หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนบ้านทุ่งโพธ์ิ (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๔) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
2 ประกาศโรงเรียนบ้านทงุ่ โพธิ์ เรอ่ื ง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เพือ่ ให้การจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ สอดคล้องกบั สภาพการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สงั คมและ ความเจรญิ ก้าวหน้าทางวิทยาการ สนองนโยบาย คุณธรรมนาความรู้ ตอบสนองความต้องการของ ผเู้ รียน ชมุ ชน ท้องถิ่นและสังคม ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริของ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช รัชกาลที่ ๙ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ การพัฒนาตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๗๙ นโยบายรัฐบาล กระทรวงศกึ ษาธิการ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต ๓ และหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ได้ดาเนินการเพื่อให้เปน็ ไปตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ คาสงั่ กระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรือ่ ง ให้ใช้มาตรฐาน การเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และคาสัง่ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ เรือ่ ง ให้เปลีย่ นแปลงมาตรฐานการ เรียนรู้และตัวชีว้ ัดกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) จงึ ประกาศให้ใช้หลกั สตู รโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) เง่อื นไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ให้เป็นไป ดังนี้ ๑. ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ให้ใชใ้ นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ๒. ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้ใชใ้ นช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ๒ ๔ และ ๕ ๓. ตั้งแต่ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ เป็นต้นไป ให้ใชใ้ นทุกชั้นเรยี น
3 ท้ังนี้ หลกั สูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๑) ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ในคราวประชมุ ครั้งที่ ..๓.... เม่อื วนั ที่ ...๑๐ มิถุนายน..... พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงประกาศ ให้ใช้ ตง้ั แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ (ลงชื่อ) (ลงชื่อ) (นายวรสิทธิ์ พรหมพนิ ิจ) (นายสัญญา วัฒนาเนตร) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์
4 คานา โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ มีภารกิจในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ จนถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ พัฒนาการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซึ่งได้กาหนดให้การจัดการศึกษาตามหลักสูตรต้องเป็นไปเพื่อ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมแหง่ ความเป็นไทย การดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผอู้ ื่นได้อย่างมีความสุข เปิดโอกาสให้ สังคมมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา พัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ใหเ้ ป็นไปอย่างตอ่ เนื่อง ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ได้ดาเนินการเพื่อให้เป็นไปตามคาสั่งกระทรวง ศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คาสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรื่อง ใหใ้ ช้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และคาส่ัง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ เรื่อง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้วี ัดกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอขอบคุณคณะครูและบุคลากร ที่ได้ร่วมแรงร่วมใจกันจัดทาหลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒) เล่มนี้ จนสาเร็จลุล่วงเป็นอย่างดี และหวังว่าเอกสารหลักสูตรเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการ เรียนรู้ให้กบั ผู้เรยี นตามเจตนารมณข์ องการปฏิรูปการศกึ ษา โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ กรกฎาคม ๒๕๖๓
5 สารบัญ หนา้ คานา ๗ - ประกาศโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ เรอ่ื ง ให้ใช้หลกั สตู รโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรงุ ) ๑๐ พ.ศ. ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ๑๐ ๑๐ ความนา ๑๑ วิสยั ทัศน์ ๑๒ หลักการ ๑๔ จดุ หมาย ๑๔ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ๑๘ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๒๔ มาตรฐานการเรียนรู้ ๒๔ ตวั ช้วี ดั ๒๕ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒๖ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ระดับการศกึ ษา ๓๔ การจัดเวลาเรยี น ๔๑ โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดบั ประถมศึกษา ๕๔ คาอธิบายรายวิชา ระดบั ประถมศึกษา ๖๒ ๘๖ - ภาษาไทย ๙๓ - คณิตศาสตร์ ๑๐๔ - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๑๑ - สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๑๘ - สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑๓๑ - ศิลปะ ๑๓๘ - การงานอาชีพ - ภาษาต่างประเทศ ๑๔๒ - หน้าทีพ่ ลเมือง - การป้องกนั การทุจรติ โครงสรา้ งเวลาเรียน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น คาอธิบายรายวิชา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ - ภาษาไทย
6 - คณิตศาสตร์ ๑๕๕ - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๗๓ - สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๘๖ - สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๒๐๗ - ศิลปะ ๒๒๐ - การงานอาชีพ ๒๒๙ - ภาษาต่างประเทศ ๒๔๑ - หน้าที่พลเมือง ๒๕๖ - การป้องกนั การทจุ ริต ๒๖๓ - กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ๒๔๕ เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา ๒๖๑ ภาคผนวก ๒๖๒ - คาสงั่ โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ เรื่อง ให้ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศกึ ษา ในมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชวี้ ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐาน ปีพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ๒๘๐ - คาสั่งสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน เรือ่ ง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐาน การเรียนรู้และ ตวั ชวี้ ัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒๘๑ - ประกาศสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เรื่อง การบริหารจดั การหลกั สตู รสถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น พน้ื ฐาน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒๘๓ - คาส่ังกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง ให้ใชม้ าตรฐานการเรียนรู้และตวั ชวี้ ัด กลุ่มสาระ การเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๑ ๒๘๕ - ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง การบริหารจดั การเวลาเรียนของสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ๒๘๖ - คาสัง่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน เรือ่ ง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัด สาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ปีพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และเปลีย่ นชือ่ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ ๒๘๗ - คาสง่ั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เรื่อง การปรบั ปรงุ โครงสร้าง เวลาเรียนตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปีพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๒๘๙
7 สว่ นที่ ๑ ความนา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและ กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีระดับโลก พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับ เจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วม ในการพฒั นาหลักสตู ร เพื่อให้สอดคล้องกบั สภาพ และความตอ้ งการของท้องถิน่ เพื่อให้การจัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ในช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ของโรงเรียน บ้านทุ่งโพธิ์ สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและความเจริญก้าวหน้า ทางวิทยาการ สนองนโยบาย คุณธรรมนาความรู้ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น และสังคม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ -๒๕๗๙) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ นโยบายรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน สานกั งาน เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต ๓ และหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง โรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ ได้ดาเนินการเพื่อให้เป็นไปตามคาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๒๙๓/ ๒๕๕๑ ลงวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เร่ือง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คาส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และคาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ เรื่อง ให้เปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) การจดั ทาหลกั สตู รโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ จะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวงั ได้ ทกุ ฝา่ ยที่ เกี่ยวข้องทั้งระดับโรงเรียน ชมุ ชน ครอบครัว และบคุ ลากรทีเ่ กีย่ วข้อง โดยร่วมกันทางานอย่างเปน็ ระบบ และต่อเน่อื ง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แก้ไข เพือ่ พัฒนา เยาวชนของชาติไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ทีก่ าหนดไว้
10 วสิ ัยทัศน์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผเู้ รียนทกุ คนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษาตอนต้น ซึ่งจะ เป็นกาลังของชาติในอนาคตให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกใน ความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคน สามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ หลักการ หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มีหลกั การทีส่ าคัญ ดงั นี้ ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ เรียนรู้เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความเปน็ สากล ๒. เป็นหลักสูตรการศกึ ษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศกึ ษาอย่างเสมอภาค และมีคณุ ภาพ ๓. เป็นหลักสตู รการศกึ ษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา ให้สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถิน่ ๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่มโี ครงสรา้ งยืดหยุ่นทั้งดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและ การจัดการ เรียนรู้ ๕. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ๖. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาสาหรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลกั สูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เม่ือจบการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน ดังนี้
11 ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ ึงประสงค์ เห็นคณุ ค่าของตนเอง มวี ินัยและ ปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๒. มีความรคู้ วามสามารถในการส่อื สาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะ ชีวติ ๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทีด่ ี มีสุขนสิ ัย และรกั การออกกาลังกาย ๔. มีความรกั ชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมน่ั ในวิถีชวี ิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ๕. มีจติ สานึกในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจติ สาธารณะที่มงุ่ ทาประโยชน์และสร้างสิง่ ทีด่ งี ามในสังคม และอยู่ร่วมกนั ในสงั คมอย่างมี ความสขุ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพมาตรฐานการเรียนรู้ ซึ่งการ พัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดน้ัน จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสาร และประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อ ขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูก ต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วธิ ีการสอื่ สารทีม่ ปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ ความรหู้ รอื สารสนเทศ เพื่อการตดั สินใจเกีย่ วกบั ตนเองได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาในในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการ ตัดสินใจทีม่ ีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดล้อม ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ ง ๆ ไปใช้ในการดาเนินชีวติ ประจาวนั การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสงั คมด้วยการ
12 สร้างเสริมความสัมพนั ธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้ง ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวใหท้ ันกบั การเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและ การรจู้ กั หลีกหลีกเลีย่ งพฤติกรรม ไม่พึงประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่อื สาร การทางาน การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสมและ มีคุณธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ ื่นในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซื่อสัตย์สจุ ริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมัน่ ในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ คา่ นิยมหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ๒. ซื่อสตั ย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสิง่ ที่ดงี ามเพื่อส่วนรวม ๓. กตัญญตู ่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครบู าอาจารย์ ๔. ใฝ่หาความรู้ หม่ันศกึ ษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางออ้ ม ๕. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม ๖. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผอู้ ืน่ เผือ่ แผ่และแบ่งปัน ๗. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขที่ถกู ต้อง ๘. มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรู้จักการเคารพผใู้ หญ่ ๙. มีสตริ ู้ตัว รคู้ ิด รู้ทา รู้ปฏิบตั ิตามพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
13 ๑๐. รู้จกั ดารงตนอยู่โดยใช้หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารสั ของพระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รจู้ ักอดออมไว้ใชเ้ มือ่ ยามจาเปน็ มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และ พร้อมทีจ่ ะขยายกิจการเม่ือมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันทีด่ ี ๑๑. มีความเข้มแขง็ ท้ังร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพต้ ่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความ ละอายเกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา ๑๒. คานึงถึงผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
14 สว่ นที่ ๒ มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จงึ กาหนดให้ผู้เรยี นเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดงั น้ี ๑. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๓. กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ๔. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๖. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ๗. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนา คุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์เม่ือจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อน เมื่อจบการศึกษาท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร รวมทั้งเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคณุ ภาพ ภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพ ภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการ ทดสอบระดบั ชาติ ระบบการตรวจสอบ เพื่อประกันคุณภาพดงั กล่าวเป็นสิ่งสาคัญทีจ่ ะช่วยสะท้อนภาพการ จดั การศกึ ษาว่าสามารถพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีคณุ ภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรกู้ าหนดเพียงใด ตวั ชี้วัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษะของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ซึ่งสะท้อน ถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปน็ รูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนดเนื้อหา จัดทา หน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบ คุณภาพผเู้ รียน ๑. ตัวช้วี ัดช้ันปี เป็นเป้าหมายในการพฒั นาผเู้ รียนแต่ละชั้นปีในระดบั การศกึ ษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓)
15 ๒. ตวั ช้วี ัดชว่ งช้ัน เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผเู้ รียนในระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔ -๖ ) หลกั สูตรได้มกี ารกาหนดรหัสกากบั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ดั เพื่อความเข้าใจและใหส้ ื่อสาร ตรงกัน ดงั นี้ ว ๑.๑ ป. ๑/๒ ป.๑ / ๒ ตัวช้วี ดั ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ ข้อที่ ๒ ๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑ ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต ๒.๒ ป๔/๒ ป.๔/๓ ตวั ช้วี ดั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ ข้อที่ ๓ ๒.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒ ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ว ๑.๑ ม. ๑/๒ ม.๑ / ๒ ตัวช้วี ัดชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ข้อที่ ๒ ๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑ ว กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องคค์ วามรู้ ทักษะหรอื กระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ซึง่ กาหนดใหผ้ เู้ รียนทุกคนในระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานจาเปน็ ต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ดงั นี้
16 ภาษาไทย : ความรู้ ทกั ษะ คณิตศาสตร์ : การนาความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : การ และวัฒนธรรมการใช้ภาษา ทกั ษะและกระบวนการทาง นาความร้แู ละกระบวนการทาง เพอ่ื การสอื่ สาร ความช่ืนชม คณติ ศาสตร์ไปใช้ใน วิทยาศาสตร์ไปใชใ้ นการศกึ ษา คน้ คว้า การเห็นคณุ ค่าภมู ิปญั ญาไทย และ การแก้ปญั หา การดาเนนิ ชวี ิต หาความรู้ และแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ระบบ ภูมใิ จในภาษาประจาชาติ และศึกษาต่อ การมเี หตุมผี ล การคดิ อย่างเป็นเหตเุ ปน็ ผล มีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ คดิ วิเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ พัฒนาการคิดอยา่ งเปน็ ระบบและ และจิตวทิ ยาศาสตร์ สรา้ งสรรค์ ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ องค์ความรู้ ทกั ษะสาคัญ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : ทักษะ เจตคติ และวฒั นธรรม และคุณลักษณะ การอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมไทยและสังคมโลก การใชภ้ าษาต่างประเทศในการ อย่างสนั ตสิ ุข การเปน็ พลเมืองดี ศรัทธา สือ่ สาร การแสวงหาความรู้ ในหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ในหลักธรรมของศาสนา และการประกอบอาชีพ ขน้ั พนื้ ฐาน การเหน็ คณุ คา่ ของทรพั ยากรและ ส่งิ แวดล้อม ความรักชาติ และภมู ใิ จใน การงานอาชีพ : ความรู้ ทักษะ ศิลปะ : ความรู้และทักษะใน ความเป็นไทย และเจตคตใิ นการทางาน การจดั การ การคดิ รเิ รม่ิ จนิ ตนาการ การดารงชวี ติ การประกอบอาชีพ สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา : ความรู้ สุนทรียภาพและการเห็น ทักษะและเจตคตใิ นการสรา้ งเสรมิ คุณค่าทางศิลปะ สขุ ภาพพลานามัยของตนเองและผอู้ ืน่ การปอ้ งกนั และปฏบิ ัติต่อ สิ่งต่าง ๆ ท่ีมีผลต่อสุขภาพอยา่ ง ถกู วธิ ีและทกั ษะในการดาเนินชีวติ
17 ความสัมพนั ธ์ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน วิสัยทัศน์ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มุง่ พฒั นาผเู้ รียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาตใิ ห้เป็นมนุษย์ ท่มี ีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเปน็ พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมน่ั ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข มีความรู้และทกั ษะพน้ื ฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ติ โดยม่งุ เนน้ ผูเ้ รยี น เป็นสาคัญบนพ้นื ฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ จดุ หมาย ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี ินัยและปฏบิ ัติ ตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทีต่ นนับถือ ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มคี วามรูอ้ นั เปน็ สากลและมีความสามารถในการส่อื สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใช้ เทคโนโลยแี ละมที ักษะชีวติ ๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มีสขุ นสิ ัย และรักการออกกาลังกาย ๔. มีความรกั ชาติ มจี ติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถชี ีวิตและการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ๕. มจี ิตสานกึ ในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะท่ีม่งุ ทาประโยชน์และสรา้ งส่ิงท่ีดีงามในสงั คม และอย่รู ว่ มกนั ในสังคมอย่างมคี วามสุข สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ความสามารถในการคดิ ๒. ซือ่ สตั ยส์ ุจริต ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๓. มวี นิ ยั ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๖. มุง่ ม่นั ในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย มาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวช้ีวัด ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๑. ภาษาไทย ๒. คณติ ศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ๑.กิจกรรมแนะแนว ๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๒.กิจกรรมนกั เรียน ๓. กิจกรรมเพื่อสงั คมและ ๗. การงานอาชีพ ๘. ภาษาตา่ งประเทศ สาธารณประโยชน์ คณุ ภาพของผเู้ รยี นระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
18 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสตู รโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีจานวน ๓๘ สาระการเรียนรู้ จานวน ๗๕ มาตรฐานการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น จานวน ๓ กิจกรรม ดงั น้ี ภาษาไทย สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐานที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท.๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพือ่ นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปัญหา ในการดาเนนิ ชีวติ และมีนิสยั รักการอา่ น สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียน เขียนสือ่ สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรางานการศกึ ษาค้นคว้า อย่างมปี ระสิทธิภาพ สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด ความรสู้ ึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐานที่ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยออย่าง เห็นคุณค่าและนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ คณิตศาสตร์ สาระท่ี ๑ จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลทีเ่ กิดขึน้ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะหแ์ บบรูปความสัมพันธ์ ฟงก์ชนั ลาดับและ อนุกรมและ นาไปใช้
19 มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นพิ จน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พันธ์หรอื ช่วยแก้ปญั หาที่ กาหนดให้ สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพืน้ ฐานเกี่ยวกบั การวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวดั และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสมั พนั ธ์ ระหว่างรูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระท่ี ๓ สถติ ิและความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใช้ความรทู้ างสถิติในการแก้ปญั หา มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนับเบอื้ งตน้ ความน่าจะเปน็ และนาไปใช้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอด พลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปัญหาและ ผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาส่งิ แวดล้อม รวมท้ังนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้า และออกจาก เซลล์ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าทีข่ องระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางาน สัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางาน สมั พนั ธ์กัน รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทาง ชีวภาพและววิ ฒั นาการของส่งิ มีชีวติ รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระท่ี ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของ สสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการ เปลีย่ นแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏิกิรยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะ การ เคลื่อนทีแ่ บบต่างๆ ของวตั ถุรวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์
20 มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวติ ประจาวัน ธรรมชาติของ คลืน่ ปรากฏการณ์ที่ เกี่ยวข้องกบั เสียง แสง และคลืน่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทั้งนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซีดาว ฤกษ์และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายใน โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศและภูมิอากาศ โลก รวมทั้งผลตอ่ สิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดล้อม สาระท่ี ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่าง รวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และ ศาสตร์อื่นๆ เพื่อ แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และ สิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น ข้ันตอนและ เป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการ แก้ปญั หาได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระท่ี ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้เข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา ที่ตนนบั ถือและศาสนาอื่น มีศรทั ธาที่ถกู ต้อง ยึดมัน่ และปฏิบตั ิตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกนั อย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปน็ ศาสนิกชนทีด่ ี และธารงรักษา พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ สาระท่ี ๒ หนา้ ท่พี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนินชีวติ ในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบตั ิตนตามหน้าที่ของการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านิยมทีด่ งี ามและธารง รกั ษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสงั คมไทย และสงั คม โลกอย่างสันติสขุ
21 มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจั จุบัน ยึดมน่ั ศรัทธา และธารง รกั ษาไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็น ประมุข สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภค การใชท้ รัพยากรที่มอี ยู่อย่างจากดั ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้ง เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวติ อย่างมดี ุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจาเปน็ ของการรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระท่ี ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวตั ศิ าสตร์ สามารถใช้วธิ ีการทางประวัติศาสตรม์ าวิเคราะหเ์ หตกุ ารณ์ต่าง ๆ อย่าง เป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพฒั นาการของมนษุ ย์ชาติจากอดีตจนถึงปจั จุบัน ในด้าน ความสัมพันธ์และการเปลีย่ นแปลงของเหตกุ ารณ์อย่างต่อเน่อื ง ตระหนกั ถึง ความสาคญั และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน้ มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาไทย มีความรกั ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย สาระท่ี ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลก และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมผี ล ต่อกัน ใช้แผนที่และเคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูลตามกระบวนการทาง ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมิสารสนเทศอย่างมี ประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างมนุษย์กบั สิง่ แวดล้อมทางกายภาพที่ ก่อใหเ้ กิด การสรา้ งสรรค์ วิถีการดาเนินชีวติ มีจิตสานึกและมี ส่วนร่วมในการจัดการ ทรพั ยากรและส่ิงแวดล้อมเพือ่ การพัฒนา ที่ย่งั ยืน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา สาระท่ี ๑ การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
22 สาระท่ี ๒ ชีวติ และครอบครวั มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ ค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศกึ ษา และมีทกั ษะใน การดาเนินชีวติ สาระท่ี ๓ การเคลือ่ นไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลือ่ นไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ รกั การออกกาลงั กาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบตั ิเป็นประจาอย่าง สมา่ เสมอ มวี ินยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนกั กีฬา มจี ติ วิญญาณในการ แขง่ ขนั และชืน่ ชมในสุนทรียภาพของการกีฬา สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ สมรรถภาพและการปอ้ งกันโรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการรสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกนั โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ในชีวติ มาตรฐาน พ ๕.๑ ป้องกนั และหลีกเลีย่ งปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบตั ิเหตุ การใชย้ าสารเสพติดและความรนุ แรง ศลิ ปะ สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดตดิ ต่องาน สาระท่ี ๑ ทัศนศิลป์ ศลิ ปะอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่างานทศั นศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น มาตรฐาน ศ ๑.๒ ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระท่ี ๒ ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คณุ ค่า มาตรฐาน ศ ๒.๑ ของดนตรที ี่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ คุณค่านาฏศลิ ป์ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดอย่างอสิ ระ ชื่นชมและประยุกต์ใชใ้ น ชีวติ ประจาวนั
23 มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์ ประวตั ิสาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคณุ ค่าของนาฏศลิ ป์ทีเ่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิน่ ภูมิปัญญา ไทยและสากล การงานอาชีพ สาระท่ี ๑ การดารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทกั ษะการ จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทกั ษะการทางานร่วมกัน และทกั ษะการ แสวงหาความรู้ มีคณุ ธรรม และลักษณะนิสยั ในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากร และสิง่ แวดล้ออม เพื่อการดารงชีวิตและครอบครัว สาระท่ี ๒ การอาชีพ มาตรฐาน ง ๒.๑ เข้าใจและตีความเรอ่ื งที่ฟังและอ่านจากสือ่ ประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเหน็ อย่างมี เหตผุ ล ภาษาตา่ งประเทศ สาระท่ี ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรอ่ื งที่ฟงั และอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเหน็ อย่างมเี หตผุ ล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการสอ่ื สารทางภาษาในการแลกเปลีย่ นข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรู้สกึ และความคิดเหน็ อย่างมปี ระสิทธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ มีทกั ษะการส่อื สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรู้สกึ และความคิดเห็นในเรื่องตา่ ง ๆ โดยการพูดและการเขียน สาระท่ี ๒ ภาษาและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างภาษาและวฒั นธรรมของ เจ้าของภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระท่ี ๓ ภาษากับความสัมพนั ธก์ ับกลุ่มสาระการเรยี นรู้อื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชอ่ื มโยงความรกู้ บั กลุ่มสาระการเรียนรู้อืน่ และเปน็ พืน้ ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระท่ี ๔ ภาษากบั ความสมั พันธ์กับชุมชนโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณต์ ่างๆ ท้ังในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
24 มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเปน็ เครื่องมอื พืน้ ฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้กับสังคมโลก กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนได้พฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความ เปน็ มนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เปน็ ผมู้ ีศีลธรรม จรยิ ธรรม มี ระเบียบวินัย ปลกู ฝงั และสร้างจิตสานึกของการทาประโยชนเ์ พือ่ สังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ ร่วมกับผอู้ ืน่ อย่างมคี วามสขุ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น แบง่ เปน็ ๓ ลักษณะ ดงั นี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ และพัฒนาผเู้ รียนใหร้ ู้จกั ตนเอง รู้รักษ์สิง่ แวดล้อม สามารถคิดตดั สินใจ คดิ แก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวติ ท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรบั ตนได้อย่างเหมาะ นอกจากนยี้ งั ช่วยใหค้ รูรู้จกั และเข้าใจผู้เรยี น ท้ังยงั เปน็ กิจกรรมที่ชว่ ยเหลอื และให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครอง ในการมสี ่วนรว่ มพัฒนาผเู้ รียน ๒. กิจกรรมนกั เรยี น เปน็ กิจกรรมที่มุ่งพฒั นาความมรี ะเบียบวินัย ความเปน็ ผนู้ าผตู้ ามที่ดี ความรับผดิ ชอบ การทางาน ร่วมกัน การรู้จกแก้ปัญหา การตดั สินใจที่เหมาะสมความมเี หตุผล การช่วยเหลือแบ่งปนั กันเอือ้ อาทร และ สมานฉันท์ โดยจัดใหส้ อดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผเู้ รียนใหไ้ ด้ปฏิบัติด้วย ตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศกึ ษาวิเคราะหว์ างแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรบั ปรุงการทางาน เน้นการทางานรว่ มกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั วฒุ ิภาวะของผู้เรยี น บริบทของ สถานศกึ ษาและท้องถิน่ กิจกรรมนกั เรียนประกอบด้วย ๒.๑ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ๒.๒ กิจกรรมชมุ นุม ชมรม ๓. กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนบาเพญ็ ตนให้เป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ชมุ ชน และท้องถิ่นตามความ สนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอ่ สงั คม มีจติ สาธารณะ เช่นกิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ ังคม ระดับการศึกษา หลักสูตรโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ได้จัดระดับการศกึ ษาเป็น 2 ระดบั ดังน้ี
25 ๑. ระดบั ประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) การศกึ ษาระดบั นี้เปน็ ช่วงแรกของการศกึ ษาภาคบังคบั มุ่งเน้นทักษะพืน้ ฐานด้านการอ่าน การ เขียน การคิดคานวณ ทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน การตดิ ต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสงั คม และพืน้ ฐาน ความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ อย่างสมบรู ณ์และสมดลุ ท้ังในด้านร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ สงั คม และวัฒนธรรม โดยเน้นจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการ ๒. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๓) เปน็ ช่วงสดุ ท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ผเู้ รียนได้สารวจความถนัดและความสนใจ ของตนเอง สง่ เสริมการพัฒนาบุคลิกภาพสว่ นตน มีทักษะในการคิดอย่างมวี ิจารณญาณคิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปญั หา มที ักษะในการดาเนินชีวติ มที กั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ เปน็ เครื่องมอื ในการเรียนรู้ มี ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภมู ิใจในความเป็น ไทย ตลอดจนใชเ้ ป็นพืน้ ฐานในการประกอบอาชีพหรือการศกึ ษาต่อ การจดั เวลาเรียน หลักสูตรโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าสาหรบั กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน ซึ่งสถานศกึ ษาสามารถเพิม่ เติมได้ตามความพร้อมและจดุ เน้น โดย สามารถปรับใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษาและสภาพของผเู้ รียน ดังน้ี ๑. ระดับช้ันประถมศกึ ษา (ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖) ให้จดั เวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ ไม่เกิน ๕ ช่วั โมง ๒. ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ (ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๓) ให้จดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มเี วลาเรียนวันละไม่เกิน ๖ ช่วั โมง คิดนา้ หนักของรายวิชาที่เรยี นเป็น หนว่ ยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ช่ัวโมง ต่อภาคเรียน มคี ่าน้าหนักวิชา เท่ากบั ๑ หนว่ ยกิต (นก.)
โครงสรา้ งเวลาเรียน หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบับปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กาหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรียนไว้ ดงั นี้ กลุ่มสาระการเรยี นรู/้ กิจกรรม ป.1 เวลาเรยี น ป.6 ระดบั ประถมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้ 200 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ภาษาไทย 200 คณิตศาสตร์ 60 200 200 160 160 160 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40 200 200 160 160 160 20 60 60 120 120 120 - วิทยาศาสตร์ (80) 40 40 80 80 80 - วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี 40 20 20 40 40 40 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (80) (80) (120) (120) (120) ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40 ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม หนา้ ท่พี ลเมือง วัฒนธรรมและ 40 40 40 80 80 80 การดาเนนิ ชวี ิตในสังคม 40 เศรษฐศาสตร์ 40 40 40 80 80 80 ภมู ิศาสตร์ 200 40 40 80 80 80 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 860 40 40 80 80 80 ศลิ ปะ 80 200 200 80 80 80 การงานอาชีพ 860 860 880 880 880 ภาษาตา่ งประเทศ 40 80 80 80 80 80 รวมเวลาเรยี น(พ้ืนฐาน) 40 40 40 40 40 40 รายวชิ า/กจิ กรรมเพิ่มเติม 30 10 40 40 40 40 40 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 30 30 30 30 30 กจิ กรรมแนะแนว 10 10 10 10 10 กจิ กรรมนกั เรียน - ลกู เสือ ยุวกาชาด - ชมรม ชุมนมุ กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ สาธารณประโยชน์
27 รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 120 120 120 120 120 120 รวมเวลาเรียน 1,060 ชั่วโมง 1,080 ช่วั โมง หมายเหตุ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ปีละ ๑๒๐ ชว่ั โมง แบ่งเปน็ ๓ ลักษณะ ดงั น้ี ๑. กิจกรรมแนะแนว ปีละ ๔๐ ชัว่ โมง ๒. กิจกรรมนักเรียน ๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ปีละ ๔๐ ชัว่ โมง ๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม ปีละ ๔๐ ช่วั โมง ๓. กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์จัดโดยใช้เวลานอกชั้นเรยี น หรอื บูรณาการกบั กิจกรรมชมรม/ชุมนมุ ในช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑- ๖ ปีละ ๑๐ ชั่วโมง (ครูที่รบั ผดิ ชอบชมรม/ชุมนุมนานักเรียนไปทากิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์)
28 โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนบา้ นทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ช.ม./ป)ี รายวชิ าพน้ื ฐาน 860
ท11101 ภาษาไทย 29 ค11101 คณิตศาสตร์ ว11101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 ส11101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 200 ส11102 ประวัติศาสตร์ 60 พ11101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 ศ11101 ศิลปะ 40 ง11101 การงานอาชีพ 40 อ11101 ภาษาอังกฤษ 40 40 รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม 200 ส 11231 หนา้ ที่พลเมือง 40 ส 11232 การป้องกันการทุจรติ 40 กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น 120 กิจกรรมแนะแนว 40 กิจกรรมนกั เรียน 40 - ลกู เสือ เนตรนารี 30 - ชมุ นุม ชมรม 10 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 1,060 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น โครงสรา้ งหลกั สูตรโรงเรียนบา้ นทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๒ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ช.ม./ปี) รายวิชาพืน้ ฐาน 860
ท12101 ภาษาไทย 30 ค12101 คณิตศาสตร์ ว12101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 200 ส12101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 200 ส12102 ประวตั ิศาสตร์ 60 พ12101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 40 ศ12101 ศลิ ปะ 40 ง12101 การงานอาชีพ 40 อ12101 ภาษาอังกฤษ 40 40 รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม 200 ส 12231 หน้าทีพ่ ลเมือง 40 ส 12232 การป้องกนั การทุจรติ 40 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 120 กิจกรรมแนะแนว 40 กิจกรรมนกั เรียน 40 - ลกู เสือ เนตรนารี 30 - ชุมนมุ ชมรม 10 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 1,060 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนบา้ นทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ช.ม./ปี) รายวิชาพืน้ ฐาน 860 200 ท13101 ภาษาไทย
ค13101 คณิตศาสตร์ 31 ว13101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส13101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 200 ส13102 ประวัติศาสตร์ 60 พ13101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 40 ศ13101 ศิลปะ 40 ง13101 การงานอาชีพ 40 อ13101 ภาษาองั กฤษ 40 40 รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม 200 ส 13231 หนา้ ที่พลเมือง ส 13232 การป้องกันการทุจรติ 40 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 40 กิจกรรมแนะแนว 120 กิจกรรมนกั เรียน 40 - ลกู เสือ เนตรนารี 40 - ชมุ นมุ ชมรม 30 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 10 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 1,060 โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ช.ม./ปี) รายวิชาพื้นฐาน 880 ท14101 ภาษาไทย 160 ค14101 คณิตศาสตร์ 160 ว14101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120
ส14101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 32 ส14102 ประวตั ิศาสตร์ พ14101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 80 ศ14101 ศิลปะ 40 ง14101 การงานอาชีพ 80 อ14101 ภาษาอังกฤษ 80 80 รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม 80 ส 14231 หนา้ ที่พลเมือง ส 14232 การป้องกันการทุจรติ 40 40 กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น 120 กิจกรรมแนะแนว 40 กิจกรรมนักเรียน - ลกู เสือ เนตรนารี 40 - ชมุ นุม ชมรม 30 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 รวมเวลาเรียนท้ังสิน้ 1,080 โครงสรา้ งหลักสตู รโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรับปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๖๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ช.ม./ปี) รายวิชาพื้นฐาน 880 ท15101 ภาษาไทย 160 ค15101 คณิตศาสตร์ 160 ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 ส15101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส15102 ประวัติศาสตร์ 40
พ15101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 33 ศ15101 ศิลปะ ง15101 การงานอาชีพ 80 อ15101 ภาษาองั กฤษ 80 80 รายวิชา/กิจกรรมเพิม่ เติม 80 ส 15231 หนา้ ทีพ่ ลเมือง ส 15232 การป้องกันการทุจรติ 40 40 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 120 กิจกรรมแนะแนว 40 กิจกรรมนักเรียน - ลกู เสือ เนตรนารี 40 - ชมุ นุม ชมรม 30 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 1,080 โครงสร้างหลักสตู รโรงเรียนบ้านทุ่งโพธิ์ (ฉบบั ปรบั ปรุง) พ.ศ. ๒๕๖๒ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ช.ม./ปี) รายวิชาพื้นฐาน 880 ท16101 ภาษาไทย 160 ค16101 คณิตศาสตร์ 160 ว16101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 ส16101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 ส16102 ประวัติศาสตร์ 40 พ16101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80
ศ16101 ศิลปะ 34 ง16101 การงานอาชีพ อ16101 ภาษาองั กฤษ 80 80 รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม 80 ส 16231 หน้าทีพ่ ลเมือง ส 16232 การป้องกันการทจุ รติ 40 กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 40 120 กิจกรรมแนะแนว 40 กิจกรรมนกั เรียน 40 - ลกู เสือ เนตรนารี 30 - ชมุ นมุ ชมรม 10 กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 1,080 รวมเวลาเรียนทั้งสิน้
35 คาอธบิ ายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหสั วิชา ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง ฝกึ ทักษะในการอ่าน ฟัง พูด เขียน หลักการใชภ้ าษาและวรรณกรรม เพื่อให้อ่านออกเสียง คาคล้องจองและข้อความสั้นๆ บอกความหมายของคาและข้อความทีอ่ ่าน ตอบคาถามเกี่ยวกบั เรื่อง ที่อา่ น คาดคะเนเหตุการณ์จากเรอ่ื งที่อ่าน รักการอ่าน อ่านหนังสอื ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอ และนาเสนอเร่อื งที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสญั ลักษณ์สาคัญที่มกั พบเหน็ ในชวี ิต ประจาวัน มีมารยาทในการฟงั คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด เขียนสื่อสารด้วยคาหรอื ประโยค งา่ ย ๆ มีมารยาทในการเขียน ฟงั คาแนะนา คาส่งั งา่ ย ๆ และปฏิบตั ิตาม ตอบคาถามและเล่าเรื่องที่ฟัง และดู ทั้งทีเ่ ปน็ ความรู้และความบันเทิง พูดแสดงความคิดเหน็ และแสดงความรู้สึก จากเร่อื งที่ฟงั และดู
36 พดู สื่อสารได้ตามวตั ถุประสงค์ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด บอกและเขียนพยญั ชนะสระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคา และบอกความหมายของคา เรียบเรียงคาเป็นประโยคต่าง ๆ ต่อ คาคล้องจองง่าย ๆ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือฟัง วรรณกรรมรอ้ ยแก้วและร้อยกรองสาหรบั เดก็ ใน ท้องถิ่น อนรุ ักษ์ศิลปวฒั นธรรมท้องถิ่น ท่องจาบทอาขยานตามทีก่ าหนดและบทร้อยกรองตามความ สนใจโดยใช้กระบวนการในการอา่ น เขียน ฟัง พดู รหัสตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวมทั้งหมด ๒๒ ตวั ชี้วดั รหสั วิชา ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ฝกึ ทกั ษะในการอ่าน เขียน ฟงั ดู พูด โดยใช้กระบวนการและวิธีการเพือ่ ให้อ่านออกเสียงคาคา คล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ได้ถกู ต้อง อธิบายความหมายของคา และข้อความทีอ่ ่าน ตั้งคาถาม และตอบคาถามเกีย่ วกับเรื่องที่อา่ น ระบคุ วามสาคญั และรายละเอียดจากเรอ่ื งทีอ่ ่านแสดง ความคิดเห็น และคาดคะเนเหตุการณ์จากเรอ่ื งที่อ่าน อา่ นหนังสือตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอ นาเสนอเรอ่ื งที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย ปฏิบตั ิตามคาส่ังหรือข้อแนะนา มีมารยาทในการอา่ น คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขียนเรื่องสั้น ๆ เกีย่ วกบั ประสบการณ์ จินตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฟงั คาแนะนา คาสง่ั ทีซ่ ับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่องทีฟ่ ัง และดู ทั้งทีเ่ ป็นความรู้และความบนั เทิง บอก
37 สาระสาคญั ต้ังคาถาม ตอบคาถาม แสดงความคิดเห็น ความรสู้ ึกจากเร่อื งทีฟ่ ังและดู พูดสื่อสารให้ ชัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์ มีมารยาทในการ ฟัง ดู และพูด บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เลขไทย เขียนสะกดคา บอกความหมายของคา เรยี บเรียงคาเป็นประโยค ได้ตรงตามเจตนาของการ สือ่ สาร บอกลกั ษณะคาคล้องจอง เลือกภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิ่นได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ ระบุ ข้อคิดทีไ่ ด้จากการอ่านหรอื การฟงั วรรณกรรมสาหรบั เดก็ เรือ่ งราววัฒนธรรมประเพณีในท้องถิน่ เพื่อ นาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน รอ้ งบทร้องเล่นสาหรับเดก็ ในท้องถิน่ ท่องบทจาอาขยาน ตามทีก่ าหนดและบท ร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ อนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นโดยใช้กระบวนการในการอ่าน เขียน ฟัง พดู รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวมทงั้ หมด ๒๗ ตวั ชีว้ ัด รหัสวิชา ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง ฝกึ ทักษะในการอ่าน เขียน ฟงั ดู พดู เพือ่ ให้อ่านออกเสียงคา ข้อความ เรือ่ งสั้น ๆ และ บทร้อยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง คล่องแคล่ว อธิบายความหมายและข้อความที่อ่าน ตั้งคาถามและตอบ คาถามเชิงเหตผุ ลเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ลาดบั เหตุการณ์ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องทีอ่ ่านโดยระบุเหตุผล ประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองอ่านเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน อ่านหนังสือตามความสนใจ อย่างสม่าเสมอ และนาเสนอเรื่องที่อ่าน อา่ นข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบตั ิตามคาสั่งหรอื คาแนะนา อธิบาย ความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ แผนที่และแผนภูมิ มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม
38 บรรทัด เขียนบรรยายเกี่ยวกบั สิ่งใดสิง่ หน่ึงได้อย่างชัดเจน เขียนบันทึกประจาวัน เขียนจดหมายลาครู เขียน เรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน เล่ารายละเอียดเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและที่ดูท้ังที่เป็นความรู้และ ความบนั เทิง บอกสาระสาคญั จากการฟงั และการดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและดู พูดแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองที่ฟังและดู พูด สื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด เขียนสะกดคา และบอก ความหมายของคา ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่ง ประโยคง่าย ๆ แต่งคาคล้องจองและคาขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับ กาลเทศะ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรมเพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รู้จักเพลงพ้ืนบ้านและเพลง กล่อมเดก็ เพื่อปลูกฝงั ความชืน่ ชมวัฒนธรรมท้องถิน่ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั วรรณคดีที่อ่าน ท่องจาบท อาขยาน ตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการเพื่อพัฒนาการใช้ ภาษาและศกึ ษาวรรณกรรมอย่างรู้คณุ ค่า รหัสตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวชีว้ ัด รหสั วิชา ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ฝกึ ทักษะในการอ่าน เขียน ฟงั ดู และพูด เพือ่ ให้อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคาประโยค และสานวนจากเร่ืองที่อ่าน อ่านเร่อื งส้ัน ๆ ตามเวลาที่กาหนดและตอบ คาถามจากเรือ่ งที่อ่าน แยกข้อขอ้ เท็จจรงิ และข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อา่ น คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเรอ่ื งที่อา่ น โดยระบเุ หตุผลประกอบ สรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านเพือ่ นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน อ่านหนังสือที่มี คณุ ค่าตามความสนใจอย่างสมา่ เสมอ และแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน คัด ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม เขียน
39 แผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อพัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากเร่ืองส้ัน ๆ เขียนจด หมายถึงเพื่อนและบิดามารดา เขียนบันทึก เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า เขียนเร่ืองตาม จินตนาการ มีมารยาทในการเขียน จาแนกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเร่ืองที่ฟังและดู พูดสรุปความ จากเร่ืองที่ฟังและดู พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกเกี่ยวกับเร่ืองที่ฟังและดู ต้ังคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเร่อื งที่ฟังและดู รายงานเรื่องหรือประเด็นศกึ ษาค้นคว้าจากการฟงั การดู และ การสนทนา มีมารยาทในการฟัง การดู การพูด สะกดคาและบอกความหมายของคาในบริบทต่าง ๆ ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคา แต่งประโยคได้ถูกต้องตาม หลักภาษา แต่งบทร้อยกรอง แต่งคาขวัญ บอกความหมายของสานวน เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน กับภาษาถิ่นได้ ระบุข้อคิดเห็นจากนิทานพื้นบ้าน นิทานคติธรรม วัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่น อธิบาย ข้อคิดจากเรอ่ื งที่อ่านเพื่อนาไปใช้กบั ชีวติ จรงิ ร้องเพลงพืน้ บ้าน ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบท ร้อยกรองทีม่ ีคุณค่าตามความสนใจ ศึกษาโดยใช้กระบวนการตามทักษะการใชภ้ าษาไทย รหัสตัวชีว้ ดั ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวมทัง้ หมด ๓๓ ตวั ชี้วัด รหสั วิชา ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง ศกึ ษาหลักการใช้ภาษา โดยใช้กระบวนการตามทักษะการอ่าน เขียน ฟัง ดูและพูด เพื่อให้อ่าน ออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคา ประโยค และข้อความที่เป็นการ บรรยาย และการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัยจากเร่ืองที่อ่านอย่างหลากหลาย และแยก ข้อเท็จจริงและข้อคิดเหน็ จากเรื่องที่อ่าน วิเคราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเรือ่ งที่อ่านเพื่อนาไปใช้ ในการดาเนินชีวิต วิเคราะห์ อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาส่ัง ข้อแนะนาและปฏิบัติตาม อ่านหนังสือที่มี คุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่าน มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม
40 เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน เขียน จดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา กรอกแบบ รายการต่าง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู้ความคิดเห็นและ ความรู้สึก จากเร่ืองที่ฟังและดู ต้ังคาถาม ตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟังและดู วิเคราะห์ความ น่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นทีศ่ ึกษาค้นคว้าจากการฟัง การ ดู และการสนทนา มีมารยาทในการฟังการดูและการพูด ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค จาแนก ส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น ใช้คาราชาศัพท์ บอกคา ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แต่งบทร้อยกรอง ใช้สานวนถกู ต้องสรุปเรื่องจากวรรณคดีหรอื วรรณกรรม ทีส่ ามารถนาไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรม อนุรกั ษ์ศิลปวัฒนธรรมในท้องถิ่น ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ รู้คุณค่า ตระหนักใน ความสาคัญของภาษาไทยซึ่งเป็นวฒั นธรรมและมรดกของชาติ รหัสตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวมท้ังหมด ๓๓ ตัวชีว้ ดั รหสั วิชา ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง ฝกึ ทักษะตามกระบวนการทางภาษา การอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูด โดยอ่านออกเสียงร้อยแก้วและ บทร้อยกรองได้ถูกต้อง อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็นโวหาร อ่านเร่ือง ส้ัน ๆ อย่างหลากหลายโดยจับเวลาแล้วถามเกี่ยวกับเร่ืองที่อ่าน อธิบายการนาความรู้และความคิดจากเร่ืองที่ อ่านไปตัดสินใจแก้ปัญหาในการดาเนินชีวิต อ่านงานเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม อธิบาย ความหมายของข้อมูลจากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิและกราฟ อ่านหนังสือตามความสนใจและ อธิบายคุณค่าที่ได้รับ มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร โดยใช้คาได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางาน
41 เขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเร่อื งที่อ่าน เขียนจดหมายส่วนตัว กรอกแบบรายงานต่าง ๆ เขียน เรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์ มีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความรู้ความเข้าใจ จุดประสงค์ของ เรื่องทีฟ่ ังและดู ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องทีฟ่ ังและดู วิเคราะห์ความน่าเชือ่ ถือจากการ ฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรอื ประเด็นที่ศึกษาค้นคว้า จากการฟัง การดูและการ สนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตผุ ลและน่าเช่ือถือ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด วิเคราะห์ชนิดและ หน้าที่ของคาในประโยค ใช้คาได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของคา ภาษาต่างประเทศ ที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์และเปรียบเทียบ สานวนที่เป็นคาพังเพย และสุภาษิต เล่านิทานพื้นบ้าน ศลิ ปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นของตนเอง นิทาน พื้นบ้านของท้องถิ่นอื่นได้ อธิบายคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้องกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ เพื่อให้มีทักษะในการใช้ ภาษาไทย เห็นคุณค่า ตระหนักในความสาคัญทางภาษาของวรรณกรรมไทยซึ่งเป็นวัฒนธรรมและมรดก ของชาติ รหสั ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมทงั้ หมด ๓๔ ตวั ชีว้ ัด
42 คาอธบิ ายรายวชิ า กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการคิดคานวณ และฝกึ ทกั ษะการแก้ปญั หาในสาระต่อไปนี้ จานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ การบอกจานวน การอ่านและการเขียนตัวเลขแสดงจานวน การนบั เพิ่มและนบั ลดทีละ ๑ และทีละ ๑๐ การแสดงจานวนนับไม่เกิน ๒๐ ในรูปความสัมพันธ์ของจานวน แบบส่วนย่อย - ส่วนรวม (part - whole relationship) การบอกอันดับที่ การเขียนในรูปกระจาย การ เปรียบเทียบจานวน การใชเ้ ครื่องหมาย = ≠ > < การเรียงลาดับจานวน การบวก การลบ จานวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ ความหมายของการบวก ความหมายของการ ลบ การหาผลบวก การหาผลลบและความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปญั หาการลบ และการสรา้ งโจทย์ปัญหาพรอ้ มทั้งหาคาตอบ
43 แบบรูป แบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ และทีละ ๑๐ แบบรูปซ้าของจานวน รูป เรขาคณติ และรปู อื่น ๆ ความยาว การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การเปรียบเทียบความยาวเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบ เกีย่ วกับความยาวที่มหี นว่ ยเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร น้าหนัก การวัดน้าหนักโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การวัดน้าหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การเปรียบเทียบน้าหนักเป็นกิโลกรัม เป็นขีด การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบเกี่ยวกับน้าหนักที่มี หนว่ ยเปน็ กิโลกรัม เปน็ ขีด รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ ลักษณะของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย ลักษณะของรูปสามเหลย่ี ม รปู สีเ่ หลย่ี ม วงกลม และวงรี การนาเสนอข้อมูล การอ่านแผนภูมิรูปภาพ การอ่านแผนภูมิเกี่ยวกับข้อมูลในโรงเรียนและ ข้อมูล ในท้องถิ่น โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม รู้จักใช้วธิ ีการทีห่ ลากหลายในการแก้ปัญหา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง สร้างสรรค์ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อม่ันในตนเอง สามารถทางานอย่าง เปน็ ระบบ รวมทั้งเห็นคณุ ค่าและมีเจตคติที่ดีตอ่ คณิตศาสตร์ ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓,ป.๑/๔,ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวม ๑๐ ตวั ชีว้ ดั
44 ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง ศกึ ษา ฝกึ ทักษะการคิดคานวณ และฝกึ ทกั ษะการแก้ปญั หาในสาระต่อไปนี้ จานวนนับท่ีไม่เกินหนึ่งพัน และศูนย์ การนับทีละ ๒ ทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ การบอก การอา่ นและเขียน ตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนงั สอื แสดงจานวน จานวนคู่ จานวนคี่ หลักและ ค่าของตวั เลขโดดในแตล่ ะหลัก การเขียนในรปู กระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวน
45 การบวก การลบ การคูณ การหาร และโจทย์ปัญหา การบวกและการลบ ความหมายของการ คณู การหาร การหาผลคูณ ผลหารและเศษ และความสัมพันธ์ของการคูณและการหาร การบวก ลบ คูณ หารระคน การแก้โจทย์ปัญหา และการสรา้ งโจทย์ปญั หาพรอ้ มทั้งหาคาตอบ แบบรูป โดยการบอกจานวนในแบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นและลดลง ทีละ ๒ ทีละ ๕ และ ทีละ ๑๐๐ และแบบรูปซ้าของจานวน รปู เรขาคณิต และรูปอื่น ๆ การบอกเวลา การวัดความยาว น้าหนัก ปรมิ าตรและความจุ บอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที (ช่วง ๕ นาที) การบอกและการเปรียบเทียบระยะเวลาเป็นชั่วโมง เป็นนาที การอ่านปฏิทิน การวัดความ ยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร การวัดน้าหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด การวัดปริมาตรและ ความจุโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน เป็นช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวง ลิตร การคาดคะเนของการวัด ความยาว และการวัดน้าหนัก การเปรียบเทียบโดยใช้ความสัมพันธ์ของการวัดความยาว การวัดน้าหนัก และการวัดปริมาตรและความจุ การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา การวัดความยาว น้าหนัก ปริมาตรและ ความจุ รูปเรขาคณิตสองมิติ โดยการบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติ รูปหลายเหลี่ยม รูปวงกลม รูป วงรี และเขียนรปู เรขาคณติ สองมติ ิ โดยใช้แบบของรปู การนาเสนอข้อมลู การอา่ นแผนภมู ิรปู ภาพ จานวนครแู ละนกั เรียนในโรงเรยี น โดยใช้ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม รจู้ ัก ใช้วธิ ีการที่หลากหลายในการแก้ปญั หา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่าง สร้างสรรค์ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชือ่ ม่ันในตนเอง สามารถทางานอย่าง เปน็ ระบบ รวมท้ังเหน็ คณุ ค่าและมีเจตคติทีด่ ีตอ่ คณิตศาสตร์ ตวั ชีว้ ดั ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ , ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๑๖ ตวั ชี้วัด
46 คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค สัญลักษณ์แสดงการบวก การลบของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณของจานวน ๑ หลักกับจานวนไม่เกิน ๔ หลัก และจานวน ๒ หลักกับ จานวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวต้ังไม่เกิน ๔ หลัก
47 ตัวหาร ๑ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธี หาคาตอบของโจทย์ปญั หา ๒ ขั้นตอน ของจานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนที่กาหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากันโดยที่ที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาผลบวกของเศษส่วนที่มี ตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน แสดงวิธีหาคาตอบของ โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนทีม่ ีตวั ส่วนเท่ากัน และผลบวกไม่เกิน๑ และโจทย์ปญั หาการลบเศษส่วนทีม่ ีตัว ส่วนเท่ากัน ระบุจานวนที่หายไปในแบบรูปของ จานวนที่เพิ่มขึน้ หรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน เลือกใช้เครอ่ื งมือวัด ความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งต่าง ๆเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตร และ เซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหว่างเซนติเมตรกับ มิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เคร่ืองช่ังที่เหมาะสม วัด และบอกน้าหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้าหนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันเป็นกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ ระบุรูป เรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรปู ภาพ ในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็นจานวนนับ และใช้ข้อมูลจาก ตารางทางเดียวในการหาคาตอบของโจทย์ปัญหา แสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวเงนิ ของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา ระยะเวลา ความยาว ที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร และแสดงวิธีหาคาตอบ ของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกับน้าหนกั ทีม่ หี นว่ ยเป็นกิโลกรัมกบั กรมั เมตริกตันกับกิโลกรัม ตัวชีว้ ัด ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖,ป.๓/๗,ป.๓/๘,ป.๓/๙,ป.๓/๑๐,ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒,ป.๓/๓,ป.๓/๔,ป.๓/๕,ป.๓/๖,ป.๓/๗,ป.๓/๘,ป.๓/๙,ป.๓/๑๐,ป.๓/ ๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๒ รวม ๒๘ ตัวชีว้ ดั
48 ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๔ กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๑๖๐ ชัว่ โมง จานวนนับ อ่าน และเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แทนจานวนนับ หลักและค่าของตัวเลข โดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปการกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลาดับ จานวน ค่าประมาณ ค่าประมาณของจานวนนับ และการใชเ้ ครือ่ งหมาย ≈
49 การบวก การลบ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่างๆอย่าง สมเหตุสมผล การบวก การลบ จานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ การคูณจานวนหลายหลัก ๒ จานวนที่มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก การหารที่ตัวตั้งเกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก การแก้โจทย์ปัญหา และการสรา้ งโจทย์ปญั หา พร้อมทั้งหาคาตอบโดยวิธีการบวก ลบ คณู หาร เศษส่วน และการบวกลบเศษสว่ น อ่าน และเขียนเศษส่วนแท้ เศษเกิน จานวนคละ ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนคละและเศษเกิน เศษส่วนที่เท่ากัน เศษส่วนอย่างต่า และเศษส่วนที่เท่ากับจานวนนับ การเปรียบเทียบและเรียงลาดับ เศษส่วนและจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง การบวกการลบเศษส่วนจานวนคละ และแสดงวิธีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ และจานวนคละที่ตัวส่วนตัวหนึ่งเป็นพหุคูณของ อีกตวั หนึ่ง ทศนิยม อ่าน และเขียนทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง หลักค่าประจาหลัก และค่าของเลขโดดในแต่ละหลักของ ทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง การเขียนทศนิยมในรูปกระจายทศนิยมที่เท่ากัน การเปรียบเทียบและ เรียงลาดับทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง การบวกทศนิยม การลบทศนิยม และโจทย์ปัญหาการบวก การลบ ทศนยิ ม ไม่เกิน ๓ ตาแหน่ง และไม่เกิน ๒ ข้ันตอน แบบรปู แบบรปู ของจานวนทีเ่ กิดจากการคณู การหารด้วยจานวนเดียวกนั เวลา การบอกระยะเวลาเป็นวินาที นาที ช่ัวโมง วัน สัปดาห์ เดือน ปี การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสมั พันธ์ระหว่างหน่วยเวลา การอา่ นตารางเวลา และการแก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับเวลา การวดั และการสรา้ งมมุ การวดั ขนาดของมุดโดยใช้โพรแทรกเตอร์ และการสร้างมุมเมอ่ื กาหนดขนาดของมุม รูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก ความยาวรอบรูป และโจทย์ปญั หาของความยาวรอบรูปของรปู สีเ่ หลี่ยม มุมฉาก การหาพืน้ ทีแ่ ละ โจทย์ปญั หา การหาพืน้ ของรูปสี่เหลย่ี มมุมฉาก รูปเรขาคณติ ระนาบ จุด เส้นตรง รงั สี ส่วนของเส้นตรงและสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง และรังสี ส่วนของเส้นตรง มุม(ส่วนประกอบของมมุ การเรียกช่ือมุม สญั ลักษณ์แสดงมุม ชนิดของมุม) ชนิดและสมบตั ิของรูปสี่เหล่ยี ม มุมฉาก และการสร้างรูปสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก
50 การนาเสนอข้อมลู การอา่ นและการเขียนแผนภูมแิ ท่ง (ไม่รวมการย่นระยะ) การอ่านตารางสองทาง (two-way table) ในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา รหสั ตวั ชี้วดั ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓,ป.๔/๔,ป.๔/๕,ป.๔/๖,ป.๔/๗,ป.๔/๘,ป.๔/๙,ป.๔/๑๐,ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒,ป.๔/๑๓,ป.๔/๑๔,ป.๔/๑๕,ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒,ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวมท้งั หมด ๒๒ ตวั ชี้วดั ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ทศนิยม บอกความสัมพันธ์ระหว่างเศษส่วนและทศนิยม ค่าประมาณของทศนิยมไม่เกิน ๓ ตาแหน่งที่เป็น จานวนเตม็ ทศนยิ ม ๑ ตาแหน่ง และ ๒ ตาแหน่ง การใชเ้ ครื่องหมาย ≈ จานวนนบั และ ๐ การบวก การลบ
51 แก้โจทย์ปญั หาโดยใช้บทบญั ญตั ิไตรยางศไ์ ด้ การบวก การลบ การประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหาร จากสถานการณ์ต่างๆอย่าง สมเหตุสมผล การบวก การลบ จานวนนับที่มากกว่า ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ การคูณจานวนหลายหลัก ๒ จานวนที่มีผลคูณไม่เกิน ๖ หลัก การหารที่ตัวต้ังเกิน ๖ หลัก ตัวหารไม่เกิน ๒ หลัก การแก้โจทย์ปัญหา และการสรา้ งโจทย์ปญั หา พร้อมทั้งหาคาตอบโดยวิธีการบวก ลบ คูณ หาร เศษสว่ น และการบวก การลบ การคูณ และการหาร เปรียบเทียบเศษส่วนและจานวนคละ บวก ลบ คณู หาร เศษส่วนและจานวนคละได้ การแก้โจทย์ ปัญหาเศษส่วนและจานวนนบั การคูณและการหารทศนิยม ประมาณผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม คณู และหารทศนิยมพร้อมท้ังแก้ โจทย์ปัญหาเกีย่ วกับทศนยิ มได้ รอ้ ยละหรอื เปอรเ์ ซ็นต์ อ่านและเขียนร้อยละหรอื เปอร์เซ็นต์ และการแก้โจทย์ปญั หารอ้ ยละ ความยาว บอกความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาวเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตร กับเมตร โดยใช้ความรู้เร่ืองทศนิยม พร้อมท้ังแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวโดยใช้ความรู้เร่ืองการ เปลีย่ นหนว่ ยและทศนิยมได้ น้าหนกั บอกความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยความยาวกิโลกรัมกับกรัม โดยใช้ความรู้เรื่องทศนิยม พร้อมทั้ง แก้โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับน้าหนักโดยใช้ความรเู้ รื่องการเปลีย่ นหนว่ ยและทศนิยมได้ ปริมาตรและความจุ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก บอกความสัมพันธ์ ระหว่างมิลลิลิตร ลิตร ลูกบาศก์เซนติเมตรและลูกบาศก์เมตร พร้อมท้ังแก้ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของ ทรงส่เี หลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรงส่เี หลีย่ มมุมฉาก รปู เรขาคณิต เส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการต้ังฉาก เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน การสร้าง เส้นขนาน มมุ แย้ง มุมภายใน และมมุ ภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตดั ขวาง รปู เรขาคณิตสองมิติ
52 ความยาวรอบรูปของสี่เหลี่ยม พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน และ แก้ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปของรูปสีเ่ หลี่ยมและพ้ืนที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนม เปียกปูน บอกชนิดและสมบตั ิของรูปสี่เหล่ยี ม สรา้ งรูปสี่เหลีย่ มได้ รูปเรขาคณิตสามมิติ บอกลักษณะและส่วนตา่ งๆของปริซึม การนาเสนอข้อมลู การอา่ นและการเขียนแผนภมู ิแท่ง การอา่ นกราฟเส้น รหัสตวั ชีว้ ดั ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ,ป.๕/๔ ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ,ป.๕/๔ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวชีว้ ัด ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ คาอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง เศษสว่ น การเปรียบเทียบและเรียงลาดับเศษส่วน และจานวนคละโดยใช้ความรู้เรอ่ื ง ค.ร.น.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292