ดช้นั ปี ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ ๔. แสดงวธิ ีการ ๔. วิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ ชักชวนผู้อื่นให้ ของการดืม่ เคร่อื งดื่มทีม่ ี ลด ละ เลกิ แอลกอฮอล์ต่อสุขภาพ สารเสพติด และการเกดิ อบุ ัตเิ หตุ โดยใช้ทกั ษะตา่ ง ๕. แสดงวธิ ีการชว่ ย ๆ ฟื้นคืนชีพ อย่างถกู วิธี
กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ทำไมต้องเรียนศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซ่ึงมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กจิ กรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผูเ้ รียนท้งั ดา้ นร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจนการนำไปสู่ การพัฒนาส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อหรือ ประกอบอาชพี ได้ เรยี นร้อู ะไรในศลิ ปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซ้ึงในคุณค่าของศิลปะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่างๆ ประกอบดว้ ยสาระสำคญั คือ • ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุ สร้างและนำเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จากจินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้เทคนิค วิธีการของ ศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมเห็นคุณค่างานศิลปะท่ีเป็นมรดกทาง วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล ช่นื ชม ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั • ดนตรี มีความรู้ความเขา้ ใจองค์ประกอบดนตรแี สดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชมและประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรีที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรีในรูปแบบ ต่างๆ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเสียงดนตรี แสดงความรู้สึกท่ีมีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจ ความสมั พันธ์ระหว่างดนตรกี ับประเพณวี ฒั นธรรม และเหตกุ ารณ์ในประวตั ิศาสตร์ • นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์เบ้ืองต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคล่ือนไหวในรูปแบบต่างๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ นาฏศลิ ปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล
คณุ ภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจำแนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ มและงานทัศนศิลป์ มีทักษะพื้นฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสรา้ งงานวาดภาพระบายสี โดยใช้ เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั้น งานโครงสร้างเคล่ือนไหวอย่างง่าย ๆ ถ่ายทอด ความคิด ความรู้สึกจากเรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนช่ืนชอบ สามารถแสดง เหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง รู้และเข้าใจความสำคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำวัน ท่ีมาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ และวธิ กี ารสร้างงานทศั นศลิ ปใ์ นท้องถิน่ รแู้ ละเข้าใจแหล่งกำเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหนา้ ท่ี ความหมาย ความสำคัญ ของบทเพลงใกล้ตัวที่ได้ยิน สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจงั หวะ เคลือ่ นไหวร่างกายให้สอดคล้อง กับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขบั ร้องของตนเอง มสี ว่ นร่วมกับกจิ กรรมดนตรใี นชวี ิตประจำวัน รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความช่ืนชอบ เห็นความสำคัญ และประโยชนข์ องดนตรีต่อการดำเนนิ ชวี ติ ของคนในทอ้ งถ่นิ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลง ตามรูปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รหู้ น้าท่ีของผู้แสดงและผู้ชมรู้ประโยชน์ของการแสดง นาฏศิลปใ์ นชีวติ ประจำวัน เข้ารว่ มกิจกรรมการแสดงทีเ่ หมาะสมกับวยั รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถ่ิน ช่ืนชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่นพื้นบา้ น สามารถเชื่อมโยงส่ิงที่พบเห็นในการละเลน่ พ้ืนบา้ นกบั การดำรงชีวิตของคนไทย บอก ลกั ษณะเด่นและเอกลกั ษณ์ของนาฏศลิ ปไ์ ทยตลอดจนความสำคัญของการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้ จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพ้ืนฐานในการใช้ วัสดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วนความสมดุล น้ำหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งานส่ือผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั้น งานพิมพ์ภาพ รวมท้ังสามารถสร้างแผนภาพ แผนผัง และ ภาพประกอบเพ่ือถ่ายทอดความคิดจินตนาการเป็นเร่ืองราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการท่ีแตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ หลักการลด และเพ่ิมในงานป้ัน การสื่อความหมาย ในงานทัศนศิลป์ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีข้ึน ตลอดจนรู้และเข้าใจคุณคา่ ของงานทัศนศิลป์ท่ีมีผล ตอ่ ชวี ติ ของคนในสงั คม รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเช่ือ ความศรทั ธา ในศาสนา และวฒั นธรรมทมี่ ีผลตอ่ การสร้างงานทศั นศลิ ป์ในทอ้ งถ่นิ รู้และเข้าใจเก่ียวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และบทบาทหน้าที่ รู้ถึง การเคลื่อนทข่ี ึ้น ลง ของทำนองเพลง องคป์ ระกอบของดนตรี ศพั ท์สังคีตในบทเพลง ประโยค และอารมณ์ ของบทเพลงท่ีฟัง ร้อง และบรรเลงเคร่ืองดนตรี ด้นสดอย่างง่าย ใช้และเก็บรักษาเคร่ืองดนตรีอย่างถูกวิธี
อ่าน เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลักษณะของผู้ท่ีจะเล่นดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึกของบทเพลงที่ฟัง สามารถใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมทาง นาฏศิลป์และการเล่าเรอ่ื ง รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒ นธรรมไทย และวัฒนธรรมตา่ ง ๆ เรื่องราวดนตรีในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รคู้ ุณค่าดนตรีท่ีมา จากวัฒนธรรมตา่ งกนั เห็นความสำคญั ในการอนรุ ักษ์ รแู้ ละเขา้ ใจองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า นาฏยศพั ท์พ้ืนฐาน สร้างสรรค์ การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถ ออกแบบเครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และ การละครกับส่ิงที่ประสบในชีวิตประจำวนั แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สึก ของตนเองทม่ี ีต่องานนาฏศลิ ป์ รู้และเข้าใจความสัมพนั ธแ์ ละประโยชนข์ องนาฏศลิ ป์และการละคร สามารถเปรยี บเทยี บ การแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถ่ิน และสิ่งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณี เหน็ คณุ ค่าการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ รู้และเข้าใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิคท่ีหลากหลายในการ สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพ่ือสื่อความหมายและเรือ่ งราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์ รูปแบบเน้ือหาและประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น สามารถเลือกงานทัศนศิลป์ โดยใชเ้ กณฑ์ทก่ี ำหนดข้ึนอยา่ งเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิกในการนำเสนอขอ้ มูล และมีความรู้ ทักษะท่ีจำเป็นด้านอาชีพทเี่ ก่ียวขอ้ งกันกับงานทศั นศลิ ป์ รู้และเข้าใจการเปล่ียนแปลงและพัฒนาการของงานทัศนศิลป์ของชาติและท้องถ่ิน แตล่ ะยุคสมัย เห็นคุณค่างานทัศนศลิ ป์ที่สะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทยี บงานทัศนศลิ ปท์ ี่มาจาก ยคุ สมัยและวฒั นธรรมตา่ ง ๆ รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ท้ังเดี่ยวและเป็นวงโดยเน้น เทคนิคการร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทกั ษะในการสร้างสรรค์บทเพลงอยา่ งง่าย อ่านเขียนโน้ตในบันได เสียงที่มีเคร่ืองหมาย แปลงเสียงเบื้องต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบของผลงานทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้านดนตรีกับศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึก ท่ีมีต่อบทเพลง สามารถนำเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของ บทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึงอาชีพต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง เขา้ ใจถึงอทิ ธพิ ลของดนตรที ี่มีต่อบุคคลและสงั คม รู้และเข้าใจที่มา ความสัมพันธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรีแต่ละวัฒนธรรม ในยคุ สมยั ต่าง ๆ วิเคราะหป์ จั จัยทีท่ ำให้งานดนตรีไดร้ ับการยอมรบั รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแปลความและสื่อสาร ผ่านการแสดง รวมท้ังพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์งา่ ย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพการแสดง วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรู้เร่ืององค์ประกอบทางนาฏศิลป์ร่วมจัดการแสดง นำแนวคดิ ของการแสดงไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวัน
รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของ การแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมท้ังสามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เคร่ืองแต่งกาย ในการแสดงนาฏศิลป์และละคร มีความเข้าใจ ความสำคัญ บทบาทของนาฏศิลป์ และละคร ในชวี ิตประจำวนั จบช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ รูแ้ ละเขา้ ใจเก่ียวกับทศั นธาตุและหลักการออกแบบในการส่ือความหมาย สามารถใช้ศพั ท์ ทางทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และเน้ือหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และกระบวนการที่สูงข้ึนในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศลิ ปินทั้งไทยและสากล ตลอดจนการใชเ้ ทคโนโลยตี ่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์งาน ทเี่ หมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทัง้ แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสภาพสังคมด้วยภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมนิ และวิจารณค์ ณุ คา่ งานทศั นศลิ ปด์ ้วยหลักทฤษฎีวจิ ารณศ์ ิลปะ วิเคราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เข้าใจ อทิ ธิพลของมรดกทางวฒั นธรรมภมู ปิ ญั ญาระหว่างประเทศท่ีมีผลตอ่ การสรา้ งสรรค์งานทศั นศิลป์ในสังคม รู้และเข้าใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภทและจำแนกรูปแบบ ของวงดนตรที ั้งไทยและสากล เข้าใจอิทธิพลของวฒั นธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึกท่ีได้รับจากดนตรีท่ีมาจากวัฒนธรรมต่างกัน อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตรา จังหวะต่าง ๆ มีทักษะในการร้องเพลงหรือเล่นดนตรีเด่ียวและรวมวงโดยเน้นเทคนิค การแสดงออกและ คุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์การเล่นดนตรีของตนเองและผู้อื่น ได้อย่างเหมาะสม สามารถนำดนตรีไประยุกตใ์ ช้ในงานอื่น ๆ วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลในวัฒนธรรม ต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของดนตรีท่ีสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคมของ นักดนตรใี นวัฒนธรรมตา่ ง ๆ สร้างแนวทางและมสี ว่ นร่วมในการสง่ เสรมิ และอนรุ ักษด์ นตรี มที ักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และ เป็นหมู่ สร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบท่ีช่ืนชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และละคร ท่ตี ้องการสือ่ ความหมายในการแสดง อทิ ธพิ ลของเครื่องแตง่ กาย แสง สี เสยี ง ฉาก อุปกรณ์ และสถานท่ี ท่ีมีผลต่อการแสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใชเ้ กณฑ์การประเมินในการประเมิน การแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทางการเคล่ือนไหวของผู้คนในชีวิตประจำวันและนำมาประยุกต์ใช้ ในการแสดง เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสำคัญ ในวงการนาฏศลิ ป์และการละครของประเทศไทยในยุคสมัยตา่ ง ๆ สามารถเปรียบเทียบการนำการแสดงไป ใช้ในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการอนรุ ักษ์นาฏศลิ ป์ไทย
สาระที่ ๑ ทัศนศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคดิ สรา้ งส ความคดิ ตอ่ งานศลิ ปะอยา่ งอสิ ระ ชนื่ ชม และประยุกตใ์ ช้ในช ตวั ชี้วัดช้นั ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑. อภิปราย ๑. บรรยาย ๑.บรรยาย ๑. เปรียบเทยี บ ๑. บรรยาย ๑. เก่ยี วกับ รปู ร่าง รูปทรง รปู รา่ ง รปู ทรง รปู ลักษณะของ เกย่ี วกับ ขา้ รูปรา่ ง ที่พบใน ในธรรมชาติ รปู ร่าง รูปทรง จงั หวะ อภ ลกั ษณะ และ ธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม ในธรรมชาติ ตำแหนง่ ของ เก่ยี ขนาดของสง่ิ และสง่ิ แวดล้อม และงาน สง่ิ แวดลอ้ ม สิ่งต่าง ๆ ใช้ ต่าง ๆ รอบตัว ๒. ระบุ ทัศนศลิ ป์ และงาน ทีป่ รากฏใน ใน ในธรรมชาติ ทศั นธาตุทอ่ี ยู่ ๒. ระบวุ ัสดุ ทศั นศิลป์ สงิ่ แวดล้อม ถา่ และสงิ่ ท่ี ในส่งิ แวดล้อม อปุ กรณท์ ่ใี ช้ ๒. อภิปราย และงาน คว มนุษย์สรา้ งขน้ึ และงาน สร้างผลงาน เก่ยี วกับอิทธิพล ทัศนศิลป์ อา ๒ บอกความ ทัศนศลิ ป์ โดย เมอื่ ชมงาน ของสวี รรณะอุ่น ๒. ๒. ร้สู กึ ทมี่ ีต่อ เนน้ เร่ืองเส้น สี ทศั นศลิ ป์ และสวี รรณะเยน็ ทเม่ีปีตรอ่ียอบาเทรมียณบ์ หล ธรรมชาติ รปู รา่ ง และ ๓. จำแนก ขอทม่ี ตี อ่ อารมณ์ ความแตกตา่ ง ขน และ รูปทรง ทัศนธาตุของ ของมนษุ ย์ ระหวา่ งงาน คว ส่งิ แวดลอ้ ม ๓. สร้างงาน สิ่งต่าง ๆ ทศั นศิลป์ กา รอบตัว ทศั นศิลปต์ ่าง ๆ ในธรรมชาติ ทีส่ ร้างสรรค์ ทศั ๓. มที ักษะ โดยใช้ทัศนธาตุ สิง่ แวดล้อม ด้วยวสั ดุ ๓. พน้ื ฐานในการ ที่เนน้ เสน้ และงาน อุปกรณ์และ งาน ใช้วัสดุ รูปรา่ ง ทศั นศลิ ป์ วธิ กี ารท่ี จา อุปกรณส์ รา้ ง โดยเน้นเร่ือง ตา่ งกัน มติ งานทัศนศิลป์ เสน้ สี รปู รา่ ง ๓. วาดภาพ โดย รปู ทรง และ โดยใชเ้ ทคนคิ หล พืน้ ผิว ของแสงเงา แส น้ำหนัก และ นำ้ วรรณะสี
สรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์คุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ชวี ิตประจำวนั นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ระบสุ ีคูต่ รง ๑. บรรยาย ความ ๑. อภปิ รายเก่ยี วกบั ๑. บรรยายสิ่งแวดลอ้ ม และ าม และ แตกต่างและ ทศั นธาตใุ นด้าน งานทศั น ศลิ ป์ท่ีเลอื กมา ภิปราย ความคล้ายคลึง รูปแบบและแนวคดิ โดยใชค้ วามรเู้ รื่องทศั นธาตุ ยวกบั การ กนั ของงานทศั น ศลิ ป์ท่ี และหลกั การออกแบบ สีค่ตู รงขา้ ม ของงานทัศน เลอื กมา ๒. ระบุ และบรรยายเทคนคิ นการ ศลิ ป์ และสง่ิ แวด ๒. บรรยายเกีย่ วกบั วธิ ีการของศลิ ปนิ ในการ ายทอด ล้อมโดยใช้ความรู้ ความเหมือนและ สร้างงาน ทัศนศิลป์ วามคดิ และ เรื่องทศั นธาตุ ความแตกต่างของ ๓. วเิ คราะห์ และบรรยาย ารมณ์ ๒. ระบุ และ รูปแบบการใช้วัสดุ วธิ กี ารใช้ทัศนธาตุ และ อธบิ าย บรรยายหลกั การ อุปกรณ์ในงาน หลกั การออกแบบในการ ลักการจัด ออกแบบงาน ทศั นศิลปข์ องศิลปิน สรา้ งงาน ทัศนศิลป์ของ นาดสัดส่วน ทศั นศลิ ป์ ๓. วาดภาพด้วย ตนเองใหม้ คี ุณภาพ วามสมดุลใน โดยเนน้ ความเปน็ เทคนคิ ารสร้างงาน เอกภาพความ ทห่ี ลากหลายในการ ศนศิลป์ กลมกลืน และ ส่อื ความหมายและ สร้างสรรค์ ความสมดุล เรื่องราว นทศั นศิลป์ ๓. วาดภาพ ตา่ ง ๆ ากรูปแบบ ๒ ทศั นยี ภาพ ติ เปน็ ๓ มติ ิ แสดงให้เห็น ยใช้ ระยะไกลใกล้ ลักการของ เปน็ ๓ มิติ สงเงาและ ำหนัก
ตัวชีว้ ัดชัน้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๔. สรา้ งงาน ๔. มที ักษะ ๔. วาดภาพ ๓. จำแนก ๔. สร้างสรรค์ ๔. ทัศนศลิ ป์ โดย พ้นื ฐานในการ ระบายสีสง่ิ ของ ทัศนธาตุ งานปัน้ จาก งาน การทดลองใช้ ใช้วัสดุ อปุ กรณ์ รอบตวั ของสง่ิ ตา่ ง ๆ ดินนำ้ มันหรอื หล สี ดว้ ยเทคนคิ สรา้ งงาน ๕. มีทกั ษะ ในธรรมชาติ ดินเหนียว แล งา่ ย ๆ ทัศนศิลป์ ๓ พน้ื ฐาน ในการ สง่ิ แวดล้อม โดยเน้นการ ๕. ๕. วาดภาพ มติ ิ ใชว้ สั ดุอุป กรณ์ และงานทศั นศิลป์ ถา่ ยทอด งาน ระบายสภี าพ ๕. สร้างภาพปะ สรา้ ง สรรค์ โดยเน้นเร่ือง จนิ ตนาการ โดย ธรรมชาตติ าม ตดิ โดยการตัด งานปน้ั เสน้ สี รูปร่าง ๕. สร้างสรรค์ กา ความรู้สกึ ของ หรือฉกี กระดาษ ๖. วาดภาพถ่าย รปู ทรง พ้นื ผิว งานพมิ พ์ภาพ แล ตนเอง ๖. วาดภาพเพ่อื ทอดความคดิ และพื้นท่วี ่าง โดยเนน้ การ ๖. ถ่ายทอด ความร้สู กึ จาก ๔. มีทกั ษะ จดั วาตำแหนง่ งาน เร่ืองราว เหตกุ ารณ์ชวี ิต พืน้ ฐานในการ ของส่ิงตา่ ง ๆ โดย เก่ียวกับ จรงิ โดยใชเ้ ส้น ใช้วัสดุ อปุ กรณ์ ในภาพ ขา้ ครอบครัว รูปร่าง รปู ทรง สรา้ งสรรค์ ๖. ระบุปญั หา จดั ของตนเอง สี และพื้นผวิ งานพิมพภ์ าพ ในการจัดองค์ สว่ และเพ่อื นบา้ น ๗. บรรยาย ๕. มที กั ษะ ประกอบศิลป์ คว ๗. เลอื กงาน เหตุผลและ พน้ื ฐานในการ และการสื่อ ๗. ทศั นศิลป์ และ วิธกี ารในการ ใช้วัสดุ อปุ กรณ์ ความหมายใน ทศั บรรยายถึงสง่ิ ที่ สรา้ งงานทัศน สรา้ งสรรค์ งานทศั น ศิลป์ แผ มองเหน็ ศิลป์ โดยเนน้ ถงึ งานวาดภาพ ของตน เอง แผ รวมถึงเน้อื หา เทคนคิ และวัสดุ ระบายสี และบอกวธิ ี ภา เรื่องราว อปุ กรณ์ การปรบั ปรุง เพ งานให้ดีข้ึน คว หร
นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ สร้างสรรค์ ๔. รวบรวมงาน ๔. สร้างเกณฑใ์ นการ ๔. มที กั ษะในการสร้าง นปั้นโดยใช้ ป้นั หรือสอ่ื ผสมมา ประเมนิ และวจิ ารณ์ งานทศั นศลิ ปอ์ ย่างนอ้ ย ๓ ลกั การเพมิ่ สรา้ ง เปน็ เรื่อง งานทัศนศลิ ป์ ประเภท ละลด ราว ๓ มิตโิ ดย ๕. นำผลการวิจารณ์ ๕. มที ักษะในการ สรา้ งสรรค์ เนน้ ความเป็น ไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขและ ผสมผสานวสั ดุตา่ ง ๆ ใน นทัศนศลิ ป์ เอกภาพความ พัฒนางาน การสรา้ งงานทศั นศิลป์โดย ยใช้หลกั กลมกลืน และ ๖. วาดภาพแสดง ใชห้ ลกั การออกแบบ าร ของรูป การสื่อถึงเร่อื ง บุคลิกลักษณะของตัว ๖. สร้างงานทัศนศิลป์ ละพื้นท่วี า่ ง ราว ของงาน ละคร ท้งั ๒ มติ ิ และ ๓ มิติเพื่อ สร้างสรรค์ ๕. ออกแบบ ๗. บรรยายวิธกี ารใช้ ถา่ ยทอดประสบการณ์ นทัศนศิลป์ รูปภาพ สัญ - งานทัศนศิลป์ในการ และจนิ ตนาการ ยใชส้ ีคู่ ตรง ลกั ษณ์ หรือ โฆษณา ๗. สร้างสรรค์งาน ามหลักการ กราฟกิ อน่ื ๆ เพอ่ื โน้มน้าวใจ และ ทัศนศลิ ป์ส่ือความหมาย ดขนาดสดั ในการนำเสนอ นำเสนอตวั อย่าง วน และ ความคิดและ ประกอบ วามสมดุล ขอ้ มูล สร้างงาน ๖. ประเมนิ งาน ศนศิลปเ์ ป็น ทัศนศิลป์ และ ผนภาพ บรรยายถงึ วธิ กี าร ผนผงั และ ปรับ าพประกอบ พื่อถ่ายทอด วามคิด รือ
ตัวช้วี ัดชนั้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๘. สรา้ งสรรค์ ๘. ระบสุ ง่ิ ท่ชี ่นื ๖. บรรยาย ๗. บรรยาย เร งานทัศนศิลป์ ชมและสงิ่ ท่ีควร ลักษณะของ ประโยชน์และ เกย่ี เปน็ รูปแบบงาน ปรับปรงุ ในงาน คุณค่าของงาน เหต โครงสรา้ ง ทศั นศิลปข์ อง ภาพโดยเน้น ทัศนศิลปท์ มี่ ี ๆ เคลื่อนไหว ตนเอง ผลต่อชวี ติ ของ ๙. ระบุ และ เร่ืองการจัด คนในสังคม จัดกลมุ่ ของภาพ ระยะ ความลึก นำ้ หนกั และแสง ตามทัศนธาตุ เงาในภาพ ท่ีเน้นในงาน ๗. วาดภาพ ทัศนศลิ ป์นน้ั ๆ ๑๐. บรรยาย ระบายสี โดยใช้ ลกั ษณะรูปร่าง สีวรรณะอุ่นและ รปู ทรง ในงาน สีวรรณะเยน็ การออกแบบ สงิ่ ต่าง ๆ ทม่ี ี ถา่ ยทอด ในบา้ นและ ความรูส้ ึกและ จนิ ตนาการ โรงเรียน
นปี ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ ปรุงงานของ ตนเอง เปน็ เรือ่ งราวโดย รื่องราว และผู้อน่ื โดยใช้ ประยุกตใ์ ช้ทัศนธาตุ และ ยวกับ เกณฑ์ หลกั การออกแบบ ตุการณต์ ่าง ทกี่ ำหนดให้ ๘. วเิ คราะหแ์ ละอภปิ ราย รปู แบบ เนือ้ หาและคณุ คา่ ในงานทัศนศิลป์ของ ตนเอง และผ้อู ืน่ หรอื ของ ศิลปิน ๙. สร้างสรรคง์ าน ทัศนศลิ ป์เพ่อื บรรยาย
ตัวช้ีวัดชัน้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๘. เปรียบเทียบ ความคดิ ความรู้สกึ ทถี่ า่ ยทอดผ่าน งานทศั นศิลปข์ อง ตนเองและบุคคล อื่น ๙. เลอื กใช้ วรรณะสเี พ่ือ ถา่ ยทอดอารมณ์ ความรู้สกึ ในการสรา้ งงาน ทัศนศิลป์
นปี ม. ๒ ม. ๓ ๖ ม. ๑ เหตุการณต์ ่าง ๆ โดยใช้ เทคนคิ ทห่ี ลากหลาย๑๐. ระบุ อาชพี ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั งาน ทัศนศลิ ป์ และทักษะท่ี จำเป็นในการประกอบอาชพี นนั้ ๆ ๑๑. เลอื กงานทัศนศิลป์ โดยใชเ้ กณฑท์ ี่กำหนดขนึ้ อย่างเหมาะสม และนำไป จดั นทิ รรศการ
สาระท่ี ๑ ทศั นศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธร์ ะหว่างทัศนศลิ ป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรร และสากล ตัวช้วี ัดช้ัน ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป ๑. ระบงุ าน ๑. บอก ๑. เลา่ ถงึ ที่มา ๑. ระบุ และ ๑. ระบุ และ ๑. บรรย ทศั นศลิ ป์ใน ความสำคัญ ของงาน อภิปราย บรรยาย บทบาท ชีวิตประจำวัน ของงาน ทศั นศลิ ป์ เก่ียวกบั งาน เกย่ี วกับ ทศั นศิล ทัศนศิลป์ ในท้องถ่ิน ทัศนศิลปใ์ น ลกั ษณะ ที่สะทอ้ ทีพ่ บเห็นใน ๒. อธบิ าย เหตกุ ารณ์ รปู แบบของ และสังค ชีวิตประจำวนั เกยี่ วกบั วสั ดุ และงานเฉลิม งานทศั นศิลป์ ๒. อภปิ ๒. อภปิ ราย อปุ กรณ์และ ฉลองของ ในแหล่ง เกี่ยวกบั เกีย่ วกับงาน วิธกี ารสรา้ ง วัฒนธรรม ใน เรียนรูห้ รอื ของควา ทัศนศลิ ป์ งานทัศนศิลป์ ทอ้ งถิ่น นทิ รรศการ ความ ศ ประเภทตา่ ง ในท้องถิ่น ๒. บรรยาย ศิลปะ ศาสนาท ๆ ในท้องถ่ิน เกยี่ วกับงาน ๒. อภิปราย งานทัศน โดยเน้นถงึ ทศั นศิลป์ท่ีมา เกี่ยวกบั งาน ท้องถิ่น วิธกี ารสรา้ ง จากวัฒนธรรม ทศั นศลิ ปท์ ่ี ๓. ระบ งานและวสั ดุ ตา่ ง ๆ สะท้อน บรรยาย อปุ กรณ์ ทีใ่ ช้ วัฒนธรรม ทางวฒั และภมู ปิ ัญญา ในทอ้ งถ ในท้องถิ่น ตอ่ การส ทศั นศลิ บคุ คล
รม เหน็ คณุ คา่ งานทัศนศิลปท์ ีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ญั ญาไทย นปี ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ ๑. ระบุ และ ๑. ระบุและบรรยาย ๑. ศึกษาและ ยาย บรรยายเกย่ี วกับ เก่ยี วกบั วัฒนธรรม อภปิ รายเก่ียวกบั งาน ทของงาน ลักษณะรปู แบบ ตา่ ง ๆ ทีส่ ะท้อนถึงงาน ทัศนศิลป์ ลป์ งานทัศนศลิ ปข์ อง ทัศนศิลปใ์ นปจั จุบัน ที่สะท้อนคุณค่าของ อนชวี ิต ชาตแิ ละ ๒. บรรยายถึงการ วฒั นธรรม คม ของท้องถ่ินตนเอง เปล่ยี นแปลงของงาน ๒. เปรียบเทียบความ ปราย จากอดตี จนถงึ ทัศนศิลป์ของไทยในแต่ แตกต่างของงาน บอิทธิ พล ปัจจบุ นั ละยุคสมัยโดยเน้นถึง ทศั นศลิ ป์ ามเชื่อ ๒. ระบุ และ แนวคดิ และเน้อื หาของ ในแต่ละยคุ สมัย ของ ศรทั ธาใน เปรยี บเทยี บ งาน วฒั นธรรมไทยและ ทม่ี ีผลต่อ งานทศั นศิลป์ของ ๓.เปรียบเทยี บแนวคิดใน สากล นศลิ ปใ์ น ภาคตา่ ง ๆ การออกแบบงาน น ในประเทศไทย ทศั นศลิ ปท์ ่ีมาจาก บุ และ เปรยี บเทยี บความ วัฒนธรรมไทย และ ยอทิ ธิ พล แตกต่างของ สากล ฒนธรรม จดุ ประสงคใ์ นการ ถิน่ ท่ีมผี ล สรา้ งสรรคง์ านทศั สรา้ งงาน ศิลปข์ องวฒั นธรรม ลป์ของ ไทยและสากล
สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ และประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน ตัวชี้วัดชน้ั ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป ๑. รู้ว่าสงิ่ ตา่ ง ๑. จำแนก ๑. ระบรุ ูปร่าง ๑. บอกประโยค ๑. ระบุ ๑. บรรย ๆสามารถ แหล่งกำเนิด ลกั ษณะของ เพลงอย่างง่าย องค์ประกอบ ทีฟ่ ัง โด กอ่ กำเนดิ เสียง ของเสียง เครอื่ งดนตรี ๒. จำแนก ดนตรีในเพลง องค์ประ ที่แตกตา่ งกัน ทไ่ี ด้ยนิ ทเ่ี ห็นและ ประเภทของ ท่ีใช้ในการส่อื ดนตรี แ ๒. บอก ๒. จำแนก ไดย้ ิน ใน เคร่อื งดนตรีที่ อารมณ์ สังคตี ลกั ษณะของ คุณสมบตั ขิ อง ชวี ติ ประจำวัน ใชใ้ นเพลงท่ี ๒. จำแนก ๒. จำแ เสยี งดัง-เบา เสยี ง สูง- ต่ำ , ๒. ใชร้ ปู ภาพ ฟงั ลักษณะของ และบท และความช้า- ดัง-เบา, ยาว- หรอื สัญลักษณ์ ๓. ระบทุ ศิ ทาง เสียงขบั รอ้ งและ หน้าทเี่ ค เร็ว สนั้ ของดนตรี แทนเสียงและ การเคลอื่ นที่ เคร่อื งดนตรี ดนตรไี ท ของจงั หวะ ๓. เคาะ จังหวะเคาะ ขน้ึ – ลง ง่าย ๆ ท่ีอยู่ในวงดนตรี และเคร ๓. ท่องบท จังหวะหรือ ๓. บอก ของทำนอง ประเภทตา่ ง ๆ ท่ีมาจาก กลอน รอ้ ง เคลอ่ื นไหว บทบาทหนา้ ที่ รูปแบบ จงั หวะ ๓. อา่ น เขียน วัฒนธร เพลงง่าย ๆ รา่ งกายให้ ของเพลงทไ่ี ด้ และความเรว็ โนต้ ดนตรีไทย ตา่ ง ๆ ๔. มสี ว่ นร่วม สอดคล้องกับ ยิน ของจงั หวะใน และสากล ๕ ๓. อ่าน ใน กิจกรรม เนื้อหาของ ๔. ขับรอ้ งและ เพลง ระดบั เสยี ง โนต้ ไทย ดนตรอี ย่าง เพลง บรรเลงดนตรี ทีฟ่ ัง ๔. ใช้เคร่อื ง สากลทำ สนุกสนาน ๔. รอ้ งเพลง ง่าย ๆ ๔. อ่าน ดนตรที ำจงั หวะ งา่ ย ๆ ๕. บอกความ ง่าย ๆ ท่ี ๕. เคลอ่ื นไหว เขยี นโนต้ และทำนอง ๔. ใชเ้ ค เกี่ยวขอ้ งของเพลงเหมาะสม ท่าทาง ดนตรไี ทยและ ๕. รอ้ งเพลงไทย ดนตรีบ ทใี่ ช้ในชีวิต กับวยั สอดคลอ้ งกบั สากล หรอื เพลงสากล ประกอ ประจำวัน ๕. บอก อารมณข์ อง ๕. ร้องเพลง หรือเพลง ไทย ความหมาย เพลงท่ีฟัง โดยใช้ สากลที่ และ ช่วงเสียงที่ เหมาะสมกับวัย ความสำคัญ เหมาะสมกับ
วจิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ช่ืนชม นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ยายเพลง ๑. อ่าน เขียน รอ้ ง ๑. เปรยี บเทยี บการใช้ ๑. เปรียบเทยี บ ดยอาศัย โนต้ ไทย และโนต้ องค์ ประกอบดนตรีทม่ี า องค์ประกอบที่ใช้ในงาน ะกอบ สากล จากวฒั นธรรมต่างกนั ดนตรีและงานศิลปะอืน่ และศัพท์ ๒. เปรยี บเทียบ ๒. อ่าน เขยี นร้องโน้ตไทย เสียงร้องและเสียง และโน้ต สากลที่มี ๒. ร้องเพลง เลน่ ดนตรี เคร่อื งหมาย แปลงเสียง เดีย่ ว และรวมวง โดยเน้น แนกประเภท ของเครอื่ งดนตรี ๓. ระบุปจั จยั สำคญั ที่มี เทคนคิ การร้อง การเลน่ ทบาท ท่ีมาจากวฒั นธรรม อิทธพิ ลต่อการสรา้ งสรรค์ การแสดงออก และ ครอ่ื ง ที่ตา่ งกัน งานดนตรี คุณภาพสียง ทย ๓. ร้องเพลงและใช้ ๔. รอ้ งเพลง และเลน่ ๓. แต่งเพลงสน้ั ๆ จงั หวะ รื่องดนตรี เครอ่ื งดนตรบี รรเลง ดนตรีเดี่ยว และรวมวง ง่าย ๆ ก ประกอบ การร้อง ๕. บรรยายอารมณข์ อง ๔. อธิบายเหตุผลในการ รรม เพลงด้วยบทเพลงที่ เพลงและ เลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์งานดนตรี หลาก หลายรูปแบบ ของตน เอง น เขยี น ๔. จัดประเภทของ ย และโนต้ วงดนตรไี ทยและวง ำนอง ดนตรีทม่ี าจาก วัฒนธรรมตา่ ง ๆ ครือ่ ง ๕. แสดงความ บรรเลง คดิ เหน็ ทมี่ ีต่อ อบการ
ตัวชีว้ ัดชั้น ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป ของเพลงที่ได้ ๖. แสดงความ ตนเอง ๖. ด้นสดง่าย รอ้ งเพล ยิน คดิ เหน็ ๖. ใช้และเก็บ ๆ โดยใช้ ด้นสดท เกีย่ วกบั เคร่ืองดนตรี ประโยคเพลง และทำน เสยี งดนตรี อยา่ งถกู ต้อง แบบถามตอบ ๆ เสยี งขบั ร้อง และปลอดภยั ๗. ใช้ดนตรี ๕. บรรย ของตนเอง ๗. ระบุวา่ รว่ มกบั กจิ กรรม ความรสู้ และผูอ้ น่ื ดนตรสี ามารถ ในการ ดนตรี ๗. นำดนตรี ใช้ในการสอ่ื แสดงออกตาม ๖. แสด ไปใช้ใน เรื่องราว จนิ ตนาการ คิดเหน็ เ ชีวิตประจำวัน ทำนอง หรือโอกาส การประ ต่าง ๆ ได้ และคณุ อย่าง ของเพล เหมาะสม ท่ฟี งั
นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ลง อารมณ์ของบทเพลง ความรู้สกึ ท่ีมีต่อบทเพลง ๕. เปรียบเทยี บความ ที่มจี งั หวะ ท่ีมคี วามเรว็ ของ ที่ฟงั แตกต่างระหวา่ งงาน นองงา่ ย จงั หวะ และความ ๖. ประเมนิ พัฒนาการ ดนตรีของตนเองและ ดงั -เบา แตกต่างกนั ทักษะทางดนตรขี อง ผอู้ นื่ ยาย ๖. เปรยี บเทียบ ตนเอง หลังจากการฝึก ๖. อธบิ ายเกี่ยวกบั สกึ ทีม่ ตี อ่ อารมณ์ ความรสู้ ึก ปฏบิ ัติ อิทธิพลของดนตรีท่มี ีต่อ ในการฟังดนตรี ๗. ระบงุ านอาชพี ตา่ ง ๆ บุคคลและสงั คม ดงความ แตล่ ะประเภท ทเ่ี กี่ยวข้องกับดนตรแี ละ ๗. นำเสนอ หรือจัดการ เก่ยี วกับ ๗. นำเสนอตวั อยา่ ง บทบาทของดนตรีใน แสดงดนตรีท่เี หมาะสม จงั หวะ เพลงท่ตี นเองชนื่ ธรุ กจิ โดยการบูรณาการกบั ะสานเสียง ชอบ และอภิปราย บันเทิง สาระการเรียนรูอ้ น่ื ใน ณภาพเสียง ลกั ษณะเด่นท่ีทำให้ กลมุ่ ศลิ ปะ ลง งานน้นั นา่ ช่ืนชม ๘. ใชเ้ กณฑ์สำหรับ ประเมนิ คุณภาพ งานดนตรหี รอื เพลง ที่ฟงั ๙. ใชแ้ ละ บำรงุ รักษาเครื่อง ดนตรี
สาระท่ี ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒ ไทยและสากล ตัวชวี้ ัดช้นั ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑. เล่าถงึ เพลง ๑. บอก ๑. ระบุ ๑. บอกแหลง่ ๑. อธิบาย ๑. อธบิ ในทอ้ งถ่นิ ความสัมพันธ์ ลกั ษณะเดน่ ท่ีมาและความ ความสัมพนั ธ์ ของดนต ๒. ระบุสงิ่ ท่ี ของเสียงรอ้ ง และ สัมพนั ธข์ องวถิ ี ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ ชืน่ ชอบใน เสยี งเคร่อื ง เอกลกั ษณ์ ชีวติ ไทย กบั ประเพณีใน ๒. จำแน ดนตรที อ้ งถนิ่ ดนตรีในเพลง ของดนตรี ทีส่ ะทอ้ น วฒั นธรรมต่าง ท่มี าจาก ทอ้ งถิ่น โดยใช้ ในท้องถิน่ ในดนตรีและ ๆ ท่ีตา่ งกนั คำง่าย ๆ ๒. ระบุ เพลงทอ้ งถิ่น ๒. อธบิ าย ๓. อภปิ ๒. แสดงและ ความสำคัญ ๒. ระบุ คณุ ค่าของ อทิ ธิพล เขา้ ร่วม และประโยชน์ ความสำคัญ ดนตรีที่มาจาก ตอ่ ดนต กจิ กรรมทาง ของดนตรตี อ่ ในการอนรุ กั ษ์ วฒั นธรรมที่ ดนตรี การดำเนิน สง่ เสรมิ ต่างกัน ในทอ้ งถนิ่ ชีวติ ของคนใน วัฒนธรรมทาง ทอ้ งถิน่ ดนตรี
ฒนธรรม เหน็ คณุ คา่ ของดนตรีทเ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ภูมปิ ญั ญา นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ บายเรอ่ื งราว อยา่ งระมดั ระวังและ ๑. บรรยายบทบาท ๑. บรรยาย ตรไี ทยใน รบั ผดิ ชอบ และอิทธิพลของดนตรี ววิ ฒั นาการของ ศาสตร์ ๑. อธบิ ายบทบาท ในวฒั นธรรมของ ด ดนตรีแต่ละยุคสมยั นกดนตรี ความสมั พนั ธแ์ ละ ประเทศต่าง ๆ ๒. อภิปรายลกั ษณะ กยุคสมยั อทิ ธิพลของดนตรีที่ ๒. บรรยายอทิ ธพิ ล เดน่ ท่ที ำให้งานดนตรี นัน้ ไดร้ บั การยอมรับ น มตี ่อสังคมไทย ของวฒั นธรรม และ ปราย ๒. ระบคุ วาม เหตุการณ์ ลของวฒั นธรรม หลากหลายของ ในประวัติศาสตร์ทีม่ ีต่อ ตรีในทอ้ งถิ่น องค์ประกอบดนตรี รูปแบบของดนตรีใน ในวัฒนธรรมต่างกัน ประเทศไทย
สาระท่ี ๓ นาฏศลิ ป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เขา้ ใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ า และประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั ตัวชว้ี ัดช้ัน ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป ๑. เลียนแบบ ๑. เคลอ่ื นไหว ๑. สรา้ งสรรค์ ๑.ระบทุ กั ษะ ๑. บรรยาย ๑. สร้าง การ ขณะอย่กู ับที่ พน้ื ฐานทาง องคป์ ระกอบ เคล่ือนไ เคล่อื นไหว และเคลอื่ นท่ี การเคลอื่ นไหว นาฏศิลป์และ นาฏศิลป์ แสดงโด ๒. แสดง ๒. แสดงการ ในรูปแบบตา่ ง การละครท่ี ๒. แสดง ถา่ ยทอด ทา่ ทางง่าย ๆ เคลอื่ นไหว ๆ ใชส้ อื่ ท่าทาง อารมณ เพื่อสือ่ ที่สะท้อน ในสถานการณ์ ความหมายและ ประกอบเพลง ๒. ออก ความหมาย อารมณ์ ของ ส้นั ๆ อารมณ์ หรือเรอื่ งราว แต่งกาย แทนคำพูด ตนเองอย่าง ๒. ใชภ้ าษาท่า ตามความคดิ อุปกรณ ๓. บอกสิง่ ท่ี อสิ ระ ๒. แสดง และนาฏยศพั ท์ ของตน การแสด ตนเองชอบ ๓. แสดง ท่าทาง หรือศัพทท์ าง ๓. แสดง อยา่ งงา่ จากการดหู รือ ท่าทาง เพือ่ ประกอบเพลง การละครง่าย นาฏศลิ ป์ ๓. แสด รว่ มการแสดง สอ่ื ความหมาย ตามรูปแบบ ๆ โดยเน้นการใช้ นาฏศลิ แทนคำพูด นาฏศิลป์ ในการถา่ ยทอด ภาษาทา่ และ ละคร ๔. แสดง เร่ืองราว นาฏยศัพท์ งา่ ย ๆ ท่าทาง ๓. ๓. แสดง การ ในการสอ่ื ๔. บรรย ประกอบ เปรียบเทยี บ เคลื่อนไหว ความหมาย ความรสู้ จังหวะอย่าง บทบาทหนา้ ที่ ในจังหวะต่าง และการ ตนเองท สร้างสรรค์ ของผ้แู สดง ๆ ตาม แสดงออก๔. นาฏศลิ ๕. ระบุมารยาท และผชู้ ม ความคิดของ มีสว่ นร่วมใน การละค ในการชม ๔. มีสว่ นร่วม ตน กลุม่ กบั สร้างสร การแสดง ในกจิ กรรมการ ๔. แสดง การเขยี นเคา้ แสดงที่เหมาะสม โครงเรอื่ ง กับวัย
ากษ์วิจารณค์ ุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรูส้ กึ ความคิดอย่างอสิ ระ ชื่นชม นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ งสรรค์การ ๑. อธิบายอิทธิพลของ ๑. อธบิ ายการ บูรณา ๑. ระบโุ ครงสรา้ งของ ไหวและการ นกั แสดงช่อื ดังที่มีผล การศิลปะแขนงอ่ืน ๆ บทละครโดยใช้ศัพท์ ดยเน้นการ ต่อ กบั การแสดง ทางการละคร ดลลี าหรือ การโน้มนา้ วอารมณ์ ๒. สร้างสรรค์การแสดง ๒. ใช้ ณ์ หรอื ความคิดของ โดยใช้องค์ประกอบ นาฏยศพั ท์ หรือศพั ท์ กแบบ เครอ่ื ง ผู้ชม นาฏศิลปแ์ ละการละคร ทางการละครท่ี ย หรือ ๒. ใชน้ าฏยศพั ทห์ รอื ๓. วเิ คราะห์การแสดง เหมาะสมบรรยาย ณป์ ระกอบ ศพั ท์ทางการละครใน ของตนเองและผู้อื่น เปรยี บเทยี บการ ดง การแสดง โดยใช้ แสดงอากปั กริ ยิ า าย ๆ ๓. แสดงนาฏศลิ ป์และ นาฏยศัพท์หรือศพั ท์ ของผคู้ นในชวี ติ ดง การละคร ทาง ประจำวันและ ลป์และการ ในรูปแบบงา่ ย ๆ การละครที่เหมาะสม ในการแสดง ๔. ใช้ทกั ษะการ ๔. เสนอขอ้ คดิ เห็น ๓. มที ักษะในการใช้ ทำงานเปน็ กลมุ่ ใน ในการปรับปรุงการแสดง ความคดิ ใน ยาย กระบวนการผลิตการ สึกของ แสดง ทม่ี ีตอ่ งาน ลป์และ ครอยา่ ง รรค์
ตวั ชวี้ ัดชัน้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป ๕. บอก นาฏศิลปเ์ ปน็ คู่ หรอื บทละคร ๕. แสด ประโยชน์ของ และหมู่ สน้ั ๆ คดิ เห็นใ การแสดง ๕. เล่าสงิ่ ท่ี ๕. เปรียบเทียบ การแสด นาฏศิลปใ์ น ชนื่ ชอบในการ การแสดง ๖. อธบิ ชวี ติ ประจำวัน แสดง โดยเนน้ นาฏศลิ ป์ ความสัม จดุ สำคญั ของ ชดุ ตา่ ง ๆ ระหว่าง เร่อื งและ ๖. บอก และการ ลักษณะ ประโยชน์ สิง่ ทป่ี ระ เดน่ ของตัว ทีไ่ ด้รับจาก ในชวี ิตป ละคร การชมการ แสดง
นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ดงความ ๕. ใช้เกณฑ์ ๕. เชอ่ื มโยงการเรยี นรู้ การพัฒนารปู แบบ ในการชม งา่ ย ๆ ท่ีกำหนดให้ ใน ระหวา่ งนาฏศลิ ป์และ การแสดง ดง การพจิ ารณา การละคร กบั ๔. มที ักษะในการแปล บาย คณุ ภาพการแสดงท่ี สาระการเรียนรอู้ ่นื ๆ ความและการสือ่ สาร มพันธ์ ชม ผ่านการแสดง งนาฏศิลป์ โดยเน้นเร่อื ง ๕. วิจารณ์เปรยี บเทียบ รละครกบั การใช้เสียง งานนาฏศิลป์ทมี่ ีความ ะสบ การแสดงท่า และการ แตกต่างกันโดยใช้ ประจำวนั เคล่ือนไหว ความรเู้ ร่อื ง องค์ประกอบนาฏศิลป์ ๖. ร่วมจัดงานการ แสดง ในบทบาทหน้าทตี่ ่าง ๆ ๗. นำเสนอแนวคิดจาก เน้อื เร่ืองของการแสดง ทีส่ ามารถนำไปปรบั ใช้ ในชีวิตประจำวัน
สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างนาฏศลิ ป์ ประวัตศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม เห ภูมิปญั ญาไทยและสากล ตัวชว้ี ัดช้นั ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑. ระบุ และ ๑. ระบุและเล่น ๑. เลา่ การ ๑. อธิบาย ๑. เปรียบเทยี บ ๑. อ เลน่ การละเล่น การละเลน่ แสดง ประวตั ิความ การแสดง ความ ของเด็กไทย พน้ื บา้ น นาฏศลิ ปท์ ่ี เปน็ มาของ ประเภทต่าง ๆ การแ ๒. บอกสง่ิ ท่ี ๒. เช่ือมโยงสง่ิ ที่ เคยเห็นใน นาฏศิลป์ หรอื ของไทย นาฏ ตนเองชอบใน พบเห็นใน ทอ้ งถิน่ ชดุ การแสดง ในแตล่ ะท้องถน่ิ ละค การแสดง การละเล่น ๒. ระบสุ ่ิงท่ี อยา่ งงา่ ย ๆ ๒. ระบหุ รอื ๒. ระ นาฏศิลป์ไทย พน้ื บา้ นกับสิ่งท่ี เป็นลกั ษณะ ๒. เปรยี บเทยี บ แสดงนาฏศิลป์ ท่ไี ด้ร พบเหน็ เดน่ และ การแสดง นาฏศิลปพ์ ื้นบา้ น แสด ในการดำรงชวี ติ เอกลกั ษณ์ของ นาฏศิลป์ ทส่ี ะท้อนถงึ การแ ของคนไทย การแสดง กับการแสดง วฒั นธรรม นาฏ ๓. ระบสุ ่ิง นาฏศลิ ป์ ทมี่ าจาก และประเพณี ละค ทีช่ ่นื ชอบและ ๓. อธบิ าย วฒั นธรรมอ่ืน ภาคภมู ใิ จ ความสำคญั ๓. อธบิ าย ในการละเล่น ของการแสดง ความสำคญั ของ พนื้ บ้าน นาฏศิลป์ การแสดงความ เคารพในการ เรยี นและการ แสดงนาฏศิลป์ ๔. ระบุเหตผุ ล ทค่ี วรรกั ษา และสืบทอด การแสดง นาฏศิลป์
หน็ คุณค่าของนาฏศิลปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถนิ่ นปี ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ ม. ๑ ๑. เปรยี บเทยี บ ๑. ออกแบบ และ ลักษณะเฉพาะ สรา้ งสรรคอ์ ุปกรณ์ และ อธบิ ายส่งิ ทม่ี ี ๑. ระบุปจั จยั ท่ีมี ของการแสดงนาฏศิลป์ เครอ่ื งแตง่ กาย เพ่ือแสดง มสำคัญต่อ ผลต่อการ จากวฒั นธรรมตา่ งๆ นาฏศิลปแ์ ละการละคร แสดง เปล่ยี นแปลงของ ๒. ระบุหรอื แสดง ทมี่ าจากวัฒนธรรม ฏศลิ ป์และ นาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์นาฏศิลป์ ตา่ ง ๆ คร นาฏศิลป์พน้ื บ้าน พ้ืนบา้ น ละครไทย ๒. อธิบายความสำคัญ ะบุประโยชน์ ละครไทย และ ละครพน้ื บา้ น หรอื และบทบาทของ รบั จากการ ละครพนื้ บา้ น มหรสพอ่นื ที่เคย นาฏศลิ ปแ์ ละการละคร ดงหรอื การชม ๒. บรรยาย นิยมกนั ในอดตี ในชีวิตประจำวนั แสดง ประเภทของ ๓. อธิบายอิทธพิ ลของ ๓. แสดงความคดิ เหน็ ใน ฏศลิ ปแ์ ละ ละครไทย วัฒนธรรมทมี่ ผี ลต่อ การอนรุ ักษ์ คร ในแต่ละยุคสมัย เนื้อหาของละคร
กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ ทำไมต้องเรียนการงานอาชพี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเป็นกลุ่มสาระท่ีช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะพ้ืนฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับ การดำรงชวี ิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาใช้ประโยชนใ์ นการทำงานอย่างมีความคดิ สร้างสรรค์ และ แข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน และมีเจตคติที่ดี ต่อการทำงาน สามารถดำรงชวี ติ อยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งพอเพยี งและมีความสุข เรียนรอู้ ะไรในการงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพ่ือให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ โดยมสี าระสำคญั ดังน้ี • การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเกี่ยวกับการทำงานในชีวิตประจำวัน การช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจริงจนเกิดความม่ันใจและภูมิใจในผลสำเร็จของงาน เพ่ือให้ค้นพบความสาม ารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง • การอาชีพ เป็นสาระเกี่ยวกับทักษะท่ีจำเป็นต่ออาชีพ เห็นความสำคัญของ คุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
คุณภาพผเู้ รียน จบช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ • เข้าใจวิธีการทำงานเพ่ือช่วยเหลือตนเอง ครอบครัวและส่วนรวม ใช้วัสดุ อุปกรณ์และ เคร่ืองมือถูกต้องตรงกบั ลักษณะงาน มีทักษะกระบวนการทำงาน มีลักษณะนสิ ัยการทำงานที่กระตือรือร้น ตรงเวลาประหยดั ปลอดภยั สะอาด รอบคอบและมีจิตสำนกึ ในการอนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม • เข้าใจประโยชน์ของสิ่งของเคร่ืองใช้ในชีวิตประจำวัน มีความคดิ ในการแก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการอยา่ งมคี วามคิดสร้างสรรค์มที ักษะในการสร้างของเล่น ของใชอ้ ย่างงา่ ย โดยใช้กระบวนการ เทคโนโลยี ได้แก่กำหนดปัญหาหรือความตอ้ งการ รวบรวมข้อมูล ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพ ร่าง ๒ มิติ ลงมือสร้างและประเมินผล เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างถูกวิธี เลือกใช้ส่ิงของเคร่ืองใช้ ในชวี ิตประจำวนั อยา่ งสร้างสรรค์และมกี ารจัดการสงิ่ ของเครื่องใชด้ ว้ ยการนำกลับมาใช้ซ้ำ • เขา้ ใจและมีทกั ษะการค้นหาข้อมลู อยา่ งมขี ัน้ ตอน การนำเสนอข้อมูลในลักษณะตา่ ง ๆ จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ • เข้าใจการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละข้ันตอน มีทักษะการจัดการ ทักษะ การทำงานรว่ มกัน ทำงานอย่างเป็นระบบและมีความคิดสร้างสรรค์ มีลักษณะนิสัยการทำงานทข่ี ยนั อดทน รบั ผดิ ชอบ ซือ่ สตั ย์ มีมารยาทและมจี ิตสำนกึ ในการใช้น้ำใชไ้ ฟฟา้ อย่างประหยัดและคุม้ ค่า • เขา้ ใจหลักการแก้ปัญหาเบื้องต้น มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูล เก็บรักษา ข้อมลู สรา้ งภาพกราฟกิ สร้างงานเอกสาร นำเสนอขอ้ มูลและสร้างช้นิ งานอยา่ งมจี ติ สำนกึ และรบั ผิดชอบ • รูแ้ ละเข้าใจเก่ยี วกับอาชีพ รวมทงั้ มีความรู้ ความสามารถและคุณธรรมท่ีสัมพันธ์กบั อาชีพ จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ • เข้าใจกระบวนการทำงานท่ีมีประสิทธิภาพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงาน มีทักษะ การแสวงหาความรู้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาและทกั ษะการจัดการ มลี ักษณะนิสัยการทำงานทีเ่ สียสละ มคี ุณธรรม ตัดสนิ ใจอย่างมีเหตุผลและถูกต้องและมจี ิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากรและสง่ิ แวดล้อม อยา่ งประหยัดและคมุ้ ค่า • เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการส่ือสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการและ วิธีแก้ปัญหา หรือการทำโครงงานด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มที ักษะการคน้ หาข้อมูลและ การติดต่อส่ือสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้คอมพิวเตอร์ ในการแก้ปัญหา สร้างช้นิ งานหรือโครงงานจากจินตนาการ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน • เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติท่ีดีตอ่ อาชีพและเห็นความสำคัญของการประกอบ อาชีพ วิธีการหางานทำ คณุ สมบัติท่ีจำเปน็ สำหรับการมงี านทำ วเิ คราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ มที ักษะพื้นฐาน ที่จำเป็นสำหรับการประกอบอาชีพและประสบการณ์ต่ออาชีพที่สนใจและประเมินทางเลือกในการประกอบ อาชพี ทสี่ อดคล้องกับความรู้ ความถนดั และความสนใจ
คุณภาพผู้เรียน (รายวิชาเพ่ิมเตมิ ) จบช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 • เขา้ ใจกระบวนการทำงานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ มที ักษะการออกแบบ การพฒั นางาน การแสวงหา ความรู้ การแก้ปัญหา การจัดการ มีความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ มีนิสัยมุ่งม่ัน มีวินัย ในการทำงาน การวางแผนการทำงานอย่างเปน็ ระบบ • เข้าใจหลักการทำงานด้วยกระบวนการทางคอมพิวเตอร์ ในการผลงานอันเกิดจากจินตนาการ ความริเริ่มสรา้ งสรรค์ มีทักษะในการคน้ หาข้อมลู การศึกษาหาความรูเ้ พ่มิ เติมผ่านระบบเครือขา่ ย การใชเ้ ทคโนโลยใี นการส่อื สาร นำเสนองาน • เข้าใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติท่ีดี เห็นความสำคัญของการประกอบอาชีพ มีทักษะ และประสบการณ์ต่ออาชีพท่ีสนใจ ประเมินทางเลือกท่ีสอดคล้อง ความรู้ ความถนัด และความ สนใจ
สาระท่ี ๑ การดำรงชวี ิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มคี วามคดิ สร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำ ทกั ษะการทำงานร่วมกนั และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มคี ณุ ธร ทรพั ยากร และสง่ิ แวดลอ้ ม เพือ่ การดำรงชีวติ และครอบครัว ตวั ชว้ี ัดช้ัน ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑. อ ๑. บอกวิธกี าร ๑. บอกวิธีการ ๑.อธิบาย ๑. อธิบาย ๑.อธบิ าย ใน ทำงานเพื่อ และประโยชน์ วธิ กี ารและ เหตผุ ลใน เหตุผลในการ การท ช่วยเหลอื ตนเอง การทำงานเพือ่ ประโยชน์ การทำงาน ทำงาน ปรบั ๒. ใช้วสั ดุ ชว่ ยเหลอื ตนเอง การทำงาน ให้บรรลุ แตล่ ะขัน้ ตอน การท อุปกรณ์และ และครอบครัว เพื่อช่วยเหลอื เป้าหมาย ถูกตอ้ งตาม แต่ล เครื่องมือง่ายๆ ๒. ใช้วสั ดุ ตนเอง ๒. ทำงาน กระบวนการ ๒. ใช ในการทำงาน อุปกรณ์และ ครอบครวั บรรลุเป้า ทำงาน การจ อย่างปลอดภัย เครอ่ื งมือใน และส่วนรวม หมายท่ีวาง ไว้ ๒. ใชท้ กั ษะ ทำงา ๓. ทำงานเพอ่ื การทำงานอยา่ ง ๒ ใช้วัสดุ อยา่ งเป็น การจดั การใน ทำงา ชว่ ยเหลือตนเอง เหมาะสมกับงาน อปุ กรณ์และ ขนั้ ตอน การทำงาน ๓. ป อย่าง และประหยัด เคร่อื งมือตรง ด้วยความขยนั อยา่ งเป็นระบบ มารย กระตือรือรน้ ๓. ทำงานเพื่อ กับลักษณะ อดทน ประณีตและ กับค และตรงเวลา ช่วยเหลอื ตนเอง งาน รับผดิ ชอบ มีความคิด และครอบครวั ๓. ทำงาน และซอ่ื สตั ย์ สร้างสรรค์ อยา่ งปลอดภัย อยา่ งเปน็ ๓. ปฏบิ ัตติ น ๓. ปฏบิ ัตติ น อยา่ งมี อย่างมีมารยาท ข้ันตอน มารยาทใน ในการทำงาน ตามกระบวนการ การทำงาน กบั สมาชิก ทำงานดว้ ย ๔. ใชพ้ ลังงาน ในครอบครัว ความสะอาด และทรพั ยากร ๔.มีจิตสำนกึ ใน ความ ในการทำงาน การใชพ้ ลังงาน รอบคอบ และ อย่างประ และทรพั ยากร อนรุ ักษ์ หยัด และ อย่างประหยดั สิ่งแวดล้อม คุ้มค่า และคมุ้ คา่
ำงาน ทักษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา รรม และลกั ษณะนสิ ยั ในการทำงาน มีจติ สำนึกในการใช้พลังงาน นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ อภิปรายแนวทาง ๑. วเิ คราะหข์ นั้ ตอน ๑. ใชท้ กั ษะ ๑. อภปิ รายขนั้ ตอน การทำงาน การแสวงหาความรู้ การทำงานทมี่ ี ทำงานและ ตามกระบวนการ เพอ่ื พฒั นาการ ประสิทธภิ าพ บปรงุ ทำงาน ทำงาน ๒. ใชท้ กั ษะ ทำงาน ๒.ใชก้ ระบวนการกลมุ่ ๒. ใช้ทกั ษะ ในการทำงานร่วมกัน ละขัน้ ตอน ใน กระบวนการ อยา่ งมีคณุ ธรรม ช้ทกั ษะ การทำงานดว้ ย แกป้ ัญหา ๓. อภปิ รายการทำงาน จัดการในการ ความเสียสละ ในการทำงาน โดยใช้ทักษะ านและทกั ษะการ ๓. ตัดสนิ ใจ ๓. มีจติ สำนกึ การจดั การเพอื่ านร่วมกนั แกป้ ัญหา การ ในการทำงานและ การประหยดั พลังงาน ปฏิบตั ิตนอย่างมี ทำงาน ใชท้ รพั ยากร ทรพั ยากร และ ยาทในการทำงาน อย่างมีเหตผุ ล ในการปฏิบตั ิงาน สง่ิ แวดลอ้ ม ครอบครวั และผู้อื่น อยา่ งประหยดั และ คุ้มคา่
๑๗๖ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ทำไมต้องเรียนภาษาต่างประเทศ ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสำคัญ และจำเป็นอย่างย่ิง ในชีวิตประจำวัน เน่ืองจากเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ การประกอบอาชีพ การสร้างความเข้าใจเก่ียวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึง ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมมุ มองของสงั คมโลก นำมาซึ่งมิตรไมตรแี ละความร่วมมอื กับประเทศ ตา่ งๆ ช่วยพฒั นาผเู้ รียนให้มีความเขา้ ใจตนเองและผอู้ ่นื ดีขึ้น เรียนรูแ้ ละเข้าใจความแตกตา่ งของภาษาและ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจตคติที่ดี ต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพ่ือการสื่อสารได้ รวมท้ังเข้าถึงองค์ความรู้ต่างๆ ได้ง่ายและกว้างข้ึน และมีวิสยั ทัศน์ในการดำเนินชีวติ ภาษาต่างประเทศที่เป็นสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน ซ่ึงกำหนดให้เรียนตลอดหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอ่ืน เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่น อาหรับ บาลี และภาษากล่มุ ประเทศเพอ่ื นบา้ น หรือภาษาอนื่ ๆ ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินจิ ของสถานศึกษาทจ่ี ะจดั ทำรายวิชา และจัดการเรยี นรตู้ ามความเหมาะสม เรียนรู้อะไรในภาษาตา่ งประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศ สือ่ สารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชพี และศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้น รวมท้ังมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก และ สามารถถ่ายทอดความคิดและวฒั นธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อยา่ งสร้างสรรค์ ประกอบด้วยสาระสำคัญ ดงั นี้ • ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นำเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและ ความคิดเห็นในเรอื่ งตา่ งๆ และสร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ งบคุ คลอยา่ งเหมาะสม • ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและ วฒั นธรรมของเจ้าของภาษากบั วัฒนธรรมไทย และนำไปใช้อยา่ งเหมาะสม • ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน การใช้ภาษาต่างประเทศ ในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และ เปดิ โลกทัศน์ของตน • ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ ต่างๆ ท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชพี และแลกเปล่ียนเรียนรู้กับสังคมโลก
คุณภาพผูเ้ รียน จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ • ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องที่ฟัง อ่านออกเสยี งตวั อักษร คำ กลุ่มคำ ประโยคง่ายๆ และบทพูด เข้าจังหวะง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน บอกความหมายของคำและกลุ่มคำท่ีฟังตรงตามความหมาย ตอบคำถามจากการฟังหรืออา่ นประโยค บทสนทนาหรอื นทิ านงา่ ยๆ • พูดโต้ตอบด้วยคำส้ันๆ ง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบท่ีฟัง ใช้คำสั่งและ คำขอร้องง่ายๆ บอกความต้องการง่ายๆ ของตนเอง พูดขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเพ่ือน บอกความรสู้ กึ ของตนเองเกีย่ วกบั ส่งิ ตา่ งๆ ใกลต้ วั หรือกจิ กรรมตา่ งๆ ตามแบบทีฟ่ งั • พดู ให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเรอื่ งใกลต้ ัว จัดหมวดหมู่คำตามประเภทของบุคคล สัตว์ และส่งิ ของ ตามท่ีฟงั หรืออ่าน • พูดและทำท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา บอกชื่อและคำศัพท์ ง่ายๆ เกี่ยวกบั เทศกาล/วนั สำคัญ/งานฉลอง และชีวติ ความเปน็ อยู่ของเจา้ ของภาษา เขา้ ร่วมกิจกรรมทาง ภาษาและวัฒนธรรมทีเ่ หมาะกบั วัย • บอกความแตกตา่ งของเสียงตวั อกั ษร คำ กลุ่มคำ และประโยคง่ายๆ ของภาษาต่างประเทศและ ภาษาไทย • บอกคำศัพทท์ ี่เกย่ี วขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่ืน • ฟงั /พดู ในสถานการณง์ ่ายๆ ที่เกิดขึ้นในหอ้ งเรยี น • ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ เพ่ือรวบรวมคำศพั ท์ท่เี ก่ียวข้องใกล้ตวั • มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว อาหาร เคร่ืองดม่ื และเวลาว่างและนันทนาการ ภายในวงคำศัพท์ ประมาณ ๓๐๐-๔๕๐ คำ (คำศพั ทท์ ่เี ป็นรปู ธรรม) • ใช้ ป ร ะ โย ค ค ำ เดี ย ว (One Word Sentence) ป ร ะ โย ค เด่ี ย ว (Simple Sentence) ในการสนทนาโตต้ อบตามสถานการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั จบชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ • ปฏิบัติตามคำส่ัง คำขอร้อง และคำแนะนำท่ีฟังและอ่าน อ่านออกเสียงประโยค ข้อความ นิทาน และบทกลอนส้ันๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือก/ระบุประโยคและข้อความตรงตามความหมาย ของสัญลักษณ์หรือเคร่ืองหมายท่ีอ่าน บอกใจความสำคัญ และตอบคำถามจากการฟังและอ่าน บทสนทนา นทิ านง่ายๆ และเร่ืองเล่า • พูด/เขียนโต้ตอบในการส่ือสารระหวา่ งบุคคล ใช้คำส่ัง คำขอร้อง และให้คำแนะนำ พูด/เขียน แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ง่ายๆ พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเร่ืองใกล้ตัว พูด /เขียนแสดง ความรสู้ กึ เก่ียวกบั เร่ืองตา่ งๆ ใกล้ตวั กิจกรรมตา่ งๆ พร้อมทัง้ ให้เหตผุ ลส้นั ๆ ประกอบ • พูด/เขียนให้ข้อมูลเก่ียวกับตนเอง เพื่อน และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว เขียนภาพ แผนผัง แผนภูมิ และตารางแสดงขอ้ มูลต่างๆ ทฟ่ี ังและอา่ น พูด/เขยี นแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรอ่ื งตา่ งๆ ใกล้ตัว
• ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิรยิ าท่าทางอย่างสุภาพ เหมาะสม ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง/ชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้ารว่ มกจิ กรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ • บอกความเหมือน/ความแตกตา่ งระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมาย วรรคตอน และการลำดับคำ ตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบ ความเหมอื น/ความแตกตา่ งระหว่างเทศกาล งานฉลองและประเพณีของเจา้ ของภาษากบั ของไทย • ค้นคว้า รวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ นื่ จากแหลง่ การเรียนรู้ และนำเสนอ ด้วยการพดู /การเขียน • ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์ตา่ งๆ ท่เี กิดขน้ึ ในหอ้ งเรยี นและสถานศกึ ษา • ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในการสืบคน้ และรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ • มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเร่ืองเก่ียวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เคร่ืองด่ืม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย และลมฟ้าอากาศ ภายในวงคำศัพท์ประมาณ ๑,๐๕๐-๑,๒๐๐ คำ (คำศัพท์ท่ีเป็นรูปธรรมและ นามธรรม) • ใช้ประโยคเด่ียวและประโยคผสม (Compound Sentences) สื่อความหมายตามบริบท ต่าง ๆ จบชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ • ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำชี้แจง และคำอธิบายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงขอ้ ความ ข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรองส้ันๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/เขียนส่ือท่ีไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่างๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความท่ีฟังหรืออ่าน เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความสำคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ พร้อมท้ัง ใหเ้ หตุผลและยกตวั อยา่ งประกอบ • สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเร่ืองต่างๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ใช้คำขอร้อง คำชี้แจง และ คำอธิบาย ให้คำแนะนำอย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย ความรู้สึกและความคิดเห็นของตนเองเก่ียวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์ พร้อมท้งั ใหเ้ หตุผลประกอบอย่างเหมาะสม • พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เร่ือง/ประเด็นต่างๆ ทอ่ี ยู่ในความสนใจของสังคม พดู และเขียนสรุปใจความสำคญั /แก่นสาระ หัวข้อเรอื่ งทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ เร่ือง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมใหเ้ หตผุ ลประกอบ
• เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเก่ียวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณี ของเจา้ ของภาษา เข้าร่วม/จดั กจิ กรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ • เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิด ต่างๆ และการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและ อ ธิ บาย ค ว าม เหมื อ น และ ค ว าม แ ต ก ต ่าง ร ะ ห ว ่า ง ชี วิ ตค ว าม เป็ น อ ยู่แ ละ วั ฒ น ธ ร ร มข อ ง เจ้ าขอ งภ าษ า กับของไทย และนำไปใช้อยา่ งเหมาะสม • ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล /ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน จากแหล่งการเรียนรู้ และนำเสนอด้วยการพูดและการเขียน • ใชภ้ าษาส่อื สารในสถานการณ์จรงิ /สถานการณ์จำลองที่เกิดข้ึนในห้องเรยี น สถานศึกษา ชุมชน และสงั คม • ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น /ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากส่ือ และแหล่งการเรยี นรตู้ ่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชพี เผยแพร่/ประชาสัมพนั ธข์ ้อมลู ข่าวสารของ โรงเรยี น ชมุ ชน และท้องถิ่น เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ • มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเร่ืองเก่ียวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น สงิ่ แวดลอ้ ม อาหาร เครอ่ื งด่มื เวลาว่างและนนั ทนาการ สุขภาพและสวสั ดิการ การซ้ือ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเท่ียว การบริการ สถานที่ ภาษา และ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคำศัพท์ประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ คำ (คำศัพท์ที่เป็นนามธรรม มากขนึ้ ) • ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อน (Complex Sentences) ส่ือความหมายตามบริบทต่างๆ ในการสนทนาทงั้ ท่ีเป็นทางการและไม่เปน็ ทางการ
สาระที่ ๑ ภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตคี วามเรอ่ื งท่ีฟังและอ่านจากสอ่ื ประเภทตา่ งๆ และแสด ตวั ชีว้ ัด ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏิบตั ติ าม ๑. ปฏบิ ัติตาม ๑. ปฏิบตั ิตาม ๑. ปฏบิ ตั ิตาม คำสง่ั งา่ ยๆ ท่ี คำส่งั และ คำสัง่ และ คำส่งั คำขอรอ้ ง คำสัง่ คำขอรอ้ ง ฟัง คำขอรอ้ ง คำขอร้องที่ฟัง และคำแนะนำ และคำแนะนำ ๒. ระบุ ง่ายๆ ทีฟ่ งั หรอื อ่าน (instructions) ง่ายๆ ที่ฟงั และ ตวั อักษรและ ๒.ระบุ ๒. อ่านออก ง่ายๆ ทฟ่ี ังหรอื อ่าน เสยี ง อ่าน ตวั อักษรและ เสียง อา่ น ๒. อา่ นออก ออกเสยี งและ เสียง คำ สะกดคำ ๒. อ่านออก เสยี งประโยค สะกดคำง่ายๆ อา่ นออกเสียง อ่านกลุ่มคำ เสยี งคำ สะกด ข้อความ และ ถูกตอ้ งตาม คำ สะกดคำ ประโยค และ คำ อ่าน บทกลอน หลกั การอ่าน และอ่าน บทพดู เข้า กลุม่ คำประโยค ส้ันๆ ถกู ตอ้ งตาม ๓. เลือกภาพ ประโยคงา่ ยๆ จงั หวะ ข้อความง่ายๆ หลกั การอ่าน ตรงตาม ถูกตอ้ งตาม (chant) งา่ ยๆ และบทพดู ๓.ระบุ/วาด ความหมาย หลกั การอา่ น ถกู ต้องตาม เข้าจังหวะ ภาพสญั ลกั ษณ์ ของคำ และ ๓. เลือกภาพ หลกั การอา่ น ถกู ต้องตาม หรอื เครือ่ งหมาย กลุ่มคำ ตรงตาม ๓. เลอื ก/ระบุ หลกั การอา่ น ตรงตาม ที่ฟัง ความหมาย ภาพ หรอื ๓. เลอื ก/ระบุ ความหมายของ ๔. ตอบ ของคำ สญั ลกั ษณ์ ภาพ หรือ ประโยคและ คำถาม กลมุ่ คำ และ ตรงตาม สญั ลกั ษณ์ หรอื ขอ้ ความ จากการฟงั ประโยคทฟ่ี งั ความหมาย เครื่องหมาย เรื่องใกล้ตัว ๔. ตอบ ของ คำถาม กลุ่มคำและ จากการฟัง ประโยคท่ีฟัง
ดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตผุ ล ดช้ันปี ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑. ปฏิบัติตาม ๑. ปฏบิ ตั ิตามคำสงั่ ๑. ปฏบิ ัตติ าม ๑. ปฏบิ ตั ิตาม คำส่งั คำขอรอ้ ง คำขอรอ้ ง คำขอรอ้ ง คำขอร้อง และคำแนะนำ คำแนะนำ และ คำแนะนำ คำแนะนำ ที่ฟังและอา่ น คำชแี้ จงงา่ ยๆ คำชี้แจง และ คำช้แี จง และ ๒. อา่ นออก ท่ีฟังและอ่าน คำอธบิ ายงา่ ยๆ ทฟี่ งั คำอธิบายท่ีฟงั และ เสียงข้อความ ๒. อ่านออกเสียง และอา่ น อ่าน นทิ านและ ขอ้ ความ นทิ าน ๒. อ่านออกเสยี ง ๒. อ่านออกเสยี ง บทกลอนส้นั ๆ และ ขอ้ ความ ข่าว ขอ้ ความ ข่าว ถูกตอ้ งตาม บทรอ้ ยกรอง ประกาศ และบท โฆษณา และบท หลกั การอ่าน (poem) สน้ั ๆ ร้อย-กรองส้นั ๆ รอ้ ย-กรองสัน้ ๆ ๓. เลอื ก/ระบุ ถกู ต้องตาม ถกู ตอ้ งตาม หลกั การ ถกู ต้องตาม ประโยคหรอื หลักการอา่ น อา่ น หลักการอ่าน ข้อความสนั้ ๆ ๓. เลอื ก/ระบุ ๓. ระบ/ุ เขยี น ๓. ระบุและเขยี น ตรงตามภาพ ประโยคและ ประโยค และ สัญลกั ษณ์หรอื ข้อความ ให้ ขอ้ ความ ให้ สือ่ ท่ไี มใ่ ช่ความเรียง เคร่ืองหมาย สมั พันธ์กับ สัมพันธ์กับสื่อทไี่ มใ่ ช่ รปู แบบต่างๆ ให้ ทีอ่ ่าน สอ่ื ทไ่ี มใ่ ช่ ความเรียง รปู แบบ สมั พนั ธ์กบั ต่างๆ ๔. บอก ความเรียง (non- ท่อี า่ น ใจความ text information)
ตัวชีว้ ัด ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ สั้นๆ ประโยค ๔. ตอบ ตรงตาม ทฟ่ี งั หรืออา่ น สำ บทสนทนา คำถามจาก ๔. บอก หรอื นิทาน การฟงั หรอื ความหมาย ใจความสำคัญ ตอ ของ ประโยค และตอบ กา ง่ายๆ ที่มี อ่านประโยค คำถาม จาก ภาพประกอบ บทสนทนา และ ข้อความ การฟังและ บท หรอื นทิ าน สนั้ ๆ อ่านบท นทิ งา่ ยๆ ทฟ่ี ังหรืออา่ น แล สนทนา และ ๔. ตอบ นิทานงา่ ยๆ คำถาม หรือเร่ืองสนั้ ๆ จากการฟงั และอา่ น ประโยค บทสนทนา และนิทาน งา่ ยๆ
ดชัน้ ปี ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ำคัญ และ ที่อ่าน ๔. ระบุ ๔. เลอื กหัวข้อเรือ่ ง ประโยค และ ขอ้ ความท่ฟี ังหรือ อบคำถามจาก หวั ขอ้ เรอื่ ง (topic) ใจความสำคัญบอก อ่าน ๔. เลอื ก/ระบหุ ัวขอ้ ารฟังและอา่ น ใจความสำคัญ รายละเอยี ดสนับสนุน เรอ่ื งใจ ความสำคญั รายละเอยี ด ทสนทนา (main idea) และ (supporting detail) สนับสนุน และแสดง ความคดิ เห็นเก่ยี วกับ ทานง่ายๆ ตอบคำถาม และแสดง เรือ่ งทีฟ่ งั และอ่าน จากส่อื ประ เภท ละเรอ่ื งเล่า จากการฟังและอ่าน ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ตา่ งๆ พร้อม ทงั้ ใหเ้ หตุผลและยก ตัว บทสนทนา นิทาน เรือ่ งท่ฟี ังและอ่าน อย่าง ประกอบ และ พรอ้ มทั้ง เรอ่ื งส้ัน ให้เหตุผลและ ยกตัวอยา่ งงา่ ยๆ ประกอบ
สาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การสอ่ื สาร มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร แส ตัวช้วี ัด ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑. พูดโต้ตอบ ๑. พูดโตต้ อบ ๑. พูดโตต้ อบ ๑. พดู /เขยี น ๑. พูด/เขียน ด้วยคำส้นั ๆ ด้วยคำสนั้ ๆ ดว้ ยคำสน้ั ๆ โตต้ อบในการ โต้ตอบในการ ง่ายๆ ในการ ง่ายๆ ในการ งา่ ยๆ ในการ ส่อื สารระหว่าง สอ่ื สารระหว่าง สื่อสาร สือ่ สาร สื่อสารระหวา่ ง บคุ คล บุคคล ระหว่างบุคคล ระหว่างบคุ คล บุคคลตามแบบ ๒. ใชค้ ำส่ัง ๒. ใช้คำส่งั ตามแบบที่ฟัง ตามแบบท่ีฟัง ที่ฟงั คำขอร้อง และ คำขอร้อง ๒. ใช้คำสัง่ ๒.ใช้คำส่ังและ ๒. ใช้คำสัง่ และ คำขออนุญาต คำขออนุญาต งา่ ยๆ ตาม คำขอรอ้ ง คำขอรอ้ งงา่ ยๆ ง่ายๆ และให้ แบบ ง่ายๆตามแบบ ตามแบบทฟ่ี งั ๓. พูด/เขยี น คำแนะนำง่ายๆ ท่ีฟัง ทีฟ่ งั ๓. บอกความ แสดงความ ๓. พูด/เขียน ๓. บอกความ ๓. บอกความ ตอ้ งการง่ายๆ ตอ้ งการของ แสดงความ ตอ้ งการงา่ ยๆ ตอ้ งการง่ายๆ ของตนเอง ตนเอง และขอ ตอ้ งการ ขอ ของตนเอง ของตนเอง ตามแบบทฟ่ี งั ความช่วยเหลือ ความช่วยเหลอื ตามแบบทฟ่ี งั ตามแบบทฟ่ี งั ๔. พูดขอและ ในสถานการณ์ ตอบรบั และ ๔. พูดขอและ ๔. พูดขอและ ให้ขอ้ มลู งา่ ยๆ ง่ายๆ ปฏเิ สธการให้ ใหข้ ้อมูลง่ายๆ ใหข้ อ้ มูลง่ายๆ เก่ียวกบั ตนเอง ๔. พูด/เขียน ความชว่ ยเหลือ เกยี่ วกับ เก่ยี วกับ และเพอ่ื น เพ่อื ขอและให้ ในสถานการณ์ ตนเองตาม ตนเองตาม ตามแบบที่ฟงั ขอ้ มูลเก่ียวกับ งา่ ยๆ แบบที่ฟัง แบบทีฟ่ ัง ๕. บอกความ ตนเองเพื่อน ๔. พูด/เขียน และครอบครวั
สดงความรสู้ ึกและความคิดเห็นอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ดช้นั ปี ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑. พูด/เขยี น ๑. สนทนา ๑. สนทนา ๑. สนทนาและเขียน โตต้ อบในการ แลกเปล่ยี น แลกเปล่ียน ขอ้ มูล โตต้ อบขอ้ มูลเกย่ี วกับ สือ่ สารระหว่าง ขอ้ มลู เกย่ี วกับ เกย่ี วกบั ตนเอง ตนเอง บุคคล ตนเอง เรือ่ งต่างๆ ใกลต้ วั เรอื่ งต่างๆ ใกลต้ วั ๒. ใชค้ ำสงั่ กิจกรรม และ และสถานการณ์ สถานการณ์ ข่าว คำขอร้อง และ สถานการณ์ ตา่ งๆ ใน เร่อื งท่ีอยู่ในความ ใหค้ ำแนะนำ ตา่ งๆ ใน ชีวติ ประจำวนั สนใจของสังคม และ ๓. พูด/เขียน ชีวิตประจำวนั อยา่ งเหมาะสม ส่อื สารอย่างตอ่ เนือ่ ง แสดงความ ๒. ใช้คำขอรอ้ ง ๒. ใชค้ ำขอรอ้ ง และเหมาะสม ต้องการ ขอ ให้คำแนะนำ ใหค้ ำแนะนำ ๒. ใชค้ ำขอร้อง ให้ ความชว่ ยเหลือ และคำช้แี จง คำชีแ้ จงและ คำแนะนำ คำชีแ้ จง ตอบรับและ ตามสถานการณ์ คำอธิบาย และคำอธิบาย ปฏิเสธการให้ ๓. พดู และเขยี น ตามสถานการณ์ อยา่ งเหมาะสม ความช่วยเหลอื แสดงความ ๓. พดู และเขยี น ๓. พดู และเขียน ในสถานการณ์ ต้องการ แสดงความตอ้ งการ แสดงความตอ้ งการ งา่ ยๆ ขอความ เสนอและให้ความ เสนอและให้ความ ๔. พดู และ ชว่ ยเหลือ ตอบรบั ชว่ ยเหลอื ตอบรับและ และปฏเิ สธการให้ ปฏิเสธการให้ ความช่วยเหลอื ใน สถานการณ์ที่ เหมาะสม
ตัวชวี้ ัด ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ รสู้ ึกของตน เอง ๕. พูดแสดง เพอ่ื ขอและให้ เกย่ี วกบั ส่งิ ความรู้สกึ ของ ข้อมูลเกยี่ วกับ ต่างๆใกลต้ วั ตนเองเกยี่ วกับ ตนเอง หรือกจิ กรรม เรอื่ งตา่ งๆ เพ่ือน ตา่ งๆ ตามแบบ ใกล้ตัว และ ครอบครัว และ ที่ฟัง กจิ กรรมต่างๆ เร่อื งใกลต้ ัว ตามแบบท่ฟี งั ๕. พดู /เขียน แสดงความรู้สึก ของตนเอง เกยี่ วกบั เรื่อง ตา่ งๆ ใกล้ตวั และกิจกรรม ตา่ งๆ พรอ้ มท้ัง ใหเ้ หตุผลสนั้ ๆ ประกอบ
ดช้นั ปี ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ เขยี นเพื่อขอและ ช่วยเหลือ ๔. พูดและเขียน ความชว่ ยเหลือใน ให้ข้อมูลเกีย่ วกับ ตอบรบั และ เพอื่ ขอและให้ สถานการณ์ต่างๆ ตนเอง เพ่ือน ปฏเิ สธการให้ ข้อมูล บรรยาย อยา่ งเหมาะสม ครอบครัว และ ความชว่ ย เหลือ และแสดงความ ๔. พูดและเขยี นเพื่อ เรื่องใกลต้ วั ในสถานการณ์ คิดเหน็ เกยี่ วกับ ขอและใหข้ ้อมูล ๕. พดู /เขียนแสดง ต่างๆ อย่าง เร่อื งทฟ่ี งั หรืออ่าน อธิบาย เปรยี บเทียบ ความรู้สึกของ เหมาะสม อยา่ งเหมาะสม และแสดงความ ตนเอง ๔. พูดและเขียน ๕. พูดและเขียน คดิ เหน็ เกย่ี วกับเรื่อง เกย่ี วกบั เรื่อง เพอื่ ขอและให้ แสดงความรูส้ ึก ทฟ่ี ังหรืออา่ น ต่างๆ ใกล้ตวั ข้อมูล และ และความคดิ เหน็ อยา่ งเหมาะสม กิจกรรมต่างๆ แสดงความ ของตนเองเก่ยี วกบั ๕. พดู และเขยี น พรอ้ มทั้งให้ คิดเหน็ เกยี่ วกับ บรรยายความร้สู กึ เหตผุ ลสัน้ ๆ เร่อื งท่ีฟังหรอื และความคดิ เห็นของ ประกอบ อา่ น อย่าง ตนเองเกย่ี วกับเร่อื ง เหมาะสม ตา่ งๆ กจิ กรรม ๕. พูดและเขียน ประสบการณ์ และ แสดงความรูส้ กึ ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ และความคิดเหน็ พร้อมทั้งใหเ้ หตผุ ล ของตนเอง ประกอบ เกีย่ วกบั เรอ่ื ง ตา่ งๆ ใกลต้ วั
ตวั ชี้วัด ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕
ดช้นั ปี ม.๑ ม.๒ ม.๓ ป.๖ เรื่องต่างๆกจิ กรรม อยา่ งเหมาะสม กิจกรรมต่างๆ และประสบการณ์ พร้อมทั้งให้ เหตผุ ลส้ันๆ พร้อมทงั้ ประกอบ ใหเ้ หตุผลประกอบ อย่าง อยา่ งเหมาะสม เหมาะสม
สาระที่ ๑ ภาษาเพอื่ การสือ่ สาร มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอขอ้ มูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรื่อ ตวั ชว้ี ัด ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑. พดู ให้ ๑. พดู ให้ ๑. พูดให้ ๑. พดู /เขยี น ๑. พดู /เขียน ๑ ข้อมลู เกี่ยวกบั ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ขอ้ มลู เกยี่ วกับ ให้ข้อมลู ให้ขอ้ มูล ให ตนเองและ ตนเองและ ตนเองและ เก่ยี วกบั ตนเอง เกย่ี วกับตนเอง เก เร่ืองใกล้ตวั เรื่องใกล้ตัว เร่ืองใกลต้ ัว และเรือ่ งใกล้ และเรือ่ งใกล้ เพ ๒. จัด ตัว ตัว สงิ่ หมวดหม่คู ำ ๒. พดู /วาด ๒. เขียนภาพ ใก ตามประเภท ภาพแสดง แผนผัง และ ๒ ของบุคคล ความ แผนภมู ิแสดง แผ สัตว์ และ สัมพนั ธ์ของ ข้อมลู ตา่ งๆ แส ส่ิงของ ตามที่ สิง่ ต่างๆ ใกล้ ตามทีฟ่ งั หรือ ตา ฟังหรืออา่ น ตวั ตามท่ีฟัง อา่ น ๓ หรอื อ่าน ๓. พูดแสดง คว ๓. พดู แสดง ความคิดเห็น เร ความคิดเหน็ เก่ยี วกับ งา่ ยๆ เรือ่ งต่างๆ ใกล้ เกี่ยวกบั เร่อื ง ตวั ตา่ งๆ ใกล้ตัว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314