Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการดำเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2562

รายงานการดำเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2562

Published by mediaksn586, 2020-06-24 23:58:15

Description: รายงานการดำเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2562

Search

Read the Text Version

รายงานการดาเนินงานการประเมินระดบั การรู้หนงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562 สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ Aรายงานการดำ�เนินงานการประเมินระดับการรูห้ นงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ปีงบประมาณ 2562

เอกสารทางวิชาการลําดับท่ี 9/62 ช่ือหนังสือ : รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การรู้หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปงี บประมาณ 2562 พิมพค รัง้ ท่ี 1 : เมษายน 2562 จาํ นวนพิมพ : จํานวน เลม จดั พมิ พแ ละเผยแพร  : กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น สาํ นกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร โทรศพั ท 0 2282 2853, 0 2282 1859 โทรสาร 0 2281 3723 เวบ็ ไซต : http://www.nfe.go.th/0405 พิมพที่ : รังษกี ารพิมพ 44 ถนนบูรณศาสตร หลงั ศาลเจาพอ เสอื เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 โทร. 0 2224 1648-9 โทรสาร 0 2622 1395 B รายงานการดำ�เนินงานการประเมินระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

คานา ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการส่งเสริมการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือการแก้ไขปัญหา อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ซ่ึงถือว่าเป็นพ้ืนฐานของการปฏิรูปทั้งระยะเร่งด่วน ระยะปานกลาง และระยะยาว โดย คานึงถึงอนาคตของเยาวชนซึ่งก็คือลูกหลานของเราให้มีชีวิตท่ีสดใส และสามารถแข่งขันกับนานาประเทศได้ ดงั นัน้ สานักงาน กศน. เปน็ หน่วยงานหน่ึงทด่ี าเนินการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมีบทบาทในการจัดการศึกษา นอกระบบท่มี ีรปู แบบการจดั กจิ กรรมการศกึ ษา ที่มีกลุ่มเปา้ หมายผรู้ บั บรกิ ารและวตั ถุประสงค์ของการเรยี นรู้ที่ ชัดเจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัดและระยะเวลาเรียนหรือฝึกอบรมที่ยืดหยุ่น และหลากหลายตามสภาพ ความต้องการและศักยภาพในการเรยี นรขู้ องกลุ่มเป้าหมาย สานักงาน กศน. ได้ดาเนินการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ในการอ่านออก- เขียนได้ด้านภาษาไทย ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 และจัดทารายงานการดาเนินการ ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือรายงานผลการ ดาเนินงาน สภาพ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะ สาหรับปรับปรุงและพัฒนาการดาเนินงานประเมินระดับ การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ให้มปี ระสิทธิภาพ โดยนาผลไปปรับปรุงและพัฒนาการ จดั กระบวนการเรียนรูก้ ารอ่านออก-เขียนได้ดา้ นภาษาไทยของนักศึกษา กศน. ให้มีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป ในการน้ี ขอขอบคุณทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการดาเนินการประเมินระดับ การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) จนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และหวังว่าเอกสารเล่มนี้ จะมีประโยชนส์ าหรับการนาไปใช้เป็นแนวทางการดาเนินงานตอ่ ไป สานกั งาน กศน. พฤศจิกายน 2562 Cกรายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การร้หู นังสือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

D รายงานการดำ�เนินงานการประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

บทสรปุ ผู้บริหาร รายงานการดาเนินการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) สานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) จัดทาโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อรายงานผลการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) 2) เพื่อทราบสภาพ ปัญหาและอุปสรรคการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) และ 3) เพือ่ ให้ขอ้ เสนอแนะสาหรับปรบั ปรุงและพฒั นาการดาเนินงานประเมินระดับการรู้ หนังสือของนักศึกษา กศน. ให้มีประสิทธิภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการประเมิน นักศึกษาหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ 1) นักศึกษาใหม่ท่ีขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนเรียน 2) นักศึกษาท่ีเข้ารับการ ประเมินแล้ว แต่ไม่ผ่าน และ 3) นักศึกษาท่ียังไม่เข้ารับการประเมิน สาหรับเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินระดับการรหู้ นังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) 2) ระบบบันทึกผล การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. 3) แบบนิเทศ ติดตามการประเมินระดับการรู้หนังสือของ นักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) และ 4) ประเด็นการสนทนากลุ่ม การเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนินการ ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) 1) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ระหว่างวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2561 – 31 มกราคม 2562 และ 2) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ระหว่างวันท่ี 16 มิถุนายน 2562 – 31 สิงหาคม 2562 3) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากศึกษานิเทศก์ที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น ผู้รวบรวมข้อมูลตามแบบการนิเทศ ติดตาม การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออก เขยี นได)้ 4) การสนทนากลุ่ม เป็นการสัมภาษณ์ขอ้ มูลเพิ่มเติมจากผู้แทนสานักงาน กศน. สานักงาน กศน.จังหวัด กศน.อาเภอ ครอู าสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล และผเู้ กย่ี วขอ้ ง 1. ผลการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2562 1.1 ระดับประถมศึกษา มีผู้ผ่านเกณ ฑ์และไม่ผ่านเกณ ฑ์การประเมินการอ่าน ในปีงบประมาณ 2562 มีนักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษาเข้ารับการประเมินการอ่าน จานวน 25,620 คน ผ่านเกณฑ์ประเมิน จานวน 23,169 คน คิดเป็นร้อยละ 90.43 และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 2,451 คน คดิ เป็นร้อยละ 9.57 เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า ภาคที่มีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือ ภาคกลาง จานวน 3,306 คน คิดเป็นร้อยละ 94.67 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร จานวน 2,645 คน คิดเป็นร้อยละ 94.13 ส่วนภาคเหนือ มีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินน้อยท่ีสุด จานวน 6,029 คน คิดเป็นร้อย ละ 85.79 สาหรับผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือ ภาคเหนือ จานวน 999 คน คิดเป็นร้อยละ 14.21 รองลงมา คือ ภาคใต้ จานวน 426 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 11.57 สว่ นภาคกลาง มผี ู้ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินน้อย ท่ีสุด จานวน 186 คน คิดเป็นร้อยละ 5.33 ขEรายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได)้ ปงี บประมาณ 2562

มีผู้ผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินการเขียน ในปีงบประมาณ 2562 มีนักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษาเข้ารับการประเมินการเขียน จานวน 25,620 คน ผ่านเกณฑ์ประเมิน จานวน 22,854 คน คิดเปน็ ร้อยละ 89.20 และไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จานวน 2,766 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.80 เมื่อพจิ ารณาเป็นรายภาค พบว่า ภาคที่มผี ผู้ ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือ ภาคตะวันออก และ กทม. จานวน 2,629 คน คิดเป็นร้อยละ 93.56 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 7,925 คน คิดเป็นร้อยละ 92.05 ส่วนภาคเหนือ มีผู้ผ่านการประเมินน้อยที่สุด จานวน 5,871 คน คิดเป็น ร้อยละ 83.54 สาหรับผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือภาคเหนือ จานวน 1,157 คน คิดเป็นร้อยละ 16.46 รองลงมา คือ ภาคใต้ จานวน 465 คน คิดเป็นร้อยละ 12.63 ส่วนภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร มีผู้ไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมนิ น้อยท่ีสดุ จานวน 181 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.44 1.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีผู้ผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินการอ่านใน ปีงบประมาณ 2562 มีนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเข้ารับการประเมิน การอ่าน จานวน 158,039 คน ผ่านเกณฑ์ประเมิน จานวน 154,291 คน คิดเป็นร้อยละ 97.63 และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 3,748 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.37 เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า ภาคท่ีมีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินมากท่ีสุด คือ ภาคกลาง จานวน 25,487 คน คิดเป็นร้อยละ 98.22 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 59,908 คน คิดเป็นร้อยละ 98.05 ส่วนภาคเหนือมีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินน้อยท่ีสุด จานวน 23,758 คน คิดเป็นร้อยละ 96.37 สาหรับผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือ ภาคเหนือ จานวน 894 คน คิดเป็นร้อยละ 3.63 รองลงมาคือ ภาคใต้ จานวน 758 คน คิดเป็นร้อยละ 2.96 ส่วนภาคกลาง มีผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน น้อยทสี่ ดุ จานวน 463 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.78 มีผู้ผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินการเขียน ในปีงบประมาณ 2562 มีนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเข้ารับการประเมินการเขียน จานวน 158,038 คน ผ่านเกณฑ์ประเมิน จานวน 152,248 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 96.34 และไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ จานวน 5,790 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.66 เม่ือพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า ภาคที่มีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินมากท่ีสุด คือ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 59,556 คน คิดเป็นร้อยละ 97.48 รองลงมา คือ ภาคกลาง จานวน 25,112 คน คิดเป็นร้อยละ 96.77 ส่วนภาคเหนือมีผู้ผ่านการประเมินน้อยที่สุด จานวน 23,339 คน คิดเป็นร้อยละ 94.67 สาหรับผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือ ภาคเหนือ จานวน 1,313 คน คิดเป็นร้อยละ 5.33 รองลงมา คอื ภาคใต้ จานวน 1,237 คน คิดเป็นร้อยละ 4.82 ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด จานวน 1,542 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.52 1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีผู้ผ่านเกณฑ์และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินการ ในปีงบประมาณ 2562 มีนักศึกษา กศน. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้ารับการประเมินการอ่าน จานวน 208,583 คน ผ่านเกณฑ์ประเมิน จานวน 205,893 คน คิดเป็นร้อยละ 98.71 และไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 2,690 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.29 คF รายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

เมื่อพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า ภาคที่มีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินมากท่ีสุด คือ ภาคกลาง จานวน 34,937 คน คิดเป็นร้อยละ 99.24 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 82,079 คน คิดเป็นร้อยละ 98.91 ส่วนภาคเหนือมีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินน้อยที่สุด จานวน 34,064 คน คิดเป็นร้อยละ 97.87 สาหรับผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือ ภาคเหนือ จานวน 741 คน คิดเป็นร้อยละ 2.13 รองลงมา คือ ภาคใต้ จานวน 427 คน คิดเป็นร้อยละ 1.55 ส่วนภาคกลางมีผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด จานวน 267 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.76 ในปีงบประมาณ 2562 มนี ักศกึ ษา กศน. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายเข้ารับการประเมินการ เขียน จานวน 208,583 คน ผ่านเกณฑ์ประเมนิ จานวน 204,335 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 97.96 และไม่ผ่านเกณฑ์ การประเมนิ จานวน 4,248 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.04 เม่ือพิจารณาเป็นรายภาค พบว่า ภาคท่ีมีผู้ผ่านเกณฑ์การประเมินมากที่สุด คือ ภาคกลาง จานวน 34,721 คน คิดเป็นร้อยละ 98.63 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 81,778 คน คิด เป็นร้อยละ 98.55 ส่วนภาคเหนือ มีผู้ผ่านการประเมินน้อยที่สุด จานวน 33,576 คน คิดเป็นร้อยละ 96.47 สาหรับผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินมากท่ีสุด คือภาคเหนือ จานวน 1,229 คน คิดเป็นร้อยละ 3.53 รองลงมา คือ ภาคตะวันออกและ กทม. จานวน 673 คน คิดเป็นร้อยละ 2.41 ส่วนภาคกลางมีผู้ไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมินน้อยทส่ี ุด จานวน 483 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.37 2. สภาพ ปญั หาและอุปสรรคการดาเนินงานการประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) 2.1 การสนทนากลุ่ม (Focus Group) สภาพท่ีพบ 1. การดาเนินงาน จากการสนทนากลุ่ม ซ่ึงประกอบด้วยผู้แทนจากสานักงาน กศน. สานักงาน กศน.จังหวัด กศน.อาเภอ ครูอาสาสมัครฯ ครู กศน.ตาบล และผู้เกยี่ วข้อง พบวา่ สภาพการดาเนินงานประเมิน ระดบั การรหู้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ รายละเอยี ด ดงั น้ี 1.1 สานกั งาน กศน. สานักงาน กศน. โดยกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยมอบนโยบายและส่ังการให้สานักงาน กศน. กทม./จังหวดั ดาเนินการ ตามคู่มือการประเมนิ ระดับ การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561 โดยสามารถดาวน์โหลด คู่มือและเครื่องมือประเมิน ได้ที่ www.nfe.go.th/pattana สานักงาน กศน. โดยกลุ่มพัฒนาการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มแผนงาน และสานักงาน กศน.จังหวัดนครราชสีมา นายนิกร เกษโกมล ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ ร่วมกันออกแบบ สร้าง พัฒนา ทดลอง ตรวจสอบความถูกต้องและปรับปรุง Gงรายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมินระดบั การรหู้ นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

แก้ไขระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) “ผ่านระบบ ออนไลน์” เพือ่ อานวยความสะดวกในการเขา้ ใช้ระบบ 1.2 สานกั งาน กศน. กทม./จังหวัด สานักงาน กศน. กทม./จงั หวดั ดาเนนิ การตามขอ้ สัง่ การแตง่ ตงั้ คณะทางาน ระดับจังหวัด มอบหมายให้สถานศึกษา กศน.เขต/ อาเภอดาเนินงานท้ังในรูปแบบการประชุมชี้แจง การนา เข้าวาระการประชุมประจาเดือนผู้บริหารและหนังสือส่ังการให้ กศน.เขต/อาเภอ จัดให้มีการประเมินระดับ การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. เป็นภาคเรียน ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้แก่ ภาคเรียนที่ 2 ปี การศกึ ษา 2561 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ให้จัดเตรยี มแบบประเมิน และดาเนินการตามคู่มือการ ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษ า กศน. ทั้งน้ีให้ดาวน์โหลดคู่มือและแบบประเมินได้จาก www.nfe.go.th/pattana ของกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยสานักงาน กศน.กทม./จงั หวดั มีการกากับตดิ ตาม เป็นระยะ 1.3 สถานศึกษา กศน.เขต/อาเภอ 1.3.1 สถานศึกษา กศน.เขต/อาเภอดาวน์โหลดคู่มือการดาเนินงานการ ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. แต่งตั้งคณะทางานระดับอาเภอ ศึกษาคู่มือกรอบแนวคิดการ ดาเนินงาน จดั ประชุมชี้แจงการดาเนินงานแกค่ ณะครูในสังกัด มอบหมายภารกิจให้บุคลากรดาเนินการสารวจ ข้อมูลนักศึกษาท่ียงั ประเมนิ ไม่ผ่าน นกั ศกึ ษาท่ียังไมเ่ ข้ารบั การประเมิน และตรวจสอบจานวนนักศึกษาใหม่ใน แต่ละภาคเรียนจากฐานข้อมูลระบบ IT เพ่ือจัดทาแบบประเมินตามจานวนนักศึกษาที่ต้องเข้ารับการประเมิน ระดบั การรหู้ นังสือ 1.3.2 เครื่องมือประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออก เขียนได้) เม่ือครูจะนาเคร่ืองมือดังกล่าวไปทาการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ินักศึกษา กศน. พบว่า เครื่องมือมีความเหมาะสม 1.3.3 เคร่ืองมือประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. พบว่า มีการ จัดทาเป็นลักษณะงานวิจัย มีเน้ือหาท่ีเหมาะสมทาให้ทราบความรู้พื้นฐานของเมื่อนักศึกษาแต่ละคน และบาง แหง่ มนี กั ศกึ ษาระดับประถมศึกษาสว่ นใหญ่เปน็ ชาวไทยภูเขา ทาใหส้ ามารถช่วยเสรมิ ในเร่ืองภาษาไทยได้ 1.3.4 เคร่ืองมือประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. มีความ คดิ เห็น แบ่งเปน็ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ควรเรียงความยากตามระดับช้ัน พบว่า ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ยากกว่าระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย กลุ่มท่ี 2 ความยากง่ายตรงตามระดับการศึกษา ไม่พบปัญหาในการประเมิน เน่ืองจากนักศึกษา กศน. ส่วนใหญ่ที่ประเมินผ่าน เปน็ นกั ศกึ ษาทอ่ี อกมาจากในระบบ ท้ังน้ี สถานศึกษาแต่ละแห่งมีการดาเนินการประเมินระดับการรู้หนังสือของ นกั ศึกษา กศน. ที่แตกตา่ งกนั ออกไปตามสภาพบริบทของพ้ืนที่และนักศึกษาท่ีเข้ารับการประเมิน ดังน้ี Hจ รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปงี บประมาณ 2562

1) สถานศึกษาจัดให้มีการประเมินพร้อมกันในวันปฐมนิเทศ หรือกาหนด วนั เวลา และสถานท่ปี ระเมินเสมือนการจัดดาเนินการสอบท่วั ไป 2) ครูอาสาสมัครฯ /ครู กศน.ตาบล/ครู ศรช. ดาเนินการประเมินนักศึกษา ในกลุ่มของตนเอง โดยใชส้ ถานที่พบกลุม่ หรือ กศน. ตาบล 3) ประเมินเป็นรายบุคคล ในวันที่สมัครข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษา และ ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนน้ัน ๆ นอกจากน้ีการประเมินรายบุคคลยังรวมถึงนักศึกษาท่ีไม่ได้เข้ารับ การประเมินตามข้อ 1) และ ข้อ 2) ส่วนนักศึกษาที่ประเมินรอบแรกไม่ผ่านและได้รับการพัฒนาเพ่ือประเมิน ซ้า ท้ังนี้ ควรดาเนินการประเมินซ้า ก่อนปิดระบบบันทึกผลการประเมิน หากระบบบันทึกผลการประเมินปิด แล้ว จะประเมนิ ซา้ และบันทกึ ผลการประเมนิ ในภาคเรยี นถัดไป หลังจากการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษาในแต่ละภาคเรียนแล้ว ครูอาสาสมัครฯ /ครู กศน. ตาบล/ครู ศรช. นาผลการประเมินมาจาแนกกลุ่มผู้เรียน เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องและพัฒนาการอ่าน–การเขียนภาษาไทย สาหรับสถานศึกษาและสานักงาน กศน. จังหวัด บางแห่งส่งเสริมสนับสนุนให้คาปรึกษาในการวิเคราะห์ผลการประเมินและนาผลการประเมินมาวา งแผน พฒั นาการจดั กจิ กรรมการสอนเสริม การทาแบบฝึกการอ่าน–การเขียน เพ่มิ เติมตอ่ ไป 2. แบบนิเทศ ตดิ ตาม การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. จากการสนทนากลุ่ม พบว่า สถานศึกษาดาวน์โหลดเคร่ืองมือประเมินจาก www.nfe.go.th/pattana ของกลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย นามาจัดพิมพ์ สาเนาเพ่ือใช้ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. โดยสถานศึกษาส่วนใหญ่ใช้เครื่องมือประเมินท่ี ดาวน์โหลดมาเป็นต้นฉบับ สถานศึกษาบางแห่งนาเคร่ืองมือประเมินมาศึกษาวิเคราะห์และปรับแบบประเมิน ให้เข้ากับบริบทของสถานศึกษาและกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการประเมิน สาหรับการจัดทาสาเนาเคร่ืองมือ ประเมิน พบวา่ สานกั งาน กศน.จงั หวัดและสถานศกึ ษาบางแหง่ จดั ทาให้ แต่พบวา่ บางแหง่ ครูดาเนินการเอง นอกจากนยี้ ังพบวา่ 2.1 การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ของสถานศกึ ษามีนักศึกษาทยอยเขา้ รบั การประเมิน ครูท่ดี าเนินการประเมนิ จะสลับกันประเมนิ นกั ศึกษา กศน. 2.2 เครื่องมือประเมนิ การเขยี นตามคาบอกของครู มคี าศพั ท์บางคาที่การอ่านออก เสียงกับ การเขียนไม่เหมือนกัน เป็นคาที่มีอักษรนาท่ีไม่ออกเสียงในการอ่าน เช่น เขียน “ตารับ” อ่าน “ตาหรับ” ทาให้ครูเกิด ความสับสนในการตรวจให้คะแนน เป็นต้น และเคร่ืองมือประเมินระดับประถมศึกษา มีความยากสาหรับนกั ศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษาทสี่ งู วยั 3. การนเิ ทศ การดาเนินการนิเทศ มรี ายละเอียด ดงั น้ี 3.1 สานกั งาน กศน. การนเิ ทศของสานักงาน กศน. ดาเนนิ การโดยคณะทางานการดาเนินการประเมิน ระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. โดยกลุ่มพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ทา ฉIรายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

หน้าที่เลขานุการคณะทางาน สว่ นใหญ่เปน็ การนเิ ทศในภาพรวมผา่ นเอกสารการรายงาน แบบนิเทศ ผลการ ประเมินท่สี ถานศึกษา กศน. บนั ทึกข้อมลู ผา่ นระบบ และการส่มุ ติดตามเป็นบางจงั หวดั 3.2 สานกั งาน กศน.จงั หวดั การนิเทศของสานักงาน กศน.จังหวัด พบว่า ดาเนินการ แบ่งเป็น 2 วิธีด้วยกัน วิธีท่ี 1 นิเทศโดยคณะทางานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ระดับจังหวัด ท่ีได้รับการ แต่งต้ังซ่ึงการนิเทศลักษณะน้ีเป็นการนิเทศโดยเฉพาะเจาะจง นิเทศเฉพาะการประเมินระดับการรู้หนังสือของ นักศึกษา กศน. ตามแผนการประเมินของสถานศึกษาท่ีจัดส่งให้สานักงาน กศน.จังหวัด บางแห่งดาเนินการ นิเทศเป็นคณะ บางแห่งนิเทศโดยผู้บริหารหรือศึกษานิเทศก์ วิธีที่ 2 นิเทศโดยคณะกรรมการนิเทศภายใน ระดับจังหวัด ส่วนใหญ่เป็นการนิเทศติดตามผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยในภาพรวมของสถานศึกษา ซึ่งบางครั้งตรงกับการประเมินระดับการรู้หนังสือของ นักศกึ ษา กศน. 3.3 สถานศึกษา การนิเทศของสถานศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่เป็นการนิเทศโดยคณะกรรมการนิเทศ ภายใน ระดับอาเภอ บางแห่งภาคีเครือข่าย ร่วมเป็นคณะกรรมการนิเทศ และบางแห่งผู้บริหารสถานศึกษา นิเทศ หรือมอบหมายให้ข้าราชการครู ครูอาสาสมัครฯ ดาเนินการนิเทศกรณีการประเมินเป็นรายตาบล ส่วน ใหญ่การนเิ ทศระดบั สถานศกึ ษาสามารถดาเนนิ การได้ครบ 4. ปัญหา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ 1. ดา้ นการดาเนนิ งาน จากการสนทนากลมุ่ การดาเนนิ งานการประเมินระดับรู้หนังสือของนักศกึ ษา กศน. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 พบปัญหา อปุ สรรค การดาเนนิ งาน ดงั นี้ 1.1 สานักงาน กศน. 1.1.1 การดาเนินการของสานักงาน กศน. พบว่า ให้ความสาคัญกับการ ดาเนินการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ค่อนข้างน้อย มีปัญหาด้านการบริหารจัดการ ด้าน การนิเทศติดตามผล ด้านการจัดสรรงบประมาณ ทาให้ไม่สามารถจัดประชุมชี้แจงการดาเนินงานในระดับประเทศ ระดับภาค หรือกลุ่มจังหวัดได้ และพบว่า กลุ่มงานระดับสานักที่รับผิดชอบ แก้ปัญหาโดยการประสานงานภายใน และภายนอกด้านงบประมาณ จากกลุ่มแผนงาน ด้านข้อมูลจากหน่วยศึกษานิเทศก์ เพื่อให้สามารถดาเนินงานให้ เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ งานการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนักศกึ ษา กศน. ข้อเสนอแนะ 1) หน่วยงานที่รับผิดชอบควรทราบบทบาทภารกิจการดาเนินงานการ ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. โดยนาเสนอเข้าวาระการประชุมของสานักงาน กศน. เพื่อให้ ผู้บรหิ ารทกุ ระดบั ทกุ กลมุ่ งาน รบั ทราบและเหน็ ความสาคัญ ชJ รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การร้หู นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ปีงบประมาณ 2562

2) จัดทาแผนการดาเนินงานและประสานกลุ่มงานท่ีรับผิดชอบด้านการ จดั สรรงบประมาณ 3) จัดทารายงานและนาเสนอผลการประเมินระดับการรู้หนังสือของ นักศกึ ษา กศน. ใหผ้ บู้ ริหารและผูเ้ ก่ยี วข้องทุกระดบั รับทราบ 1.2 สานักงาน กศน.จังหวดั การดาเนินการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ระดับ จังหวดั มกี ารดาเนนิ งานทีแ่ ตกตา่ งกนั ออกไป ดังนี้ 1) สานักงาน กศน.จังหวัดบางแห่งไม่มีการประชุมช้ีแจงทาความเข้าใจ กบั สถานศกึ ษา ทาใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ การไม่ชดั เจนตามภารกิจที่ไดร้ ับมอบหมาย 2) สานักงาน กศน.จังหวัดบางแห่งไม่มีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการ วิเคราะห์ผล การประเมินและนามาวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาทักษะด้านการอ่าน-การ เขยี นภาษาไทยใหก้ ับนกั ศึกษา กศน. 3) สานักงาน กศน.จังหวัดบางแห่ง ไม่สามารถนิเทศติดตามการประเมิน ระดับการรหู้ นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. ได้ครบทุกแหง่ ข้อเสนอแนะ 1) ควรจัดประชุมช้ีแจงให้เห็นความสาคัญของการประเมินระดับการรู้ หนังสือของนักศึกษา กศน. ตามกระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินงาน การนิเทศติดตาม การวิเคราะห์ผลการ ประเมนิ เพอื่ การวางแผนจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการพฒั นานักศึกษา กศน. 2) ควรจัดอบรมครูหรือเจ้าหน้าที่ ผู้ทาหน้าที่บันทึกผลในระบบบนั ทึกผล การประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. 3) การมอบหมายภารกิจให้สถานศึกษาและติดตามผลการดาเนินงาน ควรดาเนินการอยา่ งเป็นทางการ 4) สานักงาน กศน.จังหวัดและสถานศึกษาควรร่วมมือดาเนินการนิเทศ ติดตาม การรายงานผลและการวเิ คราะห์ผล รวมถึงการให้คาปรึกษาเพื่อพฒั นาผู้ประเมนิ ไม่ผา่ น 1.3 สถานศึกษา สถานศึกษา กศน.เขต/อาเภอ เป็นหน่วยปฏิบัติในการประเมินระดับการ รู้หนงั สือ ของนกั ศึกษา กศน. ดังกล่าวขา้ งต้นถงึ รูปแบบการประเมินที่หลากหลาย จากการสนทนากลุ่ม พบว่า สภาพปญั หา อุปสรรค ในการดาเนินงาน ดังน้ี 1) ครู กศน. บางคนไม่เข้าใจวิธีการประเมิน การใช้เครื่องมือประเมิน เกณฑ์การประเมิน และการบันทึกผลการประเมินเขา้ ระบบ 2) ครู กศน. บางคนไม่เห็นความสาคัญของการประเมิน ทาใหไ้ ดข้ ้อมูลไม่ ตรงกับความสามารถของผู้เข้ารับการประเมิน และครูบางคนดาเนินการประเมินล่าช้า ทาให้ไม่สามารถนาผล ซKรายงานการดำ�เนินงานการประเมนิ ระดับการรูห้ นงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

การประเมินมาวิเคราะห์ เพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องและพัฒนาทักษะการอ่าน –การเขียน ภาษาไทย ใหก้ ับนกั ศกึ ษา กศน. 3) สถานศึกษาบางแห่งไม่มีการประชุมช้ีแจงให้ครู และผู้เก่ียวข้องเข้าใจ เป็นการมอบหมายใหด้ าเนนิ การตามค่มู ือ และไมอ่ านวยความสะดวกในการจดั พิมพ์สาเนาแบบประเมิน ข้อเสนอแนะ จากปัญหาการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่าน ออกเขยี นได้) สถานศกึ ษาควรดาเนนิ การ ดงั นี้ (1) ควรจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานให้ครูและผู้เกี่ยวข้อง ทราบ และเขา้ ใจระเบียบ วิธีการประเมิน การใช้เครื่องมือประเมิน และเกณฑ์การประเมิน พรอ้ มทั้งฝึกปฏิบัติ ให้ครูทดลองใช้เครอื่ งมือประเมินและการบนั ทึกผลการประเมินเขา้ ระบบ (2) อานวยความสะดวกโดยการจัดพิมพ์สาเนาเคร่ืองมือประเมินและ อานวยการดา้ นการประเมิน (3) กาหนดระยะเวลาการประเมินให้แลว้ เสร็จในต้นภาคเรียน เพ่อื นา ผลการประเมินมาวิเคราะห์ วางแผน และพัฒนานักศึกษา กศน. ท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินและการบันทึก ข้อมลู ผลการประเมนิ เขา้ ระบบใหท้ นั ตามกาหนด 4. แบบประเมิน กบั นักศกึ ษาที่สงู อายุ จากการสนทนากลุ่ม พบว่า เครื่องมือประเมินมีขนาดตัวอักษรไม่เหมาะสม ข้อเสนอแนะ สถานศึกษาควรปรบั ขนาดตัวอกั ษรให้เหมาะสมกับนกั ศึกษาทีส่ งู อายุ 5. การนิเทศ จากการสนทนากลุ่ม พบปญั หาการนเิ ทศ ดงั นี้ 5.1 สานกั งาน กศน. จากสภาพปัญหาการดาเนินงานด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอ จึงส่งผลกระทบต่อการนิเทศติดตามผลการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ไม่ สามารถนิเทศติดตามได้ทั่วถึง ซ่ึงกลุ่มงานที่รับผิดชอบแก้ปัญหาโดยการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องขอ งบประมาณส่วนอ่ืนเพิม่ เติม ประสานหน่วยศึกษานิเทศก์จัดทาแบบนิเทศตดิ ตามและรายงานเอกสารการนิเทศ ข้อเสนอแนะ ควรนาเสนอผลการดาเนินงานท่ีส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักศึกษา กศน. ให้ผู้บรหิ ารทุกระดับรบั ทราบ จัดทาแผนการดาเนินงานการนิเทศ ติดตาม ให้ชัดเจน เพ่ือเสนอของบประมาณ สนับสนุนการดาเนนิ งาน 5.2 สานกั งาน กศน. จงั หวดั ฌL รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมินระดับการร้หู นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปีงบประมาณ 2562

สานักงาน กศน. จังหวัด บางแห่งไม่มกี ารประสานแผนการประเมนิ ระดบั การ รู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน. กับสถานศึกษา ทาให้ไม่ทราบกาหนดการประเมนิ บางแห่งไม่มีศึกษานเิ ทศกห์ รือ มีไม่เพียงพอสาหรับการนิเทศให้ครอบคลุมสถานศึกษาทุกแห่ง สานักงาน กศน.จังหวัดบางแห่งมอบหมาย คณะทางานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ระดับจังหวัด หรือคณะกรรมการนิเทศภายใน ระดับจงั หวดั ดาเนินการนิเทศ และประสานแผนกบั คณะนเิ ทศภายในระดับอาเภอ ขอ้ เสนอแนะ 1) สานักงาน กศน.จังหวัด ควรให้สถานศึกษาจัดทาแผนกาหนดการประเมิน และจัดส่งใหส้ านักงาน กศน.จังหวัด ตามกาหนดเวลา 2) สานักงาน กศน. จังหวัด ควรประสานแผนการนิเทศกับคณะกรรมการ นิเทศภายในของสถานศึกษา กรณีที่ไม่มีศึกษานิเทศก์ หรือศึกษานิเทศก์ไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถนิเทศครบ ทกุ แห่ง 2.2 การนเิ ทศ ตดิ ตาม และข้อเสนอแนะ 2.2.1 การนิเทศ ติดตาม 1) สานักงาน กศน. ควรช้ีแจงการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของ นกั ศึกษา กศน. เน่อื งจากในระยะเริม่ ดาเนินการครู กศน. ส่วนใหญ่ไม่ได้อา่ นคมู่ ือ จะดาเนินการแบบทาตาม ๆ กันมา โดยมีเจ้าหน้าทง่ี านการจัดการศึกษาข้นึ พื้นฐานเป็นผู้รับผิดชอบ ถ่ายสาเนาเครอ่ื งมือให้ครูประจาตาบล ไปทดสอบกับนักศึกษา กศน. จัดทาข้อมูลสรุปผลการทดสอบ รายงานมายังกลุ่มงานการศึกษาข้ันพื้นฐาน จากนั้นจึงบันทึกข้อมูลในระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออก เขียนได้) ปัญหาที่พบ จากการสอบถามครู กศน.ตาบล คือ เครื่องมือในแต่ละระดับมีความยาก เกณฑ์การ ประเมนิ ยงั ไมช่ ดั เจน ทาใหค้ รสู ับสนในการบนั ทึกคะแนน 2) เกณฑ์การให้คะแนนการอ่านกับการเขียน ไม่สอดคล้องกัน ครูยังไม่เข้าใจว่า ตอ้ งบนั ทึกข้อมูลอยา่ งไร 3) เครื่องมือประเมิน การเขยี นจากภาพ พบว่า นักศึกษายงั เขียนไม่ตรงตามเกณฑ์ ทก่ี าหนด ยังตีความหมายไม่ได้ แต่สามารถเลา่ เหตุการณ์ได้ และในแบบประเมินท่ีให้เลือกเขียนจากภาพเพียง 1 ภาพ แต่นักศึกษา ไม่เข้าใจคาส่ัง จึงเขียนเช่ือมโยงแต่ละภาพมา ดังนั้น เพื่อไม่ให้นักศึกษาสับสน จึงควร กาหนดให้มเี พียงภาพเดยี ว 4) การประเมินระดบั การรู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ของ สถานศกึ ษามีนักศึกษาทยอยเข้ารบั การประเมิน ครทู ี่ดาเนินการประเมนิ จะสลบั กนั ประเมนิ นกั ศกึ ษา กศน. 5) การบันทึกผลการประเมินผ่านระบบบันทึกผลในระยะเร่ิมต้นสามารถบันทึก ผลได้เป็น อยา่ งดี กอ่ นปดิ ระบบบันทึกผลการประเมนิ ระบบจะมีปัญหาเนือ่ งจากมีผู้เขา้ ระบบพรอ้ มกนั จานวน มาก ทาให้ระบบล่าชา้ 6) มีนักศึกษาบางส่วนที่ไม่สามารถเข้าประเมินได้ เนื่องจากลางานไม่ได้ และครู ตดิ ต่อไมไ่ ด้ Mญรายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ปีงบประมาณ 2562

7) สถานศึกษาบางแห่งไม่ได้สาเนาเครื่องมือการประเมินระดับการรู้หนังสือของ นกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ครูตอ้ งสาเนาเคร่อื งมอื เองจงึ เกิดความลา่ ช้า 2.2.2 ข้อเสนอแนะ การพฒั นานักศกึ ษา กศน. ท่ีประเมินไมผ่ า่ น 1) การพัฒนาความรู้ด้านภาษาไทยท่ีนักศึกษา กศน. ประเมินไม่ผ่าน ครูจะใช้ วธิ กี ารสอนแบบตวั ตอ่ ตวั 2) การประเมินด้านการอ่าน ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหา จะมีปัญหาด้านการเขียน เนอื่ งจากสะกดไมไ่ ด้ ครูจะพฒั นาให้ฝึกสะกดคาอา่ น ฝกึ เขียน 3) การประเมินด้านการเขียน นักศึกษาต้องใช้ความคิดรวบยอดขยายความจาก ภาพกอ่ นทจ่ี ะเขยี น ส่วนใหญท่ ่เี ปน็ ผสู้ ูงอายจุ ะทาไมไ่ ด้ ครจู ะใช้วธิ ีสอนเสริมทกั ษะเป็นรายบคุ คล 4) การประเมินการอ่านและการเขียนสาหรับนักศึกษาท่ีเป็นคนต่างด้าวหรือ ไทยใหญ่ จะมปี ัญหาด้านการอ่านในการออกเสยี งตวั ควบกล้า ‘ร’ ‘ล’ ไม่ชัด ครใู ห้กลับไปฝกึ แล้วมาทดสอบใหม่ 8. อภิปรายผล การอภิปรายรายงานการดาเนนิ งานการประเมินระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ได้ ดงั น้ี 1. สภาพการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. จากผลของการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. มีการดาเนินงาน ตามบทบาทหน้าท่ีโดยสานักงาน กศน. กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลุ่มแผนงาน สานกั งาน กศน.กทม./จังหวัด ส่งเสรมิ สนบั สนุนการดาเนินงานประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนักศกึ ษา กศน. ตามข้อส่ังการแต่งตั้งคณะทางานระดับจังหวัดมอบหมายให้สถานศึกษา กศน.เขต/อาเภอ กศน.แขวง/ตาบล ดาเนินงานทั้งในรูปแบบการประชุมชี้แจง การนาเข้าวาระการประชุม และหนังสือสั่งการให้ กศน.เขต/อาเภอ ให้มีการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน.ในปีงบประมาณ 2562 ได้แก่ ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2561 และภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 1.1 เครื่องมือประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. สถานศึกษามีการจัดทาเป็น ลักษณะงานวิจัย มีเน้ือหาที่เหมาะสมทาให้ทราบความรู้พ้ืนฐานของเม่ือนักศึกษาแต่ละคน และบางแห่งมี นักศึกษาระดับประถมศึกษาสว่ นใหญ่เปน็ ชาวไทยภเู ขา ทาให้สามารถช่วยเสริมในเร่ืองภาษาไทยได้ 1.2 การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ของสถานศึกษาทยอยเข้ารับการ ประเมิน ครู กศน.ท่ีดาเนินการประเมินจะสลับกันประเมินนักศึกษา กศน. และการบันทึกผลการประเมินผ่าน ระบบบันทึกผลใน ระยะเร่ิมต้นสามารถบันทึกผลได้เป็นอย่างดี ก่อนปิดระบบบันทึกผลการประเมินระบบมี ปญั หา เน่ืองจากมีผเู้ ข้าระบบพร้อมกันจานวนมาก ทาใหร้ ะบบล่าช้า สอดคล้องกบั รายงานการดาเนินงานการ ประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2560 (2560 : หน้า 81) กล่าวว่า ครูควร ประเมินนักศึกษาต่อเน่ืองจนครบพร้อมทั้งบันทึกผลการประเมินในระบบให้ทันเวลา และหากนักศึกษาที่ไม่ Nฎ รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมินระดับการร้หู นงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปีงบประมาณ 2562

สามารถเข้ารับการประเมินในระยะเวลาท่ีสานักงาน กศน.กาหนด ให้ครูประเมินนักศึกษาต่อเน่ืองจนครบตาม จานวนและบันทกึ ผลการประเมินจัดเก็บเป็นเอกสารรายงาน กศน.เขต/อาเภอและสานักงาน กศน.กทม./จงั หวัด 1.3 การนิเทศ สานักงาน กศน.จังหวัด ดาเนินการแบ่งเป็น 2 วิธีด้วยกัน วิธีที่ 1 นิเทศโดย คณะทางานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ระดับจังหวัด ท่ีได้รับการแต่งต้ังซึ่งการนิเทศ ลักษณะน้ีเป็นการนิเทศโดยเฉพาะเจาะจง นิเทศเฉพาะการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ตามแผนการประเมินของสถานศึกษาท่ีจัดส่งให้สานักงาน กศน.จังหวัด บางแห่งดาเนินการนิเทศเป็นคณะ บางแห่งนิเทศโดยผู้บริหารหรือศึกษานิเทศก์ วิธีท่ี 2 นิเทศโดยคณะกรรมการนิเทศภายในระดับจังหวัด ส่วน ใหญ่เป็นการนิเทศตดิ ตามผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน ภาพรวมของสถานศึกษา ซ่ึงบางคร้ังตรงกับการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. สอดคล้องกับ รายงานการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2560 (2560 : หน้า 79) กล่าววา่ สานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ส่วนใหญ่ดาเนินการแต่งต้ังคณะทางานประเมนิ ระดับการรู้หนังสือ ของนักศกึ ษา กศน. ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักงาน กศน.กทม./จังหวัด เป็นประธาน ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอ/เขต เป็นคณะทางาน ศึกษานิเทศก์ หรือ เจา้ หน้าท่ีงานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เป็นเลขานุการ ในขณะที่ บางสานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ได้มอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีงานการศึกษาข้ันพื้นฐานของสานักงาน กศน. กทม./จงั หวดั ดาเนนิ การ 2. ปญั หาและอปุ สรรคการดาเนนิ งานการประเมินระดบั การรูห้ นงั สอื ของนักศึกษา กศน. 2.1 การบรหิ ารจดั การ 2.1.1 กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีความเห็นว่า การ ให้ความสาคัญกับการดาเนินงานประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ค่อนข้างน้อย มีปัญหาด้าน การบริหารจัดการ ด้านการนิเทศติดามผล ด้านการจัดสรรงบประมาณ สอดคล้องกับ รายงานการดาเนินงาน การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2560 (2560 : หน้า 81) กล่าวว่า ศึกษานิเทศก์ สานักงาน กศน.กทม./จังหวัด บางแห่ง ไม่ได้นิเทศ ติดตาม ในระหว่างการดาเนินการประเมิน เน่ืองจากมอบหมายเรื่องดังกล่าวให้แก่เจ้าหน้าที่งานการศึกษาข้ันพื้นฐานโดยตรง แต่ไม่ได้ประสานผู้มีส่วน เก่ียวข้อง 2.1.2 สานักงาน กศน.จังหวัดบางแห่งไม่มีการประชุมช้ีแจงทาความเข้าใจกับ สถานศึกษา ทาให้สถานศึกษาดาเนินการไม่ชัดเจนตามภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย บางแห่งไม่มีส่วนร่วมกับ สถานศึกษาในการวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ และนามาวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาทักษะด้าน การอ่าน - การเขียนภาษาไทยให้กับนักศึกษา และบางแห่งไม่สามารถนิเทศติดตามการประเมินระดับการรู้ หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ได้ครบทุกแห่ง สอดคลอ้ งกับรายงานการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนงั สือ ของนักศึกษา กศน. ปงี บประมาณ 2560 (2560 : หนา้ 81) กลา่ วว่า สานกั งาน กศน.กทม./จังหวดั บางแหง่ ไม่ มีการประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจ แต่ได้มอบหมายให้ กศน.เขต/อาเภอ ไปดาเนินการจัดทาสาเนาคู่มือการ ประเมนิ 2.2 เครื่องมอื ประเมินระดบั การรหู้ นงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. Oฏรายงานการด�ำ เนินงานการประเมินระดับการรหู้ นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

2.2.1 เคร่ืองมือการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. แบบประเมิน การเขยี นตามคาบอกของครู มคี าศัพท์บางคาท่กี ารอ่านออกเสียงกับการเขยี นไม่เหมอื นกัน เปน็ คาท่ีมีอักษรนา ท่ีไม่ออกเสียงในการอ่าน เชน่ เขียน “ตารับ” อ่าน “ตาหรบั ” ทาให้ครูเกิดความสับสนในการตรวจให้คะแนน เป็นต้น และแบบประเมินระดับประถมศึกษา มีความยากสาหรับนักศึกษาระดับประถมศึกษาที่สูงวัย สอดคล้องกับ รายงานการดาเนินงานการประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2560 (2560 : หน้า 80) กล่าวว่า การประเมินการอ่าน นักศึกษาอ่านตามเนื้อหา โดยไม่เว้นวรรคตอนตามส่ือ ผู้ ประเมินตรวจสอบได้เฉพาะคาถูกผิดตามเกณฑ์การประเมิน เช่น ชุดท่ี 1 การอ่าน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ระยะท่ี 1) คาอ่านส่วนใหญ่แม้จะเป็นคาอ่านตามหลักและระดับการรู้ของมาตรฐานภาษาไทย แต่ไม่อยู่ในวิถี ชวี ิตประจาวันของนักศกึ ษาจึงอ่านไม่ได้ เชน่ กกุธภัณฑ์ ขัณฑสกร นฤคหิต เป็นต้น นักศกึ ษาอ่านตามความ คุ้นชินมากกว่าเน้ือหา หรือคา เช่น “ทรัพย์สิน” อ่านเป็น “สินทรัพย์” “สอบซ่อม” อ่านเป็น “ซ่อมเสริม” “ไฉน” อา่ นเป็น “ไฉ” ฯลฯ 2.2.2 เคร่ืองมือประเมินด้านการเขียน การเขียนเรื่องจากภาพ พบว่า นักศึกษายัง เขียนไม่ตรงตามเกณฑ์ท่ีกาหนด ยังตีความหมายไม่ได้ แต่สามารถเล่าเหตุการณ์ได้ และในแบบประเมินที่ให้ เลือกเขียนจากภาพเพียง 1 ภาพ แต่นักศึกษาไม่เข้าใจคาส่ัง จึงเขียนเชื่อมโยงแต่ละภาพมา ดังน้ัน เพื่อไม่ให้ นักศึกษาสับสน จงึ ควรกาหนดให้มีเพียงภาพเดยี ว สอดคลอ้ งกับ รายงานการดาเนินงานการประเมนิ ระดับการ รู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2561 (2561 : หน้า 170) กล่าวว่า นักศกึ ษาระดับประถมศกึ ษาไม่ สามารถเขียนคาได้ถูกต้องตามอักขรวิธี และนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย เขียนบรรยายตามโจทย์ที่กาหนดไดน้ อ้ ย เขยี นไมค่ รบตามหัวขอ้ ทกี่ าหนด 2.2.3 การนิเทศ สานักงาน กศน. จังหวัด ควรประสานแผนการนิเทศกับคณะกรรมการ นิเทศภายในของสถานศึกษา กรณีท่ีไม่มีศึกษานิเทศก์ หรือศึกษานิเทศก์ไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถนิเทศครบ ทกุ แหง่ รายงานการดาเนินงานการประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. ปีงบประมาณ 2561 (2561 :หน้า 169) กล่าวว่า การนิเทศติดตามผล คณะกรรมการท่ีได้รับการแต่งตั้งในระดับจังหวัดและอาเภอ ดาเนินการนิเทศ ตดิ ตามผลการประเมินการรูห้ นังสือของนักศึกษา กศน. ใหเ้ ปน็ ไปตามค่มู ือท่ีกาหนด 3. ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การปรับปรงุ และพัฒนาการดาเนินงานประเมินระดบั การร้หู นังสือ ของนักศกึ ษา กศน. 3.1 สานักงาน กศน. ควรจัดประชุมช้ีแจงแนวทางการดาเนินงานให้ครูและผู้เกี่ยวข้องทราบ และเข้าใจระเบียบ วิธีการประเมิน การใช้เครื่องมือประเมิน และเกณฑ์การประเมิน พร้อมทั้งฝึกปฏิบัติให้ครู ทดลองใช้เครอื่ งมือประเมนิ และการบนั ทกึ ผลการประเมนิ เข้าระบบ 3.2 ควรจัดสรรงบประมาณในการนิเทศติดตามการดาเนินงานประเมินระดับการรู้หนังสือ ของนกั ศึกษา กศน. ระดบั สานกั งาน กศน. สานกั งาน กศน.กทม./จังหวดั กศน.เขต/อาเภอ 3.3 ควรประสานแผนการนิเทศกับคณะกรรมการนิเทศภายในของสถานศึกษา กรณีท่ีไม่มี ศึกษานเิ ทศก์ ไมส่ ามารถนิเทศครบทุกแหง่ ฑP รายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดับการร้หู นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

3.4 ครู กศน. ควรฝึกให้นักศึกษาที่ประเมิน “ไม่ผ่าน” ด้านการเขียน ฝึกสะกดคาอ่าน ฝึกเขยี น และดา้ นการอา่ นในการออกเสยี งตัวควบกล้า ‘ร’ ‘ล’ ไม่ชัด ครใู หก้ ลับไปฝึกแล้วมาทดสอบใหม่ ฒQรายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การร้หู นังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

R รายงานการดำ�เนินงานการประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

สารบญั หน้า คานา บทสรปุ ผู้บรหิ าร สารบญั สารบัญตาราง ตอนที่ 1 บทนา……………………………………………………………………………….…………………………………. 1 ตอนที่ 2 การดาเนินงานการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ 4 ตอนที่ 3 วธิ ดี าเนินการ...................................................................................................................... 33 ตอนที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน............................................................................................................... 38 ตอนที่ 5 สรปุ ผลการดาเนนิ งาน ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะ................................................. 111 บรรณานุกรม ............................................................................................................................. .............. 124 ภาคผนวก ........................................................................................................................................... 125 คณะทางาน ............................................................................................................................. .............. 459 ณSรายงานการดำ�เนนิ งานการประเมินระดบั การรหู้ นงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

สารบัญตาราง หนา้ ตารางท่ี 1 จานวนนักศึกษาที่คาดว่าจะจบ ที่เข้ารับการประเมินการอ่านออกและการเขียนได้ 23 ภาคเรยี นท่ี 2 …………………………………………………………………………………………………........... 23 28 ตารางที่ 2 จานวนนักศึกษาทุกคน ท่ีเข้ารับการประเมินการอ่านออกและเขียนได้ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2560 …………………………………………………………………………………………….......... ตารางที่ 3 จานวนนักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา ผลการประเมินการอ่านท่ีผ่านเกณฑ์และไมผ่ ่านเกณฑ์ การประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนกั ศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2561 ......................... ตารางที่ 4 จานวนนักศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ผลการประเมินการอ่านท่ีผา่ นเกณฑ์และไม่ผ่าน เกณฑ์ การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2561................. 28 ตารางที่ 5 จานวนนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการประเมินการอ่านที่ผ่านเกณฑ์และไม่ ผ่านเกณฑ์ การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2561............ 29 ตารางท่ี 6 จานวนนกั ศึกษาระดับประถมศึกษา ผลการประเมินการเขียนที่ผา่ นเกณฑ์และไมผ่ า่ นเกณฑ์ การประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2561 …………………....…. 29 ตารางท่ี 7 จานวนนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการประเมินการเขียนที่ผ่านเกณฑ์และไม่ 30 30 ผา่ นเกณฑ์ การประเมินระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2561............ 39 ตารางท่ี 8 จานวนนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการประเมินการเขียนที่ผ่านเกณฑ์และไม่ ผ่านเกณฑ์ การประเมินระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ปีงบประมาณ 2561.......... ตารางที่ 9 ผลการประเมนิ การอ่าน การประเมนิ ระดบั การรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ระดบั ประถมศึกษา ประจาปีงบประมาณ 2562 ระดบั ประเทศ...................................................... ตารางที่ 10 ผลการประเมินการเขียน การประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. ระดบั ประถมศึกษาประจาปงี บประมาณ 2562 ระดับประเทศ....................................................... 40 41 ตารางที่ 11 ผลการประเมินการอา่ น การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. ระดับ 42 มธั ยมศึกษาตอนตน้ ประจาปีงบประมาณ 2562 ระดับภาค................................................ 43 ตารางที่ 12 ผลการประเมินการเขยี น การประเมนิ ระดบั การร้หู นงั สือของนักศึกษา กศน. ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ประจาปีงบประมาณ 2562 ระดับภาค............................................... ตารางท่ี 13 ผลการประเมนิ การอา่ น การประเมนิ ระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ระดับประเทศ............................. ตารางที่ 14 ผลการประเมินการเขยี น การประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ประจาปงี บประมาณ 2562 ระดับประเทศ...................................... 44 45 ตารางที่ 15 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 46 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคเหนือ ระดบั ประถมศกึ ษา........................................................... ตารางที่ 16 ผลการประเมินการอา่ น การประเมนิ ระดบั การร้หู นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคกลาง ระดับประถมศึกษา ตารางท่ี 17 ผลการประเมินการอา่ น การประเมินระดับการรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคใต้ ระดบั ประถมศึกษา................................................................ 47 ดT รายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดบั การรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ปงี บประมาณ 2562

สารบญั ตาราง (ต่อ) หนา้ ตารางที่ 18 ผลการประเมนิ การอา่ น การประเมนิ ระดับการรูห้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ของภาคตะวนั ออก และ กทม. ระดับประถมศึกษา................................. 48 ตารางที่ 19 ผลการประเมนิ การอ่าน การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ระดับประถมศกึ ษา................................... 49 ตารางที่ 20 ผลการประเมนิ การเขียน การประเมนิ ระดบั การรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคเหนือ ระดับประถมศึกษา.......................................................... 50 ตารางที่ 21 ผลการประเมนิ การเขียน การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 2 51 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคกลาง ระดบั ประถมศึกษา........................................................... ตารางที่ 22 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมินระดับการรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ของภาคใต้ ระดบั ประถมศึกษา................................................................ 52 ตารางท่ี 23 ผลการประเมนิ การเขียน การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ของภาคตะวันออกและ กทม. ระดับประถมศกึ ษา................................... 53 ตารางที่ 24 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมินระดบั การรูห้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ระดับประถมศกึ ษา................................... 54 ตารางที่ 25 ผลการประเมินการอา่ น การประเมินระดับการรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ของภาคเหนอื ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น................................................. 55 ตารางท่ี 26 ผลการประเมนิ การอ่าน การประเมนิ ระดบั การรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ของภาคกลาง ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น................................................. 56 ตารางที่ 27 ผลการประเมนิ การอา่ น การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 57 ปกี ารศกึ ษา 2561 ของภาคใต้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น...................................................... ตารางท่ี 28 ผลการประเมนิ การอา่ น การประเมินระดับการร้หู นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคตะวนั ออกและ กทม. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น........................ 58 59 ตารางที่ 29 ผลการประเมนิ การอ่าน การประเมินระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 60 ปกี ารศกึ ษา 2561 ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น......................... 61 ตารางที่ 30 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมินระดับการรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ของภาคเหนือ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น................................................. ตารางที่ 31 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมินระดบั การรูห้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคกลาง ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น................................................. ตารางที่ 32 ผลการประเมินการเขียน การประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคใต้ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ...................................................... 62 63 ตารางท่ี 33 ผลการประเมินการเขยี น การประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 64 ปกี ารศกึ ษา 2561 ของภาคตะวนั ออกและ กทม. ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ........................ ตารางท่ี 34 ผลการประเมินการเขยี น การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น......................... Uตรายงานการดำ�เนนิ งานการประเมินระดบั การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปีงบประมาณ 2562

สารบญั ตาราง (ตอ่ ) หน้า ตารางท่ี 35 ผลการประเมนิ การอ่าน การประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 65 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคเหนือ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย............................................ 66 ตารางที่ 36 ผลการประเมนิ การอา่ น การประเมินระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 2 67 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคกลาง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย............................................. 68 69 ตารางท่ี 37 ผลการประเมินการอา่ น การประเมินระดบั การร้หู นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 2 70 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคใต้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย................................................. 71 72 ตารางท่ี 38 ผลการประเมินการอ่าน การประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 73 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคตะวันออกและกทม. ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย..................... 74 75 ตารางที่ 39 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดับการร้หู นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 76 ปีการศกึ ษา 2561 ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย.................... 77 78 ตารางที่ 40 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 79 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคเหนอื ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย............................................ 80 81 ตารางที่ 41 ผลการประเมนิ การเขียน การประเมนิ ระดบั การรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคกลาง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย............................................ ตารางที่ 42 ผลการประเมินการเขยี น การประเมนิ ระดับการรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 ของภาคใต้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย................................................. ตารางท่ี 43 ผลการประเมินการเขียน การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ของภาคตะวันออกและ กทม. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย.................... ตารางที่ 44 ผลการประเมินการเขียน การประเมนิ ระดับการรูห้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย.................... ตารางที่ 45 ผลการประเมินการอ่าน การประเมนิ ระดบั การร้หู นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 การศกึ ษา 2562 ของภาคเหนือ ระดบั ประถมศึกษา........................................................... ตารางท่ี 46 ผลการประเมินการอา่ น การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 ของภาคกลาง ระดบั ประถมศึกษา.......................................................... ตารางท่ี 47 ผลการประเมินการอา่ น การประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 ของภาคใต้ ระดับประถมศึกษา.............................................................. ตารางที่ 48 ผลการประเมินการอา่ น การประเมนิ ระดบั การร้หู นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ของภาคตะวนั ออกและกทม. ระดบั ประถมศึกษา.................................. ตารางท่ี 49 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ระดบั ประถมศึกษา................................... ตารางท่ี 50 ผลการประเมินการเขียน การประเมินระดบั การรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ของภาคเหนอื ระดับประถมศึกษา........................................................... ตารางที่ 51 ผลการประเมินการเขียน การประเมินระดบั การรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ของภาคกลาง ระดับประถมศึกษา........................................................... Vถ รายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดบั การรหู้ นังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

สารบญั ตาราง (ต่อ) หน้า ตารางท่ี 52 ผลการประเมินการเขียน การประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 82 ปกี ารศึกษา 2562 ของภาคใต้ ระดับประถมศึกษา................................................................ 83 84 ตารางท่ี 53 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 85 ปกี ารศกึ ษา 2562 ของภาคตะวันออกและ กทม. ระดับประถมศกึ ษา................................... 86 87 ตารางท่ี 54 ผลการประเมินการเขยี น การประเมินระดบั การรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 1 88 ปีการศกึ ษา 2562 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ระดับประถมศกึ ษา................................... 89 90 ตารางท่ี 55 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดับการร้หู นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 91 ปีการศกึ ษา 2562 ของภาคเหนอื ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น............................................... 92 93 ตารางที่ 56 ผลการประเมนิ การอา่ น การประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 94 ปกี ารศกึ ษา 2562 ของภาคกลาง ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ............................................... 95 96 ตารางที่ 57 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดบั การร้หู นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 97 ปีการศึกษา 2562 ของภาคใต้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น.................................................... 98 ตารางท่ี 58 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดับการรู้หนังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ของภาคตะวนั ออกและ กทม. ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ........................ ตารางท่ี 59 ผลการประเมินการอา่ น การประเมินระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 ปี การศกึ ษา 2562 ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น........................... ตารางท่ี 60 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมินระดบั การรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ของภาคเหนือ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น................................................. ตารางที่ 61 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมนิ ระดับการร้หู นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ของภาคกลาง ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น................................................. ตารางท่ี 62 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 ของภาคใต้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ..................................................... ตารางที่ 63 ผลการประเมินการเขียน การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ของภาคตะวันออกและ กทม. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ........................ ตารางที่ 64 ผลการประเมนิ การเขยี น การประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 ของภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ตารางท่ี 65 ผลการประเมินการอ่าน การประเมนิ ระดับการรหู้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 1 ปี การศึกษา 2562 ของภาคเหนอื ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย.............................................. ตารางท่ี 66 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดับการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2562 ของภาคกลาง ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย.............................................. ตารางที่ 67 ผลการประเมินการอ่าน การประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2562 ของภาคใต้ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย................................................... ตารางท่ี 68 ผลการประเมินการอ่าน การประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2562 ของภาคตะวันออกและ กทม. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย...................... Wทรายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดับการร้หู นังสอื ของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

สารบัญตาราง (ต่อ) หนา้ ตารางที่ 69 ผลการประเมินการอ่าน การประเมนิ ระดบั การรูห้ นังสือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 ปี 99 การศึกษา 2562 ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย....................... 100 101 ตารางท่ี 70 ผลการประเมนิ การเขียน การประเมินระดบั การรูห้ นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นท่ี 1 102 ปกี ารศกึ ษา 2562 ของภาคเหนือ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย............................................ 103 104 ตารางท่ี 71 ผลการประเมนิ การเขียน การประเมินระดบั การรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 ของภาคกลาง ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย............................................ ตารางที่ 72 ผลการประเมินการเขยี น การประเมนิ ระดบั การร้หู นังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ของภาคใต้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย................................................. ตารางที่ 73 ผลการประเมินการเขยี น การประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ของภาคตะวนั ออกและ กทม. ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย................... ตารางที่ 74 ผลการประเมินการเขยี น การประเมินระดบั การรู้หนังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย.................... Tธ รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

ตอนท่ี 1 บทนำ 1. หลักกำรและเหตุผล สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย (สำนักงำน กศน.) ได้ดำเนินกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขียนได้) ตำมนโยบำย กระทรวงศึกษำธิกำร เรื่องส่งเสริมกำรอ่ำนและกำรเรียนรู้ เนื่องจำกมีคำถำมจำกกระแสสังคมว่ำนักศึกษำ กศน. ที่จบกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำนจำกสำนักงำน กศน. อ่ำนไม่ออกเขียนไม่ได้ในวิชำภำษำไทย โดยไม่ต้องกล่ำวถึง รำยวชิ ำอ่ืนๆ เพรำะถำ้ นักศกึ ษำ กศน. อ่ำนไมอ่ อกเขียนไม่ได้ในวิชำภำษำไทย กำรที่จะไปเรียนรู้ในวิชำอ่ืนเป็น เร่ืองท่ียำกมำก อีกท้ังภำษำไทยเป็นภำษำประจำชำติที่ใช้ในกำรส่ือสำร โดยเฉพำะกำรอ่ำนและกำรเขียน ภำษำไทยซึ่งเป็นทักษะพ้ืนฐำนในกำรพัฒนำไปสู่กำรเรียนรู้ในระดับที่สูงข้ึนภำยใต้สังคมแห่งกำรเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 ที่มีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็วท้ังด้ำนเทคโนโลยีและกำรคิดค้นพัฒนำองค์ควำมรู้ใหม่ ๆ ที่ต้องอำศัยกำรอ่ำนและกำรเขียน ซ่ึงเป็นทักษะที่จำเป็นสำหรับกำรเรียนรู้ สำมำรถคิดวิเครำะห์ แยกแยะ ประยกุ ตใ์ ช้ให้เหมำะสมสอดคล้องกับตนเองเพ่ือกำรเรยี นรู้ตลอดชีวติ และกำรดำรงชวี ิตที่มีคณุ ภำพต่อไป สำนักงำน กศน. ดำเนินกำรจัดทำโครงกำรส่งเสริมกำรอ่ำนออกเขียนได้ ในปีงบประมำณ 2560 โดยระยะแรกไดน้ ำเครอ่ื งมือท่สี ำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (สพฐ.) ที่ใช้เป็นเคร่ืองมือประเมิน เพื่อคัดกรองนักเรียนอ่ำนออกเขียนได้ต่ำกว่ำเกณฑ์โครงกำร “พัฒนำคุณภำพกำรเรียน กำรสอนภำษำไทย เพื่อเด็กไทยอ่ำนออกเขียนได้ 100%” มำใช้ประเมินกับนักศึกษำ กศน. เนื่องจำกเป็นกำรจัดกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำนเช่นเดียวกัน จำกน้ันคณะทำงำนได้ดำเนินกำรจัดทำคู่มือกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของ นักศึกษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขียนได้) และขออนุญำตใช้เคร่ืองมือของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำ ขน้ั พ้ืนฐำน (สพฐ.) พรอ้ มปรับปรงุ เพือ่ ให้สอดคล้องกับนักศึกษำหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำ ขนั้ พืน้ ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 และแจ้งให้สถำนศึกษำของสำนักงำน กศน. ดำเนินกำรประเมินและรำยงำนผล กำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขียนได้) ในระบบบันทึกผลกำรประเมิน ระดับกำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน.แบบออนไลน์ โดยดำเนินกำรทดลองเป็น 2 ระยะ คือ ภำคเรียนท่ี 2 ปีกำรศึกษำ 2559 และภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2560 ระยะทดลองจะดำเนินกำรกับนักศึกษำ กศน. ที่เป็น กลุ่มเป้ำหมำยแตกต่ำงกัน คือภำคเรียนท่ี 2 ปีกำรศึกษำ 2559 เฉพำะนักศึกษำท่ีคำดว่ำจะจบ จำนวน 176,043 คน และภำคเรียนท่ี 1 ปีกำรศึกษำ 2560 นักศึกษำที่ลงทะเบียนทุกคน จำนวน 1,098,421 คน ในปีงบประมำณ 2560 สำนักงำน กศน. ได้ดำเนินกำรพัฒนำเคร่ืองมือกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของ นักศึกษำ กศน. เพ่ือให้สอดคล้องกับบริบทของ กศน. ซ่ึงนำโครงสร้ำงหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับ กำรศึกษำข้ันพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 สำระควำมรู้พ้ืนฐำน รำยวิชำภำษำไทย มำจัดทำกรอบโครงสร้ำง เนื้อหำกำรพัฒนำเคร่ืองมือกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือด้ำนกำรอ่ำนและกำรเขียน ท่ีใช้ประเมินสำหรับ นกั ศกึ ษำ กศน. ทกุ ภำคเรียน 1รายงานการด�ำ เนินงานการประเมินระดับการรหู้ นังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ปงี บประมาณ 2562

2 ดงั น้นั สำนักงำน กศน. จงึ ได้ดำเนินกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของนกั ศกึ ษำ กศน. (กำรอำ่ น ออกเขียนได้) ระดับประถมศึกษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น และระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย อยำ่ งตอ่ เนือ่ ง เพื่อเปน็ กำรสง่ เสรมิ กำรอ่ำน-กำรเขียนภำษำไทยของนักศึกษำ กศน. และนำผลกำรประเมินมำพัฒนำกำรอำ่ น และเขยี นภำษำไทยของนักศึกษำ กศน. ให้มีประสทิ ธิภำพต่อไป 2. วตั ถปุ ระสงค์ของกำรรำยงำน 1. เพ่ือรำยงำนผลกำรดำเนินงำนกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. (กำรอ่ำน ออกเขยี นได)้ 2. เพ่ือทรำบสภำพ ปัญหำและอุปสรรคกำรดำเนินงำนกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. (กำรอำ่ นออกเขยี นได)้ 3. เพื่อให้ข้อเสนอแนะสำหรับปรับปรุงและพัฒนำกำรดำเนินงำนประเมินระดับกำรศึกษำของ นกั ศึกษำ กศน. ใหม้ ีประสทิ ธิภำพ 3. กล่มุ เปำ้ หมำยทเ่ี ข้ำรับกำรประเมิน นักศึกษำหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ระดบั ประถมศึกษำ ระดับมธั ยมศึกษำตอนต้น และระดับมัธยมศึกษำตอนปลำย ดงั น้ี 1. นักศกึ ษำใหม่ทขี่ ึน้ ทะเบยี นและลงทะเบียนเรยี น 2. นกั ศึกษำทีเ่ ข้ำรบั กำรประเมนิ แลว้ แตไ่ ม่ผ่ำน 3. นักศึกษำท่ียังไมเ่ ข้ำรับกำรประเมิน 4. เครื่องมือในกำรเกบ็ ข้อมลู 1. เครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นกำรประเมินระดบั กำรรู้หนงั สือของนกั ศกึ ษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขยี นได้) 2. ระบบบนั ทกึ ผลกำรประเมนิ ระดบั กำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. 3. แบบนิเทศ ติดตำม กำรประเมนิ ระดบั กำรรู้หนงั สอื ของนกั ศกึ ษำ กศน. (กำรอำ่ นออกเขยี นได้) 4. ประเด็นกำรสนทนำกลุ่ม 5. วธิ ีดำเนนิ งำนประเมินระดับกำรรูห้ นงั สอื ของนกั ศึกษำ กศน. 1. พฒั นำเคร่ืองมือกำรประเมินระดบั กำรรู้หนังสือของนกั ศึกษำ กศน. (กำรอำ่ นออกเขยี นได)้ ประกอบดว้ ย นักวิชำกำรด้ำนภำษำไทย นกั วิชำกำรวัดผลประเมนิ ผล และครู กศน. ท่ีทำหน้ำทใ่ี นกำรประเมิน เพ่อื ตรวจสอบควำมถูกต้องของภำษำไทย ควำมเทย่ี งตรงของเคร่ืองมือ และเครอ่ื งมือดงั กลำ่ วสำมำรถนำไปใช้ ไดจ้ รงิ โดยเคร่อื งมือกำรประเมนิ ระดับกำรรู้หนงั สอื ของนักศกึ ษำ กศน. ดำเนินกำรพัฒนำและจัดทำตน้ ฉบับ ทกุ ภำคเรยี น 2. ขออนุมัตใิ ช้เครื่องมือกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของนกั ศกึ ษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขยี น ได้) ต่อผ้บู ริหำร 2 รายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดับการรู้หนงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

3 3. จดั ทำหนังสอื รำชกำรแจง้ สำนกั งำน กศน.กทม/ จังหวัด ใหด้ ำเนินกำรประเมนิ ระดบั กำรรู้ หนงั สือของนกั ศกึ ษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขียนได้) และเข้ำใช้ระบบกำรบันทึกผลกำรประเมิน 4. รวบรวมขอ้ มลู จำกระบบกำรบันทึกผลกำรประเมินและประมวลผลข้อมูลระดบั ประเทศ ระดบั ภำค และระดบั จังหวดั 5. รำยงำนกำรดำเนนิ งำนประเมนิ ระดับกำรรู้หนงั สือของนักศึกษำ กศน. ต่อกระทรวงศึกษำธกิ ำร 6. ระยะเวลำในกำรดำเนนิ งำน พฤศจิกำยน พ.ศ. 2561 – กันยำยน พ.ศ. 2562 7. ผลทคี่ ำดว่ำจะได้รับ สถำนศึกษำใช้เป็นข้อมูลสำรสนเทศของสภำพ ปัญหำ อุปสรรคในกำรดำเนินงำนกำรประเมิน ระดับกำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขียนได้) สำหรับใช้ในกำรปรับปรุง แก้ไข และพัฒนำ กระบวนกำรดำเนินงำน รวมท้ังกระบวนกำรพฒั นำควำมสำมำรถในกำรอ่ำนและเขียนภำษำไทยของนักศึกษำ กศน. 8. นิยำมศัพท์เฉพำะ กำรประเมินระดบั กำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขียนได้) หมำยถึง กำรประเมิน กำรรภู้ ำษำไทยดำ้ นกำรอ่ำนและกำรเขียนของนักศึกษำ กศน. ระดับประถมศึกษำ ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น และ ระดับมธั ยมศกึ ษำตอนปลำย กำรอ่ำนออกเขียนได้ หมำยถึง ควำมสำมำรถในกำรอ่ำนออกและเขียนได้โดยอย่ำงน้อยจะต้อง อ่ำนและเขียนคำ ประโยค และข้อควำมภำษำไทยง่ำยๆ ได้ ถ้ำอ่ำนออกเพียงอย่ำงเดียวแต่เขียนไม่ได้ ถือว่ำ อำ่ นเขยี นไมไ่ ด้ กำรอ่ำน หมำยถึง กำรประเมินกำรอ่ำน แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ 1) อ่ำนไม่ได้ 2) อ่ำนพอได้ 3) อ่ำนไดแ้ ตไ่ มค่ ล่อง 4) อำ่ นไดด้ ี 5) อ่ำนได้ดมี ำกและอำ่ นคลอ่ ง กำรเขียน หมำยถึง กำรประเมินกำรเขียน แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ 1) เขียนไม่ได้ 2) เขียนพอได้ 3) เขยี นได้แตไ่ มค่ ลอ่ ง 4) เขียนไดด้ ี 5) เขียนได้ดมี ำกและอำ่ นคล่อง นักศึกษำใหม่ท่ีข้ึนทะเบียนและลงทะเบียนเรียน หมำยถึง นักศึกษำใหม่ท่ีข้ึนทะเบียนและ ลงทะเบียนเรยี นในภำคเรยี นน้นั นกั ศกึ ษำทเ่ี ข้ำรับกำรประเมินแล้ว แต่ไม่ผ่ำน หมำยถึง นักศึกษำเก่ำที่เข้ำรับกำรประเมินระดับ กำรรูห้ นงั สอื ของนกั ศกึ ษำ กศน. (กำรอำ่ นออกเขียนได)้ แล้ว แต่ผลกำรประเมิน “ไม่ผำ่ น” นักศึกษำที่ยังไม่เข้ำรับกำรประเมิน หมำยถึง นักศึกษำเก่ำที่ตกหล่นหรือที่รักษำสภำพ ที่ยังไม่ได้ เข้ำรับกำรประเมินระดับกำรรู้หนังสือของนักศึกษำ กศน. (กำรอ่ำนออกเขียนได้) ท่ีลงทะเบียนเรียนในภำคเรียน ปจั จบุ ันต้องเขำ้ รบั กำรประเมนิ ทุกคน 3รายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดับการร้หู นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปงี บประมาณ 2562

ตอนที่ 2 การดาํ เนินงานการประเมนิ ระดบั การรหู นงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอานออกเขยี นได) รายงานการดําเนินงานการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขียนได) เปนการรวบรวมการดําเนินงานประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ตั้งแตภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2559 ถึงภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2562 โดยมีการดาํ เนินการ ดงั นี้ 1. ระยะเรม่ิ ดาํ เนินการประเมนิ ระดบั การรูหนงั สอื ของนักศึกษา กศน. ปงบประมาณ 2560 สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีขอหารือกับสํานักงาน กศน. กอนปงบประมาณ 2560 โดยตองการใหประเมินสภาพการอานออกเขียนไดของนักศึกษา กศน. เนื่องจากมีคําถามจากกระแสสังคมวา นกั ศึกษา กศน. ที่จบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จาก สํานักงาน กศน. อานไมออกเขียนไมไดในวิชาภาษาไทย โดยไม ตองพูดถึงรายวิชาอ่ืน ๆ เพราะถาเราอานไมออกเขียนไมไดในวิชาภาษาไทย การท่ีจะไปเรียนรูในวิชาอื่นเปน เรื่องที่ยากมาก อีกทั้งภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติที่ใชในการสื่อสาร โดยเฉพาะการอานและการเขียน ภาษาไทย ซ่ึงเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูการเรียนรูในระดับที่สูงขึ้น ภายใตสังคมแหงการเรียนรูใน ศตวรรษที่ 21 ท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ท้ังดานเทคโนโลยีและการคิดคนพัฒนาองคความรูใหม ๆ ท่ี ตองอาศัยการอานและการเขียนเปนทักษะท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรู เพ่ือการดํารงชีวิตที่มีคุณภาพ มีทักษะ การคิด วเิ คราะห แยกแยะ และประยกุ ตใชใหเหมาะสมสอดคลอ งกบั ตนเองเพื่อการเรยี นรูตลอดชวี ิต สํานักงาน กศน. ไดทบทวนบทบาทในการจัดการศึกษานอกระบบ โดยมีรูปแบบการจัดกิจกรรม การศึกษาท่ีมีกลุมเปาหมายผูรับบริการและวัตถุประสงคของการเรียนรูท่ีชัดเจน มีรูปแบบ หลักสูตร วิธีการจัด ระยะเวลาเรียนหรือฝกอบรมที่ยืดหยุน หลากหลายตามสภาพความตองการและศักยภาพในการเรียนรู ของกลุมเปาหมาย ตลอดจนมีวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรูท่ีไดมาตรฐานเพ่ือรับรองคุณวุฒิทางการศึกษา ของนักศกึ ษา โดยไดดาํ เนนิ การ ดงั น้ี 1.1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 แตงตั้งคณะทํางานดําเนินการจัดทําเคร่ืองมือประเมินสภาพ การรูห นังสือ กศน. สํานักงาน กศน. ไดจัดทําคําสั่งสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ 2179/2559 ลงวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เร่ือง แตงตั้งคณะทํางานดําเนินการจัดทําเครื่องมือประเมินสภาพการรูหนังสือ กศน. ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการไดดําเนินการสงเสริมการอานและการเรียนรูมาเปนระยะเวลานาน มีหนวยงานท้ัง ภาครัฐบาลและเอกชนจดั กจิ กรรมเกยี่ วกบั หนงั สอื และการรณรงคสงเสริมการอาน รัฐบาลมีการกําหนดนโยบาย ดานการอานอยางตอเนอ่ื ง ทัง้ จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ การแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ตอรัฐสภา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ตลอดจนนโยบายดานการศึกษา ไดแก นโยบายการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) และการกําหนดทศวรรษแหงการอาน (พ.ศ. 2552 - 2561) ซ่ึงเปนสิทธิท่ีมนุษยทุกคนพึงไดรับ และเปนพื้นฐานที่จําเปนตอการเรียนรู การส่ือสารตลอดจนเปน เคร่ืองมือที่จําเปนในการแสวงหาความรู ซ่ึงประชาชนชาวไทยทุกคนมีสิทธิ์ไดรับการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางเทา เทยี มกนั และ มีคุณภาพ สงเสริมใหทุกคนไดเรียนรูภาษาไทยเพื่อใชในการติดตอส่ือสารไดเขาใจตรงกัน และนํา ความรไู ปใชใ นการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตไดต รงตามความตองการของบุคคล อีกทั้งภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ และเปน ภาษากลางในการส่ือสารและสบื สานวฒั นธรรม ดังนั้น เพื่อใหการดําเนินการจัดทําเครื่องมือประเมินสภาพการรูหนังสือ กศน. เปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงแตงตั้งคณะทํางานดําเนินการจัดทําเครื่องมือประเมิน 4 รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

5 สภาพการรูหนังสือ กศน. ตามคําสั่งสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี 2179/2559 เร่ือง แตงต้ัง คณะทาํ งานดําเนนิ การจัดทาํ เคร่อื งมือประเมินสภาพการรหู นงั สือ กศน. ส่ัง ณ วันที่ 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 1.2 เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ. 2559 กาํ หนดกรอบการจัดทําเคร่ืองมือประเมินระดับการรูหนังสือ ของนกั ศึกษา กศน. สํานักงาน กศน. ไดดําเนินการจัดประชุมกําหนดกรอบการจัดทําเคร่ืองมือประเมินระดับการรู หนังสือของนักศึกษา กศน. ตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดใหภารกิจการเปล่ียนแปลงการ ปฏิรูปการศึกษา เพ่ือแกปญหาการรูหนังสือ ดังน้ัน สํานักงาน กศน. เปนหนวยงานที่มีภารกิจหลักในการ สงเสริมการรูหนังสือ จึงตองดําเนินการอยางเรงดวนในเร่ืองดังกลาว โดยใน ป พ.ศ.2557 สํานักงาน กศน. สํารวจประชากร โดยพบวาคนไทย 6.9 ลานคน ยังไมรูหนังสือกวา 5.8 แสนคน แตตัวเลขดังกลาวเปนเพียง ขอ มูลการสาํ รวจเบอ้ื งตน คณะทํางานพิจารณาวาการประเมินสภาพการรูหนังสือ เปนการประเมินสภาพของผูไมรูหนังสือ ของประชาชนท่ัวไป แตกลุมเปาหมายท่ีจะดําเนินการน้ีเปนผูที่ลงทะเบียนเปนนักศึกษา กศน. ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงเห็นควรเปล่ียนชื่อจาก “การประเมนิ สภาพการรหู นงั สอื กศน.” เปน “การประเมินระดับการรูหนังสอื ของนักศึกษา กศน.” และไดรวม กําหนดกรอบการจัดทําเครื่องมือประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ไดแก (1) การกําหนด ระยะเวลาในการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. จํานวน 3 รอบ (2) การจัดทําเคร่ืองมือประเมิน ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ใหนําเครื่องมือประเมินเพ่ือคัดกรองนักเรียนอานออกเขียนไดตํ่ากวาเกณฑ โครงการ “พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยเพ่ือเด็กไทยอานออกเขียนได 100%” จากสํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน (สพฐ.) มาปรบั ปรงุ ใหสอดคลองกับนักศึกษา กศน. (3) การจัดทําโปรแกรม เก็บขอ มูลพ้นื ฐานประเมนิ ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (4) การจัดทําคูมือประเมินระดับการรูหนังสือ ของนักศึกษา กศน. (5) การติดตามการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. และ (6) การจัดทํา รายงานประเมนิ ระดบั การรูหนงั สือของนกั ศึกษา กศน. เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ ทั้งนี้ คณะทํางานมีขอเสนอวา ควรมีการจัดประชุมปฏิบัติการจัดทําคูมือและเคร่ืองมือการประเมิน ระดับการเรียนรูของนักศึกษา กศน. โดยนําเคร่ืองมือไปใชประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. รอบท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2/2559 ระหวางวันท่ี 10 มกราคม - 10 กุมภาพันธ พ.ศ. 2560 และนําผลมาปรับปรุง แกไขการจัดกระบวนการเรียนรู กศน. ใหมีประสิทธิภาพ เพื่อใชในการประเมินรอบท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1/2560 ระหวา งเดอื นพฤษภาคม - มิถุนายน พ.ศ. 2560 ตอ ไป 1.3 เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2559 ปฏิบัติการจัดทําคูมือและเครื่องมือการประเมินระดับการรูหนังสือ ของนักศกึ ษา กศน. สํานักงาน กศน. ไดดําเนินการจัดประชุมปฏิบัติการจัดทําคูมือและเครื่องมือการประเมินระดับ การรหู นังสือของนักศึกษา กศน. โดยมีผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (นางตรีนุช สุขสุเดช) ประธานการประชุมและกลาวถึงความเปนมาของการจัดทําคูมือและเครื่องมือการ ประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. เพื่อนําไปประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ระดับ ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อนําผลการประเมินมาพัฒนาการจัด กระบวนการเรียนรูของสํานักงาน กศน. การจัดทําคูมือและเครื่องมือการประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศกึ ษา กศน. ซึ่งในคูม ือดังกลาวมสี าระสําคัญ ดงั น้ี 5รายงานการดำ�เนินงานการประเมินระดับการรหู้ นังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได)้ ปงี บประมาณ 2562

6 1. คูม อื การประเมินระดบั การรูหนงั สือของนักศกึ ษา กศน. ประกอบดว ย 1) ขอบเขตของการดาํ เนนิ งาน 2) บทบาทหนาทขี่ องผูท ี่เก่ียวของในการประเมินระดับการรูหนังสอื ของนักศึกษา กศน. 3) วิธกี ารดําเนินการประเมนิ ระดับการรหู นังสือของนักศึกษา กศน. 4) เกณฑการประเมนิ ระดับการรหู นังสือของนักศึกษา กศน. 5) แบบนิเทศติดตามการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. สําหรับผูทําหนาที่ นเิ ทศ 2. เครอ่ื งมือการประเมนิ ระดบั การรูหนงั สือของนักศึกษา กศน. ประกอบดวย 1) ระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน 2 ชุด 2) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จาํ นวน 2 ชุด 3) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จาํ นวน 2 ชุด 3. แผนการดําเนนิ งานตอไป 1) แจงสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ขอนําเครื่องมือประเมิน เพ่ือคัดกรองนักเรียนอานออกเขียนไดตํ่ากวาเกณฑโครงการ “พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยเพื่อ เด็กไทยอานออกเขียนได 100 %” มาปรับเปนเครื่องมือประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ใหเ หมาะสมกับนักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2) แจงสํานักงาน กศน. กทม./จังหวัด นําเครื่องมือประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศึกษา กศน. นําไปใชต อ ไป 3) สํานักงาน กศน. ลงนามในคํานํา และอนุมัติใชคูมือการประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศึกษา กศน. 2. ระยะทดลองการประเมินระดับการรหู นังสือของนกั ศกึ ษา กศน. ปงบประมาณ 2560 สํานักงาน กศน. ดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ปงบประมาณ 2560 ดงั น้ี 2.1 รอบทดลอง ระยะที่ 1 ระหวางเดือนมกราคม – กุมภาพันธ พ.ศ. 2560 ดําเนินการ ประเมินนักศึกษา กศน. เฉพาะผทู ่ีคาดวาจะจบในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2559 เดือนมกราคม พ.ศ. 2560 การขบั เคล่อื นการประเมินระดับการรหู นังสือของนกั ศึกษา กศน 2.1.1 แจงสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ขออนุญาตใชเครื่องมือ ประเมินเพ่ือคัดกรองนักเรียนอานออกเขียนไดตํ่ากวาเกณฑโครงการ “พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ภาษาไทยเพ่ือเด็กไทยอานออกเขียนได 100 %” เพื่อเปนแบบในการปรับใชและพัฒนาเครื่องมือดังกลาว ใหเหมาะสมกับนักศึกษา กศน. 2.1.2 อนุมัติใหกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แจงสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัดทุกแหงเพ่ือดําเนินการตอไป และเผยแพรคูมือดังกลาวบนเว็บไซต www.nfe.go.th และ http://www.pattanadownload.com/korpor.html 2.1.3 มอบหมายหนวยศึกษานิเทศกดําเนินการนิเทศ ติดตาม การประเมินระดับการรูหนังสือ ของนกั ศกึ ษา กศน. 2.1.4 แจงใหสาํ นกั งาน กศน.กทม./จงั หวัดทุกแหง ดําเนินการ ดงั น้ี 6 รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมินระดบั การรู้หนงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ปีงบประมาณ 2562

7 1) ศึกษาแนวคิด กระบวนการดําเนินงาน บทบาทหนาที่ วิธีการ และเคร่ืองมือประเมิน ระดบั การรหู นังสอื ของนักศึกษา กศน. ใหชัดเจน 2) แตงตัง้ คณะทํางานประเมนิ ระดบั การรหู นงั สือของนักศึกษา กศน. 3) ประชุมชแ้ี จงมอบหมายภารกิจให กศน.เขต/อําเภอ 4) วางแผนการดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. รวมกับ กศน. เขต/อาํ เภอ 5) นํานโยบายสูการปฏิบัติโดยกําหนดเปนภารกิจสําคัญของสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด นิเทศ ติดตาม การดาํ เนินงานการประเมินระดับการรูหนงั สอื ของนักศึกษา กศน. ใหเปนไปตามคูมือและเครื่องมือที่ สาํ นกั งาน กศน. กาํ หนด พรอมใหก ําลงั ใจและรว มแกไขปญ หา 6) สงเสริม สนับสนุน นิเทศ ติดตาม การประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. กศน.เขต/อําเภอ ใน กทม./จังหวัด ใหดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพและรวมพัฒนานักศึกษา กรณีนักศึกษา ไมผานการประเมิน 7) รวบรวมขอมูลผลการประเมินของแตละ กศน.เขต/อําเภอ เพื่อสรุปขอมูลเปนระดับ กทม. /จังหวดั และรายงานสาํ นักงาน กศน. ที่ www.nfe.go.th/student60s โดยภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2559 ใหประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. เฉพาะผทู ค่ี าดวาจะจบ และภาคเรียนตอ ไปใหป ระเมินนกั ศกึ ษา กศน. ทุกคน เดือนกุมภาพันธ 2560 การเขาใชระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือ ของนักศึกษา กศน. สํานักงาน กศน. โดยกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยแจงสํานักงาน กศน. กทม./จงั หวัดทุกแหง ใหสถานศึกษาเขาใชระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนงั สือของนักศึกษา กศน. ดงั นี้ 1. ระดับสํานักงาน กศน.กทม/จงั หวัด สามารถดรู ายงานผล ไดที่ http://203.172.142.101/student60/province/login.php ชือ่ ผใู ชงาน Username = ชอื่ จงั หวดั เปน ภาษาไทย เชน นครราชสีมา รหัสผา น Password = รหสั จังหวัด 2 หลัก เชน 30 รหสั จังหวดั นครราชสมี า 2. ระดบั กศน.เขต/อาํ เภอ สําหรบั บนั ทกึ ขอมูลนักศึกษา ในกรณอี ําเภอ/เขต บันทึกผลเอง ไดท่ี http://203.172.142.101/student60/amper/login.php ชื่อผูใชง าน Username = ชื่ออาํ เภอเปนภาษาไทย เชน โนนไทย รหสั ผาน Password = 1234 3. กรณีที่ กศน.เขต/อําเภอ ตรวจสอบขอมูลแลวให กศน.แขวง/ตําบล บันทึกผลเอง ไดที่ http://203.172.142.101/student60/login.php ช่ือผใู ชง าน Username = รหสั กศน.แขวง/ตาํ บล/แขวง 10 หลัก รหสั ผาน Password = รหัส กศน.แขวง/ตําบล/แขวง 10 หลัก และคูมือการบันทึกขอมูลสามารถดาวนโหลด ไดท ี่ http://203.172.142.101/student60/login.php เดือนเมษายน 2560 จัดทํารายงานผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. รอบทดลอง ระยะที่ 1 เสนอเลขาธิการ กศน. 7รายงานการดำ�เนินงานการประเมินระดับการรหู้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ปงี บประมาณ 2562

8 2.2 รอบทดลอง ระยะท่ี 2 ระหวางเดือนพฤษภาคม – กันยายน 2560 ดําเนินการประเมิน นักศึกษา กศน. ทกุ คน ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2560 เดือนพฤษภาคม 2560 ดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ระยะที่ 2 สํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ดําเนินการประเมินรอบทดลอง ระยะท่ี 2 ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กับนักศึกษา กศน. ทุกคน ระหวางวันที่ 15 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน 2560 และเขาใชระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ระหวางวันที่ 16 - 30 มิถุนายน 2560 โดยในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2560 ใหประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ทกุ คน เดอื นกรกฎาคม 2560 ขอขยายเวลาและแจงการเขาใชระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรู หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. เปน รายภาค สํานักงาน กศน. โดยกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แจงสํานักงาน กศน. กทม./จังหวัดทุกแหง ขยายเวลาและแจงการเขาใชระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. เปนรายภาค ตงั้ แตวันที่ 1 – 31 กรกฎาคม 2560 และขอเปลี่ยนแปลงเสนทางการเขาใชระบบบันทึกผลการ ประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. โดยแบงการบันทึกขอมูลเปนภาค เพ่ือแกปญหาในการจัดเก็บ ขอมลู ของระบบ ดังนี้ 1. ภาคใต แบง เปน 3 ระดบั โดยใช Username และ Password เดมิ 1) ระดับตาํ บล http://203.147.24.44/student60/ 2) ระดบั อําเภอ http://203.147.24.44/student60/amper/ 3) ระดับจงั หวดั http://203.147.24.44/student60/province/ 2. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ แบงเปน 3 ระดับ โดยใช Username และ Password เดมิ 1) ระดบั ตาํ บล http://203.147.24.45/student60/ 2) ระดบั อําเภอ http://203.147.24.45/student60/amper/ 3) ระดบั จังหวัด http://203.147.24.45/student60/province/ 3. ภาคเหนือ แบง เปน 3 ระดบั โดยใช Username และ Password เดิม 1) ระดบั ตาํ บล http://203.147.24.46/student60/ 2) ระดบั อาํ เภอ http://203.147.24.46/student60/amper/ 3) ระดบั จังหวัด http://203.147.24.46/student60/province/ 4. ภาคกลาง แบงเปน 3 ระดับ โดยใช Username และ Password เดมิ 1) ระดับตาํ บล http://203.147.24.50/student60/ 2) ระดับอาํ เภอ http://203.147.24.50/student60/amper/ 3) ระดับจังหวดั http://203.147.24.50/student60/province/ 5. ภาคตะวนั ออกและสาํ นักงาน กศน.กทม. แบงเปน 3 ระดับ โดยใช Username และ Password เดิม 1) ระดับตําบล http://202.143.165.164/student60/ 2) ระดับอาํ เภอ http:// 202.143.165.164/student60/amper/ 3) ระดับจงั หวดั http:// 202.143.165.164/student60/province/ 8 รายงานการด�ำ เนินงานการประเมินระดับการรูห้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได)้ ปงี บประมาณ 2562

9 เดือนกันยายน 2560 รายงานการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํารายงานผลการดําเนินงาน การประเมนิ ระดบั การรูหนังสือของนักศกึ ษา กศน. สํานักงาน กศน. โดยกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดําเนินการ จัดทํารายงานผลการดําเนินงานการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. รอบทดลอง ระยะท่ี 1 และระยะที่ 2 เสนอตอ สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ 3. การประเมนิ ระดับการรูหนงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. ปงบประมาณ 2561 สํานักงาน กศน. ดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ปงบประมาณ 2561 ดังนี้ 1. สํานักงาน กศน. โดยกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดําเนินการ ปรับปรุง แกไข คูมือการประเมินระดบั การรูห นงั สือของนักศึกษา กศน. (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 2. พัฒนาเคร่ืองมือประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560 และภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2561 3. ขออนุมัติใชและเผยแพรค ูมือการประเมนิ ระดับการรูห นังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เครื่องมือประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา พ.ศ. 2560 และภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา พ.ศ. 2561 4. แจงสํานกั งาน กศน.กทม./จังหวัด ดาํ เนนิ การประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. 4.1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2560 ระหวางวนั ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 - 31 มกราคม 2561 4.2 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2561 ระหวา งวันที่ 16 พฤษภาคม – 15 สงิ หาคม 2561 5. ประสานสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั นครราชสีมา ขอความอนเุ คราะหนายนิกร เกษโกมล ศกึ ษานิเทศกช ํานาญการพิเศษ รวมกับกลุมงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ดูแลระบบบันทึกผลการ ประเมินระดับการรหู นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. “ผานระบบออนไลน” เพ่ืออํานวยความสะดวกในการเขาใชร ะบบ 6. แจงเขาใชร ะบบการบันทึกผลการประเมนิ 6.1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560 ในระหวางวันที่ 2 ธันวาคม 2560 – 28 กุมภาพันธ 2561 โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้ 6.1.1 การบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนั กศึกษา กศน. ไดจัดทํา คมู ือการบนั ทกึ ขอ มูล พรอมใหด าวนโหลดท่เี ว็บไซต http://203.147.24.87/student61/login.php 6.1.2 การเขาใชระบบการบันทึกผลการประเมิน ไดแบงเปนภาคเพื่อความสะดวกในการ เขาถึง 6.2 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2561 ในระหวางวันที่ 16 มิถุนายน– 31 สิงหาคม 2561 โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี 6.2.1 การบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ทางเว็บไซต http://203.147.24.85/student62/login.php 6.2.2 คูมือการเขาใชระบบบันทึกขอมูลผลการประเมิน สามารถดาวนโหลดทางเว็บไซต http://203.147.24.85/student62/handbook/readme.pdf 9รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมินระดับการรูห้ นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

10 7. สาํ นกั งาน กศน. โดยกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดําเนินการจัดทํา รายงานผลการดําเนินงานการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ปงบประมาณ 2561 เสนอตอ สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 4. การประเมนิ ระดับการรูหนงั สือของนกั ศึกษา กศน. ปง บประมาณ 2562 สาํ นกั งาน กศน. ดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขียนได) ปง บประมาณ 2562 ดังน้ี 1. สํานักงาน กศน. โดยกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดําเนินการ ปรับปรุง แกไข คูมือการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขียนได) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561 2. พัฒนาเครื่องมือประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขียนได) ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2561 และภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2562 3. ขออนมุ ตั ิใชแ ละเผยแพรคมู ือการประเมนิ ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออก เขียนได) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2561 และเคร่ืองมือประเมินระดบั การรูหนังสอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอานออก เขียนได) ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา พ.ศ. 2561 และภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา พ.ศ. 2562 4. แจงสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัดทุกแหง ดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขยี นได) 4.1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2560 ระหวางวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2561 ถึงวันท่ี 31 มกราคม 2562 4.2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2561 ระหวา งวนั ที่ 16 พฤษภาคม ถึงวันที่ 15 สงิ หาคม 2562 5. ประสานสํานักงาน กศน.จังหวัดนครราชสีมา ขอความอนุเคราะหนายนิกร เกษโกมล ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ รวมกับกลุมงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ดูแลระบบบันทึกผลการ ประเมนิ ระดบั การรหู นังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอานออกเขียนได) “ผานระบบออนไลน” เพ่ืออํานวยความ สะดวกในการเขา ใชร ะบบ 6. แจงเขาใชระบบการบันทึกผลการประเมนิ 6.1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 ระหวางวันที่ 1 พฤศจิกายน 2561 – 31 มกราคม 2562 โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี 6.1.1 การบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ทางเว็บไซต http://203.147.24.85/student62/login.php 6.1.2 คูมือการเขาใชระบบบันทึกขอมูลผลการประเมิน สามารถดาวนโหลดทาง เว็บไซต http://203.147.24.85/student62/login.php 6.2 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2562 ในระหวางวันที่ 16 พฤษภาคม ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2562 โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 6.2.1 การบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ทางเว็บไซต http://203.147.24.85/student62/login.php 6.2.2 คูมือการเขาใชระบบบันทึกขอมูลผลการประเมิน สามารถดาวนโหลดทาง เว็บไซต http://203.147.24.85/student62/login.php 10 รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ปีงบประมาณ 2562

11 5. คูมือการประเมินระดบั การรูหนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา นออกเขยี นได) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2561 สํานักงาน กศน. โดยกลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดดําเนินการพัฒนา คมู อื การประเมนิ ระดบั การรูหนังสอื ของนกั ศึกษา กศน. โดยมสี าระสําคัญ ดงั นี้ 1. ความเปนมา สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สํานักงาน กศน.) ไดดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขียนได) ตามนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการในการสงเสริมการอานและการเรียนรู เน่ืองจากมีคําถามจากกระแสสังคมมากมายวา นกั ศึกษา กศน. ท่จี บการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน จาก สาํ นักงาน กศน. อา นไมอ อกเขียนไมไ ดใ นวิชาภาษาไทย โดยไม ตองพูดถึงรายวิชาอ่ืนๆ เพราะถาเราอานไมออกเขียนไมไดในวิชาภาษาไทย การที่จะไปเรียนรูในวิชาอื่นเปน เร่ืองที่ยากมาก อีกทั้งภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติท่ีใชในการสื่อสาร โดยเฉพาะการอานและการเขียน ภาษาไทย ซ่ึงเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูการเรียนรูในระดับท่ีสูงข้ึนภายใตสังคมแหงการเรียนรูใน ศตวรรษที่ 21 ท่ีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วท้ังดานเทคโนโลยีและการคิดคนพัฒนาองคความรูใหม ๆ ท่ีตองอาศัยการอานและการเขียน (Reading & Writing) เปนทักษะท่ีจําเปนสําหรับการเรียนรู เพื่อการ ดาํ รงชีวิตที่มีคุณภาพ มีทักษะคิดวิเคราะห แยกแยะ และประยุกตใชใหเหมาะสมสอดคลองกับตนเองเพ่ือการ เรยี นรูตลอดชวี ิต สํานักงาน กศน. ดําเนินการจัดทําโครงการสงเสริมการอานออกเขียนได ปงบประมาณ พ.ศ. 2559 ในระยะแรกไดนําเคร่ืองมือท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ใชเปนเครื่องมือ ประเมินเพ่ือคัดกรองนักเรียนอานออกเขียนไดตํ่ากวาเกณฑโครงการ “พัฒนาคุณภาพการเรียน การสอน ภาษาไทย เพ่ือเด็กไทยอานออกเขียนได 100 %” มาใชประเมินกับนักศึกษา กศน. เน่ืองจากเปน การจัดการ ศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน จากนั้น คณะทํางานจัดทําคูมือการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอาน ออกเขียนได) และขออนุญาตใชเครื่องมือของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) พรอม ปรับปรุง เพ่ือใหสอดคลองกับนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 อีกทั้งแจงสถานศึกษาดําเนินการประเมินและรายงานผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขียนได) ในระบบออนไลน มีระยะทดลองเปน 2 ระยะ คือ ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2559 และภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศึกษา 2560 ระยะทดลองจะดําเนินการกบั นกั ศกึ ษา กศน. ท่ีเปนกลุมเปาหมาย แตกตางกัน คือ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2559 เฉพาะนักศึกษาท่ีคาดวาจะจบ จํานวน 176,043 คน และ ภาคเรยี นท่ี 1 ปก ารศึกษา 2560 นกั ศกึ ษาท่ลี งทะเบยี นทกุ คน จาํ นวน 1,098,421 คน ดงั น้ัน สาํ นักงาน กศน. จงึ ไดด ําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอาน ออก-เขียนได) ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย อยางตอเนื่อง เพื่อเปนการสงเสริมการอาน-การเขยี นภาษาไทยของนักศึกษา กศน. และนําผลการประเมินมาพัฒนาการอาน และเขยี นภาษาไทยของนักศกึ ษา กศน. ใหม ปี ระสทิ ธิภาพตอ ไป 2. วตั ถปุ ระสงค เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การอานออก เขียนได) ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3. กลมุ เปาหมาย นักศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกคน ในระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 11รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมนิ ระดับการรู้หนงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ปีงบประมาณ 2562

12 4. เคร่อื งมอื การประเมนิ เคร่ืองมือประเมินระดับการรูหนังสือนักศึกษา กศน.เปนการประเมินการอานและการเขียน ภาษาไทย ทสี่ าํ นกั งาน กศน. พฒั นาข้นึ จากคาํ ประโยค บทรอยแกว บทรอยกรองที่เก่ียวของในชีวิตประจําวัน ทีเ่ ก่ยี วขอ งในแบบเรียนวชิ าในหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ซึง่ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 4.1 ระดับประถมศึกษา ประกอบดวย แบบประเมินการอานและการเขียนท่ีเก่ียวของใน ชีวิตประจําวัน และที่เกี่ยวของในแบบเรียนวิชาในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน 2 ชดุ คือ ชดุ ที่ 1 การอา นภาษาไทย มี 2 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 การอา นคํางาย ๆ ในชวี ิตประจําวัน จํานวน 20 คาํ ตอนที่ 2 การอานนิทาน บทความ จํานวน 1 เร่ือง ท่ีมีความยาวประมาณ 200 คํา ชดุ ท่ี 2 การเขยี นภาษาไทย จํานวน 20 คํา 4.2 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ประกอบดวย แบบประเมินการอานและการเขียนคํา ประโยค บทรอยแกว บทรอยกรองที่เกี่ยวของในชีวิตประจําวัน และที่เก่ียวของในแบบเรียนวิชาในหลักสูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน จาํ นวน 2 ชุด คอื ชุดที่ 1 การอา นภาษาไทย มี 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 การอานคาํ จาํ นวน 50 คาํ ตอนท่ี 2 การอา นประโยค 10 ประโยค ตอนที่ 3 การอา นบทรอยแกว ประมาณ 300 คาํ หรอื บทรอ ยกรอง จํานวน 1 บท ชดุ ที่ 2 การเขียนภาษาไทย เขียนเรอ่ื งจากภาพหรอื หัวเรือ่ งทีก่ าํ หนด จาํ นวน 1 เร่ือง 4.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบดวย แบบประเมินการอานและการเขียนคํา บทรอยแกว บทรอยกรองท่ีเก่ียวของในชีวิตประจําวัน และท่ีเกี่ยวของในแบบเรียนวิชาในหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน 2 ชดุ คือ ชุดท่ี 1 การอานภาษาไทย มี 2 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 การอา นคํา จํานวน 50 คํา ตอนท่ี 2 การอานบทความพระราชดํารัส พระบรมราโชวาท ฯลฯ จํานวน 1 เรอื่ ง ชุดท่ี 2 การเขียนภาษาไทย เขียนเร่ืองจากหัวเรื่องหรือภาพที่เกี่ยวของกับความคิด สรา งสรรค จนิ ตนาการ คณุ ธรรม จริยธรรม ประเพณี วัฒนธรรม การศกึ ษา จาํ นวน 1 เรื่อง 4.4 เกณฑการตัดสินผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ตองผาน เกณฑการประเมิน ดังนี้ 4.5.1 การอานภาษาไทย ไดคะแนนรวมการอา น ไมต ํา่ กวา รอ ยละ 60 4.5.2 การเขยี นภาษาไทย ไดค ะแนนรวมการเขยี น ไมตา่ํ กวารอ ยละ 60 นกั ศกึ ษาตอ งผา นการประเมินการอานและการเขียนภาษาไทยตามเกณฑ จึงจะถือ วา ผา นการรูหนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. ระดบั น้ัน ๆ 4.5 ระยะเวลาในการประเมินและการเขาใชระบบบันทกึ ผล สถานศึกษาสามารถประเมินระดับการรูหนังสือชองนักศึกษา กศน. และเขาใชระบบ บนั ทึกผลในระยะเวลาทกี่ ําหนดของแตละภาคเรียน ดังน้ี 12 รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การรูห้ นงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ปีงบประมาณ 2562

13 ระยะเวลาในการประเมนิ ภาคเรียนที่ 1 ระหวางวนั ที่ 16 พฤษภาคม – 15 สงิ หาคม ของทุกป ภาคเรยี นที่ 2 ระหวางวนั ที่ 1 พฤศจิกายน – 31 มกราคม ของทุกป การเขาใชร ะบบบนั ทกึ ผล ภาคเรียนท่ี 1 ระหวางวนั ที่ 16 มิถนุ ายน – 31 สงิ หาคม ของทุกป ภาคเรยี นท่ี 2 ระหวา งวันท่ี 2 ธนั วาคม – 16 กมุ ภาพันธ ของทกุ ป 4.6 นยิ ามศพั ทเฉพาะ การประเมนิ ระดบั การรหู นังสือของนกั ศกึ ษา กศน. หมายถงึ การประเมินการรูภาษาไทย ดานการอานและการเขียนของนักศึกษา กศน. ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 13รายงานการด�ำ เนินงานการประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปีงบประมาณ 2562

14 4.7 แผนผังกระบวนการดําเนนิ การประเมนิ ระดบั การรหู นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. รับสมคั รนักศกึ ษา ลงทะเบยี นเรียน ประเมินระดบั การรูห นงั สอื ของนักศึกษา กศน.(การอานออกเขยี นได) ผลการ ไมผา น ประเมนิ พฒั นาการอานและเขยี น ผา น ควบคูก บั การจดั การเรียนรู ประเมนิ ระดบั การรูหนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา นออกเขยี นได) ประเมนิ ซ้ํา ผลการ ไมผา น ประเมนิ ผา น รายงาน 14 รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมินระดับการร้หู นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ปงี บประมาณ 2562

15 จากแผนผังกระบวนการดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. สรปุ ไดดงั น้ี 4.7.1 รบั สมคั รนักศึกษาใหม สถานศึกษาดําเนนิ การรบั สมคั รตามระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการ 4.7.2 ลงทะเบียนเรียน นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในแตละภาคเรียนโดยครู กศน. ตอง ตรวจสอบจํานวนนักศึกษาท่ีตองเขารับการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. แตละระดับ การศึกษา พรอมจัดเตรียมแบบประเมินการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ตามจํานวนนักศึกษาแตละระดับ การศึกษา 4.7.3 ประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ครู กศน. ทุกคน ทุกระดับการศึกษา ดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ตามความพรอมของนักศึกษา กศน. และ สถานศึกษา โดยใชแบบประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน.ท้ังน้ีตองอยูในชวงระยะเวลาที่ สาํ นักงาน กศน. กําหนด ดังนี้ ภาคเรยี นท่ี 1 ระหวางวันท่ี 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม ของทกุ ป ภาคเรยี นท่ี 2 ระหวางวันท่ี 1 พฤศจิกายน – 31 มกราคม ของทุกป 4.7.4 ผลการประเมิน ครู กศน. แจงผลการประเมินใหกับนักศึกษาท่ีเขารับการประเมินทราบ พรอมทง้ั เกบ็ ขอมูลผูทผ่ี า นและไมผ า นการประเมิน เพือ่ เสนอผอู าํ นวยการ กศน.เขต/อาํ เภอ 4.7.5 ผาน ผูที่ผานการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. แลว ไมตอง ประเมินซํ้าอีก โดย ครู กศน. จะตองเขาระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (การเขาใชระบบบันทึกผลในภาคเรียนท่ี 1 ระหวางวันท่ี 16 มิถุนายน – 31 สิงหาคม และภาคเรียนที่ 2 ระหวา งวนั ที่ 2 ธนั วาคม – 16 กมุ ภาพนั ธ ของทุกป) 4.7.6 ไมผา น ผทู ี่ไมผ า นการประเมิน ครู กศน. ตองดําเนินการดงั น้ี 1) พฒั นาการอานและการเขียนภาษาไทย ใหก บั ผทู ่ีไมผา นการประเมินระดบั การรหู นังสอื ของนักศึกษา กศน. ในระหวางการจัดกระบวนการเรียนรูตามรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน ในภาคเรยี นนนั้ ๆ 2) ประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน.ซ้ํา ตามความพรอมของนักศึกษา กศน. และสถานศึกษา 3) แจงผลการประเมินใหกับนักศึกษาที่เขารับการประเมินซ้ํา พรอมท้ังเก็บขอมูล ผูท่ีผานและไมผานการประเมิน ท้ังนี้ ผูที่ผานการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ในคร้ังน้ีแลว ไมตองประเมินซ้ําอีก สําหรับผูที่ไมผานการประเมิน ครู กศน. จะตองดําเนินการพัฒนาและประเมินใหม ในภาคเรยี นถัดไป 4.7.7 ครู กศน. รวบรวมจํานวนนักศึกษาที่ผานการประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศึกษา กศน. และไมผานการรูหนังสือของแตละระดับในแตละภาคเรียน เสนอผูอํานวยการ กศน.เขต/อําเภอ ทราบ แลว ดาํ เนินการเขาใชร ะบบบันทึกผลการประเมนิ ระดับการรูหนงั สอื ของนกั ศึกษา กศน. ท้ังนี้ ในภาคเรียนที่ 1 ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกป และ ภาคเรียนที่ 2 ใหแ ลว เสรจ็ ภายในวันท่ี 16 กมุ ภาพันธ ของทกุ ป 4.7.8 กศน.เขต/อําเภอ สรุปผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ในแตละ ภาคเรยี น ตามแบบฟอรม (ภาคผนวก) สงให สํานักงาน กศน. กทม./จงั หวดั 4.7.9 สาํ นักงาน กศน.กทม./จังหวดั สรุปผลการประเมนิ ระดบั การรหู นังสือของ นกั ศึกษา กศน. ในแตล ะภาคเรียน ตามแบบฟอรม (ภาคผนวก) สง ให สํานักงาน กศน. 15รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมินระดบั การรู้หนังสือของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ปีงบประมาณ 2562

16 4.7.10 สํานักงาน กศน. รายงานผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ตอ สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 4.8 บทบาทหนาทีข่ องผูทีเ่ กย่ี วขอ งในการประเมนิ ระดับการรหู นงั สือของนักศกึ ษา กศน. 4.8.1 สาํ นกั งาน กศน. สํานกั งาน กศน. จดั ทาํ เอกสารคมู อื การประเมิน ออกแบบระบบการจัดเก็บและ ติดตาม และนําผลมาพฒั นา ระดับการรหู นังสือของ ประมวลผลขอ มลู ระบบการประเมิน นกั ศกึ ษา กศน. กลุมแผนงาน กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบ กลุม พัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั และ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กลุม แผนงาน บทบาทหนาที่ 1. ศกึ ษา วเิ คราะห นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2. แตงต้ังคณะทาํ งานการประเมนิ ระดับการรหู นังสอื ของนักศึกษา กศน. 3. จดั ทาํ คมู อื และเคร่ืองมือการประเมนิ ระดับการรหู นังสือของนักศกึ ษา กศน. 4. พัฒนาโปรแกรมและจัดทําฐานขอมูลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. 5. แจงสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ดําเนนิ การ 6. ติดตามผลการดําเนนิ งาน เพ่ือนําผลมาพัฒนาระบบการประเมิน 7. จดั ทาํ รายงานผลการประเมินระดบั การรหู นังสอื ของนักศึกษา กศน. เสนอ สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 4.8.2 สาํ นกั งาน กศน. กทม./จงั หวัด สํานกั งาน กศน.กทม./จังหวัด แตง ตง้ั คณะทํางาน ชแี้ จงคณะทาํ งานฯ นเิ ทศ และติดตาม รายงานผลการประเมนิ การประเมินระดับการรหู นงั สอื 16 รายงานการด�ำ เนนิ งานการประเมินระดับการรูห้ นงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

17 บทบาทหนาที่ 1. ศึกษาแนวคิด กระบวนการดําเนินงาน บทบาทหนาที่ วิธีการ และเคร่ืองมือ ประเมนิ ระดับการรหู นงั สือของนักศึกษา กศน. ใหชัดเจน 2. แตงต้งั คณะทํางานการประเมนิ ระดบั การรหู นงั สอื ของนักศึกษา กศน.ประกอบดว ย 2.1 ผอู ํานวยการสํานกั งาน กศน.กทม./จงั หวดั เปน ประธาน 2.2 ผูอาํ นวยการ กศน. อาํ เภอ/เขต ทกุ เขต/อําเภอ เปน กรรมการ 2.3 ศึกษานิเทศก สํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ทุกคน หรือเจาหนาที่ที่รับผิดชอบ งานนิเทศเปนกรรมการ 2.4 เจาหนาทท่ี ี่ไดรับมอบหมายเปน เลขานุการ 3. ช้ีแจงการดําเนินงานประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ใหกับ คณะทาํ งานการประเมนิ ระดับการรหู นังสือของนกั ศึกษา กศน. 4. นิเทศ ติดตามการดําเนินงานการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ของกศน.เขต/อําเภอ ในกทม./จังหวัด ใหดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพและรวมพัฒนานักศึกษา กรณี ประเมิน ไมผ าน 5. รวบรวมขอมูลผลการประเมินของแตละ กศน.เขต/อาํ เภอ เพื่อสรุปขอมูลเปนระดับ จงั หวัด/กทม. และรายงานผลการประเมินระดับการรูห นงั สอื ของนักศึกษา กศน. เสนอตอ สาํ นักงาน กศน. 4.8.3 ผทู าํ หนา ทีน่ ิเทศ ผูท าํ หนาท่นี ิเทศ หมายถึง ผูบรหิ ารสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ผูอํานวยการ กศน. เขต/อําเภอ ศึกษานิเทศก และผูที่ไดรับการแตงตั้งใหทําหนาที่นิเทศของสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด หรือ กศน.อาํ เภอ/เขต บทบาทของผทู ําหนาทน่ี เิ ทศการประเมนิ ระดบั การรูห นงั สือของนักศึกษา กศน. มีบทบาทหนา ที่ ดงั น้ี การนิเทศ ติดตาม ศึกษาทาํ ความเขา ใจ แผนปฏบิ ัตกิ ารเพ่อื นเิ ทศ และติดตาม รวบรวมขอ มลู ปฏิบัติการนิเทศ ติดตาม พรอ มเสนอแนะ และสรปุ รายงาน บทบาทหนา ที่ 1. ศึกษาทําความเขาใจแนวทางการดําเนินงานตามคูมือการประเมินระดับการรูหนังสือ ของนักศกึ ษา กศน. 2. จัดทําแผนปฏิบัติการเพ่ือปฏิบัติการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการประเมินระดับ การรหู นงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. รว มกับ กศน.เขต/อาํ เภอ และหรือ สํานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. 3. จัดทําเคร่ืองมือการนิเทศ ติดตาม เพื่อรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริง ในการประเมินตาม แบบทีก่ าํ หนด 17รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

18 4. นิเทศ และติดตาม พรอมขอเสนอแนะการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. เชน การเย่ียมชั้นเรียน การใหคําปรึกษาแนะนํา (Coaching) การแนะนํา การชี้แนะ และการใหคําปรึกษา เพือ่ การพฒั นาแก กศน.เขต/อําเภอ สํานกั งาน กศน.กทม./จงั หวดั และสํานกั งาน กศน. 5. รายงานผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ตอ กศน.เขต/อาํ เภอ สํานกั งาน กศน.กทม./จังหวดั 4.8.4 กศน.อําเภอ/เขต กศน.อําเภอ/เขต ผอ.กศน.อําเภอ/เขต ตรวจสอบเคร่อื งมือและ ชแ้ี จงการประเมิน วิธกี ารประเมิน เจาหนาที่และครู เจา หนาท่ีและครู ประชาสัมพนั ธก ารประเมินระดับ ตรวจสอบความถูกตอ งของขอ มลู นิเทศ ติดตาม และแกไ ขปญ หา รวบรวมขอ มูลจัดเกบ็ เอกสารและ การรูหนงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. นกั ศึกษา กศน. กรณีนกั ศึกษาไมผา นการประเมนิ รายงานสาํ นักงาน กศน.จังหวัด/กทม. คณะกรรมการและเจาหนา ท่ี เจาหนาทแ่ี ละครู คณะกรรมการและเจา หนา ที่ คณะกรรมการและเจา หนา ที่ บทบาทหนาที่ นํานโยบายสกู ารปฏบิ ัตโิ ดยดาํ เนนิ การตามคมู ือการดาํ เนินงานรวมกับสํานักงาน กศน.กทม./ จังหวดั โดย 1. ศกึ ษาแนวคดิ กรอบการทํางาน และวิธีการตามคมู ือการดําเนินงานใหชัดเจน 2. ชแ้ี จงมอบหมายภารกิจใหบ ุคลากร และ กศน.ตําบล/แขวง 3. ตรวจสอบความถูกตองของฐานขอมูลนักศึกษา กศน. ในภาคเรียนที่จะดําเนินการ ประเมินรวมกับ กศน.แขวง/ตําบลโดยพิมพฐานขอมูลจําแนกราย กศน.แขวง/ตําบลเพื่อใชประกอบในประเมิน ระดบั การรูห นังสือของนกั ศึกษา กศน. 4. ประชาสัมพันธการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. กับนักศึกษา กศน. 5. จัดเตรียมเคร่ืองมือการประเมินมอบแก กศน.แขวง/ตําบลและดําเนินการประเมิน รว มกับ กศน. ตําบล/แขวง และคณะกรรมการท่ีเกีย่ วขอ ง 6. รวบรวมสรุปผลการประเมินแตละ กศน.แขวง/ตําบลตรวจสอบความถูกตองของ ขอ มลู เพ่อื บันทกึ ขอ มลู ในระบบฐานขอ มลู 7. นเิ ทศ ตดิ ตามและรว มพฒั นานักศึกษา กรณนี กั ศกึ ษาประเมิน ไมผาน 8. รวบรวมสรุปผลการประเมินแตละ กศน.แขวง/ตําบลเพื่อสรุปขอมูลเปนระดับ กศน.เขต/อําเภอ และรายงานสํานกั งาน กศน. จังหวดั /กทม. 9. จดั เก็บเอกสารการประเมนิ อยางเปนระบบ ตามระเบียบของทางราชการ 18 รายงานการดำ�เนินงานการประเมินระดบั การร้หู นงั สือของนกั ศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

19 4.8.5 กศน.ตาํ บล/แขวง กศน.ตาํ บล/แขวง เจาหนาทแี่ ละครู กศน. ศกึ ษา ทาํ ความเขา ใจและ ตรวจสอบและจัดเตรียม วิธีการการประเมิน เคร่อื งมือประเมนิ เจาหนา ที่และครู กศน. เจา หนาที่และครู กศน. ชีแ้ จงการประเมนิ ระดับการรู ดําเนนิ การประเมนิ สงเสริม พัฒนาและแกไข รวบรวมขอ มลู และรายงานการ หนงั สือของนักศึกษา กศน. (กรณผี า นการประเมนิ ถอื วา สิ้นสุด กรณีนักศกึ ษาไมผ า นการประเมนิ ประเมนิ กศน.อาํ เภอ/เขต เจาหนา ทแ่ี ละครู กศน. เจา หนาที่และครู กศน. ไมตองประเมินรอบตอไป) เจาหนา ที่และครู กศน. เจาหนาทแ่ี ละครู กศน. ตดั สินผลการประเมนิ รวบรวมและกรอกขอมลู ตาม เจาหนา ทีแ่ ละครู กศน. แบบฟอรมและบันทกึ ผลในระบบ เจา หนา ทแ่ี ละครู กศน. บทบาทหนาที่ 1. ศึกษาทําความเขาใจ แนวทาง กระบวนการ สํารวจจํานวนนักศึกษาในภาคเรียนท่ี จะดําเนนิ การประเมนิ และประเมนิ ตามคูมือ 2. ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลจํานวนนักศึกษาในภาคเรียนท่ีจะดําเนินการ ประเมินรว มกบั กศน.เขต/อําเภอ และจดั เตรียมขอมูลที่เกยี่ วขอ งกับการประเมนิ 3. ตรวจสอบและจําแนกระดับการศึกษาของนักศึกษา กศน. ของ กศน.แขวง/ตําบล ทร่ี บั ผิดชอบ ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 4. ชี้แจงรายละเอียดการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ใหนักศึกษา กศน. 5. แจง ผูรบั การประเมินเขา รับการประเมนิ ระดับการรหู นังสือของนักศึกษา กศน. 6. ตัดสนิ ผลการประเมิน รวบรวม และกรอกขอมูลในตารางการประเมิน และจัดสงให กศน.เขต/อาํ เภอ 7. สงเสริม สนับสนุน และพฒั นานักศกึ ษา กรณีนกั ศกึ ษาประเมิน ไมผ าน 8. ดาํ เนนิ การประเมนิ ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ในรอบตอ ไป 9. ตดั สินผลการประเมิน รวบรวม และกรอกขอมูลในตารางการประเมิน ในรอบตอไป และจัดสงให กศน.เขต/อาํ เภอ 10. รวบรวมขอมูลพรอมทั้งเอกสารการประเมิน ในระดับตําบล/แขวง เพื่อนําสง กศน.เขต/อําเภอ กรณีท่ีมีขอสงสัยหรือขอคําปรึกษา ใหขอคําแนะนําจากผูบริหาร กศน.เขต/อําเภอ ศกึ ษานิเทศกจ งั หวัด เจา หนาที่ดูแลระบบ ICT 19รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดับการรหู้ นงั สอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได้) ปงี บประมาณ 2562

20 4.9. วธิ ีดําเนนิ การประเมนิ ระดับการรูหนังสอื ของนักศึกษา กศน. 4.9.1 กศน.แขวง/ตาํ บลรวมกบั กศน.เขต/อําเภอ ตรวจสอบฐานขอมลู ของนักศึกษา กศน. ในโปรแกรมทะเบยี นนกั ศึกษา (ITWs) ในตนภาคเรียนทีจ่ ะดาํ เนินการประเมิน จําแนกเปนระดับการศึกษา คือ ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน และระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 4.9. กศน.เขต/อําเภอ จัดเตรียมเอกสารที่เกี่ยวของโดยเฉพาะการจัดทําเคร่ืองมือประเมิน ระดบั การรูหนงั สือทีเ่ หมาะสมกับผเู ขา รับการประเมนิ เชน ความครบถว นของเคร่ืองมอื ขนาดตวั อกั ษร เปนตน 4.9.3 กศน.แขวง/ตาํ บล แจง ผูเ ขารับการประเมิน 4.9.4 ครู กศน. ดําเนินการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ตามเครื่องมือ ประเมินในภาคผนวก หรือสามารถดาวนโหลดไดท่ีเว็บไซต สํานักงาน กศน. (www.nfe.go.th/pattana) ใน หัวขอ “คูมือการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)” และตรวจให คะแนน พรอ มระบุระดับการรหู นังสือตามเกณฑท ่ีกําหนดไวใ นคมู ือฉบับน้ี 1) กรณีท่ีผานการประเมิน ใหครู กศน. สรุปผลการประเมินตามแบบฟอรม ในภาคผนวกเพื่อเสนอตอผูอํานวยการ กศน.เขต/อําเภอ พรอมทั้งบันทึกผลการประเมินในระบบบันทึกผลการ ประเมินระดบั การรูหนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. 2) สาํ หรบั ผูทีไ่ มผานการประเมิน ครู กศน. ตองดําเนินการ ดงั น้ี (1) พัฒนาการอานและการเขียนภาษาไทยใหกับผูที่ไมผานการประเมินระดับการรู หนังสือของนักศึกษา กศน. ในระหวางการจัดกระบวนการเรียนรูตามรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนใน ภาคเรยี นน้นั ๆ เชน สอนเสริมแบบฝก เขยี น แบบฝก อาน (2) ดาํ เนินการประเมินระดับการรูหนงั สือของนักศึกษา กศน. ซา้ํ ตามความพรอมของ นักศกึ ษา กศน. (3) แจงผลการประเมนิ ใหก ับนักศกึ ษาท่เี ขา รับการประเมนิ ซ้ํา พรอมทัง้ เก็บขอมลู ผูทผ่ี านและไมผา นการประเมิน ทั้งนี้ ผทู ่ผี า นการประเมินระดบั การรูหนงั สือของนักศึกษา กศน. ในคร้งั น้ีแลว ไมต องประเมนิ ซ้าํ อกี สําหรบั ผูท ไ่ี มผ านการประเมนิ ครู กศน. จะตองดําเนินการประเมนิ ใหม ในภาคเรียน ถัดไป 4.9.5 ครู กศน. ดําเนินการประเมินระดับการรูห นงั สือของนักศกึ ษา กศน. ทกุ คน ทุกระดับการศึกษา ตามความพรอมของนกั ศกึ ษา กศน. และสถานศึกษา โดยใชแบบประเมินระดบั การรู หนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. ท้ังนี้ ตอ งอยูในชวงระยะเวลาที่ สํานกั งาน กศน. กําหนด ดังน้ี ภาคเรยี นท่ี 1 ระหวา งวนั ที่ 16 พฤษภาคม – 15 สิงหาคม ของทุกป ภาคเรยี นท่ี 2 ระหวางวันที่ 1 พฤศจิกายน – 31 มกราคม ของทุกป ท้งั นี้ การประเมนิ ระดบั การรูห นงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. ตนภาคเรียน หากผูร ับการประเมนิ ผา นเกณฑการประเมิน ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ไมตองประเมินในรอบตอไป ใหถือวาสิ้นสุด กรณีไมผาน ให ครู กศน. ดําเนนิ การพัฒนาผรู บั การประเมนิ และเขารบั การประเมินในรอบตอไปปลายภาคเรียนเพื่อตัดสิน ผลการประเมินตอ ไป 4.9.6 กศน.แขวง/ตําบล รวบรวมขอมูลพรอมทั้งเอกสารการประเมิน ในระดับแขวง/ ตําบล นําสง กศน.เขต/อําเภอ เพ่ือเก็บไวใ ชเ ปนหลกั ฐาน 4.9.7 กรณที มี่ ีขอสงสยั หรือขอคาํ ปรกึ ษาเพ่มิ เตมิ ใหขอคําแนะนําจากเจาหนาที่ดูแลระบบ และผูรับผิดชอบการเก็บขอมูลของสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ผูบริหาร กศน.เขต/อําเภอ ศึกษานิเทศก จงั หวดั /เจา หนาทด่ี แู ลระบบ ICT 20 รายงานการดำ�เนินงานการประเมนิ ระดับการรู้หนังสือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

21 หมายเหตุ กรณีท่ีมีขอสงสัยหรือขอคําปรึกษาเพิ่มเติม ใหขอคําแนะนําจากเจาหนาท่ีดูแลระบบและ ผูรับผิดชอบการเก็บขอมูลของสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ผูบริหาร กศน.เขต/อําเภอ ศกึ ษานิเทศกจ ังหวัด / เจา หนาที่ดแู ลระบบ ICT ของสํานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. 4.9.8 ปฏทิ ินการดําเนินงานประเมนิ ระดบั การรหู นังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. เดอื น พฤษภาคม มิถนุ ายน กรกฎาคม สงิ หาคม เดือน พฤศจิกายน ธนั วาคม มกราคม กมุ ภาพนั ธ ภาคเรียน ภาคเรยี น ดํ า เ นิ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น กรณไี มผ านการประเมิน ดํ า เ นิ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น กรณีไมผานการประเมิน 1 ระดับการรูหนังสือของ 16 มถิ ุนายน - 2 ระดบั การรหู นงั สอื ของ 16 ธนั วาคม - นกั ศกึ ษา กศน. 15 สงิ หาคม นกั ศกึ ษา กศน. 31 มกราคม 16 พ.ค. - 15 ม.ิ ย. (ดําเนินพัฒนาการอา นและ 1 พฤศจิกายน – (ดําเนนิ พฒั นาการอา นและ (กรณผี านการประเมนิ การเขียนภาษาไทย) 1 ธนั วาคม การเขียนภาษาไทย) บันทึกผลการประเมิน การเขาใชร ะบบบันทกึ ผลการ (กรณีผานการประเมนิ การเขา ใชร ะบบบันทกึ ผลการ ในระบบ) ประเมินระดับการรูหนังสือของ บันทึกผลการประเมิน ประเมนิ ระดบั การรูหนังสือของ นักศึกษา กศน. ในระบบ) นกั ศกึ ษา กศน. 16 มถิ ุนายน - 31 สงิ หาคม 2 ธนั วาคม -16 กุมภาพันธ 4.10 เกณฑก ารประเมนิ ในการประเมนิ การอา นและเขียนภาษาไทยของนักศึกษา กศน. พิจารณาจาก แบบประเมนิ ของแตละระดบั การศึกษา ดังนี้ ตอนที่ 1 การอาน การอานออกเสียงเปนคํา วลี และประโยค การอานออกเสียงเปนขอความ มีเกณฑ การใหคะแนน ดงั น้ี การอา น ชวงคะแนน การแปลผลคุณภาพ 80 - 100 คะแนน อานไดดมี ากและอานคลอง 60 – 79 คะแนน อา นไดด ี 40 – 59 คะแนน อานไดแ ตไมค ลอ ง 20 – 39 คะแนน อานพอได 0 – 19 คะแนน อา นไมไ ด 21รายงานการดำ�เนินงานการประเมินระดบั การรู้หนงั สือของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได)้ ปงี บประมาณ 2562

22 ตอนที่ 2 การเขียน การเขียนคําตามคําบอก การเขียนคําจากคําอาน การเขียนประโยคอยางงาย ซับซอน การเขยี นเร่ืองจากภาพ การเขียนเลา เร่ืองหรอื การเขยี นแสดงความคิดเห็น มเี กณฑการใหค ะแนน ดังนี้ การเขียน การแปลผลคุณภาพ ชวงคะแนน เขียนไดด ีมากและเขยี นคลอ ง 80 - 100 คะแนน เขยี นไดดี 60 – 79 คะแนน เขยี นไดแ ตไ มคลอง 40 – 59 คะแนน เขียนพอได 20 – 39 คะแนน เขยี นไมไ ด 0 – 19 คะแนน 6. เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ ง ในการดําเนินงานประเมินระดับการรูหนังสือของสํานักงาน กศน. ในระยะทดลองจนถึงปจจุบัน มีเอกสารทเ่ี ก่ยี วของ ดงั นี้ 6.1 รายงานการดําเนินงานการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ปงบประมาณ 2560 เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 1/2561 ของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย จัดทําโดยมีวัตถุประสงค 1) เพื่อรายงานผลการดําเนินงานการประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศกึ ษา กศน. 2) เพ่อื ทราบปญหา อุปสรรค การดาํ เนนิ งาน และ 3) เพอ่ื ใหข อ เสนอแนะสําหรับปรับปรุงและ พัฒนาการดําเนนิ งานใหมีประสิทธิภาพ เครื่องมือท่ีใช คือ 1) เครื่องมือสําหรับประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศกึ ษา กศน. และ 2) เครื่องมือสาํ หรับการเก็บรวบรวมขอ มลู โดยเก็บขอมูลจาก 1) รายงานผลการประเมิน ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. จากระบบออนไลน “ระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือ ของนักศึกษา กศน.” สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน. สวนกลาง) นักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย และ 2) แบบบันทึกการนิเทศ ติดตามการประเมิน ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. และประเด็นการสนทนากลุม (Focus group Technique) ซ่ึงเปน ประเด็นเดียวกันกับคําถามในแบบบันทึกการนิเทศ ติดตามการประเมินผลการดําเนินงานประเมินระดับการรู หนงั สือของนกั ศกึ ษา กศน. 22 รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมินระดบั การรูห้ นงั สือของนักศึกษา กศน. (การอ่านออกเขยี นได้) ปงี บประมาณ 2562

23 6.1.1 ผลการดําเนินงานเชิงปรมิ าณ ตารางท่ี 1 จํานวนนกั ศกึ ษาทค่ี าดวา จะจบ ทเี่ ขา รับการประเมนิ การอานออกและการเขียนได ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2559 ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จํานวน จํานวน จาํ นวน ที่ ภาค จํานวน นกั ศึกษา จาํ นวน นกั ศึกษา จาํ นวน นกั ศกึ ษา นักศกึ ษา ทีเ่ ขา รบั นกั ศกึ ษา ทีเ่ ขารับ นกั ศึกษาผู ท่เี ขารับ ผคู าดวา รอ ยละ ผคู าดวา รอยละ คาดวาจะ รอ ยละ จะจบ การ จะจบ การ การ ประเมิน ประเมนิ จบ ประเมิน 1 เหนอื 1,694 1,164 68.71 7,435 6,390 85.94 12,851 10,901 84.83 2 กลาง 912 562 61.62 8,580 5,239 61.06 13,625 8,704 63.88 3 ใต 1,123 670 59.66 12,433 8,326 66.97 14,709 9,988 67.90 4 ตะวนั ออก/กทม. 852 508 59.62 9,000 5,907 65.63 12,281 8,297 67.56 5 ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 4,529 2,268 50.08 31,125 19,446 62.48 44,897 27,988 62.34 รวมท้ังหมด 9,110 5,172 56.77 68,573 45,308 66.07 98,363 65,878 66.97 ตารางท่ี 2 จาํ นวนนกั ศึกษาทกุ คน ที่เขารับการประเมนิ การอานออกและเขยี นไดภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2560 ระดบั ประถมศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน จาํ นวน จํานวน นักศกึ ษา นักศึกษา นักศกึ ษา ท่ี ภาค จํานวน ทเี่ ขา รบั รอยละ จํานวน ทเ่ี ขารบั รอยละ จํานวน ทเ่ี ขา รับ รอยละ นกั ศกึ ษา นักศกึ ษา นักศกึ ษา การ การ การ ประเมนิ ประเมนิ ประเมิน 1 เหนอื 21,034 11,013 52.36 54,334 39,538 72.77 86,243 62,322 72.26 2 กลาง 6,568 3,709 56.47 48,564 30,092 61.96 70,962 45,265 63.79 3 ใต 9,120 6,384 70.00 64,952 48,337 74.42 71,624 53,609 74.85 4 ตะวันออก/กทม. 6,091 3,494 57.36 51,522 31,873 61.86 70,205 44,504 63.39 5 ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 37,296 30,408 81.53 209,364 184,350 88.05 290,542 253,662 87.31 รวมทง้ั หมด 80,109 55,008 68.67 428,736 334,190 77.95 589,576 459,362 77.91 6.1.2 ผลการดาํ เนนิ งานเชงิ คุณภาพ สํานักงาน กศน.ดําเนินการจัดเก็บขอมูลเชิงคุณภาพตามแบบบันทึกการนิเทศติดตามผล และการสนทนากลมุ (Focus Group) ดังน้ี 1) ระดบั สํานกั งาน กศน.กทม./จงั หวัด 1.1) จัดประชุมช้ีแจงตามที่สํานักงาน กศน. สั่งการ ในลักษณะเปนวาระหนึ่งของการ ประชมุ ประจาํ เดอื น หรือการประชุมเฉพาะกิจ เปน ตน 23รายงานการด�ำ เนินงานการประเมินระดบั การรหู้ นังสือของนกั ศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได)้ ปีงบประมาณ 2562

24 1.2) มีหนังสือสั่งการ และเอกสารคูมือการดําเนินงานฯ ให กศน.เขต/อําเภอ ในสังกัด ทุกแหงดําเนินการ สํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด บางแหงใหเอกสารคูมือการประเมินระดับการรูหนังสือของ นกั ศกึ ษา กศน. เปน ตน ฉบับ และให กศน.เขต/อาํ เภอ จัดทําสําเนาคมู อื ดําเนินการฯ เพ่อื ใชตอ ไป 1.3) สํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด สวนใหญดําเนินการแตงตั้งคณะทํางานประเมินระดับ การรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ประกอบดวย ผูอํานวยการสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด เปนประธาน ผูอํานวยการ กศน.เขต/อําเภอ เปนคณะทํางาน ศึกษานิเทศก หรือเจาหนาที่งานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เปน เลขานกุ าร และสํานกั งาน กศน.กทม./จงั หวดั บางแหง ไดม อบหมายใหเจาหนาท่ีงานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของ สาํ นักงาน กศน.กทม./จังหวัด ดําเนินการ 1.4) มีการประสานการดําเนินงานรวมกับ กศน.เขต/อําเภอ ทุกแหง โดยกําหนดใหมี การจดั ทาํ แผนการประเมินระดับการรหู นงั สือของนักศึกษา กศน. ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2560 1.5) สนับสนุนเอกสารเคร่ืองมือการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ทั้ง 3 ระดับการศึกษา ไดแก ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ใหครู กศน. ท่ีจัดการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท้ังในรูปแบบของเอกสารและไฟลเอกสารผานเว็บไซตสํานักงาน กศน. เพ่ืออํานวยความสะดวกใหครูสามารถ นาํ เครือ่ งมือไปดาํ เนินการใหก บั กลมุ เปาหมายทรี่ บั ผิดชอบ 2) ระดับ กศน.เขต/อําเภอ 2.1) มีการแตง ตง้ั คณะทํางานประเมนิ ระดบั การรหู นังสอื ของนักศกึ ษา กศน. เปน สว นใหญ 2.2) ดําเนินการสรา งความเขาใจการประเมนิ ระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ใหแก บุคลากรเปนสวนใหญ โดยการจัดประชุมช้ีแจงเฉพาะกิจ การประชุมประจําสัปดาห และหรือการประชุม ประจําเดือนเกี่ยวกับความสําคัญของการประเมิน วิธีการ เกณฑการประเมิน เครื่องมือ ชวงเวลาการประเมิน และรายงานผลการประเมนิ วิธกี ารพฒั นาผเู รยี นที่ไมผ า นเกณฑ 2.3) สําเนาคูมือการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ใหครู กศน.ตําบล และ ผูเกย่ี วของทุกคนไดศกึ ษา เพอื่ ใชเ ปนแนวทางในการดาํ เนินงานทุกแหง 2.4) มีการติดตามผลการดําเนินงานการประเมิน โดยคณะทํางานประเมินระดับการรู หนังสือของนกั ศกึ ษา กศน. เปน สว นใหญ 2.5) จัดทําแบบฟอรมสําหรับสรุปผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. รายบุคคล ใหกับครู กศน. ท่ีจัดการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ท้ังในรูปแบบของเอกสารและไฟลเอกสารผานชองทางท่ีหลากหลาย เพ่ืออํานวยความ สะดวกในการดําเนินการใหกับกลุมเปาหมายที่รับผิดชอบ และติดตามผลการดําเนินงานจากการประชุม ประจาํ เดอื น เพอ่ื ตดิ ตามความกา วหนา 2.6) มีการจัดประเมินดวยรูปแบบท่ีหลากหลาย ไดแก (1) สถานศึกษาจัดประเมินพรอม กนั ในระดับอําเภอ (2) สถานศกึ ษาจัดประเมินในระดบั กลมุ ตําบล (3) สถานศึกษาจัดประเมนิ ในระดบั ตาํ บล 2.7) ใชวิธีการประเมินตามคูมือโดยเครงครัดเปนสวนใหญมีการนําส่ือเทคโนโลยีมาใชใน การประเมินเพ่ืออํานวยความสะดวกและแกปญหานักศึกษาที่ไมสามารถมารับการประเมินในชวงเวลา ที่กําหนดใหป ระเมินได เชน การประเมินผา น Line, video call, chat 2.8) รายงานผลการประเมินผานระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศึกษา กศน. โดยมอบหมายใหครู กศน. ที่จัดการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา 24 รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดบั การรู้หนังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขียนได)้ ปีงบประมาณ 2562

25 ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนผูบันทึกผลการประเมินเปนสวนใหญ และมีบางแหงจัดใหเจาหนาที่บันทึก ขอมลู ของ กศน.เขต/อําเภอ เปนผูบันทกึ ผลการประเมิน 2.9) จัดเก็บแบบประเมินไวเปนหลักฐานสําหรับการตรวจสอบที่ กศน.เขต/อําเภอ และ ที่ กศน.แขวง/ตาํ บล เปนสวนใหญ 6.1.3 ปญหา และอปุ สรรค 1) นกั ศึกษา 1.1) นักศึกษาของ กศน.เขต/อําเภอ สวนใหญเขารบั การประเมนิ ไมค รบตามจาํ นวนใน วันนัดหมาย แตขอรับการประเมนิ เปน ระยะ ๆ ซ่ึงยงั อยภู ายในระยะเวลาทส่ี าํ นักงาน กศน. กําหนด บางแหง มีนักศึกษาเขารบั การประเมินในชว งเวลาที่สาํ นักงาน กศน.กําหนด ไมครบตามจํานวนท่ีกาํ หนดในคูมือการ ประเมินระดับการรหู นังสอื ของนกั ศึกษา กศน. 1.2) ผลการประเมนิ การเขียนของนกั ศึกษา กศน. ใชภ าษาเขียนที่ไมถ ูกตองตามหลักภาษา โดยใชตามภาษาสมัยวัยรุนนิยม เชน “เธอ” เขียนเปน “เทอ” “ให” เขียนเปน “หั้ย” “ก็” เขียนเปน “กอ ” เปนตน 1.3) ผลการประเมินการอาน นักศึกษาอานตามเน้ือหา โดยไมเวนวรรคตอนตามสื่อ ผูป ระเมินตรวจสอบไดเ ฉพาะคาํ ถกู ผิดตามเกณฑการประเมิน เชน ชุดท่ี 1 การอาน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน (ระยะที่ 1) คําอานสวนใหญแมจะเปนคําอานตามหลักและระดับการรูของมาตรฐานภาษาไทย แตไมอยูใน วิถีชีวิตประจําวันของนักศึกษาจึงอานไมได เชน กกุธภัณฑ ขัณฑสกร นฤคหิต เปนตน นักศึกษาอาน ตามความคุนชินมากกวาเน้ือหา หรือคํา เชน “ทรัพยสิน” อานเปน “สินทรัพย” “สอบซอม” อานเปน “ซอ มเสรมิ ” “ไฉน” อานเปน “ไฉ” ฯลฯ 2) ครู 2.1) ครูบางคนไมเขาใจเกี่ยวกับการตรวจใหคะแนนการตอบในแบบประเมินตามเกณฑ ทีก่ ําหนดในคมู อื การประเมนิ ระดับการรูหนงั สือของนักศึกษา กศน. และการคิดคะแนนการอานจากแบบประเมิน 2.2) ครูบางคนนําแบบประเมินในคูมือการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ไปสอนนักศกึ ษากอ นการประเมินซึง่ ไมเ ปน ไปตามวัตถุประสงคของการประเมนิ 2.3) ครู/เจาหนาท่ีบันทึกผลการประเมินไมสามารถเขาใชระบบไดอยางตอเน่ือง มีผูเขา ใชระบบบันทึกผลการประเมินพรอมกันจํานวนมาก เนื่องจากครูดําเนินการประเมินเปนระยะ ๆ แตรอบันทึก ผลการประเมินรวมในคราวเดียวทําใหสัญญาณอินเทอรเน็ตไมเสถียร จึงทําใหการรายงานไมทันตาม กาํ หนดเวลาที่ระบบเปด 2.4) ครบู างสวนจดั เก็บแบบประเมินไมเ ปนระบบ ยากตอ การตรวจสอบ 3) กศน.เขต/อําเภอ กศน.เขต/อาํ เภอ ไดจดั ทําสําเนาเครื่องมือประเมินตามคูมือการประเมินระดับการรูหนังสือ ของนักศึกษา กศน. แบบประเมินการเขียนตามภาพ กศน.เขต/อําเภอ บางแหงสําเนาภาพไมชัดเจน แบบประเมิน การอาน มเี นื้อหาการอา นไมเวน วรรคตอน 4) สํานักงาน กศน.กทม./จังหวดั 4.1) สํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด บางแหงไมมีการประชุมชี้แจงสรางความเขาใจ แตได มอบหมายให กศน.เขต/อาํ เภอ ไปดาํ เนินการจัดทาํ สาํ เนาคมู ือการประเมนิ 25รายงานการด�ำ เนินงานการประเมนิ ระดบั การรู้หนงั สอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอา่ นออกเขยี นได)้ ปีงบประมาณ 2562

26 4.2) ศึกษานิเทศก สาํ นกั งาน กศน.กทม./จังหวัด บางแหง ไมไดนิเทศ ติดตาม ในระหวาง การดําเนินการประเมิน เนื่องจากมอบหมายเรื่องดังกลาวใหแกเจาหนาที่งานการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยตรง แตไมไ ดป ระสานผูมีสวนเกยี่ วขอ ง 5) สาํ นักงาน กศน. 5.1) ขอความทใ่ี ชในการประเมินการอาน เนื้อหาไมเวนวรรคตอน 5.2) ภาพทีใ่ ชในเครอ่ื งมือประเมนิ การเขยี นไมสอดคลองกบั บริบทของพืน้ ที่ 5.3) ระบบบันทึกผลการประเมินระดับการรูหนังสือของนักศึกษา กศน. ไมเสถียร ไมส ามารถเขาบันทึกผลพรอมกนั เปนจํานวนมาก ทาํ ใหระบบลม บอย จึงเกิดปญหาความลาชา 5.4) เคร่ืองมือการประเมินในสวนของคําช้ีแจงการประเมินบางประเด็นขาดหายไป เชน การเขยี นประโยคซบั ซอน การเขยี นประโยคอยางงาย 6.1.4 ขอเสนอแนะสําหรบั การปรบั ปรงุ และพัฒนาการดาํ เนนิ งาน 1) ขอเสนอแนะในการปรบั ปรุงการดําเนินงาน 1.1) ควรมีการจัดประชมุ ช้ีแจงและซักซอมความเขาใจในทกุ ระดับ เก่ียวกับการดําเนินการ ประเมนิ ระดบั การรหู นังสอื ของนกั ศกึ ษา กศน. 1.2) ครูควรประเมินนักศึกษาตอเน่ืองจนครบพรอมท้ังบันทึกผลการประเมินในระบบ ใหทันเวลา และหากนักศึกษาท่ีไมสามารถเขารับการประเมินในระยะเวลาท่ีสํานักงาน กศน. กําหนด ใหครู ประเมินนักศึกษาตอเน่ืองจนครบตามจํานวนและบันทึกผลการประเมินจัดเก็บเปนเอกสารรายงาน กศน.เขต/ อาํ เภอ และสํานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. 1.3) ครูตองตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินกอนนําไปทําการประเมิน เชน ความ ชดั เจนของตัวอักษร การเวนวรรคตอน ความคมชัดของภาพ เปน ตน 1.4) ครูควรพัฒนาผูเรยี นฝก ทักษะการเขยี นใหถ กู ตองในการจัดการเรียนรู 1.5) ครูควรพัฒนาผูเรียนฝกทักษะการอานแจกลูกสะกดคํา และสอนคําหลักที่ควรรูและ ตอ งรูเพมิ่ เติมใหเ หมาะสมแตละระดับการศึกษาในการจดั การเรียนรู 1.6) ครูตองศึกษาวัตถุประสงค ข้ันตอนและปฏิบัติตามคูมือการประเมินระดับการ รหู นงั สอื ของนักศึกษา กศน. 1.7) ครูควรบันทึกผลการประเมินตามท่ีมีผูเขารับการประเมินเปนระยะ ๆ ไมควรรอ บันทึกผลรวมในคราวเดียว ซึ่งอาจหลงลืมไดและกระทบตอการใชระบบบันทึกขอมูลที่มีผูเขาใชพรอมกันเปน จํานวนมาก และควรจัดทาํ ปฏทิ ินการประเมินใหช ดั เจน 1.8) ครูตอ งจัดเกบ็ แบบประเมินพรอมบันทึกรายงานการประเมินใหเปนระบบเพ่ือสะดวก ตอ การตรวจสอบและเพ่อื เปนหลกั ฐานอางองิ ในการบนั ทึกผลการประเมิน 2) ขอ เสนอแนะในการพัฒนาการดาํ เนนิ งาน 2.1) สํานักงาน กศน. ควรเปด ระบบรายงานผลการประเมนิ ภาคเรียนละ 2 ครัง้ 2.2) สํานักงาน กศน. ควรปรับคูมือการประเมิน/แบบประเมินระดับการรูหนังสือของ นักศึกษา กศน. ใหสมบูรณตอไป เชน ขนาดของตัวอักษร การเวนวรรคตอน และภาพการเขียนเลาเรื่อง ท่ีสอดคลอ งกบั บรบิ ทของพนื้ ท่ี ควรมใี หเ ลอื กมากขึ้น รวมท้ังรายละเอยี ดวธิ ีปฏิบัติตา ง ๆ 2.3) สํานักงาน กศน. ควรมีหนังสือซักซอมความเขาใจไปยังสถานศึกษา โดยผานสํานักงาน กศน.กทม./จังหวัด ใหสรางความเขาใจ กาํ กบั ติดตาม ใหมกี ารดาํ เนนิ งานตามคูม ือฯ อยางเครง ครดั 2.4) ควรดําเนินการประเมินระดบั การรหู นงั สือภาคเรยี นละ 2 ระยะ ดังน้ี 26 รายงานการดำ�เนนิ งานการประเมนิ ระดับการรู้หนังสอื ของนักศกึ ษา กศน. (การอ่านออกเขียนได้) ปงี บประมาณ 2562