Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้เคมี

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี

Published by pawanrat2760, 2021-09-24 03:37:00

Description: แผนการจัดการเรียนรู้เคมี

Search

Read the Text Version

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .....................................................ผ้ตู รวจ(ครพู ่เี ลี้ยง) ................/.................../................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครง้ั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดีมาก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ นกั เรียนอธบิ ายเกีย่ วกบั การเกดิ ปฏกิ ริ ิยานวิ เคลียร์ได้ ดา้ นทกั ษะ นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกบั เทคโนโลยที เ่ี กี่ยวขอ้ งกับสารกมั มนั ตรังสไี ด้ ด้านคุณธรรม นักเรยี นมคี วามกระตอื รอื ร้นในการเรียนการสอนและเขา้ เรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ดา้ นทักษะชวี ิตเพ่ือการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปญั หา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไมม่ ี ๓. ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข ไมม่ ี ลงชอ่ื .....................................................ผ้สู อน (................................................)



แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 14 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 อะตอมและ เรอื่ งการนำธาตไุ ปใชป้ ระโยชน์ เวลา 2 ชว่ั โมง สมบัตขิ องธาตุ และผลกระทบตอ่ ส่งิ มีชีวิต รหสั วชิ า ว 31221 วชิ า เคมี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… สาระเคมี เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจัดเรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตพุ ันธะเคมีและสมบตั ขิ องสาร แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอินทรีย์และพอลเิ มอร์ รวมทัง้ การนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรียนรู้ ม.4/8 สืบค้นขอ้ มูล และยกตวั อยา่ งการนําธาตุมาใชป้ ระโยชนร์ วมทั้งผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชวี ติ และสิง่ แวดล้อม สาระการเรียนรู้ สมบัติบางประการของธาตุแต่ละชนิด ทำให้สามารถนําธาตุไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้อย่าง หลากหลาย ทั้งนี้การนําธาตุไปใช้ต้องตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะสาร กมั มันตรงั สซี ึง่ ตอ้ งมกี ารจดั การอยา่ งเหมาะสม สาระสำคญั มนุษยน์ ำธาตุมาใช้ประโยชนต์ ้งั แตอ่ ดีตกาล เชน่ นำทองคำมาทำเครอ่ื งประดบั นำเหลก็ มาทำมีด ใน ปจั จบุ นั มกี ารค้นพบและศกึ ษาสมบตั ิของธาตุมากขน้ึ จงึ มีการนำธาตุมาใชป้ ระโยชน์ไดห้ ลากหลายมากขึน้ เชน่ นำทองแดงมาทำสายไฟฟ้า เนอ่ื งจากสามารถนำความรอ้ นได้ดี จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.นกั เรยี นสามารถอธิบายการนำธาตไุ ปใช้ประโยชน์และผลกระทบต่อสิง่ มชี วี ิตได้ (K) 2.นักเรยี นสามารถสบื ค้นข้อมลู และนำเสนอการนำธาตใุ ช้ประโยชน์ (P) 3.นกั เรียนสามารถทำงานรว่ มกบั ผูอ้ น่ื ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง มคี วามรบั ผิดชอบ และมคี วามใจกว้างรบั ฟัง ความคิดเหน็ ของผอู้ ื่น (A)

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ✓ 2. ซื่อสัตย์ สจุ ริต ✓ 3. มวี นิ ัย ✓ 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ✓ 6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 7. รักความเปน็ ไทย ✓ 8. มจี ติ สาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ✓ 1. มีความสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคดิ ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ ✓ 5. มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรียนรู้ และนวัตกรรม ✓ 3. ทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ติ และอาชพี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1.ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นนำลูกโป่งที่บรรจุแก๊สให้นักเรียนดู จากนั้นกินแก๊สที่อยู่ในลูกโป่ง แล้วตั้งคำถามกับเด็กว่า แกส๊ น้ีคอื แกส๊ อะไร รู้ได้อยา่ งไร (แนวคำตอบ : แกส๊ ฮเี ลยี ม เน่ืองจากพอกนิ แก๊สเข้าไป เสียงเปลี่ยน)

2.และถามตอ่ ว่า เพราะอะไรจงึ ใช้แกส๊ ฮเี ลียมบรรจุในลูกโป่ง (แนวคำตอบ : เพราะแก๊สฮีเลียมไมอ่ นั ตราย โดยเมื่อก่อนใช้แก๊สไฮโดรเจนบรรจุในลูกโป่ง แต่ไฮโดรเจนเป็นแก๊สที่อันตราย เนื่องจากติดไฟได้ จึงเปลี่ยนมาใช้ แกส๊ ฮเี ลียมแทน) จากนนั้ อธบิ ายต่อว่า โดยการท่ีเราจะนำธาตุมาใชป้ ระโยชน์ จะต้องพจิ ารณาสมบตั ขิ องธาตุด้วย ขนั้ ที่ 2 ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration) 3.จากนั้นทำการแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน และแจกใบกิจกรรมตามล่าหาธาตุใหแ้ ต่ละ กลมุ่ ซึง่ ครูอธิบายวิธกี ารทำกิจกรรมให้กบั นกั เรยี น และใหน้ กั เรียนลงมือทำ (วิธีทำ : 1.แตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของธาตุ 2.เขียนชื่อธาตุเป็นภาษาอังกฤษในช่องที่กำหนดให้ ซึ่งมีหมายเลขกำกับโดย อาจเป็นแนวตงั้ หรือแนวนอน) 4.หลงั จากทำกจิ กรรม นักเรียนจะได้เรียนรูเ้ กย่ี วกับการนำประโยชน์ของธาตุไปใช้ จากน้ันให้นักเรียน ทำกิจกรรมประโยชน์และผลกระทบต่อการใช้ธาตุ (วิธีทำ : 1.สืบค้นข้อมูลการนำธาตุไปใช้ประโยชน์ รวมท้ัง ผลกระทบต่อส่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยแต่ละกลุ่มให้สืบค้นอย่างน้อย 5 ธาตุ และไม่ควรซ้ำกับกลุ่มอื่น 2. นำเสนอข้อมูลการสืบค้นโดยวิธกี ารแสดลงละคร) ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 5.หลังจากทำกจิ กรรมเสรจ็ ครูและนกั เรยี นอภิปรายผลร่วมกัน โดยให้มีข้อสรปุ ดังนี้ 1.ธาตุแต่ละชนิด นำไปใช้ประโยชน์ได้แตกตา่ งกนั 2.ซึ่งการนำไปใช้อาจทำให้เกิดผลกระทบตอ่ สิง่ มีชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ มได้ 3.โดย การนำธาตุไปใช้ประโยชนจ์ ะต้องพจิ ารณาจากคณุ สมบตั ิต่างๆของธาตุ ขั้นท่ี 4 ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 6.ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า ธาตุบางชนิดมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมจากความรู้เดิมนักเรียน คงทราบมาแล้วว่าธาตบุ างชนิดสง่ ผลกระทบต่อส่ิงมีชวี ิตและสิ่งแวดล้อมเชน่ ตะกั่วได้ถูกใช้ในอุตสาหกรรมการ ผลติ แบตเตอรีโ่ ลหะบดั กรีอเิ ลก็ ทรอนิกส์อตุ สาหกรรมสหี รอื ใช้เคลอื บภาชนะการปนเปอื้ นของตะก่วั ทั้งในดนิ นำ้ และอากาศล้วนส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตเช่นถ้าตะกั่วปนเปื้อนในน้ำอาจส่งผลต่อระบบการเจริญพันธุ์ระบบ โลหิตและระบบประสาทของสัตว์ในแหล่งน้ำนั้นมนุษย์สามารถนำตะกั่วเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทางคือการบริโภค การหายใจและทางผิวหนังเมื่อตะกั่วเข้าไปสะสมในร่างกายจะทำให้มีอาการอ่อนเพลียปวดท้องท้องอืดเบ่ือ อาหารปวดกล้ามเนื้อปวดกระดูกและข้อความดันโลหิตสูงโลหิตจางความจำเสื่อมภูมิต้านทานลดลงและ ขัดขวางการทำงานของเอนไซมใ์ นร่างกาย ข้นั ที่ 5 ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) 7.นักเรียนทำใบกิจกรรมตามล่าหาธาตุได้ถูกต้อง

การจัดบรรยากาศเชิงบวก ครูกระตนุ้ ให้นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ โดยไมต่ อ้ งกังวลวา่ ถูกหรอื ผิด และช่วยกันปรบั ปรงุ แกไ้ ขได้ ควรใหโ้ อกาสนักเรยี นไดน้ ำเสนอผลการทำกจิ กรรมในช้นั เรยี น เพอ่ื เปน็ การแบ่งปนั ความรู้ต่อนักเรยี นกลมุ่ อื่น ๆ และเกดิ การอภิปรายระหวา่ งกลุม่ สอื่ /แหล่ง การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. ส่อื จากอินเทอรเ์ น็ตเพ่อื ใชใ้ นการสบื ค้นข้อมูลเพ่มิ เติม 4. กจิ กรรมตามล่าหาธาตุ การวดั ผลประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การวดั การผลประเมินผลดา้ น 1. ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ คำตอบในกจิ กรรมตาม ใบกจิ กรรมตามลา่ หา 80% ขึน้ ไป ผา่ นเกณฑ์ ล่าหาธาตุ ธาตุ 2. ด้านทกั ษะกระบวนการ การสบื ค้นข้อมลู การแสดงท่ีนำเสนอ นำเสนอถกู ตอ้ ง = ผ่าน ถูกตอ้ ง 3. ดา้ นลกั ษณะท่ีพงึ สงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น -แบบสงั เกตพฤติกรรม คณุ ภาพ พอใช้ ขึ้นไป ประสงค์ แบบกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ -สังเกตพฤติกรรมแบบ รายบุคคล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.....................................................ผูต้ รวจ(ครพู เ่ี ลี้ยง) ................/.................../................

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครง้ั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดีมาก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

ใบกจิ กรรมตามล่าหาธาตุ 1.กระดาษคำใบ้

คำใบ้ แนวตัง้ 1. ใช้เปน็ โครงสรา้ งในการสรา้ งบา้ นอาคารทำเป็นช้นิ ส่วนของเครอื่ งจกั รใช้ทำรางรถไฟแนวต้ัง 3. ใชใ้ นกระบวนการไฮโดรจเี นชันซงึ่ ใชใ้ นอตุ สาหกรรมอาหารในสถานะของเหลวจะถูกนำไปใช้เปน็ เชอื้ เพลงิ ของจรวด 4. ใชช้ ุบโลหะป้องกันการเกิดสนิมและช่วยให้มีผิวแวววาวมากข้ึนทำถา่ นชารจ์ ใชเ้ ป็นตวั เร่งสำหรับปฏิกิริยา บางประเภทใชเ้ ปน็ สารเคลอื บผวิ ในอตุ สาหกรรมเซรามกิ ส์ 7. นำไปทำอุปกรณ์ไฟฟา้ เครอ่ื งครัวเครอื่ งใช้หอ่ อาหารหอ่ ของใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบของเครอื่ งบิน 8. เปน็ แกส๊ ท่ชี ่วยในการสนั ดาปมนุษย์ต้องหายใจเอาแกส๊ นี้เข้าไปเพอ่ื ใชใ้ นกระบวนการเผาผลาญสารอาหาร ตา่ ง ๆ ให้เป็นพลงั งาน 10. ทำแบตเตอร่ที ำหวั กระสนุ ใชห้ ุม้ สายเคเบิลสายไฟฟ้าและสายโทรศพั ทอ์ ปุ กรณ์ปอ้ งกันรงั สีจากเครอื่ งเอกซ์ เรย์ 12. ใช้ทำเคร่ืองมอื วิทยาศาสตรเ์ ชน่ เทอรม์ อมเิ ตอร์บารอมเิ ตอรเ์ ครื่องมอื ทใี่ ชว้ ัดความดนั โลหติ นำมาผสมกับ โลหะเงนิ เพอ่ื ทำวสั ดุอุดฟนั 14. ทำเครอื่ งประดบั เปน็ ส่วนประกอบของอุปกรณ์การแพทย์ 15. ช่วยให้กระดกู และฟันแข็งแรงใช้ในอตุ สาหกรรมถลุงโลหะเป็นธาตอุ งคป์ ระกอบในยิปซัมและหินปนู ซ่งึ ใช้ ในการก่อสรา้ ง 16. ใช้ในอุตสาหกรรมปุ๋ยใชท้ ำไม้ขีดไฟรปู ประทัด 18. ใชผ้ สมในยาสฟี ันเพอื่ ปอ้ งกนั ฟันผุใช้ทำเทฟลอนซึง่ เปน็ พลาสตกิ สำหรับเคลอื บกระทะ 19. ใชท้ ำสบู่ปยุ๋ ดนิ ประสวิ หรอื ดินปืน 22. นำมาเคลอื บโลหะเชน่ เคลอื บผวิ กระปอ๋ งเหล็กสำหรับบรรจอุ าหารและเคร่ืองดื่มใชส้ ำหรบั เปน็ ฟวิ ส์ตัด วงจรไฟฟา้ ใช้เปน็ ขวั้ ไฟฟ้าในงานชุบโลหะดว้ ยไฟฟ้า

แนวนอน 2. ใชใ้ นอตุ สาหกรรมฟอกสีกระดาษใช้ฆ่าเชอื้ โรคในนำ้ ประปาและสระวา่ ยน้ำ 5. ใชใ้ นกระบวนการวลั คาไนเซชนั ซ่ึงเป็นการปรับปรงุ คุณภาพของยางเป็นสว่ นผสมของไมข้ ดี ไฟดินปนื และ ดอกไม้ไฟ 6. เปน็ ธาตอุ งคป์ ระกอบของสง่ิ มีชวี ิตเปน็ องคป์ ระกอบสำคัญของเช้ือเพลิงซากดกึ ดำบรรพน์ ิยมนำมาทำเปน็ ถา่ นไสด้ ินสอทำเครือ่ งประดบั 9. ทำเป็นเครอ่ื งประดบั ท่ีครอบฟันเชือ่ มฟนั ใชใ้ นอปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สน์ ำมาใช้เปน็ ชดุ นกั บินอวกาศและ แคปซูลเพอื่ ปอ้ งกนั ไม่ให้นักบินอวกาศกระทบกบั รงั สใี นอวกาศทีม่ ีพลงั งานสูง 11. ใช้ในอตุ สาหกรรมเหล็กกลา้ ทำถา่ นไฟฉายทำสใี ช้ทำนำ้ ยาเคมแี ละเคมีภณั ฑ์ทำปยุ๋ 13. ใช้เติมในลมยางของรถยนต์บางร่นุ สารประกอบของธาตนุ ี้ใชบ้ รรจใุ นถงุ ลมนริ ภัยใชใ้ นอุตสาหกรรมปยุ๋ ถ้ามี สถานะของเหลวจะนำมาใช้ในงานเชอื่ มทอ่ ทองแดงเพอ่ื ปอ้ งกันการเกดิ ปฏกิ ริ ิยากบั แกส๊ ออกซเิ จนในอากาศ 14. เปน็ ตวั กลางในการแลกเปล่ยี นความรอ้ นเป็นสารหล่อเยน็ ในปฏกิ รณ์นิวเคลยี รน์ ำไปทำเปน็ หลอดไฟเพอ่ื ให้ แสงสวา่ งตามท้องถนน 17. นำมาใช้เป็นวัสดุทนความรอ้ นในเตาเผาวสั ดใุ ช้ในเครอื่ งบนิ จรวดโลหะผสมของธาตุนนี้ ำมาทำล้อแมก็ 20. นำไปใช้บรรจใุ นบอลลนู และเรอื เหาะนำไปผสมกบั ออกซิเจนเพอื่ ใช้เป็นอากาศสำหรับหายใจของนัก ประดาน้ำ 21. นำไปทำเป็นสารกง่ึ ตัวนำทำเซลลส์ รุ ยิ ะนำไปผลติ ซลิ โิ คนนำมาผสมกบั อะลมู ิเนยี มเพอื่ หลอ่ ทำชนิ้ สว่ น รถยนต์ 23. นำไปละลายในเอทานอลเพอื่ ทำเปน็ ยาทาฆา่ เชอ้ื โรคบางไอโซโทปของธาตุนี้นำมาใชใ้ นการตดิ ตามการ ทำงานของไทรอยด์ 24. ใช้เป็นสารเร่งปฏิกิรยิ าในการผลติ ยางรถยนต์ทำเป็นขว้ั ไฟฟ้าของถ่านไฟฉาย 25. ใชเ้ ป็นตวั ทำละลายใชใ้ นการดบั เพลงิ ใช้ในอุตสาหกรรมยอ้ มและฟอกสี

เฉลยใบกิจกรรมตามลา่ หาธาตุ กระดาษคำตอบ

บนั ทกึ หลังสอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ นกั เรียนอธบิ ายการนำธาตุไปใช้ประโยชนแ์ ละผลกระทบต่อสิง่ มีชวี ติ ได้ ด้านทกั ษะ นักเรียนสืบค้นขอ้ มลู และนำเสนอการนำธาตใุ ชป้ ระโยชน์ ดา้ นคุณธรรม นักเรยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นการสอนและเขา้ เรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ด้านทักษะชวี ติ เพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปัญหา/อปุ สรรค และข้อคน้ พบ นกั เรยี นไมส่ ามารถนำเสนอกิจกรรมในห้องเรยี นได้ ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข ให้นกั เรยี นนำเสนอผลงานในรูปแบบออนไลน์ ลงชอื่ .....................................................ผูส้ อน (................................................)



แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 พนั ธะเคมี เร่อื งสญั ลกั ษณแ์ บบจดุ ของลวิ เวลา 1 ชว่ั โมง อสิ และกฎออกเตต รหัสวิชา ว 31221 วิชา เคมี 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอินทรยี ์และพอลิเมอร์ รวมท้งั การนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรยี นรู้ ม.4/9 อธิบายการเกดิ ไอออนและการเกดิ พันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรอื สญั ลกั ษณแ์ บบจุดของลิวอสิ สาระการเรยี นรู้ สารเคมีเกิดจากการยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเคมี ซึ่งเกี่ยวข้องกับเวเลนซ์อิเล็กตรอนที่แสดงได้ด้วย สัญลักษณแ์ บบจดุ ของลวิ อิส โดยการเกดิ พันธะเคมสี ว่ นใหญเ่ ป็นไปตามกฎออกเตต สาระสำคัญ เวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุอาจแสดงด้วยจุดสัญลักษณ์ที่แสดงธาตุและเวเลนซ์อิเล็กตรอนของธาตุ เรียกว่า สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสซึ่งเสนอโดย กิลเบิร์ต นิวตัน ลิวอิส สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสใช้จุด แสดงจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนรอบสัญลักษณ์ของธาตุ โดยเขียนจุดเดี่ยวทั้ง 4 ด้านรอบสัญลักษณ์ของธาตุ กอ่ นแลว้ จึงเติมจุดใหเ้ ป็นคู่ ธาตุต่างๆ ส่วนใหญ่ไม่เสถียรในรูปอะตอมเดี่ยว ยกเว้นธาตุหมู่ 8A หรือแก๊สมีสกุล ซึ่งมีจำนวน เวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ยกเว้นฮีเลียมที่มี 2 เวเลนซ์อิเล็กตรอน ซึ่งเป็นการจัดอิเล็กตรอนที่เสถียรเป็น พเิ ศษ ดงั น้ันอะตอมต่าง ๆ ทีเ่ ข้าทำปฏิกิรยิ ากันกจ็ ะพยายามเปลย่ี นแปลงและปรับจำนวนอเิ ล็กตรอนระดับวง นอกของตัวเองให้เป็นเหมือน ธาตุหมู่ 8A หรือ แก๊สมีสกุล ซึ่งมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ซึ่งเป็นไปตาม กฎทีเ่ รยี กวา่ กฎออกเตต (Octet Rule) การปรบั ตวั ของอะตอมเพือ่ ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎออกเตตนั้น ทำได้โดย การให้อเิ ล็กตรอนไปกบั อะตอมอ่ืน การรับอเิ ลก็ ตรอนจากอะตอมอ่ืน และการใชอ้ เิ ลก็ ตรอนร่วมกนั กับอะตอม อ่ืน โมเลกุลของสารประกอบทปี่ รับตวั เป็นไปตามกฎออกเตตนน้ั โมเลกลุ จะมคี วามเสถียรมาก

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายสญั ลักษณ์แบบจดุ ของลวิ อิสของธาตแุ ละไอออน และระบุไดว้ ่าธาตหุ รอื ไอออนน้ัน เปน็ ไปตามกฎออกเตต (K) 2. สามารถเขียนสญั ลักษณแ์ บบจดุ ของลวิ อิสจากการทำกจิ กรรมได้อยา่ งถูกต้อง แม่นยำ และว่องไว (P) 3. มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเรียนรู้ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม และมีจิตสาธารณะในการทำงาน รว่ มกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ (A) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ✓ 2. ซ่ือสัตย์ สจุ รติ ✓ 3. มวี ินยั ✓ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ✓ 6. มุง่ มั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย ✓ 8. มจี ิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ✓ 1. มีความสามารถในการสอ่ื สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคิด ✓ 3. มีความสามารถในการแก้ปัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลัก (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรยี นรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทักษะด้านสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ติ และอาชีพ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูกลา่ วคำทักทายนักเรียน นำเข้าสกู่ ารศกึ ษาเรอื่ งสัญลกั ษณ์แบบจดุ ของลวิ อิสและกฎออกเตต โดยครูจะทำการแจกรปู สญั ลักษณแ์ บบจุดของลิวอิสของธาตุหมู่หลักให้นักเรยี นแต่ละคน จากนั้นครตู ้ังคำถาม กับนกั เรยี นว่า จุดทน่ี ักเรยี นเห็นบนสัญลกั ษณธ์ าตนุ ้ันหมายถงึ อะไร (แนวคำตอบ : จดุ ในสญั ลักษณ์แบบจุดของ

ลิวอิส แสดงเวเลนซ์อิเล็กตรอน เช่น He มี 2 จุด แสดงว่ามี 2 เวเลนซ์อิเล็กตรอน Na มี 1 จุด แสดงว่ามี 1 เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอน) 2. ครูให้นักเรียนพิจารณาสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสของ Na และ Cl แล้วตั้งคําถามว่า ถ้าจะทําให้ จํานวนเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนของธาตุทั้งสองเทา่ กบั ของอะตอมแก๊สมีสกุลซ่ึงเสถียรจะทําไดง้ า่ ยท่ีสุดอย่างไร และ จะได้จาํ นวนเวเลนซ์อิเลก็ ตรอนเท่ากับแก๊สมีสกุลใด (แนวคำตอบ : Na ให้ 1 อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออน Na+ และมีจํานวนเวเลนซ์อิเลก็ ตรอนเทา่ กบั Ne สว่ น Cl รับ 1 อเิ ล็กตรอนเกดิ เปน็ ไอออน Cl- และมจี ํานวนเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนเท่ากบั Ar ซงึ่ หลกั การทอี่ ะตอมของธาตุอ่ืน ๆ มีแนวโน้มท่ีจะรวมตัวกันเพือ่ ที่จะทําให้แต่ละอะตอมมี เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนเท่ากบั 8 เรียกหลกั การนีว้ า่ กฎออกเตต) 3. เมื่อครูถามคำถามแก่นักเรียนเสร็จแล้ว ให้นักเรยี นจำนวน 3-4 คน ยกมือตอบคำถามในแต่ละครั้งใน ข้อที่ 1 โดยถ้ามีนักเรียนคนใดตอบคำถามแล้วใกล้เคียงกับแนวทางการตอบคำถามที่ได้ตั้งเกณฑ์ไว้จะได้รับ คะแนนสะสมเป็น รูปสัญลักษณ์ธาตุ ซึ่งนักเรียนที่ตอบถูกจะได้รูปครั้งละ 1 รูป (1 รูป เท่ากับ 1 คะแนน) ซึ่ง คะแนนในการตอบคำถามครั้งน้ีจะนำไปสะสมรวมกับคะแนนในการทำกิจกรรม ตลอดการเรียนในบทพนั ธะเคมี 4. เม่ือนักเรียนทราบแล้วว่าวันนี้จะมาศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไร ครูอธิบายเน้นย้ำอีกครั้งหนึ่งเพื่อ ความเข้าใจที่ตรงกันว่าจากที่ครูได้ตั้งคำถามให้นักเรียนตอบไปเมื่อสักครู่ วันนี้ครูจะพานักเรียนไปศึกษา สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploretion) 5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยการแบ่งกลุ่มจะแบ่งจากการแจกรูป สัญลกั ษณแ์ บบจุดของลิวอิสของธาตหุ ม่หู ลักจากข้ันตอนแรก ซึง่ จะมีกลุ่มดงั นี้ (กล่มุ ที่ 1 เป็นธาตุหมู่ 1 กลุ่มท่ี 2 เป็นธาตุหมู่ 2 กลุ่มที่ 3 เป็นธาตุหมู่ 7 และกลุ่มที่ 4 เป็นธาตุหมู่ 8) เมื่อแบ่งกลุ่มเสร็จแล้ว ครูจะทำการอธิบาย และให้นักเรียนร่วมกนั ศกึ ษากจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต 6. เมื่อนักเรียนรวมกลุม่ กันได้แล้ว ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันค้นหาว่า สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและ กฎออกเตตวา่ มวี ิธกี ารเขยี นอย่างไร จากกิจกรรมท่ี 1 เรื่อง สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต ใน รูปแบบเกมส์ “ตัวตนฉันเป็นอย่างไร” จากนั้นครูจะทำการอธิบายเพื่อให้นกั เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจทีต่ รงกนั ใน การทำกจิ กรรม 7. ครูพานักเรียนศึกษาว่าสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต นั้นมีหลักการเขียนเป็น อย่างไร และเป็นไปตามกฎออกเตตหรือไม่ โดยเริ่มที่ครูจะให้นักเรียนรวมกลุ่มกันก่อน และให้ส่งตัวแทน นักเรียนออกมาสุ่มการ์ดครั้งละ 1 ใบ/1 คน แล้วดูสัญลักษณ์ธาตุในการ์ดนั้นว่าเป็นธาตุชนิดใด แล้วเขียน คำตอบว่าอนุภาคนั้นมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็นเท่าใด มีสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสเป็นแบบไหน และ ระบุว่าเป็นไปตามกฎออกเตตหรือไม่ 8. เม่อื นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เกดิ ความเขา้ ใจทีต่ รงกนั แล้วให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรม

ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explaination) 9. ครูให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 1 โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมา ยกตัวอย่างสัญลักษณ์ธาตุมากลุ่มละ 1 คู่ ว่าสามารถเขียนสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสได้เป็นแบบไหน และ เป็นไปตามกฎออกเตตหรือไม่ โดยมีการใหห้ รือรับอิเล็กตรอนจากอนุภาคอ่นื อย่างไรบ้าง 10. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายและสรปุ ในเรอื่ ง สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตตวา่ มีหลกั การอย่างไร (แนวการสรุป : สญั ลักษณแ์ บบจุดของลวิ อิสใช้จุดแสดงจำนวนเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนรอบสญั ลกั ษณ์ของธาตุ โดยเขียนจุดเดี่ยวทั้ง 4 ด้านรอบสัญลักษณ์ของธาตุก่อน แล้วจึงเติมจุดให้เป็นคู่ ยกเว้นธาตุ He ที่มี 2 เวเลนซ์ อิเล็กตรอนจะเขยี นเป็นจุดคู่อยู่ด้านเดียวกัน ซง่ึ ในธาตุตา่ งๆ สว่ นใหญ่ไม่เสถียรในรปู อะตอมเด่ียว ยกเว้นธาตุหมู่ 8 หรือแก๊สมีสกุล ที่พบอยู่ในรูปอะตอมเดี่ยว ซึ่งมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ยกเว้นธาตุ He ท่ีมี 2 เวเลนซ์ อิเล็กตรอน นอกจากนี้อะตอมของธาตุอื่นๆ มีแนวโน้มที่จะรวมตัวกันเพื่อที่จะทำให้แต่ละอะตอมมีเวเลนซ์ อิเลก็ ตรอนเทา่ กับ 8 ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎออกเตตนั้น ทำได้โดยการใหอ้ ิเล็กตรอนไปกับอะตอมอืน่ การรับอิเล็กตรอน จากอะตอมอื่น และการใชอ้ เิ ล็กตรอนรว่ มกันกับอะตอมอื่น โมเลกุลของสารประกอบที่ปรับตวั เป็นไปตามกฎออก เตตนน้ั โมเลกลุ จะมีความเสถียรมาก) ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 11. เม่อื นกั เรียนสามารถเขยี นสัญลกั ษณแ์ บบจดุ ของลวิ อสิ ไดแ้ ลว้ นักเรยี นกส็ ามารถรู้ไดว้ ่าธาตุในคูน่ ัน้ มีพันธะเปน็ พันธะเดย่ี ว พนั ธะคู่ หรอื พนั ธะสาม ซึ่งอเิ ลก็ ตรอนคู่ร่วมพนั ธะ 1 คู่ แทนพันธะเด่ียว(single bond) 2 คู่แทนพันธะคู่(double bond) และ 3 คู่แทนพันธะสาม (triple bond) เช่น พันธะเดี่ยว แก๊สมีเทน (methane, CH4) ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า พันธะคู่ เอทิลีน (ethylene) ใช้เป็นสารเร่งการสุกของ ผลไม้ และพันธะสาม อะเซทิลีน (acetylene, C2H2) เป็นแก๊สไม่มีสี เตรียมได้จากปฏิกิริยาระหว่าง แคลเซียมคาร์ไบด์ (CaC2) และน้ำ ขัน้ ประเมนิ (Evaluation) 12. ครูประเมนิ นกั เรยี นจากการทำกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 1 ในรูปแบบเกมส์ “ตัวตนฉันเปน็ อยา่ งไร” 13. ครูประเมินนักเรียนโดยใช้คำถามว่า สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสนั้นคืออะไร และมีวิธีการเขียน อย่างไร (แนวคำตอบ : สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสใชจ้ ุดแสดงจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนรอบสญั ลักษณ์ของธาตุ โดยเขียนจุดเดี่ยวทั้ง 4 ด้านรอบสัญลักษณ์ของธาตุก่อน แล้วจึงเติมจุดให้เป็นคู่ ยกเว้นธาตุ He ที่มี 2 เวเลนซ์ อเิ ล็กตรอนจะเขียนเป็นจดุ คูอ่ ย่ดู า้ นเดียวกนั ) 14. ครูประเมินนักเรียนโดยใช้คำถามว่า การที่จะทำให้แต่ละอะตอมเป็นไปตามกฎออกเตตนั้นทำได้ อย่างไร

(แนวคำตอบ : ทำได้โดยการใหอ้ เิ ล็กตรอนไปกับอะตอมอน่ื การรบั อเิ ลก็ ตรอนจากอะตอมอืน่ และการใช้ อิเล็กตรอนร่วมกันกับอะตอมอื่น โมเลกุลของสารประกอบที่ปรับตัวเป็นไปตามกฎออกเตตนั้น โมเลกุลจะมีความ เสถยี รมาก) 15. ครูประเมินนกั เรียนจากการทำแบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต ตอนท้ายคาบ หากมขี อ้ ไหนทน่ี กั เรียนตอบไมถ่ กู ครูและนกั เรยี นจะรว่ มกนั อภิปรายให้ถูกต้อง การจัดบรรยากาศเชิงบวก ครูกระต้นุ ใหน้ กั เรยี นแสดงความคิดเหน็ โดยไม่ต้องกังวลวา่ ถกู หรือผิด และชว่ ยกนั ปรบั ปรุงแกไ้ ขได้ ควรใหโ้ อกาสนักเรียนได้นำเสนอผลการทำกจิ กรรมในชนั้ เรยี น เพ่อื เปน็ การแบ่งปันความรู้ตอ่ นักเรยี นกล่มุ อื่น ๆ และเกิดการอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. PowerPoint เรื่อง สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต 4. รปู สญั ลักษณธ์ าตตุ า่ งๆ ทใี่ ช้สะสมเป็นคะแนน 5. รปู สัญลักษณแ์ บบจดุ ของลวิ อสิ ทีใ่ ช้ในการแบ่งกล่มุ 6. เว็บไซต์ wordwall (https://wordwall.net/resource/9599095) การวดั ผลประเมินผล วธิ ีการวัด เครอ่ื งมือวดั เกณฑก์ ารวดั การผลประเมนิ ผลดา้ น - การมีสว่ นร่วมเม่อื ครู -แบบประเมนิ รายบุคคล 80% ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ 1. ด้านความรคู้ วาม ถาม - ใบงานกจิ กรรมที่ 1 เข้าใจ - กจิ กรรมที่ 1 “ตัวตน “ตัวตนฉันเป็นอยา่ งไร” ฉันเป็นอย่างไร” - แบบฝกึ หัดที่ 1 - การทำแบบฝึกหัดหลงั เรยี น

2. ด้านทกั ษะ กิจกรรมที่ 1 “ตวั ตนฉัน ใบงานกจิ กรรมที่ 1 80% ข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ เปน็ อย่างไร” “ตวั ตนฉนั เป็นอยา่ งไร” 3. ด้านลกั ษณะท่ีพงึ สังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รียน -แบบสงั เกตพฤติกรรม คณุ ภาพ พอใช้ ขนึ้ ไป ประสงค์ แบบกลุม่ ผ่านเกณฑ์ -สงั เกตพฤติกรรมแบบ รายบคุ คล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .....................................................ผตู้ รวจ(ครพู เ่ี ลย้ี ง) ................/.................../................

ใบงานกจิ กรรมที่ 1 “ตัวตนฉันเป็นอยา่ งไร” คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ เขียนคำตอบลงในชอ่ งว่างทก่ี ำหนดใหใ้ หถ้ กู ต้อง กลุ่มท่ี……..……. วนั ท่ี.......................................................................... หอ้ ง................................................. สมาชิกกลมุ่ 1……………………………………………………. 2………………………………………………….……………… 3……………………………………………… 4……………….……………………………...… 5……………………………………………… สัญลกั ษณข์ องธาต/ุ จำนวนเวเลนซ์ สัญลักษณ์แบบจดุ ของลวิ อสิ เป็นตามกฎออกเตตหรอื ไม่ ไอออน อเิ ล็กตรอน P Mg K Li+ N3- O2- S2-

สญั ลกั ษณข์ องธาต/ุ จำนวนเวเลนซ์ สญั ลกั ษณ์แบบจุดของลวิ อิส เปน็ ตามกฎออกเตตหรอื ไม่ ไอออน อเิ ลก็ ตรอน F- Ne He Na K+ NaBr MgO LiF

หาขอ้ มลู มานำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมายกตัวอย่างสัญลักษณ์ธาตุมากลุ่มละ 1 คู่ ว่าสามารถเขียนสัญลักษณ์ แบบจุดของลิวอิสได้เป็นแบบไหน และเป็นไปตามกฎออกเตตหรือไม่ โดยมีการให้หรือรับอิเล็กตรอนจาก อนภุ าคอ่ืนอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

เฉลย ใบงานกจิ กรรมท่ี 1 “ตัวตนฉนั เป็นอยา่ งไร” คำชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทอยลูกเต๋า แล้วเขียนคำตอบว่าอะตอมนั้นมีจำนวนเวเลนซ์อิเล็กตรอนเป็น เทา่ ใด และการเขียนเป็นสัญลักษณแ์ บบจดุ ของลวิ อิสและระบุว่าเป็นไปตามกฎออกเตตหรือไม่ กล่มุ ที่……..……. วนั ที่.......................................................................... หอ้ ง................................................. สมาชกิ กลุม่ 1……………………………………………………. 2………………………………………………….……………… 3…………………………………………… 4…………………………………………...………. 5……………………………………………… สญั ลักษณข์ อง จำนวนเวเลนซ์ สัญลกั ษณแ์ บบจุดของลิวอสิ เป็นตามกฎออกเตตหรอื ไม่ ธาต/ุ ไอออน อเิ ล็กตรอน ไมเ่ ปน็ P 5 ไม่เป็น ไมเ่ ป็น Mg 2 ไม่เปน็ เป็น K 1 เปน็ เปน็ Li+ 2 เปน็ N3- 8 O2- 8 S2- 8 F- 8

สญั ลกั ษณข์ อง จำนวนเวเลนซ์ สญั ลกั ษณแ์ บบจุดของลวิ อสิ เปน็ ตามกฎออกเตตหรอื ไม่ ธาต/ุ ไอออน อเิ ลก็ ตรอน เปน็ Ne 8 เปน็ He 2 ไมเ่ ป็น เปน็ Na 1 เปน็ เปน็ K+ 8 เป็น NaBr Na 1 Br 7 MgO Mg 2 O6 LiF Li 1 F7

แบบ กหดั ท่ี 1 เรอื่ ง สัญลักษณ์แบบจดุ ของลวิ อิสและกฎออกเตต ชื่อ…………………………………………………………………………………………….…………..ชัน้ …………………………เลขที่……………… 1.สญั ลกั ษณ์ทแ่ี สดงธาตแุ ละเวเลนซอ์ ิเล็กตรอนของธาตุเรียกวา่ อะไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.กฎออกเตต คืออะไร อธบิ ายมาพอสงั เขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.เขยี นสญั ลกั ษณ์แบบจุดของลวิ อิสของไอออนตอ่ ไปนี้ 1.1 Ca2+ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2 Cl- ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 Al3+ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.4 N …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. สัญลักษณ์แบบจดุ ของลวิ อสิ ของ จากขอ้ 3 มเี วเลนซ์อิเล็กตรอนเปน็ ไปตามกฎออกเตตหรอื ไม่ 1.1 Ca2+ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….… 1.2 Cl- ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 1.3 Al3+ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..….. 1.4 N ………………………………………………………………………………………………………………………………………….……

เฉลย แบบ กหดั ท่ี 1 1.สญั ลกั ษณท์ แี่ สดงธาตแุ ละเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนของธาตุเรยี กว่าอะไร สัญลกั ษณ์แบบจดุ ของลวิ อิส 2.อธิบายกฎออกเตตมาพอสงั เขป อะตอมต่าง ๆ ท่เี ขา้ ทำปฏิกริ ยิ ากันก็จะพยายามเปล่ียนแปลงและปรับจำนวนอเิ ลก็ ตรอนระดับวงนอก ของตวั เองใหเ้ ปน็ เหมือนแก๊สเฉ่อื ย ซง่ึ มจี ำนวนอเิ ลก็ ตรอนเทา่ กับ 8 ซึง่ เป็นไปตามกฎทเี่ รยี กวา่ กฎออก เตต (octet rule) 3.เขยี นสัญลักษณแ์ บบจุดของลิวอสิ ของไอออนตอ่ ไปน้ี 1.1 Ca2+ 1.2 Cl- 1.3 Al3+ 1.4 N 4. สญั ลักษณแ์ บบจุดของลิวอสิ ของ จากขอ้ 3 มีเวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอนเปน็ ไปตามกฎออกเตตหรอื ไม่ 1.1 Ca2+ เปน็ ไปตามกฎออกเตต 1.2 Cl- เป็นไปตามกฎออกเตต 1.3 Al3+ เปน็ ไปตามกฎออกเตต 1.4 N ไม่เปน็ ไปตามกฎออกเตต

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ กลมุ่ คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งว่างที่ตรงกับระดับคะแนน กลุ่ม …………………… สมาชกิ ของกล่มุ 1……………………………………………..2……………………………………………… 3………………………………………… 4…………………………………………….. คณุ ภาพการปฏบิ ัติ ลำดบั ท่ี พฤติกรรม 432 1 1 มีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ และรับฟังกนั ภายในกลุม่ 2 มคี วามกระตือรือร้น และตังใจในการทำงาน 3 มีการจดั การทดี่ ภี ายในกลุ่มมกี ารวางแผนอย่างเปน็ ระบบ 4 มีการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กนั ภายในกลุ่ม 5 มีความรับผดิ ชอบในการทำงาน 6 มีการทำงานไดอ้ ย่างถูกต้องและปลอดภัย รวม ลงชอื่ ……………………………………………………ผู้ประเมิน ….………/……………./………….. เกณฑ์การให้คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ = 4 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั = 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั = 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้งั = 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั 21-24 ดีมาก 16-20 ดี 11-15 พอใช้ 6-10 ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ลำดบั ชือ่ -นามสกุล ผูถ้ ูกประเมนิ พฤตกิ รรม รวม ต้งั ใจในการ การตอบ มคี วาม ตรงตอ่ ทำงาน คำถาม รบั ผิดชอบ เวลา 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 12 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ = 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง = 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยครั้ง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั 10-12 ดีมาก 8-9 ดี 6-7 พอใช้ 4-5 ปรบั ปรงุ

บันทึกหลงั สอน ๑. ผลการสอน/ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ นักเรียนอธิบายสัญลกั ษณ์แบบจดุ ของลิวอิสของธาตุและไอออน และระบุไดว้ ่าธาตุหรอื ไอออนน้ัน เป็นไปตามกฎออกเตต ดา้ นทักษะ นกั เรยี นเขียนสญั ลกั ษณแ์ บบจุดของลิวอสิ จากการทำกจิ กรรมได้อยา่ งถูกต้อง แม่นยำ และว่องไว ด้านคณุ ธรรม นกั เรยี นมีความกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นการสอนและเขา้ เรยี นอย่างสม่ำเสมอ ด้านทกั ษะชวี ิตเพอื่ การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 : 5 – 8 – 4 - ๒. ปัญหา/อปุ สรรค และขอ้ คน้ พบ ไมม่ ี ๓. ขอ้ เสนอแนะแนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข ไม่มี ลงชอื่ .....................................................ผ้สู อน (................................................)



แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 พนั ธะเคมี เรอื่ งการเกิดพนั ธะไอออนิก เวลา 1 ชวั่ โมง รหสั วิชา ว 31221 วชิ า เคมี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สาระเคมี เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุพันธะเคมีและสมบัติของสาร แกส๊ และสมบตั ขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอนิ ทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมท้ังการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระ/ผลการเรียนรู้ ม.4/9 อธบิ ายการเกิดไอออนและการเกดิ พนั ธะไอออนกิ โดยใชแ้ ผนภาพหรือสัญลกั ษณแ์ บบจุดของลิวอิส สาระการเรียนรู้ พันธะไอออนิกเกิดจากการยึดเหนี่ยวระหว่างประจุไฟฟ้าของไอออนบวกกับไอออนลบส่วนใหญ่ ไอออนบวกเกิดจากโลหะเสียอิเล็กตรอนและไอออนลบเกิดจากอโลหะรับอิเล็กตรอนสารประกอบที่เกิดจาก พันธะไอออนิก เรียกว่า สารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิก ไม่อยู่ในรูปโมเลกุล แต่เป็นโครงผลึกที่ ประกอบดว้ ยไอออนบวกและไอออนลบจัดเรยี งตัวตอ่ เนอื่ งกนั ไปท้ังสามมติ ิ สาระสำคัญ พันธะไอออนิก เป็นพันธะเคมีชนิดหนึ่งเกิดจากท่ีอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมสร้างพันธะกันโดยที่ อะตอมหรอื กล่มุ ของอะตอมให้อเิ ล็กตรอนกบั อะตอมหรือกลมุ่ ของอะตอม ทำให้กลายเป็นประจบุ วก ในขณะท่ี อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่ได้รับอิเลก็ ตรอนน้ันกลายเป็นประจุลบ เนื่องจากท้ังสองกลุ่มมีประจุตรงกันข้าม กันจะดึงดูดกัน ทำให้เกิดพนั ธะไอออน โดยทั่วไปพันธะชนิดนี้มกั เกิดขึ้นระหว่างโลหะกบั อโลหะ โดยอะตอมท่ี ให้อิเล็กตรอนมักเป็นโลหะ ทำให้โลหะนั้นมีประจุบวก และอะตอมท่ีรับอิเล็กตรอนมักเป็นอโลหะทีม่ ีประจุลบ และสารท่เี กิดจากพันธะไอออนกิ นีเ้ รยี กว่า สารประกอบไอออนกิ ซึ่งสารประกอบไอออนิกทเ่ี กิดขนึ้ สว่ นใหญจ่ ะ เปน็ ไปตามกฎออกเตต จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สามารถอธิบายการเกิดไอออนและการเกิดพนั ธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรือสัญลกั ษณแ์ บบจดุ ของลิวอิส (K) 2. สามารถอธิบายโครงสรา้ งของสารประกอบไอออนิก (K)

3. สามารถเขยี นแผนภาพหรือสัญลักษณแ์ บบจุดของลวิ อิสของการเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก จากการทำกิจกรรมไดอ้ ย่างถกู ต้อง แมน่ ยำ และวอ่ งไว (P) 4. มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการเรียนรู้ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม และมีจิตสาธารณะในการ ทำงานร่วมกับผู้อืน่ ได้อย่างสร้างสรรค์ (A) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ✓ 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ✓ 3. มวี นิ ยั ✓ 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ✓ 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย ✓ 8. มจี ิตสาธารณะ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ✓ 1. มคี วามสามารถในการสอื่ สาร ✓ 2. มคี วามสามารถในการคิด ✓ 3. มคี วามสามารถในการแกป้ ัญหา ✓ 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ✓ 5. มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 ✓ 1. สาระวชิ าหลกั (Core Subjects) ✓ 2. ทักษะการเรยี นรู้ และนวตั กรรม ✓ 3. ทักษะดา้ นสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี ✓ 4. ทักษะด้านชวี ิต และอาชีพ กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูกลา่ วคำทักทายนักเรยี น นำเข้าส่กู ารศกึ ษาเรื่อง การเกิดพันธะไอออนกิ โดยครูจะทำการ ให้ นกั เรยี นเล่นเกม ตอบให้ได้ทายใหถ้ กู โดยจะใหน้ ักเรียนชว่ ยกันเปิดแผ่นป้าย แลว้ บอกวา่ สตู รเคมีท่ีเห็นในแผ่น ปา้ ยใดเป็นสารประกอบไอออนกิ

(แนวการสรุป : NaCl NaBr LiF MgO KI และ KCl เป็นสารประกอบไอออนิก เนื่องจากมีการ รวมตัวกันของธาตุโลหะและอโลหะ ซึ่งธาตุโลหะมีพลังงานไอออไนเซชันต่ำจึงเสียอิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออน บวกได้ง่าย สว่ นธาตุอโลหะมีค่าสมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอนสงู จงึ รบั อเิ ลก็ ตรอนเกิดเปน็ ไอออนลบ ) 2. เม่ือครูถามคำถามแก่นักเรียนเสร็จแล้ว ให้นักเรียนจำนวน 3-4 คน ยกมือตอบคำถามในแต่ ละครั้งในขอ้ ท่ี 1 โดยถ้ามีนักเรียนคนใดตอบคำถามแล้วใกลเ้ คยี งกบั แนวทางการตอบคำถามท่ไี ด้ต้ังเกณฑ์ไวจ้ ะ ไดร้ ับคะแนนสะสมเปน็ รูปสูตรเคมีของสารประกอบไอออนิก ซึ่งนักเรยี นทต่ี อบถูกจะไดร้ ูปครง้ั ละ 1 รูป (1 รูป เท่ากับ 1 คะแนน) ซึ่งคะแนนในการตอบคำถามครั้งนี้จะนำไปสะสมรวมกับคะแนนในการทำกิจกรรมในบท พนั ธะเคมี 3. เมื่อนักเรียนทราบแล้วว่าวันนี้จะมาศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอะไร ครูอธิบายเน้นย้ำอีกครั้งหนึ่ง เพื่อความเข้าใจที่ตรงกันว่าจากที่ครูได้ตั้งคำถามให้นักเรียนตอบไปเมื่อสักครู่ วันนี้ครูจะพานักเรียนไป ศึกษา การเกิดพันธะไอออนิก ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploretion) 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน โดยการแบ่งกลุ่มจะแบ่งจากการจับฉลาก ซง่ึ จะมีกลุม่ ดงั น้ี (กลุม่ ท่ี 1 เป็น NaCl กลุม่ ท่ี 2 เป็น NaBr กลุ่มท่ี 3 เป็น MgO และกลุ่มท่ี 4 เปน็ LiF) เมื่อแบง่ กลุ่ม เสรจ็ แล้ว ครจู ะทำการอธิบายและให้นกั เรยี นร่วมกันศึกษากจิ กรรมที่ 1 การเกิดพันธะไอออนิก 5.เมื่อนักเรียนรวมกลุ่มกันได้แล้ว ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา การเกิดพันธะไอออนิก ว่ามี แบบจำลองอะตอมของโบร์และสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสเป็นอย่างไร จากกิจกรรมที่ 1 ในรูปแบบเกมส์ “คือฉัน” จากนัน้ ครจู ะทำการอธบิ ายเพอ่ื ให้นักเรียนเกิดความเขา้ ใจท่ีตรงกันในการทำกิจกรรม 6.ครูจะพานักเรียนไปศึกษาว่าการเกิดพันธะไอออนิก ว่ามีแบบจำลองอะตอมของโบร์และ สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสเป็นอย่างไร โดยเริ่มที่ครูจะให้นักเรียนรวมกลุ่มกันก่อน และให้ส่งตัวแทนกลุ่ม ออกมารับของในการทำกิจกรรม โดยครูจะกำหนดโจทยใ์ ห้บน Power Point แลว้ ให้แตล่ ะกลมุ่ นำแม่เหล็กมา วางบนแผ่นแบบจำลองอะตอมของโบร์ และให้แต่ละกลุ่มวาดแบบแผ่นจำลองอะตอมของโบร์ที่ได้ และ สญั ลกั ษณแ์ บบจดุ ของลิวอสิ วา่ เป็นอย่างไร ลงในใบกจิ กรรมทค่ี รแู จกให้ 7. เมอื่ นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ เกดิ ความเข้าใจทีต่ รงกันแล้วให้แต่ละกลุ่มทำกิจกรรม ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explaination) 8. ครูให้นักเรียนนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมที่ 1 ว่าธาตุและสารประกอบแต่ละชนิด มี แบบจำลองอะตอมของโบร์และสญั ลกั ษณแ์ บบจุดของลิวอสิ เป็นอย่างไร 9. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายและสรุปในเรอื่ ง การเกดิ พนั ธะไอออนกิ ว่ามหี ลกั การอยา่ งไร (แนวการสรุป : พันธะไอออนิก เกิดจากการที่ธาตุโลหะมีค่าพลังงานไอออไนเซชันต่ำ จึงมีแนวโน้มที่จะเสีย อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนบวกได้ง่าย ส่วนธาตุอโลหะมีค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนสูง จึงมีแนวโน้มที่จะรับ

อิเล็กตรอนเกิดเป็นไอออนลบได้ง่าย ซึ่งไอออนบวกและไอออนลบมีประจุไฟฟ้าที่ต่างกัน จึงเกิดการยึดเหนี่ยวกัน ด้วยแรงดงึ ดูดระหวา่ งประจไุ ฟฟา้ เรียกการยดึ เหนยี่ วนวี้ า่ “พนั ธะไอออนิก” (ionic bond) และเรยี กสารท่เี กิดจาก พันธะไอออนกิ วา่ “สารประกอบไอออนิก” (ionic compound) ซึ่งสารประกอบไอออนกิ ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เป็นไป ตามกฎออกเตต เช่น) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 10. ครูพูดถึงสารประกอบไอออนิกในสถานะของแข็งท่อี ยใู่ นรปู ของผลึกทีม่ ีไอออนบวกและไอออนลบ ยึดเหนีย่ วกันด้วยพันธะไอออนิกอยา่ งต่อเนื่องกันไปทั้ง 3 มิติเป็นโครงผลึก และไม่อยูใ่ นรูปโมเลกุล เช่น โครง ผลึกของสารประกอบโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) ดงั ภาพ ขั้นประเมนิ (Evaluation) 11. ครปู ระเมนิ นกั เรยี นจากการทำกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ 1 ในรูปแบบเกมส์ “คอื ฉัน” 12. ครปู ระเมนิ นักเรยี นโดยใชค้ ำถามว่า พนั ธะไอออนกิ คืออะไร (แนวคำตอบ : การทไี่ อออนบวกและไอออนลบทีม่ ีประจุไฟฟ้าตา่ งกัน จะยดึ เหน่ยี วกันด้วยแรงดึงดูด ทางไฟฟ้า)

13. ครูประเมนิ นักเรยี นจากการทำแบบฝึกหัดทา้ ยคาบ หากมีขอ้ ไหนท่ีนักเรยี นตอบไมถ่ กู ครแู ละ นกั เรียนจะรว่ มกันอภิปรายใหถ้ กู ตอ้ ง การจดั บรรยากาศเชงิ บวก ครกู ระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเหน็ โดยไมต่ ้องกงั วลว่าถูกหรอื ผิด และช่วยกนั ปรบั ปรงุ แก้ไขได้ ควรใหโ้ อกาสนักเรียนไดน้ ำเสนอผลการทำกิจกรรมในชัน้ เรยี น เพอื่ เป็นการแบ่งปนั ความรตู้ ่อนักเรยี นกล่มุ อ่นื ๆ และเกดิ การอภปิ รายระหวา่ งกลุ่ม สอ่ื /แหล่ง การเรยี นรู้ 1. หนังสือแบบเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ 2. คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีเล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ของสถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖o) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ 3. PowerPoint เรื่อง สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิสและกฎออกเตต 4. รูปสญั ลกั ษณ์ธาตุต่างๆ ทใ่ี ชส้ ะสมเปน็ คะแนน 5. รูปสญั ลกั ษณ์แบบจดุ ของลิวอิสที่ใชใ้ นการแบง่ กลุ่ม 6. เว็บไซต์ wordwall (https://wordwall.net/resource/9599095) 7. ชุดกิจกรรมที่ 1 ในรูปแบบเกมส์ “คือฉัน”

การวดั ผลประเมินผล วธิ กี ารวัด เครื่องมอื วดั เกณฑ์การวดั การผลประเมินผลดา้ น - การมีสว่ นรว่ มเมอ่ื ครู - แบบประเมนิ รายบคุ คล 80% ขน้ึ ไป ผา่ นเกณฑ์ 1. ดา้ นความรคู้ วาม ถาม - ใบงานกจิ กรรมท่ี 1 เข้าใจ - กจิ กรรมท่ี 1 “คอื ฉัน” “คือฉัน” 80% ขึ้นไป ผา่ นเกณฑ์ - การทำแบบฝึกหดั หลัง - แบบฝกึ หัดท่ี 1 คณุ ภาพ พอใช้ ข้นึ ไป 2. ดา้ นทักษะ เรียน ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ - กจิ กรรมที่ 1 “คอื ฉัน” - ใบงานกจิ กรรมที่ 1 3. ดา้ นลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ สงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบกลุม่ -สงั เกตพฤติกรรมแบบ รายบคุ คล

กจิ กรรมเสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ.....................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ ................/.................../................ ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ .....................................................ผตู้ รวจ(ครพู เ่ี ลย้ี ง) ................/.................../................

ใบกจิ กรรมท่ี 1 “คอื ฉัน” วสั ด/ุ อปุ กรณ์ 1.แผน่ สงั กะสี 2.แผ่นใส 3.กระดาษสีขาว 4.ปากกาไวทบ์ อร์ด 5.แมเ่ หลก็ สนี ้ำเงนิ ขาว และแดง วิธที ำกิจกรรม 1. ให้แตล่ ะกลุ่มจดั เรียงอปุ กรณ์ ดงั ภาพ 2. เม่อื นกั เรียนจัดเรยี งอุปกรณ์ตามภาพเสรจ็ แลว้ ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มอา่ นโจทยบ์ น Power Point และนำ แม่เหลก็ มาจัดเรยี งอเิ ล็กตรอนตามแบบจำลองอะตอมของโบร์ของธาตุและสารประกอบท่คี รูกำหนดให้ โดย กำหนดให้ แม่เหล็กสนี ้ำเงนิ แทน นิวเคลียส แมเ่ หล็กสีแดง แทน อเิ ล็กตรอนของธาตุ A แม่เหลก็ สีขาว แทน อเิ ล็กตรอนของธาตุ B คำแนะนำ : เพอ่ื ใหง้ า่ ยต่อการจดั เรยี งอเิ ล็กตรอนตามแบบจำลองอะตอมของโบร์ ให้จดั เรยี ง อเิ ลก็ ตรอนของธาตแุ ละสารประกอบนน้ั ๆ กอ่ น 3. จากนน้ั ให้แต่ละกลุ่มวาดแบบแผ่นจำลองอะตอมของโบรท์ ่ไี ด้ และสญั ลักษณ์แบบจดุ ของลวิ อิสลงในใบงาน กจิ กรรมที่ครูแจกให้

ใบงานกจิ กรรมท่ี 1 “คือฉัน” คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ เขยี นคำตอบลงในช่องวา่ งทก่ี ำหนดให้ใหถ้ กู ต้อง กลมุ่ ที่……..……. วนั ท่ี.......................................................................... หอ้ ง................................................. สมาชกิ กลุม่ 1……………………………………………………. 2………………………………………………….……………… 3…………………………………………… 4…………………………………………...………. 5……………………………………………… ธาตแุ ละ แบบจำลองอะตอมของโบร์ สญั ลักษณแ์ บบจุดของลวิ อสิ สารประกอบ Na+ Cl- NaCl Mg2+ F- MgF2

เฉลย ใบงานกจิ กรรมท่ี 1 “คือฉนั ” คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เขียนคำตอบลงในชอ่ งว่างทกี่ ำหนดใหใ้ หถ้ กู ต้อง กลุ่มที่……..……. วนั ที่.......................................................................... หอ้ ง................................................. สมาชกิ กลุม่ 1……………………………………………………. 2………………………………………………….……………… 3…………………………………………… 4…………………………………………...………. 5……………………………………………… ธาตแุ ละ แบบจำลองอะตอมของโบร์ สัญลักษณ์แบบจดุ ของลิวอสิ สารประกอบ Na+ Cl- NaCl Mg2+ F- MgF2

แบบ กหัดท่ี 1 เรื่อง การเกดิ พนั ธะไอออนกิ 1. เขียนแสดงการให้และรบั อเิ ล็กตรอนในการเกดิ สารประกอบระหว่างธาตุแตล่ ะค่ตู อ่ ไปนี้โดยใชส้ สัญลกั ษณ์ แบบจดุ ของลวิ อิส 1.1 ลเิ ทียมกบั คลอรีน 1.2 ซเี ซียมกบั กํามะถนั 1.3 แบเรยี มกับไอโอดีน 1.4 แคลเซยี มกับออกซเิ จน 2. ระบุชนดิ ของไอออนในโครงสรา้ งผลกึ ของสารประกอบทีก่ าํ หนดให้ 2.1 สารประกอบลเิ ทยี มฟลอู อไรด์ (LiF) 2.2 สารประกอบแมกนีเซียมออกไซด์ (MgO)

2.3 สารประกอบโพแทสเซยี มไอโอไดด์ (KI)

เฉลย แบบ กหัดที่ 1 เรอ่ื ง การเกดิ พนั ธะไอออนกิ 1. เขยี นแสดงการให้และรับอเิ ลก็ ตรอนในการเกดิ สารประกอบระหวา่ งธาตแุ ต่ละคูต่ อ่ ไปนโ้ี ดยใชส้ สัญลักษณแ์ บบจดุ ของลวิ อิส 1.1 ลิเทยี มกบั คลอรีน 1.2 ซเี ซียมกับกำมะถนั 1.3 แบเรียมกับไอโอดีน 1.4 แคลเซยี มกบั ออกซเิ จน 2. ระบชุ นิดของไอออนในโครงสร้างผลกึ ของสารประกอบที่กาํ หนดให้ 2.1 สารประกอบลเิ ทียมฟลูออไรด์ (LiF)

2.2 สารประกอบแมกนเี ซียมออกไซด์ (MgO) 2.3 สารประกอบโพแทสเซียมไอโอไดด์ (KI)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook