รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการศกึ ษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพ ศกึ ษาสถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะที่ 1 มกราคม 2564 มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
โครงการศกึ ษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพ ศกึ ษาสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 รายงานฉบบั สมบูรณ์ (Final Report) เสนอ กองเศรษฐกจิ สุขภาพและหลกั ประกันสขุ ภาพ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดย มลู นธิ สิ ถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกจิ การคลงั มกราคม 2564
สารบญั บทที่ หน้า 1 บทนา 1-1 1.1 หลักการและเหตุผล 1-2 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1-2 1.3 ขอบเขตการดาเนินงาน 1-3 1.4 กรอบแนวคิดและวธิ กี ารดาเนินงาน 1-7 1.5 ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ 1-7 1.6 ระยะเวลาการดาเนนิ งาน และตารางคุมกาหนดการทางาน 1-8 1.7 บคุ ลากรและการบริหารโครงการ 2 การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ ก่ียวข้อง 2.1 หลกั การและแนวคดิ ที่เกยี่ วข้องกับการจัดทาบัญชีบริวารดา้ นสขุ ภาพ 2-1 2.1.1 ระบบบัญชปี ระชาชาติ (System of National Accounts) 2-1 2.1.2 บัญชีบรวิ าร (Satellite Account) 2-11 2.1.3 บญั ชีบริวารดา้ นสุขภาพ (Satellite Health Account) 2-37 2.1.4 ระบบบัญชดี า้ นสุขภาพ (A System of Health Account) 2-41 2.1.5 ทฤษฎที เี่ กี่ยวกบั การจดั ทาบญั ชีการผลิต 2-66 2.2 ประสบการณ์การจัดทาบัญชรี ายจา่ ยสขุ ภาพแหง่ ชาติของประเทศไทย 2-71 2.2.1 กรอบแนวคดิ ในการจัดทาบญั ชีรายจา่ ยสขุ ภาพแห่งชาตขิ องประเทศไทย 2-76 2.2.2 คานิยามบัญชีรายจา่ ยแหง่ ชาตขิ องประเทศไทย 2-77 2.2.3 รปู แบบของตารางบญั ชีรายจ่ายด้านสขุ ภาพแหง่ ชาติของประเทศไทย 2-81 2.2.4 การจดั เก็บข้อมลู รายจ่ายดา้ นสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย 2-88 2.3 ประสบการณ์การจดั ทาบัญชปี ระชาชาตแิ ละบญั ชบี รวิ ารของอุตสาหกรรมอน่ื ในประเทศไทย 2-90 2.3.1 บัญชปี ระชาชาตขิ องไทย 2-90 2.3.2 บญั ชีบรวิ ารดา้ นการท่องเที่ยว (Tourism Satellite Account: TSA) 2-95 2.3.3 บัญชบี ริวารภาคดิจทิ ลั 2-98 รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี ส-1 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
บทที่ หนา้ 2.4 นโยบาย แผนยุทธศาสตร์ และกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับด้านสุขภาพของไทย 2-100 2.4.1 นโยบายท่ีเกยี่ วข้องกบั ด้านสุขภาพ 2-100 2.4.2 แผนและยทุ ธศาสตรเ์ ก่ียวข้องกบั ด้านสุขภาพ 2-105 2.4.3 กฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ด้านสขุ ภาพ 2-111 3 การรวบรวมข้อมูลปฐมภมู ทิ ี่เก่ยี วข้อง 3.1 การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิเกีย่ วกับการกาหนดกรอบข้อมลู ในการจดั ทาบญั ชบี รวิ าร 3-1 ด้านสขุ ภาพ 3.1.1 ประเด็นการรวบรวมข้อมูล 3-1 3.1.2 กลุ่มเป้าหมาย 3-4 3.1.3 ผลการรวบรวมข้อมูล 3-5 3.2 การรวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิเกี่ยวกบั การพฒั นาขอบเขตของระบบบญั ชีบริวารด้านสขุ ภาพ 3-7 3.2.1 ประเด็นการรวบรวมข้อมูล 3-7 3.2.2 กลุ่มเปา้ หมาย 3-14 3.2.3 ผลการรวบรวมขอ้ มูล 3-15 4 ขอ้ เสนอโครงสร้างบัญชีบริวารด้านสุขภาพของประเทศไทย 4-1 4.1 แผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ 4-7 4.2 การจดั ทาบญั ชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพของประเทศไทย 4-7 4.2.1 แนวคิดและหลักการในการจดั ทา 4-8 4.2.2 โครงสร้างบัญชบี ริวารด้านสุขภาพ 4-11 4.2.3 นยิ าม ขอบเขตและการจาแนกประเภท 4-22 4.2.4 รูปแบบบัญช/ี ตารางในบญั ชีบริวารสขุ ภาพ 4-34 4.2.5 การประมวลผล 4-40 4.3 การตรวจสอบและบนั ทึกข้อมูล 5 การจดั ประชุมท่เี กี่ยวขอ้ งกับการดาเนินงานของโครงการ 5-1 5.1 การจัดประชุมรายงานความคืบหน้าต่อคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการ 5-1 เศรษฐกิจ สุขภาพและการคลังสขุ ภาพ 5.1.1 การนาเสนอแผนการดาเนินงานท่ีกาหนดไว้ในการศึกษา ร่วมกับกอง 5-2 เศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณะสุข ณ วันท่ี 8 มกราคม 2563 5.1.2 การนาเสนอความก้าวหน้าของแผนการดาเนินงานและหารือเพื่อเตรียมการ ประชุมคณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ คร้ังท่ี 1/2563 ร่วมกับกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข ณ วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี ส-2 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
บทท่ี หน้า 5.1.3 การนาเสนอความก้าวหน้าในการดาเนินงานในการประชุมคณะกรรมการ 5-2 เศรษฐกิจสุขภาพและการคลังสุขภาพ คร้ังที่ 1/2563 ร่วมกับกองเศรษฐกิจ สุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ 5 สิงหาคม 5-3 2563 5.1.4 การนาเสนอความก้าวหน้าของแผนการดาเนินงานหลังจากปรับปรุงตามมติ 5-4 คณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวง 5-4 สาธารณสุข ณ วันที2่ 8 สิงหาคม 2563 5.1.5 การนาเสนอความคืบหน้าของการดาเนินงาน รว่ มกับกองเศรษฐกจิ สุขภาพ 5-4 และหลกั ประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 28 ตลุ าคม 2563 5-10 5.1.6 การนาเสนอความก้าวหน้าในการดาเนินงานในการประชุมคณะกรรมการ 5-10 เศรษฐกิจสุขภาพและการคลังสุขภาพ คร้ังที่ 2/2563 ร่วมกับกองเศรษฐกิจ 5-11 สุขภาพและหลักประกันสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ณ วันท่ี 16 พฤศจกิ ายน 2563 5.2 การจัดประชุมนาเสนอผลการดาเนนิ งาน 5.3 การอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานท่ี เกย่ี วขอ้ ง 5.3.1 การอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของกระทรวงสาธารณสุขและ หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งคร้ังที่ 1 ณ วันที่18 ธันวาคม 2563 5.3.2 การอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของกระทรวงสาธารณสุขและ หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ งคร้ังท่ี 2 ณ วนั ท่ี29 มกราคม 2564 บรรณานกุ รม บ-1 ภาคผนวก ภ-1 ก รหสั และความหมายในการจดั ทาบญั ชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย ภ-15 ข เลขพิกดั ศลุ กากรสินค้าดา้ นสุขภาพ ภ-36 ค ขอบเขตและการจาแนกประเภทกจิ กรรมภายใต้บัญชีบริวารด้านสขุ ภาพ ภ-41 ง การประสานงานเพ่ือขอข้อมลู ตามขอบเขตและการจาแนกประเภทกิจกรรมภายใต้ ภ-48 บญั ชีบรวิ ารด้านสุขภาพ ภ-53 จ ประเดน็ ในการสัมภาษณ์เชงิ ลึก ภ-55 ฉ รายชื่อผเู้ ข้ารว่ มประชมุ นาเสนอผลการดาเนนิ งาน ภ-59 ช รายชือ่ ผู้เขา้ รว่ มการอบรมถา่ ยทอดความรู้แก่บุคลากรและหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง ซ แบบฝึกหดั ประกอบการอบรมแก่บุคลากรและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ส-3 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา้ 1-7 1.1 ตารางคุมกาหนดการทางานของโครงการ (Gantt Chart) 1-8 1.2 รายชอ่ื บุคลากรและตาแหน่งหนา้ ท่ใี นการดาเนนิ โครงการ 2-20 2.1 บัญชสี าหรับผผู้ ลติ เฉพาะ (Full Accounts for Characteristic Producers) 2-44 2.2 การใช้จ่ายเพื่อการบริโภคขั้นสุดท้ายและการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคจริงของ 2-72 ครวั เรือน 3-5 2.3 การพฒั นาบญั ชรี ายจ่ายสขุ ภาพแหง่ ชาติของประเทศไทย ต้ังแต่ พ.ศ. 2538 – 2559 3.1 การสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับการกาหนดกรอบข้อมูลในการจัดทาบัญชีบริวารด้าน 3-12 3-16 สขุ ภาพ 3-18 3.2 ขอบเขตของกจิ กรรมภายใตบ้ ัญชบี ริวารดา้ นสขุ ภาพ 3-19 3.3 การสัมภาษณ์เชิงลกึ เกย่ี วกบั การพฒั นาขอบเขตของระบบบัญชบี รวิ ารด้านสุขภาพ 3-19 3.4 ปจั จยั การผลิตดา้ นสขุ ภาพที่กระทรวงอุตสาหกรรมจัดเกบ็ จาแนกตาม TSIC 3.5 การสารวจเพื่อใชจ้ ัดทาดัชนอี ตุ สาหกรรมจาแนกตามจานวนโรงงานทไี่ ด้จดั เกบ็ 3-21 3.6 รายละเอียดข้อมูลตามการจาแนกประเภทของบัญชีบริวารด้านสุขภาพตาม 3-22 ฐานขอ้ มูลของกระทรวงอตุ สาหกรรมในปัจจุบนั 3.7 รายละเอียดข้อมูลตามการจาแนกประเภทของบัญชีบริวารด้านสุขภาพตามการ 3-22 บรหิ ารจัดการขอ้ มูลกรมพัฒนาธรุ กจิ การค้า 4-5 3.8 รายรับค่าบริการฯ และจานวนผู้ป่วยตามแบบสารวจการให้บริการรักษาพยาบาล ผ้ปู ่วยท่ีมีถิ่นทอี่ ยู่ในต่างประเทศของธนาคารแห่งประเทศไทย 3.9 รายรบั ค่าบรกิ ารฯ ตามแบบสารวจการให้บริการรักษาพยาบาลผู้ปว่ ยท่มี ีถน่ิ ท่ีอยู่ใน ต่างประเทศของธนาคารแห่งประเทศไทย 4.1 แผนการดาเนนิ การแผนแม่บทด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ส-4 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ตารางท่ี การดลุ กันระหวา่ งการใช้จ่ายของหน่วยจา่ ยแทนกบั การผลิตของผู้ผลิตสินค้าและบริการ หนา้ 4.2 ดา้ นสขุ ภาพ 4-10 การดุลกันระหว่างการผลิตของผู้ผลิตสินค้าและบริการด้านสุขภาพกับการใช้จ่าย 4.3 หรือการได้รับผลประโยชนข์ องผทู้ ีไ่ ด้รับสินค้าและบริการด้านสุขภาพ 4-10 การดุลกนั ระหวา่ งมูลค่าเพ่มิ กบั แหล่งทม่ี าของรายได้ 4.4 การจาแนกประเภทผลติ ภัณฑ์และบริการภายใตบ้ ญั ชบี ริวารสขุ ภาพ 4-10 4.5 การจาแนกรายการรายได้ 4-15 4.6 การจาแนกรายการการสะสม 4-20 4.7 Table 1: ผลผลิตหรอื อปุ ทาน (Supply) ด้านสขุ ภาพ 4-21 4.8 Table 2: โครงสร้างการผลติ (Cost Structure) ของการผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารด้าน 4-23 4.9 สขุ ภาพ 4-26 Table 3: รายจ่ายดาเนินการด้านสุขภาพ (Current Expenditure on Health: 4.10 CHE) ของหน่วยจ่ายแทน ทง้ั ภาครัฐ (Public) และภาคเอกขน (Private) 4-28 Table 4: การใช้จา่ ยหรืออปุ สงค์ดา้ นสุขภาพ (Health Demand) 4.11 Table 5 บญั ชรี ายได้ 4-29 4.12 Table 6: Capital Account 4-31 4.13 Table 7: (ตวั อยา่ ง) Non – Monetary Data 4-32 4.14 ขอ้ มูลท่มี อี ยู่ในบัญชีรายจ่ายสุขภาพของไทย 4-33 4.15 มลู ค่าการผลติ หรือยอดขายของผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ปี 2561 4-40 4.16 มูลค่าการนาเข้าส่งออกสนิ คา้ ของไทยตงั้ แตป่ ี 2012 ถงึ 2019 4-41 4.17 มูลคา่ การนาเขา้ ส่งออกบริการของไทยตั้งแตป่ ี 2012 ถงึ 2017 4-43 4.18 มูลคา่ การนาเขา้ ส่งออกบรกิ ารของไทยในปี 2017 จาแนกตามโหมดตา่ งๆ 4-44 4.19 จานวนผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก และจานวนการใช้สิทธิจาแนกตามสิทธิ 4-44 4.20 รกั ษาพยาบาล ปี 2562 4-45 จานวนสถานพยาบาลและจานวนเตยี งจาแนกตามประเภทสถานพยาบาล ปี 2559 4.21 จานวนผู้ป่วยในและผูป้ ่วยนอกจาแนกตามประเภทสถานพยาบาล ปี 2559 4-46 4.22 จานวนบุคลากรแพทยด์ ้านตา่ งๆ จาแนกตามประเภทสถานพยาบาล ปี 2559 4-46 4.23 4-46 รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี ส-5 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
สารบญั แผนภาพ แผนภาพท่ี หน้า 1.1 กรอบแนวคิดในการดาเนนิ การ 1-3 2.1 แผนผงั ความเช่อื มโยงระหว่างผู้จ่ายและผ้รู บั ผลประโยชน์ในบญั ชีบรวิ าร 2-16 2.2 กรอบแนวคิดในการกาหนดความครอบคลุมของบญั ชบี ริวาร 2-18 2.3 ขอบเขตของขอ้ มูลบญั ชบี รวิ าร 2-19 2.4 ตารางการผลิตและการใช้ (Supply and Use Table: SUT) โดยยอ่ 2-21 2.5 ตารางอุปทานและอุปสงค์ (Supply and Use Table: SUT) 2-22 2.6 ขอบเขตของรายจา่ ยประชาชาติ และรายจา่ ยภายในประเทศของบัญชีบรวิ าร 2-24 2.7 องค์ประกอบของการใชจ้ า่ ย/รายจ่ายประชาชาติ 2-24 2.8 การใชจ้ า่ ย/รายจา่ ยประชาชาติแบ่งตามองคป์ ระกอบและผ้ใู ช/้ ผู้รับผลประโยชน์ 2-28 2.9 การใชจ้ า่ ย/รายจ่ายประชาชาตแิ บ่งตามองคป์ ระกอบและผจู้ า่ ยหรอื หนว่ ยจา่ ยแทน 2-31 2.10 บัญชีการผลิต (Production Account) 2-33 2.11 บัญชีรายได้ (Income Generation Account) 2-34 2.12 บญั ชีเดนิ สะพดั อื่นๆ (Other Current Account) 2-35 2.13 บญั ชีสะสม (Accumulation Account) 2-35 2.14 บัญชีสนิ คา้ และบริการ (Goods and Services Account) 2-36 2.15 กรอบแนวคิดของระบบสุขภาพและระบบบญั ชดี ้านสขุ ภาพ 2-42 2.16 การจาแนกประเภทของ ICHA ภายใต้ระบบบญั ชดี ้านสุขภาพ 2-48 2.17 โครงสรา้ งของผูใ้ หบ้ ริการดา้ นสขุ ภาพ 2-52 2.18 โครงสรา้ งการนาเขา้ ภายใต้ระบบบัญชดี ้านสุขภาพ 2-55 2.19 สนิ คา้ และบริการด้านสขุ ภาพจากผู้ให้บริการท่ีมถี ่นิ ที่อย่นู อกประเทศ ในตาราง HCxHP 2-56 2.20 รายจ่ายดา้ นการนาเขา้ สขุ ภาพแบง่ ตามประเภทกจิ กรรมและประเภทแหลง่ จา่ ยเงิน 2-56 2.21 รายจ่ายด้านการสง่ ออกสขุ ภาพแบง่ ตามประเภทกจิ กรรมและประเภทผู้ใหบ้ ริการ 2-57 2.22 ตารางอุปทานดา้ นสขุ ภาพ (Health supply table: H-ST) 2-58 2.23 ตารางอปุ สงค์ (Health use table: H-UT) 2-60 รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี ส-6 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
แผนภาพท่ี ภาพรวมข้อมลู ของระบบบัญชีด้านสขุ ภาพและระบบญั ชปี ระชาชาติ หนา้ ความเช่อื มโยงของระบบบญั ชีประชาชาติและระบบบัญชีด้านสขุ ภาพ 2.24 ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลติ (Input-Output Table: I/O Table) 2-62 2.25 ตารางอุปทานและอปุ สงค์ (Supply and Use Table: SUT) 2-64 2.26 วธิ ีการจดั ทาบัญชีรายจ่ายสขุ ภาพแหง่ ชาติของประเทศไทย 2-68 2.27 ตารางเมตรกิ ของบญั ชีสขุ ภาพแหง่ ชาตขิ องประเทศไทย 2-71 2.28 โครงสร้างตารางท่ี 15.3 การแสดงรายจ่ายดาเนนิ การด้านสขุ ภาพจาแนกตาม 2-76 2.29 ประเภทกจิ กรรม 2-77 2.30 โครงสรา้ งตารางท่ี 15.7 การแสดงรายจา่ ยตามประเภทกลุ่มปัจจยั การผลิต 2-82 โครงสรา้ งตารางที่ 11.2 การแสดงรายจา่ ยตามประเภทการสะสมทนุ 2.31 โครงสร้างตารางที่ 1 การแสดงรายจ่ายดาเนนิ การดา้ นสุขภาพรวมตามการแบ่งหมวด 2-83 2.32 รายจา่ ย 2-84 2.33 โครงสร้างตารางที่ 2 การแสดงรายจา่ ยดาเนินการด้านสขุ ภาพแจกแจงตามประเภท 2-85 กจิ กรรม 2.34 โครงสร้างตารางที่ 3 การแสดงรายจ่ายดาเนนิ การด้านสุขภาพแจกแจงตามประเภท 2-86 ผู้ให้บริการ 2.35 โครงสร้างตารางที่ 4 การแสดงรายจ่ายรวมดา้ นสขุ ภาพ 2-87 (ร่าง) โครงสร้างของระบบบญั ชบี ริวารด้านสขุ ภาพ 2.36 การระบุตาแหน่งสาหรับผู้ให้บรกิ ารและประเภทของบริการดา้ นสุขภาพของข้อมลู 2-88 3.1 มูลค่าการนาเขา้ ภายในตาราง SHA 3-2 3.2 ตารางแสดงการนาเขา้ สินค้าและบริการด้านสุขภาพของ SHA 3-3 กรอบกิจกรรมภายใตบ้ ัญชีบริวารดา้ นสุขภาพ 3.3 แผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพ (แผนการดาเนนิ การพฒั นาบัญชี 3-3 3.4 บรวิ ารดา้ นสุขภาพ) 3-11 4.1 โครงสรา้ งของระบบบัญชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพ 4-4 ขอบเขตและการจาแนกประเภทกจิ กรรมภายใต้บัญชีบริวารด้านสุขภาพ 4.2 4-8 4.3 4-12 รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าท่ี ส-7 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
บทท่ี 1 บทนำ
1 บทนำ 1.1 หลกั การและเหตุผล อุตสาหกรรมด้านสุขภาพซ่ึงเป็นสาขาย่อยของภาคบริการท่ีมีความสาคัญต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของประเทศและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพท่ีมี ภารกิจในการเสนอนโยบาย พัฒนาเคร่ืองมือ กลไก วางแผน หรือแก้ไขปัญหาด้านการคลังสุขภาพและ เศรษฐกจิ สขุ ภาพ รวมทง้ั การจดั ทาและให้บริการข้อมูลข่าวสารสารสนเทศเพื่อการบริหารเชิงนโยบายในระบบ การคลงั สุขภาพและเศรษฐกจิ สุขภาพ จึงดาเนินการพัฒนาเคร่ืองมือ และกลไกในการแก้ไขปญั หาด้านการคลัง สุขภาพและเศรษฐกิจสุขภาพ โดยการจัดทาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพ ศึกษา สถานการณ์และออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 ได้แก่ การพัฒนาระบบข้อมูล และสถิติด้านเศรษฐกิจสุขภาพ คือ การจดั ทาบัญชีบริวารดา้ นสุขภาพ (Health Satellite Account) ซง่ึ เปน็ การพฒั นาต่อยอดจากการจัดทาบัญชี คา่ ใช้จา่ ยสุขภาพของประเทศไทยที่มกี ารจัดเก็บข้อมลู เพยี งค่าใชจ้ า่ ยสุขภาพสาหรบั การบรโิ ภคภายในประเทศ และการนาเข้า ดังนั้น การจัดทาแผนแม่บท ฯ ระยะที่ 1 จึงจะดาเนินการพัฒนาระบบข้อมูลรายจ่ายสุขภาพ ของประเทศไทยในการศึกษาและออกแบบระบบให้มีข้อมูลการนาเข้า และการส่งออกของบริการ รักษาพยาบาล โดยการจดั ทาการศึกษาและออกแบบระบบบัญชีบรวิ ารดา้ นสขุ ภาพ ทง้ั น้ี เพ่อื ใหก้ ารดาเนนิ การจดั ทาแผนแมบ่ ท ฯ ระยะท่ี 1 เปน็ ไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ กองเศรษฐกิจ สุขภาพและหลักประกันสุขภาพ จึงให้มีการดาเนินการศึกษาโดยการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์สถานการณ์ และออกแบบระบบในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ให้มีความครอบคลุมเศรษฐกิจสุขภาพ ในภาพรวม เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน กาหนดนโยบาย เพอ่ื ขับเคล่ือนระบบเศรษฐกจิ ต่อไป รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 1-1 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อจัดทาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพ ศึกษาสถานการณ์และออกแบบระบบ ให้มีข้อมูลภาคอุตสาหกรรมสุขภาพท่ีเป็นไปตามสภาวการณ์ปัจจุบัน ใช้เป็นเครื่องมือและแนวทางใน การพัฒนาระบบเศรษฐกิจสขุ ภาพ 2) เพอ่ื พฒั นาโครงสร้าง รูปแบบมาตรฐานของระบบฐานข้อมลู สถิติด้านเศรษฐกิจสุขภาพ และวิธีการ จัดเก็บสาหรับการจัดทาสารสนเทศเพ่ือการบริหารเชิงนโยบายในระบบการคลังสุขภาพและเศรษฐกิจสุขภาพ ของประเทศไทย 3) เพ่ือสารวจและจัดเก็บข้อมูลสาหรับการเตรยี มพรอ้ มในการจัดทาบัญชบี ริวารด้านสุขภาพ เช่นการ บริโภคดา้ นสุขภาพ การใหบ้ ริการและการผลิตดา้ นสุขภาพ และปัจจยั การผลิตด้านสุขภาพ เป็นต้น 4) เพื่อพัฒนาผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดสรรทรัพยากรด้านเศรษฐกิจสุขภาพให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บการเปล่ียนแปลงของธรุ กรรมทางเศรษฐกิจทสี่ ง่ ผลกระทบต่อระบบสขุ ภาพได้ 1.3 ขอบเขตการดาเนินงาน 1) เก็บรวบรวม ตรวจสอบ จัดทากรอบของข้อมูล ตั้งโครงบัญชีและวิเคราะห์ข้อมูล ( Data collection/ Cleaning/ Analysis) - ทบทวนวรรณกรรม และงานวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้องกบั การจดั ทาบญั ชีบริวารดา้ นสุขภาพ - ศึกษาโครงสร้างบัญชี และข้อมูลที่ใช้ในการจัดทาบัญชีบริวารดา้ นสุขภาพ โดยพิจารณาตอ่ ยอดบัญชคี ่าใช้จา่ ยสุขภาพ (National Health Account) - จัดทากรอบขอ้ มลู ที่ใชใ้ นการจัดทาบัญชีบรวิ ารดา้ นสขุ ภาพ - ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือสารวจข้อมูล และเก็บรวบรวมข้อมูล สาหรบั ประมวลผลดา้ นบรโิ ภค อปุ ทาน และปัจจยั การผลิตด้านสขุ ภาพใช้ในการจัดทาบัญชดี า้ นสขุ ภาพ - เก็บข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนที่ขาดหาย เพื่อให้ข้อมูลครบถ้วนมากข้ึนสาหรับการจัดทาบัญชี บรวิ ารด้านสขุ ภาพ - นาข้อมูลเพิ่มเติมในส่วนที่ขาดหาย เพื่อให้ข้อมูลครบถ้วนมากขึ้นสาหรับการจัดทาบัญชี บริวารด้านสุขภาพ 2) จัดประชุมรายงานความคืบหน้าต่อคณะอนุกรรมการและคณะกรรมการเศรษฐกิจสุขภาพและการ คลังสุขภาพเป็นระยะ 3) จัดทารายงานโครงสร้างรูปแบบมาตรฐานระบบการจัดเก็บข้อมูลสถิติและโครงสร้างบัญชีบริวาร ด้านสขุ ภาพ รวมทั้งนาเสนอผลงาน รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 1-2 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
- จัดประชุมนาเสนอผลการดาเนินงานพัฒนาโครงสร้าง และรูปแบบมาตรฐานของระบบฐานข้อมูล สถิติด้านเศรษฐกิจสุขภาพ สาหรับการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ (กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกัน สขุ ภาพรว่ มในการประชุม) 4) อบรมบคุ ลากรของกระทรวงสาธารณสุขและหนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ใหม้ ีความรู้ ความเขา้ ใจในระบบ ขอ้ มลู สถิตดิ า้ นสุขภาพทใี่ ช้ในการจัดทาบัญชบี รวิ ารดา้ นสุขภาพ 1.4 กรอบแนวคดิ และวธิ กี ารดาเนินงาน เพื่อให้สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีการดาเนินงานท่ีเป็นไปตามขอบเขตการดาเนินงานดังกล่าว ข้างต้น มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลังได้กาหนดวิธีการศึกษาและดาเนินงานโดยมีกรอบแนวคิดและ รายละเอียดขั้นตอนในการดาเนนิ การศึกษา ดังแผนภาพที่ 1.1 แผนภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดในการดาเนนิ การ 1) การทบทวนวรรณกรรมท่ีเกีย่ วข้อง การทบทวนวรรณกรรมเพ่ือพิจารณาประกอบการออกแบบ จัดทากรอบข้อมูลกาหนดโครงสร้างการ จัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ และกาหนดขอบเขตและคานิยามท่ีสาคัญของข้อมูลท่ีใช้ในการจัดทาบัญชี บริวารด้านสุขภาพ โดยต่อยอดจากบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย (National Health Account) ผ่านการดาเนนิ การรวบรวมวรรณกรรมท่ีเกยี่ วข้องที่มีความครอบคลุมทฤษฎี เอกสาร แบบรายงาน และงานศึกษาท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพแห่งชาติท่ีมีความน่าเชื่อถือ เช่น การจัดทา ระบบบัญชีด้านสุขภาพ (A System of Health Accounts) โดยองค์การเพ่ือความร่วมมือและพัฒนาทาง เศรษฐกิจ (OECD) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554 คู่มือการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ (Satellite Health Account Manual) โดย Pan American Health Organization พ.ศ. 2547 การพัฒนาการประมาณการของ การนาเข้าและส่งออกของบริการด้านสุขภาพภายใต้กรอบแนวคิดในการจัดทาระบบบัญชีด้านสุขภาพ โดย OECD รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 1-3 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
พ.ศ. 2554 และบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติ (National Health Account) ท่ีจัดทาโดยสานักงานพัฒนา นโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (International Health Policy Program, IHPP) เป็นต้น เพื่อนาไปสู่การ ออกแบบโครงสร้างบัญชีบริวารดา้ นสขุ ภาพของประเทศไทย แนวคิดหลักในการออกแบบบัญชีบริวารด้านสุขภาพของประเทศไทยน้ัน มีเป้าประสงค์เพื่อให้บัญชฯี ท่ี ไ ด้ จั ด ท า ข้ึ น เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ข ย า ย ข อ บ เ ข ต ค ว า ม ส าม า ร ถ ใ น ก า ร อ ธิ บ าย เ ก่ี ย ว กั บ ร า ย ไ ด้ แ ล ะ ก า ร ใ ช้จ่ าย ด้านสุขภาพของประเทศไทยได้อย่างครบถ้วนในทุกภาคเศรษฐกิจ ซ่ึงปัจจุบันมีการดาเนินการจัดทาบัญชี รายจ่ายสุขภาพแหง่ ชาติ (National Health Account) อยู่แลว้ รวมทัง้ เพื่อประกอบการวเิ คราะห์เชิงนโยบาย ต่าง ๆ ให้สามารถเปรียบเทียบกับนานาชาติได้ ปรับปรุงให้ข้อมูลมีความสอดคล้องกับปัจจุบันท้ังด้านบริโภค (อุปสงค)์ การผลิต (อปุ ทาน) และปัจจยั การผลิต รวมถึงการขยายความครอบคลมุ รายจา่ ยสขุ ภาพในการนาเข้า และส่งออก โดยมีกรอบแนวคิดในการศึกษาในประเด็นทีส่ าคัญ 2 ประเด็น ได้แก่ ประเด็นด้านการจัดทาบญั ชี และประเดน็ ด้านรายจ่ายสุขภาพในการนาเขา้ และสง่ ออกของบริการสุขภาพ เชน่ 1) ด้านการจัดทาบญั ชี - ขอบเขตการจัดทาตารางนาเสนอข้อมูลบญั ชรี ายจ่ายสุขภาพ - คานิยามที่สาคัญในการจดั ทาบัญชรี ายจา่ ยสขุ ภาพ - คาบเวลาอา้ งองิ สาหรับการจดั เก็บข้อมลู - แหลง่ การคลงั (Source of funding-HF) - หน่วยจา่ ยแทน (Financing agents-FA) - ผ้ใู หบ้ ริการ (Health care provider-HP) - ประเภทกจิ กรรม (Function of health care-HC) - แหล่งขอ้ มูล (Data sources) 2) ดา้ นรายจ่ายสขุ ภาพในการนาเข้าและส่งออกของบริการสุขภาพ - สถานการณข์ องอตุ สาหกรรมบริการดา้ นสขุ ภาพของประเทศไทย - กิจกรรมทม่ี ีความโดดเดน่ ในด้านการนาเข้าและสง่ ออกของบริการสขุ ภาพของประเทศไทย - แหลง่ ข้อมูลสถิติของการนาเข้าและสง่ ออกของบริการสขุ ภาพของประเทศไทย - หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง ทั้งนี้ การวิเคราะห์ในประเด็นที่สาคัญท้ังการจัดทาบัญชีและการขยายความครอบคลุมของการจัดทา บัญชีในการนาเข้าและส่งออกของบริการสุขภาพจะนามาจัดทาเป็นกรอบข้อมูลของบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ของไทย โดยให้มีความสอดคล้องตามนิยามของรหัส International Classification of Health Expenditure (ICHA) ท่ใี ช้ในการจัดทาบญั ชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติท่ีได้มีการดาเนนิ การอย่ใู นปจั จบุ ัน 2) การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิที่เกี่ยวกับการกาหนดกรอบข้อมูลในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และ/หรือการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Meeting) กับผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องเก่ียวกับการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ โดยมีเป้าหมาย รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 1-4 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ทมี่ ีความครอบคลุม 2 ประเดน็ หลัก ไดแ้ ก่ 1) ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ ต่อการ เพิ่มรายการการนาเข้าและส่งออกของบริการสุขภาพ ท่ีทางมูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลังได้ พัฒนาขึ้น ซึ่งเป็นการให้ความรู้ การสร้างความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมต่อการพัฒนาบัญชีบริวารที่ได้จัดทา ขึ้นน้ี เพ่ือนาไปสู่การทางานร่วมกันที่เก่ียวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลในอนาคต พร้อมท้ังนาข้อคิดเห็นไป ปรับปรุงให้เกิดการยอมรับและสามารถนาไปใช้งานในอนาคตได้ และ 2) ประเด็นที่ผู้ทรงคุณวุฒิ/ ผู้ท่ีมีส่วน เกี่ยวข้องให้ความสาคัญต่อการเพิ่มความครอบคลุมของการนาเข้าและส่งออกของบริการสุขภาพ เพื่อการ ดาเนินการพัฒนาบัญชีบริวารด้านสุขภาพได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ และไม่อยู่ภายใต้ข้อจากัดของระยะเวลา ในการดาเนินงานหรือชุดข้อมูลที่ยังมิได้มีการจัดทาฐานข้อมูลอยู่ในปัจจุบัน โดยมีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง อย่าง นอ้ ย 10 หน่วยงาน ทง้ั น้ี สามารถปรบั เปลยี่ นไดต้ ามความเหมาะสมจากความเห็นของคณะกรรมการฯ เชน่ - กระทรวงสาธารณสุข - กรมบญั ชีกลาง-สวสั ดกิ ารค่ารกั ษาพยาบาลข้าราชการ - องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ - กองทนุ หลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ - กองทุนประกันสงั คม - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงอตุ สาหกรรม - กระทรวงการท่องเทย่ี วกีฬา - คณะทางานจัดทาบัญชีรายจ่ายสขุ ภาพแห่งชาติ สานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ กระทรวงสาธารณสุข - สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ - สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ 3) การรวบรวมและการสารวจขอ้ มลู ท่ีเกยี่ วข้องกบั การนาเขา้ และการส่งออกของบริการ รักษาพยาบาล 1) การรวบรวมข้อมูลที่มีการจัดทาแล้ว/ หรือมีการดาเนินการรวบรวมไว้แล้วโดยหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง: ทาการกาหนดรูปแบบของข้อมูลนาเข้า และประสานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการจัดทาใน รูปแบบที่พึงประสงค์ และเกิดการส่งมอบข้อมูลอย่างเป็นระบบ และสม่าเสมอ/ หรือดาเนินการนาเอาข้อมูลที่ มกี ารจดั ทาไวแ้ ลว้ เหลา่ นัน้ มาปรบั ให้อยู่ในรปู แบบที่ตอ้ งการเพือ่ ประกอบการจดั ทาบญั ชบี ริวารด้านสขุ ภาพ 2) การสารวจโดยแบบสอบถาม/ แบบสารวจ (Survey): ทาการประสานงานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือบรรลุเป้าหมายในการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิเกี่ยวกับการนาเข้าและส่งออกของบริการสุขภาพ ในการ ประกอบการจัดทาบัญชีตามที่ได้วิเคราะห์ตามหัวข้อ 1.4.1 และ 1.4.2 มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจ การคลงั ได้กาหนดข้ันตอนในการรวบรวมข้อมูลโดยมรี ายละเอยี ดกิจกรรมที่สาคัญดังต่อไปน้ี - พัฒนาแบบสารวจ/ แบบสอบถามเพื่อประกอบการรวบรวมข้อมูล โดยทาการทบทวนข้อมูล และ วรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องเพื่อทาให้สามารถระบุประเด็นในการรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการนาเข้าและส่งออกของ บริการสุขภาพ ท่ีสอดคล้องกับเป้าหมายของการศึกษา ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการทางานของกองเศรษฐกิจ สุขภาพและหลกั ประกันสุขภาพในอนาคต รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ที่ 1-5 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
- เมื่อพัฒนาแบบสอบถามฉบับร่างข้ึนแลว้ คณะผู้วิจัยจะเข้าร่วมประชุมกับกองเศรษฐกิจสุขภาพและ หลักประกันสุขภาพเพ่ือหารือเก่ียวกับความเหมาะสม แนวทางในการรวบรวมข้อมูลที่สามารถดาเนิน การอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอที่จะเป็นการสนับสนุนการทางานในอนาคตในการพัฒนาบัญชีบริวารฯ และ ดาเนินการปรับปรุงแบบสอบถามเพ่ือให้แบบสอบถามเก่ียวกับการนาเข้าและส่งออกของบริการสุขภาพ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการมากที่สดุ รวมถึงจัดทานิยามศัพท์ท่ีสาคัญ คู่มืออธิบายความหมายของ คาถาม และคู่มือการสารวจเพอื่ ใชใ้ นการลงพน้ื ท่ีสารวจกลุ่มข้อมูล 4) การตรวจสอบและบนั ทกึ ขอ้ มูล ดาเนินการตรวจสอบความถูกต้อง ความครบถ้วน และคุณภาพของข้อมูลเบ้ืองต้นที่สามารถรวบรวม มาได้ เช่น ความผิดพลาดของข้อมูล ความผิดปรกติของข้อมูล ความผิดพลาดจากการคานวณ เป็นต้น ให้มี ความสอดคล้องและมีความสมเหตสุ มผลของข้อมลู และดาเนินการแก้ไขข้อมลู โดยเจ้าหน้าท่ที ่ีมีความชานาญการ เพื่อทาให้ข้อมูลท่ีสามารถรวบรวมมาได้สอดคล้องกับเป้าหมายการรวบรวมข้อมูล เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาบัญชี บริวารฯ ในอนาคต โดยในกรณีท่ีมีความไม่ครบถ้วนที่สามารถดาเนินการปรับปรุงได้ภายในระยะเวลา การดาเนินโครงการฯ คณะผู้วิจัยจะดาเนินการปรับปรุงเพ่ิมเติมให้ข้อมูลมีความครบถ้วนตามท่ีเป็นไปภายใต้ สถานการณ์ปัจจุบัน และหากความครบถ้วนนั้นเกิดจากการที่ข้อมูลน้ันยังไม่ได้มีการดาเนินการจัดทาขึ้น คณะผู้วิจัยจะทาการเสนอแผนการดาเนินการเพ่ือให้เกิดการจัดทาข้อมูลน้ันเพ่ือการพัฒนาและ จัดทาบัญชี บริวารฯ ทสี่ มบูรณใ์ นระยะตอ่ ไป 5) การจดั ให้มกี ารประชุมรายงานความคบื หน้าต่อคณะอนุกรรมการ และคณะกรรมการเศรษฐกจิ สขุ ภาพและการคลังสขุ ภาพเป็นระยะ การจัดให้มีการประชุมรายงานความคืบหน้าต่อคณะอนุกรรมการ และคณะกรรมการเศรษฐกิจ สุขภาพและการคลังสุขภาพเพ่ือรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการดาเนินการพัฒนาการศึกษาและ ออกแบบระบบของบัญชีบริวารด้านสขุ ภาพ อยา่ งนอ้ ย 6 คร้งั ตลอดระยะเวลาดาเนนิ การ 6) การจัดประชมุ นาเสนอผลการดาเนนิ งาน การจัดประชุมนาเสนอผลการดาเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้าง และการกาหนดรูปแบบ มาตรฐานของระบบฐานข้อมูลสถิติสาหรับการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ โดยมีกองเศรษฐกิจสุขภาพและ หลกั ประกันสุขภาพ สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ผูจ้ ดั ทาข้อมูล ผู้ใช้ขอ้ มลู และผู้มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ ง อยา่ ง นอ้ ย 1 คร้ัง โดยมผี ทู้ รงคุณวุฒิ และผู้ที่เกี่ยวขอ้ งเข้าร่วมประชมุ รวมไม่นอ้ ยกว่า 20 คน 7) การจัดให้มกี ารอบรมถา่ ยทอดความรูแ้ ก่บุคลากรของกระทรวงสาธารณสขุ และหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง การจัดให้มีการอบรมถ่ายทอดความรู้แก่บุคลากรของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบข้อมูลสถิติด้านสุขภาพที่ใช้ในการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ ภายหลัง จากที่ไดม้ ีการพัฒนาบัญชีบริวารด้านสุขภาพเรียบร้อยแลว้ อย่างนอ้ ย 2 ครัง้ จานวนผู้เข้าอบรมครั้งละไม่น้อย กว่า 10 คน ท้ังน้ี การจัดอบรมถ่ายทอดความรู้จะจัดที่มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศณษฐกิจการคลัง หรือ กระทรวงสาธารณสุขตามความสะดวกกับผ้ทู ่เี ข้าอบรม รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 1-6 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
1.5 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รับ กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีข้อมูล ภาคอุตสาหกรรมและบริการด้านสุขภาพ และสามารถนาข้อมูลไปกาหนดแนวทางในการกาหนดทิ ศทาง การดาเนินงานและกาหนดนโยบายของแผนแม่บท (Master Plan) ระยะท่ี 1 1.6 ระยะเวลาการดาเนนิ งาน และตารางคมุ กาหนดการทางาน ภายใน 360 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา โดยมีการส่งมอบงาน แบ่งเป็น 4 งวด ปรากฏใน ตารางคุมกาหนดการทางาน (Gantt Chart) ดังตารางที่ 1.1 ตารางท่ี 1.1 ตารางคุมกาหนดการทางานของโครงการ (Gantt Chart) กิจกรรม เดอื นท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 1 ทบทวนวรรณกรรมเพื่อพิจารณาประกอบ การออกแบบ จัดทากรอบข้อมูลกาหนด โครงสร้างการจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ และกาหนดขอบเขตและคานิยามท่ีสาคัญของ ข้อมูลที่ใช้ในการจัดทาบัญชีบริวารด้าน สขุ ภาพ 2 นาส่งรายงานขน้ั ตน้ (Inception Report) 3 รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิที่เกี่ยวกับการกาหนด กรอบข้อมูลในการจัดทาบัญชีบริวารด้าน สุขภาพ 4 การรวบรวมและการสารวจขอ้ มลู ที่เกี่ยวข้อง กับการนาเข้า และการส่งออกของบริการ รักษาพยาบาล 5 นาส่งรายงานความก้าวหน้า (Progress Report) 6 การตรวจสอบและบันทึกข้อมลู 7 รายงานขนั้ กลาง (Interim Report) 8 จดั ประชุมนาเสนอผลการดาเนนิ งาน 9 จัดให้มีการอบรมถ่ายทอดความรูแ้ ก่บุคลากร ของกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานท่ี เก่ยี วขอ้ ง 10 รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) 11 จัดให้มีการประชุมรายงานความคืบหน้าต่อ คณะอนุกรรมการ และคณะกรรมการ เศรษฐกิจสุขภาพและการคลังสุขภาพเป็น ระยะ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 1-7 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
1.7 บุคลากรและการบริหารโครงการ ในการดาเนินการเพ่ือบรรลุวัตถุประสงค์การศึกษาดังกล่าวข้างต้น มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง ได้มีการมอบหมายบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถให้เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ พร้อมทั้ง กาหนดหน้าท่ใี นโครงการของบคุ ลากรอย่างเหมาะสม เพอ่ื ให้สามารถดาเนินโครงการไดป้ ระสบผลสาเร็จ โดยมี โครงสร้างการบริหารโครงการดังตารางที่ 1.2 ตารางท่ี 1.2 รายชื่อบุคลากรและตาแหนง่ หนา้ ท่ใี นการดาเนนิ โครงการ ชอ่ื -สกุล ตาแหน่งหนา้ ทใี่ นโครงการ 1 ดร. รพสี ุภา หวังเจริญรุ่ง นกั วิจยั หลกั (บคุ ลากรหลกั ) 2 นายดาวดุ ยนู ชุ นกั วิจยั หลกั (บคุ ลากรหลกั ) 3 นายต้องการ จิตเลิศขจร นักวิจยั (บคุ ลากรสนับสนนุ ) 4 นางสาวกษมา ปดั ทุม ผชู้ ว่ ยนกั วิจัย (บุคลากรสนับสนุน) 5 นายนฤนาท เกตอุ าไพ ผชู้ ่วยนกั วิจัย (บคุ ลากรสนับสนนุ ) 6 นายวรวุฒิ ภาพมิ ลวชั ร ผู้ช่วยนักวจิ ยั (บคุ ลากรสนบั สนุน) 7 นายปวรศิ ปยิ ะจิตเมตตา ผูช้ ่วยนักวจิ ยั (บุคลากรสนับสนนุ ) รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 1-8 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมที่เกย่ี วขอ้ ง
2 การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เนื้อหาในส่วนนี้เป็นการนาเสนอผลการรวบรวมแนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการ จัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1) หลักการและแนวคิดท่ีเกี่ยวกับการจัดทา บัญชีบริวารด้านสุขภาพ 2) ประสบการณ์การจัดทาบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพแห่งชาติของประเทศไทย 3) ประสบการณ์การจัดทาบัญชีประชาชาติและบัญชีบริวารของอุตสาหกรรมอื่นในประเทศไทย และ 4) นโยบาย มาตรการ และกฎหมายทีเ่ ก่ียวข้องกบั ด้านสุขภาพของไทย ซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 2.1 หลกั การและแนวคิดท่เี กยี่ วกบั การจดั ทาบัญชีบรวิ ารดา้ นสุขภาพ การศึกษานี้มุ่งเน้นท่ีจะจัดทาบัญชีบริวารสุขภาพ (Health Satellite Account) ของประเทศไทย เพ่ือเปน็ เครอื่ งมือที่ใชส้ าหรบั การสังเกตการณ์ และประเมนิ ผลสภาวะของระบบสุขภาพซึ่งมีความสาคัญในการ ติดตามแนวโน้ม และปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาพท่ีจะประมาณการการเติบโตของระบบสุขภาพใน ภาพรวมและรายหมวด มูลนิธิสถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง ได้รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลท่ีสาคัญเพ่ือทาให้เกิด ความเข้าใจซ่ึงจะนาไปสู่การกาหนดเง่ือนไขท่ีจาเป็นต่อการดาเนินงาน ซึ่งประกอบด้วย การจัดทาบัญชี ประชาชาติตามระบบบัญชีประชาชาติ (System of National Accounts) การจัดทาบัญชีบริวาร (Satellite Account) การจัดทาบัญชีบริวารด้านสุขภาพ (Satellite Health Account) และการจัดทาระบบบัญชี ด้านสุขภาพ (A System of Health Account) โดยมีกรอบแนวคิด ระเบียบและวิธีการจัดทา เพื่อเป็นแนวทางใน การกาหนดรูปแบบของการจดั ทาบัญชีบรวิ ารด้านสขุ ภาพของไทย ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 2.1.1 ระบบบัญชปี ระชาติ (System of National Accounts) จุดเร่ิมต้นของการจัดทาบัญชีบริวาร (Satellite Account) น้ันมาจากระบบบัญชีประชาชาติปี 1993 (The 1993 System of National Accounts: SNA93) SNA93 จัดทาข้ึนภายใต้การกากับดูแลของ 5 องค์กร รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 2-1 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ระหว่างประเทศ ได้แก่ 1) สหประชาชาติ (United Nations: UN) 2) กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) 3) คณะกรรมาธิการยุโรป (European Commission) 4) องค์การ เพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเ ศรษฐกิจ (Organisation for Economic Cooperation and Development: OECD) และ 5) ธนาคารโลก (World Bank) (Inter-Secretariat Working Group on National Accounts, & Commission of the European Communities, 1993) SNA93 นาเสนอข้อมูลที่ช้ีวัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซ่ึงครอบคลุมและรายละเอียดของกิจกรรมท่ี ดาเนินในระบบเศรษฐกิจ รวมถึงการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแทนทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกันภายใต้การจัดทา บญั ชีอยา่ งถูกต้อง เพ่อื ใหไ้ ด้ซึ่งข้อมลู สาหรับการติดตามตรวจสอบวิเคราะห์และประเมินผลการดาเนนิ งานของ เศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง โดยระบบได้มีการกาหนดแนวคิด นิยาม การจาแนกรายการ และรูปแบบโครงสร้าง ของตารางการนาเสนอข้อมูล สาหรับการผลิต การบริโภค การลงทุน รายได้ การไหลของความม่ังคั่งทาง การเงินและท่ีไม่ใช่ทางการเงินและตัวแปรเศรษฐกิจที่เก่ียวข้อง เพ่ือใช้เป็นมาตรฐาน และให้มีความยืดหยุ่น เพยี งพอสาหรับการจัดทาบัญชีประชาชาติ (National Account) ในทกุ ๆ ประเทศ การจัดทาบัญชีประชาชาติท่ีระบุไว้ใน SNA1993 ได้มีประเด็นที่ควรคานึงถึง ได้แก่ กรอบกลางของ ระบบบัญชีประชาชาติ (Central Framework) การจาแนกประเภท (The Classifications) กฎทางบัญชี (Accounting rules) รูปแบบบัญชีในบัญชีประชาชาติ และขอบเขตการผลิต (Production Boundary) โดย แต่ละประเดน็ มรี ายละเอียดดังน้ี 1) กรอบกลางของระบบบญั ชีประชาชาติ (Central Framework) กรอบของ SNA เป็นหัวใจหลักสาคัญของบัญชีประชาชาติ ซึ่งอธิบายถึงระบบบัญชีและตารางที่ เกยี่ วข้องกบั บัญชปี ระชาติ โดยประกอบไปด้วย 1. Integrated economic accounts เป็นการรวบรวมบัญชีของทุกหน่วยเศรษฐกิ จแล ะ ภาคต่างประเทศ รวมถึงบัญชีธุรกรรมและบัญชีสินทรัพย์และหนี้สิน ท้ังในรูปข้อมูลโดยรวมและ การดลุ บญั ชี (accounting balance) ของแต่ละหน่วยเศรษฐกจิ 2. ตารางอุปทานและอุปสงค์ (Supply and Use Table: SUT) เป็นตารางท่ีรวบรวมข้อมูลของ อุตสาหกรรมตามประเภทของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและข้อมูลของการเคล่ือนย้ายและกระจาย สินค้าและบริการตามประเภทของผลิตภัณฑ์ ซ่ึงตารางดังกล่าวให้ข้อมูลสาหรับการวิเคราะห์ กระบวนการผลิต ปริมาณการผลิต การใช้สินค้าและบริการ และรายได้ท่ีเกิดจากการผลิตโดย ละเอียด นอกจากน้ียังมีตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input-Output Table: I/O Table) ท่ีสามารถแสดงข้อมูลดังกล่าวได้เช่นเดียวกัน แต่แตกต่างกันที่ SUT กาหนดให้อุตสาหกรรม สามารถผลิตได้หลายสินค้าและบริการ ส่วน I/O Table กาหนดให้อุตสาหกรรมสามารถผลิตได้ สินค้าและบริการชนิดเดียว 3. ตารางเงนิ ทุน (Flow of Funds Table) เป็นตารางท่ีรวบรวมข้อมลู สนิ ทรพั ย์และหนี้สินที่อยู่ใน บญั ชกี ารเงนิ โดยใชก้ ารจาแนกตามประเภทของเครอ่ื งมอื ทางการเงนิ 4. The functional analysis เป็นการอธิบายการทาธรุ กรรมบางอยา่ งของหน่วยเศรษฐกจิ จาแนก ตามวัตถปุ ระสงคท์ ี่ให้บรกิ าร รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 2-2 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
5. ตารางประชากรและการจ้างงาน (Population and Employment Tables) เป็นตารางท่ี รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประชากร การจ้างงาน และลักษณะของประชากร เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็น ประโยชนต์ ่อการวิเคราะหโ์ ดยเฉพาะการคานวณมลู คา่ ต่อหัว 2) การจาแนกประเภท (The Classifications) SNA ไดจ้ าแนกประเภทในหมวดหมู่ตา่ งๆ ไว้เพ่อื สาหรบั การวเิ คราะห์ โดยการจาแนกประเภทดงั กล่าว เปน็ ไปตามการจดั ประเภทตามหลักสากลทีห่ ลายๆ ประเทศใชก้ ัน โดยหมวดหมทู่ ี่ SNA ได้ทาการจดั ประเภทมี ดงั น้ี 1. หน่วยสถาบัน (Institutional Units and Sectors) เป็นหน่วยเศรษฐกิจ ซึ่งมีการจาแนกตาม หน้าที่ พฤติกรรม และวัตถุประสงค์ของหน่วยน้ันๆ โดยแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ บริษัทที่ ไม่ใชส่ ถาบันการเงนิ (Non-financial corporations) สถาบันการเงนิ (Financial corporations) รัฐบาล (General government) ครัวเรือน (Households) และสถาบันท่ีไม่แสวงหากาไรท่ี ใหบ้ รกิ ารครัวเรือน (Nonprofit institutions serving households) 2. ธุรกรรมและกระแสมูลค่าอื่นๆ (Transactions and Other Flows) หน่วยเศรษฐกิจจะทา การผลิต บริโภค ออม ลงทุน และดาเนินการทุกรูปแบบที่ก่อให้เกิดกระแสมูลค่าในระบบ ประเภทของธุรกรรมและกระแสมูลค่าแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ธรุ กรรมการผลติ สนิ ค้าและ บริการ (ผลิตภัณฑ์) ธุรกรรมในการเกี่ยวกับการกระจายสินค้าและบริการ ธุรกรรมทางการเงิน และรายการสะสมอน่ื ๆ 3. สินทรัพย์และหนี้สิน (Assets and liabilities) จะถูกแสดงให้อยู่ในรูปของมูลค่าสะสม (ยอด คงเหลือ) ของสินทรัพย์และหนี้สิน ซึ่งจะเชื่อมต่อกับการไหลเวียน (flows) ของมูลค่าดังกล่าว ผา่ นการทาธุรกรรมและกระแสมลู ค่าอืน่ ๆ 4. กิจกรรม (Activities) หน่วยสถาบันสามารถผลติ สินค้าและบริการไดห้ ลากหลายประเภท ซึ่งจะ มาจากกิจกรรมทางธุรกิจท่ีแตกต่างกัน โดยใน SNA กาหนดให้หน่วยสถาบันนี้คือ สถาน ประกอบการ ซ่ึงจะมีการดาเนินกิจกรรมการผลิตจาแนกตามการจัดประเภทมาตรฐาน อุตสาหกรรมสากล International Standard Industrial Classification of All Economic Activities (ISIC) หรือการจาแนกตามประเภทของภูมิภาคหรือชาตินั้นๆ เช่น ประเทศไทยจะใช้ การจัดประเภทตามรหัสมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย หรือ Thailand Standard Industrial Classification (TSIC) เป็นตน้ o หากเป็นการวิเคราะห์อย่างง่าย สถานประกอบการจะมีกิจกรรมหลักกิจกรรมเดียวใน การผลิต รวมไปถึงกาหนดให้แต่ละกิจกรรมการผลิตสามารถผลิตสินค้าและบริการ ประเภทเดียว (homogeneous) แต่ในความเป็นจริงสถานประกอบการอาจมีการ ดาเนินการผลิตมากกว่า 1 กิจกรรม โดยแบ่งเป็น 1 กิจกรรมหลัก (principle activity) และอย่างน้อย 1 กิจกรรมรอง (secondary activity) ซ่ึงมีความเป็นไปได้ที่กิจกรรมรอง จะไม่อยู่ในกลุ่ม ISIC เดียวกันกับกิจกรรมหลัก จึงทาให้ต้องระบุกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับ สถานประกอบการดังกล่าวเพิ่ม แต่หากเป็นการวิเคราะห์ปัจจัยการผลิต (inputs) ของ สถานประกอบการดังกล่าวก็จะไม่สามารถแยกปัจจัยการผลิตของกิจกรรมรองออกจาก กจิ กรรมหลกั ได้ o TSIC มที ั้งหมด 21 ประเภทกจิ กรรมหลัก ได้แก่ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 2-3 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
1) เกษตรกรรม การปา่ ไม้ และการประมง 2) การทาเหมืองแร่และเหมืองหิน 3) การผลิต 4) ไฟฟา้ กา๊ ซ ไอน้า และระบบปรับอากาศ 5) การจัดหาน้า การจัดการ และการบาบัดน้าเสีย ของเสยี และสง่ิ ปฏกิ ลู 6) การกอ่ สรา้ ง 7) การขายส่งและการขายปลกี การซ่อมแซมยานยนต์และรถจักรยานยนต์ 8) การขนส่งและสถานท่ีเก็บสินค้า 9) ท่ีพักแรมและบรกิ ารดา้ นอาหาร 10) ขอ้ มูลขา่ วสารและการส่ือสาร 11) กจิ กรรมทางการเงนิ และการประกันภยั 12) กจิ กรรมอสังหาริมทรพั ย์ 13) กจิ กรรมทางวชิ าชพี วทิ ยาศาสตร์ และเทคนิค 14) กิจกรรมการบรหิ ารและการบรกิ ารสนบั สนนุ 15) การบริหารราชการและการป้องกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบงั คับ 16) การศกึ ษา 17) กิจกรรมดา้ นสขุ ภาพและงานสังคมสงเคราะห์ 18) ศลิ ปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 19) กิจกรรมบรกิ ารดา้ นอน่ื ๆ 20) กิจกรรมการจ้างงานในครัวเรือนส่วนบุคคล กิจกรรมการผลิตสินค้าและบริการที่ ทาขึน้ เองเพื่อใช้ในครวั เรอื น ซง่ึ ไม่สามารถจาแนกกิจกรรมได้อย่างชัดเจน 21) กิจกรรมขององคก์ ารระหว่างประเทศและภาคีสมาชกิ 5. ผลิตภัณฑ์ (Products) สินค้าและบริการประเภทต่างๆ ท่ีผลิตโดยกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ แตกต่างกันจะถูกจาแนกตาม Central Product Classification (CPC) ซึ่งประเทศไทยจะปรับ ให้เป็น โครงสร้างของการจัดประเภทผลิตภัณฑ์ตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (CPA) ซ่ึง CPA มี จานวนประเภทหลักเท่ากับ TSIC น่ันคือ 21 ประเภทผลิตภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ดังกล่าวคือ ผลิตภณั ฑ์ท่ีไดจ้ าก 21 ประเภทกิจกรรมนนั้ o สนิ ค้า เปน็ วตั ถุทางกายภาพซ่ึงสามารถกาหนดสทิ ธิก์ ารเปน็ เจ้าของและสามารถโอนสิทธ์ิ การเปน็ เจ้าของไดจ้ ากหน่วยสถาบันหนง่ึ ไปยังอีกหนว่ ยสถาบนั หน่งึ โดยการทาธรุ กรรมใน ตลาด ความต้องการสินค้าเกิดจากสินค้าสามารถตอบสนองความจาเป็นหรือความต้องการ ของครัวเรือนหรือชุมชนหรือเพราะสามารถใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการอ่ืน ๆ ได้ การผลิตและการแลกเปลี่ยนสินค้าเป็นกิจกรรมที่ค่อนข้างแยกจากกันชัดเจน การแบ่งแยก การผลิตของการขายหรือการขายต่อเป็นลักษณะสาคัญทางเศรษฐกิจของสินค้า (ไม่ใช่ ลักษณะของบรกิ าร) อกี ทั้งสินค้าสามารถเกบ็ ไวไ้ ด้ o บริการ เป็นผลผลิตท่ีไม่สามารถสร้างสิทธ์คิ วามเป็นเจ้าของได้ บริการไม่สามารถซอ้ื ขาย แยกต่างหากจากการผลิตบริการและบริการเป็นผลมาจากกิจกรรมของผู้ผลิตตามความ ต้องการของผู้บริโภค การผลิตบริการจะเสร็จสมบูรณ์เม่ือการบริการได้มอบให้ไปยัง รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 2-4 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ผู้บริโภค สินค้าอาจมีลักษณะที่หลากหลายขึ้นอยู่กับวิธีที่ผลิต ในขณะท่ีบริการเป็น ผลผลิตที่แตกต่างกันเนอื่ งจากการบริการเชื่อมโยงกบั สถานการณ์ตามการใหห้ รือบริโภค 6. จุดประสงค์ (Purposes) คือการจาแนกธุรกรรมต่างๆ ตามจุดประสงค์หลักในการทาธุรกรรม น้ันๆ ของครัวเรือน รัฐบาล สถาบันที่ไม่แสวงหากาไรที่ให้บริการครัวเรือน และผู้ผลิต โดยการ จาแนกประเภทท่ีอยู่ภายใต้ประเด็นนี้ ได้แก่ 1) จาแนกการบริโภคของครัวเรือนตาม Classification of Individual Consumption by Purpose (COICOP) 2) จาแนกหน้าที่ของ รั ฐ บ า ล ต า ม Classification of the Functions of Government ( COFOG) 3 ) จ า แ น ก จุดประสงค์ของสถาบันที่ไม่แสวงหากาไรท่ีให้บริการครัวเรือนตาม Classification of the Purposes of Non-profit Institutions Serving Households (COPNI) และ 4) จาแนกการใช้ จ่ายของผผู้ ลติ ตาม Classification of Outlays of Producers by Purpose (COPP) o วัตถุประสงค์หลักของการจัดประเภทเหล่านี้ เพ่ือจัดทาสถิติท่ีเป็นท่ีสนใจท่ัวไปสาหรับ การใช้งานในการวิเคราะห์ที่หลากหลาย ตัวอย่างเช่น COICOP แสดงรายการค่าใช้จ่าย ในครัวเรือนต่างๆ เช่น บริการด้านอาหาร สุขภาพ และการศึกษา ซึ่งทั้งหมดเป็นดัชนีชี้วัด สาคัญของสวัสดิการของประเทศ, COFOG แสดงค่าใช้จ่ายของรัฐบาลด้านสุขภาพ การศึกษา การปอ้ งกนั ประเทศ และอื่นๆ นอกจากนีย้ ังใช้เพ่ือแยกความแตกตา่ งระหว่าง บริการส่วนรวม (collective) และสินค้าอุปโภคบริโภคและบริการส่วนบุคคล (individual) ท่ีจัดโดยรัฐบาล COPP อาจให้ข้อมูลการใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้บริการ Outsource ของสถานประกอบการ เป็นตน้ o COICOP สาหรับประเทศไทย ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนแรกคือ รายจ่ายเพ่ือการ อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค ข้ั น สุ ด ท้ า ย ข อ ง ค รั ว เ รื อ น ( Household Final Consumption Expenditure: HFCE) มี 12 กลุ่ม ส่วนท่ีสอง คือรายจ่ายเพ่ือการอุปโภคขั้นสุดท้ายของ สถาบันไม่แสวงหากาไรให้บริการครัวเรือน ( Non Profit Institutions Serving Households: NPISHs) และรายจ่ายเพ่ือการอุปโภคข้ันสุดท้ายของรัฐบาล มี 2 กลุ่ม รวมเปน็ 14 กลมุ่ ดังน้ี 1) อาหารและเครื่องดืม่ ที่ไมม่ แี อลกอฮอล์ 2) เครือ่ งด่ืมท่ีมแี อลกอฮอลแ์ ละยาสบู 3) เคร่อื งแต่งกายและรองเท้า 4) ทอี่ ย่อู าศัย ประปา ไฟฟ้า แก๊ส และเชอื้ เพลงิ อนื่ ๆ 5) ของตกแตง่ บา้ น อุปกรณท์ ใ่ี ชใ้ นครัวเรือน 6) สุขภาพ 7) ขนส่ง 8) การสอื่ สาร 9) บริการบันเทิงและวัฒนธรรม 10) การศึกษา 11) ภัตตาคารและโรงแรม 12) สินค้าและบรกิ ารเบ็ดเตล็ด 13) รายจ่ายเพอ่ื การอปุ โภคขั้นสดุ ท้ายของสถาบันไมแ่ สวงหากาไรให้บริการครัวเรอื น 14) รายจ่ายเพือ่ การอุปโภคขน้ั สดุ ทา้ ยของรัฐบาล รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 2-5 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
o COFOG ประกอบไปดว้ ย 10 ประเภท ได้แก่ 1) การบรกิ ารสาธารณะทัว่ ไป 2) การปอ้ งกันประเทศ 3) ความสงบเรียบรอ้ ยภายในประเทศ 4) เศรษฐกจิ 5) การปอ้ งกันทางสิง่ แวดลอ้ ม 6) การเคหะและการบริการชมุ ชน 7) สาธารณสุข 8) สนั ทนาการ วฒั นธรรม และศาสนา 9) การศึกษา 10) การคมุ้ ครองทางสงั คม o COPNI ประกอบไปดว้ ย 9 หมวดใหญ่ ได้แก่ 1) การเคหะ 2) สขุ ภาพ 3) นนั ทนาการและวัฒนธรรม 4) การศกึ ษา 5) ความคุม้ ครองทางสังคม 6) ศาสนา 7) พรรคการเมือง องคก์ ารแรงงาน และองคก์ ารวิชาชพี 8) การคุ้มครองสงิ่ แวดลอ้ ม 9) การบริการซงึ่ มิไดจ้ ัดประเภทไว้ในท่อี นื่ o COPP ประกอบไปดว้ ย 6 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) คา่ ใช้จ่ายในโครงสรา้ งพื้นฐาน 2) ค่าใช้จา่ ยในการวจิ ยั และพฒั นา 3) ค่าใชจ้ ่ายในการคุ้มครองส่ิงแวดลอ้ ม 4) ค่าใช้จ่ายสาหรบั การตลาด 5) ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ 6) คา่ ใชจ้ ่ายในโครงสรา้ งการผลติ และการบริหารจัดการ 3) กฎทางบญั ชี (Accounting rules) SNA ไดถ้ ูกจัดทาขน้ึ โดยใชช้ ุดของกฎทางบญั ชีท่ีสามารถสรปุ ได้ดังน้ี 1. บัญชี 2 ด้าน ตามหลักการทางบัญชีนั้น การลงบันทึกรายการบัญชีจะมีการบันทึก 2 ด้าน ที่ เรียกว่า “เดบิต (Debit)” และ “เครดิต (Credit)” โดยเดบิตคือส่วนที่อยู่ด้านซ้ายสาหรับบันทึก สินทรัพย์และค่าใช้จ่ายที่เพ่ิมข้ึน และเครดิตคือส่วนที่อยู่ด้านขวาสาหรับบันทึกบัญชีหน้ีสินส่วน ของเจ้าของรายได้เพ่ิมข้ึน ในการบันทึก SNA จะมีความหมายที่ใกล้เคียงกัน คือ ด้านซ้ายจะเป็น การใช้ (uses) หรือค่าใช้จ่าย (expenditures) ในการบันทึกข้อมูลธุรกรรมท่ีลดมูลค่าทาง เศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจ และด้านขวา เป็น ทรัพยากร (resources) หรือรายได้ (income) ในการบันทกึ ขอ้ มลู ธรุ กรรมที่เพ่มิ มูลคา่ ทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกจิ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 2-6 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
o ยกตัวอย่างใน SNA เช่น เงินเดือนและค่าจ้าง เป็นทรัพยากรหรือรายได้สาหรับครัวเรือน แต่ เป็นการใช้จ่ายของหน่วยเศรษฐกิจท่ีได้จ่ายให้กับครัวเรือน ในบัญชีสะสม (Accumulation Accounts) การเปล่ียนแปลงของหน้ีสินและมูลค่าสุทธิจะได้รับการบันทึกทางด้านขวาและ การเปลยี่ นแปลงของสินทรัพย์บันทึกทางดา้ นซ้าย เปน็ ต้น 2. หลกั การบัญชีคู่ (Double Entry Accounting) จากการลงบนั ทึกบญั ชี 2 ดา้ นที่กลา่ วไป จึงทา ให้การบันทึกบัญชีต้องลงอย่างน้อยสองคร้ังขึ้นไปในการบันทึกรายการแต่ละคร้ังจะมียอดรวม เท่ากัน (balance) ทั้งสองด้านเสมอ เพ่ือยืนยันความสอดคล้องกันของธุรกรรมที่ได้บันทึก โดย จานวนการบันทึกนั้นไม่จาเป็นท่ีจะต้องเท่ากัน เช่น จานวนด้านการใช้ 1 รายการ แต่อีกด้านคือ ทรัพยากร อาจจะ 2 หรือ 3 รายการกไ็ ด้ o จากการบันทึกรายการแต่ละคร้ังจะมียอดรวมเท่ากัน (balance) ท้ังสองด้านเสมอ จึงทาให้ แนวคิดสาคัญของการจัดทาบัญชีประชาชาติ คือ การดุล (balance) ระหว่างทรัพยากร กับ การใช้ทรัพยากรเหล่าน้ัน ยกตัวอย่างเช่น มุมมองของการผลิต บัญชีต้องดุลระหว่างผลผลิต หรืออุปทาน (Supply) กับการใช้ผลผลิตหรืออุปสงค์ (Demand) นั่นคือ มูลค่าหรือปริมาณ ผลผลิตต้องเท่ากับมูลค่าหรือปริมาณที่ใช้ไปกับผลผลิตท่ีผลิตได้ Demand = Supply โดย หลักการดังกล่าวมีความสาคัญต่อการจัดทาตารางอุปทานและอุปสงค์ (Supply and Use Table) และตารางปจั จัยการผลิตและผลผลิต (I/O Table) o ทงั้ นี้ SNA เปน็ ระบบบญั ชที ่ีมโี ครงสรา้ งขนาดใหญ่จึงมีความเป็นไปได้ท่ีจะลงบัญชีมากกว่า 1 บัญชี และอาจเป็นการบันทึกรายการในด้านที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นในลักษณะที่เรียกว่า “Quadruple Entry” กล่าวคือ 1 ธุรกรรมต้องบันทึกบัญชี 4 ครั้ง ยกตัวอย่างเช่น ในบัญชี การผลิต ปัจจัยการผลิตขั้นกลางและมูลค่าเพ่ิม ถูกบันทึกในส่วนของการใชเ้ พื่อเป็นส่วนหน่ึง ในการผลิตสินคา้ และบริการ รว่ มกบั การบนั ทกึ มลู ค่าผลิตภัณฑ์ในสว่ นของการเป็นทรัพยากร ในการผลติ แตใ่ นกรณบี ญั ชีรายได้ มูลค่าเพมิ่ ถูกบันทึกในส่วนของการเป็นทรัพยากร และถูก บันทึกเป็นการใช้โดยการกระจายไปเป็นค่าตอบแทนให้กับปัจจัยการผลิตข้ันต้น หรือใน ประเด็นผลประโยชน์ทางสังคมท่ีเป็นเงินสดท่ีหน่วยงานรัฐบาลจ่ายให้แก่ครัวเรือนจะถูก บันทึกในบัญชีของรัฐบาลว่าเป็นการใช้ภายใต้การถ่ายโอน และเป็นการลบการได้มาซึ่ง สินทรัพย์ในสกลุ เงินและเงินฝาก ในบญั ชีของภาคครัวเรอื นจะถูกบนั ทึกเป็นทรัพยากรภายใต้ การโอน และบวกการได้มาซง่ึ สนิ ทรัพยภ์ ายใต้สกุลเงินและเงนิ ฝาก 3. เวลาในการบันทึก (Time of Recording) ตามหลักการ คือ การลงบันทึกบัญชีทั้งสองด้านใน ระยะเวลาเดียวกัน เม่ือเกิดธุรกรรมหรือกระแสอ่ืนๆ ในหน่วยเศรษฐกิจท่ีเก่ียวข้อง และบันทึก บัญชีโดยใช้เกณฑ์คงค้าง (Accrual Basis) คือ การบันทึกบัญชีโดยคานึงถึงรายได้ที่พึงรับและ ค่าใช้จ่ายที่พึงจ่าย เพื่อให้แสดงผลการดาเนินงานของแต่ละรอบระยะบัญชีน้ันอย่างเหมาะสม รายไดต้ ามเกณฑค์ งค้างก็คอื ไมว่ ่ากิจการจะได้รบั เงินหรือยงั ไมไ่ ด้รับเงนิ กจ็ ะต้องบันทกึ เปน็ รายได้ ของกิจการ สาหรับค่าใช้จ่ายตามเกณฑ์คงค้างก็คือค่าใช้จา่ ยท่ีเกิดขึ้นเม่ือมีการมีการใชส้ ินค้าหรอื บรกิ ารน้นั ถงึ แม้จะจา่ ยเงินหรือยงั ไม่จ่ายเงินกต็ าม กจ็ ะตอ้ งบนั ทึกเปน็ คา่ ใชจ้ ่ายของกิจการ 4. การประเมินค่า (Valuation) การทาธุรกรรมจะถูกบันทึกในมูลค่าเดียวกันในทุกบัญชีของภาค ส่วนที่เก่ียวข้องและมีการประเมินมูลค่าตามราคาจริงท่ีตกลงกันโดยตัวแทนของการทาธุรกรรม ดังกล่าว โดยราคาตลาดถือเป็นข้อมูลอ้างอิงพ้ืนฐานสาหรับการประเมินมูลค่า แต่หากธุรกรรม รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 2-7 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ดังกล่าวไม่ได้เป็นธุรกรรมในตลาด (non-market transactions) เช่น บริการท่ีผลิตโดยรัฐบาล จะอิงกับตน้ ทนุ ท่เี กดิ ขนึ้ หรอื การองิ กบั ราคาตลาดของสินค้าหรอื บรกิ ารท่ีคล้ายคลงึ กนั 5. วธิ ีการประเมินราคา (Methods of valuation) มีหลากหลายวิธใี นการประเมนิ มูลค่าธุรกรรม ท่ีเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ ภาษีสินค้า (taxes on products) เงิน อุดหนุน (subsidy) และส่วนเหลื่อมจากการค้าและการขนส่ง (trade and transport margins) โดยการประเมินมูลค่าจะมีท้งั หมด 3 รปู แบบ o ราคาพื้นฐาน (Basic Price) เป็นมูลค่าการผลิตที่ยังไม่รวมภาษีการผลิตและหักเงินอุดหนุน ซ่ึงจะเทียบเท่ากบั มลู คา่ ของสนิ คา้ นาเขา้ ทเ่ี ป็น มลู ค่า c.i.f. (Cost + Insurance + Freight) o ราคาผู้ผลิต (Producer Price) เป็นมูลค่าการผลิตหลังจากที่รวมภาษีการผลิตและหักเงิน อุดหนุน ซึ่งจะเทียบเท่ากับมูลคา่ ของสินค้านาเข้าในกรณีท่ีบวกภาษีศุลกากรและภาษีอนื่ ๆ ท่ี เกีย่ วกบั การนาเข้า รวมถึงหักเงินอุดหนนุ ท่เี กยี่ วกบั การนาเขา้ o ราคาผู้ซ้ือ (Purchaser Price) เป็นมูลค่าการผลิตหลังจากที่รวมภาษีการผลิตและหักเงิน อุดหนุน และรวมกับส่วนเหล่ือมจากการค้าและการขนส่งและภาษีมูลค่าเพิ่มที่ไม่สามารถหัก ลดหย่อนได้ (non-deductible VAT) 6. Consolidation กรณีที่มีการจัดกลุ่ม/รวมตัวระหว่างหน่วยเศรษฐกิจ 2 หน่วยท่ีอยู่ในภาค สถาบนั เดียวกัน การรวมดงั กลา่ วตอ้ งมีการขจัดธุรกรรมหรือความสมั พนั ธ์ท่เี กดิ ข้นึ ระหวา่ งกันของ 2 หน่วยดังกล่าว ทั้งข้อมูลกระแส (flows) และสะสม (stocks) ซ่ึงรวมถึงการตัดข้อมูลสินทรัพย์ และหนีส้ นิ ที่มซี ่งึ กนั และกัน o อย่างไรก็ตามหากมีเป้าหมายคือการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานสถาบันของ ภาคส่วนเดียวกัน การรวมดังกล่าวควรดาเนินการโดยไม่ต้องมีการขจัดธุรกรรมระหว่าง หน่วยงานตามทไี่ ด้กล่าวไปในขา้ งต้น 4) รปู แบบบญั ชใี นบัญชีประชาชาติ บัญชเี ปน็ เครือ่ งมือที่จะบันทึกมุมมองต่างๆ ของระบบเศรษฐกิจผ่านการใช้ (ค่าใช้จ่าย) และทรพั ยากร (รายได้) หรือการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย์และหนี้สินและ / หรือการสะสมของสินทรัพย์และหนี้สินในเวลาที่ กาหนด โดยประเภทบญั ชหี ลกั ใน SNA มดี งั น้ี 1. บัญชีเดินสะพัด (Current Accounts) เป็นบัญชีสาหรับการบันทึกการผลิตสินค้าและบริการ รายได้ที่เกิดจากกระบวนการผลิต การกระจายผลผลิตท้ังสินค้าและบริการ การกระจายรายได้ ระหว่างหน่วยสถาบัน และการใช้รายได้เพ่ือการใช้จ่าย ซ่ึงจะมีบัญชีท้ังหมด 3 บัญชีท่ีเป็นหัวใจ หลกั ของบญั ชีประชาชาติ ได้แก่ o บัญชีการผลิต (Production Accounts) เป็นบัญชีที่บันทึกมูลค่าผลผลิตในประเทศ และ สินค้าและบริการท่ีใช้ในการผลิตผลผลิตน้ัน ตัวดุลบัญชี (balancing item) คือ มูลค่าเพ่ิม (value added) ซงึ่ เทา่ กบั ผลติ ภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) โดยแสดงขอ้ มูลสาหรับเศรษฐกจิ ทัง้ หมดในราคาตลาด (market prices) o บัญชีรายได้ (Income Accounts) เป็นบัญชีแสดงกระแสของรายได้ ท้ังรายได้ท่ีเกิดขึ้น จากการผลิต (เช่น ค่าจ้างและเงินเดือน) และกระแสรายได้แบบกระจาย (ส่วนใหญ่เป็นผล จากภาษีของรัฐบาลและการจ่ายผลประโยชน์ทางสังคม) ตัวดุลบัญชีคือ รายได้ท่ีจับจ่ายได้ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 2-8 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
(Disposable Income) หรือรายได้หลังจากคิดภาษีและเงินโอน ซึ่งเป็นรายได้ประชาชาติ (National Income) ที่วดั ทงั้ ระบบเศรษฐกิจ o บัญชีรายจ่าย (Expenditure Accounts) เป็นบัญชีแสดงการใช้จ่ายของการนารายได้ท่ี จับจา่ ยไดไ้ ปบรโิ ภคและออม ตัวดุลบญั ชีคอื การออม (saving) 2. บญั ชีสะสม (Accumulation Accounts) เป็นบญั ชที ี่บนั ทึกการได้มาและการจดั การสินทรัพย์ และหน้ีสินทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงินตามหน่วยสถาบันต่างๆ ผ่านธุรกรรมหรือเหตุการณ์ อ่นื ๆ ที่เกิดขน้ึ ซงึ่ บัญชีภายใต้บัญชีสะสม ไดแ้ ก่ o บัญชีทุน (Capital Accounts) เป็นบัญชีแสดงการสะสมสุทธิของธุรกรรมของสินทรัพย์ท่ี ไม่ใช่ทางการเงิน และการจัดหาเงินทุนโดยวิธีการออมและการโอนเงินทุน ตัวดุลบัญชีคือ การใหก้ ู้กับการกู้ยมื สุทธิ o บัญชีการเงิน (Financial Accounts) เป็นบัญชีแสดงให้เห็นการได้มาซึ่งสินทรัพย์ทางการ เงินและการเกิดหนี้สินสุทธิ ตัวดุลบัญชีคือ การเปล่ียนแปลงสุทธิในฐานะการเงิน (financial position) 3. งบดุล (Balance Sheet) เป็นบัญชีที่บันทึกมูลค่าสะสมของสินทรัพย์ท้ังการเงินและไม่ใช่ การเงินหนสี้ นิ ที่ถือครองโดยหนว่ ยสถาบันหรือภาคตา่ งๆ ตลอดรอบระยะเวลาบัญชี ยอดคงเหลือ หรือมูลค่าสุทธิที่แสดงจะหมายถึง \"ความม่ังคั่ง\" ของตัวแทนทางเศรษฐกิจและประเทศชาติ โดยรวม 5) ขอบเขตการผลติ (Production Boundary) ขอบเขตการผลิตเป็นส่วนสาคัญสาหรับการจัดทาบัญชีประชาชาติ รวมถึงการจัดทาบัญชีบริวาร ขอบเขตการผลิตโดยทั่วไป คือ การผลิตในระบบเศรษฐกิจถูกกาหนดให้เป็นกิจกรรมท่ีดาเนินการภายใต้การ ควบคุมและความรับผิดชอบของหน่วยสถาบันที่ใช้ปัจจัยการผลิตประเภทแรงงาน ทุน และสินค้าและบริการ เพือ่ ผลติ สนิ คา้ หรือบริการ โดยมหี นว่ ยงานสถาบนั ท่ีรบั ผดิ ชอบในกระบวนการผลิตและเปน็ เจ้าของผลิตภัณฑ์ที่ ผลิตขึ้นซ่งึ สามารถนาไปซ้ือขายหรือชดเชยเปน็ อยา่ งอนื่ สาหรบั กรณีการใหบ้ ริการ อย่างไรก็ตาม การผลติ ทีเ่ กิด จากกระบวนการทางธรรมชาติเพียงอย่างเดียวท่ีไม่ได้มีส่วนร่วมของมนุษย์ จะไม่ถูกจัดอยู่ในขอบเขตการผลิต เช่น การเติบโตโดยธรรมชาตขิ องปริมาณปลาในแม่น้า แต่การเพาะเล้ียงปลาถอื เป็นกจิ กรรมการผลิต เป็นต้น สาหรับการกาหนดขอบเขตการผลิตในการจัดทาบัญชีประชาชาตินั้นจะจากัดขอบเขตมากกว่า ขอบเขตการผลิตโดยทวั่ ไป โดยขอบเขตการผลิตในการจัดทาบัญชปี ระชาชาติมคี วามครอบคลมุ ดงั น้ี 1) การผลิตสินค้าหรือบริการส่วนบุคคล (individual) หรือส่วนรวม (collective) ท้ังหมดที่ถูก นาไปใช้ในหน่วยงานอื่นนอกเหนือจากผู้ผลิต รวมถึงการผลิตสินค้าหรือบริการเพ่ือใช้ใน กระบวนการผลิตสินคา้ หรอื บริการ 2) การผลิตสินค้าทั้งหมดของผู้ผลิตที่เก็บไว้เพ่ือบริโภคข้ันสุดท้ายของตัวผู้ผลิตเองหรือเพื่อใช้ใน สนิ คา้ ทุน 3) การผลิตบริการท่ีอยู่อาศัยโดยเจ้าของท่ีอยู่อาศัย บริการภายในประเทศ และบริการส่วนบุคคล เพือ่ ให้ตัวผู้ผลิตเองใชบ้ ริการโดยการจ้างพนักงานในการผลิต จากข้างต้นหมายความว่า การผลิตสินค้าทั้งหมดจะอยู่ภายในขอบเขตการผลิต ซึ่งสินค้าท่ีผู้ผลิตเก็บ ไว้ด้วยจุดประสงค์เพ่ือบริโภคข้ันสุดท้ายของตัวผู้ผลิตเองก็จัดอยู่ภายในขอบเขตการผลิตด้วย เนื่องจาก ณ รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หน้าที่ 2-9 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
เวลาท่ผี ลิตอาจไม่สามารถคาดการณ์ได้วา่ สินคา้ จะมีการแบ่งเพื่อขายหรือเพื่อใชเ้ องมากน้อยเพียงใด และเห็น ว่าปริมาณการผลิตสินค้าดังกล่าวภายในครัวเรือนมีผลต่อการวิเคราะห์เชิงปริมาณในการหาปริมาณสินค้า ทั้งหมดทป่ี ระเทศน้ันสามารถผลติ ได้ ประเภทสนิ คา้ ท่ีมีลักษณะดังกล่าวประกอบไปดว้ ย 1) การผลิตผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตรและการเกบ็ ผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร (ปา่ ไม้ เก็บฟนื ล่าสตั ว์ ตกปลา) 2) การผลติ ผลิตภัณฑต์ ้น น้า เช่น เกลือ พีท แร่ น้า 3) กระบวนการแปรรูปผลิตผลเกษตร เช่น การสีข้าว การแปรรูปผลิตภัณฑ์จาก เนื้อสัตว์ ปลา ผกั และผลไมใ้ นลักษณะถนอมอาหาร (ทาให้แห้ง กระปอ๋ ง) ผลิตภณั ฑจ์ ากนม การผลติ เครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ การสาน (กระเช้า เส่ือ) และ 4) การแปรรูปประเภทอ่ืนๆ เช่น ทอผ้า ตัดเย็บเสื้อผ้า ผลิตรองเท้า ผลิตเครอื่ งป้นั ดินเผา ผลติ ของใช้ ผลิตเฟอรน์ เิ จอรแ์ ละอุปกรณ์ตกแตง่ ท้ังนี้ขอบเขตการผลิตของบัญชีประชาชาติจะไม่รวมบริการภายในประเทศและบริการส่วนบุคคลท่ี ครัวเรือนผลิตขึ้นมาเพ่ือการบริโภคขั้นสุดท้ายของตัวครัวเรือนเองภายในครัวเรือนเดียวกัน (own final consumption within the same household) ผลิตโดยสมาชิกในครัวเรือนและไม่มีการจ้างพนักงาน ในการผลิต เช่น การทาความสะอาด ตกแต่ง และบารุงรกั ษา ทอี่ ยู่อาศัยรวมถึงการซ่อมแซมเลก็ ๆ นอ้ ยๆ ทมี่ กั จะ ดาเนินการโดยผู้อยู่อาศัย การทาความสะอาด การให้บริการ และการซ่อมแซมของใช้ในครัวเรือนหรือสินค้าอื่น รวมถึงยานพาหนะท่ีใช้เพื่อวัตถุประสงค์ในครัวเรือน การเตรียมและการเสิร์ฟอาหาร การดูแล การฝึกอบรมและ การสง่ั สอนเด็ก การดูแลคนป่วยหรอื คนชรา การขนสง่ บคุ คลในครัวเรือนหรือสินค้าของบุคคลในครวั เรือน เปน็ ต้น สาเหตุที่ไม่รวมบริการภายในประเทศหรือบริการส่วนบุคคลท่ีไม่ไดม้ ีการชาระค่าบริการ และการผลติ และบรโิ ภคภายในครัวเรือนเดียวกนั คอื 1) การผลิตเฉพาะบริการ เนื่องจากบริการเป็นประเภทผลิตภัณฑ์ท่ีแตกต่างจากสินค้า เพราะเมื่อ ครวั เรอื นผลิตบริการออกมาจะมีวัตถปุ ระสงค์ในการผลิตชัดเจน ผลติ เพ่ือบรโิ ภคเองหรือผลิตเพ่ือ ขาย ซึ่งแตกต่างจากสินค้าที่สามารถแบ่งเพื่อบริโภคเองหรือเพ่ือขายได้แม้จุดประสงค์ตั้งต้นคือ การบริโภคเองก็ตาม แต่เม่ือผลิตออกมาเกินกว่าท่ีจะบริโภคก็สามารถปรับเปลี่ยนเป็นการนา สินค้าไปขายได้ 2) บริการลักษณะดังกล่าวเป็นบริการที่ผลิตข้ึนมาตอบสนองต่อความต้องการของตัวครัวเรือนเอง (เพือ่ ผลประโยชนส์ ว่ นตัว/ความพึงพอใจของตนเอง) ไม่ควรถกู จัดให้อยใู่ นการผลติ สนิ คา้ 3) บริการลักษณะดังกล่าวประเมินมูลค่าได้ยาก ท้ังมูลค่าผลผลิต รายได้ และค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวข้อง เนื่องจากไม่ใช่บริการท่ัวไปท่ีอยใู่ นตลาด จึงไม่มีราคาตลาดชัดเจนในการอ้างอิง และการประเมิน เป็นเงินสดอาจใหค้ ่าทีไ่ ม่แนน่ อน เช่น การเปรียบเทยี บการผลิตบริการเพ่ือการบรโิ ภคในครัวเรือน เองกับการผลิตบริการเดียวกนั สาหรับครวั เรือนอื่น โดยการประเมนิ มูลค่าเป็นเงินสดเพ่ือแสดงถึง ค่าจ้างอาจมชี ว่ งทก่ี วา้ ง ซง่ึ จะข้นึ อยูก่ ับความสามารถในการจา่ ยของครัวเรอื น เป็นต้น 4) การรวมมูลค่าจากบริการในครัวเรือน จะมีผลทาให้การประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจและการนาไปใช้ ประโยชนใ์ นการเชงิ การตลาดหรือเชงิ นโยบายผิดเพ้ยี นไป โดยเฉพาะการมีส่วนรว่ มของแรงงานและการ จ้างงานที่จะส่งผลต่อค่าสถิติ การขยายขอบเขตให้ครอบคลุมบริการลักษณะนั้นทาให้ผู้ให้บริการ ดังกล่าวถือว่าเป็นแรงงานในระบบเศรษฐกิจ ไม่ได้เป็นคนว่างงานอีกต่อไป เน่ืองจากตามหลักของ องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ (International Labour Organisation: ILO) ระบวุ ่า ผูท้ ี่มสี ว่ นร่วมใน ตลาดแรงงานคอื ผทู้ ีม่ สี ่วนรว่ มในการผลติ ท่ีอยู่ในขอบเขตของการผลิต กรณีบริการภายในครัวเรือนเองในลักษณะของการทาความสะอาด ตกแต่ง และบารุงรักษา ที่อยู่ อาศยั รวมถึงการซ่อมแซมเล็กๆ นอ้ ยๆ ทม่ี กั จะดาเนนิ การโดยผู้อยู่อาศยั อย่างทไ่ี ดร้ ะบุไว้ในข้างต้นวา่ ไม่ได้ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 2-10 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
อยภู่ ายใต้ขอบเขตการผลิตของบัญชปี ระชาชาติ วสั ดุทไ่ี ด้ทาการซอ้ื เพอ่ื นามาจดั ทาบริการดังกล่าวจะถือว่าเป็น ค่าใช้จ่ายในการบรโิ ภคขั้นสุดท้าย (final consumption) แต่ในกรณีของการให้บริการที่อยู่อาศัย (การให้เช่า) การซ่อมบารุงเล็กๆ น้อยๆ ของเจ้าของที่อยู่อาศัยที่ให้เช่าจะอยู่ในขอบเขตการผลิต แต่จะอยู่ในกิจกรรมรอง (secondary activities) ของบริการที่อยู่อาศัย และวสั ดทุ ่ใี ชใ้ นการซ่อมบารุงถือว่าเป็นปัจจัยการผลติ ขัน้ กลาง (intermediate inputs) ส่วนการปรับปรุงคร้ังใหญ่ในท่ีอยู่อาศัยหรือการขยายท่ีอยู่อาศัยจะถือว่าเป็นการใช้จ่าย ในสนิ ค้าทนุ (fixed capital formation) และถูกบันทึกแยกต่างหาก สาหรับการผลิตประเภทอ่ืนๆ จาพวกการผลิตสินค้าและบริการท่ีผิดกฎหมาย (illegal production) และการผลติ ทีม่ ีการปกปดิ (concealed production) หรอื เศรษฐกิจใตด้ ิน (underground economy) การผลิตสินค้าและบริการที่ผิดกฎหมาย มี 2 ประเภท ได้แก่ กิจกรรมการผลิตสินค้าหรือบริการท่ี การขาย การจัดจาหน่าย หรือการครอบครองเป็นส่ิงที่ต้องห้ามตามกฎหมาย รวมถึงกิจกรรมการผลิตสินค้า บริการท่ีดาเนินการโดยผู้ผลิตท่ีไม่ได้รับอนุญาต เช่น ผู้ปฏิบัติงานทางการแพทย์ท่ีไม่มีใบอนุญาต เป็นต้น ซ่ึง ในทางปฏิบัติการตรวจสอบการผลิตสินค้าและบริการท่ีผิดกฎหมายเป็นไปได้ยาก แต่อย่างไรก็ตามการผลิตน้ี อยู่ในขอบเขตการผลิตของบญั ชปี ระชาชาติ เน่ืองจากเป็นกระบวนการผลิตที่เกิดขึ้นจริงตามความต้องการของตลาด ซ่ึงหน่วยสถาบันท่ีซื้อผลิตภัณฑ์อาจไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมผิดกฎหมายทุกชนิด นอกเหนือจากทาธุรกรรมที่ผิด กฎหมายด้วยตนเอง การบันทึกข้อมูลสินค้าและบริการประเภทดังกล่าวเพื่อให้ครอบคลุมการผลิตและการบริโภค ท้ังหมด และเพ่ือป้องกันข้อผิดพลาดในการจัดทาบัญชี หากมีรายได้ท่ีเกิดจากการผลิตที่ผิดกฎหมายแล้วแปรเปลย่ี น ให้ถูกกฎหมาย (ฟอกเงิน) รวมถึงค่าใช้จ่ายในสินค้าและบริการท่ีผิดกฎหมายอาจมีเงินทุนท่ีมาอย่างถูกกฎหมาย ซึ่ง จะส่งผลในกรณีที่มีขนาดเศรษฐกิจของผลิตภณั ฑ์ดังกล่าวท่ีสูงตัวอย่าง เช่น ยาเสพติด การลักลอบขนของ การค้า ประเวณี เป็นต้น การผลิตท่ีมีการปกปิด (concealed production) หรือเศรษฐกิจใต้ดิน (underground economy) กจิ กรรมถกู กฎหมายบางประเภทน้ันอาจมีการปกปดิ เพ่ือหลีกเล่ียงด้วยเหตผุ ลบางประการ เชน่ หลีกเลย่ี งภาษี หลีกเล่ียงการจ่ายเงินสมทบประกันสังคม หลีกเลี่ยงการปฏิบัติตามมาตรฐานทางกฎหมาย (เช่น ค่าจ้างขั้นต่า ชั่วโมงสูงสดุ ในการทางาน มาตรฐานความปลอดภัย หรือมาตรฐานด้านสุขภาพ เป็นต้น) เมื่อมีการผลิตเกิดขน้ึ กิจกรรมเหล่าน้ีถือว่าอยู่ในขอบเขตการผลิต ซึ่งสามารถเรียกได้ว่า “เศรษฐกิจใต้ดิน” โดยเฉพาะประเทศท่ีมี เศรษฐกิจนอกระบบ (informal economy) ขนาดใหญ่ การรวบรวมข้อมูลเหล่าน้ีมีส่วนสาคัญในการสะท้อน เศรษฐกิจท่ีแท้จริงของประเทศ โดยหลายประเทศพยายามแก้ปัญหาการปกปิดข้อมูลดังกล่าวโดยการใช้การ สารวจหลากหลายวิธี และประมาณค่าจากการไหลเวยี นของสินคา้ ในระบบเศรษฐกจิ 2.1.2 บญั ชีบรวิ าร (Satellite Account) บัญชีบริวาร คือ บัญชีท่ีเช่ือมโยงกับบัญชีประชาชาติ (National Account) ของประเทศ โดยแยก ออกมาเป็นบัญชีย่อย เน่ืองจากความต้องการจาแนกระบบเศรษฐกิจให้มุ่งเน้นไปยังประเด็นใดประเด็นหน่ึง เพื่อให้เห็นภาพรวมของสาขาดังกล่าวอย่างเป็นระบบผ่านการกาหนดกรอบการบัญชีที่เฉพาะเจาะจง นั่น หมายความว่า บญั ชีบริวารไมไ่ ดม้ ีเป้าหมายในการอธิบายครอบคลุมระบบเศรษฐกิจท้ังหมด แต่จะศกึ ษาเฉพาะ บางส่วนเท่าน้ัน การแยกออกจาก SNA น้ันมีจุดประสงค์เพื่อให้การจัดทาบัญชีบริวารมีความยืดหยุ่นมากข้ึน และเพ่ือหลีกเลี่ยงข้อจากัดบางประการจากหลักการของ central framework เช่น การไม่นับรวมส่ิงท่ีเกิดขึ้น เองตามธรรมชาติ การไมน่ ารวมบริการสว่ นบุคคลทด่ี าเนนิ การภายในครัวเรือน เปน็ ตน้ รวมถงึ มบี ทบาทสาคัญ ในการเป็นข้อมูลท่ีมีรายละเอียด และมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของรายการต่างๆ ทั้งข้อมูลในส่วนที่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 2-11 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
เรียกว่า non-monetary data ที่เชื่อมโยงกับ monetary data ของสาขาท่ีสนใจ และมีความสอดคล้อง เช่ือมโยงกับบัญชีประชาชาติของประเทศที่เป็นข้อมูลภาพรวมทางเศรษฐกิจ จึงทาให้ขอบเขตของบัญชีบรวิ าร ท้ังกิจกรรมและผลติ ภณั ฑ์ ไปจนถึงแนวคดิ สามารถขยายครอบคลมุ ในสาขาที่สนใจให้มากทสี่ ุดได้ บัญชีบริวารถูกจัดทาเพื่อตอบสนองหลากหลายสาขา เช่น วัฒนธรรม การศึกษา สาธารณสุข การ คุ้มครองทางสังคม การท่องเที่ยว การคุ้มครองส่ิงแวดล้อม การวิจัยและพัฒนา (R&D) การขนส่ง การประมวลผล ข้อมูล ที่อยอู่ าศัย การส่อื สาร เปน็ ต้น ซง่ึ จะเหน็ ได้ว่าบัญชีส่วนใหญ่ท่จี ัดทาจะเกีย่ วข้องกับสังคม และบริการ ถึงแม้บัญชีบริวารมีความเก่ียวข้องกับบัญชีประชาชาติ แต่มีอิสระในการจัดทาระบบบัญชี สามารถอิง แนวคดิ เดิมจากบัญชีหลัก และสามารถนาแนวคิดและข้อมูลอื่นมาพัฒนาให้บัญชีบริวารมีความสมบูรณ์มากข้ึนได้ โดยสามารถสร้างความแตกต่างกับบัญชีประชาชาตไิ ด้ 2 ลกั ษณะหลัก ไดแ้ ก่ 1) จัดทาบัญชีบริวารแบบ Internal Satellite ท่ียังคงวางอยู่บนหลักการ (accounting rule) ทั้งหมดเดียวกันกับบัญชีประชาชาติ คงความเป็นรูปแบบของบัญชี ท้ังนิยาม ความหมาย การวัดค่า และการกาหนดตัวแปรที่เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานหลัก แต่แตกต่างกันเรื่องของการจัดหมวดหมู่ (Classification) ท่มี ีการจัดใหม่ตามความสนใจโดยไม่ได้ใช้ standard classification (บญั ชีประชาติ ใช้ CPC (สินค้าและบริการ) และ ISIC (กจิ กรรมทางเศรษฐกิจ)) 2) จัดทาบัญชีบริวารแบบ External Satellite คือการจัดทาบัญชีท่ีมีแนวคิดต่างไปจากบัญชี ประชาชาติ เช่น การเอา non-economic data เข้ามารวมไว้ซ่ึงไม่ได้ยึดหลักการหรือข้อตกลง ของวิธีการบัญชี (accounting convention) เปน็ ตน้ รายละเอียดท่ีกล่าวถึงต่อไปน้ีจะมาจากงานศึกษาของ Lemaire, M. (1987), Teillet, P. (1988), Inter-Secretariat Working Group on National Accounts, & Commission of the European Communities (1993), Pan American Health Organization (2005) และ United Nations (2009) 1) ความแตกตา่ งระหวา่ งบัญชปี ระชาชาติกบั บัญชีบริวาร ความเป็นอิสระในการจัดทาบัญชีบริวารทาให้บัญชีบริวารมีขอบเขตการวิเคราะห์ที่กว้างกว่า SNA โดยความแตกตา่ งระหว่างบญั ชปี ระชาชาติกบั บัญชีบริวารมีรายละเอียดดังน้ี 1.1) การผลิตและผลผลติ (Production and Products) การผลิตและผลผลิต ใน SNA ผู้ผลิตเป็นสถานประกอบการที่มีการจัดประเภทตามกิจกรรม ทางเศรษฐกิจ ซึ่งสามารถจาแนกตามการจัดประเภท ISIC หรือการจาแนกตามประเภทของภูมิภาคหรือชาติ น้ันๆ เช่น ประเทศไทยจะใช้การจัดประเภทตามรหัส TSIC เป็นต้น โดยผู้ผลิตไม่ได้ดาเนินกิจกรรมหลัก (principal economic activity) เพียงกิจกรรมเดียว (homogeneous) แต่ผู้ผลิตสามารถดาเนินกิจกรรมรอง (secondary activity) ได้มากกวา่ 1 กจิ กรรม ซง่ึ มีผลทาให้สามารถผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร (outputs) มากกวา่ 1 ประเภท โดยผลผลิตของกิจกรรมรองจะถูกจัดประเภท ISIC ตามลักษณะของกิจกรรม แต่ปัจจัยการผลติ จะ ไม่ถูกจาแนกออกมาจากกิจกรรมหลัก ส่วนกิจกรรมการผลิตอีกประเภทท่ีเรียกว่า “Ancillary activities” หรือกิจกรรมเสริม นั่นคือ กิจกรรมที่สถานประกอบการสร้างข้ึนเพ่ือเป็นปัจจัยการผลิตภายในสถาน ประกอบการเอง ไมไ่ ด้มีการนาไปขายให้กับบุคคลท่ี 3 กิจกรรมเสรมิ ใน SNA จะไม่ถกู วิเคราะห์ และถอื ว่าเป็น สว่ นหน่ึงของกจิ กรรมการผลติ หลกั รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 2-12 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ยกตัวอย่างเช่น บริการขนส่ง ใน SNA การผลิตจากการให้บริการขนส่งจะครอบคลุมเฉพาะ บริการขนส่งท่ีให้แก่บุคคลทส่ี ามที่ได้จากทั้งกิจกรรมหลักและกิจกรรมรองเท่านน้ั ไม่รวมการให้บริการขนสง่ ที่ บรกิ ารให้กบั ตวั สถานประกอบการเอง (ถือเป็นกจิ กรรมเสรมิ ) เข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ของการผลิต การกาหนดดังกล่าวมีความแตกต่างจากการจัดทาบัญชีบริวาร ในบัญชีบริวารจะวิเคราะห์ กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง และกิจกรรมเสริมของสถานประกอบการเป็นอิสระต่อกัน ท้ังในแง่ผลผลิตและ ปัจจัยการผลิต ไปจนถึงการบริโภคข้ันสุดท้าย ซึ่งการนาเอากิจกรรมการผลิตเพ่ือใช้ภายในหน่วยงาน/ ครัวเรือน/สถานประกอบการ/องค์กรเดียวกัน จะทาให้ขอบเขตการผลิตขยายมากขึ้น และจะเป็นประโยชน์ อย่างมากในการทาให้บัญชีการผลิต และบัญชีแหล่งท่ีมาของรายได้มีความชัดเจนมากขึ้น การระบุกิจกรรม เสริมให้มาอยู่ในขอบเขตการผลิตน้ันต้องคานึงถึงความจาเป็นต่อประเด็นท่ีกาลังศึกษา และความพร้อมด้าน ขอ้ มูลการผลิต 1.2) รายได้ (Income) รายไดป้ ระกอบด้วยธรุ กรรมท่ีจดั ประเภทตามลักษณะท่ีแตกตา่ งกนั รายได้ขัน้ ต้น (Primary Incomes) ตามหลักเศรษฐศาสตร์รายได้ขัน้ ตน้ นัน้ มาจาก ปัจจยั การผลติ ข้นั ต้น (primary inputs) ไดแ้ ก่ แรงงาน ทุน และที่ดิน โดยผลตอบแทนของแรงงานนั้นมาจากเงินเดือนและค่าจ้าง (wage) ทุนมาจากกาไร (profit) และที่ดินมาจากค่าเช่า (rent) ซึ่งการวิเคราะห์รายได้ในบัญชีบริวารจะจาแนกรายการรายได้ขั้นต้น ดังกล่าว ได้แก่ ค่าตอบแทนแรงงาน (employee compensation) ค่าตอบแทนจากการใช้สินค้าทุน (consumption of fixed capital) ค่าส่วนเกินของผู้ประกอบการ (operating surplus)1 และค่าแรงของ ผู้ประกอบการท่ีดาเนินธุรกิจด้วยตนเอง (mixed income) โดยค่าแรงของผู้ประกอบการท่ีดาเนินธุรกิจด้วย ตนเองสามารถท่ีนากลบั ไปรวมอยู่ในค่าตอบแทนแรงงานและค่าตอบแทนของทุน หรอื แยกตามลักษณะเดิมได้ นอกจากน้ีการขยายขอบเขตการผลิตที่ได้อธิบายส่วนก่อนหน้านี้ (รวมกิจกรรมเสริม) จะทาให้รายได้ข้ันต้นมี มูลคา่ เพิม่ ข้นึ การโอนและรายไดท้ ่ีจบั จา่ ยได้ (Transfers and Disposable Income) ใน SNA การโอน (Transfers) หมายถึง ธุรกรรมที่หน่วยสถาบันหนึ่งให้สินค้า บริการ หรือ สินทรัพย์ (รวมถึงเงินสด) ไปยังหน่วยสถาบันอื่นโดยไม่ได้รับสินค้า บริการ หรือสินทรัพย์ (รวมถึงเงินสด) จาก หน่วยสถาบันนั้นกลับคืนมาเทียบเท่ากับที่ให้ไป นอกจากการโอนระหว่างครัวเรือนกับครัวเรือน และระหว่าง ภาครัฐกับครัวเรือน ธุรกรรมอื่นที่ถือว่าเป็นการโอน เช่น การจ่ายภาษี การจ่ายเงินสมทบประกันสังคม การ จ่ายเบี้ยประกันวินาศภัย เป็นต้น ธุรกรรมเหล่าน้ีเป็นการจ่ายไปแล้วได้รับผลตอบแทนท่ีไม่แน่นอนหรืออาจ ไม่ได้รับผลตอบแทน ส่วนการซ้ือประกันชวี ิตรายบุคคลหรือการจ่ายเงินเข้ากองทุนบาเหน็จบานาญจะไม่ถอื วา่ เป็นการโอน เน่ืองจากเป็นการได้รับผลประโยชน์เทียบเท่ากับการจ่ายเงินที่เสียไปเม่ือครบกาหนด โดยจะ บนั ทึกอยู่ในบญั ชกี ารเงินของการเปล่ียนแปลงของสินทรัพย์และสว่ นของผูถ้ ือหนุ้ แทน 1 ค่าสว่ นเกินของผู้ประกอบการ (operating surplus) ไดแ้ ก่ ดอกเบยี้ จา่ ย คา่ เชา่ ทด่ี นิ กาไร และเงินปันผล หนา้ ท่ี 2-13 รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ประเภทการโอนทีส่ ามารถระบอุ ยู่ในบญั ชบี ริวาร นอกเหนือจากที่กาหนดไวใ้ น SNA มดี ังน้ี สิทธิประโยชน์ทางภาษจี ากการออกกฎหมายในสถานการณ์ต่างๆ และการให้บรกิ ารท่ีไม่ ต้องเสียค่าใช้จ่าย (บริการที่ไม่ใช่ตลาด : non-market service) โดยหน่วยงานภาครัฐท่ี ให้กับผู้ผลิตในตลาด ใน SNA บริการน้ีจะอยู่ในการบริโภคโดยรวม (collective) ของ ภาครัฐ แตใ่ นบัญชีบริวารสามารถเปน็ ปัจจัยการผลิตขั้นกลางของผู้ผลติ โดยอยู่ในรูปของ การอุดหนุนการผลิต การเพ่ิมขึ้นของกรณีนี้จะสามารถรวบรวมการโอนทุกประเภท ระหว่างภาครัฐและภาคการผลิตต่างๆ โดยเฉพาะภาคเกษตร ที่มักจะมีการอุดหนุนการ ผลิตอยู่บ่อยครั้ง รวมถึงการลดหย่อนภาษี สินเชื่อดอกเบี้ยต่า การกาหนดอัตรา แลกเปลี่ยนและราคาสินค้าท่ีไม่ตรงกับความเป็นจริง สามารถระบุเป็นการอุดหนุนและ การโอนได้ ผลกระทบภายนอก (Externalities) คอื ผลกระทบต่อบุคคลที่สามที่ไม่ได้คานวณเป็นมูลค่า ธุรกรรมทางการเงินระหว่างสองหน่วยเศรษฐกิจ เช่น การสร้างมลพิษ ความราคาญแก่ ครวั เรือนโดยผู้ผลิต เปน็ ต้น ผลกระทบภายนอกเชงิ ลบดังกล่าวอาจประเมนิ และบนั ทึกให้ เป็นการโอน (ทางลบ) จากผู้ผลิตสู่ครัวเรือน ซ่ึงการระบุผลกระทบภายนอกน้ีอาจต้องมี การวิเคราะห์การผลิตผลกระทบภายนอกเพ่ิมเติมเข้ามาในระบบเพื่อให้ มีเกิดความ สอดคลอ้ งกัน การเปล่ียนแปลงในมูลค่าของสนิ ทรพั ย์ จะมีผลต่อขอบเขตของการโอน เช่น การยึดโดย ไม่มีการชดเชยใดๆ (Uncompensated Seizures) เป็นต้น รวมถึงขอบเขตของรายไดท้ ่ี จับจ่ายได้ที่อาจเพ่ิมจากการนากาไรหรือขาดทุนจากสินทรัพย์และหนี้สนิ ทางการเงินเข้า มาอยู่ในรายได้ที่จับจ่ายได้ ในกรณีที่ในประเทศการถือครองกาไรหรือขาดทุนจาก สนิ ทรัพย์/หนสี้ นิ ทางการเงินมีนัยสาคญั 1.3) การใช้สนิ คา้ และบริการ (Use of Goods and Services) การขยายขอบเขตการผลิตให้ครอบคลุมกิจกรรมเสริมของบัญชีบริวาร จะมีผลต่อการ วิเคราะห์การใช้ท่ีเปล่ียนแปลงไปของสินค้าและบริการทั้งการใช้เป็นปัจจัยข้ันกลาง (intermediate input) การบริโภคขั้นสุดท้าย (final consumption) และการใช้จ่ายสินค้าทุน (capital information) เช่น การระบุ ให้การให้บริการโดยสมาชิกของครัวเรือนเดียวกัน รวมอยู่ในขอบเขตการผลิต จะทาให้มีการเปล่ียนแปลงใน การบรโิ ภคขัน้ สุดทา้ ยของบริการเหล่านี้ เปน็ ต้น นอกจากน้ียังมีการปรับเปล่ียนอ่ืนๆ ในหลากหลายมิติท่ีบัญชีบริวารสามารถปรับเปลี่ยนได้ ตามมมุ มองของผจู้ ัดทาบญั ชีบริวาร ยกตัวอย่างเชน่ การศกึ ษาและการรักษาพยาบาลบางประเภทสามารถย้าย จากการบริโภคขั้นสุดท้าย (ตาม SNA) มาเป็นการใช้จ่ายสินค้าทุนหรือการสะสมทุนมนุษย์ได้ ซึ่งจะมีผลทาให้ การใช้จ่ายสินค้าทุนมีค่าเปล่ียนแปลงไป และมีผลต่อสินทรัพย์ซ่ึงแปลงมาเป็นสินทรัพย์รูปแบบหน่ึงท่ีจับต้อง ไม่ได้ หรือการปรับเปลี่ยนการบริโภคสินค้าคงทน เช่น รถยนต์ เฟอร์นิเจอร์ ซ่ึงเป็นการบริโภคข้ันสุดท้ายของ ครัวเรือน (ตาม SNA) มาเป็นการใช้จ่ายเพ่ือสะสมทุนถาวร (fixed capital formation) และมีผลต่อสินทรัพย์ ถาวร รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 2-14 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
1.4) สินทรัพยแ์ ละหน้สี ิน (Assets and Liabilities) ขอบเขตของสินทรัพย์และหน้ีสินทางการเงินเป็นไปตามการจัดประเภทของเครื่องมือทาง การเงิน โดยในบัญชีบริวารอาจรวมถึงสินทรัพย์อื่นๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ซึ่งใน SNA สินทรัพย์จาก ธรรมชาติจะรวมอยู่ในงบดุลเฉพาะในส่วนที่เป็นเจา้ ของและสามารถนาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมาส่เู จา้ ของ ได้ แตบ่ ัญชบี รวิ ารสามารถเพิ่มเตมิ สินทรพั ยจ์ ากธรรมชาตทิ ่ีไม่ได้ระบุอยู่ในงบดุลได้ หากเป็นประเดน็ ท่ีให้ความ สนใจ 1.5) จดุ ประสงค์ (Purposes) หากเป็น SNA การจาแนกธุรกรรมต่างๆ ตามจุดประสงคห์ ลกั ในการทาธรุ กรรมนั้น ๆ ของครัวเรือน รัฐบาล สถาบันท่ีไม่แสวงหากาไรท่ีให้บริการครัวเรือน และผู้ผลิต จะเป็นไปตามการจาแนก 4 ประเภท ได้แก่ จาแนกการบริโภคตาม COICOP จาแนกหน้าที่ของรัฐบาลตาม COFOG จาแนกจุดประสงค์ของสถาบันท่ีไม่ แสวงหากาไรท่ีใหบ้ ริการครัวเรือนตาม COPNI และจาแนกการใชจ้ ่ายของผู้ผลติ ตาม COPP ซงึ่ ได้กลา่ วถึงแล้ว ก่อนหนา้ น้ีในส่วนของบัญชีประชาชาติ แตก่ ารจัดทาบญั ชีบรวิ ารทาให้การจาแนกประเภทเหล่านเ้ี ปลีย่ นแปลง ในการจัดประเภทของ SNA หมวดหมู่ที่จัดต้องมีการจาแนกให้ชัดเจนไม่สามารถซ้อนทับกันได้ หรือไม่สามารถลงบัญชีมากกว่า 1 หมวดหมู่ได้ ตัวอย่างเช่น การเรียนการสอนในสถานพยาบาล (โรงเรียนแพทย์) จาเป็นต้องถูกจัดประเภทอย่างชัดเจนว่าอยู่ในด้านการศึกษา หรือด้านสุขภาพ อย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่สามารถ บันทึกลงไปท้ัง 2 ด้าน เพราะจะทาให้เกิดการนับซ้า (double counting) ในประเด็นน้ีบัญชีบริวารถือว่ามี ความยืดหยุ่นมาก การที่ศึกษาประเด็นใดประเด็นหน่ึงทาให้สามารถจาแนกประเภทใหม่ตามประเด็นท่ีจะ ศึกษา และให้เป็นหมวดหมู่ท่ีมีวัตถุประสงค์เฉพาะได้ เช่น หากจัดทาบัญชีบริวารสุขภาพ สามารถเพ่ิม การศกึ ษาทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับสุขภาพ แยกออกมาเป็นหมวดหนึง่ ของดา้ นสขุ ภาพได้ อกี รูปแบบหน่งึ คอื หมวดหมูท่ ่ีตอ้ งการศึกษาไม่ไดเ้ ปน็ หมวดหมู่ตามการจัดประเภทมาตรฐาน ตัวอย่างเช่น ค่าใช้จ่ายในการบรโิ ภคด้านท่องเท่ียวท่ีไม่ได้เป็นหน่ึงในหมวดหมู่การจาแนกประเภทค่าใช้จ่ายใน ครัวเรือน แต่เป็นบันทึกค่าใช้จ่ายกระจายไปในประเภทสนิ ค้าและบริการ การจัดทาบัญชีบริวารด้านท่องเที่ยว ก็สามารถปรบั การจดั ประเภทใหมใ่ หแ้ ยกการบริโภคทเ่ี กย่ี วข้องกบั การท่องเที่ยวออกจากการบริโภคทว่ั ไปได้ 1.6) การรวม (Aggregates) จากการเปล่ียนแปลงที่กล่าวถึงท้ังหมดในข้างต้นทาให้ผลรวมหลักของบัญ ชีประชาชาติ เปลี่ยนแปลงไป เช่น การเพ่ิมขึ้นของผลผลิต มูลค่าเพ่ิม และการบริโภคข้ันสุดท้าย เม่ือบัญชีบริวารมีการนา บรกิ ารภายในครวั เรอื นท่ีผลติ โดยครวั เรือนเดียวกันรวมในการวเิ คราะห์ หรือการเพิ่มขนึ้ ของการสะสมทุนถาวร (fixed capital formation) เมื่อมองทุนมนุษย์เป็นสนิ ทรัพย์หนึ่งทางเศรษฐกิจ เป็นต้น สาหรับการมุ่งเนน้ การ วเิ คราะห์ไปที่สาขาบางสาขา (การศกึ ษา สขุ ภาพ ทอ่ งเทีย่ ว) อาจทาให้แนวคดิ บางประการและผลรวมหลักของ บัญชีเปลี่ยนแปลงไปเช่นเดียวกัน แต่การเปล่ียนแปลงดังกล่าวไม่ได้เป็นจุดประสงค์หลักของการวิเคราะห์ จดุ ประสงคห์ ลักคือการกาหนดและวดั ผลรวมของขนาดเศรษฐกจิ ให้ครอบคลุมในสาขาที่สนใจให้มากท่ีสุด 2) โครงสร้างของบญั ชีบริวาร บัญชบี รวิ ารจดั ทาในรปู แบบของตารางทีว่ ดั การมีสว่ นร่วมของหน่วยงานตา่ งๆ (agents) ท่ีเกย่ี วข้องใน สาขานั้นๆ โดยการกาหนดผู้จ่าย และผู้รับผลประโยชน์ ท่ีแตกต่างกันในแต่ละสาขา ซึ่งการวิเคราะห์บัญชี บรวิ าร ประกอบด้วย 3 แกนหลักทส่ี าคัญ ไดแ้ ก่ มุมมองของผู้ผลติ (producers) มุมมองของผู้จา่ ย (financers) รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 2-15 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
และมุมมองของผู้รับผลประโยชน์ (beneficiaries) โดยบัญชีบริวารมีการจัดหมวดหมู่จากการทาธุรกรรมและ การทากิจกรรมท่ีมีความเกี่ยวข้องกัน ได้แก่ ประเภทการทาธุรกรรม ประเภทของกิจกรรม และประเภทของ หน่วยงานที่ประยุกต์ตามสาขาน้ันๆ นอกจากนี้การจัดหมวดหมู่อาจเชื่อมโยงกับการจัดหมวดหมู่ของบัญชี ประชาชาติ เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบข้อมูลทางสถิติในแต่ละสาขา และเพื่อเชื่อมโยงกระแสการเงินของ สาขาดังกล่าวประกอบการประเมินภาวะเศรษฐกิจในภาครวม โครงสร้างโดยท่ัวไปเพื่อเป็นการรวบรวมบัญชีต่างๆ สาหรับการวิเคราะห์บัญชีบริวารท่ีครอบคลุมทั้ง 3 แกนหลักดังกล่าว ให้สามารถตอบคาถามท่ีสาคัญ 3 ประเด็น ได้แก่ 1) ใครเป็นผู้จ่าย 2) ใครเป็นผู้ผลิตและ ผลิตอะไร และ 3) ผลจากการใช้จ่ายนั้นเป็นอย่างไรและใครเป็นผู้รับผลประโยชน์ ซึ่งหลักในการรวมบัญชี ด้านรายจ่ายที่เกิดขึ้นของผู้จ่ายที่ก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรของผู้ผลิต และผลผลิตท่ีได้มีความเช่อื มโยงกับการ จดั หาเงินทนุ ของผูจ้ ่าย และรายจา่ ยทร่ี วบรวมจะจาแนกตามประเภทผูร้ บั ผลประโยชน์ 3 แกนหลักน้มี ีทม่ี าจากการวิเคราะหถ์ ึงผู้ใช้ (ผูบ้ รโิ ภคที่แท้จรงิ ) กับผู้จ่าย (ผ้รู บั ภาระค่าใช้จา่ ย) ว่าเปน็ หน่วยเดียวกันหรือบุคคลเดียวกันหรือไม่ ในกรณีปกติอย่างขนส่ง ผู้ใช้และผู้จ่ายเป็นหน่วยเดียวกันจึงเน้นการ วิเคราะห์เฉพาะในส่วนการผลิตและการใช้งานสินค้าและบริการ แต่สาหรับกรณีท่ีผู้ใช้และผู้จ่ายไม่ใช่หน่วย เดียวกัน ตัวอย่างเช่น การศึกษาและสาธารณสุข ท่ีภาครัฐมักเป็นผู้จ่าย แต่ผู้ใช้หรือผู้รับผลประโยชน์คือ ครัวเรือน นอกจากน้ี การวิเคราะห์กรณีที่มีผู้จ่ายหลายรายยังสามารถจาแนกระหว่างผู้จ่ายข้ันแรก (initial financer) และผู้จ่ายขั้นสุดท้าย (final financer) เพื่อให้สามารถกาหนดจุดเร่ิมต้นของการถ่ายโอนระหว่างผู้จ่าย รายต่าง ๆ โดยผู้จ่ายข้ันแรก คือ ผู้ท่ีแบกรับการเรียกเก็บเงิน และผู้จ่ายขั้นสุดท้าย คือ ผู้ที่ชาระเงินให้แก่ผู้ผลิต แผนผงั ความเชอ่ื มโยงระหว่างผ้จู ่ายและผรู้ บั ผลประโยชน์สามารถแสดงได้ตามแผนภาพที่ 2.1 ดงั น้ี แผนภาพท่ี 2.1 แผนผงั ความเช่อื มโยงระหว่างผู้จา่ ยและผู้รบั ผลประโยชนใ์ นบัญชีบริวาร ทมี่ า: ปรับปรงุ จาก Lemaire, M. (1987) รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 2-16 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
บัญชบี รวิ ารมขี อบเขตท่สี ามารถจาแนกออกเป็น 5 องคป์ ระกอบ ซง่ึ เป็นองคป์ ระกอบเฉพาะของบัญชี บริวารในแต่ละสาขา ดังนี้ 1. การกาหนดคุณลกั ษณะของกิจกรรมหรือสินค้าและบริการหลัก และการเพิม่ หมวดหมูส่ นิ ค้าและ บริการท่ีเกี่ยวเนื่อง โดยพิจารณาจากการจ่าย (financing) ในการกาหนดกิจกรรมซึ่งต้นทุนใน การผลิต และการบริโภคผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ รวมถึงการบริหาร การวิจัยและพัฒนา และ การอบรม จะปรากฏตามลกั ษณะของกิจกรรมดงั กลา่ ว 2. การพิจารณารายจ่ายของบัญชีบริวารสามารถตรวจสอบได้จากการลงรายการการถ่ายโอนหรือ การอดุ หนุน (transfers) ทเี่ กดิ ข้ึนตามภารกิจจากผจู้ ่าย 3. การพิจารณาผู้จ่ายท่ีเก่ียวข้องในบัญชีบริวาร สามารถพิจารณาจากหน่วยงานทีรับผิดชอบภาระ คา่ ใชจ้ า่ ยนั้น โดยลงรายการจาแนกตามหมวดหมขู่ องผจู้ า่ ยทกี่ าหนด 4. หน่วยการผลิต พิจารณาจากการลงรายการหน่วยงานที่ได้รับผลกระทบจากการจ่ายซ่ึงกาหนด เป็นหนว่ ยสถาบนั (institutional units) หรอื การกาหนดสถานประกอบการ จากการอ้างอิงตาม การกาหนดลักษณะของกิจกรรมในบัญชีบริวารน้ัน เป็นต้น ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของหน่วยการผลิต หรือหนว่ ยภายในตา่ งๆ ท่ไี ม่ได้ระบไุ วใ้ นระบบบญั ชีประชาชาติ 5. ข้อมูลของบญั ชบี ริวารประมวลผลในรปู แบบตัวเงิน และการจาแนกผู้ทไี่ ด้รบั ผลประโยชน์จะต้อง แจกแจงรายละเอยี ดและจดั หมวดหมตู่ ามผลประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับจากรายจ่ายในภาพรวม นอกจากน้ี การจดั ทาบญั ชบี ริวาร มี 5 คุณลักษณะร่วมกนั ได้แก่ 1. การจาแนกประเภทที่เป็นลักษณะเฉพาะของบัญชีบริวารท่ีจัดทาข้ึนจะต้องเช่ือมโยงกับการ จาแนกประเภทของกรอบแนวคิดของระบบบัญชีประชาชาติ 2. การจาแนกประเภทจะตอ้ งมรี ายละเอียดเพิม่ เติมในบัญชบี รวิ ารของสาขาทจี่ ัดทาขน้ึ 3. การจาแนกประเภทอาจมีขอบเขตที่มากกวา่ หรอื มีขอบเขตที่น้อยกว่ากรอบแนวคิดในการจัดทา บัญชบี ริวารสาขาน้ัน 4. บัญชีบริวารสามารถนาเข้าข้อมูลในสาขาท่ีไม่มีความเก่ียวข้อง เพ่ือการจัดทาข้อมูลหลักของ สาขานัน้ ให้สมบรู ณ์ โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งคานงึ ถงึ ขอ้ มลู กระแส (flows) หรอื ขอ้ มูลสะสม (stocks) 5. อนุโลมให้การจาแนกประเภทมีความแตกต่างจากกรอบแนวคิดของบัญชีบริวารในสาขานั้น โดย ส่วนใหญ่มักจะเกิดข้ึนกับการจาแนกประเภทรายจ่ายท่ีมีความครอบคลุมนอกเหนือขอบเขตของ กรอบแนวคดิ ในการจัดทาบัญชีบรวิ าร ทั้งน้ี ความครอบคลุมของการจัดทาบัญชีบริวารที่สามารถขยายเกินขอบเขตของการพิจารณาได้ เช่น การนิยามผู้จ่าย (financers) ในเชิงลึกสามารถรวมผู้จ่ายที่อยู่นอกเหนือจากการอ้างอิงตามเขตเศรษฐกิจ และ การกาหนดขอบเขตของหน่วยสถาบัน (institutions unit) สามารถรวมกิจกรรมที่นอกเหนือจากกิจกรรมของ หน่วยสถาบันท่ีมีความเก่ียวข้องในการจัดทาบัญชีบริวารท่ีสนใจได้โดยนิยามกิจกรรมของหน่วยสถาบันน้ันใน ภาพรวมซ่ึงเปน็ กรณีเฉพาะ โดยความครอบคลุมสามารถสรปุ ไดต้ ามแผนภาพท่ี 2.2 ดงั น้ี รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 2-17 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
แผนภาพที่ 2.2 กรอบแนวคิดในการกาหนดความครอบคลุมของบัญชีบริวาร ท่ีมา: ปรับปรุงจาก Teillet, P. (1988) หมายเหตุ: หมายเลข 1 หมายถึง รายจ่ายที่เกิดขึ้นจากผู้จา่ ยท่ีอาศัยอยู่ภายในประเทศ และการจ่ายจากต่างประเทศ ซึ่งเป็น แกนหลกั ของผู้จา่ ยในบัญชีบรวิ าร นอกจากนี้ การเพิม่ หมวดหมู่ของข้อมลู เพื่อจัดทาบัญชบี รวิ ารในสาขาที่สนใจอาจขยายขอบเขตท่ีกว้างข้ึน ซ่ึงโดยท่ัวไปจะเพ่ิมหมวดหมู่ในการจัดทาข้อมูล ประกอบด้วย 2 หมวดหมู่ ได้แก่ 1) ข้อมูลท่ีไม่ใช่ทางการเงิน เช่น การจ้างงาน คุณสมบัติ กิจกรรมรายบุคคลของการจ้างงานในภาคการผลิต ข้อมูลการใช้อุปกรณ์การผลิต ข้อมูลท่ีแสดงสมรรถทางการผลิตอ่ืนๆ เป็นต้น 2) ข้อมูลการได้รับผลประโยชน์ หรือผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะ ได้รับจากกิจกรรมของสาขานนั้ โดยขอบเขตของข้อมูลตามกรอบการจัดทาบัญชบี ริวารมีความเชอื่ มโยง 3 แกนหลัก โดยเปน็ ระบบหรอื วงจรของบญั ชที ่สี ามารถสรุปไดด้ ังแผนภาพท่ี 2.3 รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 2-18 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
แผนภาพท่ี 2.3 ขอบเขตของขอ้ มูลบัญชบี ริวาร ที่มา: ปรบั ปรุงจาก Teillet, P. (1988) 3) ฝ่ังการผลติ การวิเคราะห์ฝ่ังการผลิตจะเร่ิมจากทาความเข้าใจเกี่ยวกับการจาแนกลักษณะกิจกรรมการผลิต ผลติ ภณั ฑ์ และผผู้ ลติ จากนน้ั จะอธิบายถงึ บัญชขี องผู้ผลติ และสดุ ทา้ ยจะเปน็ การจัดทาตารางการผลิต กิจกรรมการผลิตสามารถแบ่งเป็น 3 ประเภทหลักตามที่เคยได้กล่าวถึงก่อนหน้าน้ี ได้แก่ 1) กิจกรรมหลัก (principle activity) หรือกิจกรรมท่ีมีลักษณะเฉพาะท่ีเกี่ยวกับการบริการ ท่ีกาลังศึกษาโดยตรง (characteristic activities) เช่น การให้บริการการศึกษาโดยโรงเรียนและมหาวิทยาลัย การให้บริการ รักษาพยาบาลโดยโรงพยาบาล เป็นต้น 2) กิจกรรมรอง (secondary activity) หรือกิจกรรมอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง (related activities) ที่เป็นกิจกรรมสนับสนุน ไม่ได้มีการให้บริการโดยตรง เช่น การสร้างอาคารเรียน การสร้าง สถานพยาบาล อุปกรณ์สาหรับการเรียนการสอน อุปกรณ์สาหรับรักษาพยาบาล เป็นต้น และกิจกรรมเสริม (ancillary activities) ท่ีเป็นกิจกรรมที่ดาเนินการเพ่ือผลิตสินค้าและบริการสาหรับภายในหน่วยงานของ สถาบนั เองแทนทจี่ ะขายบรกิ ารให้กบั ภายนอกสถาบนั สินค้าและบริการหรือผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากการผลิตสามารถจาแนก 3 ประเภท ได้แก่ 1) ผลิตภัณฑ์ที่มี ลักษณะเฉพาะ (characteristic products) เช่น บริการการศึกษา บริการของโรงพยาบาล 2) ผลิตภัณฑ์ที่ เก่ียวข้อง (Related Products) เช่น อุปกรณ์การเรียนการสอน เคร่ืองมือแพทย์ ยารักษาโรค เป็นต้น 3) ผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ (Other Products) คือผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ ที่กิจกรรมการผลิตภายใต้สาขาท่ีสนใจผลิตข้ึน แต่ รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าท่ี 2-19 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ไมไ่ ด้มคี วามเกย่ี วข้องกับกิจกรรมหลัก ซง่ึ สามารถรวมเปน็ หมวดหมู่เดียวกันหรือแสดงรายละเอียดเพิ่มเติมโดย พิจารณาการจาแนกประเภทผลิตภัณฑ์ในแตล่ ะประเทศได้ ผู้ผลิตสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท ได้แก่ ผู้ผลิตเฉพาะ (characteristic producers) ท่ีเป็นผู้ผลิตท่ี ดาเนินกิจกรรมท่ีมีลักษณะเฉพาะ (characteristic activities) และผู้ผลิตอ่ืนๆ (other producers) ที่ไม่ได้มี การดาเนินกิจกรรมดังกล่าว ภายใต้ผู้ผลิตเฉพาะสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ผู้ผลิตในตลาด (market producers) และผู้ผลิตที่ไม่ใช่ตลาด (non-market producers) เช่น รัฐบาล หน่วยงานประกันสงั คม องค์กร ท่ีไม่แสวงหากาไร (Non-Profit Institutions Serving Households: NPISHs) เป็นต้น นอกจากนี้ภายใต้ ผู้ผลิตในตลาดและผู้ผลิตท่ีไม่ใช่ตลาด ยังแบ่งได้เป็น ผู้ผลิตหลัก (principle producers) ผู้ผลิตรอง (secondary producers) และกจิ กรรมเสรมิ (ancillary activities) โดยผผู้ ลิตหลัก คอื ผผู้ ลิตที่มีกิจกรรมหลัก คือผลิตสินค้าหรอื ให้บริการทม่ี ีลักษณะเฉพาะ (characteristic) ผผู้ ลิตรอง คอื ผูผ้ ลิตทผี่ ลติ สนิ ค้าหรือให้บริการ ทีม่ ีลักษณะเฉพาะ แต่การผลิตและใหบ้ ริการดังกลา่ วไมไ่ ด้เปน็ กิจกรรมหลักของสถานประกอบการ ผู้ผลิตสาคัญในการวิเคราะห์บัญชีบริวาร คือ ผู้ผลิตเฉพาะ โดยข้อมูลควรมีรายละเอียดทางบัญชีของ ผู้ผลิตดังกล่าว ซึ่งบัญชีสาหรับผู้ผลิตเฉพาะประกอบไปด้วย บัญชีการผลิต (Production Account) บัญชี แหล่งที่มาของรายได้ (Income Generation Account) บัญชีเดินสะพัดอื่นๆ (Other Current Account) และบัญชีสะสม (Accumulation Account) รายละเอียดของบัญชีทั้งหมดแสดงในรูปของการใช้และ ทรพั ยากรไดด้ ังตารางท่ี 2.1 ตารางที่ 2.1 บัญชีสาหรับผู้ผลิตเฉพาะ (Full Accounts for Characteristic Producers) การใช้ (Uses)/เดบิต (Debit) ทรพั ยากร (Resources)/เครดิต (Credit) บญั ชีการผลิตและแหลง่ ทมี่ าของรายได้ (Production and Generation of Income Account) การใช้ปัจจยั การผลิตข้ันกลาง ผลผลติ - ของกิจกรรมเฉพาะ - ของกิจกรรมเฉพาะ - ของกจิ กรรมอ่นื ๆ - ของกจิ กรรมอ่ืนๆ เงินเดอื น ค่าจา้ ง หรอื คา่ ตอบแทนแรงงาน - ของกิจกรรมเฉพาะ - ของกจิ กรรมอ่ืนๆ ภาษีการผลิตและภาษีนาเข้า เงินอดุ หนุน ( - ) คา่ เสอื่ มราคา ส่วนเกินของการประกอบการ (สทุ ธ)ิ - ของกจิ กรรมเฉพาะ - ของกิจกรรมอื่นๆ คา่ แรงของผู้ประกอบการที่ดาเนนิ ธรุ กิจดว้ ยตนเอง (สุทธิ) - ของกจิ กรรมเฉพาะ - ของกิจกรรมอืน่ ๆ บญั ชเี ดนิ สะพดั อน่ื ๆ (Other Current Account) รายรับทมี่ าจากทรพั ยส์ ิน สว่ นเกินของการประกอบการ ค่าแรงของผ้ปู ระกอบการทดี่ าเนนิ ธรุ กิจด้วยตนเอง ภาษรี ายได้และภาษีทรพั ยส์ นิ รายรบั ท่ีมาจากทรพั ย์สิน เงนิ สนับสนุนเพื่อสังคมและผลประโยชน์ทางสังคม เงนิ สนบั สนนุ เพื่อสงั คมและผลประโยชน์ทางสงั คม รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หน้าท่ี 2-20 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
การใช้ (Uses)/เดบติ (Debit) ทรัพยากร (Resources)/เครดติ (Credit) เงนิ โอนหรือเงนิ บรจิ าคอื่นๆ เงินโอนหรือเงินบริจาคอนื่ ๆ ตัวปรับ (adjustment) สาหรับการเปลีย่ นแปลงในส่วนของ ผู้ถอื หนุ้ สทุ ธิในกองทนุ บาเหน็จบานาญ การบริโภคโดยรวม ออม (สทุ ธ)ิ บัญชสี ะสม (Accumulation Account) การสะสมทุนถาวรเบื้องตน้ ออม (สุทธ)ิ - ของกจิ กรรมเฉพาะ Capital transfer receivable - ของกิจกรรมอื่นๆ Capital transfer payable ( - ) ค่าเสอื่ มราคา ( - ) สวนเปลี่ยนสินคา้ คงเหลอื การถอื ครองของมีคา่ ที่จบั ต้องได้ การถือครองสินทรัพยท์ ี่จับตอ้ งไดท้ ี่ไม่กอ่ ให้เกดิ การผลติ และ มิใช่ทรัพยส์ ินทางการเงิน การถอื ครองสินทรพั ย์ทางการเงิน (สทุ ธิ) หนีส้ นิ สทุ ธทิ ีเ่ กดิ ขึน้ รายการสะสมอืน่ ๆ รายการสะสมอน่ื ๆ การเปลีย่ นแปลงอืน่ ๆ ในความมง่ั คง่ั สทุ ธิ ทีม่ า: Inter-Secretariat Working Group on National Accounts, & Commission of the European Communities (1993) กรณีท่ีผู้ผลิตที่ดาเนินกิจกรรมที่มีลักษณะเฉพาะ ไม่ได้มีกิจกรรมดังกล่าวเป็นกิจกรรมหลัก หรือก็คือ เป็นผู้ผลิตรอง (secondary producers) เพ่ือใหเ้ กดิ การดลุ ในบญั ชี สว่ นเกนิ ของการประกอบการ (operating surplus) หรือ ค่าแรงของผู้ประกอบการท่ีดาเนินธุรกิจด้วยตนเอง (mixed income) จะถูกโอนให้ไปเป็น รายรับที่มาจากทรัพย์สินแก่กิจกรรมหลักของผู้ผลิตดังกล่าว ซึ่งในบัญชีสะสมน้ันการสะสมทุนของผู้ผลิต ดงั กลา่ วจะถูกดลุ โดยการโอนเงินทุนเทียบเท่าทมี่ าจากกิจกรรมหลัก บญั ชีการผลิตและแหล่งทีม่ าของรายได้ (Production and Generation of Income Account) เป็น ข้อมูลที่สามารถนาไปเช่ือมโยงกับรายจ่ายท้ังหมดของสาขาที่กาลังศึกษา (การบริโภคขั้นกลาง การบริโภคข้ัน สุดท้าย การสะสมทุน และการส่งออก) ผ่านการกระจายผลผลิตไปยังการใช้และการบริโภคของหน่วยสถาบัน ต่างๆ ซ่ึงจะแสดงอยู่ในรูปแบบของตารางอุปทานและอุปสงค์ (Supply and Use Table: SUT) (หรือตาราง ปัจจัยการผลิตและผลผลิต (Input Output Table: I/O Table) ข้ึนอยู่กับสมมติฐานหรือความสามารถในการ จัดหาข้อมูลการผลิต SUT สมมติให้อุตสาหกรรมสามารถผลิตได้หลายผลิตภัณฑ์ แต่ I/O Table สมมติให้ อุตสาหกรรมสามารถผลติ ได้ผลิตภณั ฑ์ชนิดเดียว) สามารถแสดงตาราง SUT ไดด้ ังแผนภาพที่ 2.4 และ 2.5 แผนภาพท่ี 2.4 ตารางการผลติ และการใช้ (Supply and Use Table: SUT) โดยย่อ ที่มา: Pan American Health Organization (2005) รายงานฉบบั สมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษาสถานการณ์และ หน้าที่ 2-21 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
แผนภาพท่ี 2.5 ตารางอุปทานและอุปส 1. ทม่ี า: Pan American Health Organization (2005) รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษา
สงค์ (Supply and Use Table: SUT) 2. หน้าที่ 2-22 3. 4. าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
จากแผนภาพที่ 2.5 ตาราง SUT สามารถจาแนกออกได้เป็น 4 ส่วนสาคัญ ส่วนที่ 1. เป็นส่วนที่แสดงอุปทานของสินค้าและบริการจาแนกตามแหล่งมาของผลิตภัณฑ์ว่ามาจาก ภายในประเทศ หรือ นาเข้า (imports) ถ้าหากผลิตภายในประเทศจะแสดงจาแนกตามลักษณะของผู้ผลิต ว่า เป็น Characteristic หรือ Other, เป็น Market หรือ Non-Market, เป็น Principle หรือ Secondary หรือ Ancillary มูลคา่ ผลิตภายในประเทศกับมูลค่านาเข้ารวมกนั จะเป็นราคาพ้ืนฐาน (basic price) และถา้ เม่ือรวม มูลค่าตามแนวนอน คา่ Margin จากการคา้ และการขนส่ง และภาษีท่ีหกั เงนิ อุดหนนุ จะทาใหไ้ ด้มลู ค่าการผลิต รวมในราคาผซู้ ื้อ (purchaser price) ส่วนท่ี 2. เป็นส่วนท่ีแสดงการใชห้ รอื อุปสงค์ ซึ่งระบุว่า สินค้าและบริการท่ีผลติ ได้มีการกระจายไปยงั สว่ นไหนบ้าง ซง่ึ มีทัง้ การกระจายผลผลิตไปเปน็ ปจั จัยการผลิตขัน้ กลาง การบริโภคข้ันสุดทา้ ย การใช้จา่ ยสนิ ค้า ทนุ และการสง่ ออก โดยมูลคา่ การผลติ รวมกบั มลู ค่าการใชร้ วมตอ้ งเทา่ กนั ส่วนที่ 3. เป็นส่วนที่แสดงมูลค่าเพิ่ม (value added) ซึ่งจะมาจากบัญชีแหล่งที่มาของรายได้ (Generation of Income Account) ได้แก่ เงินเดือนค่าจ้างและค่าตอบแทนแรงงาน ค่าเส่ือมราคา ภาษี ทางออ้ มสทุ ธิ สว่ นเกินผปู้ ระกอบการ และคา่ แรงของผู้ประกอบการที่ดาเนินธรุ กิจดว้ ยตนเอง ส่วนท่ี 4. เป็นส่วนทแ่ี สดงข้อมูลท่ีไม่ใช่การเงินในบัญชีบริวาร ซึ่งจะเน้นไปท่ีปัจจัยการผลิตภายใตก้ าร กจิ กรรการผลิตในสาขาทส่ี นใจ เชน่ จานวนแรงงาน ยอดสะสมของการสะสมทุนถาวร (เช่น อาคาร เครอ่ื งจักร ฯลฯ) เปน็ ตน้ 4) ฝ่ังการใช้จา่ ย ขอบเขตของรายจ่ายในการจัดทาบัญชีบริวารภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด ประกอบด้วย รายจ่ายท่ี เกิดขึ้นจริงตามผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณลักษณะตามกิจกรรมหลักของสาขา และสินค้าและบริการที่สืบเนื่อง รวมถึงการ ถ่ายโอนหรือการอุดหนุนของสาขานั้น โดยการกาหนดขอบเขตของรายจ่ายจาแนกความแตกต่างระหว่าง 2 ส่วน ไดแ้ ก่ 1. ขอบเขตของรายจ่ายประชาชาติ เป็นผลรวมของรายจ่ายที่เกิดจากผู้จ่ายที่อาศัยอยู่ภายในประเทศ แมว้ า่ รายจ่ายนั้นเกิดขน้ึ ภายในประเทศ หรือภายนอกประเทศ 2. ขอบเขตของรายจ่ายภายในประเทศ เป็นผลรวมของการได้รับเงินจากผู้ผลิตที่อาศัยอยู่ ภายในประเทศท่ีผลติ สินค้าท่ีมีคณุ ลักษณะตามกิจกรรมหลักของสาขา และการไดร้ บั การถา่ ยโอน หรือการอุดหนนุ จากผู้รบั ผลประโยชนท์ ่ีอาศยั อยภู่ ายในประเทศ รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ท่ี 2-23 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
แผนภาพท่ี 2.6 ขอบเขตของรายจ่ายประชาชาติ และรายจา่ ยภายในประเทศของบัญชีบรวิ าร ที่มา: ปรับปรงุ จาก Teillet, P. (1988). A concept of satellite account in the revised SNA. Review of Income and Wealth, 34(4), 411-439 องค์ประกอบของรายจ่ายประชาชาติแสดงดงั แผนภาพที่ 2.7 โดยจะแสดงรายจ่ายเฉพาะของหน่วยท่ี มีถ่ินฐานภายในประเทศ (resident units) ตามหลักการคานวณผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หากมีการ ใชจ้ า่ ยของผทู้ ี่มีถิ่นฐานภายในประเทศแต่เป็นการไดร้ บั การจดั สรรเงินจากผู้ท่ีมถี ่ินฐานภายนอกประเทศ (non- resident units หรือ rest of the world) จาเป็นต้องหักสว่ นนอี้ อก แผนภาพที่ 2.7 องค์ประกอบของการใช้จ่าย/รายจ่ายประชาชาติ ที่ ม า : Inter-Secretariat Working Group on National Accounts, & Commission of the European Communities (1993) รายงานฉบบั สมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกิจสขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หน้าที่ 2-24 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
รายจา่ ยประชาชาตสิ ามารถจาแนกออกเป็นรายจ่ายหมุนเวียน (Current Expenditure) และรายจ่าย ลงทุน (Capital Expenditure) ซึ่งการแยกประเภทดังกล่าวเป็นไปตามลักษณะของการจ่าย ซ่ึงมีความ แตกต่างกัน คือ รายจ่ายหมุนเวียน เป็นการจ่ายหรือการจัดหาแหล่งเงินท่ีไม่กระทบโดยตรงต่อบัญชีงบแสดง ฐานะทางการเงิน (balance-sheet accounts) ของหน่วยท่ีทาหน้าที่จา่ ย และผู้ผลิต ได้แก่ การซื้อสินค้าและ บริการ การอุดหนุน การถ่ายโอนหมุนเวียนโดยไม่ต้องมีคู่ค้า (current transfers without a counterpart) ส่วนรายจ่ายลงทุน เป็นการจ่ายเงินหรือการจัดหาแหล่งเงิน โดยการโอนเงินทุน เช่น เงินช่วยเหลือเพื่อการลงทุน และการโอนเงินทุนอื่น ๆ เป็นต้น หรือ รายจ่ายลงทุน หมายถึง การทาธุรกรรมทางการเงินซึ่งเป็นการ เปลย่ี นแปลงหนส้ี นิ ของหน่วยงานผผู้ ลติ รายการที่ 1 คือ การบริโภคสินค้าและบริการเฉพาะ (Consumption of specific goods and services) ซึ่งครอบคลุมการบริโภคข้ันสุดท้ายที่เกิดข้ึนจริง (Actual final consumption) และการบริโภคข้ันกลาง (Intermediate consumption) ภายใตก้ ารบริโภคข้ันสุดทา้ ยนน้ั แยกผลิตภณั ฑต์ ลาด (Market products)กับ ผลิตภัณฑ์ท่ีไม่ใช่ตลาด (Non-market products) ออกจากกัน ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่ตลาดก็มีการจาแนกต่อเป็น การบริโภคสว่ นบคุ คล (Individual) และการบริโภคแบบส่วนรวม (Collective) การเปลี่ยนแปลงขอบเขตการ ผลิต (เช่น รวมถงึ งานอาสาสมัครในด้านการศึกษาและสุขภาพ) หรือเม่ือมกี ารนาการประเมินค่าประเภทต่างๆ มาใช้ จะทาให้มูลค่าในรายการน้ไี ม่ตรงตามกรอบของ SNA สาหรบั การบรโิ ภคข้ันกลาง เน่อื งจากมีการนากิจกรรมเสริมท่ีเกี่ยวข้องเข้ามาคานวณในกระบวนการผลิต (ปัจจัยการผลิตที่ถูกผลิตขึ้นมาใช้ภายในสถานประกอบการเอง) จึงทาให้ในบัญชีบริวารครอบคลุมกว่ากรอบของ SNA โดยจะมีทั้งการบริโภคข้ันกลางท่ีเกิดขึ้นจริง (Actual intermediate consumption) และการบริโภค ข้นั กลางภายใน (Internal intermediate consumption) การบริโภคขั้นกลางภายในน้ันถือว่าเปน็ การบรโิ ภค ขั้นสุดท้าย เป็นการเพ่ิมการบริโภคขั้นสุดท้ายที่เกิดข้ึนจริง ซ่ึงจะอยู่ภายในการใช้จ่ายกิจกรรมเสริม (เช่น การศึกษา และสุขภาพ) ดังน้ันจึงเป็นการขยายขอบเขตของการบริโภคข้ันสุดท้ายที่แท้จริงของครัวเรือน นอกจากนี้ขอบเขตการบริโภคอาจแคบลงหากการใชบ้ ริการบางอย่างถือเปน็ การสะสมทุนถาวรในบัญชีบรวิ าร แทนการบรโิ ภคข้ันกลางหรือขน้ั สดุ ท้าย เช่น การพัฒนาทนุ มนษุ ย์ รายการท่ี 2 คือการสะสมทุนในสินค้าและบริการเฉพาะ (Capital formation in specific goods and services) อย่างท่ีกล่าวไปในรายการท่ี 1 ในบริการจาพวกวิจัยและพัฒนา การศึกษา และสุขภาพจะไม่ ถูกคานวณในส่วนนี้ หากถูกมองเป็นการบริโภค ไม่ใช่การสะสมทุน นอกจากน้ีการสะสมทุนยังครอบคลุมถึง การเปลี่ยนแปลงในสินค้าคงคลัง ซึ่งจะไม่ซับซ้อนในกรณีของสินค้า แต่สาหรับบริการอาจเก่ียวข้องกับงานท่ี กาลังดาเนินการ (work-in-progress) เช่น ซอฟต์แวร์ หรือบริการด้านการท่องเท่ียวบางอย่าง เช่น ค่าใช้จ่าย ในการเตรยี มการจัดทัวรท์ ยี่ ังไม่ได้มกี ารดาเนนิ การขายทวั ร์ เป็นตน้ รายการท่ี 3 คือการสะสมทุนถาวรของกิจกรรมหลักในสินค้าและบริการที่ไม่ใช่เฉพาะเจาะจง (Fixed capital formation of characteristic activities in non-specific products) และการถือครองสินทรัพย์ที่ จับต้องได้ที่ไม่ก่อให้เกิดการผลิตและมิใช่ทรัพย์สินทางการเงิน (Acquisition less disposals of non- produced non-financial assets) น่ันคือ รายการที่ 3 จะครอบคลุมการสะสมทุนถาวรท้ังหมดยกเว้น บางส่วนที่ได้มีการระบุไว้ในรายการท่ี 2 และจะรวมสินทรัพย์ที่จับต้องได้ที่ไม่ก่อให้เกิดการผลิตและมิใช่ ทรัพย์สินทางการเงินซึ่งส่วนใหญ่คือ ท่ีดิน การสะสมทุนถาวรในรายการท่ี 3 อาจศึกษาโดยใช้การจาแนก ประเภทท่ีปรับให้เข้ากับบัญชบี ริวาร ตัวอย่างเช่น หากพิจารณาด้านการศึกษาหรือสขุ ภาพ การสะสมทุนถาวร รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณ์และ หนา้ ท่ี 2-25 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
ในโรงเรียนหรือโรงพยาบาล อาจจาแนกได้ตาม โครงสร้างการศึกษาประเภทต่างๆ หรือประเภทของเครื่องมอื แพทย์ ฯลฯ รายการท่ี 4 และรายการท่ี 5 เป็นรายการที่สาคัญมากในบัญชีบริวารบางประเภท เช่น บัญชีที่ เก่ียวข้องกับการคุ้มครองทางสังคมหรือความช่วยเหลือในการพัฒนา โดยรายการท่ี 4 คือ เงินโอนหรือเงิน บริจาค (Current transfers) ที่ไม่ใช่คู่การลงบัญชีในรายการท่ี 1 และรายการท่ี 5 คือ การโอนทุน (Capital transfers) ที่ไมใ่ ช่คูก่ ารลงบญั ชใี นรายการท่ี 2 หรอื 3 กรณบี ญั ชีประเภททเี่ กย่ี วข้องกับการคุ้มครองทางสงั คมหรือความชว่ ยเหลือในการพฒั นา ในรายการท่ี 1 และ 2 จะหมายถึงค่าใช้จ่ายในการบริหารของหน่วยงานที่จัดการกองทุนการคุ้มครองทางสังคมหรือความ ชว่ ยเหลอื ระหวา่ งประเทศ การใช้จ่ายท่ีสาคัญทส่ี ุดในบญั ชีเหล่านี้ คอื การโอน กรณีสาขาสุขภาพและการศึกษา การโอนส่วนใหญ่เป็นวธิ ีการจดั หาเงินเพ่ือซื้อสินค้าและบรกิ ารซ่ึงจะ อยู่ในรายการท่ี 1 ถึง 3 ไม่ได้อยู่ในรายการที่ 4 ดังนั้นจะต้องจาแนกรายการการโอนให้ถูกต้อง เช่น ทุนเรียน ของนักเรียนนักศึกษาเป็นค่าใช้จ่ายที่นอกจากค่าเล่าเรียนหรืออุปกรณ์การเรียน องค์ประกอบเพิ่มเติมของทุน เรยี นน้รี วมอยใู่ นรายการที่ 4 เป็นตน้ ในบางสถานการณ์อาจมีการอุดหนุนท่ีออกแบบมาเพื่อลดราคาที่จ่ายโดยผู้บริโภคข้ันสุดท้ายสาหรับ สนิ ค้าหรอื บรกิ ารบางอย่าง เชน่ คา่ อาหาร ค่าใชจ้ า่ ยขนส่ง ค่าใช้จา่ ยเกยี่ วกับที่อยู่อาศยั เปน็ ต้น การอุดหนุนนี้ คือ เงินอุดหนุนการบริโภค ในกรอบของ SNA สินค้าและบริการเหล่านี้ถือเป็นผลิตภัณฑ์ทางการตลาดจะ รวมอยูใ่ นการบรโิ ภคข้ันสดุ ทา้ ยตามราคาของผู้ซ้ือ ซึง่ ในบัญชบี รวิ าร มี 2 ทางเลือกในการบนั ทึก ทางเลอื กแรก คือ ระบุไว้ในการบริโภค (รายการที่ 1) แต่ต้องปรับมูลค่าการบริโภคตั้งต้นให้แตกต่างจาก SNA เพื่อคิดมูลค่า ของเงินอุดหนุนการบริโภค ทางเลือกท่ี 2 คือ การบริโภคมีค่าเท่ากับ SNA และจะต้องบันทึกเงินอุดหนุนการ บรโิ ภคอยใู่ นรายการท่ี 4 นอกจากน้ีรายการที่ 4 อาจรวมการลดราคาการบริโภคขน้ั กลาง และเงินอดุ หนนุ อ่นื ๆ ในการผลติ การใชจ้ ่ายรวมของหน่วยทีม่ ีถิ่นฐานภายในประเทศ (resident units) จะมาจากผลรวมของรายการที่ 1 ถึง 5 ซึ่งจะต้องมีการหักการจัดสรรเงินจากผู้ท่ีมีถิ่นฐานภายนอกประเทศ (non-resident units หรือ rest of the world) หรือรายการที่ 6 และ 7 ออกจากการใช้จ่ายรวม โดยสุดท้ายจะได้รายจ่ายประชาชาติ (national expenditure) ของบัญชีบรวิ าร การใช้จ่ายยังมีอีกประเด็นที่ต้องวิเคราะห์ นั่นคือ ผู้ใช้หรือผู้ได้รับผลประโยชน์ (Users / beneficiaries) และผู้จา่ ย (Financing) เน่อื งจากมีบางบรกิ าร (เช่น การศึกษา สาธารณสขุ ) ที่ทง้ั สองไมไ่ ดเ้ ป็น หน่วยเดียวกัน ภายใต้บญั ชบี รวิ าร ผู้ใชห้ รือผรู้ ับผลประโยชน์ หมายถงึ ผูใ้ ช้สนิ ค้าและบริการหรือได้รบั ประโยชน์จาก เงินโอน (Transfer) ในระดับผลรวม การจาแนกประเภทของผู้ใช้หรือผู้รับผลประโยชน์เป็นการจัดเรียงการ จาแนกประเภทของภาคสถาบันและประเภทของผู้ผลิตซ่ึงด้านการผลิตและการบริโภคจะถูกแยกออกจากกัน โดยแบง่ เปน็ ดงั น้ี o ผู้ผลิตสนิ คา้ และบริการในตลาด (Market producers) o ผูผ้ ลิตสินค้าและบรกิ ารทไ่ี มใ่ ช่ตลาด (Non-market producers) o รฐั บาล ในฐานะผ้บู รโิ ภคแบบส่วนรวม (Government as a collective consume) รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ด้านเศรษฐกจิ สขุ ภาพศึกษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 2-26 ออกแบบระบบ ระยะที่ 1
o ครวั เรอื นในฐานะผูบ้ ริโภค (Households as consumers) o Rest of the world หมวดหมู่ย่อยต่างๆ ของผู้ผลิตอาจจะต้องทาให้เห็นถึงความแตกต่างกันในแต่ละกลุ่มหลัก ทั้ง ภาคอุตสาหกรรมและ/หรือภาคส่วนย่อยของสถาบันเพื่อท่ีจะสามารถแสดงให้เห็นถึง รายละเอียดที่ชัดเจนซ่ึง จะขึน้ อยู่กบั วตั ถปุ ระสงค์สาหรบั การวิเคราะห์ แผนภาพที่ 2.8 จะระบุถึง หากจาแนกการใช้จ่ายตามผู้ใช้หรือผู้ได้รับผลประโยชน์ ข้อมูลค่าใช้จ่าย ของแตล่ ะผ้ใู ชห้ รือผไู้ ด้รบั ผลประโยชน์จะอย่ใู นรายการการใชจ้ ่ายใดบ้าง โดย x บง่ บอกถงึ การมีอยขู่ องข้อมลู รายงานฉบับสมบรู ณ์: โครงการศึกษาแผนแมบ่ ท (Master Plan) ดา้ นเศรษฐกจิ สขุ ภาพศกึ ษาสถานการณแ์ ละ หนา้ ที่ 2-27 ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1
แผนภาพที่ 2.8 การใชจ้ ่าย/รายจ่ายประชาชาตแิ ที่มา: Inter-Secretariat Working Group on National Accounts, & Commission of the E รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสขุ ภาพศกึ ษา
แบ่งตามองค์ประกอบและผู้ใช้/ผู้รับผลประโยชน์ European Communities (1993) หนา้ ที่ 2-28 าสถานการณแ์ ละออกแบบระบบ ระยะที่ 1
ในกรณีของผู้รับผลประโยชนก์ ็จาเป็นต้องคานึงถึงการประเมินมูลค่าของผลผลติ จากการจัดสรรใหแ้ ก่ ผู้รับผลประโยชน์ ซ่ึงสามารถจาแนกออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) รายจ่ายท่ีจาแนกผู้ได้รับผลประโยชน์ ออกเป็นรายบุคคลได้ และ 2) รายจ่ายทีไ่ มส่ ามารถจาแนกออกเป็นรายบุคคล เนือ่ งจากรายจ่ายน้ันเกิดขึ้นเพ่ือ ผลประโยชน์แกส่ ังคมในภาพรวม ยกตวั อยา่ งเชน่ รายจ่ายดา้ นการศึกษา ท่ีให้แก่กลุ่มผเู้ ยาว์ และกลุ่มนักเรียน เปน็ ต้น นนั่ หมายความวา่ การไดร้ ับผลประโยชน์บางประเภทจะอยใู่ นรปู ของรายจ่ายทางสงั คม ซงึ่ อาจเปน็ การ ถ่ายโอน หรือการอุดหนุนประเภทต่าง ๆ เช่น การอุดหนุนการดาเนนิ การให้แก่ผผู้ ลิตในตลาดในราคาท่ีต่ากวา่ ราคาขาย การถ่ายโอนโดยตรงให้แก่ผู้ใช้ การจัดหาเงินทุนที่ไม่มีมูลค่าตลาดโดยรัฐบาล และการจัดหาแหล่ง เงนิ ทุนโดยไมเ่ สียคา่ ใช้จ่ายโดยองค์กรทไ่ี ม่แสวงหากาไรเอกชน เปน็ ตน้ ดังน้ัน รายจ่ายทางสังคม ประกอบด้วย ผลรวมของการถ่ายโอนหรือการอุดหนุน ซ่ึงเป็นผลรวมหรือ ผลบางส่วนของสินค้าและบริการที่เกี่ยวเนื่อง รวมถึงการถ่ายโอนเงินสดที่เฉพาะเจาะจงของผู้รับผลประโยชน์ โดยในทางปฏิบัติรายจ่ายทางสังคมจะครอบคลุมรายจ่ายท้ังทางเศรษฐกิจและรายจ่ายทางทางสังคมโดยไม่ได้ แยกรายจ่ายท้ัง 2 รูปแบบออกจากกัน เช่น การอุดหนุนเพื่อการสร้างทางรถไฟของรัฐบาล เป็นรายจ่ายทาง สังคมด้านการคมนาคม เปน็ ต้น อย่างไรก็ตามความแตกต่างของลักษณะผลประโยชน์ท่ีได้รับไม่เก่ียวข้องกับการประเมินมูลค่าบริการ ในตลาดและไมใ่ ชต่ ลาด เพราะการประเมินมูลคา่ ลักษณะดังกล่าวขน้ึ อยู่กับหลักเกณฑข์ องผูจ้ ่ายเป็นหลัก ไมไ่ ด้ จาแนกข้อแตกต่างของผู้ได้รับผลประโยชน์ใหค้ รอบคลุมกลุ่มของรายจ่ายระหว่างรายจ่ายที่จา่ ยให้แก่ผูท้ ี่ไดร้ ับ ผลประโยชน์ หรือรายจา่ ยท่จี า่ ยใหแ้ กส่ ังคม (social expenditure) สาหรับกรณีผู้จ่ายจาเป็นต้องวิเคราะห์ถึงหน่วยจ่ายแทนท่ีเป็นหน่วยที่รับภาระค่าใช้จ่ายโดยเฉพาะ ค่าใช้จ่ายขั้นสุดท้ายท่ีเป็นการจ่ายไปท่ีผู้ผลิต หรือการจ่ายโดยตรงให้แก่ผู้ได้รับผลประโยชน์ การกาหนด โครงสร้างของภาคการจ่ายเกิดจากการกระจายหน่วยสถาบันท่ีรับภาระค่าใช้จ่ายท้ังทางตรงและการถ่ายโอน ทางอ้อม โดยบัญชีภาคการจ่าย และหน่วยจ่ายแทน (financing agencies) กาหนดโดยมุมมองของการจัดหา แหล่งเงิน ซ่ึงหน่วยสถาบันด้านการจ่ายจาเป็นต้องจาแนกออกตามประเภทกรอบการทางานของภาคสถาบัน (central framework classification of institutional sectors) ดังนี้ o ผผู้ ลิตสินคา้ และบรกิ ารในตลาด (Market producers) o องคก์ รไมแ่ สวงหากาไร (NPISH) o General government o ครัวเรือน (Households) o บริษทั ทางการเงิน (Financial enterprises) o Rest of the world การระบุผู้ท่ีแบกรับภาระค่าใช้จ่ายข้ันสุดทา้ ย ประการแรกต้องวเิ คราะห์การจ่ายเงินเพื่อการสะสมทุน และเงินโอน (financing of capital formation and transfers) ประการที่สองต้องพิจารณาถึงการจ่ายเงิน ผ่านเงนิ ทุนเคล่อื นย้ายและการกยู้ มื (financing through capital transfers and borrowing) ประการท่ีสาม รายละเอียดบางอย่างจาเป็นต้องมีการระบุถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายเกิดจากรายได้ท้ังหมดท่ีครัวเรือนได้รับมา (disposable income) แผนภาพที่ 2.9 จะระบุถึง หากจาแนกการใช้จ่ายตามผู้จ่ายหรือหน่วยจ่ายแทน จากแผนภาพจะเห็น ความแตกต่างกับแผนภาพก่อนหน้านี้ว่า จะมีการเพ่ิมบริษัททางการเงินเข้ามาร่วมเป็นส่วนหน่ึงของผู้จ่าย รายงานฉบับสมบูรณ์: โครงการศึกษาแผนแม่บท (Master Plan) ด้านเศรษฐกิจสุขภาพศึกษาสถานการณ์และ ออกแบบระบบ ระยะท่ี 1 หน้าท่ี 2-29
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338