ก
ก สารบัญ หน้า สารบญั ............................................................................................................................................................................................................................................. ก แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง ระบบประสาท.....................................................................................................................................................................1 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง ประเภทของเซลล์ประสาท และการเกดิ กระแสประสาท .............................................................................15 แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง การถา่ ยทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท และศูนยค์ วบคุมระบบประสาท .....................26 แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง การทำงานของระบบประสาท..................................................................................................................................33 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การเคล่อื นทีข่ องส่ิงมชี ีวติ ...........................................................................................................................................41 แผนการจดั การเรยี นรู้ เรือ่ ง ระบบโครงกระดกู และข้อตอ่ .....................................................................................................................................48 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอื่ ง ระบบกล้ามเนื้อ............................................................................................................................................................... 55 แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง โครงสรา้ งและการทำงานของกลา้ มเน้ือโครงร่าง .............................................................................................61 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง ระบบสืบพนั ธุ์ของสตั วแ์ ละมนษุ ย์เพศชาย ..........................................................................................................68 แผนการจดั การเรียนรู้ เรื่อง การสรา้ งเซลล์อสจุ ิและระบบสบื พนั ธุ์เพศหญงิ .................................................................................................78 แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง การสรา้ งเซลลส์ บื พันธเุ์ พศหญิงและการปฏิสนธิ..............................................................................................87 แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง การเจริญเติบโตของสัตว์.............................................................................................................................................94 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การเจรญิ เติบโตของมนษุ ย์......................................................................................................................................101 แผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง ระบบตอ่ มไรท้ อ่ ...........................................................................................................................................................106 แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง ฮอร์โมนจากตอ่ มใต้สมอง ไฮโพทาลามัส และตอ่ มไทมัส...........................................................................115 แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง ฮอร์โมนจากตบั ออ่ น ตอ่ มไทรอยด์ ตอ่ มพาราไทรอยดแ์ ละต่อมหมวกไตส่วนใน ............................126 แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอื่ ง ฮอรโ์ มนตอ่ มหมวกไตส่วนนอก ฮอร์โมนจากอวยั วะเพศ และรก...........................................................137 ภาคผนวก ก แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้....................................................................................................................................................................145 เกณฑป์ ระเมินทกั ษะการสร้างผงั กราฟกิ โดยใชเ้ กณฑ์การประเมินแบบรบู รคิ ส์...............................................................................146 เกณฑก์ ารประเมินการสรปุ บทเรียน โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบรบู รคิ ส์..........................................................................................148 เกณฑ์ประเมินทักษะการสรา้ งโปสเตอร์ โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบรูบริคส์ ..................................................................................149 เกณฑ์การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคด์ ้านความมุง่ มัน่ ในการทำงาน .......................................................................................150 โดยใช้เกณฑก์ ารประเมนิ แบบรบู ริคส์....................................................................................................................................................................150 เกณฑ์ประเมินทักษะการทำงานเป็นกลมุ่ โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ แบบรบู ริคส์................................................................................151
บนั ทกึ ขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรียนสรรพยาวทิ ยา อำเภอสรรพยา จังหวดั ชัยนาท ๑๗๑๕๐ ที่ วันที่ เดือน พ.ศ. 2563 เรื่อง ขออนญุ าตใชแ้ ผนการสอนรายวิชาชวี วทิ ยา 5 รหสั วิชา ว30255 เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวทิ ยา ตามที่ข้าพเจ้า นายเรวัตร อยู่เกิด ตำแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในการจัดการเรียนการสอน ภาคการศึกษาต้น ประจำปีการศึกษา 2563 รายวชิ าชีววทิ ยา 5 รหัสวิชา ว30255 ในการน้ีเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล พัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสงู ขน้ึ และเปน็ ไปตามเจตนารมณข์ องหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ข้าพเจา้ จึงไดจ้ ัดเตรียมการจัดการเรียนการสอนตามกระบวนการ และหลักวิชา โดยดำเนินการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเสร็จสมบูรณ์แล้ว จึงขออนุญาตใช้แผน การจดั การเรียนรู้ ดังรายละเอียดทแ่ี นบมาพรอ้ มนี้ จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพจิ ารณา (นายเรวตั ร อยู่เกิด) ตำแหน่ง ครู กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความคดิ เห็นหัวหน้ากล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (นางศิริลกั ษณ์ ไทยพงษ์ธนาพร) หวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความคิดเห็นรองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (นางสาวเครอื วัลล์ เทย่ี งพลับ) รองผู้อำนวยการโรงเรยี นสรรพยาวิทยา ความคิดเหน็ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (นายสมชาย บษุ บงค์) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสรรพยาวิทยา
โรงเรยี นสรร กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทย แผนการจดั การเรยี นร ภาคการศึกษาตน้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/พ และ 6/1 สาระชีววทิ ยา 4. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์ และมนษุ ย์ การหายใจ และการแล ถา่ ย การรบั รู้ และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธ์ุ และกา ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ ม.6/1 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้าง และหน้า กระดูกสนั หลงั ม.6/2 อธิบายเกยี่ วกับโครงสรา้ ง และหน้าที่ของเซลลป์ ระสาท
1 รพยาวิทยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รู้ เรื่อง ระบบประสาท รายวิชา ชวี วิทยา5 ว30255 ผู้สอน นายเรวัตร อยเู่ กิด ลกเปลย่ี นแก๊ส การลำเลียงสาร และการหมนุ เวียนเลอื ด ภมู ิคมุ้ กันของร่างกาย การขยั ารเจริญเติบโต ฮอรโ์ มน การรักษาดุลยภาพ และพฤตกิ รรมของสัตว์ รวมท้ังนำความรู้ าที่ของระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย แมลง และสัตว์มี
วตั ถุประสงค์การ เนื้อหาสาระ กิจ เรยี นรู้ นกั เรยี นสามารถ การตอบสนองของสง่ิ มชี วี ติ เซลล์เดยี ว ขนั้ นำ (10 นา 1. ระบุโครงสร้างที่ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น พารามีเซียม 1. ครูให้นักเร เกี่ยวขอ้ งกบั การ สามารถเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีแสงสว่าง ตนเอง จากน้ันใช ตอบสนองของพารามี อุณหภูมิ หรือสารเคมีได้ ใต้ผิวของเซลล์ 1.1 หลังจาก เซียมได้ พารามเี ซยี มมเี ส้นใยเชื่อมโยงระหว่างโคน นกั เรยี นเกดิ ความ 2. บอกระบบ ของซิเลีย เรียกว่า เส้นใยประสานงาน 1.2 เพราะเห ประสาททเ่ี กี่ยวข้องกบั (Coordinating fiber) (ตอบตามความ การตอบสนองของสตั ว์ การตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูก พยายามนำเข้า ไม่มีกระดกู สนั หลังได้ สันหลงั ประสาทรบั ความ 3. บอกองค์ประกอบ ฟองน้ำ เซลล์แต่ละเซลล์ของฟองน้ำมี 1.3 นักเรียน ของเซลล์ประสาทได้ การรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการ การทำงานของ 4. ระบชุ นิดของเซลล์ ประสานงานระหวา่ งเซลล์ ประสาท) ประสาทท่ีแบ่งตามการ ไฮดรา มีร่างแหประสาท(Nerve net) 1.4 นักเรียน แยกของเสน้ ใยประสาท ประกอบด้วยเซลล์ประสาทเชื่อมโยงกัน ของส่ิงมชี ีวิตมีกล จากตัวเซลลป์ ระสาทได้ เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะเกิดกระแส ข้นั สอน (80 5. ระบุชนดิ ของเซลล์ ประสาทเคลื่อนที่ไปตามเซลล์ประสาทท่ี 1. ครแู สดงภาพ ประสาททแี่ บ่งตาม สานกันเป็นร่างแหจากจุดที่ถูกกระตุ้น พารามเี ซยี ม หน้าทีไ่ ด้ และกระจายไปทั่วทั้งตัว ทำให้ไฮดรา สามารถรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มา กระต้นุ ได้ พลานาเรีย มีเซลล์ประสาทรวมตัวกัน ภาพที่ 1 ภาพแส เป็นกลุ่มโดยเฉพาะบริเวณหัว เรียกกลุ่ม
2 จกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และอปุ กรณ์การ การวดั และการประเมินผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน าท)ี 1. งานนำเสนอ 1. การมี 1. การ รียนลองใช้มือหยิกที่แขนของ เรือ่ ง ระบบประสาท สว่ นรว่ ม ประเมนิ การ ช้คำถามดงั น้ี 2. ใบงาน เรอื่ ง และตอบ ตอบคำถาม กหยิกไปที่แขนของตนเองแล้ว ระบบประสาท คำถามใน ในชน้ั เรียน มรูส้ ึกอยา่ งไร (เจบ็ ) ช้ันเรยี น 2. การ หตุใดนักเรียนจึงรู้สึกเช่นน้ัน 2. การ ประเมินการ มคิดเห็นของนักเรียน โดยครู ตอบคำถาม ตอบคำถาม สู่คำตับที่ว่าใต้ผิวหนังมีเซลล์ ลงในใบงาน ลงในใบงาน มรสู้ กึ อยู่) เรอ่ื ง ระบบ เรอ่ื ง ระบบ นคิดว่าการที่เรารู้สึกเจ็บนั้นเป็น ประสาท ประสาท งระบบใดในร่างกาย (ระบบ ถกู ตอ้ งอยา่ ง นอ้ ยร้อยละ นทราบหรือไม่ว่าระบบประสาท 80 ลไกการทำงานอย่างไรบา้ ง นาท)ี พการเคล่อื นทีห่ นอี ุณหภูมสิ ูงของ สดงการเคลือ่ นท่หี นอี ณุ หภูมสิ ูงของ พารามเี ซยี ม
วตั ถุประสงคก์ าร เนือ้ หาสาระ กจิ เรยี นรู้ ของเซลล์ประสาทนี้ว่า ปมประสาท จากน้นั ครใู ชค้ ำ (Nerve ganglion) หรืออาจจะเรียกว่า 1.1 จากภาพ สมอง (Brain) นอกจากน้ยี งั มีเส้นประสาท พารามีเซียมเคล (Nerve cord) ขนานไปตามด้านข้างของ (เคลื่อนท่ีจากบร ลำตัวจากหัวจรดท้ายลักษณะแบบ อณุ หภูมติ ำ่ ) ขั้นบันได(Ladder type) เส้นประสาท 1.2 นักเรียน ดังกล่าวเชื่อมโยงติดกันด้วยเส้นประสาท มีเซียมใช้ในการเ ที่วนรอบลำตัวที่เรียกว่า วง อย่างไร (ซิเลยี ก แหวนประสาท(Nerve ring) 1.3 นกั เรยี นท ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย และแมลง มีปม เลียในพารามเี ซีย ประสาทขนาดใหญ่ขึ้น ทำหน้าที่เป็น สมองอยู่ด้านหัว นอกจากนี้ยังมีปม ประสาทตามปล้องของลำตัวและมี 2. ครูแสดงภ เส้นประสาทเชื่อมต่อกับปมประสาทที่มี ตอบสนองของพา อยู่ตามปล้อง แมลงมีปมประสาทหลาย ปมเรียงตวั ตามแนวยาวของลำตวั ทางด้าน ทอ้ ง ภาพที่ 2 ภาพแสด การตอบสนองของสัตว์มีกระดูกสัน จากนั้นครใู ชค้ ำ หลัง คนและสัตว์มีกระดูกสันหลังที่มีระบบ ประสาทพัฒนามาก เซลล์ประสาทเกือบ
3 จกรรมการเรียนรู้ สอ่ื และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ ำถาม ดังนี้ พนักเรียนคิดว่าการเคลื่อนที่ของ ื่อนที่จากบริเวณใดไปบริเวณใด ริเวณที่มีอณุ หภูมิสูงไปบริเวณที่มี นจำได้หรือไม่ว่าโครงสร้างทีพ่ ารา เคลื่อนที่คืออะไร และเกิดขึ้นได้ การโบกพดั ) ทราบหรอื ไม่วา่ การโบกพัดของซิ ยมถกู ควบคุมดว้ ยอะไร าพโครงสร้างที่เกี่ยวกับการ ารามีเซียม ดงโครงสร้างท่เี ก่ียวกับการตอบสนอง ของพารามเี ซยี ม ำถาม ดงั น้ี
วตั ถุประสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ทั้งหมดรวมกันอยู่ที่ส่วนหัว ซึ่งมีขนาด 2.1 จากภาพ ใหญ่และเจริญมาก มีการพัฒนาไปเป็น เลียถูกควบคุม สมอง ส่วนที่ทอดยาวตามลำตัวทางด้าน ประสานงาน) หลังเรียกว่า ไขสันหลัง (Spinal cord) ครูให้ความรู้เก สมองและไขสันหลังทำหน้าที่เป็น งานนำเสนอ เรอ่ื ง ศูนย์กลางของระบบประสาท โดยมี 3. ครูแสดงภา เส้นประสาทแยกออกมาจากสมองและ โดนสัมผัส ไขสันหลงั เซลลป์ ระสาท รา่ งกายคนมเี ซลลป์ ระสาท(Nerve cell) หรือนิวรอน(Neuron) จำนวนมาก ทำ ภาพท่ี 3 ภาพแ หน้าทเ่ี กยี่ วกบั การรับร้แู ละตอบสนอง แต่ จากนน้ั ครูใชค้ ำ ละเซลล์อาจมีการเชื่อมโยงเกี่ยวพันกับ 3.1 จากภาพ เซลลป์ ระสาทอืน่ เป็นพัน ๆ เซลล์ นับเป็น กิ้งกือเกิดจากอ เรื่องน่าอัศจรรย์ที่เซลล์จำนวนมาก นักเรียน ครูพยา สามารถทำงานเกี่ยวกับการส่งสัญญาณ การตอบสนองตอ่ ระหว่างสิ่งเร้าภายนอกกับภายในร่างกาย 3.2 ถ้าหากแ ได้อยา่ งมรี ะบบ มีกระดูกสันหลงั แ เซลล์ประสารทประกอบด้วยส่วนสำคญั คิดว่ากิ้งกือจัดอ 2 ส่วนคือ ตัวเซลล์(Cell body) และเส้น สนั หลงั ) ใยประสาท(Nerve fiber) ตัวเซลล์คล้าย
4 จกรรมการเรยี นรู้ สือ่ และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวัด การประเมนิ พนักเรยี นคิดว่าการโบกพัดของซิ มโดยโครงสร้างใด (เส้นใย กี่ยวกับเส้นใยประสานงานโดยใช้ ง ระบบประสาท าพการตอบสนองของกิ้งกือเม่ือ แสดงการตอบสนองของกิ้งกือเม่ือ โดนสัมผัส ำถาม ดงั น้ี พนักเรียนคิดว่าการหดตัวของ อะไร (ตอบตามความเห็นของ ายามนำเข้าสู่คำตอบที่ว่าเกดิ จาก อการสัมผัส) แบง่ สตั ว์ออกเป็น 2 ชนิดคอื สัตว์ และไมม่ กี ระดกู สันหลัง นักเรียน อยู่ในกลุ่มใด (สัตว์ไม่มีกระดูก
วตั ถุประสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กจิ เรยี นรู้ ก ั บ เ ซ ล ล ์ ท ั ่ ว ไ ป ค ื อ ป ร ะ ก อ บ ด ้ ว ย 3.3 นักเรียนค ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียส ตัวเซลล์มี อน่ื มกี ารตอบสนอ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4. ครแู สดงรูปฟ 4-25 ไมโครเมตร ภายในมีออร์แกเนลล์ คือไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติ คิวลัม และกอลจิคอมเพล็กซ์จำนวนมาก ส่วนใหญม่ เี ส้นใยประสาทซ่ึงเป็นส่วนของ เซลล์ที่ยื่นออกมาจากตัวเซลล์มีลักษณะ ภาพ เป็นแขนงเล็ก ๆ เส้นใยประสาทที่ จากนั้นครูใช้คำ นำกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์เรียกว่า 4.1 จากภาพ เดนไดรต์ (Dendrite) เส้นใยประสาทท่ี 4.2 สิ่งมีชีวิต นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ หรอื หลายเซลล์ ( เรียกว่า แอกซอน(Axon) เซลล์ประสาท 4.3 สิ่งมีชีวิ แต่ละเซลล์จะมีเดนไดรต์ออกมาจากตัว หรือไม่ เพราะ เซลลห์ นง่ึ เส้นใยหรือหลายเสน้ ใยหรือบาง เพราะ เซลล์แต ชนิดอาจไม่มีเดนไดรต์ ส่วนแอกซอนมี รว่ มกัน) 4.4 นักเรียน เพยี งเสน้ ใยเดยี วเท่านั้น กรณีที่เส้นใยประสาทยาว ซึ่งมักจะเปน็ การตอบสนองต่อ เส้นใยประสาทของแอกซอนจะมีเย่ือไมอี ครูให้ความรู้เกี่ ล ิ น ( Myelin sheath) ม า ห ุ ้ ม เ ส ้ น ใย โดยใช้งานนำเสน ประสาท เยื่อไมอีลินมีสารจำพวกลิพิด 5. ครแู สดงภาพ เป็นองค์ประกอบเม่ือตรวจดูภาคตัดขวาง
5 จกรรมการเรยี นรู้ สือ่ และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน คิดว่าสัตว์มีกระดูกสันหลังชนิด องตอ่ สงิ่ เรา้ หรอื ไม่ อย่างไร ฟองน้ำ พท่ี 4 ภาพแสดงฟองน้ำ ำถาม ดงั นี้ พคือส่งิ มชี วี ติ อะไร (ฟองน้ำ) ตดังกลา่ วเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (หลายเซลล์) ตดังกล่าวมีเนื้อเยื่อที่แท้จริง ะเหตุใด (ไม่มีเนื้อเยื่อที่แท้จริง ต่ละเซลล์ไม่ได้ทำงานประสาน นคิดว่าสิ่งมีชีวิตดังกล่าว มีกลไก อสิง่ เรา้ อย่างไร ยวกับการตอบสนองของฟองนำ้ นอ เรอื่ ง ระบบประสาท พไฮดรา
วตั ถุประสงคก์ าร เนอ้ื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ของเยอ่ื ไมอีลินดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์พบว่า เยื่อไมอีลินเป็นส่วนหนึ่งของเยื่อหุ้มเซลล์ ของเซลล์ชวันน์ ส่วนของแอกซอนตรง บริเวณรอยต่อระหว่างเซลล์ชวันน์แต่ละ เซลล์เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ภาพ เรียกว่า โนดออฟแรนเวียร์(Node of จากนนั้ ครูใช้คำ ranvier) 5.1 ส่งิ มีชวี ิต เ ซ ล ล ์ ป ร ะ ส า ท จ ำ แ น ก ต า ม ห น ้ า ท ี ่ ไ ด้ 5.2 นกั เรียนค 3 ชนดิ ได้แก่ เซลล์ประสาทรบั ความรู้สึก หรือไม่ (ม)ี เซลล์ประสาทสั่งการ และเซลล์ประสาท ประสานงาน 5.3 นักเรียน ของไฮดราเปน็ อย เซลลป์ ระสาทรบั ความรูส้ ึก 6. ครูแสดงภาพ (Sensory neuron) เป็นเซลล์ประสาท ท ี ่ ร ั บ ก ร ะ แ ส ป ร ะ ส า ท จ า ก ห น ่ ว ย รั บ ความรสู้ กึ แล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไป ยังเซลลป์ ระสาทส่ังการ โดยอาจผ่านเซลล์ ประสาทประสานงาน หรอื ไมผ่ า่ นกไ็ ด้ ตัว ภาพ เซลล์ประสาทรับความรู้สึกอยู่ที่ปม ประสาทรากบนของไขสันหลัง จากนั้นครใู ชค้ ำ เซลล์ประสาทสั่งการ 6.1 เสน้ สีมว่ ง (สานกันไปมากระ
จกรรมการเรยี นรู้ 6 ส่อื และอุปกรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ พท่ี 5 ภาพแสดงไฮดรา ำถาม ดังนี้ ตทีเ่ หน็ ในภาพ คอื อะไร (ไฮดรา) คดิ ว่าส่ิงมีชีวิตน้ีมรี ะบบประสาท นทราบหรือไม่ว่าระบบประสาท ย่างไร พเส้นใยประสาทในไฮดรา พที่ 6 ภาพแสดงไฮดรา ำถาม ดังนี้ งในตัวไฮดรามีลักษะเป็นอย่างไร ะจายทั่วตวั )
วตั ถุประสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กิจ เรยี นรู้ (Motor neuron) มกั มแี อกซอนยาวกวา่ 6.2 นักเรียนท เดนไดรต์อาจยาวถึง 1 เมตร เพราะเซล์ อะไร ประสาทสั่งการที่อยู่ในไขสันหลังต้องส่ง ครูให้ความร กระแสประสาทออกจากไขสันหลังเพื่อ ( Nerve net) โ นำกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ระบบประสาท เช่น กลา้ มเน้อื แขนขาซ่ึงอย่หู ่างจากไขสัน 7. ครแู สดงภาพ หลังมาก เซลลป์ ระสาทประสานงาน (Association neuron) เซลล์ประสาท ชนิดนี้อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง จะ ภาพท เ ช ื ่ อ ม ต ่ อ ร ะ ห ว ่ า ง เ ซ ล ล ์ ป ร ะ ส า ท รั บ ความรู้สึกกับเซลลป์ ระสาทสั่งการ เส้นใย จากนนั้ ครูใชค้ ำ ประสาทของเซลล์ประสาทประสานงาน 7.1 สงิ่ มชี วี ิต อาจมีความยาวเพียง 4-5 ไมโครเมตร (พลานาเรยี ) เทา่ น้นั 7.2 นกั เรยี นค เซลลป์ ระสาทมรี ปู ร่างและจำนวนเส้นใย หรอื ไม่ (มี) ประสาทแตกต่างกันออกไปแล้วแต่ชนิด 7.3 นักเรียน และหน้าที่ของเซลล์ ถ้าใช้จำนวนเส้นใย ของพลานาเรยี เป ประสาทต่อหนึ่งเซลล์ประสาทเป็นหลัก 8. ครูแสดงภา อ า จ แ บ ่ ง เ ซ ล ล ์ ป ร ะ ส า ท อ อ ก เ ป็ น พลานาเรีย 3 ประเภท คือ เซลลป์ ระสาทข้ัวเดยี ว
7 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอุปกรณก์ าร การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ ทราบหรือไม่ว่าเส้นดังกล่าว คือ รู้เกี่ยวกับร่างแหประสาท ดยใช้งานนำเสนอ เรื่อง พพลานาเรีย ท่ี 7 ภาพแสดงพลานาเรีย ำถาม ดงั นี้ ตที่เหน็ ในภาพ คืออะไร คิดว่าสง่ิ มีชีวติ นี้มรี ะบบประสาท นทราบหรือไม่ว่าระบบประสาท ป็นอยา่ งไร าพเส้นประสาทแบบขั้นบันไดใน
วตั ถุประสงคก์ าร เน้ือหาสาระ กจิ เรยี นรู้ (Unipolar neuron) เปน็ เซลล์ประสาท ที่มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัว เซลล์เพียง 1 เส้นใย คือ แอกซอน ภาพที่ 8 ภาพแ เนื่องจากเซลล์ประสาทชนิดนี้มีไซแนปส์ มาเชื่อมต่อน้อยพบในเซลลป์ ระสาททีห่ ล่ัง จากนัน้ ครใู ชค้ ำ ฮอร์โมน เซลล์ประสาทในกลุ่มนี้ยังมี 8.1 เส้นสมี ว่ ง เซลลป์ ระสาทขว้ั เดียวเทียม (ขนาบไปที่ข้าง (Pseudounicellular neuron) ซึง่ เป็น ขน้ั บันได) เซลล์ที่มีเส้นใยประสาทแยกตัวออกมา 8.2 นักเรียน จากตัวเซลล์เป็นเส้นใยเดียวแล้วแตก คอื อะไร ออกเป็น 2 เส้นใย โดยเส้นใยหนึ่งตรง ปลายแตกเป็นเดนไดรต์ไปรับสัญญาณ ครูใหค้ วามร้เู กี่ย จากหน่วยความรู้สึกส่วนต่าง ๆ ของ และปมประสาทใ ร่างกายแล้วส่งผ่านไปยังเส้นใยอีก เส้น เรอื่ ง ระบบประส ใยหนึ่ง โดยไม่ผ่านตัวเซลล์แล้วไป 9. ครแู สดงภาพ ไซแนปส์กับเซลล์ประสาทประสานงานใน ไขสันหลัง เส้นใยประสาททั้งสองมี โครงสร้างเหมือกัน เรียกว่า แอกซอน ภาพที่ 9 ภาพ ได้แก่ เซลล์รับความรสู้ กึ ทีม่ ีตัวเซลล์อยู่ใน ปมประสาทรากบนของไขสนั หลัง จากนั้นครูใชค้ ำ เซลลป์ ระสาทสองขวั้ 9.1 ส่งิ มีชวี ติ (ไส้เดอื นดนิ กุ้ง แ
จกรรมการเรียนรู้ 8 สื่อและอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมินผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ แสดงเส้นประสาทแบบขน้ั บนั ไดใน พลานาเรีย ำถาม ดงั นี้ งในตัวไฮดรามีลักษะเป็นอย่างไร งลำตัว และมีการสานกันเป็น นทราบหรือไม่ว่าเส้นดังกล่าว ยวกับเส้นประสาทแบบข้ันบันได ในพลานาเรีย โดยใชง้ านนำเสนอ สาท พไส้เดือนดิน ก้งุ และแมลง พแสดงไสเ้ ดือนดนิ กงุ้ และแมลง ำถาม ดังน้ี ตทีเ่ ห็นในภาพ คืออะไร และแมลง)
วตั ถปุ ระสงคก์ าร เน้ือหาสาระ กิจ เรยี นรู้ (Bipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทท่ี 9.2 นักเรียน มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์ ประสาทหรอื ไม่ ( 2 เส้นใย เช่น เซลล์ประสาทที่บริเวณ 9.3 นักเรียน เรตนิ า เซลลร์ บั กลิน่ และเซลล์รบั เสียง ของไส้เดือนดนิ ก เซลล์ประสาทหลายขวั้ 10. ครูแสดงภ (Multipolar neuron) มีเดนไดรต์แยก ดินและแมลง ออกมาจากตัวเซลล์จำนวนมากและมีแอก ซอน 1 เส้นใย เซลลป์ ระสาทส่วนใหญ่มัก เ ป ็ น เ ซ ล ล ์ ป ร ะ ส า ท ห ล า ย ข้ั ว เ ช่ น ภาพท่ี 10 ภาพแส เ ซ ล ล ์ ป ร ะ ส า ท ป ร ะ ส า น ง า น แ ล ะ เ ซ ล ล์ ประสาทสั่งการ จากนนั้ ครใู ห้คว ไส้เดือน กุ้ง และ ระบบประสาท 11. ครูแสดงภา มนษุ ย์ ภาพที่ 11 ภาพ
9 จกรรมการเรยี นรู้ ส่ือและอุปกรณ์การ การวดั และการประเมินผล เรยี นรู้ การวัด การประเมนิ นคิดว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านี้มีระบบ (มี) นทราบหรือไม่ว่าระบบประสาท กุง้ และแมลงเปน็ อยา่ งไร ภาพระบบประสาทของไส้เดือน สดงระบบประสาทของไส้เดอื นดนิ และ แมลง วามรู้เก่ียวกับระบบประสาทของ ะแมลง โดยใช้งานนำเสนอเรื่อง าพศนู ย์กลางระบบประสาทของ พแสดงศนู ย์กลางระบบประสาทของ มนุษย์
วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ จากนั้นครใู ช้คำ 11.1 นักเรีย ระบบประสาทขอ ดังกล่าวเกดิ จากอ ครูให้ความรู้เก ของมนษุ ยโ์ ดยใช จากน้ันครใู ช้คำถ 11.2 นักเรีย เป็นหน่วยทำง (เซลล์ประสาท) 11.3 นกั เรยี น ลกั ษณะเป็นอย่าง 12. ครูแสดงภา ภาพที่ 1 จากน้ันครใู ชค้ ำ 12.1 นักเรีย แตกต่างจากเซ (ตอบตามความค
10 จกรรมการเรยี นรู้ สอื่ และอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ ำถาม ดังน้ี ย นท รา บ ห รื อ ไ ม ่ ว่ า ศ ู นย์ ก ล า ง องมนษุ ย์คืออะไร และโครงสร้าง อะไร (สมองและไขสันหลัง) กี่ยวกับศูนย์กลางระบบประสาท ชง้ านนำเสนอเรอื่ ง ระบบประสาท ถามดังนี้ ยนทราบหรือไม่ว่าหน่วยย่อยที่ านในระบบประสาทคืออะไร นทราบหรอื ไม่วา่ เซลล์ประสาทมี งไร แบง่ ออกไดเ้ ปน็ กี่ประเภท าพเซลล์ประสาท 12 ภาพแสดงเซลลป์ ระสาท ำถาม ดังนี้ ยนคิดว่าเซลล์ประสาทมีลักษณะ ซลล์ชนิดอื่นหรือไม่ อย่างไร คิดเหน็ ของนักเรียน)
วตั ถุประสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ครูให้ความรู้เ งานนำเสนอเรอื่ ง 13. ครูแสดงภ ตามจำนวนเสน้ ใย ภาพที่ 13 ภาพแส จำ จากนั้นครูใช้คำ 13.1 จากภา แยกออกมาจาก จำนวนเส้นใยปร แตกต่างกันอย่า แยกออกมาจาก เส้นใยประสาทแ เส้นแล้วจากนัน้ จ มีเส้นใยประสาท ภาพ ง. มเี ส้นใยป หลายเสน้ )
11 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอุปกรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรียนรู้ การวดั การประเมนิ เกี่ยวกับเซลล์ประสาทโดยใช้ ง ระบบประสาท ภาพชนิดของเซลล์ประสาทที่แบง่ ยประสาท สดงชนดิ ของเซลลป์ ระสาทท่ีแบง่ ตาม ำนวนเสน้ ใยประสาท ำถาม ดังน้ี าพถา้ หากสงั เกตเสน้ ใยประสาทท่ี กตัวเซลล์ ภาพ ก. ข. ค. และ ง. ระสาทที่แยกออกมาจากเซลล์ างไร (ภาพ ก. มีเส้นใยประสาท กเซลล์เพียงเส้นเดียว ภาพ ข. มี แยกออกมาจากตัวเซลล์ก่อน 1 จึงแตกแขนงเป็น 2 เส้น ภาพ ค. ทแยกออกมาจากตัวเซลล์ 2 เส้น ประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์
วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กิจ เรียนรู้ 14.2 นักเร เซลล์ประสาทโด ใยจากตัวเซลล์ป เปน็ กี่ชนิด ครูให้ความรูเ้ ก ประสาทตามการ ประสาท โดยใชง้ 14. ครูใชค้ ำถา 14.1 ในตอน เกิดอาการเจ็บนั ของเซลลป์ ระสาท (หลายเซลล์) 14.2 นกั เรยี น ดังกล่าวนั้น แต หรือไม่ อย่างไร จากนั้นครูให้ค ของเซลล์ประสา เร่อื ง ระบบประส ขน้ั สรปุ (10 น 1. ครูนำนักเรีย โดยใชค้ ำถาม ดงั
12 จกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และอปุ กรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน ียนคิดว่าถ้าหากแบ่งประเภท ดยพิจารณาการแยกออกของเสน้ ประสาท จะสามารถแบ่งออกได้ ี่ยวกับการแบ่งประเภทของเซลล์ รแยกออกของเส้นใยจากตัวเซลล์ งานนำเสนอเรอ่ื ง ระบบประสาท าม ดังนี้ นแรกที่นักเรียนหยิกตัวเองแล้ว ้น นักเรียนคิดว่าเป็นการทำงาน ทเพียงเซลลเ์ ดยี วหรอื หลายเซลล์ นคดิ วา่ เซลล์ประสาทหลายเซลล์ ต่ละเซลล์มีหน้าที่แตกต่างกัน ความรู้เกี่ยวกับการแบ่งประเภท าทตามหน้าที่โดยใช้งานนำเสนอ สาท นาที) ยนสรุปความรู้ในประเด็นต่าง ๆ งน้ี
วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ 1.1 พารามีเ การโบกพัดของซ 1.2 ระบบปร (ร่างแหประสาท) 1.3 ระบบปร แบบใด (ระบบปร 1.4 ระบบปร แมลงเป็นแบบใ ประสาทอยูแ่ ต่ละ จะถกู เชอื่ มกันดว้ 1.5 เซลล์ปร ส่วน (2 สว่ น คือ 1.6 ถ้าหากใ ประเภทของเซล ประเภท (3 ประ เซลล์ประสาทปร การ) 1.7 ถ้าหากใ เซลล์เป็นเกณฑ ประสาทจะสามา คือ เซลล์ประสาท และเซลล์ประสาท
13 จกรรมการเรียนรู้ สอื่ และอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวัด การประเมนิ เซียมอาศัยอะไรในการควบคุม ซิเลยี (เส้นใยประสานงาน) ระสาทที่พบในไฮดราเป็นแบบใด ) ระสาทที่พบในพลานาเรียเป็น ระสาทแบบข้ันบนั ได) ระสาทที่พบในไส้เดือนดินและ ใด (Ventral nerve cord มีปม ะปลอ้ งซึ่งปมประสาทแต่ละปมก็ วยเสน้ ประสาท) ระสาทใน 1 เซลล์แบ่งออกเป็นก่ี อ ตัวเซลล์และเส้นใยประสาท) ใช้หน้าที่เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ลล์ประสาทจะสามารถแบ่งได้กี่ ะเภท ได้แก่ เซลล์รับความรู้สึก ระสานงาน และเซลล์ประสาทสั่ง ใช้จำนวนเซลล์ประสาทต่อหน่ึง ฑ์ในการแบ่งประเภทของเซลล์ ารถแบ่งไดก้ ่ีประเภท (3 ประเภท ทขั้วเดียว เซลล์ประสาทสองขั้ว ทหลายขว้ั )
วตั ถปุ ระสงค์การ เน้อื หาสาระ กจิ เรียนรู้ 2. ครูมอบหมา
14 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอุปกรณก์ าร การวดั และการประเมินผล ายใบงาน เรือ่ ง ระบบประสาท เรยี นรู้ การวัด การประเมนิ
โรงเรยี นสรร กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทย แผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง ประเภทของเซ ภาคการศึกษาต้น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/พ และ 6/1 สาระชีววทิ ยา 4. เขา้ ใจการยอ่ ยอาหารของสตั ว์ และมนษุ ย์ การหายใจ และการแล ถา่ ย การรับรู้ และการตอบสนอง การเคล่อื นท่ี การสืบพนั ธ์ุ และกา ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ ม.6/2 อธิบายเก่ยี วกับโครงสรา้ ง และหน้าท่ขี องเซลลป์ ระสาท ม.6/3 อธิบายเก่ียวกบั การเปล่ยี นแปลงของศักยไ์ ฟฟ้าทีเ่ ยอ่ื ห้มุ เซลล
15 รพยาวิทยา ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซลลป์ ระสาท และการเกดิ กระแสประสาท รายวชิ า ชวี วิทยา5 ว30255 ผูส้ อน นายเรวตั ร อยเู่ กดิ ลกเปล่ยี นแก๊ส การลำเลยี งสาร และการหมนุ เวยี นเลือด ภูมิคุ้มกนั ของร่างกาย การขยั ารเจรญิ เตบิ โต ฮอรโ์ มน การรักษาดลุ ยภาพ และพฤติกรรมของสตั ว์ รวมท้ังนำความรู้ ลข์ องเซลล์ประสาท และกลไกการถ่ายทอดของกระแสประสาท
วัตถปุ ระสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กิจ เรียนรู้ นกั เรยี นสามารถ ประเภทของเซลลป์ ระสาท ขั้นนำ (10 นา 1. ระบชุ นดิ ของเซลล์ เซลล์ประสาทสามารถใช้เกณฑ์ในการ 1. ครูแสดงภาพ ประสาททแ่ี บ่งตามการ จดั จำแนก 2 เกณฑ์ ได้แก่ แยกของเสน้ ใยประสาท 1. จำแนกตามจำนวนเส้นใยประสาท จากตวั เซลลป์ ระสาทได้ ตอ่ หนงึ่ เซลลป์ ระสาท ซงึ่ แบ่งออกเป็น 3 2. ระบุชนดิ ของเซลล์ ประเภท คอื ประสาททีแ่ บ่งตาม 1.1 เซลล์ประสาทข้วั เดยี ว ภาพที่ 1 หน้าทไี่ ด้ 3. อธบิ ายระยะต่าง (Unipolar neuron) เป็นเซลลป์ ระสาท จากนน้ั ใช้คำถา ๆ ของการเกิดกระแส ที่มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัว 1.1 นักเรยี นท ประสาทได้ เซลล์เพียง 1 เส้นใย คือ แอกซอน ระบบประสาทคอื 4. ระบปุ ัจจัยท่ี เนื่องจากเซลล์ประสาทชนิดนี้มีไซแนปส์ 1.2 นักเรียน เกยี่ วขอ้ งกบั ความ มาเช่ือมต่อน้อยพบในเซลลป์ ระสาทที่หลั่ง ครั้งหนึ่ง ๆ ขอ รวดเรว็ ในการส่งตอ่ ฮอร์โมน เซลล์ประสาทในกลุ่มนี้ยังมี ประสาทกี่เซลล์ กระแสประสาทได้ เซลล์ประสาทขวั้ เดียวเทียม ครูพยายามนำเขา้ (Pseudounicellular neuron) ซ่งึ เป็น 1.3 นักเรีย เซลล์ที่มีเส้นใยประสาทแยกตัวออกมา ประสาทที่จะต้อ จากตัวเซลล์เป็นเส้นใยเดียวแล้วแตก การตอบสนองข ออกเป็น 2 เส้นใย โดยเส้นใยหนึ่งตรง เซลล์ประสาทแบ ปลายแตกเป็นเดนไดรต์ไปรับสัญญาณ (ตอบตามความ จากหน่วยความรู้สึกส่วนต่าง ๆ ของ พยายามนำเข้าสู่ค ร่างกายแล้วส่งผ่านไปยังเส้นใยอีก เส้น ใยหนึ่ง โดยไม่ผ่านตัวเซลล์แล้วไป
16 จกรรมการเรยี นรู้ สื่อและอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวัด การประเมิน าที) 1. งานนำเสนอ 1. การมี 1. การ พเซลลป์ ระสาท เร่อื ง เซลล์ประสาท ส่วนรว่ ม ประเมินการ และการเกิดกระแส และตอบ ตอบคำถาม ประสาท คำถามใน ในชน้ั เรียน 2. ใบงาน เร่ือง ชั้นเรยี น 2. การ ประเภทของเซลล์ 2. การ ประเมินการ 1 ภาพแสดงเซลล์ประสาท ประสาท และการ ตอบคำถาม ตอบคำถาม เกดิ กระแสประสาท ลงในใบงาน ลงในใบงาน าม ดงั น้ี เร่อื ง เร่ือง ทราบหรือไม่วา่ หนว่ ยทำงานของ ประเภทของ ประเภทของ ออะไร (เซลล์ประสาท) เซลล์ เซลล์ นคิดว่าในการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ประสาท ประสาท และ องร่างกาย จะต้องอาศัยเซลล์ และการเกดิ การเกิด (นักเรียนตอบตามความคิดเห็น กระแส กระแส าสู่คำตอบท่วี า่ หลายเซลล)์ ประสาท ประสาท นคิดว่าในทำงานของระบบ ถกู ตอ้ งอยา่ ง องมีการรับสิ่งเร้า มีการควบคุม นอ้ ยร้อยละ ของร่างกาย ระบบประสาทใช้ 80 บบเดียวกันในการทำงานหรือไม่ มคิดเห็นของนักเรียน โดยครู คำตอบวา่ ไม่ใช)่
วตั ถุประสงคก์ าร เน้ือหาสาระ กจิ เรยี นรู้ ไซแนปส์กบั เซลล์ประสาทประสานงานใน 1.4 นักเรียน ไขสันหลัง เส้นใยประสาททั้งสองมี การแบ่งหน้าที่ก โครงสร้างเหมือกัน เรียกว่า แอกซอน อยา่ งไร และอาศ ได้แก่ เซลล์รบั ความรู้สกึ ท่มี ตี ัวเซลล์อยู่ใน ขั้นสอน (80 น ปมประสาทรากบนของไขสันหลงั 1. ครูแสดงภา 1.2 เซลลป์ ระสาทสองขัว้ ตามจำนวนเส้นใย (Bipolar neuron) เป็นเซลล์ประสาทที่ มีเส้นใยประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์ 2 เส้นใย เช่น เซลล์ประสาทที่บริเวณ เรตินา เซลลร์ บั กลน่ิ และเซลล์รับเสยี ง 1.3 เซลลป์ ระสาทหลายข้วั ภาพท่ี 2 ภาพแสด (Multipolar neuron) มีเดนไดรต์แยก จำ ออกมาจากตวั เซลล์จำนวนมากและมีแอก จากนน้ั ครูใช้คำ ซอน 1 เส้นใย เซลล์ประสาทส่วนใหญ่มัก 1.1 จากภาพ เ ป็นเ ซลล์ปร ะ สา ทห ลาย ข ั้ ว เ ช่น แยกออกมาจาก เซลล์ประสาทประสานงานและเซลล์ จำนวนเส้นใยปร ประสาทสงั่ การ แตกต่างกันอย่า แยกออกมาจาก 2. จำแนกตามหน้าที่ ได้เป็น 3 ชนิด เส้นใยประสาทแ คือ เส้นแล้วจากนั้นจ มีเส้นใยประสาท
17 จกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และอุปกรณ์การ การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวัด การประเมนิ นทราบหรือไม่ว่าเซลล์ประสาทมี การทำงานหรือแบ่งประเภทกัน ศัยหลกั เกณฑใ์ ดในการแบ่ง นาที) าพชนิดของเซลล์ประสาทที่แบ่ง ยประสาทที่แยกมาจากตัวเซลล์ ดงชนิดของเซลล์ประสาททีแ่ บง่ ตาม ำนวนเสน้ ใยประสาท ำถาม ดงั นี้ พถ้าหากสังเกตเส้นใยประสาทท่ี กตัวเซลล์ ภาพ ก. ข. ค. และ ง. ระสาทที่แยกออกมาจากเซลล์ างไร (ภาพ ก. มีเส้นใยประสาท กเซลล์เพียงเส้นเดียว ภาพ ข. มี แยกออกมาจากตัวเซลล์ก่อน 1 จึงแตกแขนงเป็น 2 เส้น ภาพ ค. ทแยกออกมาจากตัวเซลล์ 2 เส้น
วตั ถุประสงคก์ าร เน้อื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ 2.1 เซลล์ประสาทรับความร้สู กึ ภาพ ง. มเี ส้นใยป (Sensory neuron) เป็นเซลล์ประสาท หลายเสน้ ) ที่รับกระแสประสาทจากหน่วยรับ 1.2 นักเรียน ความรูส้ ึกแล้วถ่ายทอดกระแสประสาทไป ประสาทโดยพิจา ยงั เซลล์ประสาทส่งั การ โดยอาจผ่านเซลล์ ตัวเซลล์ประสาท ประสาทประสานงาน หรือไม่ผา่ นก็ได้ ตัว ชนดิ เซลล์ประสาทรับความรู้สึกอยู่ที่ ปม ครูให้ความรู้เก ประสาทรากบนของไขสันหลัง ประสาทตามการ 2.2 เซลล์ประสาทส่งั การ ประสาท โดยใช (Motor neuron) มักมแี อกซอนยาวกว่า เซลลป์ ระสาท แล เดนไดรต์อาจยาวถึง 1 เมตร เพราะเซล์ 2. ครูให้นักเรีย ประสาทสั่งการที่อยู่ในไขสันหลังต้องส่ง จากนน้ั ใช้คำถาม กระแสประสาทออกจากไขสันหลังเพื่อ 2.1 เมื่อออ นำกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน นักเรยี นรู้สึกอย่าง เชน่ กลา้ มเน้อื แขนขาซึ่งอยู่ห่างจากไขสัน 2.2 การที่นัก หลังมาก เกิดจากการทำงา เดียวหรือหลายเซ 2.3 ถ้าหากเก 2.3 เซลล์ประสาทประสานงาน นักเรียนคิดว่าเซ (Association neuron) เซลล์ประสาท นั้น มีเซลล์ประ ชนิดนี้อยู่ภายในสมองและไขสันหลัง จะ คดิ เหน็ ของนักเรีย เ ช ื ่ อ ม ต ่ อ ร ะ ห ว ่ า ง เ ซ ล ล ์ ป ร ะ ส า ท รั บ
18 จกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และอปุ กรณ์การ การวดั และการประเมนิ ผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ ประสาทแยกออกมาจากตัวเซลล์ นคิดว่าถ้าหากแบ่งประเภทเซลล์ ารณาการแยกออกของเสน้ ใยจาก ท จะสามารถแบ่งออกได้เป็นก่ี ่ียวกับการแบ่งประเภทของเซลล์ รแยกออกของเส้นใยจากตัวเซลล์ ช้สื่อนำเสนอ เรื่อง ประเภทของ ละการเกิดกระแสประสาท ยนทดลองหยิกแขนของตัวเอง ม ดงั นี้ กแรงหยิกที่แขนของตัวเอง งไร (เจบ็ ) กเรียนรูส้ ึกเจ็บนั้น นักเรียนคดิ วา่ านของเซลล์ประสาทเพียงเซลล์ ซลล์ (หลายเซลล์) กิดจากเซลล์ประสาทหลายเซลล์ ซลล์ประสาทหลายเซลล์ดังกล่าว ะสาทอะไรบ้าง (ตอบตามความ ยน)
วตั ถุประสงคก์ าร เนือ้ หาสาระ กิจ เรยี นรู้ ความรู้สึกกับเซลล์ประสาทสั่งการ เส้นใย จากนั้นครูให้ค ประสาทของเซลล์ประสาทประสานงาน ของเซลล์ประสา อาจมีความยาวเพียง 4-5 ไมโครเมตร เรื่อง ประเภทข เท่าน้นั กระแสประสาท การเกิดกระแสประสาท 3. ครูใชค้ ำถาม ศักย์เยอื่ เซลลร์ ะยะพัก 3.1 นกั เรยี นท (Resting membrane potential) ใน หยิกตัวเองแล้วจ ภาวะปกติเซลล์ประสาทยังไม่ถูกกระตุ้น คิดเห็นของนักเร สารละลายภายนอกและภายในเซลล์ ที่ว่าเกิดกระแส ประสาทจะมีไอออนตา่ งกัน โดยภายนอก ประสาทตา่ ง ๆ แ เ ซ ล ล ์ ม ี Na+ ส ู ง ก ว ่ า ภ า ย ใ น เ ซ ลล์ 3.2 นักเรียน ขณะเดียวกันภานในเซลล์ก็มี K+ สูงกว่า เกดิ ข้นึ ไดอ้ ย่างไร ภายนอกเซลล์ ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้าด้านใน 4. ครูแจกใบข้อ และด้านนอกมีค่าประมาณ -70 มิลลิ แอล ฮอดจ์กิน แ โวลต์ โดยเซลล์จะรกั ษาความตา่ งศกั ย์นี้ไว้ คำถาม ดังนี้ โดยอาศัยโซเดียมโพแทสเซียมปั๊ม 4.1 จากการ (Sodium potassium pump) และเอ เอฟ ฮกั ซเ ดีโพลาไรเซชัน(Depolarization) เมื่อ ที่วัดได้จากปลาย มสี ิ่งเรา้ มากระตุ้นเซลล์ประสาทถงึ ระดับท่ี หมึก มคี ่าเท่าใด ตอบสนองได้หรือระดับที่มีขีดเ ริ่ม 4.2 นักเรียน เปลี่ยนแปลงหรอื เทรสโฮลด์ (Threshold) มีค่าความตา่ งศัก สมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ประสาทจะ
19 จกรรมการเรยี นรู้ สอื่ และอปุ กรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวัด การประเมนิ ความรู้เกี่ยวกับการแบ่งประเภท าทตามหน้าที่โดยใช้งานนำเสนอ ของเซลล์ประสาท และการเกิด ม ดังนี้ ทราบหรือไม่ว่าเพราะเหตุใดเมื่อ จึงเกิดอาการเจ็บ (ตอบตามความ รียน ครูพยายามนำเข้าสู่คำตอบ สประสาท ถ่ายทอดไปสู่เซลล์ แล้วไปประมวลผล) นทราบหรือไม่ว่ากระแสประสาท ร อมูลเกี่ยวกับการทดลองของ เอ และเอ เอฟ ฮักซเลย์ จากนั้นใช้ รทดลองของเอ แอล ฮอดจ์กิน เลย์ พบวา่ คา่ ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า ยแอกซอนของเซลล์ประสาทใน (-70 มิลลิโวลต์) นทราบหรือไม่ว่าเพราะเหตุใดจึง กย์เป็นเชน่ นนั้
วตั ถุประสงคก์ าร เนอ้ื หาสาระ กิจ เรยี นรู้ เปลี่ยนแปลงไปชั่วคราวคือ ทำให้ช่อง 5. ครูแสดงภาพ โซเดียมเปิดยอมให้ Na+ ผ่านเข้าทางชอ่ ง และโซเดยี มโพแท โซเดียมชั่วขณะหนงึ่ ทำให้เย่ือเซลล์ด้านใน ตรงที่โซเดียมไอออนผ่านเข้าไปเกิดการ เปลี่ยนแปลงเป็นประจุบวกมากขึ้นเมื่อ เทียบกับภายนอกเซลล์ ทำให้ความต่าง ศักย์เยื่อเซลล์เปลี่ยนจาก –70 ภาพท่ี 3 ภาพแสดง มิลลโิ วลต์ เป็น +50 มลิ ลิโวลต์ โซเ รีโพลาไรเซชนั (Repolarization) เมอื่ ครูให้ความรู้เก Na+ ผ่านเข้าไปในเซลล์ได้สักครู่หนึ่ง เย่ือ ต่างศักยไ์ ฟฟ้าใน หุ้มเซลล์ก็จะไม่ยอมให้ Na+ ผ่านเพิ่มเข้า เรื่อง ประเภทข ไปได้อีก ขณะเดียวกันช่องโพแทสเซียม กระแสประสาท เปิดยอมให้ K+ ผ่านออกไปนอกเซลล์ ทำ จากนน้ั ครูใชค้ ำ ให้เซลล์สูญเสียประจุบวกและเยื่อเซลล์ 5.1 จากภาพ ดา้ นในจะกลับเป็นประจุลบอกี คร้ังหน่ึงซึ่ง และอนุภาคสีแ ความต่างศักย์จะเปลี่ยนกลับจาก +50 ดังกล่าวมากกว่า มิลลิโวลต์ เป็น -70 มิลลิโวลต์ กลับสู่ ภายนอกเซลล์มี N 5.2 ตามหลัก สภาพเดิม การแพร่เป็นอย่ ไฮเพอรโ์ พลาไรเซชนั (Hyperpolarization) เนื่องจากช่อง ประสาท ส่วน Na โพแทสเซียมปดิ ช้าจึงทำให้ความต่างศกั ย์ 5.3 ถา้ หากม เยื่อเซลล์ลดต่ำกว่าปกติ จนเมื่อช่อง สารทั้งสอง นัก
20 จกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ พช่องโซเดียม ช่องโพแทสเซียม ทสเซียมปมั๊ งชอ่ งโซเดียม ชอ่ งโพแทสเซียม และ เดยี มโพแทสเซยี มปมั๊ กี่ยวกับปัจจัยท่ีทำให้เกิดค่าความ นเซลล์ประสาทโดยใช้สือ่ นำเสนอ ของเซลล์ประสาท และการเกิด ำถาม ดังน้ี พถ้าหากอนุภาคสีเทาแทน Na+ แดงแทน K+ บริเวณใดที่มีสาร ากัน (ภายในเซลล์มี K+ มากกว่า Na+ มากกวา่ ) กการแพร่แล้ว K+ กับ Na+ จะมี างไร (K+ จะแพร่ออกจากเซลล์ a+ จะแพรเ่ ขา้ สู่เซลลป์ ระสาท) มีทง้ั การแพรเ่ ขา้ และแพร่ออกของ กเรียนคิดว่าต่อไปความต่าง
วตั ถุประสงคก์ าร เนอื้ หาสาระ กจิ เรยี นรู้ โพแทสเซียมปิดสนิทความต่างศักย์ที่เยื่อ ศักย์ไฟฟ้าที่วัดไ เซลล์กลับเข้าสู่ระยะพกั หรอื ไม่ (เปลีย่ นแ การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ดงั กล่าว 5.4 นักเรียน น้ี เรียกวา่ แอกชันโพเทนเชียล หรอื ไม่ (ไม)่ ( Action potential) ห ร ื อ ก ร ะ แ ส 5.5 นักเรียน ประสาท(Nerve impulse) เซลล์จึงยังคงส ในเซลล์ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ศักย์ไฟฟ้าระหว การนำกระแสประสาทจะเกิดต่อเนื่องไป เอาไวไ้ ด้ เรื่อย ๆ จากจดุ ที่ถกุ กระตนุ้ ไปตลอดจนถึง ครูให้ความรู้เก ปลายแอกซอน โดยการเปลี่ยนแปลง การเคล่ือนที่ขอ ประจุในจุดถัดไปเมื่อผ่านไปแล้วจุดนั้นก็ โพแทสเซียม แล จะกลบั คนื สูส่ ภาวะปกติ โดยอาศัยโซเดีย สำหรับเซลล์ประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม นำเสนอ เรื่อง ป โดยเยื่อไมอีลินจะทำหน้าที่เป็นฉนวนก้ัน การเกิดกระแสปร ประจไุ ฟฟ้าท่ีผา่ นเยอื่ หุ้มเซลล์ ดังน้ันแอก 6. ครูแสดงกร ซอนตรงบริเวณที่มีเยื่อไมอีลินหุ้มจะไม่มี ขณะเซลล์ประสา แอกชนั โพเทนเชียลเกิดขึน้ ภาพที่ 4 ภาพแส ขณะเ จากนัน้ ครใู ช้คำ
21 จกรรมการเรียนรู้ สื่อและอปุ กรณก์ าร การวดั และการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวดั การประเมิน ได้จะเปลี่ยนแปลงกลับไปคงท่ี แปลงไปจนคงท่)ี นคิดว่าเซลล์ยอมให้เป็นเช่นนั้น นทราบหรือไม่ว่าเพราะเหตุใด สามารถรักษาสมดุลความต่าง ว่างภายในและภายนอกเซลล์ กี่ยวกับศักย์เยื่อเซลล์ระยะพัก องไอออนผ่านช่องโซเดียม ช่อง ละการควบคุมสมดุลศักย์ไฟฟ้า ยมโพแทสเซียมปั๊ม โดยใช้สื่อ ประเภทของเซลล์ประสาท และ ระสาท ราฟการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้า าทถูกกระตุน้ สดงกราฟการเปลยี่ นแปลงศกั ยไ์ ฟฟา้ เซลล์ประสาทถกู กระต้นุ ำถาม ดงั น้ี
วตั ถุประสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กิจ เรียนรู้ 6.1 จากกรา นกั เรยี นคดิ วา่ เพร จงึ กลายเป็นบวก คิดเห็นของตนเอ ทวี่ า่ เม่ือเซลล์ประ เร่ิมเกิดการเปลี่ย ประสาทจะเกิดก ศกั ย์เปน็ บวกมาก ครูให้ความรู้เก ใช้สื่อนำเสนอ เร และการเกดิ กระแ 7. ครูแสดงกร ขณะเซลลป์ ระสา ภาพที่ 5 ภาพแส ขณะเ จากนนั้ ครใู ช้คำ 7.1 จากกรา นักเรยี นคิดว่าเพร
22 จกรรมการเรยี นรู้ ส่อื และอุปกรณ์การ การวัดและการประเมนิ ผล เรียนรู้ การวัด การประเมนิ าฟถ้าหากพิจารณาเส้นสีเหลือง ราะเหตุใดคา่ ความตา่ งศักย์ไฟฟ้า กมากข้ึน (นักเรียนตอบตามความ อง ครูพยายามนำเข้าสู่คำตอบ ะสาทได้รบั การกระตุ้นจนถึงขีดที่ ยนแปลง ช่องโซเดยี มบนเยอื่ เซลล์ การแพร่เข้าทำให้ค่าความต่าง กขึ้น) กี่ยวกับระยะดีโพลาไรเซชัน โดย รื่อง ประเภทของเซลล์ประสาท แสประสาท ราฟการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้า าทถกู กระตนุ้ สดงกราฟการเปลีย่ นแปลงศกั ยไ์ ฟฟ้า เซลลป์ ระสาทถูกกระตุน้ ำถาม ดงั นี้ าฟถ้าหากพิจารณาเส้นสีน้ำเงิน ราะเหตใุ ดค่าความตา่ งศักย์ไฟฟ้า
วตั ถปุ ระสงคก์ าร เนื้อหาสาระ กจิ เรียนรู้ จงึ ลดลงกลายจน ตอบตามความค นำเขา้ สคู่ ำตอบท แพร่ออกคา่ ความ ครูให้ความรู้เก ใช้สื่อนำเสนอ เร และการเกิดกระแ 8. ครูแสดงกร ขณะเซลลป์ ระสา ภาพที่ 6 ภาพแส ขณะเ จากน้ันครูใชค้ ำ 8.1 จากกรา นักเรียนคดิ ว่าเพร จึงลดลงต่ำกว่า ระยะพักอีกครั้ง คิดเห็นของตนเอ ที่ว่าช่องโพแทสเ
23 จกรรมการเรียนรู้ สอื่ และอปุ กรณก์ าร การวัดและการประเมินผล เรยี นรู้ การวดั การประเมนิ นกระทง่ั กลายเปน็ คา่ ลบ (นกั เรียน คิดเห็นของตนเอง ครูพยายาม ท่ีวา่ ช่องโพแทสเซยี มเปดิ ทำให้ K+ มตา่ งศกั ย์ไฟฟ้าจึงเปน็ บวกลดลง) กี่ยวกับระยะรีโพลาไรเซชัน โดย รื่อง ประเภทของเซลล์ประสาท แสประสาท ราฟการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้า าทถูกกระตุ้น สดงกราฟการเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟา้ เซลลป์ ระสาทถูกกระตุน้ ำถาม ดังน้ี าฟถ้าหากพิจารณาเส้นแดง ราะเหตใุ ดคา่ ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า าระดับปกติ ก่อนที่จะกลับไปสู่ งหนึ่ง (นักเรียนตอบตามความ อง ครูพยายามนำเข้าสู่คำตอบ เซียมที่เปิดในระยะก่อนหน้าน้ัน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299