Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือมอนเทสซอริ

คู่มือมอนเทสซอริ

Published by Library Online, 2021-07-19 05:08:44

Description: คู่มือมอนเทสซอริ

Search

Read the Text Version

7. ครูเร่มิ สาธิตการลา งโตะ มือซา ยหยบิ สบู มอื ขวาหยบิ แปรงนํามาถสู บู โดยยื่นมือท้ังสองในอางน้าํ ใหป ลาย มือชีล้ ง ถสู บูประมาณ 3-4 ครง้ั โดยถูลงออกนอกตวั ไปทางปลายมอื กอ นจะถสู บใู หจุมสบูแ ละแปรงลงในน้าํ ใหเ ปย กกอน 8. เรม่ิ ตนขดั โตะจากมมุ ซายบนหมุนเปนวงเลก็ ๆ ตามเข็มนาฬกา คอย ๆ ขยับไปทางดา นขวา หมุนวงกลม ตามเขม็ นาฬก าใหค อ ย ๆ ใหญข น้ึ ถงึ ขอบโตะ ขวามอื กค็ อ ยเปน วงเลก็ ลง ครนู าํ แปรงลา งในอา งนาํ้ แลว วางแปรงขดั ลงทเ่ี ดมิ 9. ใหเดก็ ทดลองดูบาง ทางดา นลางของโตะ 10. ใชม อื ขวาหยบิ ฟองนา้ํ จมุ ลงในอา งนํ้าใหฟองน้าํ เปยก บีบใหฟองนาํ้ หมาด ๆ นาํ ไปเชด็ โตะ เรม่ิ ทีม่ มุ ซาย บนกอน เชด็ ในแนวตง้ั โดยเชด็ ลงจากดานบนลงลางประมาณคร่ึงโตะ เช็ดไปจนสุดริมดานมุมขวาบน ลางฟองนํ้าบีบให แหง วางที่เดิม 11. ใหเ ดก็ ลองเชด็ โตะ บางดา นครงึ่ ลา งทเี่ หลอื จนหมดโตะ ลางฟองนํ้าวางทเี่ ดมิ 12. ครูใชฟ องน้าํ เชด็ ขอบโตะ เรมิ่ จากมมุ ซา ยบน วางไปจนรอบโตะ ใหเด็กเดินตามดเู สรจ็ แลว ลางฟองนํ้าใน อางน้าํ วางฟองนํ้าไวท เี่ ดิม 13. ใชผา เช็ดน้ํา เชด็ โตะอีกครั้ง เชด็ แบบเดียวกับเช็ดฟองน้ํา อกี คร้ัง เชญิ ชวนเดก็ ทดลองเช็ดดว ย 14. นาํ น้ําท่อี ยูในอางน้ําเททง้ิ ในกระปองนํ้าใตโตะ โดยใหเ ดก็ เปน ผทู ่เี ทโดยเทออกนอกตวั 15. นาํ น้ําท่ีเหลือในเหยอื กน้ํา ลา งอางนา้ํ โดยใชฟ องนํ้าถูไปรอบ ๆ อา ง ลางฟองนาํ้ วางไวท ี่เดมิ 16. ใหเ ดก็ นาํ น้ําเททิง้ ในกระปอ งนํ้าใตโตะอีกครั้ง ครูและเด็กนาํ นํ้าไปท้ิงหรอื รดตน ไม นาํ กระปองน้ําวางที่ เดมิ และเชด็ อางนํา้ และถังน้าํ ดวยฟองนา้ํ 17. นาํ กระปอ งน้าํ มาวางท่เี ดมิ และชว ยกนั ดวู า มนี ํา้ หกหรอื หยดท่ใี ดชว ยกนั เชด็ ใหเ รียบรอ ย วางผาไวทเี่ ดมิ 18. ใหเดก็ สาํ รวจวาผาเชด็ โตะ เปยกหรอื ไม ถาเปยกใหนําไปใสตะกรา ผาใชแ ลว นาํ ผนื ใหมม าวางแทนที่เดมิ 19. ใหเ ดก็ ทดลองทาํ ไดตามความพอใจจะใชโตะ ตัวใหมกไ็ ด 4. การประเมินผล 1. การถูสบูแ ละใชว ธิ ีการถูออกนอกตวั ทําใหต ัวเด็กไมเ ปยกหรือเปอน 2. การขดั โตะ การหมุนมอื เวลาขัดโตะ 3. การเกบ็ อปุ กรณ วางที่เดมิ ทกุ ครงั้ 5. อายุ ประมาณ 3 ขวบครึ่งขนึ้ ไป 6. กจิ กรรมผูปกครองมีสว นรว ม 1. เดก็ สามารถชว ยผปู กครองในการลางอปุ กรณต างๆในบา นได และเดก็ วัยนจ้ี ะทาํ อยา งไมรูส กึ เบื่อ 2. เมอ่ื เดก็ ลางสง่ิ ตา งๆแลวตอ งใหด แู ลเช็ดทําความสะอาดน้าํ ดว ย ซ่ึงผปู กครองสามารถแนะนํา และทาํ รวม กบั เด็กในระยะแรก 42 การจัดการเรียนรรู ะดับปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

7. ขอเสนอแนะสาํ หรบั ครู 1. การสาธติ กิจกรรมลา งโตะ มอี ุปกรณและขัน้ ตอนหลายอยา งควรทําชา ๆและใหเดก็ ทดลองทําท่ีละขนั้ ตอน ไปดว ย 2. เพ่อื ใหเด็กเกดิ ความมน่ั ใจ ครูควรใหกําลังใจอยใู กลๆและไมข ดั จงั หวะถา เดก็ ไมขอความชวยเหลือ 43การจัดการเรยี นรูร ะดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมท่ี 11 การขัดโลหะ 1. สอ่ื /อปุ กรณ 5. ผาขัดมัน 1. โถใสน ํ้ามะขาม 6. สาํ ลที ําความสะอาด 2. นาํ้ มะขาม 7. เสอื่ หรือผายาง 3. จานและชอ น 8. สําลีกา นไม 4. กระปกุ ใสส าํ ลี 2. วตั ถปุ ระสงค 1. การควบคุมการเคล่อื นไหว 2. การฝกสมาธิ 3. การพงึ่ พาตนเองได 3. วธิ จี ัดกจิ กรรม 1. เชิญชวนเด็กไปท่ีตเู ก็บอุปกรณ เราะขัดโลหะกัน แนะนําอปุ กรณท ี่ตองใช ใหเ ด็กชว ยยกอปุ กรณม าทีโ่ ตะ ใหเ ด็กเลือกวา จะยกอะไรมา 2. ใหเ ดก็ ชวยปูผา บางรองบนโตะ ครูยกถาดอปุ กรณข ึน้ 3. ครูวางอุปกรณท ีต่ อ งใชบ นผายาง เรยี งจากซา ยไปขวา โดยวางโถใสน ํ้ามะขาม จานและชอนสําหรบั ตัก แบงนํ้ามะขาม โถใสสําลกี อ น ผา ขดั มนั ที่ใสส าํ ลพี นั กานแลวและสาํ ลีแผน และวางชอนทองเหลอื ง ตามแนวนอนกับโตะ 4. ครตู ักแบง นํ้ามะขามจากโถมาใสในจานโดยใชชอนตกั 5. หยิบสาํ ลีกอ นจากโถใสสําลมี าแตะน้ํามะขาม นําไปขัดชอน เรม่ิ ขดั ทีต่ วั ชอนโดยหมนุ วนตามเข็มนาฬกา และคอย ๆ ขดั ไปทด่ี ามชอน 44 การจัดการเรยี นรูร ะดบั ปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

6. พลิกชอนคว่าํ ลงขดั แบบเดิมใหท่ัวทั้งชอน วางสาํ ลที ่เี ปอ นท่ีมุมโตะ ขวา 7. ใหเดก็ ชวยคลผี่ า ขัดออก ครหู งายมอื วางบนผา เอยี งปลายมอื ไปทางมมุ ผา ดา นซา ยบน พบั ผามมุ ซายบน ปดลงมาบนมอื และมมุ ลางซา ยและมุมขวาบน พับเปน รูปกลบี บวั ใชม อื ที่มผี าอยูเ ช็ดชอ นทข่ี ัดใหส ะอาดมันวาว 8. ใหเ ด็กชวยพลกิ ชอนควํา่ ลง ครูเช็ดแบบเดมิ ใหท ่ัวจนสะอาดมนั วาสง ใหเดก็ ชว ยดู และวางไวท เี่ ดมิ 9. ถาชอนมลี วดลายลึกใหใชส าํ ลีพนั ปลายไมขัดตามลองใหส ะอาด 10. ใชส ําลีแผน ทําความสะอาดจานและชอ นท่ีใสน าํ้ มะขามใหสะอาดเสรจ็ แลว วางสาํ ลไี วท เ่ี ดมิ มุมขวาบน 11. ครพู าเด็กนาํ สาํ ลที ี่เปอ นไปทงิ้ ทถ่ี งั ขยะ 12. พาเดก็ ไปหยบิ สาํ ลใี หมมาใสแทนที่เดิมทง้ั 2 ชน้ั สําลกี อนและสําลแี ผน 13. ชวนเด็กดผู า ทใ่ี ชเชด็ ขัดเงาวา เปอ นหรือไม ถา เปอ นไปเก็บทต่ี ะกรา ผา ใชแ ลวนาํ ช้ินใหมม าแทน 14. บอกเด็กวาหนูอยากลองทาํ ไหมคะ ครูจะไปลางมือแลว หนูจะทํากีค่ รงั้ ก็ได 4. การประเมนิ ผล 1. อุปกรณทใ่ี ชขดั ไดสวยงาม 2. การเคลอ่ื นไหวของมือ ทิศทางในขณะขัดโลหะ 3. ผา ขดั มัน การวางมอื บนผา 5. อายุ ประมาณ 3 ขวบครงึ่ - 4 ป 6. กิจกรรมผูป กครองมสี ว นรว ม การขัดสิง่ ตางๆ เชน พาน เชิงเทียน ขัน ชอน ทัพพี ซง่ึ เปนของใชใ นบา นเหลาน้ีสามารถสาธิตใหเ ด็กทาํ ได 7. ขอ เสนอแนะสําหรบั ครู เราสามารถใหเดก็ เลอื กขัดของใชข องตน เชน รองเทา กระเปาใสอ ุปกรณม าโรงเรยี นไดต ามความตองการ 45การจัดการเรยี นรรู ะดับปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมที่ 12 การเดนิ จงกรม 1. ทฤษฎี การมรี างกายทตี่ ง้ั ตรงเปน คุณสมบตั ิทแ่ี ตกตา งอยางเดียวของมนุษยจ ากส่ิงที่มีชีวติ อนื่ มนุษยไ มไดเกดิ มายืน ตรงเลย แตเ ราตองใชความพยายามในการปฏิบัตอิ ยางมาก มพี ฒั นาการอยู 4 จุดในการพฒั นาใหกระดกู ในหลงั ต้งั ตรงได เมอื่ อายุ 6 เดอื น เด็กมีความสามารถในการพึ่งได เม่ืออายุ 8 เดอื น เดก็ สามารถคลานได เม่ืออายุ 10 เดอื น เดก็ เริ่มจะยนื ได เมือ่ อายุ 1 ป เด็กจะเริม่ เดนิ ลาํ พังได ในชว ง 6 เดอื นทีเ่ ดก็ นง่ั ได เปนชวงที่มือเปน อิสระในการจะทําสิ่งตา ง ๆ ได ทําใหเด็กใชมอื ในการสํารวจสง่ิ ตา ง ๆ การคลานของเด็ก เด็กไดใ ชกลามเน้ือแขนและขาชวยใหกระดูกสนั หลงั แข็งแรง การสัมพันธของแขนขา ถอื ขาซา ย กบั มือขวาเชือ่ มโยงสมั พนั ธกัน กจ็ ะเชื่อมโยงไปสสู มอง เปน พืน้ ฐานของการเดนิ และการจะเดินไดตอ งอาศยั การทํางาน ของรา งกายและสมอง สิ่งท่ีจะชว ยเด็ก คือ การไดเหน็ ตัวอยา งของคนทเี่ ดนิ อยู เด็กมีคุณสมบัตขิ องการซมึ ซับสูง จงึ จะ ซมึ ซบั ลกั ษณะการเดนิ ได และความเขม ของการเรยี นรไู วจะชว ยเนน ใหเ ดก็ ยนื ได ยงั เชอ่ื มไปสแู นวโนม ของความเปน มนษุ ย ในลกั ษณะตา ง ทงั้ 11 อยา งตอ งสมั พันธก ัน และองคประกอบที่สาํ คัญคอื การเคล่อื นไหว การทาํ งาน การปฏบิ ตั ิซ้าํ และ ความพงึ พอใจในตน เมอ่ื เดก็ จะเดนิ ได ความพงึ พอใจในการเดนิ และเดนิ ไดด ี การเดนิ ธรรมดาปกตไิ มพ อ ตอ งมกี ารกระโดด ว่ิง เขามาเก่ยี วขอ งดวย เม่อื เด็กอายปุ ระมาณ 18 เดือน กลามเนื้อใหญและกลามเนอื้ เล็กรวมทัง้ สมองพฒั นาขึน้ มากแลว จงึ พบวาเด็ก มกั จะชอบหยิบยกสงิ่ ตา ง ๆ ขนึ้ และใหญกวา ตนเอง แสดงวา เด็กตองการแสดงพลังของตน ซ่ึงเปนไปตามความตอ งการ แนวโนมของความเปน มนษุ ย ดงั นั้นการเลน ในสนามเด็กเลน การปน ปายเปนสง่ิ ที่เด็กตอ งการ ผใู หญจึงควรคิดหาพื้นที่ กวา ง ๆ ใหเ ดก็ ไดเ คลื่อนไหว เราจึงควรจดั สง่ิ แวดลอมใหเ ดก็ ไดเคลอ่ื นไหวมาก ๆ เดก็ ชอบทาทายตนเอง เชน เตน รํา เดนิ บนขอบเสน ตา ง ๆ และไมเบอ่ื หนายในการทํากจิ กรรมนั้น ๆ เพ่อื ความสมดลุ ของเดก็ ไมใ ชแคท างกายภาพหรือการ เคล่อื นไหวเทา น้ัน สว นทีค่ วรพิจารณาดวยคือ ความสมดลุ ของรางกายและจิตใจ เราพอจะสงั เกตไดว า เชน อารมณไมด ี มันอาจจะปรากฏอาการออกมาทางรา งกายดวย ดเู หมือนวา ความสมดุลภาในจะเปนเครอื่ งกําหนดความสมดุลภายนอก ถา สมดุลดี ทาทางก็จะสงา งาม เด็กในชว งแรกของชีวติ นี้ ไมเ บ่ือหนา ยตอ การพฒั นาความสมดลุ ของรา งกาย ไมม ีเด็กท่ไี มอยากทํา ซึ่งแสดง เปนเรอ่ื งอธิบายไดวา HORME คอื พลงั ชีวติ มีตลอดเวลาไมหมดไป พลังชวี ติ ผกู พนั เดก็ ตลอดชวี ติ การออกแบบกิจกรรมการเดินจงกรมน้ี ทําเพอื่ สนองความตอ งการของเด็ก สามารถท่จี ะพัฒนาความสมดลุ ของเดก็ และพฒั นาการเดนิ แบบของมนษุ ย เวลาในการเดนิ จงกรมเปน กจิ กรรมกลุม ใหญ เปนกจิ กรรมสรางความรว มมือ และควบคมุ ตนเอง สงเสริมการควบคุมตนเอง 46 การจดั การเรียนรรู ะดับปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

2. ขนั้ ตอนการปฏิบัติ 1. เสน ทางเดนิ เปน วงรี พนื้ ท่ีควรไมนอ ยกวา 10 5 เมตร เสน ควรเปน วงรีเพราะวงรีเปดโอกาสใหเดก็ เดนิ ตรงได และมีการโคงและการเดินเปนไปอยา งสมา่ํ เสมอ ถาเปนวงกลม อาจจะวิงเวียนได เพราะรางกายจะตอ งเล้ยี ว ตลอดเวลา และถา เปน สี่เหลี่ยมจะทาํ ใหก ารเดนิ ไมส มํา่ เสมอเพราะมมี ุม 2. ขนาดเสน ควรหนา 4-5 เซนตเิ มตร หรอื เล็กกวาฝาเทา เลก็ ๆ ของเด็กและควรจะมคี วามถาวรอยูเลย 3. การนําดนตรีมารวมดว ย ถาสามารถนาํ ดนตรมี ารว มดว ยกจ็ ะทาํ ใหการเดินจงกรมงดงามขน้ึ ดนตรีทนี่ ํา มาควรเปนดนตรที ่มี ีความล่ืนไหล เชน ดนตรคี ลาสสิกหรอื ดนตรีไทย หรอื ครูจะเลน ดนตรี ไปดว ยกไ็ ด ไมว า ดนตรชี นิดไหน ควรมคี วามรสู กึ สง เสรมิ ความรสู กึ ลน่ื ไหลตอเน่ือง 4. การเดนิ การเดินตอ งสาธิตโดยผูใหญใ หเดก็ ดูกอ น การเดินมี 3 แบบ 4.1 การเดินบนเสน ตามธรรมชาติ 4.2 การเดินบนเสนตอสนเทา 4.3 การเดินบนเสน ตอ สนเทาพรอมวตั ถุ และแบงตามความยากงา ย 3 ระดบั 4.3.1 เดนิ ตอสนเทา ถอื วตั ถุ 1 อยา ง 4.3.2 เดินตอสน เทา ถอื วตั ถุ 2 อยางในแตล ะมือ 4.3.3 เดินตอ สนเทาถอื วัตถุ 2 อยาง ตางชนดิ ในแตละมือและมเี ครื่องเทนิ ศรี ษะ วตั ถตุ า ง ๆ ท่นี ํามาใชค วรมอี ยูในสงิ่ แวดลอ ม เพ่อื เดก็ จะใชไดตลอดเวลา 5. หนาท่ีของครู ตองสงั เกตเดก็ เพอื่ ที่จะดูพัฒนาการเด็ก Dr. Maria Montessori กลาววา เม่ือกจิ กรรมน้ีสมบูรณ การเคล่ือนทีท่ ี่สงา งามและการเดนิ ท่งี ดงามจงึ จะเหน็ ได ดงั นน้ั การเดนิ จงกรมจงึ ทาํ ใหมนุษยเ ดนิ ไดอยา งมีประสิทธิภาพ กิจกรรมนี้เปนกจิ กรรมกลุม ทาํ ใหเ ด็กตระหนกั ถงึ ผอู ืน่ และพฒั นาความสงบภายใน จะทําใหค วามสมบูรณดา นจิตใจของเด็กเต็มขึ้น 47การจัดการเรียนรรู ะดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

1. สื่อ/อุปกรณ 1. เสน วงรบี นพนื้ ควรมขี นาดยาวทส่ี ุดเทา ทีจ่ ะเปน ไดแ ละความกวางของเสนประมาณ 3 ถึง 5 เซนติเมตร 2. วัตถุท่ีมีนาํ้ หนกั เชน ลูกแกวมีเชือกผูก, พวงมาลยั , ถงุ ใสเงนิ 3. ธงตา ง ๆ 4. ตะกรา เคร่อื งหอมหรอื วตั ถทุ ี่ใชถ อื หหู ิ้วได หรอื เทยี นไขจุดไฟดวย 5. วัตถุท่ีมเี สยี ง เชน ระฆัง กระด่งิ 6. วัตถทุ รงกลมวางในชอ นใหถอื ชอน 7. แกว นาํ้ ใสน ํ้าใหเตม็ แกว ขน้ั แรกๆ นาํ้ ควรจะมีสี 8. วัตถทุ ส่ี ามารถวางบนศรี ษะได เชน ถุงทราย 9. ดนตรตี า ง ๆ ทที่ ําใหการเดนิ ลื่นไหล ทุกอยางทนี่ ํามาใชควรเหมาะกับวัฒนธรรมของตน 2. วตั ถุประสงค 1. การควบคมุ การเคลือ่ นไหว 2. การฝก สมาธิ 3. การพ่งึ พาตนเองได 3. วิธจี ัดกิจกรรม 1. เชิญเดก็ มานงั่ รอบวงรเี ปนคร่ึงวงกลม ครนู ําวัตถุตา ง ๆ ทเ่ี ตรยี มไววางกลางวงรี 2. ครสู าธติ การเดนิ ใหเดก็ ดเู ปนการเดินบนเสนตามธรรมชาติ ครเู ดนิ เนนความสมดุล สงางาม หนาตรงมอง ไปขา งหนา เพื่อใหก ระดดู สนั หลงั ตรง แขนอยขู า งตัว แขนนิง่ ท่สี ุด คางเชิดเล็กนอ ย ครูเดนิ รอบวงรไี ปจนครบเปลย่ี นใหค รู ผชู ว ยเดนิ บา ง 3. ครเู ดนิ มาเชิญเด็กเขา ไปเดินในวงรที ีละคน ดูจงั หวะชอ งวางในวงรีใหค รบทกุ คน 4. บอกเด็กวา ถา เหมอ่ื ยหรอื เหนอ่ื ยก็ใหอ อกมาน่งั พกั ได 5. เดินจนรอบวงใหกลบั มาน่ังทเี่ ดิม 48 การจัดการเรียนรูระดับปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

6. ใหเดก็ สํารวจความรสู กึ ของตน รูส ึกอยางไรในขณะทเ่ี ดนิ ไมต อ งถามเพอื่ น 7. ครูสาธิตการเดนิ ตอ สน เทา ไปรอบวงรีครบรอบแลว ครูกลับมาน่งั ทเี่ ดมิ และใหครพู เ่ี ลี้ยง เดนิ นาํ ครแู ตะ แขนเดก็ ออกไปเดนิ รอบวงรีทะคนจนครบทกุ คน 8. ครเู ร่มิ สงวัตถใุ หเด็กถอื ทลี ะอยา ง คอย ๆ เพ่ิมขึ้นเรอ่ื ย ๆ เปน 2 อยางใน 2 มอื และเทนิ บนศรี ษะ ในขณะ ทเี่ ดก็ เดินไปในวงรีเรือ่ ย ๆ และครสู ังเกตพฤติกรรมเด็กไปดวยวาควรจะสงวัตถุแบบไหน ใหเ ด็กคนใด 9. ครูหยิบวัตถุคืนจากเด็กทีละช้ินไปจนครบใหเ ด็กกลับไปน่งั ทเ่ี ดิม 10. ใหเ ด็กสาํ รวจความรูสกึ ของตนเอง เม่อื เดินมีวัตถุตาง ๆ ไปดวย 11. เมอ่ื เดก็ ฝก การเดนิ จงกรม จนถงึ ขน้ั ทเ่ี ขาเลอื กของในการใชใ นกจิ กรรมไดเ องถอื วา เขาประสบความสาํ เรจ็ ซ่ึงมากพอสมควร การสง ของใหเ ดก็ ถือควรสง ตามลาํ ดบั ยากงา ย เริม่ จากงายไปหายาก - วตั ถุไมม เี สียง เชน พวงมาลัย ลกู แกว ตะกราใสข อง - วตั ถมุ เี สยี งดงั เชน กระดง่ิ ระฆัง - วตั ถกุ ล้ิงได เชน ชอนใสล กู แกว - วัตถุหกหลน ได เชน แกว นํา้ ใสส ,ี แกว นํา้ ไมม ีสี - วตั ถเุ ทนิ บนศรี ษะ เชน ถุงทราย 4. การประเมินผล 1. การเดินใหตรงเสน 2. วธิ ีการเดนิ ใชสนเทาวางกอ นแลวเหยยี บลงไปใหเตม็ เทา 3. ชองจงั หวะกาวเดนิ ตอ งดวู า จะตองชา หรอื เรว็ เพราะมเี พื่อนอยทู ้งั ขางหนา ขางหลัง 4. การรักษาทา ทางเดิน ใหต วั ตรงหนา ตรง 5. การถอื วัตถใุ หม ัน่ คง การยืดโดยเหยยี ดแขนใหสุดแขน 6. การมีของวางบนศีรษะ หนา ตอ งตัง้ ตรงและนิง่ ไมอ ยางนัน้ ของจะตกหลนได 5. อายุ สองขวบคร่ึงข้นึ ไป 6. กกิ รรมผปู กครองมีสวนรวม เด็กชอบเคลอ่ื นไหวตลอดเวลาเพื่อการเรยี นรโู ลก ดังน้ันการทใ่ี หเดก็ ไดเดนิ ในบรเิ วณบา นเชน สนาม รอบโตะ รบั แขก และอาจถือส่ิงตา งๆไปดวย เปน การฝก สมาธทิ ีด่ ีอยา งหน่ึง 7. ขอ เสนอแนะสําหรับครู 1. การฝก เดินจงกรมเปน การฝก สมาธิท่ดี ี อารมณ สติปญญาดีตามมา 2. การเดินจงกรมเมอื่ เดก็ ฝก จนคลองแลว สามารถตกลงเวลาในการฝก ดว ยตนเอง 49การจดั การเรยี นรูระดับปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมท่ี 13 การมอบของขวัญ 1. สื่อ/อุปกรณ 1. เด็กกลมุ เลก็ 2. เกาอี 1 ตัว 3. หนังสอื 1 เลม 2. วตั ถุประสงค 1. การควบคุมการเคล่อื นไหว 2. การฝก สมาธิ 3. การพ่ึงพาตนเองได 3. วิธจี ดั กิจกรรม 1. เชิญเด็กออกมาทลี ะคน ประมาณ 4 – 5 คน มานงั่ เปน รูปครึ่งวงกลม 2. นาํ เกาอ้มี าต้งั ตรงกลางครง่ึ วงกลม ครเู ชิญครูพี่เลี้ยงมานัง่ เปนผูใหญ 3. ครสู าธติ การสง ของใหผ ใู หญน ะคะ ครเู ดนิ มาใกลผ ใู หญ หยดุ นงั่ คกุ เขา ลงเดนิ เขา 2 ขา งถอื หนงั สอื ดว ย 2 มอื 4. ยืน่ หนงั สอื ดว ย 2 มอื ใหผูใ หญ 5. คานเขากับที่เดิม 50 การจัดการเรยี นรรู ะดับปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

4. การประเมนิ ผล 1. การคานเขา 2. การถอื ของดวย 2 มอื 3. ความตง้ั ใจในการทํางาน 5. อายุ ประมาณ 2 ขวบคร่ึงข้ึนไป 6. กจิ กรรมผปู กครองมสี ว นรวม เมอ่ื เด็กอยบู า นการรับสง ของเปนกิจกรรมที่ปฏิบตั ิตลอดเวลาเม่อื เด็กทาํ ดคี วรมีการเสริมแรงใหก ําลังใจ 7. ขอเสนอแนะสําหรับครู การรับสง ของเปนกิจกรรมที่เดก็ ตอ งควบคุมการเคลื่อนไหวของตน ถาปฏบิ ตั ิถกู ตอ ง สวยงามจนเปนกิจวัตร ประจาํ วัน จะเกิดวนิ ยั ในตนเอง 51การจดั การเรยี นรูระดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมที่ 14 การกราบแม 1. ส่ือ/อุปกรณ 1. พระบรมฉายาลักษณสมเด็จพระบรมราชนิ ีนาถ 2. เกา อ้ี 1 ตัว 3. เสอื่ 1 ผนื 2. วัตถุประสงค 1. การควบคุมการเคลอ่ื นไหว 2. การฝก สมาธิ 3. การพึ่งพาตนเองได 3. วิธจี ดั กิจกรรม 1. เชญิ ชวนเด็กนัง่ เปน รปู ครง่ึ วงกลมทกุ คน 2. เชญิ ชวนหน่ึงคนไปนาํ เสอื่ มาปกู ลางครง่ึ วงกลม 3. เชญิ เดก็ อกี หนงึ่ คนไปยกเกา อี้ 1 ตวั มาวางบนเสอื่ ดา นขวามอื นาํ พระบรมฉายาลกั ษณข องสมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ มาวางบนเกา อ้ี 4. ครสู าธิตการกราบพระบรมฉายาลักษณ แมแหงชาติ 5. เดินมาหยุดหางจากเส่อื ประมาณ 3 ฟตุ 6. คกุ เขาลงพ้ืน คลานเขาเขา ไปในเส่ือ นัง่ พบั เพียบหา งจากโตะ ประมาณ 2 ฟุต 7. กมลงกราบ โดยวางแขนครอ มเขาเล็กนอ ย ไมแบมอื 52 การจัดการเรยี นรรู ะดบั ปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

8. ขยับตัวลกุ ข้ึนในทานง่ั และคอ ย ๆ คลานเขา ถอยหลงั กลับออกมา 9. ตอ ไปใหน กั เรียนปฏบิ ัติ จนพอใจ จึงเกบ็ อปุ กรณเ ขา ที่ 4. การประเมนิ ผล 1. การคานเขา 2. การกราบทีถ่ กู ตอ ง 3. ความตัง้ ใจในการทํางาน 5. อายุ ประมาณ 3 ขวบคร่งึ ขน้ึ ไป 6. กิจกรรมผปู กครองมีสว นรว ม เมอ่ื เดก็ อยูบ านการกราบผใู หญเ ปน กิจกรรมทีป่ ฏิบตั ไิ ดต ลอดเวลาเม่ือเด็กทาํ ดีควรมกี ารเสริมแรงใหกําลงั ใจ 7. ขอ เสนอแนะสาํ หรับครู การกราบเปน กจิ กรรมทเี่ ดก็ ตอ งควบคมุ การเคลอ่ื นไหวของตน ถา ปฏบิ ตั ถิ กู ตอ ง สวยงามจนเปน กจิ วตั รประจาํ วนั จะเกดิ วนิ ยั ในตนเองและซึมซบั วัฒนธรรมไทยที่ดงี าม 53การจัดการเรียนรรู ะดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมท่ี 15 การเช็ดใบไม 1. สือ่ /อปุ กรณ 1. ถาดใสอ ุปกรณ 2. ถว ยหรือเหยือกใสน ํ้าขนาดเลก็ 3. ฟองนาํ้ , สําลี 4. ผาเช็ดซบั น้ํา 2. วัตถุประสงค 1. การควบคมุ การเคลื่อนไหว 2. การฝกสมาธิ 3. การพึง่ พาตน 3. วิธีจัดกจิ กรรม 1. เชญิ ชวนเด็กใหต ามครมู าเราจะไปปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเชด็ ใบไม พาเด็กไปท่ชี ั้นวางอปุ กรณ แนะนําถาด อุปกรณก ารเช็ดใบไม สาธิตการยกถาดอปุ กรณ เปนตวั อยางและวางทเี่ ดมิ ใหเด็กยกถาดอุปกรณไปวางใกลต นไม ใหเ ด็ก เลือกวาจะปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกับตน ไมใ นหองเรยี นหรือนอกหอ งเรยี น 2. ชวนกันไปนําถาดอุปกรณไปวางไวท ่ีดา นลาง ใกล ๆตน ไมน ั้น 3. ใหเดก็ ชว ยไปตักนา้ํ โดยนาํ เหยือกนา้ํ ไปตกั จากทเี่ กบ็ น้าํ ในหองเรียน และนํากลบั มาวางที่เดิม 4. ครูเริม่ สาธติ การเชด็ ใบไม มือซายประคองใบไม เพ่ือไมใหใบไมเคลื่อนท่ี มือขวาหยิบฟองน้ําหรอื สาํ ลที ่ี จะใชเ ช็ดใบไม จุมลงในถวยหรือเหยอื กนาํ้ ใหช ุมแลว บบี นํา้ ออก เพ่อื ใหฟ องนาํ้ เปย ก 54 การจดั การเรียนรูระดบั ปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

5. เริ่มตน เชด็ ลงที่ใบไมท ลี ะใบ โดยเร่มิ เช็ดจากโคนใบลงมาถงึ ดา นขอบใบและเลือ่ นลงไปทกี่ ง่ึ กลางใบจนสดุ ขอบปลายของใบไม เปนแนวเดียวกนั กับใบไม และใหเร่ิมเช็ดทีก่ ง่ึ กลางใบไม จนทว่ั ทงั้ ใบใหส ะอาดกอ นทกุ ครั้ง ท่จี ะเร่มิ เช็ดใบใหมต อไป 6. ในระหวางทีเ่ ชด็ ใบไม ใหต รวจดูวาฟองน้าํ หรอื สาํ ลสี กปรกใหจ ุมนาํ้ บบี เอาฝุนออก นาํ มาเช็ดใหม และ หากวานา้ํ ในถว ยสาํ หรับเช็ดสกปรกมากใหเทน้ํารดท่ีตน ไมแลวเปลีย่ นน้ําใหมท สี่ ะอาดปฏบิ ตั กิ ารเชด็ ใบไมต อจนเสรจ็ 7. ใชผ า ซบั นํ้าทหี่ กลงบนพนื้ ใหแ หง เมือ่ สังเกตพบวาผาเปยกชน้ื หรือสกปรกใหนําไปใสใ นตะกรา ผา สาํ หรับ ซัก แลว นาํ ผาผืนใหมมาแทน 8. ใหเ ด็กทดลองทาํ การเชด็ ใบไม จากใบไมท่ีเหลือจนหมด หรอื ตามความสนใจ 9. ปฏิบัตกิ ิจกรรมเสรจ็ แลว เกบ็ อุปกรณใสใ นถาด แลวนาํ ไปเกบ็ ไวท ่เี ดมิ บนช้ันวางอุปกรณ ทาํ ความ สะอาดพ้ืนท่ีเปยกใหแหงสนิท 4. การประเมินผล 1. การตกั น้าํ และถือเหยือกน้ํามา โดยไมท ํานา้ํ หกเลอะพ้นื หรอื ทําใหต ัวเด็กเปยกนา้ํ 2. การเช็ดใบไม ไมท าํ ใหใบไมห กั หรอื ฉีกขาด 3. การเกบ็ อุปกรณ วางทเ่ี ดมิ ทกุ คร้ัง 5. อายุ ประมาณ 3 ขวบขึน้ ไป 6. กิจกรรมผปู กครองมีสวนรว ม 1. เด็กสามารถชวยผปู กครองในการลา งเช็ดอุปกรณตา งๆในบา นได และเดก็ วัยนี้จะทําอยา งไมร สู กึ เบื่อ 2. เมอื่ เดก็ เชด็ หรอื ลา งส่งิ ตางๆแลวตอ งใหด ูแลเชด็ ทําความสะอาดน้ําใหแหง ดวย ซง่ึ ผูปกครองสามารถ แนะนํา และทํารว มกับเดก็ ในระยะแรก 7. ขอ เสนอแนะสําหรบั ครู 1. การสาธติ กิจกรรมการเช็ดใบไมมอี ุปกรณและข้ันตอนหลายอยางควรทาํ ชาๆและใหเดก็ ทดลองทําที่ละขั้น ตอนไปดว ย 2. เพ่ือใหเ ด็กเกิดความม่นั ใจ ครคู วรใหก ําลังใจอยใู กลๆและไมขดั จังหวะถาเด็กไมข อความชว ยเหลอื 55การจัดการเรียนรูร ะดับปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมท่ี 16 การขัดรองเทา 1. สอื่ /อุปกรณ 6. ยาขดั (กวี ี) 1. ผากันเปอ น 7. แปรงขัดรองเทา 2. ผาพลาสติกสาํ หรบั ปูพ้นื 8. ผา ผืนเล็ก 3. เหยอื กนํา้ 9. รองเทา (รองเทา นักเรยี น) 4. ถวยใสส าํ ลอี ยา งแผน 5. ฟองนํา้ 2. จุดประสงค 1. เพอื่ ใหเ ด็กขัดรองเทาไดด วยตนเอง 2. เด็กจัดเกบ็ อปุ กรณเ ขาทีอ่ ยางเปนระเบยี บและถูกตอง 3. วิธีจัดกจิ กรรม 1. เชญิ ชวนเดก็ มาปฏิบตั กิ จิ กรรม “วันนี้เรามาขัดรองเทา กนั ” 2. เดินนําเด็กไปท่ชี ้ันวางอุปกรณ ครูหยบิ ผากนั เปอ นมาใสแ ลว ใหเด็กสวมเสอื้ กันเปอนเชน กัน 3. ครูสาธิตโดยเริ่มปูผาพลาสติก นําอุปกรณท งั้ หมดออกจากถาดวางเรียงกันดานบนของผาดังน้ี เหยอื กน้ํา ถวยเปลา สําลี ฟองนาํ้ ยาขดั รองเทา แปรงขดั รองเทา ผาผนื เลก็ 56 การจดั การเรยี นรูร ะดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

ขนั้ ท่ี 1 ปดฝนุ ทําความสะอาด - เทน้าํ ใสถ วยเปลา หยบิ สําลชี บุ นํ้าพอหมาดๆเช็ดรองเทา ใหส ะอาด (ปฏิบตั ิเชนเดียวกนั กบั รองเทา อีกขา ง กรณีทรี่ องเทา สกปรกมาก ใหลา งโคลนออกใหห มดตากใหแ หงกอนนํามาขดั เน่อื งจากเศษดนิ และเศษทราย ทาํ ใหรองเทา เปน รอยเวลาขดั และไมเงางาม) ข้นั ท่ี 2 ปายยาขัด - ใชฟองนํา้ ปา ยยาขดั จากซายไปขวา หนาพอประมาณ ทาใหทว่ั รองเทา จนรูสกึ วายาขัดผสาน เขา กับรองเทาทกุ ซอกทกุ มุมรองเทา ขัน้ ที่ 3 ขดั ใหเ งา - ขัดรองเทา ดว ยแปรงขดั รองเทาจนท่ัว - ใชส ําลชี ุบนํ้าพอหมาดๆปา ยยาขัดเลก็ นอ ย ใหต ิดบรเิ วณท่เี ราทาลงไปแลว คอยๆขดั ทลี ะสว น ของรองเทา ในลักษณะหมนุ วนเปนวงกลมเลก็ ๆใหทัว่ รองเทา จะสังเกตเห็นวารองเทาเรมิ่ มี เงาแวววาว ขดั ไปเรื่อยๆจนมันเงาทุกสว น - ใชส ําลีใหมชบุ นาํ้ หมาดๆ (ไมต อ งแตมยาขัด) คอยๆวนเอาสว นทเี่ ปน นํ้ามนั ออกจะทาํ ให รองเทาแวววาวสะอาด - เช็ดใหทวั่ รองเทา อกี คร้งั ดว ยผา ผืนเลก็ เพือ่ ใหรองเทา สะอาดเปนมนั เงา 4. ใหเด็กปฏบิ ัติงานขดั รองเทา อีกขา งหนง่ึ ตอ ไปดวยตนเองตามความพึงพอใจ 4. การประเมนิ ผล วธิ กี ารสงั เกต 1. เดก็ ปฏบิ ัติการขดั รองเทา ไดเปนมนั เงา 2. เดก็ จัดเกบ็ อปุ กรณเขาท่ีอยา งเปน ระเบยี บและถกู ตอ ง เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช แบบสงั เกตพฤตกิ รรม เกณฑก ารประเมิน 1. เดก็ ปฏิบัตกิ ารขดั รองเทาไดเ ปนมันเงา - ระดบั 3 เด็กปฏิบตั ิการขดั รองเทาไดสะอาดเปน มนั เงา/ดวยตนเอง - ระดบั 2 เดก็ ปฏบิ ตั ิการขดั รองเทาไดสะอาด/ดวยตนเอง - ระดับ 1 ไมสามารถปฏบิ ตั ิได / ปฏิบัตไิ ดโดยมีการช้ีนาํ 2. เดก็ จดั เกบ็ อุปกรณเขาท่อี ยางเปน ระเบยี บและถกู ตอ ง - ระดบั 3 จดั เก็บอปุ กรณเขาท่ีเปน ระเบยี บและถกู ตอ งไดดวยตนเอง - ระดับ 2 จดั เกบ็ อปุ กรณเขาท่ี แตไ มเ ปน ระเบยี บ - ระดับ 1 ไมนําอปุ กรณเกบ็ เขา ที/่ ตอ งมีผูชนี้ าํ 57การจัดการเรียนรูระดบั ปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรม หมวด ประสาทรบั รู 58 การจดั การเรียนรรู ะดับปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมหมวดประสาทรบั รู กจิ กรรมที่ 1 แทนกระบอกพิมพ กิจกรรมที่ 2 หอชมพู กิจกรรมที่ 3 บันไดนา้ํ ตาล กิจกรรมท่ี 4 พลองแดง กจิ กรรมที่ 5 แถบสี กลอ งที่ 1 กิจกรรมท่ี 6 แถบสี กลองท่ี 2 กจิ กรรมท่ี 7 แถบสี กลอ งท่ี 3 กิจกรรมที่ 8 ตเู รขาคณติ กจิ กรรมท่ี 9 ลูกบาศกส องตัวแปร กิจกรรมที่ 10 กระดานขรุขระและเรยี บ กจิ กรรมที่ 11 แถบอณุ หภูมิ กจิ กรรมที่ 12 แถบนา้ํ หนกั กิจกรรมท่ี 13 การจัดกลมุ กิจกรรมที่ 14 กลองเสยี ง กจิ กรรมท่ี 15 ขวดอณุ หภมู ิ กจิ กรรมท่ี 16 การชมิ รส กจิ กรรมที่ 17 การดมกลนิ่ กิจกรรมที่ 18 เรขาคณิตทรงทบึ 59การจัดการเรยี นรรู ะดับปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมที่ 1 การขดั รองเทา 1. ส่ือ/อปุ กรณ แทนกระบอกพมิ พแ บบมีหมุดจับขนาดพอดีกับชองบรรจุแตล ะชอ งมี 4 แทน แทน ท่ี 1 กระบอกพิมพมีความแตกตา งกนั สองมิติ ขนาดเสนผา ศนู ยก ลางเพิ่มขนึ้ จาก แทน ที่ 2 ก21รซะ.บมอ. กถพึงมิ 5พซม.ีคมว. าคมวแาตมกสตูงคา งงกทนัี่ 5สาซม.มม.ติ ิ ขนาดเสน ผา ศูนยกลางเพม่ิ ข้นึ จาก แทน ท่ี 3 ก12รซะ.บมอ. กถพึงิม5พซม.คีมว. าคมวแาตมกสตงู เาพง่ิมกขนั น้ึสจามากมติ ิ12ขนซ.ามด.เสถนึง ผ5า ซศ.นู มย.ก ลางเพิ่มขึน้ จาก แทน ท่ี 4 ก21รซะ.บมอ. กถพึงิม5พซม .คีมว. าคมวแาตมกสตูงลา ดงกลนังจหานกง่ึ ม5ิตซิ ข.มน.าถดึงเสน12ผซา.ศมนู . ยก ลางคงท่ี 2 ซ.ม. ความสงู ลดลงจาก 5 ซ.ม. ถงึ 21 ซ.ม. 60 การจัดการเรยี นรรู ะดบั ปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

2. วตั ถปุ ระสงค 1. การเตรยี มมือสําหรับการเขียน คือการจบั กระบอกพมิ พดว ย 3 นวิ้ เปนพ้นื ฐานการจบั ดนิ สอ 2. การควบคุมการเคลอื่ นไหวอยา งประณตี 3. การเตรียมพน้ื ฐานทางคณิตศาสตร 4. ภาษา เพิ่มเตมิ ภาษาในอปุ กรณ คอื หนา-บาง, ใหญ-เล็ก, สูง-ต่าํ 5. การแยกแยะดานมติ ิ โดยจักษปุ ระสาท 3. วธิ ีจัดกกิ รรม 1. เชญิ ชวนเดก็ ดว ยความตื่นเตนอยากรู วนั น้คี รมู ีสิ่งทนี่ าตื่นเตนใหดูนะคะ 2. พาเด็กไปท่ชี ้ันอุปกรณ แนะนาํ วธิ ีการยกอุปกรณ คือใชส องมือจับท่ีปลายอปุ กรณเ อยี งมือใหน ้ิวหัวแมมอื อยูดา นลําตัว 4 นวิ้ อยูด านหลงั อปุ กรณ แลว วางลงทเ่ี ดมิ ใหโ อกาสเด็กยกอปุ กรณม าที่โตะ เองวางในแนวนอนกบั โตะ 3. เม่ือนํามาวางท่โี ตะ แนะนาํ อปุ กรณ คอื กระบอกพิมพท่ี 1 มนั ดสู วยและนาสนใจนะคะ 4. ครใู ชน ว้ิ 3 นว้ิ หยบิ อุปกรณม าวางระหวา งตัวเรากบั อปุ กรณ หยบิ ช้ินหนาที่สุดออกมาวางใหเห็นชดั เจน คอ ย ๆ หยิบกระบอกออกมาท่ีละกระบอก ไมเ รียงกนั และวางชิ้นทบ่ี างท่สี ุดไวค ูกับชน้ิ ทีห่ นาทส่ี ุด เพ่ือใหเห็นความแตก ตา ง เมอ่ื เอาออกครบแลว มองสาํ รวจอุปกรณว า ไมม ใี นกระบอก มองดูอยางพิจารณาไมตองพูด 5. นําชน้ิ อุปกรณกลับใสก ระบอกพิมพตามเดมิ เวลาหยบิ พลกิ ดู ซาย, ขวา, บน, ลาง เร่มิ จากชน้ิ ที่ชัดเจน ทสี่ ุด คอื ชิน้ ทีบ่ างทีส่ ุดหรอื ชนิ้ ที่หนาทีส่ ุดสํารวจกระบอกดแี ลวนาํ ไปใสกลับท่ีเดมิ ใหต รงชอง 6. เวลาใสคืน ใสแ บบคละกันไมเ รียงลาํ ดบั มองสาํ รวจทง้ั ตัวกระบอกและชนิ้ ตวั พมิ พ สํารวจชา ๆ 7. เหลือ 2 ชิ้นท่ีแตกตา งกันไวใหเ ด็กใสตอ เชน ชิน้ ท่ี 9 และ 2 เพอ่ื สรางประสบการณทีด่ ีใหก บั เดก็ มคี วาม ภาคภูมใิ จท่สี ามารถใสได 8. ชักชวนใหเดก็ ลองทาํ บา ง หนจู ะทํากีร่ อบก็ไดตามใจนะคะ 9. ทําเชนเดียวกันกบั แทนกระบอกพมิ พท ่ี 2,3,4 ทลี ะแทน 10. เม่อื ครบสามารถเลน รวมกันได เพิ่มทีละ 1 แทน 4. การประเมินผล 1. เรียงกระบอกพมิ พไ ดถูกตอ ง 2. หยบิ กระบอกพิมพไ ดถ ูกวธิ ี 5. อายุ ประมาณ 3-3 ป 61การจัดการเรียนรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมท่ี 2 หอชมพู 1. ส่ือ/อุปกรณ 1. ลกู บาศกไมส ีชมพูจาํ นวน 10 ชิ้น ขนาดไลกนั ต้งั แต 1 ซ.ม. ถึง 10 ซ.ม. ขนาดเพิ่มขึน้ ในลกั ษณะพีชคณิต ของอนุกรมกาํ ลังสาม 2. พรมปพู นื้ สตี ดั กับลูกบาศก 1 ผืน 2. วตั ถปุ ระสงค 1. การแยกแยะมิตสิ มั พันธดว ยจักษปุ ระสาท 2. การเคลือ่ นไหวอยา งประณีตและมีเจตจาํ นง 3. เปนพื้นฐานการเรียนรูคณิตศาสตร 1-10 4. การเคลอ่ื นไหว ทิศทางการเคล่ือนไหว และเคลอื่ นไหวอยางประณีต 5. ความแตกตา งของช้ันที่ 1 และชน้ั ที่ 10 เปน 1 พันเทา 62 การจัดการเรยี นรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

3. วธิ ีจัดกจิ กรรม 1. เชญิ ชวนเด็ก 1 คน วนั นเี้ ราจะทํางานกับหอชมพนู ะ 2. ใหเ ด็กชวยปเู สื่อ 1 ผืนและชวนกันไปทีช่ นั้ เก็บอุปกรณ ครหู ยิบใหดกู อนชิน้ เล็กสุดดานบนใช 2 นิ้วหยบิ และช้ินถดั มาใชห ยบิ 5 นิ้ว และชนิ้ ใหญหยิบดวย 2 มือ มอื หนง่ึ รองกน ดา นลา ง 3. ชวยกนั หยบิ หอชมพมู าวางบนเสื่อทลี ะอนั จนครบแบบไมเ รยี งลาํ ดับ 4. ครูจะนาํ เสนอวิธีสรา งหองชมพูนะคะ โดยถกู สาํ รวจดวยสายตาอยา งละเอยี ดมองหาชนิ้ ทีใ่ หญท สี่ ดุ โดย ใชนวิ้ มอื ทง้ั 5 หยิบจากดานบน นําไปวางตรงหนา ครูและเดก็ 5. คอ ย ๆ หยิบชนิ้ ใหญท มี่ ขี นาดรองลงมา วางบนชนิ้ แรกใหต รงกลางพอดี 6. ทําซํา้ ไปจนครบท้งั 10 ช้นิ 2 ช้นิ สดุ ทายใช 3 นิ้วจบั วาง 7. เสร็จแลว เชิญชวนเดก็ ชมหอชมพูไปทกุ มุม ทีล่ ะมมุ รอบ ๆ เสอื่ ดูจากดา นบนดูดา นขางรอบ ๆ แลว มานง่ั ลงท่ีเดมิ 8. ครคู อ ย ๆ หยบิ หอชมพูลงวางบนเสอ่ื ทลี่ ะชน้ิ วางคละกันไมเ รียงลําดับหยบิ ออกจนเหลือชิน้ สุดทายวางไว ท่เี ดิม เพื่อเชิญชวนใหเดก็ ทาํ ตอ 9. บอกเดก็ วาหนูจะทาํ ก่คี รง้ั กไ็ ด ตามความพอใจนะคะ แบบฝกหัดที่ 1 1. ครเู ชิญชวนเด็ก วนั น้ีเราจะทาํ งานกบั หอชมพูนะคะ 2. ใหเ ดก็ ชวยปเู ส่ือ 1 ผนื และไปหยิบอปุ กรณทเี่ ก็บอยู ชวยกนั หยบิ ครั้งละ 1 ชนิ้ มาวางบนเสื่อใหครบ 3. ครูสํารวจลูกบาศกอ ยา งใกลช ิด เลอื กช้ินใหญสดุ วางตรงกลางดา นหนา 4. หยบิ ลกู บาศกช ิ้นขนาดเล็กกวา วางใหช ดิ มุม 1 มมุ และดา น 2 ดา นชิดเสมอกนั ชิ้นเล็กกวา จะเหลอื ท่วี าง ไมท บั ชนิ้ แรก 2 ดาน 5. นํากระบวนการแบบเดิมใหค รบทุกชั้น แลว เชิญชวนเดก็ เดินดรู อบ ๆ หอชมพูตรงมุม, ซาย, ขวาและดา น บน เพื่อสาํ รวจความแตกตาง 6. วดั 2 ดานของลกู บาศกโ ดยใชชนิ้ ลกู บาศกท ีเ่ ลก็ ท่ีสดุ เปน เครือ่ งมอื วดั วางลกู บาศกท ่มี ุมขวาหมุนตามเข็ม นาฬกา ทุกชัน้ สํารวจมองอยางพิถพี ถิ นั เพอื่ ใหเ ดก็ สังเกตเห็นความเทา กันของทกุ ช้นั ในการแตกตางกนั 7. ครูรอื้ ลกู บาศกลงนําวางบนเสอื่ แบบคละกนั ใหเดก็ ชว ยดว ย และเชญิ ใหเ ดก็ ทดลองทําเองบา ง ภาษา ภาษาในหอชมพู คอื เล็ก-ใหญ การสอนภาษา 63 การสอนภาษามี 3 ระดบั 1. การสอนภาษาข้นั ปกติ สอนภาษาเลก็ – ใหญ 2. การสอนภาษาขน้ั กวา สอนภาษาเลก็ กวา – ใหญก วา 3. การสอนภาษาข้นั ทสี่ ดุ สอนภาษาเลก็ ท่ีสดุ – ใหญท ่สี ดุ การจดั การเรยี นรูระดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

การสอนภาษาท้ัง 3 ระดับนี้มกี ารสอนอยูแตล ะระดับ 3 ข้นั ตอน การสอนภาษาข้ันปกติ ขัน้ ท่ี 1 บอกชอ่ื ของอปุ กรณห รอื วสั ดทุ ี่ใช เชน อนั นี้ใหญ หยบิ แยกออกมาจากชิ้นอน่ื ๆ ใหเด็กพูดซาํ้ ตามครู โดยครูชี้ทีอ่ ปุ กรณด ว ย ขน้ั ที่ 2 การทํางานรวมกนั ระหวางชอ่ื กับวสั ดุ โดยใชคําส่งั และกลวธิ ีตา ง ๆ เชน - หยิบชิน้ ใหญใ หครซู คิ ะ - อนั ไหนใหญค ะ - ชช้ี น้ิ ใหญใ หค รซู ิคะ - ชว ยวางชนิ้ ใหญใ หค รตู รงนนี้ ะคะ เมอื่ บอกหรอื ถามเดก็ 1 คาํ ถามครกู ส็ ลบั เปลยี่ นตาํ แหนง ของ วสั ดุหรืออุปกรณท ุกคร้ัง ขน้ั ท่ี 3 ขนั้ ตระหนักรู ครูจะช้ีท่ีวสั ดแุ ลวถามวา น่ีคอื อะไร ใหเ ดก็ บอกชอ่ื เมอ่ื เดก็ ตอบไดถ กู ตอ ง แสดงวา เดก็ ตระหนักรแู ลว และก็ถามเด็กตอไป การสอนขนั้ กวา ขัน้ ที่ 1 เราเรียนรเู ลก็ ใหญไ ปแลว จําไดไหมวาชนิ้ ไหนอะไร ครูยกชิน้ ท่ี 1 ใหด แู ละยกชิ้นท่ี 2 ซ่งึ ใหญกวา วาง คกู ัน ใหเ ด็กตอ คือ เลก็ -ใหญ ยกช้ินกวา มาใหดู คอื ชน้ิ ที่ 3 ตอ งใหญก วาช้นิ ท่ี 2 แลวพูดวา ใหญก วา ข้นั ที่ 2 ครกู ็สลับอปุ กรณท้ัง 3 ชิ้นและถามคาํ ถามทุกครงั้ ทเ่ี ปล่ยี นตาํ แหนง เชน - อนั ไหนใหญก วา คะ - ชชี้ น้ิ ใหญกวาใหครดู ูซิคะ - ชว ยยกช้ินใหญกวา มาวางตรงนซ้ี ิคะ - ชวยหยิบช้นิ ใหญกวา ใหค รซู ิคะ ขั้นที่ 3 ข้ันตระหนักรู ครูชที้ ่อี ุปกรณแลว ถามวา นี่คอื อะไร ใหเดก็ บอกชือ่ วาใหญก วา เม่อื เดก็ บอกไดถูกตอ ง แสดงวาตระหนักรูแ ลวกถ็ ามถึงเลก็ กวา ตอ ไป การสอนขน้ั ท่สี ดุ ขน้ั ที่ 1 ครหู ยบิ ชน้ิ เลก็ ทสี่ ดุ มา ถามวา อะไร หยบิ ชนิ้ ทใ่ี หญก วา มาถามวา อะไร เอาชน้ิ เลก็ ไปเกบ็ ออกไป และหยบิ ชน้ิ ที่ ใหญก วา ชน้ิ ที่ 2 มาอกี วางลงและบอกวา ใหญท ส่ี ดุ ครขู ยบั อปุ กรณท ง้ั 3 ชนิ้ ใหม ใหเ ดก็ วางทล่ี ะชนิ้ วางชน้ิ ใหญส ดุ บอกวา ใหญท สี่ ดุ ขนั้ ที่ 2 ขยบั อปุ กรณท ัง้ 3 ชัน้ สลับเปลย่ี นไปมาและถามทุกครง้ั ที่เปลย่ี น - อันใหญท ส่ี ดุ อยูไหน - ชชี้ ้ินท่ีใหญท ี่สดุ ใหครดู ูซิคะ - เอาชน้ิ ใหญทสี่ ุดมาวางตรงนซ้ี คิ ะ - ชิน้ ไหนใหญท ส่ี ดุ ยกใหค รซู คิ ะ ขน้ั ที่ 3 ขนั้ ตระหนกั รู ครชู อ้ี ปุ กรณท ใ่ี หญท สี่ ดุ และถามเดก็ วา นค้ี อื อะไรเดก็ ตอบวา ใหญท ส่ี ดุ ไดแ สดงวา เขาเรยี นรแู ลว 64 การจดั การเรียนรรู ะดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

เกม เกมที่ 1 เกมนํามา 1. เชิญเด็กทลี่ ะคนประมาณ 3-4 คน 2. ขอใหเ ด็กชว ยไปเอาเส่ือปู 2 ผืนใหห า งกันไดม ากจะดี 3. วางลกู บาศกไวใ นเสื่อผนื ท่ี 1 แบบคละกนั ไปไมเ รยี งลําดับ 4. ครูและเดก็ ไปนง่ั ในเสอื่ ผนื ที่ 2 บอกเดก็ คนหนึง่ วาไปเอาชน้ิ ใหญท ส่ี ดุ มาทน่ี น่ี ะคะ แลวนาํ มาวางท่ี เส่ือตรงกลาง ถามดว ยวาหนเู อาช้ินไหนมาคะ 5. ใหเ ดก็ คนตอ ไปไปหยบิ ชน้ิ ที่ใหญทส่ี ุดมานะคะ เมือ่ เดก็ นาํ มาตองถามทกุ ครงั้ และใหนํามาวางทีเ่ สอื่ แบบไมเรยี งลาํ ดับ 6. เดก็ สลบั กนั ไปหยบิ มาตอไปบอกวาเอาช้นิ ทีห่ นูคดิ ไวม านะคะ เมอ่ื เดก็ นาํ กลับมาตองถามวาเอาชนิ้ ไหนมาคะ 7. เม่อื เหลอื 2 ชิ้นสุดทาย เด็กควรจะตอบวาช้ินใหญกวา เมอื่ เปน ชนิ้ สุดทายใหถามวา หนูควรจะเรียก ชิ้นน้วี าอะไรคะ เดก็ ควรตอบไดวา เลก็ ทีส่ ดุ การท่ีครถู ามเอาชิ้นไหนมาคะ เดก็ ควรจะตอบไดทงั้ ใหญท่ีสุด ใหญก วา ดว ย เกมที่ 2 เกมระยะทาง 1. เชิญชวนเด็กมาทีละ1 คน หนูรออยตู รงนก้ี อ นนะคะ แลว ครูกไ็ ปเชิญชวนเด็กมาอีกประมาณ 3-4 คน ปเู สอ่ื 2 ผนื หางกนั พอสมควร วางลูกบาศกค ละกนั ในเสอื่ ผนื หนงึ่ 2. หนู 1 คนไปกับครูนะคะ ครูพาเด็กไปท่เี ส่ือท่ีมีลกู บาศกอยู หยิบมา 1 กอนพาเด็กไปท่เี สอ่ื อกี ผืนท่ี วางอยู วางลูกบาศกแ ลวบอกเดก็ อีกคนหนึง่ วา หาชน้ิ ทใ่ี หญกวานี้ เมือ่ เด็กกลับมาใหถ ามวา เอาชน้ิ ไหนมาคะ 3. ตอไปใหเ ด็กคนตอไปไปเองชิน้ ทีเ่ ลก็ กวา มา และเอาชิ้นเดิมไปคนื และถามเด็กไปเรือ่ ย ๆ และคํา ตอบตรงตามคาํ บอกหรือไม 4. ถามเดก็ ทกุ คร้ังทไ่ี ปหยบิ ของมาเมอื่ ครบแลวใหชว ยกันเก็บหอชมพูดวยกนั เดก็ จะไดท าํ งานรวมกับ ผอู นื่ ในการชวยเกบ็ หอชมพทู ่เี ดิมและเก็บเสอ่ื การสอนภาษา 3 ขัน้ ตอน และเกมท่ยี กตวั อยา งน้ีสามารถใชใ นกจิ กรรมอนื่ ได 4. การประเมินผล 1. ปฏิบัติกิจกรรมไดถูกตอ ง 2. บอกภาษาและเขาใจความหมาย เลก็ –ใหญ, เล็กกวา –ใหญกวา ,เลก็ ท่ีสุด –ใหญทส่ี ุด, 5. อายุ ประมาณ 3 ขวบขน้ึ ไป 65การจัดการเรยี นรรู ะดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมท่ี 3 บันไดน้ําตาล 1. ส่อื /อุปกรณ 1. แทง ปรซิ มึ 10 ช้ิน ขนาดความกวางเทา กนั คือ 20 ซ.ม. แตตางกันท่คี วามสงู และความหนา จาก 10 ซ.ม. 10 ซ.ม. 20 ซ.ม. ถงึ 1 ซ.ม. 1 ซ.ม. 20 ซ.ม. ขนาดเพิ่มขึ้นในลกั ษณะพีชคณติ ของอนุกรมกําลงั สาม สนี ํ้าตาล 2. พรมปพู น้ื สีตดั กับแทง ปริซึม 1 ผืน 2. วตั ถุประสงค 1. การแยกแยะความตางของมติ ิดวยจกั ษุประสาท 2. การเคลื่อนไหวอยางประณีตและมีเจตนจาํ นง 3. รคู วามแตกตา งของบันไดขัน้ ท่ี 1-10 ตา งกัน 100 เทา 4. จาํ นวน 1-10 5. การเรยี นรนู ้ําหนกั 3. วธิ จี ดั กจิ กรรม 1. เชญิ เด็กดวยความกระตือรือรน วนั นีเ้ ราจะทํางานกบั บันไดนาํ้ ตาลนะคะ 2. ชวนเดก็ มาท่เี ก็บอปุ กรณ ชวยปูเสอ่ื 1 ผืนนะคะ แลวนําเด็กไปท่ีเก็บอุปกรณบนั ไดน้าํ ตาล แนะนาํ วา นี่ คอื บนั ไดนํ้าตาลนะคะ หยบิ บันไดนา้ํ ตาลชนิ้ ท่ีเลก็ ทส่ี ุดดวยนิว้ มอื ทัง้ 5 แบบควา่ํ มอื ลง และนาํ เดก็ มาวางที่เสอื่ โดยไมต อ ง เรยี งลาํ ดับ จับทลี ะ 1 ช้นิ ชว ยกันยกมาวางจนครบ เมื่อถงึ อันใหญใหจ บั 2 มือประคองดา นลา งดว ย 3. เมื่อยกครบแลว ใหเด็กนง่ั ขางครูดานซา ยมือ ครมู องดบู ันไดนา้ํ ตาลทุกชิ้นอยางชา ๆ ชัดเจน ครูหยิบบนั ได น้ําตาลชนิ้ ใหญส ดุ โดยใชมือจับตรงกลางดา นบนยกขนึ้ 4. หยิบช้นิ ทีท่ ใี่ หญร องลงมา วางลงขาง ๆ ชน้ิ แรกหา งเล็กนอ ย ใชน้ิวมือคนั เบา ๆ ใหเ ขาไปชิดกัน 66 การจดั การเรยี นรูร ะดับปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

5. ใชสองมอื ลูบดา นขางท้งั สองของบันได เพ่อื ใหแนใ จวา มนั ชิดกันและตรงกนั 6. ทําแบบเดิมไปเรอ่ื ย ๆ กับทกุ ชิ้นของบนั ได วางทุกครั้งใหม องใหชัดเจนพถิ พี ถิ ันและลูบชา ๆ เบา ๆ 7. เมื่อตอบนั ไดเสรจ็ แลว ชวนเดก็ เดินมองบนั ไดในมุมตาง ๆ ใหร อบบันได 8. พาเด็กมาท่ีเดิม บอกเด็กวา ครูจะทาํ บันไดนาํ้ ตาลมาคละกันใหมน ะคะและวางชน้ิ ใหญไวท เ่ี ดมิ เพื่อเชิญ ชวนใหเดก็ ทําตอ แบบฝก หดั 1. เชิญเดก็ วนั นเ้ี ราจะทาํ งานกับบันไดนํ้าตาลแบบใหมน ะคะ 2. ใหเ ดก็ ชวยปเู สอ่ื และชว ยกันยกบันไดนํ้าตาลมาวางบนเสื่อ และชว ยกนั ตอ บนั ไดนํา้ ตาลใหเรียบรอย 3. ครหู ยิบบันไดนา้ํ ตาลอันเลก็ ทส่ี ุด ยกใหเดก็ เห็นชดั เจนและวางลงระหวา งขั้นบนั ไดท่ีแตกตา ง โดยการวาง หางเล็กนอยใชนวิ้ ดันเบา ๆ ใหช ดิ 4. นาํ บนั ไดช้นิ เลก็ เปน ตวั วดั ความตา งไปทุกระดับชั้น เพือ่ ใหเ ด็กเหน็ วา มันแตกตางกันในระดับที่เทากนั และนําไปวางลอ ท่ีเดมิ 5. ใหน กั เรยี นทดลองทําบางนะคะ จะทํากค่ี รง้ั ก็ไดน ะคะ ภาษา ภาษาของบนั ไดนา้ํ ตาลคอื หนา-บาง , เล็ก-ใหญ, กวา, ทสี่ ดุ การสอนภาษาสอนแบบ 3 ข้ันตอน ใชภ าษาในการสอนคือ หนา-บาง , เลก็ -ใหญ. 4. การประเมนิ ผล 1. ปฏิบตั ิกิจกรรมไดถ กู ตอง 2. บอกภาษาและเขาใจความหมาย หนา-บาง, หนากวา-บางกวา ,หนาทสี่ ดุ –บางทสี่ ุด, 5. อายุ ประมาณ 3-3 ขวบ 67การจัดการเรียนรูระดับปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมท่ี 4 พลองแดง 1. สอ่ื /อปุ กรณ 1. พลองแดงตา งกันหน่งึ มติ -ิ ความยาว จาก 10 ซม×100 ซม หนวยตา งระหวา งพลองแตละช้นิ คอื 10 2. พรมปพู ้นื สีตดั กบั พลอง 2. วัตถุประสงค 1. การแยกแยะความตา งของมิตดิ านความยาว ดว ยจักษุประสาท 2. การเรยี นรคู วามยาวดว ยการใชก ลามเนื้อสมั ผัส 3. การเตรยี มความพรอมดว ยคณติ ศาสตร 4. การเตรียมความพรอ มดา นการอานและการเขยี น คือ การเคลื่อนไหวกลามเน้อื มือจากซา ยไปขวา 3. วิธีจดั กจิ กรรม 1. เชญิ ชวนเดก็ ดว ยความกระตือรือรน วนั นี้ครมู ีสิ่งทน่ี า ต่ืนเตนใหทาํ นะคะ 2. พาเด็กไปท่ชี ้นั วางอปุ กรณ แนะนําวธิ กี ารยกพลองแดง คือใชสองมือจบั ตรงกลางของพลองแดง ยกขน้ึ ใน แนวต้งั หนาลําตัวโดยจบั 5 น้ิว ใหน ิว้ หัวแมมืออยูดานหนาลําตวั 4 นิว้ อยูดา นหลงั อปุ กรณ แลว วางลงท่ีเดิม ใหโ อกาสเด็ก เลอื กยกอุปกรณมาท่ีดว ยตนเอง นาํ มาวางในแนวนอนตามความยาวของพรม 3. ครแู ละเด็กชว ยกนั ยกพลองแดงมาวางทพี่ รมแบบคละกนั ไมต อ งเรยี งลําดบั ถอื ท่ีละชนิ้ วางใหชิดพรมดา น ลา งใกลทีน่ ัง่ 4. ครแู ละเดก็ นง่ั ลงหนา พรมเดก็ นง่ั ขา งซา ยครู ครสู าํ รวจพลองแดง กม มองใหเ หน็ ชดั เจนโดยใชส ายตาสาํ รวจ หยิบพลองแดงตรงกลางดว ยมือขวาชิ้นที่ยาวท่ีสุดวางลงบนพรมดา นบนสุดในแนวนอน 5. ใชมือซา ยจับพลองแดงรมิ ซายไว ใชน้ิวชีแ้ ละน้ิวกลางมือขวา ลูบพลองแดงเบา ๆ จากซายไปขวา 68 การจดั การเรียนรรู ะดับปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

6. หยบิ ชนิ้ ท่ี 2 ทคี่ วามยาวรองลงมาวางลงขา ง ๆ ชนิ้ ท่ี 1 ใชน ว้ิ คนั ใหช ดิ กนั และทาํ แบบเดยี วกนั กบั ขอ 5 อกี ครง้ั 7. ใชน วิ้ ชี้และนิ้วกลางของมอื ซา ย ลบู ดา นซา ยของพลองแดงใหเ ทา กัน 8. หาช้นิ ใหมข องพลองแดงโดยใหเด็กชวยช้ีดวยวาอันไหนควรเปนอนั ตอไป 9. ทําซาํ้ ไปอยา งนจ้ี นจบ และชวนเดก็ ดรู อบ ๆ พลองแดงอยา งละเอยี ดในแตละมุมชน่ื ชมผลงาน 10. นําเดก็ มานงั่ ทเ่ี ดิม ครคู ละพลองแดงใหมโ ดยไมเรยี งลาํ ดบั ตอไปน้ีหนูจะตองทําเองแลว นะคะ ทํากี่คร้ัง กไ็ ด และครูสงั เกตอยูหา ง ๆ แบบฝก หดั 1. ครเู ชญิ ชวนเด็ก ครูมกี จิ กรรมใหมเกยี่ วกบั พลองแดงมาทํากันนะคะ 2. ใหเ ด็กปูพรม 1 ผนื ครูและเดก็ ชวยกนั ยกพลองแดงมาวางท่พี รมใหเ ดก็ ทํางานกับพลองแดง ตอ พลอง แดงใหเ สร็จเรยี บรอ ย 3. ครหู ยบิ พลองแดงเสนทสี่ นั้ ทสี่ ุดดว ยมือขวา ยกใหเดก็ เห็นชดั เจน นาํ ไปวางในระดบั ความตา งของพลอง แดงทกุ ระดบั ทาํ ใหเ ด็กเห็นชัดเจนของความตา งของพลองแดงในแตละอันมีความตางเทากัน และนําไปวางทีเ่ ดมิ 4. ใหเ ดก็ ทดลองทาํ ดูบาง ภาษา ภาษาของพลองแดง ส้ัน-ยาว , กวา, ที่สุด การสอนภาษาสอนแบบ 3 ขัน้ ตอน ใชภาษาในการสอนคือ ส้นั -ยาว เกม เกมท่ี 1 เกมนํามา 1. เชญิ เด็กท่ีละคน ประมาณ 3-4 คน 2. ใหเ ดก็ ชวยเอาพรม 2 ผนื มาปูใหห างกนั มากพอสมควร 3. ใหน าํ พลองแดงมาวางในผื่นที่ 1 แบบคละกันไมเ รยี งลาํ ดับ 4. ครแู ละเด็กไปนงั่ ในพรมผ่ืนที่ 2 บอกเดก็ 1 คนวาไปเอาพลองแดงชิ้นทยี่ าวทส่ี ุดมานะคะ เม่ือเด็กกลับมา ถามวา หนูเอาชิน้ ไหนมาคะ ดวู าเด็กตอบตรงกับสงิ่ ทท่ี าํ หรอื ไม 5. เด็กสลับกันไปท่ีละคน ใหไ ปเอาชิ้นท่ยี าวทีส่ ดุ มา 6. ตอ ไปบอกวาไปเอาชนิ้ ที่หนคู ิดไวน ะคะนาํ มาตอ กันเรียงไว 7. เมื่อเหลือ 2 ช้ิน เดก็ ควรตอบวา ชิ้นยาวกวา 8. เม่อื เหลือช้ินสุดทาย เดก็ ควรจะตอบวาชน้ิ ส้ันท่สี ุด เกมที่ 2 เกมระยะทาง 1. เชญิ ชวนเดก็ มาท่ลี ะ 1 คน เชญิ มาประมาณ 3-4 คน 2. ใหเด็กชว ยปพู รม 2 ผืนใหห างกันพอประมาณ ย่งิ ไกลไดมากเทา ไรยิ่งดี 69การจัดการเรยี นรรู ะดับปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

3. ใหเด็กชว ยกันหยบิ พลองแดงไปวางคละกันบนพรมผืนท่ี 1 เมอื่ วางครบแลว ครเู ลอื กหยบิ พลองแดง 1 ชนิ้ แลวพาเดก็ ไปน่ังในพรมผนื ที่ 2 วางลงบนพรม บอกเดก็ คนหนึ่งวา ไปหาช้ินทย่ี าวกวานม้ี านะคะ เม่ือเดก็ กลบั มาถามวาไป เอาชนิ้ ไหนมาคะ เด็กตอบชน้ิ ที่ยาวกวา ใหวางคูก นั ดู 4. ใหเดก็ คนตอไปนําไปคืน และใหไ ปเอาชนิ้ ใหมท่ีส้ันกวา น้ีมานะคะ 5. ตอ ไปถามคาํ ถาม 2 คาํ ถามกไ็ ด เอาชนิ้ ไหนมาคะ เมอื่ เดก็ ตอบเชน ชน้ิ สน้ั กวา ถามตอ วา สน้ั กวา ชน้ิ ไหนคะ ใหเ ดก็ ชี้ใหด เู ปรยี บเทียบ เม่ือใหเดก็ ไปหยบิ มาตอ งถามทกุ ครั้ง 6. สงั เกตความสนใจของเด็ก ถาจะจบเกมไมตองนําไปคืน ใหเ รยี งไวเม่ือหยบิ มาครบแลว ใหเดก็ ชว ยกันทาํ พลองแดงไปเกบ็ ท่เี ดมิ และเกบ็ พรมดวย 4. การประเมนิ ผล 1. ปฏิบัติกิจกรรมไดถกู ตอ ง 2. บอกภาษาและเขา ใจความหมาย สั้น-ยาว, สน้ั กวา-ยาวกวา ,ส้ันท่สี ุด-ยาวท่สี ดุ , 5. อายุ ประมาณ 3- 3 12 ขวบ 70 การจดั การเรยี นรูระดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมที่ 5 แถบสี กลองท่ี 1 1. สอ่ื /อปุ กรณ กลองไมบรรจุแถบไมเ น้อื ออน จํานวน 6 ชน้ิ ทาสีแมสีหรอื พันดวยเสน ไหมเปน คู คอื คสู แี ดง คูสีน้ําเงนิ และคู สเี หลือง 2. วตั ถุประสงค 1. การแยกแยะความตา งของมิติดวยจกั ษปุ ระสาท 2. การเรียนรเู บื้องตนของสี 3. พัฒนาประสาทสัมผสั ดา นการเรยี นรู สี 4. การเตรยี มความพรอ มสูงานศิลปะ 5. การเตรียมความพรอมดา นคณิตศาสตร 3. วธิ จี ดั กิจกรรม 1. เชิญชวนเดก็ มากับครูนะคะวันน้เี ราจะทํางานกับแถบสีกันคะ 2. นําเดก็ ไปทช่ี ้นั เก็บอุปกรณ ยกอปุ กรณใหเด็กดูและวางที่เดิม ใหเด็กถอื อปุ กรณม าวางทโ่ี ตะ โดยใชจบั หัว ทายกลอ งดวย 2 มือ 3. นําอปุ กรณวางบนโตะ ครเู ปด ฝากลอ ง และวางลงบนโตะ หยบิ กลอ งวางบนฝากลอ ง 4. ครสู าธติ การหยบิ แถบสีออกจากกลอ ง ใช 2 น้ิว คอื น้ิวหวั แมม ือและน้ิวช้ี จับขอบแถบสี นํามาวางคละกัน ไปทงั้ หมด 6 ชิ้น 5. ครสู าํ รวจแถบสีดวยการมองสาํ รวจอยา งพถิ พี ิถนั หยบิ ขน้ั มา 1 สี นํามาวางมมุ บนซายมอื และมองหาคูสี เดยี วกันมาวางคูกันทางดานขวาของสีแรก 71การจดั การเรียนรรู ะดับปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

6. ทําเหมือนเดมิ กับอกี 2 คูสที ีเ่ หลอื วางเปน คูถ ดั ลงมาดานลา งของคูแรกบอกเดก็ วาครทู ําเรยี บรอยแลว ครู จะคละสใี หม หนูลองทาํ บา งนะคะ ภาษา การสอนภาษา ชอ่ื ของสี คือ สแี ดง สีนา้ํ เงิน สเี หลือง ใชการสอนภาษาแบบ 3 ขั้นตอน แบบการสอนภาษาปกติ 4. การประเมินผล 1. ปฏิบตั ิกจิ กรรมไดถกู ตอง 2. บอกภาษาและเขาใจความหมาย ชอ่ื ของสี คอื สแี ดง สีนา้ํ เงนิ สเี หลือง 5. อายุ ประมาณ 2 21 - 3 ขวบ 72 การจดั การเรยี นรรู ะดับปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมท่ี 6 แถบสี กลองที่ 2 1.สอ่ื /อปุ กรณ 1. กลองบรรจแุ ถบไม จาํ นวน 22 ชน้ิ พันดวยเสน ไหมสหี รอื ทาสีเปน คู คือ คสู ีแดง คสู ีนา้ํ เงิน คสู ีเหลอื ง คสู ดี าํ คสู มี ว ง คูสสี ม คูสีเขียว คูสีขาว คสู ีชมพู คูสนี ํ้าตาล คูสีเทา 2. เส่อื หรอื พรม 2 ผนื 2. วัตถปุ ระสงค 1. การแยกแยะความตางของมติ ดิ วยจกั ษุประสาท 2. การพฒั นาประสาทรบั รดู านสี 3. เปน กญุ แจในการเปดสโู ลกของสี 4. การเตรียมความพรอ มสงู านศลิ ปะ 5. การเตรยี มความพรอ มดานคณติ ศาสตร 6. การเตรียมความพรอมดานการอา นและการเขยี น 3. วธิ จี ัดกิจกรรม 1. เชญิ ชวนเดก็ มาทํางานวนั นี้เราจะทาํ งานกบั แถบสี กลองที่ 2 นะคะ 2. คยุ กับเดก็ หนทู าํ งานกบั สีกลองท่ี 1 มาแลวนะคะ วนั นคี้ รูมแี ถบสีกลอ งท่ี 2 ใหญก วา มสี มี ากกวา แนะนํา กลอ งแลว ยกใหเด็กดู และวางทเ่ี ดมิ ใหเ ดก็ ถือกลอ งแถบสมี าที่โตะ ดว ย 2 มือจับหวั ทา ยของกลอ งหงายมือข้นึ ใหน ้วิ หัวแม มืออยูดานบนสีนว้ิ อยูด านลางกลอ ง 73การจัดการเรียนรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

3. ครูเปด ฝากลองใหเดก็ กมดใู หเ ลือกสีท่รี ูจกั ออกมา ถา เดก็ ไมห ยิบครูชวยหยิบสกี ลุมที่ 1 คอื สแี ดง สีเหลอื ง และสีนา้ํ เงิน ออกมาวางคละกันไปและใหเ ดก็ จบั คสู ี จับไดแลว นาํ ไปวางมุมซา ยมือคูกัน คูท่ี 2 วางตอ ลงมาดานลางคทู ี่ 3 วางตอ ลงมา เมอื่ เด็กทําเสรจ็ แลว 4. ครหู ยบิ สีกลุม ที่ 2 คอื สีมวง สีสม สเี ขยี ว ออกมาวางคละกนั ไปและใหเดก็ จบั คสู ี ครอู าจจะเรม่ิ ตน ใหแ ละ ใหเ ด็กทาํ เอง เมอ่ื เด็กจับคูไดเ สรจ็ แลวครกู น็ ําสที ัง้ 6 คูสีมาคละกันและเร่มิ ใหเ ด็กทาํ ใหม 5. ถา เดก็ ทําไดเรากจ็ ะเพ่ิมสีออกไปอีก การเพม่ิ สีก็ดวู า เดก็ ทาํ ไดแลว ทกุ คร้ังทเ่ี พม่ิ สี เอาสคี ละกนั กอน 6. การจบั คถู า เสื่อหรอื โตะ เราสั้น กใ็ หเ อาการจบั คูมาเร่ิมแถวที่ 2 โดยใหกะขนาดโดยเอามือซายวาง เปนตัว วดั ระยะหา งของแถว 7. การเพมิ่ สีกลมุ ท่ี 3 อกี 5 สี คอื สีชมพู สนี ้ําตาล สดี ํา สีเทาและสขี าว เพราะสนี ีว้ จิ ัยแลว วา เดก็ ชอบ ภาษา การสอนภาษา ชอื่ ของสี คอื สแี ดง สนี าํ้ เงนิ สเี หลอื ง สมี ว ง สสี ม สเี ขยี ว สชี มพู สนี า้ํ ตาล สเี ทา สดี าํ และสขี าว ใชก ารสอนภาษาแบบ 3 ขั้นตอน แบบการสอนภาษาปกติ เกม เกมท่ี 1 การจับคู ระยะทาง 1. เชญิ เด็กมาประมาณ 5 คน แตเ ลน คนเดยี วก็ไดจะสนุกกวา เมอื่ เลนเปนกลุม 2. ใหเ ด็กชว ยปเู สอื่ 2 ผืนในระยะทหี่ า งกันมาก ๆ เพือ่ ชว ยใหเ ดก็ ไดเคล่ือนไหวมาก ๆ 3. ครเู ชิญชวนเดก็ มานั่งทีเ่ สอื่ ผนื ที่ 1 ใหเ ดก็ 1 คนไปยกกลองสีที่ 2 มาและหยบิ สีจากกลองคูล ะ 1 สี วาง คละกนั ไว และครูและเด็กยา ยไปเส่อื ผืนที่ 2 4. ใหเดก็ หยิบสอี อกมา 1 สี แลวใหเ ด็กไปเลือกสี เสือ่ อกี ผนื หน่งึ ท่ีเหมือนกันมาวางคกู นั เม่อื เรยี บรอยแลว ใหน าํ ไปคนื ใหเ ดก็ คนตอ ไปเลอื กสใี หมอ อกมาและไปเลอื กสที เี่ หมอื นกนั จากเสอ่ื อกี ผนื หนงึ่ ทาํ อยา งนไี้ ปเรอ่ื ย ๆ 5. ถา จะใหเ กมจบ ก็ใหจ ับคแู ถบสีไวคูก นั ไมตองนําไปคนื อกี เกมที่ 2 การจบั คสู กี ับส่ิงแวดลอม ทาํ กิจกรรมเหมือนกับเกมท่ี 1 แทนท่ีจะจบั คูสีดวยกนั ใหเ ดก็ เลือกหยิบสอี อกมา 1 สีและใหไ ปจับคกู ับวัสดใุ น ส่ิงแวดลอ ในหอ ง เม่ือหยบิ แลว ก็ใหน ําไปคืนเหมือนเดิม และหามไปหยบิ ท่เี พือ่ นกาํ ลังทาํ งานอยู 4. การประเมินผล 1. ปฏิบัติกจิ กรรมไดถูกตอ ง 2. บอกภาษาและเขา ใจความหมาย ชื่อของสี คือ สีแดง สนี า้ํ เงิน สีเหลอื ง สมี ว ง สสี ม สเี ขียว สชี มพู สนี าํ้ ตาล สีเทา สดี าํ และสีขาว 5. อายุ ประมาณ 2 12 - 3 ขวบ 74 การจัดการเรียนรูร ะดับปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมท่ี 7 แถบสี กลองที่ 3 1. สอ่ื /อุปกรณ 1. กลอ งไมเกาชอง แตละชอ งบรรจุแถบไมเจด็ ชิน้ ตามสี 9 สี ความเขมของสไี ลกัน 9 สีดงั น้ี สแี ดง สีน้าํ เงิน สีเหลอื ง สเี ขยี ว สีสม สีมวง สชี มพู สเี ทา และสีนา้ํ ตาล 2. พรมหรอื เส่อื 2 ผืน 2. วัตถุประสงค 1. การแยกแยะความตางดานมติ ิของสี ดวยจักษปุ ระสาท 2. การเรียนรกู ารรับรขู องสีที่ประณตี ขนึ้ 3. การเตรียมความพรอมสูง านศลิ ปะ 4. การเปด กุญแจสูโ ลกของสีใหก บั เด็ก 5. การเรียนลาํ ดบั สี 6. การเตรยี มความพรอ มดานการอานและการเขยี น 7. การเตรียมความพรอมดา นคณติ ศาสตร 3. วิธีจดั กิจกรรม 1. เชญิ ชวนเด็กวันนเี้ ราจะทาํ งานกบั แถบสี กลอ งที่ 3 นะคะ 2. พาเด็กมาท่ชี ัน้ วางอปุ กรณ แนะนาํ วา วนั นี้เราจะทํางานกบั กลองสีที่ใหญท ่ีสดุ 3. ใหเ ด็กยกกลอ งมาวางบนเสอ่ื ท่ปี ไู ว หนอู ยากดูไหมวามสี อี ะไรบางในกลองนี้ใหเ ด็กเปด ฝา กลอ ง 4. เลือก 1 สีอะไรกไ็ ดแ ตควรเขา กบั สิง่ แวดลอม เชน วนั นห้ี นผู ูกโบสชี มพู เราเลือกสชี มพกู ันนะ หยบิ ออกมา ท้ัง 7 ชิ้นวางคละกนั 75การจัดการเรียนรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

5. เลอื กสที เี่ ขม็ ทสี่ ดุ หรอื ออ นทส่ี ดุ กไ็ ด วางชดิ ขอบเสอ่ื ดา นซา ยมอื และหาสที อี่ อ นทส่ี ดุ ในกลมุ มาวางตอ จากแผน ที่ 1 6. ทําตอไปโดยเลือกไปเรอ่ื ย ๆ จนครบ 7 ชิ้น 7. ใหเ ดก็ ดแู ละครนู ํามาเรียงคละกันใหม หนูทดลองทาํ เองซิคะ 8. จะใหเ ดก็ ทาํ งานทีละ 1 สเี ทา นั้น เสรจ็ แตละสจี ึงจะนําสีใหมออกมาใหทาํ ใหม แบบฝก หัด 1. เชิญชวนเดก็ วนั นีเ้ ราจะทาํ งานกบั แถบสกี ลอ งท่ี 3 แบบใหมน ะคะ 2. พาเด็กมาท่ีช้ันวางอปุ กรณ ใหเ ดก็ ยกอุปกรณก ลองท่ี 3 มาทเ่ี สือ่ ทเี่ ตรียมปูไว 3. ใหเด็กเปด กลอ งและใหหยบิ สีทชี่ อบออกมา 1 สีวางคละกันโดยไมเรยี งลําดบั และครูเลือกอกี 1 สีออกมา ทั้ง 7 ช้นิ มาวางคละกนั กับสที ีเ่ ดก็ เลือกออกมา 4. ครูเลอื กสที ีเ่ ขมทสี่ ดุ วางชิดของเสอ่ื ดานซา ยมุมบน และเลอื กสที ่เี ขมที่สดุ ของสีที่ 2 วางลงมาดานลา งของ สีท่ี 1 ชดิ ขอบเส่อื ดานซา ยเหมือนกนั 5. เลอื กสีที่ออ นถดั มาในกลมุ ของส่ที ี่ 1 วางตอ จากแผน ท่ี 1 มาทางดานขวามือ 6. ทาํ ซาํ้ แบบเดมิ ไปเรอ่ื ย ๆ โดยถามความเห็นจากเด็กดวยวาตอ ไปควรเปน แถบสีแผน ไหน ถาเด็กทําไดก ใ็ ห ทําเอง จนเสร็จทง้ั 2 สี 7. ครูนาํ แถบสีทั้งสองสมี าคละกันอีกครั้ง ใหเ ด็กทดลองทาํ ใหม 8. ถาเดก็ ทาํ ได ใหท ําเพมิ่ ขนึ้ ทีละสี จนครบเกาสี ภาษา การสอนภาษา ชอื่ ของสี 9 สี คอื สแี ดง สนี าํ้ เงนิ สเี หลอื ง สสี ม สเี ขยี ว สมี ว ง สชี มพู สนี าํ้ ตาล สเี ทา ภาษาใหม ออน-เขม การสอนภาษา 3 ข้นั ตอน ในขัน้ ตอน 3 ระดบั คือภาษาปกติ ขน้ั กวา และขั้นทส่ี ดุ เกม เกมที่ 1 การจับคู ระยะทาง 1. ใหเด็กอาสาปเู สอื่ 2 ผนื ใหไ กลกันมากท่ีสดุ เทาที่จะทําได เชญิ เดก็ เปนกลุม เด็กหลาย ๆ คนจะสนกุ กวา 2. ใหใ ชท ัง้ 63 แถบสีวางคละกันไปแบบไมเรยี งลาํ ดับ แตตอนเรมิ่ แรกอาจจะยังไมค รบก็ได แตต อ งพยายาม ใหเดก็ ไดเ ลน ใหม ากท่ีสุด 3. ครบู อกเดก็ วาเรามีแถบสคี รบทกุ ชนิ้ แลว นะคะ ครูหยบิ แถบสี 1 ชน้ิ แลวชวนเด็กไปทเ่ี สื่ออกี 1 ผนื แลว บอกเด็ก 1 คนวา ไปเลือกสจี ากเคร่ืองอีกผนื่ 1 มา หาสที อ่ี อ นกวา น้ี 4. เมอื่ เด็กหามาได ชมเชยและใหเด็กคนใหมเ อาไปเก็บทเ่ี ดมิ และเอาสใี หมท่อี อนกวาหรือแกก วานม้ี าร 5. ครคู วรจะเปล่ยี นสไี ปเรอ่ื ย ๆ ถาจะใหเ หน็ ความแตกตา งชดั เจนกบ็ อกวา เลอื กท่ีมนั ออ นกวา หรือแกกวา นดิ เดียว 76 การจัดการเรียนรรู ะดบั ปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

6. ถา จะจบเกมกไ็ มตอ งเอาไปคนื ใหเ รยี งลําดับตอ กันไวเลย 7. การเลน เกมจะทาํ ใหเดก็ ไดเ รียนรกู ารรอคอย ความทา ทายจากกจิ กรรม เกมท่ี 2 การจับคูสีกับสิ่งแวดลอม 1. เชญิ เด็กเปนกลุมเลก็ ประมาณ 3-5 คน 2. ใหเ ด็กปเู สือ่ และนาํ แถบสีออกมาวางคละกนั โดยไมเรยี งลาํ ดับ 3. การเทียบสีกบั ส่ิงแวดลอ ม ครูตอ งแนใ จวาในสงิ่ แวดลอ มมีทเ่ี หมือนกับสี 4. ใหเ ดก็ ไปหยิบวสั ดมุ ากอนแลว มาหยิบแถบสมี าเทยี บ 5. การจะจบเกมอยทู คี่ วามสนใจของเดก็ หรือความเขา ใจของเด็ก ถา เขารูจ ักเลนเองได 6. สีในกลองท่ี 3 นจี้ ะมีความเขมแตละสไี ลความเขมออ น 7 ระดบั จากเปรียบเทียบกับสิ่งแวดลอ มก็จะ ละเอยี ดประณีตขึน้ 4. การประเมินผล 1. ปฏิบัตกิ ิจกรรมไดถ กู ตอง 2. บอกภาษาและเขา ใจความหมาย ช่อื ของสี 9 สี คอื สแี ดง สีนา้ํ เงนิ สเี หลอื ง สสี ม สเี ขยี ว สมี ว ง สีชมพู สนี ้ําตาล สีเทา ภาษาใหม ออน-เขม 5. อายุ ประมาณ 3 21 ขวบ 77การจดั การเรยี นรรู ะดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมท่ี 8 ตเู รขาคณติ 1. ส่ือ/อุปกรณ 1. ตไู ม 6 ล้ินชกั รวมถาดนําเสนอหรือถามแนะนํา เปน 7 ลนิ้ ชกั บรรจุรปู ทรงระนาบ 35 รปู เรยี ก วา รูปตัด และกรอบท่ีพอเหมาะกัน เชน เดยี วกับรูปตดั และรปู ตดั ทรงระนาบแตละชิ้นมหี มุดสาํ หรับจับ 2. ถาดนําเสนอ ประกอบดว ย โครงไมทาํ เปน ตาราง 6 ชอง และมีแผน ไมท าสขี าว จํานวน 6 ชิน้ ลนิ้ ชักทง้ั 6 บรรจรุ ปู ทรงตา งๆ ดงั นี้ 3. ถาด/ลิน้ ชกั ที่ 1 มี 4 รูป ประกอบดวย รปู ส่เี หลยี่ มดา นโคง รูปรี รปู ไข รูปสามเหลย่ี มดานโคง 4. ถาด/ลิ้นชกั ที่ 2 มี 4 รูป ประกอบดวย รปู ส่เี หลย่ี มคางหมู (ดานตรงขาม 1 คูขนานกนั ) รูปส่ีเหลยี่ มขนมเปยกปนู /สเี่ หล่ยี มขาวหลามตัด (ดา นตรงขา มขนานกัน เสน ทแยงมุม 2 เสนตดั กันเปนมมุ ฉาก) รูปสเ่ี หล่ียมคางหมทู ่มี ีมุมฉาก 1 มมุ รูปสเี่ หลีย่ มดา นขนาน (ดานตรงขา มขนานกัน 2 คู) 5. ถาด/ล้ินชักที่ 3 มี 6 รปู ประกอบดว ย รปู วงกลมทมี่ ขี นาดเสน ผา นศนู ยก ลางลดลงจาก 10 ซม. ถงึ 5 ซม. 6. ถาด/ลิ้นชักท่ี 4 มี 6 รปู ประกอบดวย รูปสเี่ หลยี่ มจัตุรสั 1 รปู รปู สเี่ หล่ยี มผืนผา 5 รปู มีฐาน ขนาดตางกนั ลดจาก 10 ซม. ถงึ 5 ซม. ความสูงคงที่ 7. ถาด/ล้นิ ชกั ท่ี 5 มี 6 รปู ประกอบดว ย รปู สามเหลยี่ มดา นเทา รปู สามเหลยี่ มมมุ ฉากทม่ี ดี า นไมเ ทา กนั (สามเหลีย่ มดา นไมเ ทา ) รปู สามเหลี่ยมมุมฉาก รูปสามเหลี่ยมมมุ ปาน (ดานไมเ ทากนั ) รูปสามเหลย่ี มหนา จ่วั รูป สามเหลย่ี มมมุ ปา น (ดา นเทา กนั 1 คู) 8. ถาด/ลนิ้ ชักท่ี 6 มี 6 รปู ประกอบดว ย รปู หา เหลยี่ ม รูปหกเหลยี่ ม รปู เจด็ เหล่ยี ม รปู แปดเหลีย่ ม รปู เกา เหล่ียม รูปสิบเหลีย่ ม 9. กลองไม บรรจบุ ัตรภาพ 3 ชุด เหมอื นรูปตัดทัง้ หมดในตูเ รขาคณติ ชดุ ท่ี 1 ระบายสเี ต็มรปู ชุดที่ 2 ขอบรปู เปนเสนทึบ ชดุ ท่ี 3 ขอบรูปเปนเสน บาง 78 การจดั การเรียนรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

2. วตั ถปุ ระสงค 1. เปน กุญแจไขสโู ลกเกย่ี วกบั รูปเรขาคณติ 2. การแยกแยะรูปทรงลกั ษณะตา งๆ 3. พัฒนาประสาทรบั รู ใหม คี วามประณีตมากขนึ้ 3. วิธจี ดั กจิ กรรม 1. ครูเชญิ ชวนเด็ก ไปทีช่ ้ันอปุ กรณ แนะนําวา นค่ี ือตูเ รขา ครูแนะนาํ อุปกรณ โดยครูดึงถาดนําเสนอออก มาจากตู วางลงบนชน้ั อปุ กรณ ยกไมต าราง 6 ชอ งขนึ้ ตงั้ ไว แลว ดงึ ถาดอปุ กรณอ อกมาทลี ะถาด เพอ่ื เลอื กหารปู ทต่ี อ งการ 2. เลือกรูปเปน พ้ืนฐาน 3 รูป คอื รูปวงกลม รูปส่เี หลย่ี ม และรูปสามเหลยี่ ม เชน รปู วงกลมกย็ กจาก ถาดที่ 3 มาวางบนถาดเปลา ซา ยลาง แลว หยิบแผน สขี าวในถาดนําเสนอไปวางในถาดชอ งที่หยิบรูปวงกลมออกมาแทน รูปสเี่ หลีย่ มและรปู สามเหลีย่ มก็ปฏบิ ัติเชน เดียวกนั ครแู ยกไวเชนเดิม 3. ครแู นะนาํ วธิ กี ารถอื อปุ กรณ โดยใชม อื ซา ย –ขวา จบั กลางขอบถาดทง้ั 2 ขา ง ครเู กบ็ ถาดอปุ กรณท เ่ี ดมิ ใหเ ด็กยกถาดอปุ กรณไ ปที่โตะ ทาํ งาน เด็กนั่งซา ยมือครู เมอ่ื เดก็ พรอมครเู รมิ่ สาธติ บทเรยี น ครูสบตาเดก็ และพดู วา “น่ีคือรูปทรงเรขาคณติ รปู วงกลม รปู สี่เหล่ยี ม และรูปสามเหลี่ยม 4. ครใู ชม ือซาย (มือทีไ่ มถนัด) หยิบจับท่หี มุดรูปวงกลมคอยๆ ยกข้ึนในแนวตง้ั กบั ลําตัว จากนั้นใชนว้ิ ชี้ และ นิ้วกลาง ของมือขวา (มอื ท่ีถนัด) วางลงบนขอบวงกลมจุดท่ใี กลตัวท่สี ุด และตาํ่ ท่สี ดุ ลบู ไลน ิว้ ไปตามขอบวงกลมตาม เขม็ นาฬกา 1-2 รอบ ครหู นั มาสบตาเดก็ วางรปู วงกลมในชองวางของถาด จากนัน้ ใชนิ้วชแี้ ละนวิ้ กลางของมือขวาวาง ลงในรองของรูปวงกลมจดุ ทไ่ี กลตัวที่สดุ ลูบไลน้ิวไปตามเขม็ นาฬกา 1-2 รอบ แลว ใชม ือซา ยจบั ที่หมดุ รูปวงกลมยกขน้ึ ชา ๆ วางกลับไวใ นกรอบที่เดมิ และปฏบิ ตั ิเชนเดียวกนั กับรูปสี่เหลย่ี ม และรูปสามเหลี่ยม 5. ครเู ชญิ ชวนเด็กทําตอ แลวพดู กับเดก็ วา “หนูลองทําดนู ะคะ หนจู ะทาํ กคี่ ร้งั กไ็ ด ทาํ เสร็จแลว หนูนําไป เกบ็ ไวที่เดมิ นะคะ” 6. เมอ่ื เดก็ ทําไดแลวสามารถแนะนํารูปทรงตอ ไปในวันถัดไป กิจกรรมตอ เน่อื ง 1 เมื่อเด็กทาํ กจิ กรรมพ้นื ฐานแลว เดก็ เลือกทาํ กจิ กรรมกบั ถาดอุปกรณโดยหยิบ อุปกรณเพมิ่ ขึ้น จาก 3 – 6 ช้ิน กจิ กรรมตอ เน่ือง 2 เด็กทํากจิ กรรมตอ เน่ือง 1เดก็ ทาํ กจิ กรรมกบั ถาดอุปกรณค รั้งละ 2 ถาด และเพิม่ จํานวนอุปกรณข้ึนตามความสามารถของเด็ก จนกระทัง่ เด็กสามารถทาํ งานพรอมกันกบั ถาดอปุ กรณท งั้ 6 ถาด ภาษา ใชการสอนภาษา 3 ขัน้ ตอน รปู ทรงเรขาคณติ ทุกรูปในตเู รขาคณิต 4. การประเมนิ ผล 1. ปฏิบตั ิกิจกรรมไดถ ูกตอ ง 2. บอกภาษาและเขาใจความหมายรูปทรงเรขาคณิตทุกรูปในตูเ รขาคณิต 5. อายุ 3 ขวบครงึ่ ถึง 4 ขวบขึ้นไป (กจิ กรรมตองเหมาะสมกบั อายุ การใหภ าษาระหวา งการแนะนําอุปกรณ) 79การจัดการเรยี นรรู ะดบั ปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมท่ี 9 ลกู บาศกส องตวั แปร 1. สอ่ื /อุปกรณ ในกลองหน่งึ ประกอบดวย 1. ลูกบาศกแดงและปรซิ ึมแดงและดําอยางละ 3 ชนิ้ ทเี่ ปน คกู นั 2. ลูกบาศกน า้ํ เงินและปรซิ ึมนา้ํ เงินและดาํ อยา งละ 3 ชิ้น ทเี่ ปน คกู นั เมอ่ื ประกอบปริซึมแดงทงั้ หมดเขาดวยกันจะเปนผลของสองตวั แปร ภาพพิมพข องผลสองตวั แปรปรากฏอยบู นฝากลอ ง 2. วัตถปุ ระสงค 1. เพือ่ สรา งลูกบาศก 2. เพ่อื เตรยี มความพรอมทางดา นคณติ ศาสตร พืชคณติ คือ สตู ร 3. วธิ จี ดั กจิ กรรม 1. ครูเชิญเดก็ 1 คน ไปที่ช้นั เกบ็ ลกู บาศกสองตัวแปรแลว แนะนํากลอ งลูกบาศกส องตัวแปร 2. ครูสาธิตการยกกลอ งลูกบาศกสองตวั แปรโดยใชม ือทงั้ สองจับในลักษณะอุม 3. เด็กยกกลองลกู บาศกว างบนโตะ ครูน่งั ลงทางดา นขวามอื ของเด็ก 4. ครูสาธติ การเปด กลองลูกบาศกม อื ซายจับดา นขางของกลอ งเอาไว มือขวาจบั ฝากลองแลว ยกขนึ้ ในแนวตงั้ แลววางไว ใชมือขวาจบั ขอบดานบนลางของขอบเปด ออกทงั้ สองดา น นํามุมของฝากลอ งดานที่มีสีแดงวางลงตรงมมุ กลองทีเ่ ปดอยู 5. ครหู ยิบลกู บาศกออกมาทีละลูกจนหมดแลวคละกัน 6. ครูนาํ ลูกบาศกเ ขา ไปในกลองคร้ังละ 1 ลกู โดยเร่มิ ตนดว ยสีแดงช้นิ ใหญจ ับคสู ีและรปู รา ง 80 การจัดการเรยี นรูร ะดบั ปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

7. ปด กลอ งเพื่อใหเด็กแทรกตอลกู บาศกไ ดถกู ตอ ง 8. ครเู ชิญเดก็ ไดป ฏบิ ัตกิ จิ กรรม แบบฝกหัดท่ี 1 การนําเสนอบทเรยี น 1. ใหเ ดก็ เปดกลอ งลกู บาศก 2 ตวั แปร แลวนาํ ลูกบาศกอ อก 2. ครูคละลกู บาศก 3. ใหเ ด็กสรางลกู บาศกจ นถกู ตอ งสมบูรณ 4. ครแู ยกลกู บาศกอ อกครง่ึ หนงึ่ ในแนวตรงเพ่อื ใหท ราบวาเปน ลกู บาศกสองตวั แปร 5. ครเู ชญิ ชวนใหเดก็ สรางลูกบาศกสองตัวแปร แบบฝกหัดท่ี 2 การนําเสนอบทเรยี น 1. ใหเ ด็กเปดกลอ งลกู บาศก 2 ตวั แปร แลว นําลกู บาศกออก 2. ครูคละลูกบาศก 3. เดก็ สรางลกู บาศก 2 ตัวแปร ทลี ะชนิ้ นอกกลอ งเสรจ็ แลวคละลูกบาศก 4. วางลกู บาศกทับซอ นกันในกลอง 5. ปด กลอ งแลว เดก็ นําไปวางไวท ีเ่ ดมิ 4. การประเมินผล ปฏบิ ัติกจิ กรรมไดถ กู ตอง 5. อายุ 3 ขวบครึง่ ขึน้ ไป 81การจดั การเรียนรูร ะดบั ปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมท่ี 10 กระดานขรุขระและเรียบ 1. สือ่ /อปุ กรณ 1. กระดานรูปสเ่ี หลยี่ มผืนผา แบง ผืนผิวเปน 2 สวน คอื ครง่ึ หนงึ่ ขัดมนั อีกคร่งึ หน่ึงปด ดว ยกระดาษทราย 2. กระดานรปู สเี่ หลย่ี มผนื ผา แบง พน้ื ผวิ เปน 10 สว น หา สว นขดั มนั อกี หา สว นปด ดว ยกระดาษทราย สลบั กนั ไป 3. เหยือกนา้ํ 1 เหยอื ก 4. ผา เช็ดมือ 1 ผืน 5. จานลองนา้ํ ลา งมือ 1 จาน 2. วตั ถปุ ระสงค 1. การแยกแยะพ้ืนผวิ ตาง ๆ ดว ยผสั สะประสาท 2. เพอ่ื ฝก ฝนผสั สะสัมผสั 3. การเตรยี มความพรอมพืน้ ฐานของการเขยี นและการเคล่ือนไหวเบอ้ื งตนในการลากมือ 4. ฝก การสมั ผัสเบา ๆ เพอื่ เดก็ จะไดจบั ดนิ สอเบา ๆ เพราะเดก็ จะจบั ดนิ สอแรงมาก 3. วิธีจัดกจิ กรรม 1. เชญิ ชวนเด็กมากับครนู ะคะ วนั นค้ี รูมีส่งิ ใหมนา สนใจใหท ํานะคะ 2. นําเด็กไปท่ีตอู ปุ กรณ แนะนําอปุ กรณย กใหด แู ละวางลง ครูเปดโอกาสใหเดก็ ไดเลือกอปุ กรณชวยกนั ถอื มาทโ่ี ตะ 3. เริ่มยกอปุ กรณต าง ๆ วางบนโตะ และบอกชื่ออุปกรณแตล ะอยาง 82 การจดั การเรยี นรูร ะดบั ปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

4. ใหเ ดก็ เทน้ําจากเหยือกใสจานลา งมอื โดยจุม ปลายนิว้ มอื ขวา แลวเช็ดผาเช็ดมืออยา งพิถีพิถนั และเรม่ิ ทํา มอื ซา ยดว ยเหมอื นกนั การกระตนุ ปลายนว้ิ เพอื่ ใหป ระสาทรบั รดู ขี น้ึ ครทู าํ ทงั้ สองมอื และใหเ ดก็ ทาํ ดว ย ทงั้ สองมอื เหมอื นกนั เสรจ็ แลวขยบั เหยือก ผาเชด็ มอื และจาน ไปอยทู ีด่ า นขวามอื สดุ เพ่อื ใหทาํ งานสะดวก 5. ครูนาํ เสนอกระดานขรขุ ระและเรียบ โดยใชมอื ซา ยจับขอบดานซา ยใหมัน่ คง ใชม ือขวาลบู ใหเดก็ ดูกอน ท้ัง 2 ดาน 2-3 รอบ ตอ ไปลูบไปพูดไปดว ยวา เรยี บ ขรขุ ระ 6. ครูสัมผสั อีกคร้งั 1-2 รอบ ตอ ไปจะพูดขณะสัมผสั เพ่ือจะสอนภาษา 3 ขัน้ ตอนไปดวย โดยใหสอนพูด เรยี บกอน เพือ่ ใหเดก็ สัมผัสไดจรงิ ๆ ครสู ลับดา นกระดาน 7. ครเู ปลีย่ นไปใชก ระดานแผน ท่ี 2 นํามาวางตรงหนาครูและใชผา ผูกตาก กอนจะผกู ตาใชก ระดาษทชิ ชูลอง กอนปดตา เพอื่ กนั การติดเชื้อโรคจากตา 8. ครูใชม อื ซา ยจับกระดานแผนที่ 2 ใหม่ันคง ใชน ิว้ ของมอื ขวาคือนิ้วชี้ นิว้ กลาง ลูบกระดาน ลูบ 2-3 ครง้ั แลว เร่ิมพดู ช่อื เรยี บ ขรขุ ระ และใหเดก็ กระทาํ บาง 9. ใหเด็กทาํ ไดต ามความพอใจ เสรจ็ แลวทาํ ความสะอาดจานลางมือเกบ็ เขา ที่ ภาษา ภาษาที่ใชช อ่ื กระดาน เรียบ และขรุขระ 4. การประเมินผล 1. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมไดถูกตอ ง 2. บอกภาษาและเขา ใจความหมาย ชื่อของกระดานเรียบและขรขุ ระ 5. อายุ ประมาณ 3 ปขนึ้ ไป 83การจดั การเรยี นรรู ะดบั ปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมท่ี 11 แถบอณุ หภูมิ 1. ส่ือ/อุปกรณ กลอ งบรรจแุ ถบวตั ถุ 4 คู ท่ีมีคณุ สมบัตขิ องการนาํ ความรอนตา งกัน เชน ไม ใยสงั เคราะห หินออ น เหล็ก 2. วัตถุประสงค 1. การฝก ฝนประสาทรบั รูของอณุ หภูมิ 2. การแยกแยะอณุ หภมู ิ 3. วิธจี ัดกจิ กรรม 1. ครูเชญิ เด็กไปทชี่ ้นั วางอุปกรณ และแนะนําวา น่คี อื กลอ งแถบอณุ หภมู ิ 2. ครใู หเ ดก็ ถอื กลองแถบอุปกรณม าวางบนโตะ แลวนั่งลง ครูนง่ั ดา นขวาของเดก็ 3. ครูแนะนาํ แถบอุณหภมู ิในกลอ ง แลววางครั้งหนงึ่ ทางซาย คร้ังหน่งึ ทางขวามือ 4. ครูสาธิตการนําขอ มอื ทง้ั สองดา นทัง้ ดา นซายและขวาคว่าํ ขอมอื ลงแลวถูตรงหนาขาเหมอื นเขา เลก็ นอย 5. ครูใชข อมอื ถแู ลวมาวางบนแถบอุณหภมู ิ ขอมอื ซา ยสมั ผสั แผน ดา นซา ย 6. ขอมือขวาสัมผัสแถบทางดานขวามอื 7. ครูคอ ย ๆ จับคูก ันจากการสัมผสั ขา งบนเปน คอู ยางระมดั ระวัง 8. จบั คูเสรจ็ แลว ครมู าสัมผัสในแตล ะคู 9. ครูเชิญชวนเดก็ ปฏิบัตกิ ิจกรรม ระหวางเด็กปฏิบัติกจิ กรรม ครสู งั เกตหา ง ๆ เม่อื พบวาเด็กมคี วามสนใจท่ี จะปฏบิ ตั นิ อ ยลง ครจู ึงยตุ ิกจิ กรรม 10. เดก็ เกบ็ อุปกรณเขากลองใหเขา ท่ี เหมอื นเดิม แลวนาํ ไปเก็บไวท่ชี ้นั ทเี่ ดมิ 84 การจัดการเรียนรูระดบั ปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

ภาษา ช่ือของอุปกรณ เชนไม แกว ผา สกั หลาด อลูมเิ นียม ไมก อ ก หินออน 4. การประเมนิ ผล 1. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมไดถกู ตอง 2. บอกภาษาและเขา ใจความหมาย ชอื่ ของอปุ กรณ เชน ไม แกว ผา สกั หลาด อลูมิเนยี ม ไมก อก หินออน 5. อายุ 3 ขวบครึ่ง ถึง 4 ขวบ 85การจัดการเรยี นรูระดับปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมที่ 12 แถบนํา้ หนกั 1. ส่อื /อุปกรณ 1. กลอ งแถบน้าํ หนกั แบง เปน 3 ระดับดวยกนั ในกลอ ง ขัดมันหรอื ขดั เงา แตล ะชุดมีสีและนา้ํ หนกั ตา งกันคอื เบา = 20 กรมั กลาง = 30 กรัม หนัก = 40 กรัม 2. พรมหรอื เสอ่ื 1 ผนื 2. วตั ถปุ ระสงค การใชประสาทสมั ผสั แยกแยะน้ําหนกั 3. วธิ ีจดั กิจกรรม 1. ครเู ชิญเด็กไปทีช่ ้นั วางกลอ งแถบนํ้าหนกั 2. ครูใหเด็กถือกลอ งแถบน้ําหนกั วางไวท่โี ตะ ครูนัง่ ลงทางขวามือของเดก็ 3. ครูใหเ ด็กหยบิ แถบนา้ํ หนักมาวางบนโตะ 4. ครสู าธติ วธิ กี ารชง่ั นาํ้ หนกั โดยใชบ รเิ วณปลายนว้ิ มอื ทงั้ 4 นว้ิ ของมอื ขวาและมอื ซา ย มนี ว้ิ ชี้ นวิ้ กลาง นว้ิ นาง นิ้วกอ ย ถือแถบน้าํ หนัก 5. ครูสาธติ การเหยียดแขนตรงไปขา งหนา ยกมือขวาและมือซา ยขึน้ พอประมาณ โดยยกสลบั ขาข้นึ และลง เขาเหมอื นการคาดคะเนนา้ํ หนกั 6. ครูแยกแถบนํ้าหนักออกมาซอนรวมกัน ถานาํ้ หนกั ของแถบน้าํ หนักเทา กัน 86 การจัดการเรียนรรู ะดบั ปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

7. ครนู าํ แถบนา้ํ หนกั ท่ีวางซอ นเรียงกนั มาคละกันใหม 8. ครูนาํ ผามาปดตา แลว เชญิ ชวนใหเด็กปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 9. ครูเปดผา ปด ตา แลวเชญิ ชวนใหเด็กปฏบิ ตั ิกิจกรรม 10. ระหวา งทเ่ี ดก็ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ครสู งั เกตเดก็ ปฏบิ ตั หิ า ง ๆ เมอื่ พบวา เดก็ มคี วามสนใจนอ ยลง จงึ หยดุ กจิ กรรม ภาษา หนัก เบา กลาง กจิ กรรมตอ เนอ่ื ง ใหเ ดก็ ชัง่ น้าํ หนกั โดยจบั คู 1. หนกั ทีส่ ุด หนักปานกลาง 2. ปานกลาง เบาท่ีสดุ 4. การประเมินผล 1. ปฏิบตั ิกจิ กรรมไดถูกตอง 2. บอกภาษาและเขาใจความหมาย ช่ือแถบน้าํ หนักหนกั เบา กลาง 5. อายุ 3 ขวบครึ่ง ถึง 4 ขวบ 87การจัดการเรยี นรูระดับปฐมวัยในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

กจิ กรรมที่ 13 การจดั กลมุ 1. สื่อ/อุปกรณ 1. ถาดทีบ่ รรจุถวยเลก็ 3 ถว ย 2. ถวยที่ 1 บรรจกุ ระดมุ รูปกลบี ดอกไม 6 กลีบ 3. ถวยท่ี 2 บรรจุกระดมุ รปู กลีบดอกไม 6 กลบี 4. ถวยที่ 3 เปน ถว ยเปลา 5. ผาปด ตา 2. วตั ถุประสงค การพฒั นาประสาทกลามเน้อื 3. วิธจี ดั กิจกรรม 1. ครูเชญิ เด็กไปทช่ี ัน้ วางอุปกรณ แลว บอกเด็กวาวนั น้ีครูมีกิจกรรมทีส่ นกุ และต่ืนเตน มาเสนอนะคะ 2. ครคู ลํากระดุมรปู กลีบดอกไม 6 กลบี แตล ะเมด็ อยางละเอยี ดแลวสง ใหเ ด็กดูคร้งั ละ 1 เมด็ จนกวาจะ หมดถว ยที่ 1 3. ครหู ยิบกระดมุ รูปกลบี ดอกไม 4 กลีบแตล ะเม็ดขึน้ มาสํารวจโดยการคลําหยบิ จบั และใชสายตาสาํ รวจ แลว สงใหเดก็ ไดหยิบจับ คลาํ สาํ รวจ จนหมดถว ยที่ 2 4. ครนู ํากระดุมท้ัง 2 ถวย ใส ลงในถวยวา งเปลาถว ยท่ี 3 เหลอื ไวอยา งละ 1 เมด็ เปน แบบ 5. ครนู ําผาปด ตามาปด ตาแลวสัมผสั กระดุมแตล ะตัวถา มี 6 กลีบเอาไวในถวยท่ี 1 มี 4 กลีบเอาไวในถวยที่ 2 ครูทําแบบนี้จนกระดุมหมดถว ย แลว เปดยา ยยกมาออกมา 88 การจดั การเรยี นรูร ะดับปฐมวัยในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

6. ครสู าํ รวจดว ยสายตาวา กระดมุ 2 ถว ย นน้ั ทถ่ี กู สมั ผสั แลว แยกแยะถกู ตอ งหรอื ไมแ ลว ใหเ ดก็ ไดร ว มตรวจสอบ 7. ครเู ชิญชวนใหเด็กไดปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามความพอใจ 8. เดก็ สัมผัสเสรจ็ แลวเก็บอปุ กรณเขา ท่ี 9. ครูควรเปล่ยี นวตั ถุในถวยตามสมควร ภาษา การใหชอื่ ของวตั ถุทีน่ ํามาแยกประเภท เชน กระดุมรูปดอกไม 4. การประเมินผล 1. ปฏบิ ัติกิจกรรมไดถกู ตอง 2. บอกภาษาและเขาใจความหมาย ชื่อของวัตถุท่นี าํ มาแยกประเภท เชน กระดุม 5. อายุ 3 ขวบครึ่งถงึ 4 ขวบ 89การจัดการเรียนรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยใชแนวทางมอนเทสซอริ

กิจกรรมท่ี 14 กลอ งเสียง 1. ส่ือ/อปุ กรณ กลอ งสองกลองบรรจุกระบอกชุด แตล ะชุดมีจาํ นวน 6 กระบอก ชุดหนึ่งมีฝาสีแดงอกี ชุดหนงึ่ มฝี าสนี ํา้ เงิน เมอ่ื เขยากระบอกแตละอันจะมเี สยี งตางกันจากดงั จนคอยสดุ เสียงในกระบอก ชดุ แดงเปนคูกบั ชุดน้ําเงิน 2. วตั ถุประสงค 1. เพอ่ื พัฒนาโสตประสาทโดยฝก ใหเ ด็กรจู ักความแตกตางของเสยี ง 2. เตรียมความพรอ มสาํ หรับดนตรใี นอนาคต 3. วิธีจัดกจิ กรรม 1. ครเู ชิญเดก็ ไปท่ีวางชั้นอุปกรณแลวบอกวาน้คี อื กลอ งเสยี ง 2. เด็กถือกลองเสียงมาท่ีโตะ นัง่ บนเกาอ้ี ครนู ั่งทางขวามือของเดก็ 3. เด็กเปด กลองสแี ดงออกกอ น หรือนํ้าเงินกอนกไ็ ด 4. ครบู อกวธิ ีจับขวดออกมาโดยใชน้วิ ท้งั 5 นวิ้ มอื ขวาจบั สวนกลางของขวดแลว นาํ ขวดมาวางขางกลอ ง 5. ครเู ตรยี มเสยี งทีด่ ังทีส่ ดุ และเบาท่ีสดุ มาวางไว 6. ครูใหเ ด็กเขยา ขวดทีห่ ซู า ย 2 ครง้ั และหูขวา 2 ครั้ง โดยหมนุ ขวดที่ชเู ลอื กมาจากลมุ สีแดง 7. เมือ่ เด็กลองเขยา สีแดงแลว นําขวดวางไว แลวลองเขยาขวดสีน้ําเงนิ ใหเสยี งดงั เหมือนสแี ดง ถา เสียงดัง เหมอื นกันใหว างขวดสีแดงและสีนํ้าเงนิ คูกนั ถาเสยี งดังไมเหมือนกนั ใหแ ยกออกวางไวท างขวามือดานลา ง 8. ครูนําขวดสีแดงและสนี ้ําเงนิ มาคละกนั แลวใหเ ดก็ ปฏิบัตติ ามขอ 7 จนกวาจะหมด 90 การจัดการเรยี นรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ

9. เมอ่ื หมดแลวครูและเดก็ รวมกนั ทดสอบเสียงอีกครง้ั หนง่ึ วาที่จบั คูเ อาไวเ สียงจะดงั เหมอื นกันหรือไม 10. ครูนําขวดสแี ดงและสนี ํ้าเงนิ มาคละกนั แลวเชิญชวนใหเ ดก็ ฝกปฏบิ ตั ริ ะหวา งท่ีเด็กปฏบิ ัตคิ รคู อยสงั เกต วาถาเดก็ มคี วามสนใจนอยลงก็หยุดกจิ กรรมแลว ใหเด็กนาํ ขวดใสก ลองเกบ็ เขาท่ีใหเหมือนเดิม แลว นาํ อปุ กรณไปวางไวท ่ี เดมิ ของครู การเตรียมอุปกรณ 1. ครูเลือกอปุ กรณ เบาสดุ ไปดงั สดุ 2. ครกู า X ไวท ีก่ ลอ งเพือ่ เปนสญั ลกั ษณเ สยี งดงั – คอ ย 3. เมอื่ เด็กนํามาใหเ อาวา งคกู นั 4. ครูเขยา ขวดสีแดง แลว บอกวา ใหไปเอาเสยี งดังกวานี้ 5. เมื่อเดก็ ตรวจสอบเสียงทตี่ อ งการแลวจงึ นํามาใหค รู 6. ครูปฏบิ ตั ิแบบนีไ้ ปเรอื่ ยๆ โดยใชคาํ สั่งดงั น้ี เบากวา น้ี ดังกวา นี้ เบาทส่ี ดุ 7. ครสู งั เกตเห็นวา เดก็ มคี วามสนใจนอยลงจงึ ยุตเิ กม กิจกรรมตอ เน่ือง การไลระดับเสียงจากเบาสดุ ไปดงั สุด การนําเสนอบทเรียน 1. ครเู ชิญเดก็ ไปทช่ี ั้นวางอปุ กรณ แลวบอกวานี้คอื กลองเสียง 2. ครนู ําขวด 6 ขวด สีแดงหรือนํ้าเงนิ กไ็ ด ใหเด็กฟงแลว แยกเอาไวโดยครูนําขวดมาคละกันกอ น 3. ใหเ ดก็ ดงั จากเบาสดุ ไปดงั สดุ แลว นาํ มาวางเรยี งกนั ความแนวนอน โดยเรยี งจากขวดทเ่ี บาสดุ ไปยงั ขวดทด่ี งั สดุ 4. เสรจ็ แลว ตรวจสอบการดงั เสยี งอีกครงั้ ภาษา ภาษา ดัง-เบา 4. การประเมินผล 1. ปฏิบัตกิ ิจกรรมไดถ กู ตอ ง 2. เดก็ สามารถตรวจสอบอปุ กรณไดดวยตนเอง 5. อายุ 3 ขวบครึง่ ถงึ 4 ขวบ 91การจดั การเรยี นรูระดบั ปฐมวยั ในโรงเรยี นขนาดเล็ก โดยใชแ นวทางมอนเทสซอริ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook