Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book

E-book

Description: E-book

Search

Read the Text Version

บทเรยี น หน้าหลกั ทฤษฎกี ารเรยี นรูแ้ ละการสอน องคป์ ระกอบของการจดั การ รูปแบบการเรยี นการสอน เรียนรู้ การบรู ณาการเนอื้ หาสาระ เทคนคิ และวิทยาการจดั การ การเรียนรู้ การบรู ณาการเรียนรู้ เรียนรู้ แบบเรียนรวม ทักษะและเทคนิคการสอน การจัดการเรยี นรู้แบบยึด วธิ ีการสอน ผู้เรียนเปน็ สาคัญ การวัดและประเมนิ ผลการ เรยี นรู้ของผู้เรยี น หลักการสอนทจ่ี าเปน็ สาหรบั ครู 2

หน้าหลกั 3

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้และการสอน การเรียนรเู้ ป็นพฤติกรรมตามธรรมชาตขิ องมนษุ ย์ ทฤษฎีการเรยี นรู้ พยายามอธิบายว่าการเรยี นร้เู กดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไรและให้หลักการเก่ียวกับ การเรียนร้ทู ไ่ี ดร้ ับการพิสจู น์และยอมรับวา่ เช่ือถือได้ ซ่งึ สามารถ นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการออกแบบการเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับ เงือ่ นไขหรือสภาพการณ์ ในการเรยี นรเู้ พ่อื พัฒนาผเู้ รยี นให้เกิด ผลการเรยี นร้ปู ระเภทตา่ ง ๆ ทต่ี ้องการไดท้ ฤษฎกี ารเรยี นรแู้ ตล่ ะ ทฤษฎี 4

ความหมายของทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ขอ้ ความร้ทู ่ี พรรณนา/อธิบาย/ทานายปรากฏการณต์ า่ ง ๆ เกยี่ วกบั การเรยี นรู้ซง่ึ ไดร้ ับการพสิ ูจนท์ ดสอบตามกระบวนการทาง วิทยาศาสตรห์ รอื กระบวนการสบื สอบแสวงหาความรทู้ ี่เหมาะกับ ศาสตร์แตล่ ะสาขาซึ่งไดร้ บั การยอมรบั วา่ เช่อื ถือได้และสามารถนาไป นิรนยั เปน็ หลกั หรือกฎการเรียนร้ยู ่อย ๆ หรือนาไปใช้เปน็ หลักในการ จัดกระบวนการเรียนรู้ใหแ้ ก่ผ้เู รยี นไดท้ ฤษฎโี ดยทว่ั ไปมกั ประกอบด้วยหลกั การย่อย ๆ หลายหลกั การ 5

ทฤษฎีการเรยี นรู้มบี ทบาทต่อการ พฒั นาการเรียนการสอนดังน้ี 1) เป็นกรอบแนวคดิ ในการดาเนนิ การวจิ ยั 2) ชว่ ยในการจดั การกบั ความรู้ 3) ชว่ ยให้เข้าใจพฤตกิ รรมของผ้เู รยี นและปรับพฤติกรรมของนกั เรียนใหด้ ขี น้ึ 4) ชว่ ยในการจัดการกบั ประสบการณ์ทคี่ วรมมี าก่อนของผูเ้ รียนในการเรยี นรู้ เร่ืองใหม่ 5) ชว่ ยในการวางแบบแผนในการทางาน 6

พฒั นาการของทฤษฎีการเรียนรู้ หากมองยอ้ นไปในประวัติศาสตร์เราจะเห็นวา่ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ทมี่ นษุ ยไ์ ด้รบั นัน้ มอี ยู่ หลายแหล่งด้วยกนั ในยคุ แรกนิทานพน้ื บา้ นและความเช่อื ตา่ ง ๆ เปน็ ทม่ี าของความรู้นทิ าน พ้ืนบ้านท่ีเลา่ สืบกันในหมู่ชนต่าง ๆ นนั้ จะแฝงไว้ด้วยวัฒนธรรม ประเพณสี ภาพการดาเนนิ ชีวติ ตา่ ง ๆ ของชุมชน สภุ าษิตและคาพังเพยทีส่ รปุ จากประสบการณท์ ีเ่ กดิ ข้ึนน้นั ให้แนวคดิ และหลกั การในการดาเนนิ ชวี ติ 7

ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) แบง่ จติ ออกเปน็ 3 ระดับดังนี้ 1. จติ สานึกหรอื จิตรู้สานกึ (Conscious mind) หมายถงึ ภาวะจิตทีร่ ตู้ วั อยู่ ได้แก่ การแสดพฤติกรรม เพื่อให้ สอดคล้องกับหลกั แหง่ ความเป็นจริง 2. จติ กึง่ สานึก (Subconscious mind) หมายถงึ ภาวะจิตทีร่ ะลกึ ถึงได้ 3. จิตไร้สานึกหรือจิตใต้สานึก (Unconscious mind) หมายถงึ ภาวะจติ ท่ไี ม่อยใู่ นภาวะทรี่ ตู้ วั ระลกึ ถงึ ไมไ่ ด้ 8

นอกจากน้ี ฟรอยด์ ยังได้ศกึ ษาถงึ โครงสรา้ งทางจิตพบว่าโครงสรา้ งทางจติ 1. อิด (Id) 2. อีโก้ (Ego) 3. ซปุ เปอร์อโี ก้ (Superego) 9

หมายถึงตณั หาหรือความต้องการพืน้ ฐานของมนษุ ย์เปน็ ส่งิ ทีย่ งั ไม่ไดข้ ดั เกลา ซง่ึ ทาให้ มนุษย์ทาทุก อย่างเพ่ือความ พงึ พอใจของตนเองหรอื ทาตามหลักของความพอใจ เปรยี บเหมอื นสนั ดานดบิ ของ มนษุ ย์ ซึง่ แบง่ ออกเปน็ สญั ชาตญิ าณ แหง่ การมีชวี ิต เชน่ ความต้องการอาหาร ความตอ้ งการทางเพศ ความต้องการหลีกหนจี ากอนั ตราย กบั สัญชาติญาณแห่ง ความตาย เช่น ความกา้ วรา้ ว หรือ การทาอันตรายต่อตนเองและผอู้ ื่น เปน็ ตน้ บุคคล 10

จะแสดงพฤตกิ รรมตามความพอใจ ของเขาเปน็ ใหญ่ ไมค่ านงึ ถงึ คา่ นยิ มของสงั คม และ ความพอใจของ บคุ คลอ่นื จงึ มกั เปน็ พฤตกิ รรมท่ไี ม่เปน็ ไปตาม ครรลองของมาตรฐานในสังคม บคุ คลทีม่ ีบคุ ลิกภาพ เชน่ น้ี มกั ไดร้ บั การประณามวา่ มีบุคลกิ ภาพไม่ดี หรอื ไม่เหมาะสม 11

หมายถึง ส่วนท่คี วบคุมพฤติกรรมท่เี กดิ จากความต้องการของ Id โดยอาศัยกฎเกณฑ์ ทางสงั คม และหลักแหง่ ความจรงิ มาชว่ ยใน การตดั สินใจ ไม่ใช่แสดงออกตามความ พอใจของตนแต่เพียงอย่าง เดยี ว แตต่ ้องคดิ แสดงออกอย่างมีเหตุผลดว้ ยนนั่ คือบคุ คลจะแสดง พฤติกรรม โดยมีเหตแุ ละผล ท่ีเหมาะสมกับกาลเทศะในสังคม จงึ เป็นบคุ ลิกภาพท่ีได้รับการยอมรับมากในสังคม ในคนปรกตทิ ่ี สามารถปรบั ตวั อยไู่ ด้ในสังคมอย่างมีความสขุ 12

ซปุ เปอรอ์ โี ก้ (Superego) หมายถงึ มโนธรรมหรือจติ สว่ นทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาจากประสบการณ์ การอบรมส่ังสอน โดยอาศัยหลักของศลี ธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และค่านิยมตา่ ง ๆ ใน สังคมน้ัน Superego จะเปน็ ตวั บงั คับ และควบคมุ ความคดิ ใหแ้ สดงออกในลักษณะที่เป็นสมาชกิ ท่ีดขี องสงั คม โดยยึดหลกั คา่ นิยมของสังคม ทีต่ ัดสินว่าส่งิ ใดเปน็ สงิ่ ท่ดี ใี นสังคมกลา่ วคอื บุคคล จะแสดงพฤติกรรมตาม ขอบเขตที่สังคมวางไว้ 13

แตบ่ างครง้ั อาจไม่เหมาะ สม เช่น เม่อื ถกู ยงุ กัดเตม็ แขน - ขา กไ็ มย่ อมตบยงุ เพราะกลวั บาป หรือสงสารคนขอทานให้เงนิ เขาไปจนหมด ในขณะท่ี ตนเองหิวขา้ วไมม่ ีเงินจะ ซอื้ อาหารกนิ กย็ อมทนหิว เปน็ ตน้ 14

ทฤษฎลี าดบั ขน้ั ความตอ้ งการ มาสโล (Maslow’s Hierarchical Theory of Motivation) เชอ่ื ว่าพฤติกรรมของมนษุ ยเ์ ปน็ จานวนมากสามารถอธบิ ายโดยใช้แนวโน้มของบคุ คล ในการคน้ หาเป้าหมายทจ่ี ะทาให้ชีวติ ของเขาได้รับความตอ้ งการ ความปรารถนา และไดร้ ับสง่ิ ที่มีความหมายตอ่ ตนเอง โดยเขาเช่อื ว่ามนษุ ย์ เปน็ “สตั วท์ ีม่ ีความตอ้ งการ” และเปน็ การยากทม่ี นุษย์ จะไปถึงขั้นของความพงึ พอใจอย่างสมบูรณ์ 15

เมอื่ บคุ คลปรารถนาท่จี ะได้รับความพึงพอใจและเมือ่ บุคคลไดร้ ับความพึง พอใจในส่งิ หนง่ึ แลว้ ก็จะยงั คงเรยี กร้องความพึงพอใจสิง่ อืน่ ๆ ตอ่ ไป ซึ่งถือเป็น คณุ ลกั ษณะของมนษุ ย์ ซึ่งเป็นผทู้ ่มี ีความต้องการจะได้รับสง่ิ ต่างๆ อยูเ่ สมอ 16

Maslow กลา่ วว่าความปรารถนาของมนษุ ยน์ ั้นตดิ ตวั มาแตก่ าเนิดและ ความปรารถนาเหลา่ นจี้ ะเรยี งลาดับขน้ั ของความปรารถนา ต้ังแตข่ น้ั แรก ไปสู่ความปรารถนาขน้ั สงู ขึ้นไปเปน็ ลาดับ 1. ความต้องการทางดา้ นรา่ งกาย ( Physiological needs ) 2. ความตอ้ งการความปลอดภัย ( Safety needs ) 3. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ ( Belongingness and love needs ) 4. ความต้องการไดร้ ับความนบั ถือยกยอ่ ง ( Esteem needs ) 5. ความตอ้ งการทจี่ ะเข้าใจตนเองอย่างแทจ้ ริง ( Self-actualization needs ) 17

ความสาเร็จส่วนตัว ความพึงพอใจ คุณคา่ ของชีวิต เกยี รติยศ ชือ่ เสยี ง ความภาคภูมใิ จ ความเคารพนบั ถือ ความตอ้ งการทางสงั คม การยอมรับ การยอมรบั ความรูส้ กึ ท่ีดี ความรกั ความตอ้ งการด้านความปลอดภยั ความมั่นคง ความปลอดภัย ความม่นั คง ความเรยี บรอ้ ย การเงิน สขุ ภาพ ปจั จยั 4 อาหาร เครอื่ งนุ่งหม่ ยารกั ษาโรค ทอ่ี ยอู่ าศัย ความต้องการดา้ นกายภาพ 18

ทฤษฎกี ารเรียนร้แู ละการประยุกต์สกู่ ารสอน ทฤษฎกี ารเรียนรู้สร้างข้ึนจากพืน้ ฐานความเช่อื เก่ยี วกบั ธรรมชาตขิ องการเรยี นรู้ เชน่ ทฤษฎี ในกล่มุ พฤตกิ รรมนิยมซึ่งนยิ ามการเรียนรู้วา่ เปน็ การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมกจ็ ะเนน้ องค์ประกอบที่มีต่อการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรม สว่ นทฤษฎกี ล่มุ พทุ ธนิ ยิ มท่ีนิยามการเรยี นร้วู า่ เปน็ กระบวนการคดิ หรือการพฒั นาทางสตปิ ญั ญากจ็ ะเนน้ ทกี่ ระบวนการคิดอย่างมคี ณุ ภาพ 19

ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s connectionism) เป็นผูค้ น้ พบกฎการเรยี นรจู้ ากการเชอ่ื มโยงระหว่างสิง่ เรา้ และ การตอบสนองโดยการกระทาอย่างมีเป้าหมาย กฎแหง่ ผล พฤติกรรมการตอบสนองตอ่ สิง่ เรา้ ใดท่ไี ดร้ ับผลท่ีทาให้ผ้เู รียน พงึ พอใจ กฎแห่งความพรอ้ ม การเรยี นร้จู ะเกิดขน้ึ ไดด้ ีถ้าผเู้ รียนอยใู่ นภาวะท่ีมีความพรอ้ มท้งั รา่ งกายและ จติ ใจการบงั คบั หรอื ฝืนใจจะทาใหห้ งุดหงดิ ไมเ่ กดิ การเรียนรู้ กฎแห่งการฝึกหดั การเรียนร้จู ะคงทน หรอื ติดทนนานถ้าได้รบั การฝึกหัดหรือกระทาซ้าบ่อย ๆ 20

การประยุกต์สกู่ ารสอน 1. การกาหนดจุดประสงคก์ ารเรียนรู้เป็นพฤติกรรมทีช่ ดั เจน 2. กอ่ นเรยี นควรสารวจว่าผเู้ รียนมีความพรอ้ มด้านรา่ งกาย จิตใจและมคี วามรพู้ ืน้ ฐาน เดิมทีพ่ ร้อมในการเรยี นรู้หรือไม่ 3. ควรจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทีใ่ หผ้ ู้เรียนเรียนรู้ผา่ นการลงมอื ปฏิบตั ิ ซึง่ เปดิ โอกาสให้ ผู้เรยี นไดล้ องถูกลองผดิ 4. ควรศกึ ษาวา่ อะไรคือรางวลั หรอื ผลท่ผี เู้ รียนพงึ พอใจ 5. ควรให้ผูเ้ รียนไดฝ้ ึกฝนส่ิงท่ีเรียนรูแ้ ล้วอย่างสม่าเสมอเพอื่ ใหเ้ กดิ ทักษะในสงิ่ นัน้ 21

ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบปฏิบตั ิการของสกินเนอร์ (Skinner) เป็นผู้ท่ีให้นิยามการเรียนรู้ว่า คือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมที่เป็นผลอันเกิดจาก การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการของสกินเนอร์ เป็น ทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีอธิบายการเรียนรู้ว่าเกิดจากการวางเงื่อนไขของสิ่งเร้าซ่ึงผู้เรียน ตอ้ งลงมือกระทาหรอื ปฏิบัตเิ พอ่ื หาทางแก้ปัญหาจงึ จะไดร้ บั ผลทพ่ี ึงพอใจ 22

การเสรมิ แรงของสกินเนอร์แบง่ ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) การเสรมิ แรงแบบปฐมภูมิ (primary reinforcement) คือ ส่งิ เรา้ ที่สามารถทาให้ ความถข่ี องการแสดงพฤตกิ รรมเพ่มิ ขนึ้ โดยไมต่ อ้ งอาศัยการฝกึ ฝน เชน่ อาหาร ทอี่ ยู่ อาศยั เปน็ ตน้ 23

2) การเสริมแรงแบบวางเงื่อนไขหรือการเสริมแรงทตุ ิยภมู ิ (conditioned or secondary reinforcement) คอื สิ่งเรา้ ทที่ าใหพ้ ฤตกิ รรมเข้มแข็งข้ึน การเสริมแรงแบบ วางเงื่อนไขแบง่ ได้ ดงั น้ี (1) การเสรมิ แรงทางบวก (positive (2) การเสริมแรงทางลบ (negative reinforcement reinforcement) 24

การเสรมิ แรงทางบวก คือ การใหส้ ง่ิ เรา้ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ ผลทางบวกแกพ่ ฤตกิ รรม ทาให้ ความถีข่ องพฤตกิ รรมเพม่ิ ข้ึนหรือมกี ารผลิตซ้าของพฤตกิ รรม เช่น การท่ีผเู้ รยี นส่งงานครบตามกาหนดเม่อื ได้รบั คาชมเชยจากผูส้ อน ทาให้ผูเ้ รียนส่งงานครบตามกาหนดอกี 25

การเสรมิ แรงทางลบ คอื การลดหรอื การถอนสง่ิ เรา้ ท่กี ่อใหเ้ กิดผลทไี่ มพ่ งึ พอใจ ทาให้เกิดพฤตกิ รรมท่พี ึง ประสงคเ์ พิม่ ขึน้ เชน่ เสยี งดงั และหอ้ งเรยี นท่ีร้อนอบอ้าว เป็นส่ิงเรา้ ทที่ าให้นกั เรียน หงดุ หงิด ไมส่ นใจเรียน เมอ่ื ติดเครือ่ งปรับอากาศทาใหน้ ักเรียนมีความตั้งใจเรียนมากขึ้น หรือ นกั เรยี นรีบออกจากบา้ นแต่เช้าเพ่อื หลีกเลย่ี งรถติดทาใหม้ าถึงโรงเรียนทันเวลา 26

การประยุกตส์ ่กู ารสอน 1) ควรวิเคราะห์การเรียนรู้ออกเป็นพฤติกรรมย่อย ๆ ท่ีเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน ตามลาดับจากพื้นฐานไปสู่ข้ันที่ซับซ้อนขึ้น โดยนาเสนอสิ่งเร้าการเรียนรู้ไป ตามลาดบั ขนั้ และจัดใหม้ กี ารเสริมแรงหรือรางวลั ที่ผเู้ รยี นพอใจ 27

2) การเรียนท่ีได้ผลดีคือ การเรียนเป็นรายบุคคล ซ่ึงผู้เรียนเป็นผู้กระทาด้วย ตนเองและปรับพฤติกรรมไปตามผลการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนโดยครูใช้รางวัลหรือการ เสริมแรง 28

3) ใช้การเสรมิ แรงในการปรบั พฤติกรรมของผ้เู รยี นแทนการลงโทษ โดยให้รางวลั ท่ี ผ้เู รียนพึงพอใจเป็นแรงเสริมสาหรับพฤติกรรมทีต่ ้องการใหเ้ กิดขน้ึ หรือใหร้ างวัลหรอื การเสรมิ แรงสาหรบั พฤติกรรมทตรงขา้ มกับพฤตกิ รรมทไ่ี มต่ ้องการให้กระทา 29

นักจิตวิทยาเกสตัลต์ได้อธิบายการเรียนรู้ว่าเกิดจากการรับรู้และการหย่ังเห็น และสร้างกฎการจัด ระเบยี บการรบั รเู้ พื่ออธิบายการรบั ร้ขู องมนุษย์ดังน้ี 1. กฎแห่งความสัมพันธ์ (related laws) เป็นกฎที่อธิบายการรับรู้ของมนุษย์ท่ีมีต่อ องค์ประกอบย่อยท่เี ปน็ สมาชกิ ของสว่ นรวมหรือส่วนทั้งหมด โดยต้ังกฎการรบั รู้ 4 กฎ ไดแ้ ก่ 30

1.กฎของความใกล้เคยี ง ชวี้ ่าองคป์ ระกอบที่ใกลเ้ คียงกันของส่ิงใดสง่ิ หนึ่ง มีแนวโน้มทจ่ี ะรับรู้เปน็ กลุ่มเดยี วกนั 2) กฎของความเหมือน อธบิ ายว่า สิ่งทมี่ ีลกั ษณะคลา้ ยกัน เชน่ สีหรือ รปู รา่ งที่คลา้ ยกันมีแนวโน้มท่จี ะถกู จัดเขา้ กล่มุ เดยี วกนั 3) กฎแห่งความสมบรู ณ์ สมองมีแนวโนม้ ทีจ่ ะรบั รภู้ าพของส่งิ ทไ่ี มส่ มบูรณ์ ใหเ้ ป็นรูปท่สี มบูรณโ์ ดยอาศยั ประสบการณเ์ ดิม 4) กฎแหง่ ความชัดเจน บุคคลรบั รสู้ ิ่งเร้าเปน็ ภาพรวมมากกว่าการมอง ส่วนย่อยทแ่ี ฝงอยู่ในภาพรวมน้นั 31

2. การหยั่งเหน็ (insight) หมายถงึ การเกิดความคดิ แวบขนึ้ มาอย่างฉบั พลนั ทนั ทีในขณะท่ีประสบปญั หา 32

การประยกุ ต์สูก่ ารสอน 1) ในการสอนควรเสนอภาพรวมใหผ้ เู้ รยี นเห็นกอ่ นเสนอภาพย่อย 2) การจดั ระเบยี บสิง่ เรา้ ทต่ี ้องการให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรไู้ ด้ดี ควรจัดสง่ิ ที่เหมือนกันไวเ้ ปน็ กลมุ่ เดียวกนั 3) ในการสอน ครูไม่จาเปน็ ตอ้ งสอนเนอื้ หาท้งั หมดแต่ แตส่ ามารถเสนอแต่เพียงบางสว่ นได้ 4) การเสนอบทเรียนหรอื เนื้อหาควรจดั ใหม้ คี วามตอ่ เนอื่ งกนั 5) ควรสง่ เสริมให้ผเู้ รียนมปี ระสบการณท์ ่หี ลากหลาย กวา้ งขวาง 6) ในการแก้ปญั หา ควรให้ผู้เรียนไดฝ้ กึ มองปญั หาทกุ แง่มมุ ใช้ความคดิ อยา่ งมีเหตุผล โดยไม่มีอคติ 33

ทฤษฎพี ฒั นาการทางสติปญั ญา (cognitive development theory) ของเพียเจต์ พฒั นาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ อธบิ ายพัฒนาการทางสติปญั ญาของ บคุ คลว่า การพัฒนาการคดิ เชงิ ตรรกะหรือการคิดเชิงเหตุผลตั้งแตเ่ ดก็ จนถงึ ผ้ใู หญ่ 34

1) ขัน้ รับรู้ทางประสาทสมั ผสั (sensorimotor period) เริ่มตั้งแตแ่ รกเกิด-2 ปีเป็น ชว่ งทท่ี ารกเรยี นรู้โลกผา่ นการกระทาและรับรู้ข้อมูลจากการสมั ผัส 35

2) ข้ันกอ่ นปฏบิ ัตกิ าร (preoperational period) อายุ 2-7 ปี เปน็ ขัน้ ทเ่ี ด็กเร่ิมก้าว จากการกระทาสู่ การคดิ หรือการกระทาจากภายในกอ่ นขนั้ น้ีโครงสรา้ งความคดิ ของเด็ก (schema) ยังผูกอยู่ท่ีการ กระทาหมายถึงเดก็ ยงั ไมส่ ามารถระลกึ ถงึ อดีต 36

3) ข้นั ปฏิบัติการอยา่ งเปน็ รูปธรรม (concrete operational period) อายุ 7-11 ปเี ด็ก ในวัยนีส้ ามารถคดิ อย่างมเี หตผุ ล ลักษณะสาคัญของการคดิ ในขั้น นก้ี ็คอื การรับร้คู วามคงท่ขี องโลก กายภาพอยา่ งเป็นเหตุเปน็ ผลจนถึงวยั ผใู้ หญพ่ ัฒนาการทางสตปิ ญั ญาของเดก็ ไม่ได้มาถงึ ในขั้นนีท้ ุกคน 37

4) ข้นั การคิดอยา่ งเปน็ เหตุผล (formal operational period) อายุ 12 ปี ขึ้นไป จนถงึ วยั ผูใ้ หญ่ พฒั นาการทางสตปิ ญั ญาของเด็กไมไ่ ด้มาถงึ ในข้ันนี้ทุกคน 38

การประยุกต์สกู่ ารสอน 1) การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ใหก้ บั ผู้เรยี น 2) เดก็ แต่ละคนมพี ัฒนาการที่แตกต่างกนั แมจ้ ะอย่ใู นวัยเดียวกนั 3) การสอนส่ิงต่าง ๆให้กับเด็ก ควรใช้สื่อและอุปกรณ์ที่เป็นรูปธรรมเพื่อช่วยให้เด็กมี ความเขา้ ใจไดช้ ดั เจนข้นึ ดีกวา่ การบอก เลา่ บรรยายด้วยคาพูดเพยี งอยา่ งเดยี ว 39

ทฤษฎพี ฒั นาการของไวก็อทสกี พัฒนาการเรยี นรู้ของมนษุ ย์วา่ เกิด จากประสบการณ์ 3 แบบ ได้แก่ แบบแรกเปน็ ประสบการณจ์ ากบรรพบรุ ษุ ซ่ึงรวมประสบการณ์ทาง ชวี ภาพ และ ประสบการณท์ ี่สง่ั สมมาของคนรุน่ กอ่ น ทาใหก้ ารตอบสนองของมนุษย์กว้างขวางกวา่ สตั ว์ 40

แบบทส่ี อง ประสบการณ์ทางสังคม ซง่ึ ไดจ้ ากการมปี ฏสิ มั พันธ์กับผอู้ ่นื 41

แบบที่ 3 เป็นประสบการณท์ ่ี มนุษย์ปรับใหเ้ ข้ากบั สิง่ แวดลอ้ ม ซงึ่ แตกต่างจากสัตวต์ รงทสี่ ัตว์มีการ ปรบั ตวั แบบเชงิ รบั คือการใชธ้ รรมชาติ ในขณะท่มี นษุ ยป์ รับตวั เชงิ คอื เปลยี่ นแปลงธรรมชาตใิ ห้ ตอบสนองความต้องการของตนเอง ไวก็อทสกเี หน็ วา่ การพฒั นาการคดิ ของมนุษย์ เช่น การคดิ เชิง ตรรกะ การเขา้ ใจ และการควบคุมตนเองได้ มีหลกั การพนื้ ฐาน 42

การประยกุ ตส์ ูก่ ารสอน 1) การจัดกลุ่มผูเ้ รียน แบบอดุ มคติ ครู 1 คน ทางานกับนักเรียน 1-2 คน และนกั เรียนในแต่ละ กลมุ่ ควรมีอย่างมากไม่เกิน 5-6 คน เน่อื งจากผูเ้ รียนแตล่ ะคนมีพัฒนาการทางสตปิ ัญญาอยู่ ในระดับไมเ่ ทา่ กัน ครูจาเป็นตอ้ งรู้วา่ นักเรียนของตนคนใดมีพฒั นาการทางความคดิ เปน็ อยา่ งไร 43

2) หลกั การเรียนรู้ท่ีดี ตอ้ งล้าหนา้ พัฒนาการท่ผี ้เู รียนเปน็ อยู่ ดังน้นั ควรจดั การเรียนการสอน ท่ที ้าทายการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น แต่อยใู่ นวสิ ยั ที่ผู้เรยี นจะทาไดห้ ากได้รับการช้แี นะชว่ ยเหลอื 44

3) การจัดการเรยี นการสอนใหอ้ ยใู่ นชว่ งพฒั นาการที่นกั เรยี นจะพฒั นาไปถงึ น้นั ควรเป็น กจิ กรรมรว่ มมือกันระหว่างครูและนกั เรยี น คอ่ ยๆเรยี นรเู้ พ่มิ ข้ึนจนในทสี่ ดุ นักเรียน สามารถทางานได้เอง 45

4) การจัดหลกั สูตรและการจัดการเรยี นการสอน ควรพิจารณาจากมมุ มองของ ผู้เรยี น ดงั น้นั ในการมอบหมายงานให้แกน่ กั เรยี นจงึ ควรรบั ฟงั ความคิดเหน็ จากฝ่าย นักเรยี น 46

ทฤษฎกี ารประมวลผลสารสนเทศ (information processing theory) เป็นกระบวนการทางานของสมองในการแปลงสารสนเทศท่ไี ด้รบั รู้ผ่านการดาเนนิ การตา่ ง ๆ เป็นลาดบั เพื่อเป็นความคิดเกบ็ สะสมหรอื จดจาไวใ้ นความจาระยะยาว โดยเปรียบเทียบ กระบวนการนี้คลา้ ยกับการประมวลผลข้อมลู ของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ กระบวนการและการจดั โครงสร้างของขอ้ มูลทีใ่ ชใ้ นการเรียนรู้ เช่น เร่อื งการควบคุม การคิด เพ่อื ช่วยให้ผู้เรยี นเข้าใจการจดั การกบั การคดิ ของตนเองได้ ซึ่งจะช่วยให้การเรยี นรู้ ประสบความสาเร็จ 47

การประยุกต์สู่การสอน 1) การรับรู้ข้อมูลเกดิ จากความสนใจหรือใสใ่ จของผเู้ รียน จึงควรจัดสิ่งเรา้ ใหต้ รงกบั ความ สนใจของผเู้ รียนและสรา้ งแรงจงู ใจแก่ผู้เรียน 48

2) ก่อนเรยี นเรอื่ งใหม่ ครคู วรทบทวนความรูแ้ ละประสบการณ์เดมิ ท่มี ีความสมั พนั ธก์ บั ความรู้ใหมท่ ี่ต้องการเรียนรเู้ พ่ือช่วยให้การรบั ร้ขู ้อมูลใหม่มคี วามหมายมากข้นึ และสามารถ เชือ่ มโยงกับสงิ่ ทร่ี มู้ า กอ่ นทาใหก้ ารเรียนรู้ส่งิ ใหมง่ า่ ยข้ึน 49

3) ครูควรหาวิธใี ห้ผเู้ รียนจดจาข้อมลู ใหไ้ ดน้ าน ๆ ดว้ ยวิธกี ารหลากหลาย เชน่ การจา อยา่ งเปน็ ระบบ การทาให้ข้อมลู นัน้ มีความหมาย การเชอื่ มโยงขอ้ มูลใหมก่ ับส่งิ ท่ผี ูเ้ รียนมี ความคุน้ เคยการ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook