Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างหลักสูตร แก้ไข ครั้งที่ 2

โครงสร้างหลักสูตร แก้ไข ครั้งที่ 2

Published by Martin Meefia, 2021-09-01 15:58:32

Description: โครงสร้างหลักสูตร แก้ไข ครั้งที่ 2

Search

Read the Text Version

ดชัน้ ปี ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ๖ ๔. เขยี น แผนภาพ ๓. เขียนบรรยาย ยอ่ ความ และทศั นคติ ง ๕. เขียนรายงาน ภาพ ประสบการณ์ การศึกษา ในเรือ่ งต่างๆ พอ่ื ใช้ โดยระบุสาระสำคัญ คน้ คว้า ๔. เขียนย่อความ นเขียน และรายละเอียด ๖. เขียน ๕. เขียนจดหมายกิจธรุ ะ สนบั สนุน จดหมายกจิ ธรุ ะ ๖. เขยี นอธบิ าย ม ๔. เขยี นเรยี งความ ช้แี จง แสดงความคิดเห็น ๕. เขียนยอ่ ความจาก ๗. เขียน และโต้แยง้ ทอ่ี ่าน เรื่องท่ีอา่ น วิเคราะห์ อยา่ งมเี หตผุ ล จดหมาย ๖. เขียนแสดง วิจารณ์ และ ๗. เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ ความคิดเห็น แสดงความรู้ และแสดงความรู้ แบบ เกยี่ วกบั สาระ ความคิดเห็น ความคิดเห็น หรือโตแ้ ยง้ างๆ จากสอื่ ท่ไี ด้รบั หรือโต้แย้ง ในเรือ่ งต่างๆ ร่อื ง ๗. เขียน ในเรอ่ื งทอี่ า่ น ๘. กรอกแบบสมัครงาน นาการ จดหมายส่วนตัว อยา่ งมีเหตผุ ล พร้อมเขียนบรรยาย สรรค์ และจดหมาย ๘. มีมารยาท เกีย่ วกับความรู้ ยาท กิจธรุ ะ ในการเขยี น และทักษะของตนเองที่ ยน ๘. เขียนรายงาน เหมาะสมกบั งาน การศึกษาค้นคว้า ๙. เขียนรายงาน และโครงงาน การศึกษาค้นควา้ ๙. มีมารยาท และโครงงาน ในการเขยี น ๑๐. มีมารยาทในการเขียน

สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ คว ตวั ชวี้ ัดชน้ั ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑. ฟัง ๑. ฟงั ๑. เลา่ ๑. จำแนก ๑. พดู แสดง ๑. พูดแ คำแนะนำ คำแนะนำ รายละเอยี ด ขอ้ เทจ็ จริง ความรู้ ความรู้ คำสง่ั งา่ ยๆ คำสง่ั ที่ เก่ยี วกบั เรอ่ื ง และข้อคดิ เหน็ ความคดิ เห็น ความเข และปฏิบัติ ซับซอ้ น ทฟ่ี งั และดู จากเรอื่ งที่ฟัง และความรสู้ กึ จดุ ประส ตาม และปฏิบตั ิ ทงั้ ทีเ่ ปน็ และดู จากเรือ่ งท่ีฟงั ของเรื่อ ๒. ตอบ ตาม ความรู้ ๒. พดู สรปุ และดู และดู คำถาม ๒. เล่าเรือ่ ง และความ ความจาก ๒. ตง้ั คำถาม ๒. ต้ังค และเลา่ เรอ่ื ง ทฟ่ี งั และดู บันเทงิ การฟงั และดู และตอบ และตอบ ที่ฟังและดู ทั้งทเ่ี ป็น ๒. บอก ๓. พูดแสดง คำถาม เชงิ เหตุผ ทงั้ ท่ีเปน็ ความรู้ สาระสำคัญ ความรู้ เชิงเหตผุ ล จากเรอื่ ความรู้ และความ จากการฟัง ความคดิ เหน็ จากเรื่องที่ฟัง และดู และความ บันเทิง และการดู และความรสู้ ึก และดู ๓. วิเคร บันเทงิ ๓. บอก ๓. ตงั้ คำถาม เกีย่ วกบั เรื่องท่ี ๓. วเิ คราะห์ ความนา่ ๓. พูดแสดง สาระสำคัญ และตอบ ฟงั และดู ความ จากการ ความคิดเหน็ ของเรอ่ื งทฟ่ี งั คำถาม ๔. ตัง้ คำถาม น่าเช่ือถอื จาก โฆษณา และความรสู้ กึ และดู เก่ียวกับเร่ือง และตอบ เรอ่ื งทฟ่ี ัง เหตผุ ล จากเรอื่ งทีฟ่ งั ๔. ตง้ั คำถาม ทฟ่ี งั และดู คำถาม และดูอย่างมี ๔. พดู ร และดู และตอบ ๔. พูดแสดง เชงิ เหตผุ ล เหตผุ ล เรอื่ งหร ๔. พดู ส่ือสาร คำถาม ความคดิ เหน็ จากเรอ่ื งท่ีฟงั ๔. พูดรายงาน ประเด็น ไดต้ าม เกี่ยวกับเร่ือง และความรสู้ กึ และดู เรือ่ งหรือ ศึกษาค วตั ถุประสงค์ ทีฟ่ ังและดู จากเรือ่ งทฟ่ี งั ๕. รายงาน ประเดน็ จากการ ๕. มีมารยาท ๕. พูดแสดง และดู เรอ่ื งหรือ ทีศ่ ึกษา การดู แ

วามคดิ และความรูส้ ึกในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ แสดง ๑. พูดสรุป ๑. พูดสรปุ ๑. แสดงความ ใจความสำคญั ใจความสำคญั คดิ เหน็ และ ขา้ ใจ ของเรอ่ื งที่ฟัง ของเรอ่ื งท่ฟี งั ประเมนิ เรอื่ ง สงค์ และดู และดู จากการฟังและ องท่ฟี งั ๒. เลา่ เร่อื งย่อ ๒. วิเคราะห์ การดู จากเร่อื งท่ีฟงั และดู ขอ้ เท็จจรงิ ๒. วเิ คราะห์ คำถาม ๓. พดู แสดง ขอ้ คดิ เห็น และวิจารณ์เรื่อง บคำถาม ความคิดเห็น และความ ทีฟ่ งั และดู ผล อย่างสร้างสรรค์ นา่ เชอื่ ถือของ เพือ่ นำขอ้ คดิ มา องทฟ่ี งั เกย่ี วกบั เรือ่ ง ข่าวสารจากส่อื ประยกุ ตใ์ ช้ ในการดำเนนิ ที่ฟังและดู ต่างๆ ชีวติ ราะห์ ๔. ประเมนิ ความ ๓. วเิ คราะห์ ๓. พูดรายงาน าเชอ่ื ถือ นา่ เชือ่ ถอื ของสือ่ ที่ และวิจารณ์ เรื่องที่ฟังและดู เรอื่ งหรอื รฟังและดสู อ่ื มเี นือ้ หา อย่างมีเหตผุ ล ประเด็นท่ศี กึ ษา าอย่างมี โนม้ น้าวใจ ๕. พดู รายงาน เพอื่ นำขอ้ คดิ คน้ ควา้ จากการฟงั มาประยุกตใ์ ช้ การดู และการสนทนา รายงาน เรื่องหรือ ในการดำเนินชวี ติ ๔. พดู ใน รือ ประเดน็ ท่ี นท่ี ศึกษาค้นคว้า ๔. พดู ใน โอกาสตา่ งๆ ได้ตรงตาม คน้ ควา้ จากการฟัง โอกาสต่างๆ วัตถปุ ระสงค์ รฟงั การดู และการ ไดต้ รงตาม ๕. พดู โน้มน้าว และการ สนทนา วัตถุประสงค์

ตวั ชี้วัดชนั้ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ในการฟงั การ ความคิดเหน็ ๕. พดู ส่อื สาร ประเด็นท่ี คน้ คว้า สนทนา ดู และการพูด และความรู้สึก ไดช้ ดั เจน ศึกษาคน้ คว้า จากการฟัง ๕. พดู โน จากเร่อื งที่ฟงั ตรงตาม จากการฟัง การดู และ มีเหตุผล และดู วัตถุประสงค์ การดู และ การสนทนา และน่าเ ๖. พดู สอ่ื สาร ๖. มมี ารยาท การสนทนา ๕. มมี ารยาท ๖. มมี าร ไดช้ ดั เจน ในการฟัง การ ๖. มมี ารยาท ในการฟัง การ ในการฟ ตรงตาม ดู และการพดู ในการฟงั การ ดู และการ การพดู วัตถปุ ระสงค์ ดู และการพดู พดู ๗. มมี ารยาท ในการฟงั การ ดู และการพูด

นปี ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ ๖. มีมารยาท ๕. พดู รายงาน โดยนำเสนอ ในการฟัง การดู เรื่องหรือ หลกั ฐานตาม ลำดับ า และการพดู ประเดน็ ท่ศี กึ ษา เน้ือหาอยา่ งมเี หตผุ ล น้มนา้ วอย่าง คน้ คว้า และน่าเช่ือถอื ล ๖. มมี ารยาท ๖. มีมารยาทในการฟงั เชื่อถือ ในการฟงั การดู การดู และการพดู รยาท และการพูด ฟงั การดู และ

สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภ และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ ตัวชีว้ ัดชน้ั ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑. บอกและ ๑. บอกและ ๑. เขียน ๑. สะกดคำ ๑. ระบชุ นิด ๑. วิเคร เขียน เขยี น สะกด และบอก และหน้าทขี่ อง หน้าทขี่ อ พยญั ชนะ พยัญชนะ คำและบอก ความหมายของ คำ ในประโ สระ สระ ความหมาย คำในบริบท ในประโยค ๒. ใช้คำ วรรณยุกต์ วรรณยกุ ต์ ของคำ ตา่ งๆ ๒. จำแนก ไดเ้ หมาะ และเลขไทย และเลขไทย ๒. ระบชุ นดิ ๒. ระบุชนิด ส่วนประกอบ กับกาลเ ๒. เขยี น ๒. เขยี น และหน้าที่ และหนา้ ทข่ี อง ของประโยค และบุคค สะกด สะกด ของ คำในประโยค ๓. เปรียบเทยี บ ๓. รวบร คำและบอก คำและบอก คำใน ๓. ใช้ ภาษาไทย ความหม ความหมาย ความหมาย ประโยค พจนานกุ รม มาตรฐาน ของคำ ของคำ ของคำ ๓. ใช้ คน้ หา กบั ภาษาถิน่ ภาษาตา่ ๓. เรียบ ๓. เรยี บ พจนานกุ รม ความหมาย ๔. ใช้คำ ที่ใช้ในภ เรียงคำ เรยี งคำ ค้นหา ของคำ ราชาศพั ท์ ๔. ระบุล เป็นประโยค เปน็ ประโยค ความหมาย ๔. แตง่ ประโยค ๕. บอกคำ ของประ ง่าย ๆ ได้ตรงตาม ของคำ ได้ถกู ต้องตาม ภาษาตา่ งประเ ๕. แตง่ บ ๔. ต่อ เจตนาของ ๔. แต่ง หลักภาษา ทศในภาษาไทย ร้อยกรอ คำคล้องจอง การสือ่ สาร ประโยค ๕. แตง่ บท ๖. แตง่ บท ๖. วเิ คร งา่ ยๆ ๔. บอก ง่ายๆ รอ้ ยกรอง รอ้ ยกรอง และเปร ลักษณะ ๕. แตง่ คำ และคำขวญั ๗. ใช้สำนวน สำนวนท คำคลอ้ งจอง คลอ้ งจอง ๖. บอก ๕. เลอื กใช้ และคำขวัญ ความหมาย ได้ถกู ตอ้ ง พงั เพยแ

ภาษาและพลังของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา นปี ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ ม. ๑ ๑. สร้างคำใน ๑. จำแนก ภาษาไทย และใชค้ ำ ราะหช์ นิดและ ๑. อธิบาย ๒. วิเคราะหโ์ ครงสรา้ ง ภาษาต่างประเทศ องคำ ลักษณะ ประโยคสามัญ ท่ีใช้ในภาษาไทย โยค ของเสียง ประโยครวมและ ๒. วเิ คราะห์ ำ ในภาษาไทย ประโยคซอ้ น โครงสรา้ ง ะสม ๒. สรา้ งคำ ๓. แตง่ บท ประโยคซับซอ้ น รอ้ ยกรอง ๓. วิเคราะห์ เทศะ ในภาษาไทย ๔. ใช้คำราชาศัพท์ ระดบั ภาษา ๕. รวบรวม และ ๔. ใชค้ ำทับศัพทแ์ ละ คล ๓. วเิ คราะห์ อธบิ ายความหมาย ศัพท์บญั ญัติ ของคำ ๕. อธบิ าย รวมและบอก ชนดิ และหนา้ ท่ี ภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ ความหมาย ในภาษาไทย คำศัพท์ทาง มาย ของคำ วชิ าการและ ในประโยค วชิ าชพี างประเทศ ๔. วิเคราะห์ ๖. แตง่ บท ภาษาไทย ความแตกต่าง รอ้ ยกรอง ลกั ษณะ ของภาษาพดู ะโยค และภาษาเขยี น บท ๕. แต่งบท อง ร้อยกรอง ราะห์ ๖. จำแนก รยี บเทียบ และใช้สำนวน ทีเ่ ป็น คำ ทีเ่ ปน็ คำพงั เพย และสุภาษิต และสภุ าษติ

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ตัวชีว้ ัดช้ัน ป. ๕ ภาษาไทย ๖. เลอื กใช้ ของสำนวน มาตรฐาน ภาษาไทย ๗. เปรยี บเทยี บ และภาษา มาตรฐาน ภาษาไทย ถ่ิน และภาษาถนิ่ มาตรฐาน ไดเ้ หมาะสม ได้เหมาะสม กบั ภาษาถนิ่ ได้ กบั กาลเทศะ กบั กาลเทศะ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย ตวั ชีว้ ัดช ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ๑. บอกข้อคิด ๑. ระบขุ อ้ คิด ๑. ระบุขอ้ คดิ ๑. ระบขุ ้อคิดจาก ๑. สรปุ เรอื่ ง ๑ ทไี่ ด้จากการ ทไี่ ดจ้ ากการ ทีไ่ ด้จากการ นิทานพ้นื บ้าน จากวรรณคดี อา่ น อ่าน อา่ น หรือนทิ าน หรือวรรณกรรม หรอื การฟงั หรอื การฟัง วรรณกรรม คติธรรม ทอ่ี า่ น วรรณกรรม วรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ ๒. อธบิ ายข้อคิด ๒. ระบุความรู้ รอ้ ยแกว้ และ สำหรับเด็ก ใน จากการอ่าน และขอ้ คิด ร้อยกรอง เพอ่ื นำไปใช้ ชวี ิตประจำวัน เพื่อนำไปใช้ จากการอ่าน สำหรบั เดก็ ใน ๒. ร้จู กั เพลง ในชวี ิตจริง วรรณคดี ๒. ทอ่ งจำ ชีวติ ประจำวนั พ้ืนบา้ นและ ๓. รอ้ งเพลง และวรรณกรรม บทอาขยาน เพลงกลอ่ ม พ้นื บา้ น ท่ีสามารถ ตามทีก่ ำหนด ๒. ร้อง เด็ก ๔. ทอ่ งจำ นำไปใช้ และบทร้อย บทรอ้ งเล่น เพ่ือปลกู ฝงั บทอาขยาน ในชวี ิตจรงิ กรอง สำหรับเด็กใน ความชื่นชม ตามทก่ี ำหนด ๓. อธบิ ายคณุ คา่

นปี ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ ม. ๑ ย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวติ จริง ชั้นปี ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ๑. แสดงความ ๑. สรุปเน้ือหา ๑. สรุปเน้อื หา ๑. สรุปเนอ้ื หา วรรณคดี คดิ เห็นจาก วรรณคดแี ละ วรรณคดีและ วรรณกรรม และวรรณกรรม วรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรม ทอ้ งถนิ่ ในระดับ ที่ยากย่งิ ขึ้น หรือวรรณกรรม ทีอ่ า่ น ทีอ่ า่ นในระดบั ๒. วเิ คราะห์ วถิ ไี ทย และคณุ คา่ ทอี่ ่าน ๒. วเิ คราะห์ ท่ยี ากขนึ้ จากวรรณคดี และ วรรณกรรม ๒. เลา่ นิทานพนื้ บ้าน วรรณคดแี ละ ๒. วิเคราะห์ ทอ่ี า่ น ๓. สรุปความรู้ ท้องถนิ่ ตนเอง วรรณกรรม และวิจารณ์ และข้อคิดจาก และนทิ านพ้ืนบา้ น ท่ีอ่านพรอ้ ม วรรณคดี ของทอ้ งถ่ินอ่นื ยกเหตุผล วรรณกรรม ๓. อธบิ ายคุณคา่ ของ ประกอบ และวรรณกรรม วรรณคดี ๓. อธิบาย ทอ้ งถิ่นท่ีอา่ น และวรรณกรรมท่ี คณุ ค่าของ พรอ้ มยกเหตุผล อา่ นและนำไป วรรณคดแี ละ ประกอบ

ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ตัวชี้วัดช ตามความ ท้องถ่ิน วฒั นธรรม และบทร้อยกรอง ป. ๕ สนใจ ๓. ทอ่ งจำ ท้องถิ่น ทม่ี คี ณุ ค่าตาม บทอาขยาน ๓. แสดงความ ความสนใจ ของวรรณคดี ตามทก่ี ำหนด คิดเห็น และวรรณกรรม และบทร้อย เกีย่ วกบั ๔. ท่องจำ กรอง วรรณคดที ่ี บทอาขยาน ทมี่ ีคณุ ค่าตาม อ่าน ตามท่กี ำหนด ความสนใจ ๔. ทอ่ งจำ และบทร้อยกรอง บทอาขยาน ทมี่ ีคุณคา่ ตามความ ตามท่กี ำหนด สนใจ และบทรอ้ ย กรอง ทมี่ ีคุณคา่ ตาม ความสนใจ

ช้นั ปี ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ป. ๖ วรรณกรรมทอ่ี ่าน ๓. อธบิ าย การอา่ น เพ่อื นำไป ๔. สรุปความรู้ ประยุกตใ์ ช้ ใน และข้อคดิ จาก คุณค่าของ ประยกุ ต์ ใช้ในชวี ิต ชีวิตจรงิ การอ่าน เพอ่ื ๔. ทอ่ งจำ ประยกุ ตใ์ ช้ วรรณคดี และ จรงิ บทอาขยาน ในชีวติ จรงิ ตามท่ีกำหนด ๕. ทอ่ งจำ วรรณกรรม ๔. ทอ่ งจำและบอก และบทร้อยกรอง บทอาขยาน ท่ีมคี ุณค่าตามความ ตามที่กำหนด ทีอ่ ่าน คณุ ค่า สนใจ และบทร้อยกรอง ท่มี ีคุณค่าตาม บทอาขยาน ความสนใจ ๔. สรปุ ความรู้ ตามทกี่ ำหนด และขอ้ คดิ และบทร้อยกรอง จากการอา่ น ทีม่ ีคณุ คา่ ตามความ ไปประยุกตใ์ ช้ สนใจ ในชวี ิตจริง และนำไปใช้ ๕. ท่องจำ อา้ งองิ บทอาขยาน ตามท่กี ำหนด และบทร้อยกรอง ท่ีมีคณุ คา่ ตามความ สนใจ

กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ทำไมตอ้ งเรยี นคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถ่ีถ้วน รอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม นอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อ่ืน ๆ คณิตศาสตร์จึงมปี ระโยชน์ต่อการดำเนินชีวติ ชว่ ยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และสามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืน ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ เรยี นรูอ้ ะไรในคณิตศาสตร์ ก ลุ่ ม ส าร ะ ก า ร เรี ย น รู้ ค ณิ ต ศ าส ต ร์ มุ่ ง ให้ เย า ว ช น ทุ ก ค น ได้ เรี ย น รู้ ค ณิ ต ศ าส ต ร์อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง ตามศกั ยภาพ โดยกำหนดสาระหลักที่จำเปน็ สำหรบั ผเู้ รียนทุกคนดงั นี้ • จำนวนและการดำเนินการ ความคิดรวบยอดและความรู้สึกเชิงจำนวน ระบบจำนวนจริง สมบัติเก่ียวกับจำนวนจริง การดำเนินการของจำนวน อัตราส่วน ร้อยละ การแก้ปัญหาเก่ียวกับจำนวน และการใชจ้ ำนวนในชวี ิตจรงิ • การวดั ความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พืน้ ที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบ ตา่ ง ๆ การคาดคะเนเก่ียวกับการวดั อตั ราส่วนตรีโกณมติ ิ การแกป้ ัญหาเกี่ยวกบั การวดั และการนำความรู้ เกี่ยวกับการวดั ไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ • เรขาคณิต รูปเรขาคณิตและสมบัติของรูปเรขาคณิตหน่ึงมิติ สองมิติ และสามมิติ การนึกภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิ ต ทฤษฎีบททางเรขาคณิ ต การแปลงทางเรขาคณิ ต (geometric transformation)ในเร่ืองการเลื่อนขนาน (translation) การสะท้อน (reflection) และการหมุน (rotation) • พีชคณิต แบบรูป (pattern) ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซตและการดำเนินการของเซต การให้ เหตุผล นิพจน์ สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ลำดับเลขคณิต ลำดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณติ • การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น การกำหนดประเด็น การเขียนข้อคำถาม การกำหนดวิธีการศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระบบข้อมูล การนำเสนอข้อมูล ค่ากลางและ การกระจายของข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลความข้อมูล การสำรวจความคิดเห็น ความน่าจะเป็น การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยในการตัดสินใจ ในการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั

• ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ การแก้ปัญหาด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย การใหเ้ หตุผล การส่อื สาร การส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตรแ์ ละการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ และการเชื่อมโยงคณติ ศาสตร์กับศาสตรอ์ น่ื ๆ และความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ คุณภาพผ้เู รยี น จบช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ • มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ และการดำเนินการของจำนวน สามารถแกป้ ัญหาเกย่ี วกบั การบวก การลบ การคูณ และการหาร พร้อมทั้ง ตระหนักถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบทีไ่ ด้ • มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก ปริมาตร ความจุ เวลาและเงิน สามารถวัดได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม และนำความรเู้ กี่ยวกับการวัดไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปสามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม รูปวงกลม รูปวงรี ทรงสี่เหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก รวมท้ัง จดุ สว่ นของเสน้ ตรง รงั สี เสน้ ตรง และมมุ • มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั แบบรูป และอธิบายความสัมพันธ์ได้ • รวบรวมข้อมูล และจำแนกข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่พบเห็น ในชวี ิตประจำวนั และอภปิ รายประเดน็ ต่าง ๆ จากแผนภมู ริ ูปภาพและแผนภูมแิ ทง่ ได้ • ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่าง เหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้ อย่างถูกต้อง เช่ือมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และเช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืนๆ มีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ • มีความรู้ความเข้าใจและความรู้สึกเชิงจำนวนเกี่ยวกับจำนวนนับและศูนย์ เศษส่วน ทศนิยม ไม่เกินสามตำแหน่ง รอ้ ยละ การดำเนินการของจำนวน สมบัติเกี่ยวกับจำนวน สามารถแก้ปัญหาเก่ียวกับ การบวก การลบ การคูณ และการหารจำนวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง และร้อยละ พรอ้ มท้งั ตระหนักถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบทีไ่ ด้ สามารถหาคา่ ประมาณของจำนวนนับและทศนยิ ม ไม่เกินสามตำแหนง่ ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้ำหนัก พื้นท่ี ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทศิ แผนผงั และขนาดของมมุ สามารถวดั ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม และนำความรเู้ ก่ียวกบั การวัดไปใช้ แกป้ ัญหาในสถานการณต์ ่าง ๆ ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะและสมบัติของรูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหลี่ยม รูปวงกลม ทรงสเี่ หลยี่ มมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ปริซมึ พรี ะมดิ มุม และเส้นขนาน • มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแบบรูปและอธิบายความสัมพันธ์ได้ แก้ปัญหาเก่ียวกับแบบรูป สามารถวิเคราะห์สถานการณ์หรือปัญหาพร้อมทั้งเขียนให้อยู่ในรูปของสมการเชิงเส้นท่ีมีตัวไม่ทราบค่า หนึง่ ตวั และแก้สมการนนั้ ได้

• รวบรวมข้อมูล อภิปรายประเด็นต่าง ๆ จากแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่ง เปรียบเทียบ แผนภูมิรูปวงกลม กราฟเส้น และตาราง และนำเสนอข้อมูลในรูปของแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบ และกราฟเส้น ใช้ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นเบ้ืองต้น ในการคาดคะเนการเกดิ ข้ึนของเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ได้ • ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และ เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจและ สรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสอ่ื สาร การสื่อความหมาย และ การนำเสนอไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม เชอื่ มโยงความร้ตู ่าง ๆ ในคณติ ศาสตร์และเช่ือมโยงคณติ ศาสตร์ กับศาสตรอ์ น่ื ๆ และมคี วามคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ จบชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ • มีความคิดรวบยอดเก่ียวกับจำนวนจริง มีความเข้าใจเก่ียวกับอัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ เลขยกกำลังท่ีมีเลขช้ีกำลังเป็นจำนวนเต็ม รากท่ีสองและรากท่ีสามของจำนวนจริง สามารถดำเนินการ เก่ียวกับจำนวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยม เลขยกกำลัง รากที่สองและรากท่ีสามของจำนวนจริง ใช้การ ประมาณคา่ ในการดำเนินการและแกป้ ัญหา และนำความรูเ้ กย่ี วกับจำนวนไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้ • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นท่ีผิวของปริซึม ทรงกระบอก และปริมาตรของปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม เลือกใช้หน่วยการวัดในระบบต่าง ๆ เกี่ยวกับความยาว พื้นท่ี และปริมาตรไดอ้ ยา่ งเหมาะสม พรอ้ มทง้ั สามารถนำความร้เู กีย่ วกบั การวัดไปใช้ในชวี ติ จริงได้ • สามารถสร้างและอธิบายขั้นตอนการสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้วงเวียนและสันตรง อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิตสามมิติซึ่งได้แก่ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และ ทรงกลมได้ • มีความเข้าใจเก่ียวกับสมบัติของความเท่ากันทุกประการและความคล้ายของรูปสามเหลี่ยม เส้นขนาน ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ และสามารถนำสมบัติเหล่าน้ันไปใช้ในการให้เหตุผลและ แก้ปัญหาได้ มคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิต(geometric transformation)ในเร่ืองการเลื่อน ขนาน(translation) การสะท้อน (reflection) และการหมนุ (rotation) และนำไปใชไ้ ด้ • สามารถนึกภาพและอธบิ ายลักษณะของรูปเรขาคณติ สองมติ ิและสามมติ ิ • สามารถวิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธข์ องแบบรปู สถานการณ์หรือปัญหา และสามารถ ใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และกราฟ ในการแกป้ ัญหาได้ • สามารถกำหนดประเด็น เขียนข้อคำถามเกีย่ วกบั ปญั หาหรือสถานการณ์ กำหนดวธิ กี ารศึกษา เก็บรวบรวมข้อมลู และนำเสนอขอ้ มูลโดยใช้แผนภูมิรูปวงกลม หรอื รูปแบบอืน่ ท่เี หมาะสมได้ • เข้าใจคา่ กลางของข้อมูลในเร่ืองค่าเฉล่ียเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลที่ยังไม่ได้ แจกแจงความถ่ี และเลือกใชไ้ ดอ้ ย่างเหมาะสม รวมท้งั ใชค้ วามรู้ในการพจิ ารณาขอ้ มูลข่าวสารทางสถติ ิ • เข้าใจเกีย่ วกับการทดลองสุ่ม เหตกุ ารณ์ และความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ สามารถใชค้ วามรู้ เกี่ยวกับความน่าจะเปน็ ในการคาดการณแ์ ละประกอบการตัดสนิ ใจในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ • ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยีในการแกป้ ัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และ

สรปุ ผลได้อยา่ งเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตร์ในการสอ่ื สาร การส่ือความหมาย และ การนำเสนอ ไดอ้ ย่างถูกต้อง และชดั เจน เช่อื มโยงความรตู้ ่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนำความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ไปเช่อื มโยงกบั ศาสตร์อ่นื ๆ และมคี วามคิดริเรมิ่ สรา้ งสรรค์

สาระท่ี ๑ จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ ตัวชว้ี ัด ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑. บอก - ๑. อ่านและ ๑. อ่านและ ๑. เขียนเศษส่วน ๑.เปร จำนวนของ เขยี น เขียนตัวเลขฮินดู ส่งิ ต่าง ๆ ตวั เลข อารบิค ตัวเลข ท่มี ีตวั ส่วนเป็นตัว เรียงล แสดงสิ่งต่าง ฮนิ ดู ไทย และ ประกอบของ ๑๐ ๆ ตาม อารบิค ตวั หนังสือแสดง หรอื ๑๐๐ หรือ เศษส่ว จำนวนท่ี ตวั เลข จำนวนนับที่ ๑,๐๐๐ ในรูป วนคล กำหนดอ่าน ไทย และ มากกว่า ทศนยิ ม สถาน และเขียน ตัวหนังสื ๑๐๐,๐๐๐ ๒. แสดงวธิ ีหาคา ตัวเลขฮินดู อแสดง ๒. เปรียบเทียบ ตอบของโจทย์ ๆ อารบิค จำนวน และเรียงลำดบั ปัญหาโดยใช้ ๒. เขยี ตวั เลขไทย นบั ไม่เกนิ จำนวนนับท่ี บญั ญตั ไิ ตรยางศ์ แสดงจำนวน ๑๐๐,๐๐ มากกว่า ๓. หาผลบวก ผล อตั ราส นับไม่เกนิ ๐ และ ๐ ๑๐๐,๐๐๐ จาก ลบของเศษสว่ น การเป ๑๐๐ และ ๒. สถานการณ์ต่าง และจานวนคละ ปรมิ าณ ๐ เปรยี บเที ๆ ๔. หาผลคูณ ๒. ยบ และ ๓. บอก อ่าน ผลหารของ ปริมาณ เปรยี บเทยี บ เรยี งลา และเขยี น เศษส่วนและจาน ข้อคว จำนวนนบั ดับ เศษสว่ น จำนวน วนคละ ไมเ่ กิน จำนวน คละแสดง ๕. แสดงวธิ ีหาคา สถาน ๑๐๐ และ นบั ไม่เกิน ปรมิ าณส่งิ ต่าง ๆ ตอบของโจทย์ ที่ ปรมิ ๐ โดยใช้ ๑๐๐,๐๐ และแสดงสิ่งต่าง ปญั หาการบวก ปริมาณ วนนบั ๓. หา เท่ากบั

นการของจำนวนผลท่ีเกิดขนึ้ จากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้ ดชัน้ ปี ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑ เขา้ ใจจำนวนตรรก ๑. เขา้ ใจและใช้ - รียบเทยี บ สมบตั ิของเลขยกกำลัง ลาดบั ยะและความสัมพันธ์ ทม่ี เี ลขชีก้ ำลังเปน็ วนและจาน ของจํานวนตรรกยะ จำนวนเต็มในการ ละจาก และใชส้ มบัตขิ อง แก้ปัญหาคณติ ศาสตร์ นการณ์ต่าง จาํ นวนตรรกยะและ และปัญหาในชวี ติ จริง การแก้ปัญหา ๒. เข้าใจจำนวนจรงิ ยน คณิตศาสตรแ์ ละปัญหา และความสมั พนั ธข์ อง สว่ นแสดง ในชีวติ จำนวนจริง และใช้ สมบตั ิของจำนวนจริง ปรียบเทยี บ ๒. เข้าใจและใช้ ในการแก้ปญั หา ณ๒ สมบตั ขิ องเลขยกกำลงั คณิตศาสตรแ์ ละปัญหา ในชีวติ จริง ณ จาก ที่มี วามหรอื เลขช้ีกำลงั เปน็ จำนวน นการณ์ โดย เต็มบวกในการ มาณแต่ละ แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ณเป็นจาน และปัญหาในชวี ิตจริง บ ๓. เข้าใจและ าอตั ราสว่ นท่ี ประยุกตใ์ ชอ้ ัตราส่วน บอัตราสว่ น สัดส่วน

เคร่อื งหมาย ๐ จาก ๆ ตามเศษสว่ น การลบ การคูณ ทก่ี ำห = >< สถานการ จำนวนคละท่ี การหารเศษส่วน ณ์ตา่ ง ๆ กำหนด ๒ ข้ันตอน ๔. หา ๓. บอก ๔. เปรียบเทียบ ๖. หาผลคณู ของ ของจา อา่ นและ เรยี งลำดับ ทศนิยม ท่ีผลคูณ เขียน เศษสว่ น และ เปน็ ทศนิยมไม่ เกิน ๓ เศษสว่ น จำนวนคละท่ี ตัว เกนิ ๓ ตำแหนง่ ๕. หา ของจา แสดง ส่วนตวั หน่ึงเป็น ๗. หาผลหารทต่ี วั เกนิ ๓ ปรมิ าณ พหุคูณของอกี ตง้ั เปน็ จานวนนบั ๖. แส สิง่ ต่าง ๆ ตัวหน่ึง หรอื ทศนยิ มไม่ ตอบข และแสดง ๕. อ่านและ เกนิ ๓ ตำแหนง่ สิ่งต่าง ๆ เขยี นทศนิยมไม่ และตัวหารเปน็ ปัญหา ตาม เกนิ ๓ ตำแหนง่ จานวนนบั เศษส่วนที่ แสดงปรมิ าณ ผลหารเป็น ความร กำหนด ของส่งิ ต่าง ๆ ทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ห.ร.ม ๔. และแสดงสง่ิ ต่าง ตำแหน่ง ค.ร.น. ๗. หา เปรียบเทยี บ ๆ ตามทศนยิ มที่ ๘. แสดงวธิ ีหาคา การบว เศษส่วนที่ กำหนด หารระ ตัวเศษ ๖. เปรียบเทียบ ตอบของโจทย์ เศษส่ว เทา่ กัน โดย และเรียงลำดับ ปัญหาการบวก วนคล ทตี่ ัวเศษ ทศนิยมไมเ่ กนิ การลบ การคูณ นอ้ ยกวา่ ๓ตำแหนง่ จาก การหารทศนยิ ม ๘. แส หรอื เท่ากบั สถานการณ์ต่าง ตอบข ตัวส่วน ๆ ๒ ขน้ั ตอน ๕. หาคา่ ๗. ประมาณ ๙. แสดงวธิ หี าคา ปัญหา ของตัวไม่ ผลลัพธข์ องการ ตอบของโจทย์ และ จ ทราบค่าใน บวก การลบ ปญั หาร้อยละ ไม่ ๒-๓ เกิน ๒ ข้ันตอน ๙. หา

หนดให้ และรอ้ ยละ ในการ า ห.ร.ม. แกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์ านวนนับไม่ และปัญหาในชีวิตจริง ๓ จานวน า ค.ร.น. านวนนบั ไม่ ๓ จานวน สดงวธิ ีหาคา ของโจทย์ าโดยใช้ ร้เู กยี่ วกับ ม. และ . าผลลัพธ์ของ วก ลบ คณู ะคนของ วนและจาน ละ สดงวธิ ีหาคา ของโจทย์ าเศษส่วน จานวนคละ ๓ ขัน้ ตอน าผลหารของ

ประโยค การคณู การ ทศนิย สัญลกั ษณ์ หาร จาก และผ แสดงการ สถานการณ์ต่าง ทศนิย บวกและ ๆ อยา่ ง ประโยค สมเหตุสมผล ๘. ตำแห สัญลกั ษณ์ หาคา่ ของตัวไม่ ๑๐. แ แสดงการลบ ทราบค่าใน ของจำนวน ประโยค คาตอ นับไมเ่ กิน สญั ลักษณ์ ปัญหา ๑๐๐,๐๐๐ แสดงการบวก การลบ และ ๐ และประโยค ๖. หาค่า สญั ลกั ษณแ์ สดง การหา ของตวั ไม่ การลบของ ๓ ขั้นต ทราบคา่ ใน จำนวนนบั ที่ ประโยค มากกว่า ๑๑. แ สญั ลกั ษณ์ ๑๐๐,๐๐๐ และ คาตอ แสดงการ ๐ ปัญหา คณู ของ ๙. หาค่าของตัว จำนวน ๑ ไมท่ ราบค่าใน ๑๒. แ หลักกับ ประโยค คาตอ จำนวนไม่ สญั ลักษณ์แสดง เกนิ ๔ หลกั การคูณของ ปัญหา และจำนวน จำนวนหลาย ๒-๓ ๒ หลักกับ หลัก ๒ จำนวน จำนวน ๒ ทม่ี ี ผลคูณ ไม่ หลัก เกนิ ๖ หลกั ๗. หาค่า และประโยค

ยมทีต่ วั หาร ผลหารเป็น ยมไม่เกิน ๓ หนง่ แสดงวิธีหา อบของโจทย์ าการบวก บ การคูณ ารทศนิยม ตอน แสดงวธิ ีหา อบของโจทย์ าอตั ราสว่ น แสดงวธิ ีหา อบของโจทย์ ารอ้ ยละ ๓ ขัน้ ตอน

ของตัวไม่ สัญลักษณ์แสดง ทราบค่าใน การหารทต่ี ัวตงั้ ประโยค ไม่เกิน ๖ หลกั สญั ลักษณ์ ตัวหารไม่เกิน ๒ แสดงการ หลกั หารท่ีตวั ต้งั ๑๐. หาผลลัพธ์ ไม่เกนิ ๔ การบวก ลบ หลัก ตัวหาร คูณ หารระคน ๑ หลัก ของจำนวนนับ ๘. หา และ ๐ ผลลัพธ์การ ๑๑. แสดงวิธหี า บวก ลบ คำตอบของ คูณ หาร โจทย์ปญั หา ๒ ระคน ของ ขั้นตอนของจาน จำนวนนับ วนนับทีม่ ากกว่า ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๑๐๐,๐๐๐ ๐ และ ๐ ๑๒. สร้างโจทย์ ๙. แสดงวิธี ปัญหา ๒ หาคำตอบ ข้ันตอนของ ของโจทย์ จำนวนนับ และ ปัญหา ๒ ๐ พร้อมท้งั หา ขั้นตอน ของ คำตอบ จำนวนนบั ๑๓. หาผลบวก ไม่เกิน ผลลบ ของ ๑๐๐,๐๐๐ เศษสว่ นและ และ๐ จำนวนคละทีต่ ัว



๑๐. หา สว่ นตวั หนง่ึ เปน็ ผลบวกของ พหคุ ณู ของอกี เศษสว่ นที่มี ตัวหนง่ึ ตัวสว่ น ๑๔. แสดงวธิ ีหา เทา่ กันและ คำตอบของ ผลบวกไม่ โจทย์ปัญหาการ เกนิ ๑ และ บวกและโจทย์ หาผลลบ ปัญหาการลบ ของเศษส่วน เศษสว่ นและ ทม่ี ีตัวส่วน จำนวนคละที่ตัว เท่ากัน ส่วนตัวหนึ่งเปน็ ๑๑. แสดง พหคุ ูณของอกี วิธหี า ตัวหน่งึ คำตอบของ ๑๕. หาผลบวก โจทย์ปัญหา ผลลบของ การบวก ทศนิยมไม่เกิน เศษส่วนทม่ี ี ๓ ตำแหนง่ ตัวสว่ น ๑๖. แสดงวธิ ีหา เท่ากนั และ คาตอบของ ผลบวกไม่ โจทยป์ ญั หาการ เกิน ๑ และ บวก การลบ ๒ โจทยป์ ัญหา ขน้ั ตอนของ การลบ ทศนยิ มไม่เกิน เศษส่วน ท่ีมี ๓ ตำแหน่ง ตวั สว่ น เทา่ กนั



สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนนิ การ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจถึงผลท่ีเกิดข้ึนจากการดำเนนิ การของจำนวนและความสัมพนั ธ์ระ ตัวชีว้ ัดช้นั ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป. ๑. ระบุจำนวน - - - - ๑. แสด ท่ีหายไปในแบบ และหาค รปู ของจำนวนท่ี ตอบขอ เพิม่ ขน้ึ หรอื ปัญหา ลดลงทีละ ๑ เกย่ี วกบั และทีละ ๑๐ รปู และ ระบรุ ปู ที่ หายไปในแบบ รูปซ้ำของรูป เรขาคณิต และ รูปอ่นื ๆ ที่ สมาชิกในแต่ละ ชุดท่ซี ำ้ มี ๒ รูป ๒.วัดและ เปรียบเทียบ น้ำหนกั เปน็ กิโลกรมั เปน็ ขดี

ะหว่างการดำเนนิ การตา่ ง ๆ และใช้การดำเนนิ การในการแก้ปัญหา นปี .๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ดงวิธีคิด - ๑. เข้าใจหลักการการ ๑. เขา้ ใจและใชก้ าร คา ดำเนินการของพหุนาม แยกตัวประกอบของพหุ อง และการใช้พหุนามใน นามท่ีมีดกี รสี งู กวา่ สองใน บแบบ การแก้ปญั หา การแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๒. เข้าใจและใชค้ วามรู้ ๒. เข้าใจและใช้การ เก่ียวกบั ฟงั กช์ ันกำลังสอง แยกตวั ประกอบของพหุ ในการแกป้ ัญหา นามดดี กี รสี องในการ คณติ ศาสตร์ แก้ปญั หาคณิตศาสตร์

สาระที่ ๑ จำนวนและการดำเนนิ การ มาตรฐาน ค ๑.๓ ตัวช้ีวัดชัน้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ - - - - --

นปี ม.๑ ม.๒ ม.๓ - ๑. เข้าใจและใช้สมบัติ ๑. เขา้ ใจและใช้สมบัติของ ของการไม่เท่ากันเพือ่ การเทา่ กนั และสมบัตขิ อง วิเคราะหแ์ ละแก้ปญั หา โดยใชอ้ ดั สมการเชิง จำนวน เพ่อื วเิ คราะหแ์ ละ เสน้ ตัวแปรเดยี ว แกป้ ัญหาโดยใช้สมการเชงิ ๒. ประยกุ ตใ์ ช้สมการ กำลังสองตัวแปรเดียว เสน้ ตวั แปรเดียว ๒. เข้าใจและใชค้ วามรู้ เกย่ี วกับกราฟในการแกป้ ัญหา ในการแก้ปญั หา คณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชีวติ คณติ ศาสตร์ ๓. ประยุกตใ์ ชร้ ะบบ จริง สมการเชิงเสน้ สองตวั ๓. เข้าใจและใช้ความรู้ แปรในการแก้ปัญหา เกีย่ วกับความสมั พนั ธ์เชงิ เสน้ คณิตศาสตร์ ในการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์ และปญั หาในชีวิตจริง

สาระที่ ๒ การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเกย่ี วกบั การวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัด และนำไ ตัวชวี้ ัดชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ๑. ระบจุ ำนวนท่ี - ๑. แสดงวิธีหา ๑. แสดงวธิ ีหาคา ๑ หายไปในแบบ ๑. แสดงวิธหี า คำตอบของโจทย์ ตอบของโจทย์ รปู ของจำนวนท่ี คำตอบของ ปญั หาเกย่ี วกับ ปัญหาเก่ยี วกับความ ข เพิม่ ขน้ึ หรอื เวลา ๒. วดั และ ยาวทม่ี กี ารเปลยี่ น เก ลดลงทีละ ๑ โจทย์ปัญหา สร้างมุม โดยใช้ หนว่ ยและเขยี นในรปู ร เกี่ยวกบั เงิน และทีละ ๑๐ ๒. แสดงวธิ ีหา โปรแทรกเตอร์ ทศนยิ ม ป และ ระบุรูปที่ ๓. แสดงวธิ ีหา ๒. แสดงวธิ ีหาคา หายไปในแบบ คำตอบของ คำตอบของโจทย์ ตอบของโจทยป์ ญั หา ส รูปซำ้ ของรปู โจทย์ปญั หา ปญั หาเกี่ยวกบั เกย่ี วกบั นำ้ าหนักท่ีมี ๒ เรขาคณิต และ ความยาว รอบรปู การเปลย่ี นหนว่ ย รปู อืน่ ๆ ที่ เกี่ยวกับเวลา และพนื้ ทีข่ องรปู และเขียนในรูป ข และระยะเวลา เก สมาชิกในแต่ละ ๓. เลือกใช้ สีเ่ หล่ียมมุมฉาก ทศนิยม ร ชุดทซี่ ำ้ มี ๒ รปู ๓. แสดงวิธหี าคา ๒.วดั และ เครือ่ งวัดความ ตอบของโจทย์ปัญหา ห เปรียบเทยี บ ยาวทเ่ี หมาะสม เก่ียวกบั ปริมาตรของ ๓ น้ำหนกั เปน็ ทรงสเ่ี หล่ียมมุ2 กิโลกรัม เปน็ ขีด วัดและบอก มฉากและความจุของ ข ความยาวของ เก สิง่ ตา่ งๆ เปน็ ภาชนะทรงส่ีเหลี่ยม ร มมุ ฉาก เซนติเมตรและ ๔. แสดงวิธหี าคา ว มลิ ลิเมตร เมตร ตอบของโจทย์ปัญหา และเซนติเมตร เก่ียวกับความยาว

ไปใช้ นปี ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ - ๑.ประยกุ ต์ใช้ความรู้ ๑.ประยุกต์ใชค้ วามรู้ ๑. แสดงวิธหี าคาตอบ เรอื่ งพนื้ ท่ผี วิ ของปรซิ ึม เร่อื งพื้นท่ผี วิ ของ ของโจทย์ปัญหา และทรงกระบอกใน พรี ะมดิ กรวย และทรง การแก้ปญั หา กลมในการแก้ปัญหา กยี่ วกบั ปรมิ าตรของ คณิตศาสตร์และ คณิตศาสตร์และปญั หา รูปเรขาคณิตสามมิติที่ ปญั หาในชีวติ จรงิ ในชีวติ จรงิ ๒.ประยุกต์ใชค้ วามรู้ ๒.ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ ประกอบด้วยทรง เรอ่ื งปรมิ าตรของ เรอื่ งปรมิ าตรของ ส่เี หลยี่ มมุมฉาก ปริซึมและ พีระมดิ กรวย และทรง ๒. แสดงวิธีหาคาตอบ ทรงกระบอกในการ กลมในการแก้ปัญหา แก้ปญั หาคณิตศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละปัญหา ของโจทยป์ ญั หา กย่ี วกับความยาวรอบ รูปและพนื้ ทข่ี องรูป และปญั หาในชวี ิตจริง ในชีวติ จริง หลายเหลย่ี ม ๓. แสดงวิธีหาคาตอบ ของโจทยป์ ญั หา กีย่ วกบั ความยาว รอบ รูปและพนื้ ท่ีของ วงกลม

๔. คาดคะเน รอบรูปของรูป ความยาว เป็น สเ่ี หล่ียม เมตรและเปน็ และพื้นทขี่ องรูป สเี่ หล่ยี มดา้ นขนาน เซนติเมตร และรปู สี่เหลีย่ มขนม ๕. เปรียบเทยี บ เปียกปูน ความยาว ระหว่าง เซนติเมตรกับ มลิ ลเิ มตร เมตร กับเซนตเิ มตร กิโลเมตรกับ เมตรจาก สถานการณต์ ่าง ๆ ๖. แสดงวธิ ีหา คาตอบ ของ โจทยป์ ญั หา เก่ยี วกับความ ยาวทมี่ หี น่วย เป็นเซนตเิ มตร และมิลลิเมตร เมตร และ เซนตเิ มตร กิโลเมตรและ



เมตร ๗. เลือกใช้ เครือ่ งชั่งที่ เหมาะสม วัด และบอกนา้ หนกั เปน็ กิโลกรัมและขดี กโิ ลกรัมและ กรัม ๘. คาดคะเนน้า หนักเปน็ กโิ ลกรมั และ เป็นขดี ๙.เปรยี บเทยี บ น้าหนกั ระหว่าง กิโลกรมั กบั กรัม เมตรกิ ตันกบั กิโลกรมั จาก สถานการณ์ต่าง ๆ ๑๐. แสดงวิธีหา คาตอบของ โจทยป์ ัญหา เกี่ยวกบั นา้ หนัก



ทีม่ ีหน่วยเป็น กิโลกรัมกับกรมั เมตรกิ ตนั กับ กโิ ลกรัม ๑๑. เลือกใช้ เครอ่ื งตวงท่ี เหมาะสม วดั และ เปรียบเทยี บ ปรมิ าตร ความ จุเปน็ ลติ รและ มิลลลิ ิตร ๑๒.คาดคะเน ปรมิ าตรและ ความจเุ ปน็ ลิตร ๑๓. แสดงวธิ หี า คาตอบของ โจทยป์ ัญหา เก่ียวกับ ปริมาตร และ ความจุที่มี หนว่ ยเปน็ ลติ ร และมิลลิลติ ร



สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสมั พ ตวั ช้วี ัดชั้น ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป. ๑. จำแนกรูป - - ๑. จำแนกชนดิ ๑. สร้างเส้นตรง ๑. จำแน สามเหล่ียม รปู ของมุม บอกช่ือ หรือสว่ นของ สามเหล สีเ่ หล่ียม มมุ สว่ นประกอบ เสน้ ตรงให้ขนาน โดยพิจา วงกลม วงรี ทรง ของมมุ และเขียน กับเส้นตรงหรอื จากสมบ สเ่ี หลี่ยมมุมฉาก สญั ลักษณ์แสดง สว่ นของเส้นตรง รูป ทรงกลม มมุ ท่กี ำหนดให้ ๒. สร้าง ทรงกระบอก ๒. สร้างรูป ๒. จำแนกรูป สามเหล และ กรวย สเี่ หลย่ี มมมุ ฉาก สเี่ หลยี่ มโดย เม่ือกำห เม่ือกำหนดความ พิจารณาจาก ความยา ยาวของด้าน สมบัตขิ องรูป ดา้ นและ ๓. สร้างรปู ของมมุ สี่เหล่ียมชนิด ๓. บอก ตา่ ง ๆ เม่อื ลักษณะ กำหนดความ รูปเรขา ยาวของด้าน สามมติ ิช และ ต่าง ๆ ขนาดของมมุ ๔. ระบ หรอื เม่ือกำหนด เรขาคณ ความยาวของ มติ ทิ ี่ปร เส้นทแยงมมุ จากรูปค ๔. บอกลักษณะ และระบ ของปรซิ มึ ของรปู เรขาคณ มติ ิ

พนั ธ์ระหว่างรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ นปี .๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ นกรูป ๑. ใช้ความรู้ทาง ๑. เข้าใจและใชส้ มบัติ ลีย่ ม เรขาคณิตและ ๑. ใช้ความรู้ทาง ของรูปสามเหลยี่ มที่ ารณา เคร่ืองมอื เช่น วง คล้ายกนั ในการ บัติของ เวียนและสันตรง คณติ ศาสตร์และเครื่องมือ แกป้ ัญหาคณิตศาสตร์ เชน่ วงเวยี นและสนั ตรง และปัญหาในชวี ติ จริง รวมทง้ั โปรแกรม รวมทง้ั โปรแกรม The ๒. เขา้ ใจและใชค้ วามรู้ งรูป The Geometric’s เก่ยี วกบั อัตราส่วน ลย่ี ม Sketchpad หรือ Geometric Sketpadหรือ ตรีโกณมติ ใิ นการ หนด โปรแกรม โปรแกรมเรขาคณิตพลวัต แกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์ และปญั หาในชวี ิตจรงิ าวของ เรขาคณิตพลวัต อนื่ ๆเพื่อสรา้ งรปู เรขาคณติ ๓. เขา้ ใจและใชท้ ฤษฎี ะขนาด อน่ื ๆ เพ่ือสร้างรูป ตลอดจนนำความรู้เกยี่ วกับ บทเก่ยี วกบั วงกลมใน ก เรขาคณิต การสรา้ งน้ีไปประยกุ ต์ใชใ้ น การแก้ปัญหา ะของ ตลอดจนนำความรู้ การแก้ปัญหาในชีวิตจรงิ คณติ ศาสตร์ เกีย่ วกับการสรา้ งนี้ าคณิต ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ๒. นำความรู้เก่ยี วกบั สมบัติ ชนิด การแกป้ ญั หาใน ของเสน้ ขนานและรูป สามเหล่ียมไปใช้ในการ ชวี ิตจรงิ บรุ ูป ๒. เขา้ ใจและใช้ แกป้ ญั หาคณิตศาสตร์ ณิตสาม ความร้ทู าง ระกอบ เรขาคณิตในการ คล่ี วิเคราะหห์ า ๓. เขา้ ใจและใช้ความรู้ บุรูปคลี่ ความสัมพันธ์ เกี่ยวกับการแปลงทาง เรขาคณิตในการแกป้ ญั หา ระหว่างรปู ณิตสาม เรขาคณิตสองมิติ คณิตศาสตรแ์ ละปญั หาใน และรปู เรขาคณิต ชีวติ จริง สามมติ ิ ๔. เขา้ ใจและใชส้ มบัตขิ อง



รปู สามเหลีย่ มทเี่ ท่ากันทุก ประการในการแก้ปญั หา คณิตศาสตร์และปัญหาใน ชีวติ จรงิ ๕. เข้าใจและใชท้ ฤษฎีบทพี ทาโกรัสและบทกลบั ในการ แก้ปญั หาคณิตศาสตรแ์ ละ ปญั หาในชวี ิตจริง

สาระที่ ๓ สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรูท้ างสถิติในการแก้ปัญหา ตัวชว้ี ัดชน้ั ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป. ๑. ใช้ข้อมูล - ๑. เขยี นแผนภมู ิ ๑. ใชข้ ้อมูล ๑. ใชข้ อ้ มูล ๑. ใชข้ ้อ จากแผนภมู ิ รูปภาพ และใช้ จากแผนภูมิ จากกราฟเสน้ จากแผน รูปภาพใน ข้อมูลจากแผนภูมิ แท่ง ตาราง ในการหาคา การหาคำตอบ รูปภาพในการหา สองทาง ใน ตอบของ รปู วงกล ของโจทย์ คาตอบของโจทย์ การหาคำตอบ โจทย์ปัญหา การหาค ปญั หา ปัญหา ๒. เขยี น ของโจทย์ ๒. เขยี น เมือ่ กำหนดรูป ตาราง ทางเดยี ว ปญั หา แผนภูมแิ ทง่ ของโจท ปญั หา ๑ รูปแทน ๑ จากข้อมลู ท่เี ปน็ จากข้อมูลท่ี หน่วย จานวนนับ และใช้ เปน็ จานวน ข้อมูลจากตาราง นบั ทางเดียวในการ หา คำตอบ สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค ๓.๒ ตวั ช้ีวัดช้ัน ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป. ---- --

า ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑. เข้าใจและใช้ ๑. เขา้ ใจและใช้ความรทู้ าง ๑. เขา้ ใจและใชค้ วามรู้ นปี สถิติในการนำเสนอข้อมูล ทางสถติ ิในการ ความร้ทู างสถิติ และวเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก นำเสนอและวิเคราะห์ .๖ ในการนำเสนอ แผนภาพจากแผนภาพต้น- ข้อมูลจากแผนภาพ ข้อมูลและแปร ใบ ฮสิ โทแกรม และค่ากลาง กล่องและแปล อมูล ความหมายข้อมูล ของขอ้ มลู และแปล ความหมายผลลพั ธ์ นภมู ิ รวมทัง้ นำสถิตไิ ป ความหมายผลลพั ธ์รวมทั้ง รวมท้ังนำเซนปิน่ ไปใช้ ลมใน ใช้ในชีวิตจรงิ โดย นำซ้ือตดิ ไปใช้ในชวี ิตจริง ในชีวติ จรงิ โดยใช้ คาตอบ ใช้เทคโนโลยที ี่ โดยใชเ้ ทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เทคโนโลยีที่เหมาะสม ทย์ เหมาะสม นปี ม.๒ ม.๓ - ๑. เขา้ ใจเกยี่ วกบั การ .๖ ม.๑ -- ทดลองสมุ่ และนำผลท่ี ไดไ้ ปหาความนา่ จะ เปน็ ของเหตกุ ารณ์

กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยง่ิ ในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับ ทุกคนทั้งในชวี ิตประจำวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครอ่ื งใช้และผลผลิต ต่าง ๆ ท่ีมนุษย์ได้ใช้เพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้ วิทยาศาสตร์ ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ ได้พัฒนา วิธีคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้า หาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูล ที่หลากหลาย และมปี ระจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหมซ่ ่ึงเป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้ (knowledge-based society) ดังน้ันทุกคนจงึ จำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วทิ ยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์มงุ่ หวังให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรวู้ ิทยาศาสตร์ท่ีเน้นการเช่ือมโยงความรู้ กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา ความรู้ และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรม ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชัน้ โดยกำหนดสาระสำคัญไว้ 8 สาระ ดังน้ี • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพและ ววิ ฒั นาการของส่ิงมชี ีวิต • วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การเคลอื่ นที่ พลังงาน และคลนื่ • วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับโลกในเอกภพ ระบบโลก และมนุษย์กับ การเปลยี่ นแปลงของโลก • เทคโนโลยี - การออกแบบและเทคโนโลยี เรยี นรู้เกีย่ วกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ เกยี่ วกับเทคโนโลยเี พ่ือดำรงชีวิตในสังคมทม่ี ีการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ สงิ่ แวดล้อม - วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ การคิด เชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในการแกป้ ัญหาทพี่ บในชีวติ จรงิ ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

คณุ ภาพผู้เรยี น จบชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 • เข้าใจลักษณะท่ัวไปของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต และทรัพยากรธรรมชาติ ทหี่ ลากหลายในสง่ิ แวดล้อมของทอ้ งถนิ่ • เข้าใจลักษณะทปี่ รากฏ สมบัติบางประการของวสั ดุ และการเปลยี่ นแปลงของวัสดุรอบตวั • เข้าใจการเคล่ือนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ และแรงที่กระทาต่อวัตถุทำให้วัตถุเปลี่ยนแปลง การเคลอื่ นที่ ความสำคญั ของพลงั งานไฟฟา้ และแหล่งผลติ พลังงานไฟฟ้า • เข้าใจลักษณะท่ีปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดวงดาว องค์ประกอบ และสมบัติ ทางกายภาพของดนิ หิน นำ้ อากาศ ลกั ษณะภูมิประเทศแบบตา่ ง ๆ ในท้องถ่ิน และการเกดิ ลม • ต้ังคาถามเกี่ยวกับส่ิงมีชีวิต วัสดุและสิ่งของ การเคล่ือนที่ของวัตถุ และปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมืออย่างง่าย รวบรวมข้อมูล บันทึก และอธิบายผล การสำรวจตรวจสอบด้วยการเขียนหรือวาดภาพ และสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ด้วยการเล่าเร่ือง หรือด้วยการ แสดงทา่ ทางเพ่อื ใหผ้ ูอ้ นื่ เข้าใจ • แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ข้ันตอนการแก้ปัญหา มีทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสารเบอื้ งตน้ รกั ษาข้อมูลส่วนตัว • แสดงความกระตอื รือร้น สนใจท่จี ะเรียนรู้ มีความคิดสรา้ งสรรคเ์ กี่ยวกับเรื่องทจี่ ะศึกษาตามท่ี กำหนดให้หรือตามความสนใจ มสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และยอมรับฟังความคิดเหน็ ผู้อื่น • แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งม่ัน รอบคอบ ประหยัด ซอื่ สัตย์ จนงานลลุ ว่ งเป็นผลสำเร็จ และทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืนอย่างมคี วามสขุ • ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต ศกึ ษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรอื ช้ินงานตามทกี่ ำหนดให้หรอื ตามความสนใจ จบชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 • เข้าใจโครงสร้างและการทำงานของระบบต่าง ๆ ของส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตใน ระบบนเิ วศ และความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติที่พบในระดับประเทศ • เข้าใจสมบัติและการจำแนกกลุ่มของวัสดุ สถานะของสาร สมบัติของสารและการทำให้สาร เกดิ การเปลี่ยนแปลง การเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมขี องสาร การแยกสารอย่างง่าย และสารในชีวิตประจาวัน • เข้าใจลักษณะของแรงประเภทต่าง ๆ ผลที่เกิดจากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดัน หลักการ เบอื้ งต้นของแรงพยุง ส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า การถา่ ยโอนพลงั งานกล ที่ เกดิ จากแรงเสยี ดทานไปเปน็ พลงั งานอืน่ สมบัตแิ ละปรากฏการณ์เบ้ืองตน้ ของเสียง และแสง • เข้าใจลักษณะของดาวในเอกภพ และจำแนกประเภทของกลุ่มดาว ความสัมพันธ์ของดวง อาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ที่มีผลต่อการเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี อวกาศ • เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของดิน น้ำ และบรรยากาศ และปัจจัยที่มีผลต่อการ เปล่ียนแปลง ของผวิ โลก การเกดิ ลมบก ลมทะเล ผลกระทบที่เกิดจากธรณีพิบตั ิภยั และปรากกฎการณ์ เรือนกระจก

• ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเช่ือถือ ตัดสนิ ใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผล เชิงตรรกะในการแกป้ ญั หา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการทำงานรว่ มกัน เขา้ ใจสิทธแิ ละ หน้าที่ของตน เคารพสิทธิของผู้อนื่ • ต้ังคำถามหรือกำหนดปัญหาเกี่ยวกับส่ิงท่ีจะเรียนรู้ตามท่ีกำหนดให้หรือตามความสนใจ คาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สรา้ งสมมติฐานที่สอดคลอ้ งกับคำถามหรอื ปัญหาท่จี ะสำรวจตรวจสอบ วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมอื อุปกรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บ รวบรวมขอ้ มูลทง้ั เชิงปริมาณและคุณภาพ • วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธข์ องข้อมูลท่ีมาจากการสำรวจตรวจสอบ ใน รูปแบบท่ีเหมาะสม เพ่ือส่ือสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมีเหตุผลและหลักฐาน อ้างองิ • แสดงถงึ ความสนใจ ม่งุ ม่ัน ในส่ิงที่จะเรียนรู้ มคี วามคดิ สร้างสรรคเ์ กี่ยวกับเรอ่ื งทจ่ี ะศึกษาตาม ความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลท่ีมีหลักฐานอ้างอิง และรับฟัง ความคิดเหน็ ผ้อู ื่น • แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมุ่งมั่น รอบคอบ ประหยัด ซอื่ สัตย์ จนงานลลุ ่วงเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานรว่ มกบั ผ้อู ่ืนอยา่ งอยา่ งสร้างสรรค์ • ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ในความรู้และกระบวนการ ทาง วิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น และศึกษาหาความรเู้ พิ่มเตมิ ทำโครงงานหรอื ช้ินงานตามทกี่ ำหนดให้หรือตามความสนใจ • แสดงถึงความซ าบ ซึ้ง ห่ วงใย แสดงพ ฤติ ก รรมเกี่ยวกั บก ารใช้ ก ารดูแลรัก ษ า ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอยา่ งรคู้ ณุ คา่ จบชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ❖ เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบท่ีสำคัญของเซลล์ส่ิงมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทำงาน ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ การดำรงชีวิตของพืช การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม และตัวอย่างโรคท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ประโยชน์และผลกระทบของส่ิงมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสัมพันธ์ ขององคป์ ระกอบของระบบนิเวศและการถ่ายทอดพลังงานในสิง่ มีชวี ิต ❖ เขา้ ใจองค์ประกอบและสมบตั ิของธาตุ สารละลาย สารบรสิ ุทธ์ิ สารผสม หลักการแยกสาร การเปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี และสมบตั ทิ างกายภาพ และการใชป้ ระโยชน์ของวสั ดุประเภท พอลเิ มอร์ เซรามิกส์และวสั ดุผสม ❖ เข้าใจการเคล่ือนที่ แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์กระทำต่อวัตถุ โมเมนต์ของแรง แรงท่ี ปรากฏในชีวิตประจำวัน สนามของแรง ความสัมพันธ์ของงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน ความสัมพันธ์ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟา้ ในบา้ น พลงั งานไฟฟา้ และหลักการเบอ้ื งตน้ ของวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ❖ เข้าใจสมบัติของคลื่น และลักษณะของคล่ืนแบบต่าง ๆ แสง การสะท้อน การหักเห ของแสงและทศั นูปกรณ์

❖ เข้าใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ การเกิดฤดู การเคลื่อนท่ีปรากฏ ของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การข้ึนและตกของดวงจันทร์ การเกิดน้ำข้ึนน้ำลง ประโยชน์ ของเทคโนโลยีอวกาศ และความกา้ วหน้าของโครงการสำรวจอวกาศ ❖ เขา้ ใจลักษณะของช้ันบรรยากาศ องค์ประกอบและปัจจยั ที่มีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิด และผลกระทบของพายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเช้ือเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการใช้ประโยชน์ พลังงานทดแทนและ การใช้ประโยชน์ ลักษณะโครงสรา้ งภายในโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางธรณวี ทิ ยาบนผวิ โลก ลักษณะ ช้ันหน้าตัดดิน กระบวนการเกิดดิน แหล่งน้ำผิวดิน แหล่งน้ำใต้ดิน กระบวนการเกิดและผลกระทบ ของภยั ธรรมชาติ และธรณีพิบตั ิภัย ❖ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงของ เทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยี โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ ส่งิ แวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และทรัพยากรเพ่ือออกแบบและสร้างผลงานสำหรับการแก้ปัญหา ในชีวิตประจำวันหรือการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณ์ และเครือ่ งมอื ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภัย รวมท้งั คำนึงถงึ ทรัพย์สนิ ทางปัญญา ❖ นำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูลและ สารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียน โปรแกรมอย่างง่ายเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรู้เท่าทันและ รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาท่ีเชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ ท่ีมีการกำหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสามารถนำไปสู่ การสำรวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสำรวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเครื่องมือท่ีเหมาะสม เลือกใช้ เคร่ืองมือและเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ ที่ได้ผลเทย่ี งตรงและปลอดภัย ❖ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจตรวจสอบจาก พยานหลักฐาน โดยใช้ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุปและ ส่ือสารความคิด ความรู้ จากผลการสำรวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่อื ให้ผอู้ ื่นเข้าใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซ่ือสัตย์ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิด สร้างสรรค์เก่ียวกับเรื่องท่ีจะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใช้เครื่องมือและวิธกี ารท่ีให้ได้ผลถูกต้อง เชื่อถือได้ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นของตนเองรับฟังความคิดเห็น ผู้อื่น และยอมรับการเปล่ียนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้ง จากเดมิ ❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน ใช้ความรู้ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความ ชื่นชม ยกย่อง และเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น เข้าใจผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบ

ของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดล้อมและต่อบริบทอื่น ๆ และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทำโครงงานหรือสร้างช้ินงานตามความสนใจ ❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเก่ียวกับการดูแลรักษาความสมดุลของระบบ นิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธร์ ะหว่างสิ่งไม่ม นเิ วศ การถ่ายทอดพลงั งาน การ เปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของ แนวทางในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ข ปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทง้ั นา ตัวชี้วัด ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๑. ระบุชื่อพชื - - - ๑. บรรยา และสตั วท์ ่อี าศัย โครงสร้าง อย่บู ริเวณตา่ ง ๆ ลกั ษณะขอ จากข้อมูลท่ี ที่เหมาะสม รวบรวมได้ ดำรงชีวติ ซ ๒. บอก มาจากการ สภาพแวดลอ้ ม ของสงิ่ มีชวี ทเี่ หมาะสมกบั ละแหลง่ ท่ีอ การดำรงชวี ติ ๒. อธบิ าย ของ สตั ว์ใน ความสัมพัน บรเิ วณทอ่ี าศัย ระหวา่ งส่งิ ม อยู่ ส่งิ มีชวี ิต แล ความสมั พนั ระหว่างสิง่ ม สิง่ ไมม่ ชี ีวติ ประโยชนต์ รงชีวติ ๓. เขยี นโซ

มีชีวิตกบั สงิ่ มชี ีวิต และ ความสัมพันธร์ ะหว่างสง่ิ มีชีวิตกับส่งิ มีชีวิตต่างๆ ในระบบ งประชากร ปัญหาและผลกระทบท่มี ีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม าความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ดช้ันปี ๕ ป. ๖ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ าย - - - 1.อธิบายปฏิสมั พนั ธ์ และ ขององค์ประกอบของ ระบบนเิ วศท่ีไดจ้ ากการ องส่งิ มชี วี ิต สำรวจ มกับการ 2.อธิบายรูปแบบความ สัมพนั ธร์ ะหว่างสิง่ มีชวี ิต ซ่ึง เปน็ ผล กับส่ิงมชี ีวติ รปู แบบต่าง รปรบั ตวั ๆ ในแหล่งทีอ่ ยู่เดียวกนั วติ ใน แต่ ท่ีได้จากการสำรวจ 3. สร้างแบบจำลองใน อยู่ การอธิบายการถา่ ยทอด ย พลงั งานในสายใยอาหาร 4. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ นธ์ ของผูผ้ ลติ ผูบ้ ริโภค มชี ีวติ กบั และผู้ย่อยสลายสาร ละ นธ์ มชี วี ิตกับ ต เพือ่ อินทรีย์ในระบบนเิ วศ ต่อการดา 5. อธิบายการสะสม สารพษิ ในสงิ่ มีชีวิตในโซ่ อาหาร ซ่อาหาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook