื่มแตกต่างกัน อีกทั้งมีการใช้สถิติอนุมานที่เป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้น จึงทาให้ผลท่ีได้จากการศกึ ษามีความเทยี่ งตรงในระดบั หน่งึ สามารถนาไปขยายผลใช้กับวัยรนุ่ ของจังหวัดขอนแกน่ ได้ 8.2 ข้อจากัดของการวจิ ยั เนอ่ื งดว้ ยการศกึ ษาเร่ืองของการด่ืมในวัยรุ่นเป็นเรื่องท่ีมีความเปราะบาง การระบุผู้ดม่ื ในแตล่ ะระดับเพอ่ื ใช้รปู แบบการวิจัยแบบมกี ลุ่มควบคุม (Case control study) จึงเป็นไปได้ยากความผิดพลาดที่เกิดจากการตอบแบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่างอาจเกิดขึ้นได้ เน่ืองจากความเม่ือยล้าจากการทาแบบสอบถามท่ีมีหลายส่วน และใช้เวลานาน ผู้วิจัยได้มองเห็นในประเด็นข้อนี้จึงจัดทาแบบสอบถามให้มีลักษณะน่าสนใจ มีการพักเป็นช่วง ๆ ของการทา ข้อจากัดอีกประการหนึง่ คอื การจดั กลุ่มระดบั การดื่ม โดยธรรมชาติแล้วนักเรียนท่ีดื่มแบบอันตรายหรือสูงกว่ามีไม่มากการจัดกลุ่มจึงมีข้อจากัดในกลุ่มตัวอย่างหญิงไม่สามารถจัดกลุ่มเป็นสามกลุ่มได้ การตอบคาถามการวิจยั จึงไม่ได้ครบใน 3 ระดับ9. การเรยี นรทู้ ี่ได้จากการศึกษา จากการศกึ ษาวจิ ัยครงั้ น้ีผู้วจิ ัยได้เรยี นรูแ้ ละได้รับประโยชนห์ ลายประการ ดังนี้ 9.1 การสร้างองค์ความรู้ในวิชาชีพพยาบาล หลายคร้ังที่ผู้วิจัยพยายามตอบคาถามจากบคุ คลรอบข้างถงึ การศึกษาของตนเองว่าเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่อย่างไร และหลายคร้ังท่ีตอบ
201คาถามไปด้วยความไม่มั่นใจ เน่ืองจากไม่แน่ใจว่าส่ิงท่ีตนเองได้กระทาไปนั้นเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือเป็นการทดสอบทฤษฎีเดิม ผู้วิจัยต้องมาทบทวนถึงการสร้างองค์ความรู้ในวิชาชีพพยาบาลอีกหลายครั้ง วิชาชีพพยาบาลเป็นศาสตร์ (Sciences) ประยุกต์สาขาหน่ึงท่ีมุ่งปฏิบัติการพยาบาลแก่บุคคล/ครอบครัว/ชุมชนโดยมีทฤษฎีหรือองค์ความรู้เป็นตัวช้ีนา ในช่วงเวลาที่ผ่านมาวิชาชีพพยาบาลมีองคค์ วามร้อู ยมู่ าก และหลากหลายทฤษฎี แต่ทฤษฎีท่ีมีอยู่เป็นทฤษฎีใหญ่ มีความซับซ้อน ยากต่อการนาไปปฏิบัติ การลดทอนทฤษฎีใหญ่ให้เกิดความกระชับหรือการสร้างองค์ความรทู้ ี่มคี วามเฉพาะบริบทเปน็ ทางออกที่จะได้มาซงึ่ องคค์ วามรู้อันจะนาสู่การปฏิบัติการพยาบาลดงั น้ันในปรากฏการณ์เรือ่ งการดื่มเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ที่มากเกินกว่าระดับที่ปลอดภัยของวัยรุ่นในจังหวดั ขอนแก่นท่ผี วู้ ิจัยสนใจศกึ ษานัน้ ยงั ไม่ปรากฏว่ามีผู้ใดศึกษา และการจะได้มาซ่ึงการป้องกันไม่ให้วัยรุ่นด่ืมแบบผิดปกตินี้หรือให้วัยรุ่นท่ีดื่มแบบนี้ลดการด่ืมลงต้องมีองค์ความรู้เป็นตัวช้ีนาผู้วิจัยจึงเลือกใช้ทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกเป็นกรอบช้ีนาในการค้นหามโนทัศน์ใหม่/ปัจจัยเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ท่ีสนใจ จากน้ันทดสอบความสัมพันธ์ จนได้โมเดลท่ีดีที่สุดในการอธิบายการดม่ื เครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ที่มากเกินกว่าระดับที่ปลอดภัยของวัยรุ่น เป็นองค์ความรู้ใหม่ท่ีเกิดขึ้นเพื่ออธิบายการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ที่มากเกินกว่าระดับท่ีปลอดภัยของวัยรุ่นชายและหญิงในจงั หวัดขอนแกน่ และช้ีนาในการกาหนดการจัดกระทาเพ่ือป้องกันไม่ให้วัยรุ่นด่ืมในรูปแบบนี้หรือใหว้ ัยรุ่นทีด่ มื่ แบบน้ีลดการดม่ื ลง จนถงึ ท้ายที่สุดของการเขียนรายงานฉบับน้ีผู้วิจัยจึงมีความมั่นใจท่ีจะตอบคาถามดังกล่าวเน่ืองจากได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริงในการสร้างองค์ความรู้ในวิชาชีพพยาบาล 9.2 กระบวนการวิเคราะห์ทฤษฎีและการได้มาซึ่งปัจจัย การเรียนที่ไม่ได้ปฏิบัติจริงผู้เรียนจะไม่เกิดการเรียนรู้และซาบซ้ึงในส่ิงท่ีเรียน คากล่าวนี้เป็นจริงในเชิงประจักษ์สาหรับผู้วิจัยการศึกษาน้ีผู้วิจัยได้เรียนรู้กระบวนการวิเคราะห์ทฤษฎีจนได้ทฤษฎีท่ีมีความเหมาะสมและนามาเป็นกรอบชี้นาเพื่อค้นหาปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุ่น จากการแกะรอยและเดินตามกระบวนการของวอล์เคอร์ และ แอแวนท์ (Walker & Avant) ผู้วิจัยได้ทฤษฎีที่มีความลงตัว น่ันคือ ทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีท่ีกว้าง เป็นนามธรรม แต่อธิบายการกระทาพฤติกรรมของวัยรุ่นได้ครอบคลุม มองวัยรุ่นอย่างเป็นองค์รวม แสดงให้เห็นถึงปัจจัยแวดล้อมท่ีผลักดันลักษณะภายในตัววัยรุ่นให้แสดงพฤติกรรมออกมา แต่เนื่องด้วยปรากฏการณ์ที่ผู้วิจยั สนใจศึกษายงั ไม่มผี ู้ใดศกึ ษาผวู้ จิ ัยจึงใช้ปัจจัยของทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกเป็นกรอบในการสร้างนิยามของปจั จัยสาหรับอธิบายการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่น แต่การกาหนดนิยามข้ึนมาอย่างเดียวน้ันย่อมไม่เป็นเหตุเป็นผลและไม่มีความน่าเชื่อถือเพียงพอ ผู้วิจัยจึงทบทวนวรรณกรรมอย่าง
202เป็นระบบเพอื่ หาหลักฐานจากงานวิจัยมาสนบั สนนุ และนาปจั จัยที่มหี ลักฐานจากงานวิจัยสนับสนุนมาทดสอบอทิ ธพิ ล 9.3 การวเิ คราะหก์ ารถดถอยโลจิสตกิ แบบลาดับ การวิเคราะหก์ ารถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุ่ม และการวเิ คราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มไม่ใช่เร่ืองยาก การศึกษาน้ีใช้เทคนิคทางสถิติ 3 เทคนคิ ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตวั แปรทานายหลายตัวกับตวั แปรตาม 1 ตัว ที่แบ่งอันดับต้ังแต่ 2 อันดับ ในฐานะท่ีผู้วิจัยได้เรียนสถิติท่ีใช้ในการวิจัยทางด้านจิตวิทยาในหลายปีท่ีผ่านมาผู้วิจัยมีความรู้และคุ้นเคยกับสถิติในกลุ่มโลจิสติก หรือ สถิติทางด้านชีวสถิติน้อยมากการใช้การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบลาดับ การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบหลายกลุ่ม และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบสองกลุ่มจึงเป็นเร่ืองที่ยากลาบากในช่วงแรกแต่เม่ือได้ความมั่นใจจากอาจารย์ท่ีปรึกษาร่วมว่าสามารถศึกษาด้วยตัวเองได้ ผู้วิจัยจึงเรียนรู้โดยศึกษาค้นคว้าจากทฤษฎีที่อยู่ในหนังสือและนาสู่การปฏิบัติด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลจริง กระทาซ้าแล้วซ้าเล่าหลายคร้ังในการวิเคราะห์ข้อมูล จนเกิดความมั่นใจในผลของการวิเคราะห์ จากวิกฤตจึงกลายเปน็ โอกาสของชวี ติ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้จากการปฏบิ ตั จิ ริงโดยไมต่ ้องไปนงั่ ฟงั การบรรยายในห้องเรียนซึ่งเปน็ ทม่ี าของคากล่าวที่ว่า “สถิติไมใ่ ช่เร่อื งยาก” อยา่ งทีค่ ิด
บทท่ี 1 บทนา1. ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา แอลกอฮอล์ได้ถกู นามาผสมและใชเ้ ป็นเครื่องด่ืมมาเป็นเวลานับพันๆปี ในสังคมไทยมีการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์มาเป็นเวลานานต้ังแต่ยุคก่อนกรุงรัตนโกสินทร์ ถึงแม้ว่าเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ยังคุณประโยชน์ในสังคมไทยโดยถูกใช้ในการสังสรรค์ทางสังคมในช่วงของเทศกาลสาคัญ ใช้ในพิธีกรรมต่างๆเพ่ือเซ่นสังเวยต่ออานาจเหนือธรรมชาติอันจะขอให้อานาจนั้นคุ้มครองหรือทาประโยชน์ให้ เป็นเคร่ืองด่ืมบารุงสุขภาพ และเป็นสัญลักษณ์ของการเล่ือนสถานภาพเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ (เทพนิ ทร์ พชั รานุรกั ษ์, 2541) แตก่ ส็ ร้างโทษมใิ ช่น้อย ท้ังต่อสุขภาพของผู้ดื่ม และผู้ท่ีอยู่รอบขา้ ง โดยท่ัวไปแล้วคนปกติเม่ือได้รับแอลกอฮอล์เข้าสู่ร่างกายระดับหนึ่ง ร่างกายจะมีกลไกเปลย่ี นแปลงแอลกอฮอล์ให้เป็นสารที่ไม่ก่อให้เกิดพิษ แต่หากร่างกายได้รับแอลกอฮอล์ในปริมาณมากเกนิ จะกลายเป็นสารพิษทีส่ ะสมในรา่ งกาย ดังน้ันอันตรายจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะมีมากน้อยเพียงใดขน้ึ อยู่กับระดับความเข้มข้นของแอลกอฮอล์ในร่างกาย หากระดับความเข้มข้นไม่มากเกินกว่าร่างกายขจัดได้หมดจะไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพ แต่ถ้าความเข้มข้นของแอลกอฮอล์มีมากเกินกว่าระดับท่ีร่างกายขจัดได้หมดจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพตามมา การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ท่ีมากเกินกว่าระดับที่ร่างกายขจัดได้หมด หรือ มากเกินกว่าระดับท่ีปลอดภัย บุคลากรทางสขุ ภาพถือว่าเป็นการดื่มที่มีภาวะผิดปกติ (Alcohol use disorder) (Hasin, 2003) หรือเป็นปัญหา(Problematic drinking) (Institute of Alcohol Studies, 2002; National Institute of Health, 2010)การดื่มในแบบน้ีถูกจัดเป็นระดับ ไดแ้ ก่ การด่ืมเครื่องดืม่ แอลกอฮอล์มากกว่าระดับที่ปลอดภัยแต่ยังไม่ได้รับอันตรายต่อสุขภาพเป็นการด่ืมแบบเสี่ยง (Hazardous drinking) การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์มากกว่าระดับท่ีปลอดภัยและได้รับอันตรายต่อสุขภาพแต่ยังไม่มีการติดสุราเป็นการแบบอันตราย (Harmful drinking) และสุดท้ายคือด่ืมแบบติดสุรา (Alcohol dependence) (Babor,Higgins-Biddle, Saunders, & Monteiro, 2001; Institute of Alcohol Studies, 2002) จะเห็นได้ว่า“การดื่มท่ีมีภาวะผิดปกติ” หรือ”การด่ืมท่ีเป็นปัญหา” สื่อความหมายในภาษาไทยได้ไม่ครอบคลุมการดื่มแบบเสี่ยงซ่ึงเป็นการดื่มท่ียังไม่ได้รับอันตรายต่อสุขภาพดังน้ันในที่นี้จึงขอใช้คาว่าด่ืมแบบผิดปกติแทนเพื่อให้ครอบคลมุ การดม่ื ท้ัง 3 ระดับ
2 การด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติพบได้ในทุกช่วงวัยยกเว้นวัยเด็ก ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา เยาวชนของประเทศซีกโลกตะวันตกเป็นกลุ่มท่ีดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติมากท่ีสุดเมื่อเทียบกับวัยอื่นดังเช่นในประเทศนิวซีแลนด์ วัยรุ่นร้อยละ 38-40 ด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบเสีย่ ง (Ministry of Social Development, 2009) ประเทศสหรัฐอเมริกาในรัฐโอเรกอน วัยรุ่นอายุ12-17 ปี 1 คน ใน 15 คน เป็นผู้ท่ีดื่มแบบผิดปกติ หรือไม่ก็มีภาวะเสพติด (Addictions and MentalHealth Division, 2009) และในรัฐเดียวกัน ปี พ.ศ. 2551 ร้อยละ 25 ของนักเรียนเกรด 11 และร้อยละ 11 ของนักเรียนในเกรด 8 ด่ืมอย่างหนักในโอกาสเดียวอย่างน้อยท่ีสุด 1 วัน ในช่วง 1 เดือนท่ีผ่านมา (Addictions and Mental Health Division, 2009) ขณะท่ีในซีกโลกตะวันออกดังเช่นประเทศไทยพบการด่ืมแบบผดิ ปกตเิ ช่นกัน จากผลการสารวจในปี พ.ศ. 2547 พบว่าเยาวชนชายด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาร้อยละ 5.9 เยาวชนหญิงร้อยละ 0.5 ด่ืมแบบอันตรายร้อยละ 14.7 ในชาย ร้อยละ 2.2 ในหญิง และทโ่ี ดดเด่นมากคอื การด่ืมหนักในโอกาสเดียวท่ีพบในวัยรุ่นชายถึงร้อยละ 50 และวัยรุ่นหญิงร้อยละ 8.8 (Aekplakorn et al., 2008) และในปี พ.ศ.2550 (คณะกรรมการบริหารเครือข่ายวิชาการสารเสพติด, 2551) พบว่า วัยรุ่น อายุ 12-19 ปีดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบเสี่ยงน้อยร้อยละ 66 ในชาย และร้อยละ 84.2 ในหญิง ดื่มแบบเส่ียงรอ้ ยละ 26.5 ในชาย และ ร้อยละ 13.2 ในหญิง ดื่มแบบอันตรายร้อยละ 4.5 ในชาย ร้อยละ 2.2 ในหญิง และดื่มแบบติดรอ้ ยละ 3 ในชาย รอ้ ยละ 0.4 ในหญิง จากการสารวจครงั้ หลังจะเห็นได้ว่าวัยรุ่นชายดมื่ แบบผดิ ปกติถงึ หนึ่งในสามคือ ร้อยละ 34 วัยรุน่ หญิงรอ้ ยละ 15.8 นบั ว่ามจี านวนไมน่ ้อย การดื่มแบบผิดปกติหรือมากเกินกว่าระดับท่ีปลอดภัยก่อให้เกิดผลเสีย และผลกระทบในแนวกว้าง ผู้ท่ีด่ืมในปริมาณมากอาจมีภาวะพิษจากแอลกอฮอล์ (Alcohol intoxication) เมาค้าง(Hangover) การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุการจราจร จากอุบัติเหตุในการทางาน ตลอดจนการใช้ความรุนแรงระหว่างบุคคล (Interpersonal violence) (Cherpitel, 1993; Hingson & Howland, 1993; USDepartment of Health and Human Services, 1997) ผู้ท่ีดื่มเป็นประจาจะส่งผลในระยะยาว ได้แก่โรคต่างๆ มากกว่า 60 โรค เช่น กระเพาะอาหารอักเสบ ความดันโลหิตสูง มะเร็ง ตับแข็ง การทาร้ายตนเอง ติดสุรา โรคจิตจากสุรา โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคอื่นๆ (Gutjahr, Gmel &Rehm, 2001; จรุ ยี ์ อสุ าหะ และเศรณีย์ จุฬาเสรีกุล, 2548; บัณฑิต ศรไพศาลและคณะ, 2549) และถา้ เปน็ ผูด้ ่มื ทอี่ ายุนอ้ ยหรือยังไม่เข้าสวู่ ยั ผ้ใู หญจ่ ะได้รับผลจากการดื่มส่วนใหญ่เป็นการบาดเจ็บและตายจากอุบัติเหตุจราจร (Bohning & Na Ayutha, 1997; Swaddiwudhipong, Nguntra, Mahasakpan,Koonchote & Tantriratna, 1994; U.S. Department of Health and Human Services, 2006) เนื่องจากขับรถในขณะท่ีมีอาการมึนเมาสุรา (Lynskey, Bucholz, Madden & Heath, 2007) รวมทั้งผู้ดื่มท่ีอายุต่ากว่า 16 ปี การพัฒนาของสมองส่วนความคิดความจาจะถูกขัดขวางส่งผลเสียต่อการคิดและ
3ความจาจนทาให้เกิดปัญหาทางการเรียน (Addictions and Mental Health Division, 2009; First &Tasman, 2009; Zeigler et al., 2005) นอกจากน้ีผู้ด่ืมที่เป็นวัยรุ่นหญิงอาจเกิดการมีเพศสัมพันธ์ท่ีไม่ปลอดภัยและมีโอกาสต้ังครรภ์ได้ (Dye & Upchurch, 2006) สาหรับประเทศไทยจากการสารวจพบวา่ เยาวชนทีเ่ รียนในระดับมัธยมและอาชีวศกึ ษาท่ีดืม่ เครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลใ์ นชว่ ง 12 เดือนที่ผ่านมาได้รบั ผลจากการด่ืมหลากหลายและแตกต่างระหว่างหญิงและชาย กล่าวคือ เยาวชนชายมีอาการเมาค้างรอ้ ยละ 41.8 เรยี นไม่ทันหรือทาข้อสอบได้ไม่ดีร้อยละ 38.3 ขับข่ีรถหลังด่ืมสุราร้อยละ 43.4ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุร้อยละ 19 ทะเลาะวิวาทหรือทาร้ายร่างกายร้อยละ 31.4 เยาวชนหญิงมีอาการเมาค้างร้อยละ 34 เรียนไม่ทันหรือทาข้อสอบได้ไม่ดีร้อยละ 30.2 ขับขี่รถหลังดื่มสุราร้อยละ 28.5ได้รับบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุร้อยละ 20.4 ทะเลาะวิวาทหรือทารายร่างกายร้อยละ 15.7 เยาวชนหญิง(บณั ฑิต ศรไพศาล, จุฑาภรณ์ แกว้ มงุ คุณ, & กมลา วัฒนพร, 2553) จากผลการสารวจดังกล่าวน่าจะเป็นท่ีตระหนักได้ว่าผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับวัยรุ่นจากการดื่มมีจานวนไม่น้อย และผลดังกล่าวย่อมกระทบถึงความสูญเสียทางเศรษฐกิจ สังคม และกาลังสาคัญของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นการป้องกันการดม่ื เคร่อื งดื่มแอลกอฮอลข์ องวัยรนุ่ ไทยจึงเปน็ สิง่ สาคัญและจาเป็น ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2548 เป็นต้นมาประเทศไทยเริ่มดาเนินนโยบายการควบคุมการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ด้วยมาตรการลดโอกาสการเข้าถึง การข้ึนภาษีเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การลดปัญหาการขับข่ียานพาหนะขณะมึนเมาสุรา การให้ความรู้และการเสริมสร้างทักษะทางสังคมเพ่ือปฏิเสธการดื่ม การควบคุมการโฆษณา การรณรงค์ เพื่อลด ละ เลิก (ทักษพล ธรรมรังสีและคณะ, 2553)ม า ต ร ก า รเ ห ล่ า นี้ มุ่ ง ท่ี ก ลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย คื อ ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ช น ท่ั ว ไ ป ซึ่ ง เ ป็ น ก า รป้ อง กั น แ บ บ ส า ก ล(Universal prevention) (Kumpfer, 2011) และกลมุ่ เยาวชนท่วั ไปที่ยงั ไม่ได้เข้าสู่วงการนักด่ืมซึ่งเป็นการป้องกันแบบเฉพาะกลุ่ม (Selective prevention) แต่กลุ่มวัยรุ่นที่เข้าสู่วงการนักด่ืมแล้วซึ่งต้องการการป้องกันในระดับท่ีสาม (Tertiary prevention) หรือการป้องกันแบบชี้เฉพาะ(Indicated prevention) ยังไม่มีมาตรการท่ีจะควบคุมการด่ืมและผลกระทบจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของวยั รนุ่ กลมุ่ นี้ สาหรับการป้องกันแบบช้ีเฉพาะซึ่งเป็นการบาบัดผู้ดื่มท่ีมีความเส่ียงสูงแต่ยังไม่มีภาวะติดให้ลดการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ใช้การบาบัดแบบส้ัน (Brief intervention) (Babor et al., 2001)ซ่ึงให้ผลดีในกลุ่มวัยผู้ใหญ่แต่สาหรับวัยรุ่นนั้นผลของการบาบัดแบบย่อยังมีความคลาดเคลื่อนเหน็ ไดจ้ ากการตดิ ตามผลในประเทศสหรฐั อเมรกิ ากับกลุม่ นักศกึ ษามหาวิทยาลัยปี 1 หลังการบาบัด4 ปี พบว่าปัญหาจากการด่ืมลดลง แต่การดื่มไม่ลดลง (Baer, Kivlahan, & Blume, 2001) การบาบัดแบบย่ออาจไม่เหมาะสมหรือไม่สามารถไปลดปัจจัยที่ส่งเสริมการดื่มของวัยรุ่นได้ และอาจไม่เหมาะสมกับวัยรุ่นไทยอีกด้วย จึงเป็นประเด็นที่น่าสงสัยว่าการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุ่นไทย
4ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยใดบ้างมาตรการที่มีอยู่จึงไม่ครอบคลุมไปถึง และมาตรการหรือการจัดกระทาท่ีควรมนี ้นั ควรเป็นอยา่ งไร จา ก ก า รท บ ท วนวร รณก ร รม เกี่ ย วกั บ ก า รศึ ก ษ า ปั จ จัย ท่ี สั ม พั นธ์ กั บ ก า ร ดื่ม เค รื่ อง ดื่ มแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นไทยตั้งแต่ปีพ.ศ.2540-2552 พบว่า การศึกษา 19 ฉบับรายงานถึงปัจจัยท่ีมีความสมั พนั ธ์กบั การดืม่ ท่ีไม่ไดร้ ะบุการดื่มแบบผิดปกติ ไม่พบการศึกษาในเรือ่ งปจั จัยท่ีสัมพันธ์กับการด่ืมแบบผิดปกติ ดังน้ันเพื่อค้นหาคาตอบจากข้อสังเกตดังกล่าวผู้วิจัยจึงมุ่งความสนใจไปที่การศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นก่อนเป็นการเรม่ิ ตน้ จากน้นั คาตอบทไี่ ด้มาจะนาไปสกู่ ารปอ้ งกันตอ่ ไป การศึกษาปัจจัยท่ีสัมพันธ์กับการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และการใช้สารเสพติดของวัยรุ่นในช่วง 10 กว่าปีท่ีผ่านมา จานวน 57 เรื่อง ใช้ทฤษฎีและมโนทัศน์ (Concept) ที่เหมือนหรือใกล้เคยี งกนั มาเปน็ กรอบในการศกึ ษาเพื่ออธบิ ายพฤติกรรมของวัยรุ่น ได้แก่ การแสวงหาความท้ายทาย ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม ทฤษฎีพฤติกรรมที่เป็นปัญหา(Problem Behavior Theory) และทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก (Theory Triadic Influence) ทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกเป็นทฤษฎีท่ีมาจากการบูรณาการทฤษฎีหลายทฤษฎีซ่ึงรวมทั้งทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนและทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคม ทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกน้ีอธิบายสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหาของวัยรุ่นใน 2 มิติ คือ มิติแรก กล่าวถึงปัจจัยจาก 3 กลุ่มอิทธิพล ได้แก่อิทธิพลจากภายในตัวบุคคล จากบริบทสังคม จากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม และพฤติกรรมอ่ืนท่ีเก่ียวข้อง มิติท่ีสอง แสดงถึงระดับของอิทธิพลที่มีผลต่อพฤติกรรม ได้แก่ ปัจจัยอัลติเมท (Ultimatefactors) ปัจจัยดิสทอล (Distal factors) ปัจจัยพรอซิมอล (Proximal factors) ด้วยขอบเขตทั้ง 2 มิตินี้สามารถอธิบายพฤติกรรมวัยรุ่นได้ครอบคลุมความเป็นบุคคล กล่าวคือ ครอบคลุมทั้งปัจจัยจากลักษณะทางชีวเคมิ (Biochemical factors) ปัจจัยจากอารมณ์ความรู้สึก ปัจจัยจากการคิด ปัจจัยจากสังคมและวฒั นธรรม ในขณะทที่ ฤษฎีพฤตกิ รรมท่เี ป็นปญั หา และการแสวงหาความท้าทาย มีปัจจัยท่ีอธิบายได้ครอบคลุมน้อยกว่า อีกทั้งทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกมีจานวนปัจจัยในทฤษฎีไม่มากเกินไป คือจานวน 23 ปัจจัย และความสัมพันธ์ของปัจจัยไม่ซับซ้อนเม่ือเทียบกับทฤษฎีพฤติกรรมท่ีเป็นปญั หา ซึ่งมจี านวนปัจจัย 50 ปจั จยั ดว้ ยความเหมาะสมดังกล่าวผวู้ จิ ัยจึงได้เลือกทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดกิ เป็นกรอบของการศึกษา ด้วยข้อจากัดของทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกท่ีนิยามของปัจจัยมีความเป็นนามธรรมและมจี านวนมาก อีกทั้งยังไม่มีการศึกษาใดนามาอธิบายการดื่มแบบผิดปกติ ทาให้ผู้วิจัยไม่สามารถยกปัจจยั ท้งั หมดของทฤษฎีมาศึกษาได้ ผวู้ จิ ยั จึงใชท้ ฤษฎอี ทิ ธิพลไทรอาดิกเป็นกรอบชี้นาเพ่ือหาปัจจัยสาคัญในการอธิบายพฤติกรรมการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นไทยโดยการนา
5นิยามของปัจจัยจากทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกเป็นกรอบในการกาหนดนิยามของปัจจัยการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่น เม่ือได้นิยามของปัจจัยการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นใหม่แล้ว ผู้วิจัยนามาเปรียบเทียบกับนิยามของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการดื่มมากเกินกว่าระดับที่ปลอดภัย นั่นก็คือ การดื่มหนักในโอกาสเดียว/การดื่มอย่างหนัก และการด่ืมแบบเส่ยี งจากการทบทวนวรรณกรรมจานวน 20 เรื่อง การเปรียบเทียบพบว่าปัจจัยจากการทบทวนวรรณกรรมจานวน 14 ปัจจัย มีความสอดคล้องและมีขอบเขตที่ครอบคลุมนิยามของปัจจัยท่ีถูกกาหนดขึ้นใหมต่ ามกลมุ่ อิทธิพลของทฤษฎีอทิ ธพิ ลไทรอาดกิ ไดแ้ ก่ ปจั จัยในกลมุ่ อทิ ธิพลภายในตัวบคุ คล คอื การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสงั คม ความโน้มเอียงที่จะด่ืม การควบคุมการด่ืม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ปัจจัยในกลุ่มอิทธิพลบริบททางสังคม คือ การมีเพ่ือนด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัว และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ปัจจัยในกลุ่มอิทธิพลส่งิ แวดล้อมทางวัฒนธรรม คือ การร่วมกิจกรรมทางศาสนา ความร้ดู า้ นการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์การคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดี การประเมินค่าผลจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ และทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และพฤติกรรมอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องคือการสูบบุหรี่ ผู้วิจัยนาปัจจัยทั้ง 14 ปัจจัย ดังกล่าวมาศึกษาอิทธิพลที่มีต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่น แต่เน่ืองจากปัจจัยค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยหลักของกลุ่มอทิ ธพิ ลส่ิงแวดลอ้ มทางวัฒนธรรมท่ีนิยามของปัจจัยจากการทบทวนวรรณกรรมครอบคลุมไปไมถ่ ึง ผูว้ จิ ยั จึงนาปัจจยั นี้ร่วมในการศึกษาด้วย จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดหนึ่งใน 19 จังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการคมนาคม และขนส่งสะดวกเนื่องจากเป็นศูนย์กลางการสัญจรทั้งทางรถไฟ รถยนต์ และเครื่องบินมีความเจริญของเมืองสูงซึ่งเห็นได้จาก มีห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ 8 แห่ง โรงภาพยนตร์ 4 แห่งในเขตเทศบาลมีชุมชนแออัด 2 ชุมชน มีสถานบันเทิง/สถานบริการ จานวน 144 แห่ง หอพัก/ท่ีพักอาศัยเชิงพาณิชย์ จานวน 619 แห่ง ร้านเกมส์/อินเตอร์เน็ต จานวน 714 แห่ง โต๊ะสนุกเกอร์ จานวน12 แห่ง แหล่งมั่วสุม/สวนสาธารณะ จานวน 3 แห่ง (ศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพ่ือเอาชนะยาเสพติดจังหวัดขอนแก่น, 2550) นอกจากนี้จังหวัดขอนแก่นยังเป็นตั้งของสถานศึกษาจานวนไม่น้อยกล่าวคือ มีจานวน 164 แห่ง ประกอบด้วยสถาบันระดับอุดมศึกษาจานวน 14 แห่ง วิทยาลัยที่เปิดสอนสายอาชีพ 24 แห่ง และโรงเรียนสอนสายสามัญ จานวน 126 แห่ง (วิกิพีเดีย, 2554a, 2554b;สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2553) สถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาและสถานศึกษาท่ีเปิดสอนสายอาชีพส่วนใหญ่ต้ังอยู่ในเขตเมือง เยาวชนอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปที่เข้าเรียนในสถานศกึ ษาเหล่าน้สี ว่ นใหญม่ ิได้มภี มู ิลาเนาอยใู่ กล้กบั สถานศึกษา ต้องเข้ามาพักในหอพักที่ใกล้กับ
6สถานศึกษา จากการเป็นเมอื งทม่ี ีการขนส่งสะดวก มีความเป็นเมืองสูง มีหอพัก แหล่งอานวยความสะดวก และแหล่งบันเทิงจานวนมากตามจานวนสถานศึกษาท่ีเพิ่มขึ้น จึงทาให้เมืองขอนแก่นมีพื้นท่ีท่ีเอื้อต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของวัยรุ่น (จินตนา วงศ์วาน, 2548; สาวิตรี อัษณางค์กรชัยและคณะ, 2551) มากตามไปด้วย ด้วยเหตุนี้จึงพบได้ว่าขอนแก่นเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนนักเรียนดื่มไม่น้อยคือ ร้อยละ 32.3 เป็นนักเรียนสายอาชีพมากกว่านักเรียนสายสามัญ (นิรุจน์ อุทธาและคณะ,2548) และยังเป็นพื้นท่ีท่ีเกิดผลจากการดื่มเช่นกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งพบว่าวัยรุ่นจานวนมากมีเพศสัมพันธ์ไม่ปลอดภัยและก่อนวัยอันควร (ณมน ธนินธญางกูร, 2552; สุชาดา สุวรรณคา, 2542)ซงึ่ ส่วนใหญ่เปน็ วัยร่นุ ท่ีเรียนสายอาชีพ (ศูนย์อนามัยที่ 6 จังหวัดขอนแก่น, 2551) และมีอุบัติการณ์ของการเกิดอุบัติเหตุจราจร(Osk613.net, 2548; ศูนย์ข้อมูล สสส., ม.ป.ป.) อยู่ในลาดับต้นๆของจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แม้ว่ายังไม่มีการรายงานความชุกของการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกตขิ องกลมุ่ นักเรียนสายอาชีพในจังหวัดขอนแก่นแต่จากท่ีพบว่านักเรียนสายอาชีพมีพฤติกรรมการด่ืมมากกว่านักเรียนสายสามัญและมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพอ่ืนอันเน่ืองจากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีโดดเด่น กลุ่มนักเรียนสายอาชีพจึงน่าจะมีโอกาสเป็นผู้ดื่มแบบผิดปกติและได้รับผลจากการด่ืมมากว่านักเรียนในสายสามัญ การป้องกันอันตรายจากการด่ืมและลดพฤติกรรมการดื่มของนักเรียนในกลุ่มนี้จึงควรพิจารณาศึกษาก่อนเป็นอันดับแรก หากลดพฤตกิ รรมการดมื่ ลงไดจ้ ะนาไปสู่การลดพฤติกรรมเส่ียงอ่ืนๆลงในลาดับต่อมา ดังน้ันผู้วิจัยจึงเลือกศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติในกลุ่มนักเรียนสายอาชีพของจังหวดั ขอนแก่น เน่อื งด้วยการศึกษาท่ผี ่านมาแสดงให้เห็นวา่ ความแตกตา่ งทางเพศ และอายุมีอิทธิพลต่อการดื่มอยา่ งผิดปกตขิ องวัยรุน่ กลา่ วคือ เพศชายมีโอกาสเป็นผู้ดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์อย่างผิดปกติสูงกว่าเพศหญิง (Bellis et al., 2007; Griffin, Botvin, & Epstein, 2000; Reboussin, Songa, Shresthab,Lohmana, & Wolfson, 2006 ; Tyssen, Vaglum, Aasland, Gronvold, & Ekeberg, 1998) และผู้ที่มีอายุต้ังแต่ 15 ปีขึ้นไปมีความเสี่ยงต่อการเพิ่มการดื่มอย่างผิดปกติสูงกว่าผู้ท่ีมีอายุต่า กว่า 15 ปี(Cardenal & Adell, 2000) ในการศึกษานี้ผู้วิจัยจึงควบคุมตัวแปรทางลักษณะประชากรโดยแยกศกึ ษากลมุ่ เพศชาย และกล่มุ เพศหญิง ที่มีช่วงอายุ 15 ปีข้ึนไปแต่ไมเ่ กิน 19 ปี2. คาถามการวิจัย ปัจจัยตามกรอบแนวคิดทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกมีอิทธิพลต่อการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกติของวัยรุน่ หญงิ และชายในจงั หวัดขอนแก่นหรือไม่ มากนอ้ ยเพยี งใด
73. วตั ถุประสงค์การวจิ ัย การศกึ ษานมี้ ีวตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ตรวจสอบอทิ ธิพลของปจั จยั ตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกที่มีต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงและชายในจังหวัดขอนแก่นโดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เฉพาะดังนี้ 3.1 เพ่ือตรวจสอบอิทธิพลของปัจจัยจากภายในตัวบุคคล ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย ความกังวลในการเข้าสังคม ความโน้มเอียงที่จะดื่ม การควบคุมการดื่ม และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ที่มีต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยร่นุ หญงิ และชายในจังหวัดขอนแก่น 3.2 เพื่อตรวจสอบอิทธิพลของปัจจัยจากบริบททางสังคม ได้แก่ การมีเพ่ือนดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัว และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ที่มีต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นหญงิ และชายในจงั หวดั ขอนแก่น 3.3 เพื่อตรวจสอบอิทธิพลของปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม ได้แก่ การร่วมกิจกรรมทางศาสนา ความรู้ด้านการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ค่านิยมด้านการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ การคาดหวังผลในการดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางทด่ี ี การประเมินค่าผลจากการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ท่ีมีต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลแ์ บบผดิ ปกตขิ องวัยร่นุ หญงิ และชายในจังหวดั ขอนแกน่ 3.4 เพ่ือตรวจสอบอทิ ธพิ ลของพฤติกรรมอนื่ ท่เี กีย่ วข้อง คือ การสูบบุหรี่ ท่ีมีต่อการดื่มเครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์แบบผิดปกตขิ องวยั รนุ่ หญิงและชายในจงั หวดั ขอนแก่น4. สมมติฐานการวิจยั ปจั จัยตามกรอบแนวคิดทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก มีอิทธิพลต่อการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นหญิงและชายในจังหวัดขอนแกน่5. ขอบเขตของการวจิ ัย การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบตัดขวาง (Analytical cross-sectional study)ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงกันยายน 2553 ในกลุ่มวัยรุ่นหญิงและชายท่ีมีอายุ 15-19 ปี เรียนในสถาบันการศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรสายอาชีพ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ จังหวัดขอนแก่นปีการศกึ ษา 2553
86. นยิ ามที่ใช้ในการวิจยั 6.1 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่น หมายถึง การดื่มเคร่ืองดื่มทุกชนิดท่ีมีแอลกอฮอล์ผสมอยู่มากเกินกว่าระดับท่ีปลอดภัย มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย หรือมีอันตรายต่อสุขภาพ ประเมินและแยกระดับด้วยคะแนนจากแบบคัดกรองภาวะผิดปกติจากการด่ืมสุรา(The Alcohol Use Disorders Identification Test) ฉบับภาษาไทยท่ีแปลโดยกรมสุขภาพจติ (2547) 6.2 วัยรุ่น หมายถึง นักเรียนสายอาชีพหญิงและชายท่ีมีอายุอยู่ในช่วง 15-19 ปี กาลังศกึ ษาอยู่ในชั้นประกาศนยี บัตรวิชาชีพ โรงเรียนในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ของจังหวัดขอนแก่นท้ังหญิงและชายในปีการศกึ ษา 2553 6.3 การแสวงหาความท้าทาย หมายถึง ลักษณะความต้องการความแตกต่าง ความแปลกใหม่ความซับซ้อน และประสบการณ์ท้าทาย ด้วยการเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเสี่ยงทางร่างกายสังคม กฎหมาย และการเงินของวัยรุ่นชายและหญิงใน 4 ด้าน คือ ด้านความรู้สึกชอบในสิ่งที่ตื่นเต้นเร้าใจและเส่ียงภัย (Thrill and adventure) ด้านความต้องการประสบการณ์ในการแสวงหาหรือสารวจส่ิงใหม่(Experience seeking) ด้านการไม่ยับยั้งชั่งใจหรือข่มใจ (Disinhibition)ด้านความรู้สึกที่ไวต่อความน่าเบ่ือหน่าย (boredom susceptibility) วัดจากแบบสอบถามบุคลิกภาพแบบแสวงหาความท้าทาย(Sensation Seeking Personality Questionnaire: SSPQ) ของวีณา คันฉ้อง(Chanchong, 2004) 6.4 ความกังวลในการเข้าสังคม หมายถึง ความยุ่งยากใจของวัยรุ่นชายหรือหญิงเมื่อพบปะและพูดกับบุคคลอ่ืน ได้แก่ เพอ่ื นร่วมช้ันเรียน เพศตรงข้าม หรือคนท่ีไม่รู้จักคุ้นเคย ประเมินโดยแบบประเมินที่แปลมาจากแบบประเมินความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (The SocialInteraction Anxiety Scale: SIAS) ของแมททคิ และคลารค์ (Mattick & Clarke, 1998) 6.5 ความโน้มเอียงท่ีจะด่ืม หมายถึง การคิดคานึงถึงการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ใน3 ประการ คือ การคิดถึงการดื่มตลอดเวลา การรับรู้ความยากในการควบคุมการดื่ม และการคิดถึงการด่ืมเพ่ือลดอารมณ์ขุ่นมัว ประเมินโดยแบบสอบถามที่แปลมาจากชุดแบบสอบถามความยวนใจในการด่ืมและการจากัดการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ (The Temptation and Restraint Inventory:TRI) ของโคลลนิ และแลปป์ (Collins & Lapp) (Collins & Lapp, 1992) 6.6 การควบคมุ การดืม่ หมายถงึ การคดิ คานึงถึงความพยายาม และการวางแผนลดการดื่มลงประเมนิ โดยแบบสอบถามที่แปลมาจากชดุ แบบสอบถามความยวนใจในการด่ืมและการจากัดการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ (The Temptation and Restraint Inventory: TRI) ของโคลลินและแลปป์ (Collins & Lapp) (Collins & Lapp, 1992)
9 6.6 สมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง การรับรู้ระดับความเชื่อมั่นในความสามารถของวัยรุ่นในการปฏิเสธ/ต้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในสถานการณ์ต่างๆท่ีเอื้อต่อการดื่ม 3 สถานการณ์ ได้แก่ สถานการณ์ที่มีความกดดันทางสังคมสถานการณ์ท่ีมีการผ่อนคลายอารมณ์และความรู้สึก และสถานการณ์ท่ีเป็นโอกาสท่ีเอื้อต่อการด่ืมประเมินโดย แบบสอบถามท่ีแปลมาจากแบบสอบถามสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ฉบับปรับปรุง(the Drinking Refusal Self-Efficacy Questionnaire-Revised:DRSEQ-R) ของโออี แฮสกิง และยัง (Oei, Hasking & Young) (Oei, Hasking, & Young, 2005) 6.7 การมีเพื่อนดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง การับรู้จานวนเพ่ือนท่ีดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลข์ องวยั รนุ่ ชายและหญิง ใน 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ไม่มีเพื่อนด่ืม เพ่ือน 2-3 คนดื่ม และครึ่งหนึ่งของกลุ่มเพ่อื นดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ (Griffin et al., 2000; Reboussina et al., 2006) 6.8 การดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัว หมายถึง การับรู้ความถี่ของการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของผู้ใหญ่ในครอบครัว ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาของวัยรุ่นชายและหญิง(Colder et al., 1997; Raffaelli et al., 2007) 6.9 บรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง การรับรู้ของวัยรุ่นชายและหญิงเกี่ยวกับปริมาณเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์โดยท่ัวไปท่ีเพื่อนวัยเดียวกันดื่ม และการรับรู้ระดับความยินยอมหรือการยอมรับเร่ืองการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์จากพ่อแม่หรือผู้ปกครองและเพ่ือน (Neighbors, Lee, Lewis, Fossos, & Larimer, 2007) ประเมินโดย แบบประเมินบรรทัดฐานทางสังคมดา้ นการดมื่ เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ทีผ่ ู้วจิ ยั พฒั นาขนึ้ เอง 6.10 การร่วมกิจกรรมทางศาสนา หมายถึง ความถี่ของการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาในปที ่ีผา่ นมา (Luczak, Corbett, Oh, Carr, & Wall, 2003; Tyssen et al., 1998) 6.11 ความรู้ด้านการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ ระดบั การด่มื ท่ีไม่เปน็ อันตราย และผลที่เกดิ ข้ึนจากการดืม่ เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีวัยรุ่นชายและหญิงระลึกได้ ประกอบด้วยเร่ือง ลักษณะของเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ การดูดซึมเข้าสู่ร่างกายระดับการด่ืมที่ปลอดภัย และอันตรายจากการด่ืมแอลกอฮอล์ ประเมินโดยแบบวัดความรู้ท่ีผู้วิจัยสร้างขน้ึ เอง 6.12 ค่านิยมด้านการด่มื เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง ระดับการให้คุณค่า ความสาคัญและการยอมรับของวัยรุ่นชายและหญิงที่มีต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ซ่ึงการให้คุณค่าความสาคญั หรือการยอมรับนี้นักเรียนได้มาหรือรับรู้จากคุณค่าท่ีบุคคลอื่นๆในสังคมให้ต่อการด่ืมเครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์ ประเมินโดยแบบสอบถามค่านิยมการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ท่ีผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง
10 6.13 การคาดหวังผลในการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ในทางที่ดี หมายถึง ความเชื่อ/คาดหวังในผลทีจ่ ะเกดิ ขน้ึ จากการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของวัยรุ่นชายและหญิงในทางที่ดี 4 ด้านไดแ้ ก่ ดา้ นการเขา้ สังคม (Sociability) ด้านการลดความตึงเครียด (Tension reduction) ด้านความกล้าหาญ (Liquid courage) ด้านความสามารถทางเพศ (Sexuality) ประเมินจากแบบสอบถามท่ีแปลจากแบบสอบถามการคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบสมบูรณ์ (The ComprehensiveEffects of Alcohol: CEOA) ที่พัฒนาข้ึนโดย ของโฟรมม์ สทรูท และแคแปลน (Fromme Stroot &Kaplan, 1993) 6.14 การประเมินค่าผลจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หมายถึง ระดับการตีค่าผลที่คาดว่าจะเกิดจากการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดีของวัยรุ่นชายและหญิงจากไม่ดีจนถึง ดีประเมินจากแบบสอบถามที่แปลจากแบบสอบถามการคาดหวังผลในการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบสมบูรณ์ (The Comprehensive Effects of Alcohol: CEOA) ที่พัฒนาข้ึนโดย ของโฟรมม์สทรทู และแคแปลน (Fromme Stroot & Kaplan, 1993) 6.15 ทัศนคติต่อการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ หมายถึง ความคิดเห็นของวัยรุ่นชายและหญิงที่มีต่อการดืม่ เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ตามทศิ ทางของความเชื่อและการตีค่าผลท่ีคาดว่าจะเกิดจากการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในทางให้ประโยชน์หรือโทษ (Faulkner, Hendry, Roderique, &Thomson, 2006) ประเมินจากแบบแบบสอบถามทัศนคติต่อการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีผู้วิจัยสรา้ งขึน้ เอง 6.16 การสูบบุหร่ี หมายถึง ประสบการณ์การสูบบุหร่ีของวัยรุ่นชายและหญิงในช่วง 1เดือนที่ผ่านมา จัดกลุ่มเป็น ไม่เคยสูบ และเคยสูบ (Aekplakorn et al., 2008; Kypri, 2002;Reboussin, Song, Shrestha, Lohman, & Wolfson, 2006)7. ประโยชน์ที่ได้รับ 7.1 ข้อค้นพบท่ีได้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่อธิบายการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติที่มีความเฉพาะเพศ คือวัยรุ่นหญิง และวัยรุ่นชาย สามารถนาไปปรับปรุงความรู้ทางการพยาบาลเด็กและวยั รุน่ รวมถงึ การพยาบาลสขุ ภาพจิตและจติ เวชในเรอื่ งของการป้องกันอันตรายจากการดื่มเครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ในวัยรนุ่ ท่ีมคี วามละเอยี ดอ่อนเชงิ เพศภาวะ 7.2 เป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดขอนแก่นนาไปกาหนดยุทธศาสตร์ร่วมเพื่ อการป้องกันอันตรายที่เกิดจากการด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติ ของวยั รนุ่ ในระยะส้นั และระยะยาว
11 7.3 เป็นแนวทางสาหรับบคุ ลากรทางสขุ ภาพ ในการออกแบบโปรแกรมเพื่อลดการดื่มเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอลข์ องวัยรนุ่ ที่มคี วามละเอียดออ่ นเชงิ เพศภาวะ8. กรอบแนวคิดท่ีใชใ้ นการศึกษา การศึกษานี้มุ่งไปที่การด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่นเป็นหลัก โดยนาทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิก(Flay & Petraitis, 1994) มาเป็นกรอบชี้นาในการค้นหาปัจจัยท่ีคาดว่าจะอธบิ ายการดมื่ เครอ่ื งด่ืมแอลกอฮอล์แบบผดิ ปกตขิ องวยั รุ่น การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรุ่น(Problematic drinking: PD) สาหรับการศึกษาน้ีหมายถึง การดื่มเครื่องดื่มทุกชนิดที่มีแอลกอฮอล์ผสมอยู่มากเกินกว่าระดับที่ปลอดภัยมีความเสย่ี งต่อการเกิดอันตราย หรือมีอันตรายต่อสุขภาพ การด่ืมในรูปแบบน้ีคาดว่าได้รับอิทธิพลจากปัจจัยตามกลุ่มอิทธิพลภายในตัวบุคคล จานวน 5 ปัจจัย ได้แก่ การแสวงหาความท้าทาย(Sensation seeking: SS) ความกังวลในการเข้าสังคม (Social interaction anxiety: SIA) ความโน้มเอียงท่ีจะดื่ม (Cognitive emotional preoccupation: CEP) การควบคุมการด่ืม (Cognitivebehavioral control: CBC) และสมรรถนะแห่งตนในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์(Drinking refusal self-efficacy: DRSE) ปัจจัยจากกลุ่มอิทธิพลบริบททางสังคมจานวน 3 ปัจจัยได้แก่ การมีเพ่ือนดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ (Peer drinking: PeD) การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ของสมาชิกในครอบครัว (Parental drinking: PaD) และบรรทัดฐานทางสังคมด้านการดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ (Perceived drinking norms: PDN) ปัจจัยจากกลุ่มอิทธิพลสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมจานวน 6 ปัจจัย ได้แก่ การร่วมกิจกรรมทางศาสนา (Religion affiliation: RA) ความรู้ด้านการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (Knowledge about drinking alcohol: KDA) ค่านิยมด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (Values of alcohol use: VAU) การคาดหวังผลในการดื่มเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ในทางท่ีดี(Positive alcohol expectancies: PAE) การประเมินค่าผลจากการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์(Expectancy valuations: EV) และทัศนคติต่อการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ (Attitude towardalcohol: ATA) และพฤตกิ รรมอนื่ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง คอื การสูบบุหรี่ (Smoking: Sm) แสดงดังภาพที่ 1
12 อทิ ธิพลจากบริบทท PeD อิทธิพลจากภายในตวั บุคคล SIA SS PDN CEP CBC DRSE Sm PDDRSE คือ สมรรถนะแหง่ ตนในการปฏิเสธการด่มื PD คอื การดม่ื เครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอCEP คอื เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์ Sm คือ การสูบบหุ รี่CBC คือSIA คอื ความโนม้ เอียงที่จะดื่ม PaD คอื การด่ืมเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอSS คือ การควบคุมการดม่ื PeD คือ การมเี พือ่ นด่ืมเครอ่ื งดืม่ แอ ความกังวลในการเขา้ สังคม PDN คือ บรรทัดฐานทางสังคมดา้ น การแสวงหาความท้าทายภาพท่ี 1 กรอบแนวคิดในการศกึ ษาปัจจัยทมี่ อี ทิ ธิพลต่อการดมื่ เคร่อื งดม่ื แอลกอฮอล์แบบผดิ ป
ทางสงั คม อิทธิพลจากสิง่ แวดลอ้ มทางวฒั นธรรม 12 12 PaD RA KDA VAU EV PAE ATAอลแ์ บบผดิ ปกติ ATA คอื ทศั นคตติ อ่ การดม่ื เครือ่ งด่มื แอลกอฮอล์ PAE คือ การคาดหวังผลในการดม่ื เครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ในทางทีด่ ีอลข์ องสมาชกิ ในครอบครัว EV คอื การประเมินคา่ ผลจากการดมื่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์อลกอฮอล์ VAU คือ ค่านิยมดา้ นการดมื่ เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอล์นการดื่มเครอื่ งด่มื แอลกอฮอล์ KDA คือ ความรดู้ า้ นการด่ืมเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอล์ RA คอื การรว่ มกิจกรรมทางศาสนาปกตขิ องวัยรุ่น
บทท่ี 2 วรรณกรรมและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้อง ในการศึกษาเพื่อทดสอบอิทธิพลของปัจจัยตามกรอบทฤษฎีอิทธิพลไทรอาดิกที่มีตํอการด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรํุนในจังหวัดขอนแกํนนี้ ผู๎วิจัยขอนาเสนอการศึกษาและทบทวนวรรณกรรมในเร่ืองการสร๎างองค์ความร๎ูทางการพยาบาล วัยรํุนกับการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ แนวคิดและทฤษฎีที่ใช๎อธิบายพฤติกรรมเส่ียงด๎านการใช๎สารเสพติดของวัยรุํน และปัจจัยท่ีคาดวําจะมีอิทธิพลตํอการดื่มแบบผิดปกติของวัยรํุน อันเป็นฐานคิดท่ีนาไปสูํการศึกษาวิจัยดงั ตํอไปนี้1. การสรา้ งองค์ความรู้ทางการพยาบาล ทฤษฎี (Theory) เป็นข๎อความที่แสดงความสัมพันธ์ของแนวคิดหรือมโนทัศน์ (Concept)ตํางๆเพ่ือบรรยาย อธิบาย ทานาย หรอื ควบคุมปรากฏการณ์ตํางๆที่เกิดขึ้น สามารถเปล่ียนแปลงได๎อาจเป็นจริงในบางปรากฏการณ์ หรือไมํเป็นจริงในบางปรากฏการณ์ ข้ึนอยูํกับข๎อเท็จจริงที่เกิดข้ึนจากการทดสอบ ทฤษฎถี อื วําเป็นแกํนความรขู๎ องศาสตรส์ าขาตาํ งๆทแี่ สดงหรอื อธบิ ายให๎เห็นได๎เชิงประจักษ์ และแกํนความร๎ูน้ีสร๎างหรือพัฒนาข้ึนมาอยํางมีแบบแผนด๎วยวิธีการทดสอบสมมติฐานอยาํ งเป็นระบบ (Chinn & Kramer, 1995) การพยาบาลนบั เปน็ ศาสตร์สาขาหนึ่งและเป็นวิชาชีพ (Walker & Avant, 2005) เน่ืองจากมีแกํนของความร๎ู หรือทฤษฎีในการอธิบาย ทานาย และจัดกระทาตํอสุขภาพของบุคคล และมีการเรยี นรโ๎ู ดยส่งั สมเปน็ ประสบการณ์ในการปฏิบัตกิ ารดูแลบุคคลทกุ ชํวงวัยและทกุ ระดบั ภาวะสุขภาพ(Robert, 1961 อ๎างถึงใน Walker & Avant, 2005) การสร๎างและพัฒนาองค์ความร๎ูทางการพยาบาลมีขอบเขตที่กว๎างกวําศาสตร์สาขาอ่ืนตรงท่ีมีการสร๎างหรือพัฒนาองค์ความร๎ูอยํางมีแบบแผนด๎วยวิธีการทดสอบสมมติฐานเชํนเดียวกับศาสตร์สาขาอื่นและรวมถึงการสร๎างองค์ความรู๎ด๎วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Chinn & Kramer, 1995) ซ่ึงวิธีการเหลํานี้แตกตํางกันข้ึนอยํูกับฐานความเช่ือในการค๎นหาความร/๎ู ความจริง สาหรับปรากฏการณ์การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์แบบผิดปกติของวัยรํุนในจังหวัดขอนแกํนอาจสํงผลท่ีเป็นอันตรายตํอสุขภาพท้ังตํอตัววัยรํุนเองและสํงผลกระทบไปยังผู๎อื่นและครอบครัว หากยังไมํมีการป้องกันอันตรายจากการด่ืมแบบผิดปกติและลดพฤติกรรมการด่ืมแบบผิดปกติ การปฏิบัติการเหลํานี้สาหรับวิชาชีพพยาบาลต๎องปฏิบัติโดยมีองค์ความร๎ูเป็นตัวช้ีนา
14ทฤษฎีท่ีเหมาะสมตํอการนาไปใช๎ในปรากฏการณ์นี้ต๎องเป็นทฤษฎีระดับปฏิบัติ (Practice theory)(Walker & Avant, 2005) ซ่ึง ณ ปัจจุบันยังไมมํ ที ฤษฎีใดทม่ี ีความเหมาะสม ทฤษฎีทีม่ ีอยูํเป็นทฤษฎีระดับกว๎าง (Grand theories) มีความเป็นนามธรรมสูงและใช๎อธิบายพฤติกรรมของวัยรํุนในบริบทของประเทศตะวันตกซึ่งอาจไมํครอบคลุมในการจัดการปัจจัยท่ีสํงเสริมการด่ืมเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ของวัยรุํนในจังหวัดขอนแกํน จึงมีความเหมาะสมสาหรับนามาใช๎ป้องกันอันตรายจากการดื่มแบบผิดปกติและการลดพฤติกรรมการด่ืมแบบผิดปกติได๎น๎อย ทฤษฎีระดับกลาง (Middle-range theory) ทมี่ คี วามเปน็ รปู ธรรม สามารถอธิบายปรากฏการณ์ได๎เฉพาะบางปรากฏการณ์ดังเชํนปรากฏการณ์นี้ สามารถชี้ให๎เห็นปัจจัยสํงเสริมและปัจจัยปกป้องท่ีมีผลตํอการดื่มแบบผิดปกติของวัยรนํุ ในจงั หวัดขอนแกนํ ซงึ่ นาไปสํูการจดั กระทาเพอื่ ลดปัจจัยสํงเสริมและเสริมสร๎างปัจจัยปกป้องซ่ึงก็คือการปอ้ งกันอนั ตรายจากการดม่ื แบบผดิ ปกติและลดพฤตกิ รรมการดื่มแบบผิดปกติของวัยรํุนในจังหวัดขอนแกํนได๎ ทฤษฎีระดับกลางจึงเป็นทางเลือกที่นําสนใจสาหรับการพัฒนาทฤษฎีเพื่อนาไปใช๎ในการป้องกันอันตรายจากการดื่มแบบผิดปกติของวัยรุํนในจังหวัดขอนแกํน ผ๎ูวิจัยเห็นวําทฤษฎีระดับกว๎างที่อธิบายพฤติกรรมเส่ียงของวัยรํุนท่ีมีอยูํสามารถนามา เป็นกรอบช้ีนาในการค๎นหาปัจจัยที่คาดวําจะมีอิทธิพลตํอการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุํนได๎ จึงได๎นามาเป็นกรอบในการพัฒนามโนทัศน์หรือปัจจัยขึ้นและนาการทดสอบสมมติฐานด๎วยวิธีการทางสถิติมาใช๎วิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยท่ีมีตํอการด่ืมแบบผิดปกติของวัยรุํนในจังหวัดขอนแกํน ผลจากการศึกษาจะได๎โมเดล (Model) ความสัมพันธ์เชิงเส๎นตรงที่มีทิศทางเดียวระหวํางปัจจัยท่ีพบวํามีอิทธิพลกับการด่ืมแบบผดิ ปกติของวัยรนุํ2. วยั รุ่นกับการดม่ื เคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ 2.1 ธรรมชาติของวยั รนุ่ วัยรํุนตามคาจากัดความขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization,2009a) หมายถงึ บุคคลทมี่ ีอายอุ ยูํในชํวง 10-19 ปี หรอื เปน็ บคุ คลที่มีวัยเข๎าสํูชํวงเปล่ียนผํานจากเด็กไปเปน็ ผูใ๎ หญซํ ง่ึ มกี ารเปล่ยี นแปลงดงั น้ี 2.1.1 ด้านร่างกาย ในชวํ งของวยั รุนํ มกี ารเจริญเติบโตของรํางกายอยํางรวดเร็วเพื่อไปสํูความสมบูรณ์ของรํางกายที่แสดงถึงความเป็นผ๎ูใหญํ การเจริญเติบ โตด๎านนี้เป็นไปพร๎อมๆกับการเปลี่ยนแปลงด๎านอารมณ์ ความคิด และสังคม แตํการเปลี่ยนแปลงเหลํานี้มีอัตราไมํเทํากันในแตํละด๎าน (Susman, Reiter, Ford, & Dorn, 2002) การเปลี่ยนแปลงทางรํางกายที่สาคัญและทาให๎วัยรุํนมีพฤติกรรมเสี่ยงอันอาจทาให๎เกิดผลเสียตํอสุขภาพ และสังคมคือ ภาวะเจริญพันธุ์
15(Puberty) หรือการมีความสมบูรณ์ทางเพศ ชํวงภาวะน้ีรํางกายของวัยรํุนมีการเปลี่ยนแปลงของสมองและระบบตํอมไร๎ทํอ ด๎วยการเจริญเติบโตเต็มที่ของตํอมใต๎สมอง (Pituitary gland) และตํอมเพศ (Gonad gland) ตํอมใต๎สมอง (Pituitary gland) มีการหล่ังโกรว์ธฮอร์โมน (Growth hormone)ไปกระต๎ุนให๎รํางกายสูงข้ึนและมีน้าหนักเพ่ิมข้ึนอยํางรวดเร็ว กระดูก กล๎ามเน้ือ ระบบไหลเวียนและการหายใจเกิดการเปลยี่ นแปลง ทาใหม๎ คี วามคงทนและแข็งแรงของรํางกายมากข้ึน(Neinstein &Kaufman, 2002) ฮอร์โมนจากตํอมเพศ (Gonad gland) จะไปกระต๎ุนอวัยวะให๎แสดงลักษณะทางเพศปฐมภูมิ (Primary sexuality characteristics) และทุติยภูมิ(Secondary sexuality characteristics)ได๎แกํ รังไขํของเพศหญงิ ผลิตไขํ และเร่ิมมีประจาเดือน อัณฑะของเพศชายผลิตอสุจิและน้าหลํอลื่นและมฝี ันเปยี ก มีขนข้นึ บริเวณอวัยวะเพศ และตามแขนขา หน๎าอกและสะโพกขยาย เด็กชายมีเสียงแตกพราํ มีหนวดเครา (Neinstein & Kaufman, 2002; Plant, 2002) การเข๎าสูํวยั เจริญพนั ธุ์ของวัยรุํนหญิงจะเร็วกวําวัยรํุนชาย วัยรุํนหญิงเริ่มมีประจาเดือนครั้งแรกในชํวงอายุ 9-17 ปี เด็กชายเริ่มมีน้าและอสุจิในชํวง 11.7-15.3 ปี (Neinstein &Kaufman, 2002) ภาวะเจริญพันธ์น้ีแตกตํางกันไปในแตํละบุคคลขึ้นอยํูกับการเปลี่ยนแปลงของสรีระในระบบตํางๆ นอกจากนี้บริบททางสังคมและสิ่งแวดล๎อมยังมีผลตํอภาวะเจริญพันธ์ของวัยรํุนเชํนกัน บาวล์บี (Bowlby, 2005 อ๎างถึงใน Rew, 2005) ช้ีให๎เห็นวําปฏิสัมพันธ์ระหวํางทารกและผู๎เล้ียงดูให๎พ้ืนฐานของการพัฒนาตัวตน (Self-development) ส่ิงแวดล๎อมโดยเฉพาะอยํางย่ิงอาหาร และสถานะทางสุขภาพ มีบทบาทสาคัญตํอภาวะเจริญพันธุ์ ภาวะเจริญพันธ์เกิดข้ึนกับเด็กเร็วหากเด็กได๎รับอาหารสมบูรณ์ และจะเกิดขึ้นช๎าหากเด็กขาดสารอาหารประเภทโปรตีนและแป้งหรอื มีการเจบ็ ปว่ ยเรื้อรงั (Neinstein & Schack, 2002) การเปล่ยี นแปลงที่เกดิ หลงั จากเขา๎ สูํภาวะเจริญพนั ธค์ุ อื การให๎ความสนใจในภาพลักษณ์ของตนเองมากยิ่งข้ึน การนอนไมํหลับที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนจากตํอมไร๎ทํอ ซ่ึงสํงผลตํอการควบคุมอารมณ์ และมีความสัมพันธ์กับความต้ังใจ และพฤติกรรมดังนั้นเม่ือวัยรุํนมีปัญหาการนอนจึงมีแนวโน๎มที่จะมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ (Susman et al.,2002) ภาวะเจริญพันธุ์เป็นสัญลักษณ์ของการเป็นผ๎ูใหญํ สังคมให๎ความหมายแตกตํางกันระหวํางเพศหญิงและชาย ในผ๎ูหญิงการก๎าวผํานจากเด็กเป็นสาว สังคมให๎มองและตีความวําเป็นวัตถุทางเพศ (Sexual object) การให๎ความหมายเชํนนี้ไปมีผลตํอการเกิดปัญหาเรื่องเพศ การดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ และการเสพยาเสพติด ในวัฒนธรรมท่ีถือ เงิน เพศ และความรุนแรงเป็นอานาจ (Rew, 2005) และเม่ือเด็กหญิงเข๎าสํูภาวะเจริญพันธ์ุเร็ว ย่ิงมีโอกาสูงที่จะมีเพศสัมพันธ์แบบไมํปลอดภัย การใช๎สารเสพติด (Wiesner & Ittel, 2002) มีปัญหาทางจิตใจ และมี
16อาการซึมเศร๎า (Graber, Lewinsohn, Seeley & Berooks-Gunn, 1997) ในสํวนของเด็กชายการเปล่ียนผํานไปสูํความเป็นหนุํม สังคมจะคาดหวังต๎องการให๎เป็นผู๎มีอิสระ ไมํพึ่งพิงผ๎ูอื่น รักการผจญภัย มีคุณธรรม มีความแขง็ แกรงํ สามารถปรับตัวและมคี วามยดื หยนํุ (Rew, 2005) การเปลย่ี นแปลงทางสรีระจนมีภาวะเจริญพันธุ์เมื่ออยํูในทํามกลางบริบททางสังคม ยํอมมีอทิ ธพิ ลตํอพฤตกิ รรมหลากหลาย ดังเชนํ การศึกษาของแฮร์เรลล์ และคณะ (Harrellet al., 1998) ทพี่ บวาํ อายุเฉลีย่ ของนกั เรยี นท่ีสูบบหุ ร่เี ปน็ คร้ังแรกเทํากับ 12.3 ปี การทดลองสูบบุหร่ีมีความสัมพันธ์กับความเป็นหนุํมสาวหรือภาวะเจริญพันธุ์ เด็กท่ีมีระดับภาวะเจริญพันธุ์มากกวําเพ่ือนมีแนวโน๎มทดลองสูบบุหรี่มากกวํา เชํนเดียวกับผลการศึกษาของวิชสตรอม (Wichstrøm,2001) ที่พบวําเด็กนักเรียนมัธยมปลายชาวนอร์เวย์ที่เข๎าสูํชํวงวัยเจริญพันธ์เร็วโดยเฉพาะนักเรียนชายมคี วามสัมพนั ธก์ ับการด่ืมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2.1.2 ดา้ นสติปญั ญา เด็กท่ียํางเข๎าสูํวัยรุํนระยะต๎น (อายุ 10-13 ปี) สํวนใหญํยังมีความคิดเป็นรูปธรรม คอื คดิ ได๎เฉพาะทเ่ี ห็น หรือได๎ยิน เรยี นรแู๎ บบลองผดิ ลองถูก จนเม่ือผํานมาเป็นระยะกลาง(อายุ 14-16 ปี) และระยะปลาย (17-19 ปี) คํอยๆพัฒนาเป็นความคิดท่ีเป็นนามธรรมและมีเหตุผลมากขึ้น การให๎ความสาคัญกับความคิดของตนเอง และยึดความคิดของตนเองเป็นศูนย์กลางจะคํอยๆลดลงเมื่อเข๎าสํูวัยรํุนระยะปลาย ในสํวนของความจาวัยรํุนสามารถให๎ความสนใจในสิ่งท่ีกระตุ๎นเรา๎ ในระยะใกล๎ได๎ดกี วําวยั เด็ก ซึ่งทาให๎วัยรํุนสามารถมํุงให๎ความสนใจตํอสิ่งหน่ึงและกลับกลายเป็นอีกส่ิงหนึ่งได๎ และวัยรุํนยังสามารถแบํงความสนใจไปยังสองสิ่งในเวลาเดียวกันได๎มีความจาในระยะส้ันและระยะยาวดี สามารถดึงข๎อมูลมาใช๎ในการแก๎ปัญหาและตัดสินใจได๎อีกท้ังยังสามารถประมวลผลข๎อมูลและจัดการข๎อมูลในการวางแผนได๎รวดเร็วกวําวัยเด็ก(Rew, 2005) 2.1.3 ดา้ นอารมณ์และสงั คม นอกจากวัยรุํนมีการเปล่ียนแปลงด๎านอารมณ์ คือกังวลเกี่ยวกับรูปรํางหนา๎ ตาของตนเอง จากการมีรํางกายเปล่ียนแปลงเป็นหนุํมสาวแล๎ว การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ยังเกิดจากการเจริญเติบโตที่สมบูรณ์ของระบบประสาทสํวนของระบบลิมบิค (Limbic system)ซ่ึงเป็นระบบการเช่ือมตํอของเส๎นประสาทในสมองที่ทาหน๎าที่เก่ียวกับการดมกลิ่น อารมณ์การค๎นหาความแปลกใหมํ ท๎าทายและมีความเส่ียง รวมถึงระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบลิมบิคน้ีมกี ารเจรญิ เติบโตสมบรู ณเ์ รว็ กวําสมองสํวนซีรีบรัล คอร์เทกซ์ (cerebral cortex) ที่ทาหน๎าท่ีในเรื่องการตัดสินใจ การควบคุมตนเอง และการควบคุมแรงจูงใจ (impulse control) (Dahl & Lewin, 2002;Giedd et al., 1999; Thompson et al., 2000) ประกอบกับการต๎องปรับตัวให๎เข๎ากับสภาพแวดล๎อม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307