Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสังคม ปรับปรุงใหม่ ยูงทอง

หลักสูตรสังคม ปรับปรุงใหม่ ยูงทอง

Published by Papat Yoo, 2022-08-19 06:43:55

Description: หลักสูตรสังคม ปรับปรุงใหม่ ยูงทอง

Search

Read the Text Version

1 วสิ ัยทศั น์ มุ่งมน่ั จดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติสู่มาตรฐานสากล ชุมชนมีส่วนร่วม นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการนาทรัพยากรทอ้ งถิ่นและเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั การศึกษา โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ใหม้ ีความรู้คูค่ ุณธรรม พร้อมเขา้ สู่ประชาคมอาเซียนและมีศกั ยภาพเป็น พลโลก พนั ธกจิ 1. จดั การศึกษาใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาชาติและมาตรฐานสากล 2. ส่งเสริม พฒั นาแหล่งเรียนรู้ และนาทรัพยากรในทอ้ งถิ่น นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ใชใ้ นการจดั การศึกษาโดยใหช้ ุมชนมีส่วนร่วม 3. ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีความรู้คคู่ ุณธรรม มีสุขภาวะที่ดี และมีสุนทรียภาพ โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั และมี ศกั ยภาพเป็นพลโลก 4. นาเทคโนโลยแี ละระบบสาระสนเทศมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การศึกษาอยา่ งมีประสิทธิภาพ เป้าหมาย 1. ผเู้ รียนไดร้ ับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานอยา่ งมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและพฒั นาสู่ความเป็นเลิศ 2. ผเู้ รียนเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ รักการอา่ น รักการเรียนรู้ตลอดชีวติ มีความรู้เป็นสากล มีสติปัญญา มี ทกั ษะการส่ือสารดว้ ยภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศอยา่ งนอ้ ย 1 ภาษา 3. ผเู้ รียนมีวินยั ในตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมของศาสนาและหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 4. มีอาคาร สถานท่ี แหล่งการเรียนรู้ สิ่งแวดลอ้ ม ภมู ิทศั น์ สาธารณูปโภค ส่ิงอานวยความสะดวกให้ พอเพียง สะอาด สวยงาม ปลอดภยั มีบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ อตั ลกั ษณ์ จรรยาดี วิถีพอเพยี ง เอกลกั ษณ์ บรรยากาศดี กีฬาเด่น เนน้ เทคโนโลยี มีคุณธรรม

2 วิสัยทัศน์หลกั สูตรแกนกลาง 2551 หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมงุ่ พฒั นาผเู้ รียนทกุ คนใหเ้ ป็นมนุษยท์ ี่มี ความสมดุล ท้งั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มน่ั ในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมขุ มีความรู้ และทกั ษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยม่งุ เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั บนพ้ืนฐานความเชื่อวา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ วสิ ัยทศั น์ของหลกั สูตรแกนกลาง 2551 - พฒั นาผเู้ รียน - สมดุลดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม - จิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลเมืองโลก - ยดึ มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รง เป็ นมนุษย์ มีความรู้ + ทกั ษะพ้นื ฐาน + เจตคติ พร้อมสาหรับ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพ การศึกษาตลอดชีวติ

3 หลกั การ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มีหลกั การที่สาคญั ดงั น้ี 1. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพอื่ ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น เป้าหมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็น ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล 2. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพ่อื ปวงชน ที่ประชาชนทกุ คนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เป็นหลกั สูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ใหส้ ังคมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาให้ สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น 4. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยดื หยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลา และการจดั การเรียนรู้ 5. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง 6. เป็นหลกั สูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ครอบคลมุ ทุก กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มุ่งพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี ศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพอื่ เกิดกบั ผเู้ รียน เม่ือจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ดงั น้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินยั และปฏิบตั ิตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทกั ษะ ชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลงั กาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวถิ ีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษพ์ ฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม มีจิต สาธารณะท่ีม่งุ ทาประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงท่ีดีงานในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มีสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5 ประการ คือ 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการับและส่งสาร ท่ีใชถ้ า่ ยทอดความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเอง เพือ่ แลกเปล่ียนขอ้ มูลขา่ วสารและประสบการณ์อนั

4 จะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้งั การเจรจาตอ่ รองเพือ่ ขจดั และลดปัญหาความ ขดั แยง้ ต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มลู ข่าวสารดว้ ยหลกั เหตผุ ลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใช้ วธิ ีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดอยา่ ง สร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิดอยา่ งเป็นระบบ เพ่อื นนาไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือ สารสนเทศ เพ่ือการตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ที่เผชิญได้ อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั การเหตผุ ล คุณธรรม และขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ และการเปลี่ยนแปลงเหตกุ ารณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และ แกไ้ ขปัญหา และมีการตดั สินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อตนเอง สังคมและ ส่ิงแวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการ ดาเนินชีวิตประจาวนั การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนื่อง การทางาน และการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมดว้ ยการสร้างเสริม ความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้ ตา่ งๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ให้ ทนั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ี่ ส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และการใชเ้ ทคโนโลยดี า้ น ตา่ งๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่อื พฒั นาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนสามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมี ความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก 8 ขอ้ นอกจากน้ียงั เปิ ดโอกาสใหส้ ถานศึกษาสามารถ กาหนดคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคเ์ พมิ่ เติมใหส้ อดคลอ้ งตามบริบทและจุดเนน้ ของตนเองได้ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต 6. มุ่งมนั่ ในการทางาน 3. มีวนิ ยั 7. รักความเป็นไทย 4. ใฝ่เรียนรู้ 8. มีจิตสาธารณะ

5 กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติตาม หลกั ธรรม เพือ่ อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเป็นศาสนิกชนท่ีดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ สาระที่ 2 หน้าท่ีพลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าท่ีของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงาม และธารง รักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทย และ สังคม โลกอยา่ งสนั ติสุข มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั ยดึ มนั่ ศรัทธา และธารงรักษา ไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยจู่ ากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและคุม้ ค่า รวมท้งั เขา้ ใจหลกั การของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการดารงชีวิตอยา่ งมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ และความ จาเป็นของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สาระที่ 4 ประวัตศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้ วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาวเิ คราะห์เหตุการณ์ตา่ งๆ อยา่ งเป็นระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในดา้ นความสัมพนั ธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ น มาของชาติไทย วัฒ น ธรรม ภูมิปั ญ ญ าไทย มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็ นไทย

6 สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส 5.1 เขา้ ใจลกั ษณะทางกายภาพ ของโลกและความสัมพนั ธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกนั ใช้ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปขอ้ มูล ตาม กระบวนการทางภูมิศาสตร์ตลอดจนใชภ้ มู ิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุ ษย์กับสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพท่ี ก่อให้เกิด การสร้างสรรคว์ ิถีการดาเนินชีวติ มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ ม เพอ่ื การพฒั นาท่ียงั่ ยนื

7 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทาไมต้องเรียนสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การดารงชีวิตของมนุษยท์ ้งั ในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม การปรับตวั ตามสภาพแวดลอ้ ม การ จั ด ก า ร ท รั พ ย า ก ร ที่ มี อ ยู่ อ ย่ า ง จ า กั ด เข้ า ใ จ ถึ ง ก า ร พั ฒ น า เป ลี่ ย น แ ป ล ง ต า ม ยุ ค ส มั ย ตามเหตุปัจจยั ตา่ งๆ เกิดความเขา้ ใจในตนเอง และผอู้ ่ืน มีความอดทน อดกล้นั ยอมรับในความแตกต่าง และ มีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใชใ้ นการดาเนินชีวติ เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสงั คมโลก เรียนรู้อะไรในสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมว่าดว้ ยการอยู่ร่วมกนั ในสังคม ที่มีความ เชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบท สภาพแวดลอ้ ม เป็นพลเมืองดี มีความรับผดิ ชอบ มีความรู้ ทกั ษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้ กาหนดสาระต่างๆไว้ ดงั น้ี • ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกบั ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลกั ธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ การนาหลกั ธรรมคาสอนไปปฏิบตั ิในการพฒั นาตนเอง และการอยู่ ร่วมกนั อย่างสันติสุข เป็ นผูก้ ระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พฒั นาตนเองอยู่เสมอ รวมท้งั บาเพญ็ ประโยชน์ ต่อสงั คมและส่วนรวม • หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั การ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข ลักษณะและความสาคญั การเป็ น พลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวฒั นธรรม ค่านิยม ความเช่ือ ปลูกฝังค่านิยมด้าน ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขใน สงั คมไทยและสังคมโลก • เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินคา้ และบริการ การบริหารจดั การทรัพยากร ท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั อยา่ งมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอยา่ งมีดุลยภาพ และการนาหลกั เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในชีวิตประจาวนั • ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวตั ิศาสตร์ วิธีการทางประวตั ิศาสตร์ พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบนั ความสัมพนั ธ์และเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบท่ีเกิดจาก เหตุการณ์สาคญั ในอดีต บุคคลสาคญั ที่มีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชน ชาติ ไทย วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมท่ีสาคญั ของโลก • ภูมิศาสตร์ ลกั ษณะทางกายภาพของโลก และความสัมพนั ธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกนั ใชแ้ ผนที่ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ในการคน้ หา วเิ คราะห์ และสรุปขอ้ มูล ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ตลอดจน ใชภ้ ูมิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั สิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรคว์ ิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม เพื่อการ

8 พฒั นาท่ียง่ั ยืนมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึน การนาเสนอข้อมูลภูมิ สารสนเทศ การอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มเพอื่ การพฒั นาท่ียง่ั ยนื

9 โครงสร้างหลกั สูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ช้ัน รหสั วิชา ช่ือวชิ า จานวนชั่วโมง จานวนชั่วโมง จานวน ต่อสัปดาห์ ต่อภาคเรียน หน่วยกติ พื้นฐาน ม. 1 ส21101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 60 1.5 ส21161 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ส21102 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 60 1.5 ส21162 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ม. 2 ส22101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 60 1.5 ส22161 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ส22102 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 60 1.5 ส22162 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ม. 3 ส23101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 60 1.5 ส23161 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ส23102 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 60 1.5 ส23162 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 เพมิ่ เตมิ ม. 1 ส21201 อาเซียนศึกษา 1 20 0.5 ส21202 อาเซียนศึกษา 1 20 0.5 ส21211 ป้องกนั การทุจริต 1 20 0.5 ส21212 ป้องกนั การทุจริต 1 20 0.5 ม. 2 ส22201 อาเซียนศึกษา 1 20 0.5 ส22202 อาเซียนศึกษา 1 20 0.5 ส22211 ป้องกนั การทจุ ริต 1 20 0.5 ส22212 ป้องกนั การทจุ ริต 1 20 0.5 ม. 3 ส23201 อาเซียนศึกษา 1 20 0.5 ส23202 อาเซียนศึกษา 1 20 0.5 ส23211 ป้องกนั การทุจริต 1 20 0.5 ส23212 ป้องกนั การทจุ ริต 1 20 0.5

10 โครงสร้างหลกั สูตร กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ช้ัน รหัสวชิ า ช่ือวชิ า จานวนช่ัวโมง จานวนช่ัวโมง จานวน ต่อสัปดาห์ ต่อภาคเรียน หน่วย กติ พื้นฐาน ม. 4 ส31101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 1 ส31161 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ส31102 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 1 ส31162 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ม. 5 ส32101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 1 ส32161 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ส32102 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 1 ส32162 ประวตั ิศาสตร์ 1 20 0.5 ม. 6 ส33101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 1 ส33102 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 1 เพม่ิ เตมิ ม.4 ส30201 ประชากรกบั สิ่งแวดลอ้ ม 2 40 1 ส30202 ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทย 2 40 1 ส31211 ป้องกนั การทจุ ริต 1 20 0.5 ส31212 ป้องกนั การทจุ ริต 1 20 0.5 ม. 5 ส30203 การเงิน การธนาคารและการคลงั 2 40 1 ส30204 เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิต 2 40 1 ส32211 ป้องกนั การทุจริต 1 20 0.5 ส32212 ป้องกนั การทุจริต 1 20 0.5 ม. 6 ส30205 กฎหมายน่ารู้ 2 40 1 ส30206 เหตุการณ์โลกปัจจุบนั 2 40 1 ส33211 ป้องกนั การทจุ ริต 1 20 0.5 ส33212 ป้องกนั การทจุ ริต 1 20 0.5

11 คุณภาพผ้เู รียน จบช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 • มีความรู้เก่ียวกบั ลกั ษณะทางกายภาพ ภยั พิบตั ิ ลกั ษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ในภมู ิภาค ตา่ งๆ ของโลก ความร่วมมือดา้ นทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื • มีทักษะท่ีจาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยาย ประสบการณ์ เปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่ เอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยโุ รป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในดา้ นศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรม การเมืองการปกครอง ประวตั ิศาสตร์และภูมิศาสตร์ ดว้ ย วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ • รู้และเขา้ ใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใชเ้ ป็นประโยชน์ ในการดาเนิน ชีวติ และวางแผนการดาเนินงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม จบช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 6 • มีความรู้เก่ียวกบั ความเป็นไปของโลกอยา่ งกวา้ งขวางและลึกซ้ึงยง่ิ ข้ึน • เป็ นพลเมืองท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถื อ รวมท้ัง มีค่านิยมอนั พึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ ื่นและอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข รวมท้งั มีศกั ยภาพเพ่ือ การศึกษาต่อในช้นั สูงตามความประสงคไ์ ด้ • มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวตั ิศาสตร์ของชาติไทย ยดึ มน่ั ในวิถี ชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข • มีนิสัยท่ีดีในการบริโภค เลือกและตดั สินใจบริโภคไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมใน การอนุรักษ์ประเพณีวฒั นธรรมไทย และสิ่งแวดลอ้ ม มีความรักทอ้ งถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่งท่ีดีงามใหก้ บั สังคม • มีความรู้ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ของตนเอง ช้ีนาตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรู้ จากแหล่งการเรียนรู้ตา่ งๆในสงั คมไดต้ ลอดชีวติ • มีความรู้เก่ียวกบั การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ปัญหาทางกายภาพและภยั พิบตั ิ ซ่ึงไดร้ ับอิทธิพลจาก ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ ปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งสิ่งแวดลอ้ มทางกายภาพกบั การสร้างสรรคว์ ิธีการดาเนินชีวติ ความ ร่วมมือดา้ นทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มในระเทศ เพ่ือเตรียมรับมือการเปลี่ยนแปลงของโลก และการจดั การ ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื

12 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสาคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ท่ีตน นบั ถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาท่ีถูกตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏิบตั ิตามหลกั ธรรม เพื่ออยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ  การสงั คายนา ศาสนาท่ีตนนบั ถือสู่ประเทศไทย  การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สู่ ประเทศไทย 2. วเิ คราะห์ความสาคญั ของ ➢ ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ สังคมไทยในฐานะเป็ น ท่ีมีตอ่ สภาพแวดลอ้ มในสังคมไทย  ศาสนาประจาชาติ รวมท้งั การพฒั นาตนและครอบครัว  สถาบนั หลกั ของสังคมไทย  สภาพแวดลอ้ มท่ีกวา้ งขวาง และ ครอบคลมุ สงั คมไทย 3. วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั ิต้งั แต่ประสูติ  การพฒั นาตนและครอบครัว จนถึงบาเพญ็ ทกุ รกิริยา หรือประวตั ิ  สรุปและวิเคราะห์ พทุ ธประวตั ิ ศาสดาที่ตนนบั ถือตามทีก่ าหนด  ประสูติ  เทวทูต 4  การแสวงหาความรู้  การบาเพญ็ ทุกรกิริยา 4. วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตาม ➢ พุทธสาวก พทุ ธสาวิกา แบบอยา่ งการดาเนินชีวติ และขอ้ คิดจาก  พระมหากสั สปะ ประวตั ิสาวก ชาดก/เรื่องเลา่ และศาสนิก  พระอุบาลี ชนตวั อยา่ งตามที่กาหนด  อนาถบิณฑิกะ  นางวสิ าขา ➢ ชาดก  อมั พชาดก  ติตติรชาดก

13 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 5. อธิบายพทุ ธคุณ และขอ้ ธรรมสาคญั ใน ➢ พระรัตนตรัย  พุทธคุณ 9 กรอบอริยสัจ 4 หรือหลกั ธรรมของ ➢ อริยสัจ 4 ศาสนาท่ีตนนบั ถือ ตามท่ีกาหนด เห็น  ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้) คุณคา่ และนาไปพฒั นาแกป้ ัญหาของ o ขนั ธ์ 5 ตนเองและครอบครัว - ธาตุ 4  สมทุ ยั (ธรรมท่ีควรละ) o หลกั กรรม - ความหมายและคุณคา่ o อบายมขุ 6  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรล)ุ  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o ไตรสิกขา o กรรมฐาน 2 o ปธาน 4 o โกศล 3 o มงคล 38 -ไมค่ บคนพาล - คบบณั ฑิต - บูชาผคู้ วรบชู า ➢ พทุ ธศาสนสุภาษิต  ย เว เสวติ ตาทิโส คบคนเช่นใดเป็ นคนเช่นน้นั  อตฺตนา โจทยตฺตาน จงเตือนตน ดว้ ยตน  นิสมฺม กรณ เสยฺโย ใคร่ครวญก่อนทาจึงดี  ทรุ าวาสา ฆรา ทกุ ฺขา เรือนท่ีครองไมด่ ีนาทกุ ขม์ าให้

14 ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 6. เห็นคุณค่าของการพฒั นาจิต เพ่อื การ ➢ โยนิโสมนสิการ เรียนรู้และการดาเนินชีวติ ดว้ ยวิธีคิดแบบ  วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณคา่ เทียม โยนิโสมนสิการคือวธิ ีคิดแบบคุณคา่ แท้ –  วธิ ีคิดแบบคุณ - โทษและทางออก คุณคา่ เทียม และวธิ ีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพฒั นาจิตตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถือ  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา 7. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและ  วิธีปฏิบตั ิและประโยชน์ของการบริหารจิต เจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถือตามที่ และเจริญปัญญา การฝึกบริหารจิตและ กาหนด เจริญปัญญาตามหลกั สติปัฎฐานเนน้ อานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญาไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั 8. วิเคราะหแ์ ละปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม  หลกั ธรรม (ตามสาระการเรียนรู้ขอ้ 5) ทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ในการดารงชีวิต แบบพอเพียง และดูแลรักษาส่ิงแวดลอ้ ม เพอ่ื การอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสันติสุข 9. วเิ คราะห์เหตผุ ลความจาเป็นที่ทุกคน ◆ ศาสนิกชนของศาสนาตา่ ง ๆ มีการ ตอ้ งศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ประพฤติปฏิบตั ิตนและวิถีการดาเนินชีวติ แตกตา่ งกนั ตามหลกั ความเช่ือและคาสอน 10. ปฏิบตั ิตนต่อศาสนิกชนอื่นใน ของศาสนาท่ีตนนบั ถือ สถานการณ์ตา่ งๆไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ◆ การปฏิบตั ิอยา่ งเหมาะสมต่อศาสนิกชน อื่นในสถานการณ์ต่างๆ 11. วิเคราะห์การกระทาของบุคคลที่เป็น ◆ ตวั อยา่ งบุคคลในทอ้ งถิ่นหรือประเทศที่ แบบอยา่ งดา้ นศาสนสัมพนั ธ์ และ ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งดา้ นศาสนา นาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิของตนเอง สมั พนั ธห์ รือมีผลงานดา้ นศาสนสัมพนั ธ์

15 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.2 1. อธิบายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา หรือ  การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศ ศาสนาที่ตนนบั ถือสู่อาเซียน เพอ่ื นบา้ นและการนบั ถอื พระพุทธ - ศาสนาของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจุบนั 2. วเิ คราะห์ความสาคญั ของพระพุทธ-  ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาที่ช่วย ศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือที่ช่วย เสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดีกบั ประเทศ เสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดีกบั อาเซียน เพอ่ื นบา้ น 3. วิเคราะห์ความสาคญั ของ ➢ ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาต่อ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ สงั คมไทยในฐานะเป็น ในฐานะท่ีเป็นรากฐานของวฒั นธรรม  รากฐานของวฒั นธรรม เอกลกั ษณ์ของชาติและมรดกของชาติ  เอกลกั ษณ์และ มรดกของชาติ 4. อภิปรายความสาคญั ของพระพทุ ธ -  ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนากบั ศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือกบั การพฒั นาชุมชนและการจดั ระเบียบสงั คม การพฒั นาชุมชนและการจดั ระเบียบ สังคม 5. วเิ คราะห์พุทธประวตั ิหรือประวตั ิ  สรุปและวเิ คราะห์ พทุ ธประวตั ิ ศาสดาของศาสนาท่ีตนนบั ถือตามท่ี กาหนด  การผจญมาร 6. วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตาม  การตรัสรู้  การส่งั สอน  พระสารีบุตร แบบอยา่ งการดาเนินชีวติ และขอ้ คิดจาก  พระโมคคลั ลานะ ประวตั ิสาวก ชาดก/เรื่องเลา่ และ  นางขชุ ชุตตรา ศาสนิกชนตวั อยา่ งตามที่กาหนด  พระเจา้ พิมพสิ าร  มิตตวินทุกชาดก  ราโชวาทชาดก 7. อธิบายโครงสร้าง และสาระสังเขปของ  โครงสร้าง และสาระสังเขปของ พระไตรปิ ฎก หรือคมั ภีร์ของศาสนาท่ีตน พระวนิ ยั ปิ ฎก พระสุตตนั ตปิ ฎก นบั ถือ และพระอภิธรรมปิ ฎก

16 ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.2 8. อธิบายธรรมคุณ และขอ้ ธรรมสาคญั ใน ➢ พระรัตนตรัย  ธรรมคุณ 6 กรอบอริยสจั 4 หรือหลกั ธรรมของ ➢ อริยสัจ 4 ศาสนาที่ตนนบั ถือ ตามที่กาหนด เห็น  ทกุ ข์ (ธรรมท่ีควรรู้) o ขนั ธ์ 5 คุณคา่ และนาไปพฒั นา แกป้ ัญหาของ - อายตนะ ชุมชนและสังคม  สมุทยั (ธรรมที่ควรละ) o หลกั กรรม - สมบตั ิ 4 - วิบตั ิ 4 o อกุศลกรรมบถ 10 o อบายมขุ 6  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรล)ุ o สุข 2 (สามิส, นิรามิส)  มรรค (ธรรมท่ีควรเจริญ) o บพุ พนิมิตของมชั ฌิมาปฏิปทา o ดรุณธรรม 6 o กลุ จิรัฏฐิติธรรม 4 o กศุ ลกรรมบถ 10 o สติปัฏฐาน 4 o มงคล 38 - ประพฤติธรรม - เวน้ จากความชวั่ - เวน้ จากการด่ืมน้าเมา ➢ พุทธศาสนสุภาษิต  กมฺมนุ า วตฺตตี โลโก สัตวโ์ ลกยอ่ มเป็นไปตามกรรม  กลฺยาณการี กลฺยาณ ปาปการี จ ปาปก ทาดีไดด้ ี ทาชว่ั ไดช้ ว่ั  สุโข ปญุ ฺญสฺส อจุ ฺจโย การส่ังสม บญุ นาสุขมาให้  ปูชโก ลภเต ปูช วนฺทโก ปฏิวนฺทน ผบู้ ชู าเขา ยอ่ มไดร้ ับการบูชาตอบ ผไู้ หวเ้ ขายอ่ มไดร้ ับการไหวต้ อบ

17 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.2 9. เห็นคุณค่าของการพฒั นาจิตเพ่อื การ ➢ พฒั นาการเรียนรู้ดว้ ยวิธีคิดแบบโยนิโส- เรียนรู้และดาเนินชีวติ ดว้ ยวิธีคิดแบบ มนสิการ 2 วิธี คือ วธิ ีคิดแบบอุบายปลุก โยนิโสมนสิการคือ วิธีคดิ แบบอุบายปลกุ เร้าคุณธรรม และวธิ ีคิดแบบอรรถธรรม เร้าคุณธรรม และวธิ ีคิดแบบอรรถธรรม สัมพนั ธ์ สัมพนั ธ์ หรือการพฒั นาจิตตามแนวทาง ของศาสนาท่ีตนนบั ถือ 10. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและ  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา เจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตาม  รู้และเขา้ ใจวิธีปฏิบตั ิและประโยชนข์ อง แนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลกั สติปัฎฐาน เนน้ อานาปานสติ  นาวธิ ีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใช้ ในชีวิตประจาวนั 11.วิเคราะห์การปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม ➢ การปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม (ตามสาระ ทางศาสนาท่ีตนนบั ถือ เพอื่ การดารงตน การเรียนรู้ ขอ้ 8.) อยา่ งเหมาะสมในกระแสความเปล่ียนแปลง ของโลก และการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสันติสุข ม. 3 1. อธิบายการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา หรือ  การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศ ศาสนาท่ีตนนบั ถือสู่ประเทศอาเซียนและ อาเซียนและ ทว่ั โลก และการนบั ถือ ทว่ั โลก พระพทุ ธศาสนาของประเทศเหลา่ น้นั ในปัจจุบนั 2. วิเคราะห์ความสาคญั ของ  ความสาคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ ที่ช่วยสร้างสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบ ในฐานะท่ีช่วยสร้างสรรคอ์ ารยธรรม สุขใหแ้ ก่โลก และความสงบสุขแก่โลก 3. อภิปรายความสาคญั ของ  สัมมนาพระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของ พระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ เศรษฐกิจพอเพยี งและการพฒั นาอยา่ ง กบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ ยงั่ ยนื (ท่ีสอดคลอ้ งกบั หลกั ธรรมในสาระ การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื การเรียนรู้ ขอ้ 6 )

18 ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. 3 4. วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั จิ ากพระพทุ ธรูป  ศึกษาพุทธประวตั ิจากพระพุทธรูปปาง ตา่ ง ๆ เช่น ปางตา่ งๆ หรือประวตั ิศาสดาที่ตนนบั ถือ o ปางมารวชิ ยั ตามท่ีกาหนด o ปางปฐมเทศนา o ปางลีลา o ปางประจาวนั เกิด  สรุปและวเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั ิ  ปฐมเทศนา  โอวาทปาฏิโมกข์ 5. วเิ คราะห์และประพฤติตนตาม  พระอญั ญาโกณฑญั ญะ แบบอยา่ งการดาเนินชีวติ และขอ้ คิดจาก  พระมหาปชาบดีเถรี ประวตั ิสาวก ชาดก/เร่ืองเล่าและ  พระเขมาเถรี ศาสนิกชนตวั อยา่ ง ตามที่กาหนด  พระเจา้ ปเสนทิโกศล  นนั ทิวิสาลชาดก  สุวณั ณหงั สชาดก 6. อธิบายสังฆคุณ และขอ้ ธรรมสาคญั ใน ➢ พระรัตนตรัย กรอบอริยสจั 4 หรือหลกั ธรรมของ  สังฆคุณ 9 ศาสนาที่ตนนบั ถือตามที่กาหนด ➢ อริยสัจ 4  ทุกข์ (ธรรมท่ีควรรู้) o ขนั ธ์ 5 -ไตรลกั ษณ์  สมทุ ยั (ธรรมท่ีควรละ) o หลกั กรรม -วฏั ฏะ 3 -ปปัญจธรรม 3 (ตณั หา มานะ ทิฎฐิ)  นิโรธ (ธรรมท่ีควรบรรลุ) o อตั ถะ 3  มรรค (ธรรมท่ีควรเจริญ) o มรรคมีองค์ 8 o ปัญญา 3 o สปั ปุริสธรรม 7 o บุญกิริยาวตั ถุ 10 o อุบาสกธรรม 7 o มงคล 38

19 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - มีศิลปวิทยา - พบสมณะ - ฟังธรรมตามกาล - สนทนาธรรมตามกาล 7. เห็นคุณค่า และวเิ คราะหก์ ารปฏิบตั ิตน  การปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรม (ตามสาระ ตามหลกั ธรรมในการพฒั นาตน การเรียนรู้ ขอ้ 6.) เพือ่ เตรียมพร้อมสาหรับการทางาน และการมีครอบครัว 8. เห็นคุณคา่ ของการพฒั นาจิตเพ่อื การ  พฒั นาการเรียนรู้ดว้ ยวิธีคิดแบบ เรียนรู้และดาเนินชีวิต ดว้ ยวธิ ีคิดแบบ โยนิโสมนสิการ 2 วธิ ี คือ วธิ ีคิดแบบ โยนิโสมนสิการคือ วิธีคดิ แบบอริยสัจ อริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตปุ ัจจยั และวธิ ีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจยั หรือ การพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ ตนนบั ถือ ม. 3 9. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บริหารจิตและ  สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา เจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตาม  รู้และเขา้ ใจวธิ ีปฏิบตั ิและประโยชนข์ อง แนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ การบริหารจิตและเจริญปัญญา  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม หลกั สติปัฎฐานเนน้ อานาปานสติ  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 10. วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งและยอมรับวิถี  วถิ ีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนศาสนา การดาเนินชีวติ ของศาสนิกชนในศาสนา อ่ืนๆ อ่ืนๆ

20 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.4-ม.6 1.วิเคราะหส์ ังคมชมพูทวีป สงั คมอาเซียน  ลกั ษณะของสังคมชมพูทวปี และคติความ และคติความเช่ือทางศาสนาสมยั ก่อน เช่ือทางศาสนาสมยั ก่อนพระพุทธเจา้ พระพุทธเจา้ หรือสงั คมสมยั ของศาสดาท่ี ตนนบั ถือ 2. วิเคราะห์ พระพทุ ธเจา้ ในฐานะเป็น  พระพทุ ธเจา้ ในฐานะเป็นมนุษย์ ผฝู้ ึกตน มนุษยผ์ ฝู้ ึกตนไดอ้ ยา่ งสูงสุดในการตรัสรู้ ไดอ้ ยา่ งสูงสุด (การตรัสรู้) การก่อต้งั วิธีการสอนและการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา หรือวเิ คราะห์ประวตั ิ  การก่อต้งั พระพทุ ธศาสนา วธิ ีการสอน ศาสดาที่ตนนบั ถือ ตามที่กาหนด และการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาตามแนว พุทธจริยา 3.วิเคราะห์พทุ ธประวตั ิดา้ นการบริหาร  พทุ ธประวตั ิดา้ นการบริหารและการธารง และการธารงรักษาศาสนา หรือ วเิ คราะห์ รักษาพระพทุ ธศาสนา ประวตั ิศาสดาท่ีตนนบั ถือ ตามที่กาหนด 4. วเิ คราะห์ขอ้ ปฏิบตั ิทางสายกลางใน  พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวธิ ีการที่เป็น พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนา สากลและมีขอ้ ปฏิบตั ิที่ยดึ ทางสายกลาง ท่ีตนนบั ถือ ตามที่กาหนด 5. วเิ คราะห์การพฒั นาศรัทธา และปัญญาท่ี  พระพุทธศาสนาเนน้ การพฒั นาศรัทธา ถกู ตอ้ งในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิด และปัญญาที่ถูกตอ้ ง ของศาสนาที่ตนนบั ถือ ตามท่ีกาหนด 6. วเิ คราะหล์ กั ษณะประชาธิปไตยใน  ลกั ษณะประชาธิปไตยในพระพทุ ธ- พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนา ศาสนา ที่ตนนบั ถือตามที่กาหนด  หลกั การของพระพทุ ธศาสนากบั หลกั 7. วเิ คราะห์หลกั การของพระพทุ ธศาสนา วิทยาศาสตร์ กบั หลกั วิทยาศาสตร์ หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนบั ถือ ตามท่ีกาหนด  การคิดตามนยั แห่งพระพุทธศาสนาและ การคิดแบบวิทยาศาสตร์ 8. วเิ คราะห์การฝึกฝนและพฒั นาตนเอง  พระพุทธศาสนาเนน้ การฝึกหดั อบรมตน การพ่ึงตนเอง และการมุ่งอิสรภาพใน การพ่งึ ตนเอง และการมุง่ อิสรภาพ พระพทุ ธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาท่ี ตนนบั ถือตามท่ีกาหนด

21 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 9. วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนาวา่  พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา เป็ นศาสตร์แห่งการศึกษาซ่ึงเนน้  พระพทุ ธศาสนาเนน้ ความสัมพนั ธ์ ความสัมพนั ธข์ องเหตปุ ัจจยั กบั ของเหตุปัจจยั และวิธีการแกป้ ัญหา วธิ ีการแกป้ ัญหา หรือแนวคิดของศาสนา ที่ตนนบั ถือตามที่กาหนด 10. วเิ คราะห์พระพทุ ธศาสนาในการฝึก  พระพทุ ธศาสนาฝึกตนไมใ่ หป้ ระมาท ตนไม่ใหป้ ระมาท มุ่งประโยชนแ์ ละ  พระพทุ ธศาสนามุ่งประโยชนส์ ุขและ สันติภาพบคุ คล สงั คมและโลก หรือ สันติภาพแก่บุคคล สงั คมและโลก แนวคิดของศาสนาที่ตนนบั ถือตามที่ กาหนด 11. วิเคราะห์พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญา  พระพทุ ธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกิจ ของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพฒั นา พอเพยี งและการพฒั นาแบบยง่ั ยนื ประเทศแบบยง่ั ยนื หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนบั ถือตามที่กาหนด 12. วิเคราะหค์ วามสาคญั ของ  ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนากบั พระพทุ ธศาสนาเก่ียวกบั การศึกษา การศึกษาท่ีสมบูรณ์ ที่สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพ  ความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนากบั หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนบั ถือ การเมือง ตามท่ีกาหนด  ความสาคญั ของพระพุทธศาสนากบั สนั ติภาพ ม.4-ม.6 13. วิเคราะห์หลกั ธรรมในกรอบ ➢ พระรัตนตรัย อริยสัจ 4 หรือหลกั คาสอนของศาสนา  วิเคราะห์ความหมายและคุณคา่ ของ ที่ตนนบั ถือ พุทธะ ธรรมะ สังฆะ ➢ อริยสัจ 4  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) o ขนั ธ์ 5 - นามรูป - โลกธรรม 8 - จิต, เจตสิก  สมุทยั (ธรรมที่ควรละ) o หลกั กรรม - นิยาม 5

22 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - กรรมนิยาม ( กรรม 12) - ธรรมนิยาม(ปฏิจจสมุปบาท) o วิตก 3 o มิจฉาวณิชชา 5 o นิวรณ์ 5 o อุปาทาน 4  นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรล)ุ o ภาวนา 4 o วิมตุ ติ 5 o นิพพาน  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o พระสทั ธรรม 3 o ปัญญาวฒุ ิธรรม 4 o พละ 5 o อุบาสกธรรม 5 o อปริหานิยธรรม 7 o ปาปณิกธรรม 3 o ทิฏฐธมั มิกตั ถสังวตั ตนิกธรรม 4 o โภคอาทิยะ 5 o อริยวฑั ฒิ 5 o อธิปไตย 3 o สาราณียธรรม 6 o ทศพธิ ราชธรรม 10 o วปิ ัสสนาญาณ 9 o มงคล 38 - สงเคราะห์บุตร - สงเคราะหภ์ รรยา - สนั โดษ - ถูกโลกธรรมจิตไม่หวนั่ ไหว - จิตไมเ่ ศร้าโศก - จิตไมม่ วั หมอง - จิตเกษม - ความเพยี รเผากิเลส

ช้ัน 23 ม.4-ม.6 ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง - ประพฤติพรหมจรรย์ - เห็นอริยสจั - บรรลนุ ิพพาน ➢ พุทธศาสนสุภาษิต  จิตฺต ทนฺต สุขาวห จิตท่ีฝึกดีแลว้ นาสุขมาให้  นอจุ ฺจาวจ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ บณั ฑิตยอ่ มไม่แสดงอาการข้ึน ๆ ลง ๆ  นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนที่ไมถ่ ูกนินทา ไม่มีในโลก  โกธ ฆตฺวา สุข เสติ ฆ่าความโกรธไดย้ อ่ มอยเู่ ป็นสุข  ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฺ ฐาตา วินฺทเต ธน คนขยนั เอาการเอางาน กระทา เหมาะสม ยอ่ มหาทรัพยไ์ ด้  วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปปฺ ทา เกิดเป็นคนควรจะพยายามจนกวา่ จะ ประสบความสาเร็จ  สนฺตฎฺ ฐี ปรม ธน ความสนั โดษเป็นทรัพยอ์ ยา่ งยงิ่  อิณาทาน ทกุ ฺข โลเก การเป็นหน้ีเป็นทุกขใ์ นโลก  ราชา มุข มนุสฺสาน พระราชาเป็ นประมุขของประชาชน  สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเป็ นเครื่ องต่ืนในโลก  นตฺถิ สนฺติปร สุข สุขอ่ืนยง่ิ กวา่ ความสงบไมม่ ี  นิพฺพาน ปรม สุข นิพพานเป็นสุข อยา่ งยง่ิ

24 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 14. วเิ คราะห์ขอ้ คิดและแบบอยา่ ง ➢ พุทธสาวก พุทธสาวกิ การดาเนินชีวติ จากประวตั ิสาวก ชาดก  พระอสั สชิ เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตวั อยา่ ง ตามที่  พระกีสาโคตมีเถรี กาหนด  พระนางมลั ลิกา  หมอชีวก โกมารภจั  พระอนุรุทธะ  พระองคุลิมาล  พระธมั มทินนาเถรี  จิตตคหบดี  พระอานนท์  พระปฏาจาราเถรี  จูฬสุภทั ทา  สุมนมาลาการ ➢ ชาดก  เวสสนั ดรชาดก  มโหสธชาดก  มหาชนกชาดก ➢ ชาวพุทธตวั อย่าง  พระนาคเสน - พระยามิลินท์  สมเด็จพระวนั รัต (เฮง เขมจารี)  พระอาจารยม์ น่ั ภรู ิทตฺโต  สุชีพ ปญุ ญานุภาพ  สมเด็จพระนารายณ์มหาราช  พระธรรมโกศาจารย์ (พทุ ธทาสภิกข)ุ ม.4-ม.6  พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานนั ท ภิกข)ุ  ดร.เอม็ เบดการ์  พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั  พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)  พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต)  อนาคาริก ธรรมปาละ

25 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 15. วเิ คราะห์คุณคา่ และความสาคญั ของ  วิธีการศึกษาและคน้ ควา้ พระไตรปิ ฏก และ การสังคายนา พระไตรปิ ฎก หรือคมั ภีร์ คมั ภีร์ของศาสนาอื่น ๆ การสงั คายนาและ ของศาสนาที่ตนนบั ถือ และการเผยแผ่ การเผยแผพ่ ระไตรปิ ฏก  ความสาคญั และคุณค่าของพระไตรปิ ฏก 16. เชื่อมน่ั ต่อผลของการทาความดี ความ  ตวั อยา่ งผลที่เกิดจากการทาความดี ชว่ั สามารถวเิ คราะหส์ ถานการณ์ท่ีตอ้ ง ความชว่ั เผชิญ และตดั สินใจเลือกดาเนินการหรือ  โยนิโสมนสิการดว้ ยวิธีคิดแบบอริยสัจ ปฏิบตั ิตนไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลถกู ตอ้ งตาม  หลกั ธรรมตามสาระการเรียนรู้ขอ้ 13 หลกั ธรรม จริยธรรม และกาหนด เป้าหมาย บทบาทการดาเนินชีวิตเพื่อการ อยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข และอยรู่ ่วมกนั เป็นชาติอยา่ งสมานฉนั ท์ 17. อธิบายประวตั ิศาสดาของศาสนาอ่ืนๆ ◆ ประวตั ิพระพทุ ธเจา้ มุฮมั มดั พระเยซู โดยสังเขป 18.ตระหนกั ในคุณคา่ และความสาคญั ◆ คุณค่าและความสาคญั ของค่านิยมและ ของคา่ นิยม จริยธรรมท่ีเป็นตวั กาหนด จริยธรรม ความเชื่อและพฤติกรรมที่แตกต่างกนั ◆ การขจดั ความขดั แยง้ เพ่ืออยรู่ ่วมกนั อยา่ ง ของศาสนิกชนศาสนาตา่ งๆ เพ่อื ขจดั สนั ติสุข ความขดั แยง้ และอยรู่ ่วมกนั ในสังคมอยา่ ง สนั ติสุข 19. เห็นคุณคา่ เชื่อมนั่ และมงุ่ มนั่ พฒั นา  พฒั นาการเรียนรู้ดว้ ยวธิ ีคิดแบบโยนิโส ชีวติ ดว้ ยการพฒั นาจิตและพฒั นาการ มนสิการ 10 วธิ ี (เนน้ วิธีคิดแบบแยกแยะ เรียนรู้ดว้ ยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ส่วนประกอบ แบบสามญั ญลกั ษณะ หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของ แบบเป็นอยใู่ นขณะปัจจุบนั และแบบ วิภชั ศาสนาท่ีตนนบั ถือ ชวาท ) 1) วธิ ีคิดแบบสืบสาวเหตปุ ัจจยั 2) วธิ ีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ 3) วธิ ีคิดแบบสามญั ลกั ษณะ 4) วธิ ีคิดแบบอริยสจั 5) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสมั พนั ธ์ 6) วิธีคิดแบบคุณค่าแท-้ คุณค่าเทียม

26 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 7) วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออก 8) วิธีคิดแบบอบุ าย ปลุกเร้าคุณธรรม 9) วธิ ีคิดแบบเป็นอยใู่ นขณะปัจจุบนั 10) วิธีคิดแบบวภิ ชั ชวาท 20. สวดมนต์ แผเ่ มตตา และบริหารจิต ➢ สวดมนตแ์ ปล และแผเ่ มตตา รู้และเขา้ ใจวิธีปฏิบตั ิและประโยชน์ของ และเจริญปัญญาตามหลกั สติปัฏฐาน หรือ การบริหารจิตและเจริญปัญญา ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถือ  ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตาม หลกั สติปัฎฐาน  นาวิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใชใ้ นการพฒั นาการเรียนรู้ คุณภาพ ชีวิตและสงั คม 21. วเิ คราะหห์ ลกั ธรรมสาคญั ในการอยู่ ◆ หลกั ธรรมสาคญั ในการอยรู่ ่วมกนั ร่วมกนั อยา่ งสันติสุขของศาสนาอื่นๆ อยา่ งสนั ติสุข และชกั ชวน ส่งเสริม สนบั สนุนใหบ้ คุ คล o หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา อ่ืนเห็นความสาคญั ของการทาความดี เช่น สาราณียธรรม 6 อธิปไตย 3 ต่อกนั มิจฉาวณิชชา 5 อริยวฑั ฆิ 5 โภค อาทิยะ 5 ◆ คริสตศ์ าสนา ไดแ้ ก่ บญั ญตั ิ 10 ประการ (เฉพาะที่เกี่ยวขอ้ ง) ◆ ศาสนาอิสลาม ไดแ้ ก่ หลกั จริยธรรม (เฉพาะที่เกี่ยวขอ้ ง) 22. เสนอแนวทางการจดั กิจกรรม ความ ◆ สภาพปัญหาในชุมชน และสงั คม ร่วมมือของทกุ ศาสนาในการแกป้ ัญหา และพฒั นาสงั คม

27 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.2 เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาที่ตนนบั ถือ ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. บาเพญ็ ประโยชนต์ ่อศาสนสถานของ  การบาเพญ็ ประโยชน์ และ ศาสนาท่ีตนนบั ถือ การบารุงรักษาวดั 2. อธิบายจริยวตั รของสาวกเพอื่ เป็น  วิถีชีวติ ของพระภิกษุ แบบอยา่ งในการประพฤติปฏิบตั ิ และ  บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่ ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ สาวกของ พระพุทธศาสนา เช่น การแสดงธรรม ศาสนาที่ตนนบั ถือ ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนใหเ้ ป็น แบบอยา่ ง  การเขา้ พบพระภิกษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ พระรัตนตรัย การฟังเจริญ พระพุทธมนต์ การฟังสวด พระอภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา 3. ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อบุคคล  ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ เพอื่ นตาม ตา่ งๆ ตามหลกั ศาสนาท่ีตนนบั ถือ หลกั พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน ตามที่กาหนด นบั ถือ 4. จดั พธิ ีกรรม และปฏิบตั ิตนใน  การจดั โตะ๊ หม่บู ชู า แบบ หมู่4 หมู่ 5 หมู่ ศาสนพิธี พธิ ีกรรมไดถ้ ูกตอ้ ง 7 หมู่9  การจุดธูปเทียน การจดั เครื่องประกอบ โตะ๊ หมบู่ ชู า  คาอาราธนาต่างๆ 5. อธิบายประวตั ิ ความสาคญั และ ปฏิบตั ิ  ประวตั ิและความสาคญั ของวนั ธรรม ตนในวนั สาคญั ทางศาสนา ที่ตนนบั ถือ สวนะ วนั เขา้ พรรษา วนั ออกพรรษา ตามท่ีกาหนด ไดถ้ ูกตอ้ ง วนั เทโวโรหณะ  ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบตั ิตน ในวนั มาฆบูชา วนั วสิ าขบูชา วนั อฏั ฐมี บูชา วนั อาสาฬหบชู า วนั ธรรมสวนะ และเทศกาลสาคญั

28 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.2 1. ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคล ตา่ ง  การเป็นลูกที่ดี ตามหลกั ทิศเบ้ืองหนา้ ๆ ตามหลกั ศาสนาท่ีตนนบั ถือ ตามท่ี ในทิศ 6 กาหนด 2. มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดี  การตอ้ นรับ (ปฏิสันถาร) ตามที่กาหนด  มรรยาทของผเู้ ป็นแขก 3. วิเคราะหค์ ุณคา่ ของศาสนพิธี และ  ฝึกปฏิบตั ิระเบียบพิธี ปฏิบตั ิต่อพระภิกษุ การยนื การใหท้ ่ีนง่ั การเดินสวน การสนทนา การรับส่ิงของ  การแต่งกายไปวดั การแตง่ กายไปงาน มงคล งานอวมงคล  การทาบุญตกั บาตร ปฏิบตั ิตนไดถ้ กู ตอ้ ง  การถวายภตั ตาหารส่ิงของท่ีควรถวาย และส่ิงของตอ้ งหา้ มสาหรับพระภิกษุ  การถวายสงั ฆทาน เคร่ืองสงั ฆทาน  การถวายผา้ อาบน้าฝน  การจดั เคร่ืองไทยธรรม เคร่ืองไทยทาน  การกรวดน้า  การทอดกฐิน การทอดผา้ ป่ า 4. อธิบายคาสอนท่ีเกี่ยวเน่ืองกบั  หลกั ธรรมเบ้ืองตน้ ท่ีเก่ียวเนื่องใน วนั สาคญั ทางศาสนา และปฏิบตั ิตน วนั มาฆบชู า วนั วสิ าขบชู า ไดถ้ กู ตอ้ ง วนั อฏั ฐมีบูชา วนั อาสาฬหบูชา  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั  ระเบียบพิธีและการปฏิบตั ิตน ในวนั ธรรมสวนะ วนั เขา้ พรรษา วนั ออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ 5. อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี  ศาสนพธิ ี/พธิ ีกรรม แนวปฏิบตั ิของ พิธีกรรม ตาม แนวปฏิบตั ิของศาสนา ศาสนาอื่น ๆ อ่ืน ๆ เพอื่ นาไปสู่การยอมรับ และความ เขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั

29 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 1. วเิ คราะห์หนา้ ที่และบทบาทของสาวก  หนา้ ที่ของพระภิกษใุ นการปฏิบตั ิ และปฏิบตั ิตนต่อสาวก ตามที่กาหนดได้ ตามหลกั พระธรรมวนิ ยั และจริยวตั ร ถูกตอ้ ง อยา่ งเหมาะสม  การปฏิบตั ิตนตอ่ พระภิกษใุ นงาน ศาสนพธิ ีที่บา้ น การสนทนา การแต่งกาย มรรยาทการพูดกบั พระภิกษตุ ามฐานะ 2. ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมตอ่ บุคคล  การเป็นศิษยท์ ่ีดี ตามหลกั ทิศเบ้ืองขวา ตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนา ตามท่ีกาหนด ในทิศ 6 ของพระพุทธศาสนา 3. ปฏิบตั ิหนา้ ที่ของศาสนิกชนที่ดี  การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีชาวพุทธตามพุทธ ปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร 4. ปฏิบตั ิตนในศาสนพิธีพธิ ีกรรมได้  พิธีทาบญุ งานมงคล งานอวมงคล ถูกตอ้ ง  การนิมนตพ์ ระภิกษุ การเตรียมท่ีต้งั พระพุทธรูปและเคร่ืองบูชา การวงดา้ ย สายสิญจน์ การปูลาดอาสนะ การเตรียม เคร่ืองรับรอง การจุดธูปเทียน  ขอ้ ปฏิบตั ิในวนั เล้ียงพระ การถวายขา้ ว พระพทุ ธ การถวายไทยธรรม การกรวดน้า 5. อธิบายประวตั ิวนั สาคญั ทางศาสนา ➢ ประวตั ิวนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ตามท่ีกาหนดและปฏิบตั ิตนไดถ้ ูกตอ้ ง ในประเทศไทย  วนั วสิ าขบชู า (วนั สาคญั สากล)  วนั ธรรมสวนะและเทศกาลสาคญั ➢ หลกั ปฏิบตั ิตน : การฟังพระธรรม เทศนา การแต่งกายในการประกอบ ศาสนพธิ ีท่ีวดั การงดเวน้ อบายมุข ➢ การประพฤติปฏิบตั ิในวนั ธรรมสวนะ 6. แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรือ และเทศกาลสาคญั แสดงตนเป็ นศาสนิกชนของศาสนา ที่ตนนบั ถือ ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ  ข้นั เตรียมการ  ข้นั พิธีการ

30 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 7. นาเสนอแนวทางในการธารงรักษา ศาสนาที่ตนนบั ถือ  การศึกษาเรียนรู้เรื่ององคป์ ระกอบของ พระพทุ ธศาสนา นาไปปฏิบตั ิและเผย ม.4-ม.6 1. ปฏิบตั ิตนเป็นศาสนิกชนที่ดีตอ่ สาวก แผต่ ามโอกาส สมาชิกในครอบครวั คนรอบขา้ ง  การศึกษาการรวมตวั ขององคก์ ร ชาวพทุ ธ  การปลูกจิตสานึกในดา้ นการบารุงรักษา วดั และพุทธสถานใหเ้ กิดประโยชน์ ➢ ปฏิบตั ิตนเป็นชาวพุทธที่ดีตอ่ พระภิกษุ  การเขา้ ใจในกิจของพระภิกษุ เช่น การศึกษา การปฏิบตั ิธรรม และ การเป็นนกั บวชท่ีดี  คุณสมบตั ิทายกและปฏิคาหก  หนา้ ที่และบทบาทของพระภิกษุ ในฐานะพระนกั เทศก์ พระธรรมทูต พระธรรมจาริก พระวิทยากร พระวิปัสสนาจารย์ และพระนกั พฒั นา  การปกป้องคุม้ ครอง พระพุทธศาสนาของพุทธบริษทั ในสงั คมไทย  การปฏิบตั ิตนตอ่ พระภิกษุทางกาย วาจา และใจ ที่ประกอบดว้ ย เมตตา  การปฏิสนั ถารท่ีเหมาะสมตอ่ พระภิกษุ ในโอกาสต่าง ๆ ➢ ปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว สังคมและ  การรักษาศีล 8  การเขา้ ร่วมกิจกรรมและเป็นสมาชิก ขององคก์ รชาวพทุ ธ  การเป็นชาวพุทธท่ีดี ตามหลกั ทิศ เบ้ืองบน ในทิศ 6

31 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 2. ปฏิบตั ิตนถูกตอ้ งตามศาสนพธิ ี  การปฏิบตั ิตนท่ีเหมาะสมในฐานะ พิธีกรรมตามหลกั ศาสนาท่ีตนนบั ถือ ผปู้ กครองและ ผอู้ ยใู่ นปกครอง ตาม หลกั ทิศเบ้ืองลา่ ง ในทิศ 6  การปฏิสนั ถารตามหลกั ปฏิสนั ถาร 2  หนา้ ที่และบทบาทของอบุ าสก อุบาสิกาท่ีมีตอ่ สงั คมไทยในปัจจุบนั  การปฏิบตั ิตนเป็นสมาชิกที่ดีของ ครอบครวั ตามหลกั ทิศเบ้ืองหลงั ในทิศ 6  การบาเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และโลก ➢ ประเภทของศาสนพธิ ีในพระพุทธศาสนา  ศาสนพธิ ีเนื่องดว้ ยพทุ ธบญั ญตั ิ เช่น พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ พธิ ี เวยี นเทียน ถวายสงั ฆทาน ถวายผา้ อาบน้าฝน พธิ ีทอดกฐิน พิธีปวารณา เป็ นตน้  ศาสนพธิ ีที่นาพระพทุ ธศาสนา เขา้ ไปเกี่ยวเน่ือง เช่น การทาบญุ เล้ียง พระในโอกาสต่างๆ ➢ ความหมาย ความสาคญั คติธรรม ในพิธีกรรม บทสวดมนตข์ องนกั เรียน งานพิธี คุณค่าและประโยชน์ ➢ พธิ ีบรรพชาอุปสมบท คุณสมบตั ิของ ผขู้ อบรรพชาอปุ สมบท เคร่ืองอฏั ฐ บริขาร ประโยชน์ของการ บรรพชา อปุ สมบท ➢ บญุ พิธี ทานพธิ ี กศุ ลพธิ ี ➢ คุณค่าและประโยชน์ของศาสนพิธี

32 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือ ➢ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ แสดงตนเป็ นศาสนิกชนของศาสนา  ข้นั เตรียมการ ที่ตนนบั ถือ  ข้นั พธิ ีการ 4. วเิ คราะหห์ ลกั ธรรม คติธรรมท่ี  หลกั ธรรม/คติธรรมท่ีเกี่ยวเนื่องกบั เก่ียวเนื่องกบั วนั สาคญั ทางศาสนา และ วนั สาคญั และเทศกาลท่ีสาคญั ใน เทศกาลที่สาคญั ของศาสนาที่ตนนบั ถือ พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาอ่ืน และปฏิบตั ิตนไดถ้ กู ตอ้ ง  การปฏิบตั ิตนที่ถูกตอ้ งในวนั สาคญั และเทศกาลท่ีสาคญั ในพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาอ่ืน 5. สมั มนาและเสนอแนะแนวทางในการ  การปกป้อง คุม้ ครอง ธารงรักษา ธารงรักษาศาสนาท่ีตนนบั ถือ อนั ส่งผลถึง พระพทุ ธศาสนาของพทุ ธบริษทั การพฒั นาตน พฒั นาชาติ และโลก ในสังคมไทย สังคมภมู ิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้  การปลกู จิตสานึก และการมีส่วนร่วม ในสงั คมพุทธ

33 สาระท่ี 2 หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เขา้ ใจและปฏิบตั ิตนตามหนา้ ท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงามและธารงรักษา ประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทย และสงั คมโลกอยา่ งสันติสุข ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. ปฏิบตั ิตามกฎหมายในการคุม้ ครอง  กฎหมายในการคุม้ ครองสิทธิของบคุ คล สิทธิของบคุ คล - กฎหมายการคุม้ ครองเด็ก - กฎหมายการศึกษา - กฎหมายการคุม้ ครองผบู้ ริโภค - กฎหมายลิขสิทธ์ิ  ประโยชนข์ องการปฏิบตั ิตนตาม กฎหมายการคุม้ ครองสิทธิของบุคคล 2. ระบคุ วามสามารถของตนเอง  บทบาทและหนา้ ที่ของเยาวชนท่ีมีตอ่ ในการทาประโยชน์ต่อสังคมและ สังคมและประเทศชาติ โดยเนน้ จิต ประเทศชาติ สาธารณะ เช่น เคารพกติกาสงั คม ปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย มีส่วนร่วมและ รับผดิ ชอบในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ รักษา สาธารณประโยชน์ 3. อภิปรายเกี่ยวกบั คุณค่าทางวฒั นธรรม  ความคลา้ ยคลึงและความแตกตา่ งระหวา่ ง ที่เป็นปัจจยั ในการสร้างความสมั พนั ธท์ ่ีดี วฒั นธรรมไทยกบั วฒั นธรรมของประเทศ หรืออาจนาไปสู่ความเขา้ ใจผิดตอ่ กนั ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้  วฒั นธรรมที่เป็นปัจจยั ในการสร้าง ความสัมพนั ธ์ท่ีดี หรืออาจนาไปสู่ความ เขา้ ใจผิดต่อกนั  วธิ ีปฏิบตั ิตนในการเคารพในสิทธิของ 4. แสดงออกถึงการเคารพในสิทธิของ ตนเอง ผอู้ ่ืน ตนเอง และผอู้ ื่น  ผลที่ไดจ้ ากการเคารพในสิทธิของตนเอง ผอู้ ื่น

34 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.2 1. อธิบายและปฏิบตั ิตนตามกฎหมายที่  กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว เก่ียวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ เช่น - กฎหมายเก่ียวกบั ความสามารถของ ประเทศ ผเู้ ยาว์ - กฎหมายบตั รประจาตวั ประชาชน - กฎหมายเพ่งเก่ียวกบั ครอบครัวและ มรดก เช่น การหม้นั การสมรส การรับรองบุตร การรับบตุ รบุญธรรม และมรดก  กฎหมายท่ีเก่ียวกบั ชุมชนและประเทศ - กฎหมายเกี่ยวกบั การอนุรักษธ์ รรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม - กฎหมายเกี่ยวกบั ภาษอี ากร และกรอก แบบแสดงรายการ ภาษีเงินไดบ้ ุคคล ธรรมดา - กฎหมายแรงงาน 2. เห็นคุณค่าในการปฏบิ ตั ิตนตาม  สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนา้ ท่ี สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนา้ ท่ี ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย  แนวทางส่งเสริมใหป้ ฏิบตั ิตนเป็น 3. วเิ คราะห์บทบาท ความสาคญั และ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ความสมั พนั ธ์ของสถาบนั ทางสงั คม  บทบาท ความสาคญั และความสัมพนั ธ์ 4.อธิบายความคลา้ ยคลึงและความ ของสถาบนั ทางสงั คม เช่น สถาบนั แตกตา่ งของวฒั นธรรมไทย และ ครอบครวั สถาบนั การศึกษา สถาบนั วฒั นธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ศาสนา สถาบนั เศรษฐกิจ สถาบนั เพ่ือนาไปสู่ความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งกนั ทางการเมืองการปกครอง  ความคลา้ ยคลึงและความแตกตา่ งของ วฒั นธรรมไทย และวฒั นธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียวฒั นธรรมเป็น ปัจจยั สาคญั ในการสร้างความเขา้ ใจอนั ดี ระหวา่ งกนั

35 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 1. อธิบายความแตกต่างของการกระทา  ลกั ษณะการกระทาความผิดทางอาญา ความผิดระหวา่ งคดีอาญาและคดีแพ่ง และโทษ  ลกั ษณะการกระทาความผดิ ทางแพ่ง และโทษ  ตวั อยา่ งการกระทาความผิดทางอาญา เช่น ความผดิ เกี่ยวกบั ทรัพย์  ตวั อยา่ งการทาความผิดทางแพง่ เช่น การทาผิดสญั ญา การทาละเมิด 2. มีส่วนร่วมในการปกป้องคุม้ ครองผอู้ ่ืน  ความหมาย และความสาคญั ของสิทธิ ตามหลกั สิทธิมนุษยชน มนุษยชน  การมีส่วนร่วมคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย ตามวาระและโอกาสที่เหมาะสม 3. อนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย วฒั นธรรม  ความสาคญั ของวฒั นธรรมไทย อาเซียนและเลือกรับวฒั นธรรมสากลท่ี ภูมิปัญญาไทย วฒั นธรรมอาเซียนและ เหมาะสม วฒั นธรรมสากล  การอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทยและ ภูมิปัญญาไทยที่เหมาะสม  การเลือกรับวฒั นธรรมสากลท่ีเหมาะสม 4. วิเคราะหป์ ัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดปัญหาความ  ปัจจยั ท่ีก่อใหเ้ กิดความขดั แยง้ เช่น ขดั แยง้ ในประเทศ และเสนอแนวคิดใน การเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ การลดความขดั แยง้ สงั คม ความเชื่อ  สาเหตุปัญหาทางสงั คม เช่น ปัญหา สิ่งแวดลอ้ ม ปัญหายาเสพติด ปัญหา การทจุ ริต ปัญหาอาชญากรรม ฯลฯ  แนวทางความร่วมมอื ในการลดความ ขดั แยง้ และการสร้างความสมานฉนั ท์

36 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.4-ม.6 5. เสนอแนวคิดในการดารงชีวิตอยา่ งมี  ปัจจยั ที่ส่งเสริมการดารงชีวิตใหม้ ี ความสุขในประเทศ และสงั คมโลก ความสุข เช่น การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมี ขนั ติธรรม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง เห็นคุณค่าในตนเอง รุ้จกั มอง โลกในแง่ดี สร้างทกั ษะทางอารมณ์ รู้จกั บริโภคดว้ ยปัญญา เลือกรับ-ปฏิเสธ ข่าวและวตั ถตุ ่างๆ ปรับปรุงตนเองและ ส่ิงตา่ งๆใหด้ ีข้ึนอยเู่ สมอ 1. วิเคราะห์และปฏิบตั ิตนตามกฎหมายท่ี  กฎหมายเพ่งเก่ียวกบั นิติกรรมสญั ญา เช่น เก่ียวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ซ้ือขาย ขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซ้ือ กูย้ มื ประเทศชาติ และสังคมโลก เงิน จานา จานอง  กฎหมายอาญา เช่น ความผดิ เก่ียวกบั ทรัพยค์ วามผิดเกี่ยวกบั ชีวิตและร่างกาย  กฎหมายอ่ืนที่สาคญั เช่น รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั กฎหมายการรับราชการทหาร กฎหมาย ภาษีอากร กฎหมายคุม้ ครองผบู้ ริโภค  ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ เช่น ปฏิญญา สากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุษยชน กฎหมาย มนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ 2. วเิ คราะห์ความสาคญั ของโครงสร้าง  โครงสร้างทางสังคม ทางสังคม การขดั เกลาทางสงั คม และ - การจดั ระเบียบทางสงั คม การเปล่ียนแปลงทางสงั คม - สถาบนั ทางสงั คม  การขดั เกลาทางสังคม  การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม  การแกป้ ัญหาและแนวทางการพฒั นา ทางสังคม 3. ปฏิบตั ิตนและมีส่วนสนบั สนุนใหผ้ อู้ ืน่  คุณลกั ษณะพลเมืองดีของประเทศชาติ ประพฤติปฏิบตั ิเพอ่ื เป็นพลเมืองดีของ และสังคมโลก เช่น ประเทศชาติ และสังคมโลก - เคารพกฎหมาย และกติกาสังคม - เคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและ บคุ คลอ่ืน - มีเหตผุ ล รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน

37 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง - มีความรับผดิ ชอบต่อตนเอง สงั คม ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก - เขา้ ร่วมกิจกรรมทางการเมือง การปกครอง - มีส่วนร่วมในการป้องกนั แกไ้ ข ปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง สิ่งแวดลอ้ ม - มีคุณธรรมจริยธรรม ใชเ้ ป็น ตวั กาหนดความคิด 4. ประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนใน  ความหมาย ความสาคญั แนวคิดและ ประเทศไทย และเสนอแนวทางพฒั นา หลกั การของสิทธิมนุษยชน  บทบาทขององคก์ รระหวา่ งประเทศ ในเวทีโลกที่มีผลต่อประทศไทย  สาระสาคญั ของปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ย สิทธิมนุษยชน  บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชน  ปัญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศ และแนวทางแกป้ ัญหาและพฒั นา 5. วิเคราะห์ความจาเป็นท่ีตอ้ งมีการ  ความหมายและความสาคญั ของ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์ วฒั นธรรม วฒั นธรรมไทยและเลือกรับวฒั นธรรม  ลกั ษณะและความสาคญั ของวฒั นธรรม สากล ไทยที่สาคญั  การปรับปรุงเปล่ียนแปลงและอนุรักษ์ วฒั นธรรมไทย  ความแตกตา่ งระหวา่ งวฒั นธรรมไทยกบั วฒั นธรรมสากล  แนวทางการอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย ที่ดีงาม  วธิ ีการเลือกรับวฒั นธรรมสากล

38 สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสงั คมปัจจุบนั ยดึ มนั่ ศรัทธาและธารงรักษา ไว้ ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายหลกั การ เจตนารมณ์  หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และ โครงสร้าง และสาระสาคญั ของ สาระสาคญั ของรัฐธรรมนูญแห่ง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ฉบบั ปัจจุบนั โดยสังเขป 2. วิเคราะหบ์ ทบาทการถว่ งดุลของ  การแบ่งอานาจ และการถว่ งดุลอานาจ อานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่ง อธิปไตยท้งั 3 ฝ่าย คือนิติบญั ญตั ิ บริหาร ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ตุลาการ ตามท่ีระบุในรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั 3. ปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญตั ิของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั  การปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญตั ิของ ปัจจุบนั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ปัจจุบนั เกี่ยวกบั สิทธิ เสรีภาพและหนา้ ท่ี ม.2 1. อธิบายกระบวนการในการตรา  กระบวนการในการตรากฎหมาย กฎหมาย - ผมู้ ีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย - ข้นั ตอนการตรากฎหมาย - การมีส่วนร่วมของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย 2. วเิ คราะหข์ อ้ มลู ขา่ วสารทางการเมือง  เหตุการณ์ และการเปล่ียนแปลงสาคญั ของ การปกครองท่ีมีผลกระทบต่อสังคมไทย ระบอบการปกครองของไทย สมยั ปัจจุบนั  หลกั การเลือกขอ้ มลู ข่าวสาร ม.3 1. อธิบายระบอบการปกครองแบบต่างๆ  ระบอบการปกครอง แบบตา่ งๆ ที่ใชใ้ น ท่ีใชใ้ นยคุ ปัจจุบนั ยคุ ปัจจุบนั เช่น การปกครองแบบ  เผด็จการ การปกครองแบบประชาธิปไตย  เกณฑก์ ารตดั สินใจ 2. วเิ คราะห์ เปรียบเทียบระบอบการ  ความแตกตา่ ง ความคลา้ ยคลึงของการ ปกครองของไทยกบั ประเทศอ่ืนๆ ท่ีมี ปกครองของไทย กบั ประเทศอื่นๆ ท่ีมีการ การปกครองระบอบประชาธิปไตย ปกครองระบอบประชาธิปไตย

39 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. วเิ คราะหร์ ัฐธรรมนูญฉบบั ปัจจุบนั ใน  บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนูญในมาตราตา่ งๆ มาตราตา่ งๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การเลือกต้งั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การเลือกต้งั การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้ และการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ อานาจรัฐ  อานาจหนา้ ทข่ี องรัฐบาล  บทบาทสาคญั ของรัฐบาลในการบริหาร ราชการแผน่ ดิน  ความจาเป็นในการมีรัฐบาลตามระบอบ ประชาธิปไตย 4. วิเคราะห์ประเด็น ปัญหาที่เป็น  ประเดน็ ปัญหาและผลกระทบท่ีเป็น อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาประชาธิปไตยของ อปุ สรรคต่อการพฒั นาประชาธิปไตยของ ประเทศไทยและเสนอแนวทางแกไ้ ข ประเทศไทย แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ม.4-ม.6 1. วิเคราะห์ปัญหาการเมืองท่ีสาคญั ใน  ปัญหาการเมืองสาคญั ท่ีเกิดข้ึน ประเทศจากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆ พร้อมท้งั ภายในประเทศ เสนอแนวทางแกไ้ ข  สถานการณ์การเมืองการปกครอง 2. เสนอแนวทาง ทางการเมืองการ ของสังคมไทย และสังคมโลก และการ ปกครองที่นาไปสู่ความเขา้ ใจ และ ประสานประโยชนร์ ่วมกนั การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหวา่ ง ประเทศ  อิทธิพลของระบบการเมืองการปกครอง ที่มีผลต่อการดาเนินชีวติ และความสัมพนั ธ์ 3. วิเคราะหค์ วามสาคญั และ ความจาเป็น ระหวา่ งประเทศ ที่ตอ้ งธารงรักษาไวซ้ ่ึงการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์  การประสานประโยชนร์ ่วมกนั ระหวา่ ง ทรงเป็ นประมขุ ประเทศ เช่น การสร้างความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งไทยกบั ประเทศต่าง ๆ  การแลกเปลี่ยนเพื่อช่วยเหลือ และส่งเสริม ดา้ นวฒั นธรรม การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม  การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข - รูปแบบของรัฐ - ฐานะและพระราชอานาจของ พระมหากษตั ริย์

40 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4. เสนอแนวทางและมีส่วนร่วมในการ  การตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ ตาม ตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปัจจุบนั ที่มีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม เช่น การตรวจสอบโดยองคก์ รอิสระ การตรวจสอบโดยประชาชน สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชท้ รัพยากร ท่ี มีอยจู่ ากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและคุม้ ค่า รวมท้งั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื การดารงชีวติ อยา่ งมีดุลยภาพ ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายความหมายและความสาคญั  ความหมายและความสาคญั ของ ของเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์เบ้ืองตน้  ความหมายของคาวา่ ทรัพยากรมีจากดั กบั ความตอ้ งการมีไมจ่ ากดั ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส 2. วเิ คราะห์คา่ นิยมและพฤติกรรมการ  ความหมายและความสาคญั ของการบริโภค บริโภคของคนในสงั คมซ่ึงส่งผลตอ่ อยา่ งมีประสิทธิภาพ เศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ  หลกั การในการบริโภคท่ีดี  ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภค  ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริโภคของ คนในสงั คมปัจจุบนั รวมท้งั ผลดีและผลเสีย ของพฤติกรรมดงั กล่าว 3. อธิบายความเป็นมาหลกั การและ  ความหมายและความเป็นมาของปรัชญาของ ความสาคญั ของปรัชญาของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพยี ง พอเพยี งตอ่ สังคมไทย  ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และ หลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั รวมท้งั โครงการตาม พระราชดาริ  หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง

41 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง  การประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการดารงชีวติ  ความสาคญั คุณค่าและประโยชนข์ อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตอ่ สงั คมไทย และสังคมไทย ม.2 1. วิเคราะหป์ ัจจยั ท่ีมผี ลต่อการลงทนุ และ  ความหมายและความสาคญั ของการลงทุน การออม และการออมตอ่ ระบบเศรษฐกิจ  การบริหารจดั การเงินออมและการลงทนุ ภาคครัวเรือน  ปัจจยั ของการลงทุนและการออมคือ อตั รา ดอกเบ้ีย รวมท้งั ปัจจยั อื่น ๆ เช่น คา่ ของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเก่ียวกบั อนาคต  ปัญหาของการลงทุนและการออมใน สังคมไทย 2. อธิบายปัจจยั การผลิตสินคา้ และบริการ  ความหมาย ความสาคญั และหลกั การผลิต และปัจจยั ที่มีอิทธิพลตอ่ การผลิตสินคา้ สินคา้ และบริการอยา่ งมีประสิทธิภาพ และบริการ  สารวจการผลิตสินคา้ ในทอ้ งถ่ิน วา่ มีการผลิต อะไรบา้ ง ใชว้ ิธีการผลิตอยา่ งไร มีปัญหา ดา้ นใดบา้ ง  มีการนาเทคโนโลยอี ะไรมาใชท้ ่ีมีผลต่อ การผลิตสินคา้ และบริการ  นาหลกั การผลิตมาวเิ คราะหก์ ารผลิตสินคา้ และบริการในทอ้ งถิ่น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม 3. เสนอแนวทางการพฒั นาการผลิตใน  หลกั การและเป้าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจ ทอ้ งถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง พอเพยี ง  สารวจและวิเคราะหป์ ัญหาการผลิตสินคา้ และบริการในทอ้ งถิ่น  ประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน การผลิตสินคา้ และบริการในทอ้ งถิ่น 4. อภิปรายแนวทางการคุม้ ครองสิทธิของ  การรักษาและคุม้ ครองสิทธิประโยชน์ของ ตนเองในฐานะผบู้ ริโภค ผบู้ ริโภค  กฎหมายคุม้ ครองสิทธิผบุ้ ริโภคและ หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง  การดาเนินกิจกรรมพทิ กั ษส์ ิทธิและ ผลประโยชนต์ ามกฎหมายในฐานะผบู้ ริโภค  แนวทางการปกป้องสิทธิของผบู้ ริโภค

42 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.3 1. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ  ความหมายและประเภทของตลาด ม.4–ม.6  ความหมายและตวั อยา่ งของอปุ สงคแ์ ละอุปทาน  ความหมายและความสาคญั ของกลไกราคา และการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ  หลกั การปรับและเปล่ียนแปลงราคาสินคา้ และบริการ 2. มีส่วนร่วมในการแกไ้ ขปัญหาและ  สารวจสภาพปัจจุบนั ปัญหาทอ้ งถิ่นท้งั พฒั นาทอ้ งถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ ทางดา้ นสงั คม เศรษฐกิจและส่ิงแวดลอ้ ม พอเพียง  วิเคราะหป์ ัญหาของทอ้ งถ่ินโดยใชป้ รัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง  แนวทางการแกไ้ ขและพฒั นาทอ้ งถ่ินตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งแนวคิด  แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การพฒั นาใน เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ระบบสหกรณ์ ระดบั ตา่ งๆ  หลกั การสาคญั ของระบบสหกรณ์  ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแนวคิดเศรษฐกิจ พอเพยี งกบั หลกั การและระบบของสหกรณ์ เพ่ือประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาเศรษฐกิจชุมชน 1. อภิปรายการกาหนดราคาและค่าจา้ งใน  ระบบเศรษฐกิจของโลกปัจจุบนั ผลดีและ ระบบเศรษฐกิจ ผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ  ตลาดและประเภทของตลาด ขอ้ ดีและ ขอ้ เสียของตลาดประเภทต่าง ๆ  การกาหนดราคาตามอุปสงค์ และอปุ ทาน การกาหนดราคาในเชิงกลยทุ ธ์ที่มีในสังคมไทย  การกาหนดคา่ จา้ ง กฎหมายที่เก่ียวขอ้ งและ อตั ราคา่ จา้ งแรงงานในสงั คมไทย  บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา และการ ควบคุมราคาเพ่อื การแจกจ่าย และจดั สรรในทาง เศรษฐกิจ 2. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของปรัชญา  การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมีตอ่ เศรษฐกิจ ในการดาเนินชีวิตของตนเอง และครอบครัว สังคมของประเทศ  การประยกุ ตใ์ ชเ้ ศรษฐกิจพอเพียงใน ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม การคา้ และบริการ  ปัญหาการพฒั นาประเทศท่ีผา่ นมา โดย การศึกษาวเิ คราะหแ์ ผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมฉบบั ท่ีผา่ นมา  การพฒั นาประเทศที่นาปรัชญาของเศรษฐกิจ

43 ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบ พอเพียงมาใช้ ในการวางแผนพฒั นา สหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกิจในระดบั เศรษฐกิจ และสังคมฉบบั ปัจจุบนั ชุมชน  ววิ ฒั นาการของสหกรณ์ในประเทศไทย  ความหมายความสาคญั และหลกั การของระบบ สหกรณ์  ตวั อยา่ งและประเภทของสหกรณ์ในประเทศไทย  ความสาคญั ของระบบสหกรณ์ในการพฒั นา เศรษฐกิจในชุมชนและประเทศ 4. วิเคราะหป์ ัญหาทางเศรษฐกิจ  ปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชน ในชุมชนและเสนอแนวทางแกไ้ ข  แนวทางการพฒั นาเศรษฐกิจของชุมชน  ตวั อยา่ งของการรวมกลมุ่ ที่ประสบ ความสาเร็จในการแกป้ ัญหาทางเศรษฐกิจ ของชุมชน สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส 3.2 เขา้ ใจระบบและสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกิจและความจาเป็น ของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. วเิ คราะห์บทบาทหนา้ ท่ีและความ  ความหมาย ประเภท และความสาคญั แตกต่างของสถาบนั การเงินแตล่ ะ ของสถาบนั การเงินที่มีตอ่ ระบบเศรษฐกิจ ประเภทและธนาคารกลาง  บทบาทหนา้ ที่และความสาคญั ของ ธนาคารกลาง  การหารายได้ รายจ่าย การออม การ ลงทุน ซ่ึงแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง ผผู้ ลิต ผบู้ ริโภค และสถาบนั การเงิน 2. ยกตวั อยา่ งที่สะทอ้ นใหเ้ ห็นการพ่ึงพา  ยกตวั อยา่ งที่สะทอ้ นใหเ้ ห็นการพ่ึงพา อาศยั กนั และการแขง่ ขนั กนั ทาง อาศยั กนั และกนั การแข่งขนั กนั ทาง เศรษฐกิจในประเทศ เศรษฐกิจในประเทศ  ปัญหาเศรษฐกิจในชุมชน ประเทศ และ เสนอแนวทางแกไ้ ข 3. ระบุปัจจยั ที่มีอิทธิพลตอ่ การกาหนด อุป  ความหมายและกฎอุปสงค์ อปุ ทาน สงคแ์ ละอุปทาน  ปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลต่อการกาหนดอุปสงค์ และอปุ ทาน 4. อภิปรายผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกบั  ความหมายและความสาคญั ของทรัพยส์ ิน

44 ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ทรัพยส์ ินทางปัญญา ทางปัญญา  กฎหมายท่ีเกี่ยวกบั การคุม้ ครองทรัพยส์ ิน ทางปัญญาพอสังเขป  ตวั อยา่ งการละเมิดแห่งทรัพยส์ ินทาง ปัญญาแต่ละประเภท ม.2 1. อภิปรายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ  ระบบเศรษฐกิจแบบตา่ งๆ 2. ยกตวั อยา่ งที่สะทอ้ นใหเ้ ห็น  หลกั การและผลกระทบการพ่งึ พาอาศยั การพ่งึ พาอาศยั กนั และการแขง่ ขนั กนั กนั และการแข่งขนั กนั ทางเศรษฐกิจใน ทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคเอเชีย ภูมิภาคเอเชีย 3. วเิ คราะห์การกระจายของทรัพยากร  การกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผล ในโลกที่ส่งผลต่อความสัมพนั ธท์ าง ตอ่ ความสมั พนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหวา่ ง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ ประเทศ เช่น น้ามนั ป่ าไม้ ทองคา ถ่านหิน แร่ เป็นตน้ 4. วเิ คราะหก์ ารแข่งขนั ทางการคา้  การแขง่ ขนั ทางการคา้ ในประเทศและ ในประเทศไทยและต่างประเทศส่งผลตอ่ ตา่ งประเทศ คุณภาพสินคา้ ปริมาณการผลิต และ ราคาสินคา้ ม.3 1. อธิบายบทบาทหนา้ ทข่ี องรัฐบาลใน  บทบาทหนา้ ท่ีของรฐั บาลในการพฒั นา ระบบเศรษฐกิจ ประเทศในดา้ นต่าง ๆ  บทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ รัฐบาล เช่นการผลิตสินคา้ และบริการ สาธารณะท่ีเอกชนไม่ดาเนินการ เช่น ไฟฟ้า ถนน โรงเรียน - บทบาทการเก็บภาษีเพอ่ื พฒั นาประเทศ ของรัฐในระดบั ตา่ ง ๆ - บทบาทการแทรกแซงราคาและ การควบคุมราคาเพอ่ื การแจกจ่ายและ การจดั สรรในทางเศรษฐกิจ  บทบาทอื่นของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ ในสังคมไทย 2. แสดงความคิดเห็นตอ่ นโยบาย และ  นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของ กิจกรรมทาง เศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีต่อ รัฐบาล บคุ คล กลุม่ คน และประเทศชาติ

45 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.4–ม.6 3. อภิปรายบทบาทความสาคญั ของ  บทบาทความสาคญั ของการรวมกลุ่มทาง การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ  ลกั ษณะของการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ  กล่มุ ทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคตา่ งๆ 4. อภิปรายผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะ เงิน  ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด เฟ้อ เงินฝืด ความหมายสาเหตแุ ละแนวทางแกไ้ ข ภาวะเงินเฟ้อ เงินฝืด 5. วเิ คราะห์ผลเสียจากการวา่ งงาน และ  สภาพและสาเหตปุ ัญหาการวา่ งงาน แนวทางแกป้ ัญหา  ผลกระทบจากปัญหาการวา่ งงาน  แนวทางการแกไ้ ขปัญหาการวา่ งงาน 6. วเิ คราะหส์ าเหตุและวธิ ีการกีดกนั ทาง  การคา้ และการลงทุนระหวา่ งประเทศ การคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ  สาเหตุและวิธีการกีดกนั ทางการคา้ ใน การคา้ ระหวา่ งประเทศ 1. อธิบายบทบาทของรฐั บาลดา้ น  บทบาทของนโยบายการเงินและการคลงั นโยบายการเงิน การคลงั ในการพฒั นา ของรัฐบาลในดา้ น เศรษฐกิจของประเทศ - การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ - การสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ - การรักษาดุลการคา้ ระหวา่ งประเทศ - การแทรกแซงราคาและการควบคุม ราคา  รายรับและรายจ่ายของรัฐท่ีมีผลต่อ งบประมาณ หน้ีสาธารณะ การพฒั นาทาง เศรษฐกิจและคุณภาพชีวติ ของประชาชน - นโยบายการเก็บภาษีประเภทตา่ ง ๆ และการใชจ้ ่ายของรัฐ - แนวทางการแกป้ ัญหาการวา่ งงาน  ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกิด จากภาวะทางเศรษฐกิจ เช่น เงินเฟ้อ เงินฝื ด  ตวั ช้ีวดั ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เช่น GDP , GNP รายไดเ้ ฉลี่ยต่อบุคคล  แนวทางการแกป้ ัญหาของนโยบายการเงิน การคลงั 2. วิเคราะห์ผลกระทบของการเปิ ดเสรี  ววิ ฒั นาการของการเปิ ดเสรีทางเศรษฐกิจ ทางเศรษฐกิจในยคุ โลกาภิวตั น์ท่ีมีผลต่อ ในยคุ โลกาภิวตั นข์ องไทย

46 ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สังคมไทย  ปัจจยั ทางเศรษฐกิจที่มีผลต่อการเปิ ดเสรี 3. วเิ คราะหผ์ ลดี ผลเสียของความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจของประเทศ  ผลกระทบของการเปิ ดเสรีทางเศรษฐกิจ ของประเทศที่มีต่อภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคการคา้ และบริการ  การคา้ และการลงทุนระหวา่ งประเทศ  บทบาทขององคก์ รระหวา่ งประเทศใน เวทีการเงินโลกท่ีมีผลกบั ประเทศไทย  แนวคิดพ้ืนฐานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การคา้ ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในรูปแบบ ระหวา่ งประเทศ ตา่ ง ๆ  บทบาทขององคก์ ารความร่วมมือทาง เศรษฐกิจที่สาคญั ในภูมิภาคต่าง ของ โลก เช่น WTO , NAFTA , EU , IMF , ADB ,OPEC ,FTA ,APECในระดบั ต่างๆ เขตส่ีเหลี่ยมเศรษฐกิจ  ปัจจยั ตา่ ง ๆ ที่นาไปสู่การพ่งึ พา การ แขง่ ขนั การขดั แยง้ และการประสาน ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ  ตวั อยา่ งเหตกุ ารณ์ที่นาไปสู่การพึงพาทาง เศรษฐกิจ  ผลกระทบจากการดาเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ  ปัจจยั ตา่ ง ๆ ท่ีนาไปสู่การพ่ึงพาการ แข่งขนั การขดั แยง้ และการประ สารประโยชนท์ างเศรษฐกิจวธิ ีการกีด กนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ

47 สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคญั ของเวลา และยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใชว้ ธิ ีการ ทางประวตั ิศาสตร์มาวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ อยา่ งเป็นระบบ ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของเวลาใน  ตวั อยา่ งการใชเ้ วลา ช่วงเวลาและยคุ สมยั การศึกษาประวตั ิศาสตร์ ท่ีปรากฏในเอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย  ความสาคญั ของเวลา และช่วงเวลาสาหรับ การศึกษาประวตั ิศาสตร์  ความสมั พนั ธ์และความสาคญั ของอดีตที่มี ตอ่ ปัจจุบนั และอนาคต 2. เทียบศกั ราชตามระบบตา่ งๆที่ใชศ้ ึกษา  ที่มาของศกั ราชที่ปรากฏในเอกสาร ประวตั ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ไทย ไดแ้ ก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.  วธิ ีการเทียบศกั ราชตา่ งๆ และตวั อยา่ ง การเทียบ  ตวั อยา่ งการใชศ้ กั ราชต่าง ๆ ท่ีปรากฏใน เอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย 3. นาวิธีการทางประวตั ิศาสตร์มาใชศ้ ึกษา  ความหมายและความสาคญั ของประวตั ิศาสตร์ เหตุการณ์ทางประวตั ิศาสตร์ และวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ที่มีความ สมั พนั ธ์เช่ือมโยงกนั  ตวั อยา่ งหลกั ฐานในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ไทยสมยั สุโขทยั ท้งั หลกั ฐานช้นั ตน้ และ หลกั ฐานช้นั รอง ( เช่ือมโยงกบั มาตรฐาน ส 4.3) เช่น ขอ้ ความ ในศิลาจารึก สมยั สุโขทยั เป็นตน้  นาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ไปใชศ้ ึกษา เรื่องราวของประวตั ิศาสตร์ไทยในสมยั ใด ก็ได้ (สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ สมยั ก่อน สุโขทยั สมยั สุโขทยั สมยั อยธุ ยา สมยั ธนบุรี สมยั รัตนโกสินทร์ ) และเหตุการณ์ สาคญั ในสมยั สุโขทยั ม.2 1. ประเมินความน่าเชื่อถือของหลกั ฐาน  วธิ ีการประเมินความน่าเช่ือถือของ ทางประวตั ิศาสตร์ในลกั ษณะตา่ ง ๆ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ในลกั ษณะ ตา่ ง ๆ อยา่ งง่าย ๆ เช่น การศึกษาภมู ิหลงั ของผทู้ า หรือผเู้ ก่ียวขอ้ ง สาเหตุ

48 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ช่วงระยะเวลา รูปลกั ษณ์ของหลกั ฐานทาง ประวตั ิศาสตร์ เป็นตน้  ตวั อยา่ งการประเมินความน่าเชื่อถือของ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทยท่ีอยู่ ในทอ้ งถ่ินของตนเอง หรือหลกั ฐาน สมยั อยธุ ยา ( เชื่อมโยงกบั มฐ. ส 4.3 ) 2. วิเคราะหค์ วามแตกต่างระหวา่ งความจริง  ตวั อยา่ งการวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากเอกสาร กบั ขอ้ เทจ็ จริงของเหตุการณ์ทาง ตา่ ง ๆ ในสมยั อยธุ ยา และธนบุรี ประวตั ิศาสตร์ ( เช่ือมโยงกบั มฐ. ส 4.3 ) เช่น ขอ้ ความ 3. เห็นความสาคญั ของการตีความหลกั ฐาน บางตอน ในพระราชพงศาวดารอยธุ ยา / ทางประวตั ิศาสตร์ท่ีน่าเช่ือถือ จดหมายเหตชุ าวต่างชาติ  ตวั อยา่ งการตีความขอ้ มลู จากหลกั ฐานที่ แสดงเหตุการณ์สาคญั ในสมยั อยธุ ยาและ ธนบุรี  การแยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู กบั ความคิดเห็น รวมท้งั ความจริงกบั ขอ้ เทจ็ จริงจาก หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์  ความสาคญั ของการวเิ คราะหข์ อ้ มูล และ การตีความทางประวตั ิศาสตร์ ม.3 1. วเิ คราะหเ์ รื่องราวเหตกุ ารณ์สาคญั ทาง  ข้นั ตอนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ ม.4 –ม. 6 ประวตั ิศาสตร์ไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลตามวธิ ีการ สาหรับการศึกษาเหตกุ ารณ์ทาง ทางประวตั ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ท่ีเกิดข้ึนในทอ้ งถ่ินตนเอง 2. ใชว้ ิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ในการศึกษา  วิเคราะห์เหตกุ ารณส์ าคญั ในสมยั เร่ืองราวตา่ ง ๆ ที่ตนสนใจ รัตนโกสินทร์ โดยใชว้ ธิ ีการทาง ประวตั ิศาสตร์  นาวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์มาใชใ้ น การศึกษาเรื่องราวท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ตนเอง ครอบครวั และทอ้ งถ่ินของตน 1. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของเวลาและ  เวลาและยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ที่ ยคุ สมยั ทางประวตั ิศาสตร์ที่แสดงถึงการ ปรากฏในหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ไทย เปล่ียนแปลงของมนุษยชาติ ประวตั ิศาสตร์ประเทศภูมิภาคเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ละประวตั ิศาสตร์สากล  ตวั อยา่ งเวลาและยคุ สมยั ทาง ประวตั ิศาสตร์ของสังคมมนุษยท์ ี่มีปรากฏ ในหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์

49 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง (เชื่อมโยงกบั มาตรฐาน ส 4.3)  ความสาคญั ของเวลาและยคุ สมยั ทาง ประวตั ิศาสตร์ 2. สร้างองคค์ วามรู้ใหมท่ างประวตั ิศาสตร์  ข้นั ตอนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ โดย โดยใชว้ ิธีการทางประวตั ิศาสตร์อยา่ งเป็น นาเสนอตวั อยา่ งทีละข้นั ตอนอยา่ งชดั เจน ระบบ  คุณคา่ และประโยชน์ของวธิ ีการทาง ประวตั ิศาสตร์ที่มีต่อการศึกษาทาง ประวตั ิศาสตร์  ผลการศึกษาหรือโครงงานทาง ประวตั ิศาสตร์

50 สาระที่ 4 ประวตั ิศาสตร์ มาตรฐาน ส 4.2 เขา้ ใจพฒั นาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ในดา้ นความสัมพนั ธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนกั ถึงความสาคญั และสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกิดข้ึน ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ  ที่ต้งั และสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ใน ตา่ ง ๆ ในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ที่มีผลตอ่ พฒั นาการทางดา้ นต่างๆ  พฒั นาการทางสงั คม เศรษฐกิจ และ การเมืองของประเทศตา่ ง ๆ ในภูมิภาค เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 2. ระบคุ วามสาคญั ของแหลง่ อารยธรรม  ท่ีต้งั และความสาคญั ของแหล่งอารยธรรม ในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เช่น แหลง่ มรดกโลกในประเทศตา่ ง ๆของ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้  อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดน ไทยท่ีมีต่อพฒั นาการของสงั คมไทยใน ปัจจุบนั ม.2 1. อธิบายพฒั นาการทางสงั คม  ที่ต้งั และสภาพทางภูมิศาสตร์ของ เศรษฐกิจ และการเมืองของ ภูมิภาคต่างๆในทวปี เอเชีย ที่มีผลตอ่ ภูมิภาคเอเชีย พฒั นาการโดยสังเขป  พฒั นาการทางสังคม เศรษฐกิจ และ การเมืองของภูมิภาคเอเชีย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook