คมู่ อื การป้องกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ปี 2562 โดย คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เชอ้ื โรงพยาบาลศรีนครินทร์ รว่ มกับ หนว่ ยควบคุมการตดิ เชือ้ งานบรกิ ารพยาบาล โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ISBN 978-616-438-411-8
รายการบรรณานกุ รมส�ำเร็จรปู (CIP) คู่มือการป้องกนั และควบคุมการติดเชอื้ ในโรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ปี 2562 /โดยคณะกรรมการปอ้ งกันและควบคุมการติดเช้ือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ; บรรณาธิการ อัมรา ศิรทิ องสุข, ทวนทอง พณั ธะโร, สมศักด์ิ เทียมเก่า.- -พิมพค์ ร้งั ท่ี 2.- -ขอนแกน่ : คณะกรรมการ, 2562. 242 หนา้ : ภาพประกอบ ISBN : 978-616-438-411-8 1. โรคตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาล – การป้องกนั และควบคมุ - - คู่มอื . 2. การตดิ เช้ือ – การป้องกันและควบคมุ -- คมู่ ือ. I อมั รา ศิรทิ องสขุ , บรรณาธกิ าร. II. ทวนทอง พณั ธะโร, บรรณาธิการ. III. สมศักดิ์ เทยี มเกา่ , บรรณาธิการ. IV. โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร.์ คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคมุ การติดเชอ้ื . V. ชอื่ เรอื่ ง. [WX167 ค695 2562] พมิ พ์คร้ังที่ 2 กรกฎาคม 2562 จ�ำนวน 150 เลม่ จัดพิมพ์โดย หน่วยควบคุมการติดเชื้อ งานบริการพยาบาล โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ พมิ พ์ท ี่ โรงพมิ พ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น ISBN 978-616-438-411-8
คู่มอื การป้องกนั และควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ บรรณาธกิ าร นางอมั รา ศริ ิทองสขุ นางสาวทวนทอง พัณธะโร รองศาสตราจารย์ สมศักดิ์ เทียมเก่า ที่ปรึกษา รองศาสตราจารยช์ าญชัย พานทองวิรยิ ะกลุ รองศาสตราจารยอ์ ภชิ าติ จริ ะวฒุ ิพงศ์ รองศาสตราจารย์ สมศักด ์ิ เทียมเก่า ผเู้ รยี บเรยี ง คณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เช้ือ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ ผ้รู วบรวม นางอัมรา ศิรทิ องสุข นางสาวทวนทอง พณั ธะโร ศาสตราจารยเ์ พลนิ จนั ทร์ เชษฐโ์ ชตศิ กั ด ์ิ ศาสตราจารย์วภิ า รีชัยพิชิตกุล รองศาสตราจารย์ศริ ลิ ักษณ์ อนันต์ณัฐศิริ รองศาสตราจารย์ภิรุญ มุตสิกพันธ์ุ รองศาตราจารย์ภพ โกศลารักษ์ รองศาตราจารยเ์ นสนิ ี ไชยเอยี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชชั สุมนานนท์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์กติ วิ รรณ วิปลุ ากร ผชู้ ่วยศาตราจารยจ์ รรยา จริ ะประดิษฐา อาจารย์ นพ.อธิบดี มีสงิ ห์ อาจารย์ นพ.องอาจ โสมอินทร์ นางสายสมร พลดงนอก นางรชั ฎาพร สุนทรภาส นาง ภคมน อปุ ดษิ ฐ์ นางสาวศรีสดุ า วงคป์ ระทุม นางศศธิ ร เรืองประเสริฐกลุ นางสาววรี ะวรรณ อ้ึงอรา่ ม นางสาวบญุ หลาย มงคลชัย นางบุษกร อสุ สา่ ห์กจิ นางประกาย พทิ กั ษ์ นายสงวน บุญพูน นางทิฆมั พร ตลับทอง นางสาววรรณา ช่นื นอก นางสาวพรพมิ ล ผักไหม นางศริ ิขจร พรหมศริ ิ นางสาวจรสั พร สอนสี นางสาวรงุ่ นภา บุษบง
ก คำ� นำ� คมู่ อื การปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ปี 2562 จดั ท�ำขึ้นโดยคณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเช้อื โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ และผ้ทู รงคณุ วฒุ ิใน การทบทวน ปรับปรุงเน้ือหา แนวทางปฏิบัติด้านการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมการติดเช้ือให้มีความทันสมัย และสอดคลอ้ งกับมาตรฐานโลก (CDC และ WHO) ตามเปา้ หมายความปลอดภัยของผปู้ ว่ ยและทีมบคุ ลากรผดู้ ูแล (2P Safety) คมู่ อื ฉบบั นส้ี ามารถใชเ้ ปน็ เอกสารอา้ งองิ ประกอบการวางแผนดำ� เนนิ งานและเปน็ แนวทางการปฏบิ ตั ิ งานด้านการป้องกันและควบคมุ การติดเชื้อในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ในนามของคณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอื้ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ ใครข่ อขอบคณุ ผอู้ ำ� นวยการ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ ผบู้ รหิ าร ประธานและคณะกรรมการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอื้ (Infection Control Committee, ICC) ทกุ ท่าน ทก่ี รุณาใหก้ ารสนับสนนุ และสละเวลาตรวจสอบ แกไ้ ขและใหค้ ำ� แนะนำ� ท�ำให้คู่มือ และแนวทางปฏิบัติเล่มน้ีส�ำเร็จด้วยดี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการป้องกันและควบคุมการติดเช้ือ ในโรงพยาบาล ศรีนครินทร์เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลและ ผเู้ ก่ียวขอ้ งตอ่ ไป ประธานคณะกรรมการการปอ้ งกันและควบคุมการตดิ เชื้อ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ พฤษภาคม 2562
ข ค�ำนยิ ม โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ ใหบ้ ริการประชาชนในภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื มามากกวา่ 40 ปี ได้มกี ารพัฒนา กระบวนการคุณภาพและผ่านการรับรองตามมาตรฐาน HA เพ่ือความปลอดภัยทั้งผู้ป่วยแลบุคลากรผู้ดูแล ได้ประกาศนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วยและบุคลากร (Patient and Personnel Safety : 2P Safety) ให้เข้าใจ ถึงความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้น โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายเพ่ือน�ำไปต่อยอดสู่การพัฒนาที่ย่ังยืน เพ่ือให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ท่ีคาดหวังว่าจะเห็นประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน และให้เกิดความปลอดภัยจากการติดเชื้อในโรงพยาบาล กระผมขอแสดงความช่ืนชมและขอบคุณคณะกรรมการ ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ที่ได้มีระบบการทบทวนและปรับปรุงแนวทางปฏิบัติ ให้มีความทันสมัยเทยี บเคียงกับแนวปฏบิ ตั ทิ ี่เป็นมาตรฐานสากลมากยิง่ ขน้ึ คมู่ อื การปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาลศรนี ครนิ ทรม์ เี นอื้ หาทค่ี รอบคลมุ การตดิ เชอื้ ทสี่ ำ� คญั และอุบัติการณ์ต่างๆที่มักพบได้ในโรงพยาบาล การปฏิบัติตามคู่มือและการทบทวนแนวทางปฏิบัติ รวมทั้ง การติดตามการปฏิบัติของบุคลากร จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อประโยชน์สูงสุด ตอ่ การดูแลรกั ษาผปู้ ว่ ยและการพัฒนาคณุ ภาพของโรงพยาบาล รองศาสตราจารยอ์ ภิชาต จิระวุฒพิ งศ์ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลศรนี ครินทร์ พฤษภาคม 2562
สารบญั ค หนา้ ก คำ� น�ำ ข คำ� นยิ ม ค สารบญั ง พันธกจิ เป้าหมาย เข็มมุ่งดา้ นการปอ้ งกันและควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร ์ จ ตัวช้ีวดั หลัก (KPI) ระบบการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชื้อ (IC) 1 การป้องกนั และควบคมุ การแพรก่ ระจายเชือ้ ในโรงพยาบาล 17 การท�ำความสะอาดมือ 30 อปุ กรณ์ป้องกันรา่ งกายส่วนบุคคล 44 การปอ้ งกนั ปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ 56 การปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื ทีส่ มั พันธก์ บั การใส่สายสวนหลอดเลือด 64 การป้องกันการตดิ เชอ้ื ทางเดนิ ปัสสาวะทสี่ มั พนั ธก์ ับการใส่สายสวนปัสสาวะ 72 การปอ้ งกันการตดิ เชอ้ื ที่ตำ� แหน่งแผลผ่าตดั 95 การป้องกนั การแพรก่ ระจายเชอื้ แบคทเี รียด้อื ยาตา้ นจุลชีพในโรงพยาบาล การป้องกนั การติดเชอ้ื ในโรงพยาบาลของระบบทางเดินอาหาร 110 แนวทางการปอ้ งกันการแพร่กระจายเชื้อวณั โรคในโรงพยาบาล 117 การปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ ไวรัสเอชไอวี ไวรสั ตับอกั เสบบี ไวรัสตับอักเสบซ ี 131 ในบุคลากรทางการแพทย์ ภายหลังสัมผสั เลอื ดหรือสารคัดหลั่งจากการปฏบิ ตั ิงาน 162 การใชน้ ำ�้ ยาท�ำลายเช้ือและการทำ� ความสะอาดในโรงพยาบาล 186 การจัดการผา้ เป้อื นในโรงพยาบาล 197 การจดั การขยะมูลฝอยในโรงพยาบาล 205 แนวทางการปอ้ งกนั การติดเชื้อจากศพในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ 216 การปอ้ งกันและควบคมุ การติดเชอ้ื งานจา่ ยกลาง 229 การปอ้ งกันการแพรก่ ระจายโรคติดตอ่ และโรคติดเชอ้ื ในผู้ป่วยนอก 237 ภาคผนวก
ง พันธกิจ เป้าหมาย เขม็ ม่งุ ด้านการป้องกนั และควบคุมการตดิ เชอื้ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ นโยบาย 1. มีการพัฒนาระบบการป้องกันและควบคุมการตดิ เชื้อในโรงพยาบาล ใหส้ ่คู วามเป็นเลิศ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรและนักศึกษาแพทย์มีเจตคติ ความรู้ และพฤติกรรมด้านการป้องกัน และควบคุมการติดเชอื้ ในโรงพยาบาล 3. ก�ำกับและติดตามการดูแลรักษาผู้ป่วย/บุคลากร ในด้านการใช้ยาปฏิชีวนะ ผลกระทบในการรักษา พยาบาล และผลกระทบในด้านสงิ่ แวดล้อมที่เกดิ จากการป้องกันและควบคุมการติดเชือ้ ในโรงพยาบาล เป้าหมาย 1. มีการปอ้ งกันและควบคมุ การตดิ เช้ือในโรงพยาบาลทีม่ ีมาตรฐาน ทป่ี ลอดภยั 2. ลดอัตราการตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาลตำ่� กว่าค่าเปา้ หมายท่ีกำ� หนด ภายในระยะเวลา 2 ปี 3. มผี ลงานคณุ ภาพด้านการป้องกันและควบคมุ การติดเชอื้ น�ำเสนอในเวทีระดบั ประเทศ ปลี ะ 3 เรื่อง เข็มม่งุ 1. ลดอัตราการตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาลใหต้ ่�ำกว่าค่าเปา้ หมายท่ีกำ� หนด 2. สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพในตำ� แหนง่ ตดิ เชอ้ื ที่เป็นปัญหาในทุกหนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ VAP CRABSI CAUTI SSI และเชือ้ ดื้อยา อย่างย่งั ยืน 3. พฒั นาระบบการป้องกนั และควบคมุ การติดเชือ้ ในทกุ หน่วยงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
จ ตัวชี้วดั (KPI) ระบบการปอ้ งกนั และควบคุมการติดเชื้อ (IC) ข้อมลู /ตวั ชีว้ ัด เป้าหมาย 1. อัตราการติดเช้ือในโรงพยาบาล (ครั้ง/1000 วันนอน) < 2.5 2. อตั ราการตดิ เชื้อ VAP/1000 vent day <7 3. อตั ราการตดิ เชอ้ื CAUTI /1000 cath day <2 4. อตั ราการตดิ เชือ้ CLABSI /1000 central line <1 5. อตั ราการติดเชอ้ื แผลผา่ ตัดสะอาด/100แผลสะอาด < 0.2 6. อัตราการติดเชอ้ื แผลผา่ ตดั รวมครั้ง/100 แผล < 0.5 7. อตั ราการล้างมือถกู ตอ้ งตาม 5 Moments 7 ข้นั ตอน > 80% 8. อตั ราการติดเชอ้ื ดื้อยา MDR (คร้ัง/1000 วันนอน) <1 9. อัตราการตดิ เช้อื ดื้อยา MRSA (ครั้ง/1000 วันนอน) < 0.02 10. อตั ราการตดิ เชอ้ื ด้ือยา CRE (ครง้ั /1000 วนั นอน) < 0.2 11. อตั ราการติดเชื้อดอ้ื ยา VRE (ครัง้ /1000 วันนอน) < 0.05 12. อตั ราการติดเชื้อดอ้ื ยา CoRO (ครัง้ /1000 วันนอน) < 0.05
การปอ้ งกันและควบคุมการแพรก่ ระจายเชื้อในโรงพยาบาล 1 การปอ้ งกันและควบคมุ การแพร่กระจายเช้ือในโรงพยาบาล จรสั พร สอนสี* รศ.พญ.ศิริลักษณ์ อนันต์ณัฐศิริ** ประกาย พิทักษ*์ ** ความสำ� คัญ จากการประเมินการปฏิบัติด้านการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ ปี 2560 การแยกประเภทผู้ป่วยในเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในหอผู้ป่วยปฏิบัติได้ร้อยละ 93.80 การแยก ประเภทผปู้ ว่ ยนอกเพอื่ ปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอื้ ปฏบิ ตั ไิ ดร้ อ้ ยละ 94.84 แตจ่ ากการวเิ คราะหผ์ ลการตรวจเยย่ี ม ภายในหนว่ ยงานพบวา่ ระบบการคดั กรองและการแยกผปู้ ว่ ยตดิ เชอื้ การปฏบิ ตั ติ ามมาตรการปอ้ งกนั และควบคมุ การแพร่กระจายเช้ือในโรงพยาบาล ยังไม่ครอบคลุมทั่วถึงและยังไม่เป็นไปตามแนวทาง ในคู่มือฉบับน้ีจึงได้มี การปรบั ปรุงเนื้อหาใหม้ คี วามครอบคลุมถกู ต้อง และทันสมยั ตามแนวทางสากล (Guidelines) วัตถุประสงค์ วตั ถปุ ระสงคข์ องการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอ้ื ในโรงพยาบาลในการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคตดิ เชอื้ คอื การปอ้ งกนั ไม่ให้โรคติดเชื้อนั้นติดต่อไปยังบุคลากรหรือติดต่อไปยังผู้ป่วยรายอื่นโดยมีมาตรการต่างๆ เช่น การแยกผู้ป่วยใน หอ้ งแยก การใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั ทเี่ หมาะสม โดยทว่ั ไปถา้ การปอ้ งกนั ทใี่ ชห้ อ้ งแยก เรยี กวา่ การแยกผปู้ ว่ ย (Isolation) แตถ่ า้ ไม่ต้องใชห้ อ้ งแยกเรยี กว่า การระวังมิใหเ้ ชอื้ แพร่กระจาย (Precautions) ดว้ ยวิธี Standard precautions และ Transmission - based precaution คำ� จำ� กัดความ Isolation precautions หมายถึง การปฏิบัติเพ่ือป้องกันการแพร่กระจายเช้ือจากผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ หรือผู้ป่วยที่มีเชื้ออยู่แต่ไม่ปรากฏอาการ (Carrier หรือ colonized) ไปสู่ผู้ป่วยอื่น บุคลากร หรือญาติผู้ป่วย โดยการแยกห้อง หรือจ�ำกัดบริเวณผู้ป่วย หรือการจัดให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีการติดเช้ือชนิดเดียวกันอยู่ในห้อง หรอื บรเิ วณเดียวกนั (Cohort) การแยกผปู้ ว่ ยแบง่ ออกเปน็ 3 ชนดิ คอื การปอ้ งกนั แบบมาตรฐานสำ� หรบั การดแู ลผปู้ ว่ ยทกุ ราย (Standard precautions) การป้องกันการแพรก่ ระจายเชือ้ ตามกลไกการแพร่เชื่อ (Transmission – based precautions) และการปอ้ งกนั การติดเช้อื ในผปู้ ่วยท่ีมีภมู ติ า้ นทานต่�ำ (Immunocompromise precautions) * พยาบาลปฏบิ ัติการ หน่วยควบคุมการตดิ เชอ้ื โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ** รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาโรคตดิ เชือ้ และเวชศาสตรเ์ ขตรอ้ น ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น *** พยาบาลชำ� นาญการพิเศษ หน่วยระบาดวทิ ยาโรคติดต่อ งานเวชกรรมสังคม คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2 คู่มอื การปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เช้อื โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 1. Standard precautions หมายถึง มาตรฐานป้องกันการกระจายเชื้อท่ีจะต้องปฏิบัติเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเลือด สารนำ้� /สารคดั หลง่ั ของผปู้ ว่ ย โดยใหค้ ำ� นงึ วา่ ผปู้ ว่ ยทกุ รายอาจจะมเี ชอ้ื โรคในรา่ งกายทสี่ ามารถตดิ ตอ่ โดยเลอื ดและ ของเหลวในร่างกาย (Blood, Body fluid) ได้แก่ น�้ำคร�่ำ น้�ำในเย่ือหุ้มปอด น�้ำในเย่ือหุ้มหัวใจ น้�ำในช่องท้อง นำ้� ไขสนั หลงั นำ้� อสจุ ิ นำ้� ในชอ่ งคลอด นำ�้ เหลอื ง หรอื สารคดั หลง่ั และสง่ิ ขบั ถา่ ยของผปู้ ว่ ย (Secretion, Excretion) ได้แก่ อุจจาระ ปัสสาวะ เสมหะ ยกเว้นเหงื่อ รวมทั้งการสัมผัสกับผิวหนังที่มีแผลหรือเย่ือบุต่างๆ (Mucous membrane) วธิ ีปฏิบัติ มีดงั น้ี 1.1 การทำ� ความสะอาดมอื (Hand hygiene) โดยการทำ� ความสะอาดมอื ดว้ ยสบแู่ ละนำ้� หรอื นำ้� ยาทำ� ลายเชอื้ เม่ือมือปนเปื้อนส่ิงสกปรกอย่างเห็นได้ชัดเจน ถ้ามือไม่สกปรกอย่างเห็นได้ชัดถูมือด้วย Alcohol hand rub อยา่ งถูกตอ้ งตามหลกั 5 Moments 1.2 การสวมเครื่องป้องกนั ร่างกายสว่ นบุคคล (Personal protect equipment : PPE) ควรสวมหรอื ใช้ เมื่อคาดว่าจะสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งของผู้ป่วย เพ่ือป้องกันผิวหนังหรือเย่ือบุสัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่ง จากตวั ผปู้ ว่ ย เชน่ การสวมผา้ ปดิ ปาก ปดิ จมกู (Mask) หนา้ กาก (Face shield) แวน่ ตา (Goggle) เสอ้ื คลมุ (Gown) และถุงมือ (Gloves) เปน็ ต้น 1.3 การป้องกันการบาดเจ็บจากของมีคมขณะปฏิบัติงาน (Prevention of needle stick and injury from other sharp instrument) เป็นวิธีการป้องกันการติดเช้ือจากเลือดและสารคัดหล่ังจากของมีคมท่ีใช้กับ ผปู้ ว่ ย โดยหา้ มสวมเขม็ ทใี่ ชแ้ ลว้ กลบั เขา้ ปลอกเขม็ โดยใชม้ อื จบั ปลอกเขม็ และหา้ มใชม้ อื ปลดเขม็ ออกจากกระบอก ฉดี ยา ใหท้ งิ้ ของมคี มในกลอ่ งบรรจขุ องมีคมทนั ทีทุกคร้งั หลงั การใชง้ าน และของมคี มควรใชแ้ ลว้ ท้ิงไม่ควรน�ำกลบั มาใชซ้ ำ้� (Reuse) เพราะขน้ั ตอนการนำ� กลบั มาใชซ้ ำ้� เชน่ การลา้ งอปุ กรณต์ า่ งๆ มคี วามเสย่ี งทบี่ คุ ลากรจะเกดิ อบุ ตั ิ การณก์ ารบาดเจ็บจากของมคี ม 1.4 การมีสุขนสิ ยั ทดี่ ีในการไอจาม (Respiratory hygiene and cough etiquette) เป็นวธิ ีการป้องกัน การแพร่กระจายเช้ือจากระบบทางเดินหายใจและการไอจาม โดยการใช้ผ้า/กระดาษปิดปากปิดจมูกขณะไอจาม และท�ำความสะอาดมอื ทกุ ครงั้ หลังสัมผสั สารคัดหล่งั จากระบบทางเดินหายใจ ไดแ้ ก่ น�ำ้ มูก นำ้� ลาย 1.5 การจัดสถานทสี่ �ำหรบั ผู้ป่วย (Patient placement) วธิ กี ารปฏิบตั ิในการแยกผปู้ ว่ ย สำ� หรับผู้ปว่ ย ที่ ทราบหรอื สงสยั วา่ มกี ารตดิ เชอ้ื หรอื เปน็ แหลง่ เชอื้ โรคทสี่ ามารถแพรก่ ระจายเชอื้ ไดส้ งู โดยแยกผปู้ ว่ ยตามวถิ ที างการ แพร่กระจายเชื้อ หากห้องแยกมีไม่เพียงพออาจจัดสถานที่โดยให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีการติดเชื้อชนิดเดียวกัน อยใู่ นห้องหรือบริเวณเดียวกัน 1.6 การดแู ลอปุ กรณ์ เครื่องมือ – เครื่องใช้ของผ้ปู ่วย (Patient care equipment) อุปกรณท์ ีเ่ ปอ้ื นเลือด สารคัดหลั่งจากตัวผู้ป่วยให้ล้างท�ำความสะอาดด้วยความระมัดระวังและมีการท�ำลายเชื้อหรือท�ำให้ปราศจากเช้ือ อยา่ งถกู ต้องตามแนวทางก่อนนำ� มาใช้ตอ่ ไป 1.7 การควบคุมดูแลสิ่งแวดล้อม (Environmental cleaning) การดูแลท�ำความสะอาดและท�ำลายเชื้อ ในสิ่งแวดล้อม เตียง ที่กั้นเตียง อุปกรณ์ข้างเตียง ห้อง และหอผู้ป่วย ให้เช็ดท�ำความสะอาดด้วยผงซักฟอกและ น้�ำตามปกติ ถ้าเปื้อนเลือดหรือสารคัดหล่ังหรืออุจจาระของผู้ป่วยหกหล่นบนพื้น ให้ใช้น้�ำยาท�ำลายเชื้อ เช่น 0.5% Sodium hypochlorite (Virkon) โดยราดส่ิงปนเปื้อนด้วยน้�ำยา 0.5% Sodium hypochlorite หรือ ใชผ้ ง Virkon โรยจากดา้ นนอกสดู่ ้านในทิ้งไว้ 10 นาที กำ� จดั สง่ิ ปนเปอื้ นออกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชู่ และทงิ้ ลง ในถังติดเชื้อ จากน้ันท�ำความสะอาดด้วยน�้ำผงซักฟอก ราดด้วย 0.5% Sodium hypochlorite อีกครั้งท้ิงไว้ 10 นาที ใช้ผา้ ชุบนำ้� สะอาดบิดหมาดๆ เชด็ ซำ�้ ทง้ิ ไว้ใหแ้ ห้ง เพือ่ ป้องกันสารเคมตี กคา้ งและระคายเคอื ง
การปอ้ งกันและควบคมุ การแพร่กระจายเช้ือในโรงพยาบาล 3 1.8 การจดั การผา้ เปอ้ื น (Linens) ผา้ ทใ่ี ชใ้ นการดแู ลผปู้ ว่ ยทม่ี กี ารปนเปอ้ื นเลอื ด สารคดั หลงั่ และสงิ่ ขบั ถา่ ย ให้ถอื และจับต้องด้วยความระมัดระวัง ทิ้งในถังผ้าเป้ือนแล้วส่งไปซกั ล้างหรือท�ำลายเชือ้ ที่งานซักฟอกตอ่ ไป 2. Transmission - based precautions หมายถงึ วธิ กี ารปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายของโรคตดิ เชอ้ื ในผปู้ ว่ ย ทท่ี ราบการวนิ จิ ฉยั แลว้ โดยปอ้ งกนั ตามกลวธิ ี การตดิ ต่อเพม่ิ เติมจากการดูแลผู้ป่วยด้วย Standard precautions ประกอบด้วยวิธปี ้องกนั การแพรก่ ระจาย ดงั น้ี 2.1 Airborne precautions หมายถึง วิธีการป้องกันการแพร่กระจายเช้ือโรคที่แพร่ทางอากาศท่ีมี ขนาดเลก็ กวา่ 5 ไมครอน ไดแ้ ก่ วณั โรคปอด หดั (Measles) สกุ ใส (Chickenpox) งสู วดั และเรมิ แบบแพรก่ ระจาย (Disseminated herpes zoster and Disseminated herpes simplex) คือ มีอาการหลาย dermatomes (แนวของเส้นประสาท) หรือเป็นทั้ง 2 ข้าง (เช่นเป็นข้าม midline) โรคติดต่ออันตราย ท่ีมีอัตราตายสูง ตอ้ งทำ� มาตรการทง้ั Airborne และ Contract precautions เชน่ โรคทางเดนิ หายใจเฉยี บพลันรุนแรง (SARS) โรคทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง (MERS) ไข้ทรพิษ (Smallpox) ไข้หวัดนก (Avain Influenza) เป็นตน้ วธิ ีปฏิบัติ มดี งั นี้ 2.1.1 แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกที่เป็น negative pressure room จนพ้นระยะแพร่เชื้อ ถ้าไม่มี หอ้ งแยกลกั ษณะดังกล่าวควรใชห้ ้องแยกทมี่ กี ารถ่ายเทอากาศสู่ภายนอกอาคารไดด้ แี ละมแี สงแดดสอ่ งถึง รวมทง้ั ประตหู ้องแยกตอ้ งปดิ ไวต้ ลอดเวลา 2.1.2 ถา้ ไมม่ หี อ้ งแยก จดั ใหผ้ ปู้ ว่ ยอยใู่ นหอ้ งเดยี วกบั ผปู้ ว่ ยอนื่ ทต่ี ดิ เชอ้ื โรคชนดิ เดยี วกนั หรอื จดั เตยี ง ผู้ป่วยไวม้ มุ ใดมุมหน่ึงของหอผู้ป่วยท่ีมีอากาศถ่ายเทไดด้ ี ใหผ้ ปู้ ่วยอยใู่ ต้ลม ห่างจากเตียงผปู้ ่วยอ่นื มากกวา่ 3 ฟตุ ผู้ป่วยควรสวมผ้าผา้ ปดิ ปากปดิ จมูกชนิด Surgical mask ไวต้ ลอด และควรจ�ำกัดบริเวณผู้ปว่ ยเท่าที่ท�ำได้ 2.1.3 ให้แขวนป้าย Airborne precautions ไวท้ ่หี นา้ ห้องแยกหรอื ทเ่ี ตยี งผู้ปว่ ย 2.1.4 บคุ ลากรสวมผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู ทมี่ คี ณุ สมบตั กิ รองเชอ้ื โรค เชน่ สวม Particulate mask (N95) เมอ่ื ตอ้ งเขา้ ไปในห้องผปู้ ว่ ยหรอื เขา้ ใกล้ผปู้ ว่ ยจนกวา่ ผู้ป่วยจะพน้ ระยะการแพร่เช้ือ 2.1.5 ใหผ้ ปู้ ว่ ยสวมผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู ชนดิ Surgical mask เพอ่ื ปอ้ งกนั เชอื้ โรคแพรก่ ระจาย ไมค่ วร เคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ยออกจากหอ้ งหรอื หอผปู้ ว่ ยโดยไมจ่ ำ� เปน็ ในกรณที ต่ี อ้ งเคลอื่ นยา้ ยผปู้ ว่ ย ใหแ้ จง้ เจา้ หนา้ ทท่ี อี่ ยใู่ น สถานทท่ี ี่จะเคลอ่ื นยา้ ยผูป้ ่วยไปด้วยเพ่ือจะได้เตรยี มการป้องกนั 2.1.6 แนะนำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยใชผ้ า้ หรอื กระดาษเชด็ หนา้ ปดิ ปากปดิ จมกู ขณะไอหรอื จาม และใหบ้ ว้ นเสมหะ ในภาชนะท่ีจัดไวใ้ ห้ โดยตอ้ งมีถงุ พลาสติกรองรับและมีฝาปิดมดิ ชดิ 2.1.7 แนะน�ำการปฏิบัติตัวแก่ญาติ ในการเข้าเยี่ยมผู้ป่วย เช่น ให้สวมผ้าปิดปากปิดจมูกอย่างถูก ตอ้ ง และควรจำ� กดั คนเขา้ เยย่ี ม ผทู้ ตี่ ดิ เชอื้ ไดง้ า่ ยไมค่ วรเขา้ เยย่ี ม เชน่ เดก็ ผสู้ งู อายุ และผทู้ ม่ี ภี มู คิ มุ้ กนั โรคตำ่� เปน็ ตน้ ควรงดเยยี่ มในกรณีผูป้ ่วยวัณโรคปอด 2.1.8 ท�ำความสะอาดพน้ื และส่ิงแวดล้อมประจำ� วนั ดว้ ย 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) กรณีสกุ ใส (Chickenpox) ใช้ 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) เมือ่ ยา้ ยหรอื จ�ำหนา่ ยผูป้ ่วย 2.1.9 ฉีดวัคซีนป้องกันโรคให้เร็วท่ีสุดตามข้อก�ำหนดหรือตามแนวทางการให้วัคซีน ถ้ามีการสัมผัส กับผูป้ ่วยโดยไมไ่ ด้ปอ้ งกัน (เชน่ หดั สุกใส ไข้ทรพิษ เป็นตน้ )
4 คูม่ อื การป้องกนั และควบคุมการตดิ เชื้อ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 2.2 Droplet precautions หมายถงึ วธิ ีการปอ้ งกนั การแพร่กระจายเชอ้ื โรคจากละอองฝอยเสมหะที่ มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน นอกจากนี้ ยังติดต่อจากการสัมผัสเย่ือบุตา เย่ือบุปากและจมูก ได้แก่ หัดเยอรมัน (Rubella) คางทูม (Mumps) คอตีบ (Diphtheria) ไอกรน (Pertussis) ไขห้ วดั ใหญ่ (Influenza) ไขก้ าฬหลงั แอน่ (Meningococcal infection) ปอดอักเสบจากเชอ้ื ไมโคพลาสม่า การตดิ เชือ้ ไวรสั อะดีโน (Adenovirus) เป็นตน้ วิธปี ฏบิ ตั ิ มดี งั นี้ 2.2.1 แยกผปู้ ว่ ยไวใ้ นหอ้ งแยกจนพน้ ระยะแพรเ่ ชอ้ื หอ้ งแยกควรมกี ารถา่ ยเทอากาศสภู่ ายนอกอาคาร ได้ดแี ละมีแสงแดดสอ่ งถงึ 2.2.2 ถา้ ไมม่ หี อ้ งแยก จดั ใหผ้ ปู้ ว่ ยอยใู่ นหอ้ งเดยี วกบั ผปู้ ว่ ยอนื่ ทต่ี ดิ เชอ้ื โรคชนดิ เดยี วกนั หรอื จดั เตยี ง ผูป้ ว่ ยไวม้ มุ ใดมุมหนงึ่ ของหอผปู้ ่วยทมี่ อี ากาศถ่ายเทได้ดี และควรจัดระยะห่างจากเตยี งผปู้ ่วยอ่ืนมากกวา่ 3 ฟุต 2.2.3 ให้แขวนปา้ ย Droplet precautions ไวท้ ห่ี น้าหอ้ งแยกหรือท่เี ตียงผู้ปว่ ย 2.2.4 ให้สวมผา้ ปดิ ปาก-จมกู ชนิด Surgical mask เมื่อต้องเขา้ ใกลผ้ ูป้ ่วยภายในระยะ 3 ฟตุ 2.2.5 ใหผ้ ปู้ ว่ ยสวมผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู ชนดิ Surgical mask เพอื่ ปอ้ งกนั เชอ้ื โรคแพรก่ ระจาย ไมค่ วร เคลอื่ นยา้ ยผ้ปู ว่ ยออกจากหอ้ งหรอื หอผปู้ ่วยโดยไมจ่ ำ� เปน็ ในกรณที ต่ี ้องเคลือ่ นยา้ ยผ้ปู ว่ ย ให้แจง้ เจ้าหน้าที่ที่อยู่ใน สถานท่ีทจี่ ะเคลื่อนยา้ ยผู้ป่วยไปด้วยเพื่อจะได้เตรยี มการป้องกนั 2.2.6 แนะนำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยใชผ้ า้ หรอื กระดาษเชด็ หนา้ ปดิ ปากปดิ จมกู ขณะไอ จาม และใหบ้ ว้ นเสมหะใน ภาชนะท่ีมีถุงพลาสติกรองรบั และมฝี ามิดชิด 2.2.7 แนะนำ� การปฏบิ ัติตัวแกญ่ าตใิ นการเขา้ เย่ียมผ้ปู ว่ ย เช่น ให้สวมผา้ ปดิ ปากปิดจมูกเม่อื เข้าใกล้ ผู้ปว่ ยภายในระยะ 3 ฟุต ท�ำความสะอาดมอื ก่อน-หลงั สัมผัสผู้ปว่ ย ควรจ�ำกัดคนเข้าเยยี่ ม ผู้ท่ีติดเช้อื ไดง้ ่ายไม่ควร เข้าเยยี่ ม เชน่ เดก็ ผูส้ งู อายุ และผทู้ ี่มภี ูมคิ ุม้ กนั โรคต�่ำ เป็นตน้ 2.2.8 ทำ� ความสะอาดพ้นื และสงิ่ แวดลอ้ มประจ�ำวันดว้ ย 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) กรณไี ข้หวัดใหญ่ (Influenza) ใช้ 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) เมอ่ื ย้ายหรือจำ� หน่ายผ้ปู ว่ ย 2.3 Contact precautions หมายถึง วิธกี ารป้องกนั การแพรก่ ระจายเช้อื โรคที่ติดตอ่ ไดโ้ ดยการสมั ผสั ทง้ั ทางตรง (Direct contact) และทางออ้ ม (Indirect contact) ไดแ้ ก่ Infectious diarrhea, Infectious wound, Abscess, Viral hemorrhagic infections, Viral conjunctivitis, Lice, Scabies, Clostidium diffiile, Rota virus, RSV, Hand-foot-mouth disease รวมทง้ั ผปู้ ว่ ยทม่ี กี ารตดิ เชอ้ื หรอื การตดิ เชอื้ ดอ้ื ยา โรคทตี่ อ้ งทำ� มาตรการ ทง้ั Contract และ Airborne precautions เชน่ งสู วดั และเรมิ แบบแพรก่ ระจาย (Disseminated herpes zoster and Disseminated herpes simplex) สกุ ใส (Chickenpox) เปน็ ต้น วธิ ีปฏบิ ัติ มีดังนี้ 2.3.1 แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกจนพ้นระยะแพร่เช้ือ (ในกรณีเช้ือด้ือยาผลเพาะเชื้อไม่พบเช้ือติดต่อ กนั 2 สปั ดาห)์ ห้องแยกควรมกี ารถ่ายเทอากาศสู่ภายนอกอาคารได้ดแี ละมแี สงแดดส่องถงึ 2.3.2 ถา้ ไมม่ หี อ้ งแยก จดั ใหผ้ ปู้ ว่ ยอยใู่ นหอ้ งเดยี วกบั ผปู้ ว่ ยอนื่ ทต่ี ดิ เชอ้ื โรคชนดิ เดยี วกนั หรอื จดั เตยี ง ผูป้ ว่ ยไวม้ มุ ใดมมุ หน่ึงของหอผปู้ ่วย 2.3.3 ใหแ้ ขวนปา้ ย Contact precautions ไวท้ หี่ น้าห้องแยกหรือทเ่ี ตียงผูป้ ว่ ย 2.3.4 สวมถุงมือและถอดถุงมือทันทีหลังให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยแต่ละคร้ัง และต้องท�ำความ สะอาดมอื แบบ Hygienic hand washing หลงั ถอดถงุ มือทันที 2.3.5 สวมเสื้อคลุม หรือผ้ากันเปื้อนพลาสติกเม่ืออยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยหรือคาดว่าจะต้องสัมผัสกับส่ิง แวดลอ้ มและสารคดั หลั่งจากตวั ผู้ปว่ ย โดยเปลย่ี นเสื้อคลุมตัวใหม่ทุกคร้งั ทจี่ ะดูแลผูป้ ว่ ยในแตล่ ะกจิ กรรม
การป้องกันและควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอ้ื ในโรงพยาบาล 5 2.3.6 ไม่ควรเคล่ือนย้ายผู้ป่วยออกจากห้องหรือหอผู้ป่วยโดยไม่จ�ำเป็น ถ้าจ�ำเป็นต้องเคล่ือนย้าย ให้หอ่ หมุ้ หรอื ปดิ สว่ นทีม่ กี ารติดเชื้อ หรือมสี ารคดั หลงั่ ท่ปี นเป้อื นเช้อื โรคออกมา เพือ่ ป้องกนั การแพรก่ ระจายเชือ้ ไปสู่ผูอ้ ื่น และการป้องกันการปนเป้ือนของเชอื้ ต่อสงิ่ แวดลอ้ ม 2.3.7 อุปกรณ์ เครื่องมือ-เคร่ืองใช้ ให้แยกใช้กับผู้ป่วยเฉพาะราย หลังใช้งานต้องท�ำความสะอาด และท�ำลายเชื้ออย่างเหมาะสมก่อนน�ำมาใช้ครั้งต่อไป และถ้าจ�ำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้ป่วยอื่นให้ท�ำ ความสะอาดและทำ� ลายเช้ือก่อน-หลังใช้ทกุ ครงั้ 2.3.8 แนะนำ� การปฏบิ ตั ติ วั แกญ่ าตใิ นการเขา้ เยย่ี ม โดยใหท้ ำ� ความสะอาดมอื กอ่ น-หลงั สมั ผสั ผปู้ ว่ ย และควรจ�ำกัดคนเขา้ เยี่ยม ผทู้ ต่ี ิดเช้ือไดง้ า่ ยไม่ควรเขา้ เยย่ี ม เชน่ เดก็ ผู้สูงอายุ และผูท้ ม่ี ภี มู คิ ้มุ กันโรคต่ำ� เปน็ ต้น 2.3.9 ท�ำความสะอาดพ้นื และสิ่งแวดลอ้ มด้วย 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) เม่ือย้าย หรอื จ�ำหนา่ ยผู้ป่วย 3. การป้องกันการติดเชือ้ ในผ้ปู ่วยทมี่ ภี ูมติ ้านทานตำ่� ผทู้ ม่ี ภี าวะภมู ติ า้ นทานตำ�่ (Immunocompromised host) หมายถงึ ผทู้ ม่ี คี วามผดิ ปกตใิ นกลไกการปอ้ งกนั ของรา่ งกาย 1 อยา่ งขน้ึ ไป ทำ� ใหม้ คี วามเสย่ี งตอ่ การตดิ เชอื้ ไดแ้ ก่ ผปู้ ว่ ยทม่ี เี มด็ โลหติ ขาว Neutrophil (Absolute neutrophil count: ANC) น้อยกว่า 1000 ต่อลูกบาศก์มิลลิลิตร ผู้ป่วยที่มี ANC น้อยกว่า 500 ต่อลูกบาศก์ มิลลิลิตร (Neutropenia) ความเส่ียงของการติดเช้ือจะเพิ่มสูงข้ึน และหากพบ ANC 100 ต่อลูกบาศก์มิลลิลิตร จะมคี วามเสี่ยงต่อการติดเชอ้ื แบคทีเรยี กรมั ลบในกระแสโลหิตและการติดเช้ือราจะเกิดข้นึ สูงมาก เช่น ผปู้ ่วยหลงั ผา่ ตัด Blood and marrow transplantation ผปู้ ว่ ยมะเร็งเมด็ เลือดขาว ผปู้ ว่ ย HIV ที่มี CD4 count < 200 ผู้ป่วยที่มีภาวะ Cytotoxic chemotherapy เป็นต้น ซ่ึงแหล่งท่ีมาของเช้ืออาจมาจากบุคลากร ผู้ป่วยอื่น ญาติ และอปุ กรณ์ สิง่ แวดลอ้ มทปี่ นเปอ้ื นเชอื้ วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการป้องกนั การติดเชอ้ื ในผ้ปู ว่ ยที่มภี มู ิตา้ นทานต่ำ� มดี ังน้ี 3.1 การประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ การตดิ เชอ้ื ของผปู้ ว่ ย พจิ ารณาจากโรคและการรกั ษาทผี่ ปู้ ว่ ยไดร้ บั ตดิ ตาม ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการทุกวัน และค�ำนวณค่า ANC ผู้ป่วยที่มีภาวะ neutropenia ควรวัดสัญญาณชีพทุก 4 ช่ัวโมง และตรวจร่างกายอย่างละเอียดวันละ 2 ครั้ง ตรวจดูผิวหนังบริเวณที่ใส่สายสวนหลอดเลือด บริเวณ แผลผ่าตัดหรือบริเวณท่ีมีบาดแผล การเจาะเลือดหรือการตัดชิ้นเน้ือควรท�ำด้วยเทคนิคปลอดเชื้ออย่างเคร่งครัด การประเมนิ การขบั ถา่ ย หลีกเลย่ี งการใส่สายสวนเขา้ สรู่ ่างกายผ้ปู ว่ ย และการตรวจทางช่องคลอดหรือทวารหนัก 3.2 ท�ำความสะอาดมือทุกครั้ง ตามหลัก 5 Moments บุคลากรผู้ดูแลควรท�ำความสะอาดมือด้วยสบู่ ผสมนำ้� ยาท�ำลายเช้ือ (Antiseptic) และผ้ปู ว่ ยทำ� ความสะอาดมอื ดว้ ยสบแู่ ละน้ำ� หรือ Alcohol hand rub 3.3 การเจาะเลือดให้เช็ดผิวหนังด้วยน�้ำยาท�ำลายเช้ือตามแนวทาง เช่น 2% คลอเฮ็กซีดีน ร่วมกับ 70% แอลกอฮอล ์ ยกเวน้ ในผปู้ ว่ ยทเี่ สย่ี งตอ่ การแพ้ และควรใหผ้ ทู้ ม่ี คี วามชำ� นาญเปน็ ผทู้ ำ� การเจาะเลอื ด การดแู ล บรเิ วณท่ใี หส้ ารนำ้� และบริเวณใส่สายสวนหลอดเลอื ดมคี วามส�ำคัญย่ิง 3.4 การจ�ำกัดผู้เยี่ยม แนะนำ� ญาติผปู้ ่วยไมใ่ ห้เขา้ เยีย่ มหากมีการเจ็บปว่ ยหรอื ตดิ เช้ือ หากมีความจ�ำเปน็ ตอ้ งเขา้ เยีย่ มตอ้ งสวมอปุ กรณป์ อ้ งกันท่เี หมาะสม ไม่ควรใหเ้ ดก็ ที่มอี ายตุ ำ่� กวา่ 12 ปี เขา้ เย่ียมผปู้ ่วยเน่ืองจากเสีย่ ง ต่อการน�ำเช้ือสู่ผปู้ ่วย 3.5 การดูแลส่ิงแวดล้อม ดูแลความสะอาดและเป็นระเบียบอยู่เสมอ เช็ดท�ำความสะอาดด้วยน้�ำและ สารขัดล้างตามแนวทาง ไม่จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำยาท�ำลายเชื้อ พื้นผิวของห้องเรียบไม่เก็บฝุ่น ผู้ป่วยที่มีภาวะ Neutropenia ควรอยใู่ นห้องแยก ถา้ ไม่มีหอ้ งแยกต้องจัดผู้ปว่ ยให้อยูห่ ่างจากผ้ปู ว่ ยโรคตดิ เชือ้
6 คู่มอื การป้องกนั และควบคุมการติดเช้อื โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ การแยกผ้ปู ว่ ยไวใ้ นห้องแยกทมี่ ีความดันอากาศเป็นบวกเมือ่ เทยี บกบั ภายนอก (Pressure 12.5 Pa) และ อากาศไหลเวยี นภายในหอ้ งตอ้ งผา่ นการกรองดว้ ยแผงกรองอากาศทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพการกรองสงู (High efficiency particulate air (HEPA) filter) ทส่ี ามารถกรองอนภุ าคขนาดตัง้ แต่ 0.3 ไมครอน ข้ึนไปอย่างน้อยรอ้ ยละ 99.97 เพื่อช่วยป้องกันเชื้อรา โดยเฉพาะแอสเปอร์จิลัส (Aspergillus) ใช้ส�ำหรับผู้ป่วย Blood and marrow transplantation ซงึ่ การติดตง้ั Laminar airflow และ HEPA filtration ตอ้ งใช้งบประมาณสูงมาก การใช้ห้อง แยกสำ� หรบั ผู้ปว่ ยท่ีมีภมู ิต้านทานตำ่� จึงควรพิจารณาผลดีผลเสียท่ีอาจเกิดข้นึ อาหารและน้�ำ อาหารทุกชนิดต้องปรุงสุก งดผักสด ผลไม้ ไข่ลวก ภาชนะท่ีบรรจุอาหารต้องผ่านการท�ำ ความสะอาดท�ำลายเชอื้ ด้วยความร้อน ผ้ปู ว่ ยทมี่ ีภาวะเม็ดเลอื ดขาวต�ำ่ ควรให้ด่มื น�้ำต้มสกุ ตน้ ไมแ้ ละดอกไมส้ ด สามารถนำ� เชอื้ จลุ ชพี กอ่ โรคมาสผู่ ปู้ ว่ ยได้ จงึ ไมค่ วรนำ� มาไวบ้ รเิ วณผปู้ ว่ ยทมี่ คี วามเสยี่ ง ตอ่ การตดิ เช้อื สูง เช่น หอ้ งพักผปู้ ่วยมะเรง็ หอผู้ปว่ ยแผลไหม้ เปน็ ต้น 3.6 การให้ความร้แู ก่ผู้ปว่ ยและญาติ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการตดิ เช้ือ ไดแ้ ก่ - การจำ� กัดผู้เขา้ เยีย่ ม เพื่อลดการปนเป้อื นสง่ิ แวดลอ้ มภายในห้องผู้ป่วย - การให้ผปู้ ่วยสวมผ้าปดิ ปากปิดจมกู เมือ่ จำ� เปน็ ตอ้ งออกนอกหอ้ ง - การดูแลให้ผู้ป่วยอาบนำ�้ และดูแลสุขอนามัยสว่ นบคุ คลทกุ วัน - การรักษาสุขอนามยั ปากและฟนั - การให้ผู้ปว่ ยรับประทานอาหารทีป่ รงุ สกุ ใหม่ - การไม่นำ� ต้นไม้หรอื ดอกไม้เข้าเยย่ี มผ้ปู ่วย - ควรให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับความส�ำคัญของการท�ำความสะอาดมือ วิธีการท�ำ ความสะอาดมอื ทีถ่ กู ตอ้ ง - ให้ความรแู้ ก่ผู้ปว่ ยในการสงั เกตอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชอ้ื 3.7 การดูแลสุขอนามัยของผู้ป่วย ควรดูแลความสะอาดของร่างกายผู้ป่วย อาบน้�ำทุกวันและสระผม อย่างสม่�ำเสมอ ให้สวมเสื้อผ้าท่ีสะอาด ดูแลสุขภาพปากฟัน เล็บมือเล็บเท้า ป้องกันอาการท้องผูก ไม่ควร สวนอจุ จาระใหผ้ ปู้ ่วยเพราะเกดิ แผลบรเิ วณทวารหนักได้ 3.8 การดูแลสุขภาพบุคลากร บุคลากรท่ีใหก้ ารดแู ลผู้ปว่ ยควรมีสขุ ภาพแขง็ แรง ไมม่ ภี าวะตดิ เชือ้ โรคใดๆ เน่อื งจากอาจแพร่เช้ือขณะให้การดูแลผปู้ ่วยได้ 3.9 การใหค้ วามรแู้ กบ่ คุ ลากร ควรดำ� เนนิ การอยา่ งตอ่ เนอื่ งและใหค้ วามรบู้ คุ ลากรเกยี่ วกบั การใชอ้ ปุ กรณ์ ป้องกันอย่างเหมาะสม การปฏิบัติในการป้องกันการติดเช้ือต�ำแหน่งต่างๆ และควรมีการประเมินสมรรถนะ ของบคุ ลากรตามลกั ษณะงานท่ีรบั ผดิ ชอบ ผ้ปู ว่ ยทกุ ราย Standard precautions ทราบวถิ ีทางการแพรก่ ระจายเชื้อ อากาศ ละอองฝอย การสัมผัส Airborne precautions Droplet precautions Contact precautions แผนภมู ทิ ่ี 1 วธิ ีการป้องกันการแพร่กระจายเชอื้ ในโรงพยาบาล
การป้องกันและควบคุมการแพรก่ ระจายเชื้อในโรงพยาบาล 7 ปา้ ย Airborne Precautions ป้าย Droplet Precautions ปา้ ย Contact Precautions
8 คมู่ อื การป้องกันและควบคมุ การติดเชื้อ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ตารางท่ี 1 การป้องกนั และควบคุมการแพรก่ ระจายเชื้อจากผู้ปว่ ยที่มโี รคติดต่อไดใ้ นโรงพยาบาล โรค Additional Precautions Protective Barrier ระยะเวลา หมายเหตุ Airborne Droplet Contact Mask Gown Glove Abscess - Not draining - - - --- - - - Draining - - ü - ± + จนกว่าจะหาย - Actinomycosis Adenovirus - - - --- - - - ü ü + ± + จนกวา่ จะออกจาก หอ้ งแยก ± Amebiasis โรงพยาบาล โรคเดียวกัน - Dysentery อยู่ห้องเดยี วกันได้ Anthrax - Cutaneous - - - - - - จนกวา่ จะหาย ห้องแยก ± - Pulmonary Ascariasis - - + - - ± จนกว่าจะหาย Aspergillosis Blastomycosis - - - - - - จนกว่าจะหาย Butulism Bronchiolitis - - - --- - - Bronchitis - Brucellosis - - - --- - - Campylobacter - gastroenteritis - - - --- - - Candidiasis - Cat – Scratch fever - - - --- - Cellulitis - ü - ± - - จนกว่าจะหาย - - Intact skin - ü - ± - - จนกว่าจะหาย - Draining Chancroid - - - - - - จนกว่าจะหาย Chickenpox - - ü - ± ± จนกวา่ เช้ือหมด Chlamydia - - - --- - - trachomatis Infection - - - --- - - Cholera - - - --- - - Common cold - - ü - ± ± จนกว่าจะหาย - - Adult - - ü --+ - Infant - - Conjunctivitis ü - ü + + + จนกว่าต่มุ น�้ำแหง้ ห้องแยก + Coxsackie virus disease โรคเดยี วกนั Creutzfeldt Jakob อยหู่ ้องเดยี วกันได้ disease - - ü - - ± จนกว่าจะหาย - - - ü - ± ± จนกว่าเชื้อหมด หอ้ งแยก + โรคเดยี วกัน อยู่ห้องเดยี วกนั ได้ - ü - --- - - - ü - - ± ± จนกว่าจะหาย หอ้ งแยก + - - ü - - ± จนกว่าจะหาย - - ü - ± ± 7 วนั แรก - ห้องแยก + - - - - - ± ตลอดไป
การปอ้ งกันและควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอื้ ในโรงพยาบาล 9 โรค Additional Precautions Protective Barrier ระยะเวลา หมายเหตุ Croup Airborne Droplet Contact Mask Gown Glove จนกว่าจะหาย ห้องแยก + Cryptococcosis - ü ü ±- ± - - Dengue - - - --- - Dermatophytosis - - - --- จนกวา่ จะหาย - (Ring worm) - - ü --+ - Diarrhea Diphtheria - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก + - Pharyngeal - ü - + ± ± จนกว่าเชอื้ หมด ห้องแยก + - Cutaneous โรคเดียวกนั Ebola viral infection Echovirus disease อยหู่ อ้ งเดียวกนั ได้ Encephalitis : Japanese B - - ü - ± ± จนกว่าเชอ้ื หมด หอ้ งแยก + ü - ü + + + จนกว่าเชอ้ื หมด หอ้ งแยก + Enterocolitis - - ü - ± ± 7 วนั แรก Epiglottitis ห้องแยก + Epstein-Barr virus infection - - - --- - ป้องกนั และควบคมุ Erythema infectiosum ตามชนดิ ของเชือ้ ก่อโรค Food poisoining - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย ห้องแยก ± - Salmonella - ü - + - - 24 ช่วั โมงแรก - Other ของการให้ยา หอ้ งแยก + Furunculosis Gangrene - - - --- - - Gastroenteritis - ü - +-- Giardiasis 7 วนั แรก ห้องแยก + Gonorrhea Gonococcal ophthalmitis - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย ห้องแยก + Granuloma inguinale - - ü --- - - Guillain-Barre’ syndrome - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก ± Hand, Foot and mouth disease - - - - - - จนกว่าจะหาย - Hepatitis - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย ห้องแยก ± Herpangina - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก ± - - - --- - - - - - --- - - - - - --- - - - - - --- - - - - ü - ± ± 7 วนั แรก ห้องแยก ± - - ü - - ± จนกวา่ เชื้อหมด ห้องแยก ± - - ü - ± ± 7 วันแรก หอ้ งแยก ±
10 คู่มอื การป้องกนั และควบคมุ การติดเชื้อ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น โรค Additional Precautions Protective Barrier ระยะเวลา หมายเหตุ Airborne Droplet Contact Mask Gown Glove Herpes simplex - - Encephalitis - - - --- - ห้องแยก + - Disseminated ü - ü + ± ± จนกว่าจะหาย มีอาการหลาย dermatomes จนกว่าต่มุ น้�ำแหง้ - (แนวเสน้ ประสาท) หรอื เปน็ ห้องแยก + ทง้ั 2 ขา้ ง (ข้าม midline) - - - - - ± จนกว่าจะหาย - Mucocutaneous - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก + - Neonatal ü - ü + ± ± จนกวา่ จะหาย Herpes zoster หอ้ งแยก ± - Disseminated - - ü - - ± จนกว่าตุ่มน้�ำแห้ง - มอี าการหลาย dermatomes (แนวเสน้ ประสาท) หรือเป็น - - - --- - ห้องแยก + ทง้ั 2 ข้าง (ข้าม midline) - - ü - ± ± 24 ชม. หลงั รกั ษา หอ้ งแยก + - Localized โรคเดยี วกัน Histoplasmosis - - - --- - อย่หู ้องเดียวกนั ได้ Impetigo ห้องแยก + Infectious mononucleosis - Influenza - ü - + - - 5-7 วันหลงั มีไข้ หอ้ งแยก + หรือจนกว่าจะหาย - Kawasaki syndrome - - - --- - - Lassa fever - - ü + + + จนกวา่ จะหาย - Legionniares disease - - - --- - หอ้ งแยก ± - Leprosy - - - --± - - - Leptospirosis - - - - - ± จนกวา่ จะออกจาก - โรงพยาบาล Lice - - ü - ± ± 24 ชม.หลงั รกั ษา หอ้ งแยก + หอ้ งแยก + Listeriosis - - - --- - โรคเดียวกัน อยู่หอ้ งเดียวกันได้ Lyme disease - - - --- - - Lymphogranuloma venereum - - - - - - - หอ้ งแยก ± Malaria - - - --- - หอ้ งแยก + Marburg virus disease - - ü + + + จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก + Measles ü- - + + + 4 วัน หลงั ผน่ื ข้นึ - ห้องแยก + elioidosis - - - --- - - Meningitis - ü - - ± ± 7 วันแรก - Viral - Haemophilus influenzae - ü - + - - 24 ชม. หลงั ใหย้ า - ü - + - - 24 ชม. หลังใหย้ า - Meningococcal - Other - - - --- - - ü - + - - 24 ชม. หลังใหย้ า Meningococcemia Molluscum contagiosum - - - --- -
การปอ้ งกนั และควบคมุ การแพร่กระจายเชอ้ื ในโรงพยาบาล 11 โรค Additional Precautions Protective Barrier ระยะเวลา หมายเหตุ Airborne Droplet Contact Mask Gown Glove - Mucormycosis - Multiple resistant bacteria - - - --- - Gastrointestinal หอ้ งแยก + - Respiratory - - ü - ± ± จนกวา่ เช้อื หมด ห้องแยก + - Skin - - ü ± ± ± จนกว่าเชอ้ื หมด ห้องแยก + - Urinary - - ü - ± ± จนกวา่ เชอื้ หมด ห้องแยก + Mumps - - ü - - ± จนกว่าเชือ้ หมด หอ้ งแยก ± - ü - ± - - 5 วนั หลังจากมี โรคเดียวกนั Mycobacteria อยหู่ อ้ งเดยี วกนั ได้ nontuberculosis อาการ Parotitis Mycoplasma pneumonia - Necrotizing enterocolitis - - - --- - - Nocardiosis - ü - - - - จนกว่าจะหาย ห้องแยก ± Pertussis - - - - ± ± จนกว่าจะหาย โรคเดียวกนั Pharyngitis อยู่ห้องเดยี วกันได้ - Adult - - - --- - - Children - ü - ± - - 5 วนั หลังรักษา - Pinworm infection หอ้ งแยก + Plague - Bubonic - - - --- - - - Pneumonic - ü - - - - จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก ± Pleurodynia Pneumonia - - - --- - - - Adult - Infant -- - - - - 3 วัน หลงั รักษา - Poliomyelitis ü- Psittacosis -- - + + + 7 วัน หลังรักษา หอ้ งแยก + Q fever Rabies - - ± ± 7 วนั แรกของอาการ ห้องแยก + Rat-bite fever Relapsing fever - - - --- - - Reye syndrome - ü - ±±- - ห้องแยก + Rheumatic fever - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย ห้องแยก ± Roseola infantum Rotavirus - - - --- - - Rubella - Congenital - - - --- - - Salmonellosis Scabies - - - ± ± ± ตลอดไป หอ้ งแยก + - - - - - ± 24 ชม. หลงั รกั ษา - - - - - - - จนกว่าจะหาย - - - - --- - - - - - --- - - - - - --- - - - - ü - ± ± จนกว่าจะหาย หอ้ งแยก ± - ü - ±-- 7 วันแรก หอ้ งแยก + - - ü - + + ตลอดไป หอ้ งแยก + - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก ± - - ü - ± ± 24 ชม. หลังรักษา หอ้ งแยก ±
12 คูม่ ือการปอ้ งกันและควบคมุ การติดเชอื้ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ โรค Additional Precautions Protective Barrier ระยะเวลา หมายเหตุ Airborne Droplet Contact Mask Gown Glove Schistosomiasis - - Severe acute respiratory - - - --- จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก + syndrome (SARS) ü - ü +++ Shigellosis หอ้ งแยก ± Smallpox - - ü - ± ± จนกวา่ เชือ้ หมด หอ้ งแยก + Sporotrichosis ü - ü + + + จนกว่าจะหาย Staphylococal diseases - - Skin - - - --- - - Enterocolitis ห้องแยก ± - Pneumonia - - ü - ± ± จนกว่าจะหาย ห้องแยก ± - Scalded skin syndrome - - ü - ± ± จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก + - Toxic shock syndrome - - - ± ± ± 48 ชม. หลงั รกั ษา หอ้ งแยก + Streptococcal diseases - - - - ± ± 48 ชม. หลงั รักษา - Endometritis - - - - ± ± จนกวา่ จะหาย - - Skin - Pharyngitis - - - - ± ± 24 ชม.หลงั รกั ษา ห้องแยก ± - Pneumonia - - ü - ± ± 24 ชม.หลังรักษา หอ้ งแยก ± - Scarlet fever - ü - --- หอ้ งแยก ± Strongyloidiasis - ห้องแยก ± Syphilis : Skin and mucous - ü - ± ± ± 24 ชม.หลงั รักษา หอ้ งแยก ± membrane - ü - - - - 24 ชม.หลังรักษา Tapeworm disease - Tetanus - - - --- - - Toxoplasmosis Trachoma - - - --- - - Trichinosis - Trichomoniasis - - - --- - - Trichuriasis - Tuberculosis - - - --- - - - Pulmonary - - - - --- - - - Extrapulmonary drianing Typhus - - - - - - จนกวา่ จะหาย หอ้ งแยก + Urinary tract infection Wound infection - - - --- - ห้องแยก + - - - - --- - - - - - - --- - ü- - ± - - 2 สปั ดาห์หลงั ใหย้ า Sputum AFB neg. ü- - - ± ± จนกว่าหนองจะแห้ง - - - --- - - - - --- - - - ü - ± ± จนกว่าจะหาย หมายเหตุ ü = การปอ้ งกัน + = มคี วามจ�ำเปน็ ตอ้ งใช้ - = ไมม่ ีความจ�ำเป็นต้องใช้ ± = ใหพ้ จิ ารณาใชเ้ ปน็ รายๆ ไปตามความจำ� เปน็
แนวทางการประเมนิ แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิ Contact Precautions หอผู้ป่วย / หนว่ ยงาน.......................................................... ค�ำชแี้ จง : กรุณาประเมนิ การปฏบิ ตั ิตามความเป็นจรงิ : Y หมายถงึ ได้ปฏิบตั ิ N หมายถึง ไม่ได้ปฏบิ ตั ิ และใส่เครือ่ งหมาย – ในหัวขอ้ ทไ่ี มส่ ามารถประเมินได้ วันท.่ี ........ วันท.ี่ ........ วันท.่ี ........ วนั ท.่ี ........ วนั ท.่ี ........ วันท่.ี ........ วนั ท.่ี ........ วันท.่ี ........ วันท.่ี ........ วนั ท.่ี ........ ลำ� ดับที่ กจิ กรรม YNYNYNYNYNYNYNYNYNYN 1. จัดผ้ปู ่วยไว้ในห้องแยก ถา้ ไม่มีห้องแยก จดั เตยี งผูป้ ว่ ยไวม้ ุมใดมุมหนึ่งของหอผูป้ ่วยแยก จากผปู้ ว่ ยอนื่ 2. แขวนปา้ ยสญั ลักษณ์ Contact Precautions หน้าหอ้ งผู้ป่วย/เตียงผู้ป่วย 3. ตดิ สัญลกั ษณ์ Contact Precautions ที่ Chart ผู้ปว่ ย 4. ท�ำความสะอาดมอื ดว้ ยน้ำ� ยาฆา่ เช้อื ครบข้ันตอนตาม 5 moments 5. สวมเส้ือคลุมและถุงมอื เม่อื สัมผสั ใกลช้ ิดกับผู้ปว่ ยหรือคาดว่าจะสมั ผสั สิง่ คัดหลงั่ จาก ผู้ปว่ ย 6. มกี ารแยกอุปกรณท์ างการแพทย์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชเ้ ฉพาะราย 7. จำ� กดั บคุ ลากรท่ีดูแลผ้ปู ่วยให้มจี ำ� นวนเทา่ ทีจ่ ำ� เป็น 8. จำ� กดั การเย่ยี มของญาตเิ ทา่ ทจ่ี ำ� เป็น และต้องไดร้ ับค�ำแนะนำ� การปฏิบตั ิตวั กอ่ นเขา้ เยย่ี ม 9. ทำ� ความสะอาดพน้ื และสงิ่ แวดลอ้ มด้วย 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) เม่อื การปอ้ งกนั และควบคมุ การแพร่กระจายเช้อื ในโรงพยาบาล 13 ยา้ ยหรือจ�ำหน่ายผปู้ ว่ ย ผู้ประเมนิ หมายเหตุ : โรคทแ่ี พรก่ ระจายเช้ือโดยการสัมผัส ได้แก่ Infectious diarrhea, Infectious wound, Viral hemorrhagic infections, Viral conjunctivitis, Lice, Scabies รวมทง้ั เช้ือท่ีตอ้ งมที ้ัง Airborne และ Contact precautions เช่น โรคสกุ ใส เปน็ ต้น **กรณีเช้อื ดือ้ ยาใหใ้ ชแ้ บบประเมินการปฏบิ ตั ิการป้องกนั การแพร่กระจายเช้อื ดอ้ื ยา (MDR /MRSA), (CRE /VRE /CoRO)
แบบประเมนิ การปฏิบตั ิ Droplet Precautions หอผปู้ ่วย / หนว่ ยงาน.......................................................... 14 ค�ำชีแ้ จง : กรณุ าประเมนิ การปฏิบตั ติ ามความเปน็ จริง: Y หมายถึง ได้ปฏบิ ัติ N หมายถึง ไมไ่ ดป้ ฏิบตั ิ และใส่เครอ่ื งหมาย – ในหวั ข้อท่ไี มส่ ามารถประเมนิ ได้ คมู่ อื การปอ้ งกันและควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ วนั ท่.ี ......... วันท.ี่ ......... วนั ท่.ี ......... วันท.่ี ......... วนั ท่.ี ......... คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ล�ำดับท่ี กิจกรรม YNYNYNYNYN 1. มกี ารคดั กรองผูป้ ่วยที่สงสัยว่ามีการแพรก่ ระจายเช้อื จากละอองฝอย เสมหะ นำ�้ มกู นำ�้ ลาย 2. ติดตามผลตรวจในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เพ่อื ยนื ยันผลตรวจพบเชอื้ ท่ีมกี ารแพรก่ ระจายจากละอองฝอย 3. จัดผปู้ ่วยไว้ในหอ้ งแยก ถ้าไม่มีห้องแยก จัดเตียงผู้ป่วยไวม้ ุมใดมุมหน่ึงของหอผ้ปู ่วยทมี่ อี ากาศถา่ ยเทไดด้ ีและหา่ งจากเตยี งผู้ปว่ ยอ่นื อย่างน้อย 3 ฟตุ 4. แขวนป้าย Droplet Precautions หนา้ หอ้ งผปู้ ่วย/เตียงผ้ปู ว่ ย 5. ติดสญั ลกั ษณ์ Droplet Precautions ที่ Chart ผู้ป่วย 6. ให้ผู้ป่วยสวม surgical mask ใชผ้ า้ หรือกระดาษปิดปากปิดจมูกขณะไอ จาม 7. ท�ำความสะอาดมอื ดว้ ยน�ำ้ ยาฆ่าเชอ้ื ครบขั้นตอนตาม 5 moments 8. สวม surgical mask เมื่อตอ้ งเขา้ ใกลผ้ ้ปู ่วยภายในระยะ 3 ฟุต/สวมถุงมอื เม่ือคาดวา่ จะสัมผัสสง่ิ คัดหลงั่ จากผปู้ ่วย 9. จำ� กดั การเย่ียมของญาตเิ ท่าท่จี �ำเป็น และตอ้ งไดร้ ับค�ำแนะน�ำการปฏบิ ัติตวั กอ่ นเข้าเย่ยี ม 10. จำ� กัดบคุ ลากรทีด่ ูแลผปู้ ่วยใหม้ จี �ำนวนเท่าที่จำ� เปน็ 11. หลีกเลี่ยงการเคลอ่ื นย้ายผ้ปู ว่ ย หากจำ� เปน็ ใหแ้ จง้ หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งทราบ พรอ้ มใหผ้ ปู้ ว่ ยสวม surgical mask ระหว่างการเคลอื่ นย้าย 12. ท�ำความสะอาดพื้นและสิ่งแวดล้อมประจ�ำวันด้วย และเม่ือย้ายหรือจ�ำหน่ายผู้ป่วยด้วย 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) กรณีไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ท�ำความสะอาดประจำ� วันตามแนวทางปกติ ใช้ 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) เมื่อยา้ ยหรอื จำ� หนา่ ยผู้ปว่ ย 13. มกี ารรายงานโรคตดิ ต่อตามแบบ รง 506 และแจง้ ผ้เู ก่ยี วขอ้ งตามระบบ ผปู้ ระเมิน หมายเหต:ุ โรคทแ่ี พรก่ ระจายเชอ้ื โดยละอองฝอยทมี่ ขี นาดใหญก่ วา่ 5 ไมครอน ไดแ้ ก่ หดั เยอรมนั (Rubella), คางทมู (Mumps), ไอกรน (Pertussis), ไขห้ วดั ใหญ่ (Influenza), ไขก้ าฬหลงั แอ่น (Meningococcal infection) เปน็ ต้น
แบบประเมินการปฏบิ ตั ิ Airborne Precautions หอผปู้ ว่ ย/หน่วยงาน.............................................................. คำ� ชี้แจง : กรณุ าประเมินการปฏิบตั ติ ามความเปน็ จรงิ : Y หมายถงึ ไดป้ ฏิบัติ N หมายถงึ ไม่ได้ปฏบิ ัติ และใสเ่ ครอ่ื งหมาย – ในหวั ขอ้ ท่ีไม่สามารถประเมนิ ได้ วันท.่ี .......... วันท่.ี .......... วันท่.ี .......... วนั ท่.ี .......... วันที.่ .......... ลำ� ดับที่ กิจกรรม YNYNYNYNYN 1. มกี ารคัดกรองและแยกผปู้ ว่ ย ทสี่ งสัยวา่ มีการแพร่กระจายเชอื้ ทางอากาศ 2. ติดตามผลตรวจในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เพอ่ื ยืนยันผลตรวจพบเชอ้ื ท่ีมกี ารแพร่กระจายทางอากาศ 3. จดั ผู้ป่วยไว้ในห้องแยกโรค (Negative pressure room) จนพน้ ระยะแพรเ่ ชื้อ 4. มกี ารตรวจสอบห้องแยกโรคกอ่ นใช้หอ้ ง และตรวจสอบวันละ 1 ครั้ง ขณะใชง้ าน ใหม้ ีความพรอ้ ม ระบบระบายอากาศได้มาตรฐาน 5. กรณไี มม่ หี อ้ งแยกโรค จัดผปู้ ว่ ยไว้ในหอ้ งทีม่ ีการถา่ ยเทอากาศสภู่ ายนอกอาคารไดด้ ีและปดิ ประตูตลอดเวลา หรือจัดใหผ้ ู้ปว่ ยตดิ เชื้อโรค การปอ้ งกนั และควบคมุ การแพร่กระจายเช้อื ในโรงพยาบาล 15 ชนดิ เดยี วกนั อย่ใู นหอ้ งเดยี วกัน หรือจดั เตียงผู้ปว่ ยไว้มมุ ใดมุมหน่ึงของหอผู้ปว่ ยทม่ี ีอากาศถา่ ยเทได้ดี และหา่ งจากเตียงผู้ป่วยอ่นื 6. ผู้ป่วยสวม surgical mask ตลอดเวลา 7. แขวนป้าย Airborne Precautions ท่หี นา้ ห้องผ้ปู ่วย/เตยี งผ้ปู ว่ ย 8. ตดิ สัญลักษณ์ Airborne Precautions ที่ Chart ผู้ป่วย 9. ท�ำความสะอาดมือด้วยน�้ำยาฆา่ เช้ือ ถกู ตอ้ งครบข้ันตอน ตาม 5 moments 10. บุคลากรสวม mask N 95 เมือ่ เข้าไปในหอ้ งผู้ปว่ ยหรอื ใหก้ ารดแู ลผู้ปว่ ย 11. จำ� กดั การเย่ียมของญาตเิ ทา่ ท่ีจ�ำเป็น และตอ้ งไดร้ บั คำ� แนะนำ� การปฏิบัตติ วั กอ่ นเขา้ เยีย่ ม 12. จ�ำกดั บคุ ลากรที่ดแู ลผูป้ ่วยให้มจี �ำนวนเท่าท่ีจำ� เปน็ 13. หลีกเล่ียงการเคล่ือนยา้ ยผ้ปู ว่ ย หากจำ� เป็นใหแ้ จง้ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องทราบ พรอ้ มให้ผปู้ ่วยสวม surgical mask ระหว่างเคล่ือนย้าย 14. ทำ� ความสะอาดพื้นและส่งิ แวดล้อมประจำ� วนั และเมื่อย้ายหรอื จำ� หน่ายผูป้ ่วย ดว้ ย 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) กรณีสกุ ใส (Chickenpox) ท�ำความสะอาดประจ�ำวันตามแนวทางปกติ ใช้ 0.5% sodium hypochlorite (Virkon) เมอื่ ยา้ ยหรอื จำ� หนา่ ยผ้ปู ่วย 15. มีการรายงานโรคติดต่อตามแบบ รง 506 และแจ้งผูเ้ กี่ยวข้องตามระบบ ผปู้ ระเมนิ หมายเหตุ : โรคท่แี พรก่ ระจายเชอ้ื ทางอากาศ ไดแ้ ก่ วณั โรคปอด หัด (Measles) สกุ ใส (Chickenpox) งูสวดั และเริมแบบแพรก่ ระจาย (Disseminated herpes zoster and Disseminated herpes simplex) คอื มอี าการหลาย dermatomes (แนวของเส้นประสาท) หรือเปน็ ทัง้ 2 ขา้ ง (เช่นเป็นขา้ ม midline) โรคติดต่ออันตรายท่ตี ้องท�ำมาตรการ ทัง้ Airborne และ Contract precautions เช่น โรคทางเดนิ หายใจเฉียบพลันรนุ แรง (SARS) โรคทางเดินหายใจตะวนั ออกกลาง (MERS) ไขท้ รพิษ (Smallpox) ไขห้ วดั นก (Avain Influenza) เป็นต้น
16 ค่มู อื การปอ้ งกนั และควบคุมการติดเช้อื โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น บรรณานุกรม งานป้องกันและควบคุมโรคติดเช้ือ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. (2558). คู่มือ ปฏิบัติงานการควบคุมโรคติดเช้ือในโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ : คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบนั บำ� ราศนราดรู กระทรวงสาธารณสขุ . (2560). คมู่ อื ปฏบิ ตั กิ ารปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. นนทบุรี : สำ� นกั พิมพอ์ กั ษรกราฟฟิคแอนด์ดไี ซน.์ อะเค้ือ อุณหเลขกะ. (2554). หลักและแนวปฏิบัติการป้องกันการติดเช้ือในโรงพยาบาล Prevention of nasocomial infection : principle and guidelines. พมิ พ์คร้ังท่ี 2. เชียงใหม่ : โรงพมิ พม์ ิ่งเมือง. อะเคื้อ อุณหเลขกะ. (2554). ระบาดวิทยาและแนวปฏิบัติในการป้องกันการติดเช้ือในโรงพยาบาล Epidemiology and evidence-based practice guideline in prevention of hospital-associated infections. เชยี งใหม่ : โรงพมิ พม์ ่งิ เมือง. เพลินจันทร์ เชษฐโ์ ชติศักดิ์, ศริ ลิ ักษณ์ อนนั ต์ณัฐศริ ิ, และสายสมร พลดงนอก. (2557). การปอ้ งกนั และควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอื้ ในโรงพยาบาล. ใน คมู่ อื การปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาลศร-ี นครนิ ทร์ ปี 2557–2560. ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. (หน้า 3-16). Jane D, Emily Rhinehart, Marguerite Jackson, Linda Chiarello and the healthcare infection control practices advisory committee. (2017). Guideline for isolation precautions: preventing transmission of infectious agents in healthcare settings 2007: 2017 update. Retrieved June 5, 2018, from : https://www.cdc.gov/ infectioncontrol/guidelines/isolation/index.html. The Healthcare Infection Control Practices Advisory committee. (2016). Guideline for standard precautions for all patient care : transmission-based precautions. Retrieved August 2, 2017, from : https://www.cdc.gov/infectioncontrol/basics/ transmission-based-precautions. html. UCSF medical center. (2017). Guidelines for Care of the Immunocompromised Patient. Retrieved September 12, 2018, from : https://infectioncontrol. ucsfmedicalcenter. org/ 41-guidelines-care-immunocompromised-patient.
การทำ� ความสะอาดมอื (Hand Hygiene) 17 การทำ� ความสะอาดมือ (Hand Hygiene) พรพิมล ผกั ไหม* อมั รา ศริ ิทองสขุ ** สายสมร พลดงนอก*** ทวนทอง พณั ธะโร**** ความส�ำคัญ การท�ำความสะอาดมอื (Hand Hygiene) เป็นมาตรการการปอ้ งกันและควบคุมการติดเชอื้ ในโรงพยาบาล ที่สามารถปฏิบัติได้ง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย และมีประสิทธิภาพสูง ซ่ึงเช้ือโรคที่ตรวจพบบนมือบุคลากรทาง การแพทย์มีมากกว่าคนทั่วไป มือของบุคลากรอาจมีการปนเปื้อนเช้ือโรคในขณะปฏิบัติงานและเป็นสาเหตุให้ เกิดการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อได้ ซึ่งผู้ท่ีมารับบริการในโรงพยาบาลอาจได้รับเชื้อโรคจากการสัมผัสเชื้อโรค โดยตรงและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้ตัวผู้ป่วย เช้ือโรคบนมือสามารถเพิ่มปริมาณหลังท�ำกิจกรรมกับผู้ป่วยและติดอยู่ บนมือได้เปน็ เวลานาน ดังนั้น หากบุคลากรทางการแพทย์ท�ำความสะอาดมอื อยา่ งถกู ต้องตามข้อบง่ ช้ี จะสามารถ ลดอุบัตกิ ารณข์ องการติดเชอื้ ในโรงพยาบาลได้ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มกี ารจดั กจิ กรรมรณรงคใ์ หบ้ คุ ลากรทำ� ความสะอาดมอื ทงั้ องคก์ ร และมีการประเมนิ การท�ำความสะอาดมอื ของบุคลกร ปี 2559-2561 พบวา่ บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละนักศึกษา แพทย์ท�ำความสะอาดมือถูกต้องตาม 5 ขอ้ บง่ ชี้ (5 Moments) ร้อยละ 85.2-85.7 โดยก่อนสัมผัสผู้ปว่ ยท�ำความ สะอาดมือร้อยละ 70.8, 69.0 และ 56.2 ตามล�ำดับ กอ่ นท�ำหตั ถการปลอดเชือ้ ท�ำความสะอาดมือร้อยละ 85.6, 80.0 และ 82.8 ตามล�ำดับ หลังสัมผัสสารคัดหล่ังท�ำความสะอาดมือร้อยละ 98.3, 97.6 และ 98.7 ตามล�ำดับ หลังสมั ผสั ผู้ป่วยทำ� ความสะอาดมือรอ้ ยละ 95.8, 93.0 และ 93.6 ตามลำ� ดับ หลังสมั ผัสสิ่งแวดล้อมรอบตวั ผูป้ ่วย ท�ำความสะอาดมอื รอ้ ยละ 92.4, 90.5 และ 89.85 ตามลำ� ดับ * นักวชิ าการสาธารณสุข หน่วยควบคมุ การตดิ เชอื้ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ** พยาบาลชำ� นาญการ หน่วยควบคมุ การตดิ เช้อื โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ *** พยาบาลช�ำนาญการพิเศษ หน่วยระบาดวิทยาโรคติดต่อ งานเวชกรรมสงั คม คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ **** พยาบาลช�ำนาญการพเิ ศษ งานบริการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
18 คมู่ ือการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ค�ำจำ� กัดความ การทำ� ความสะอาดมอื (Hand Hygiene) หมายถงึ การขดั ถใู หท้ วั่ มอื ดว้ ยสบู่ นำ้� ยาฆา่ เชอ้ื หรอื แอลกอฮอล์ ถูมือ เพื่อขจดั สิ่งสกปรกและลดเชือ้ จุลชีพในมือ การลา้ งมอื ด้วยนำ้� กบั สบ่ธู รรมดา (Normal hand washing) หมายถึง การขัดถทู ่วั มือด้วยน�้ำสบู่ เพ่อื ขจัด ส่งิ สกปรก ฝนุ่ ละออง เหง่ือไคล ไขมัน สารอนิ ทรยี ์ และเชือ้ จลุ ชีพบนมอื การล้างมือด้วยน้�ำกับน้�ำยาฆ่าเช้ือ (Hygienic hand washing) หมายถึง การขัดถูทั่วมือด้วยน้�ำยาฆ่าเชื้อ เพื่อขจัดเชือ้ จลุ ชพี ทัง้ ท่อี าศัยอย่ชู ่วั คราวและเช้ือจลุ ชีพประจ�ำถ่ิน การถูมือด้วยแอลกอฮอล์ (Alcohol-base hand rub) หมายถึง การท�ำความสะอาดมือด้วยแอลกอฮอล์ โดยไม่ใชน้ ้ำ� วัตถปุ ระสงค์ของการทำ� ความสะอาดมอื 1. เพื่อขจดั ส่ิงสกปรกต่างๆ เหงื่อ ไขมัน ท่ีอยบู่ นมอื 2. เพอ่ื ลดจำ� นวนเชอ้ื จุลชีพทีอ่ ยบู่ นมอื 3. เพ่อื ป้องกนั การแพรก่ ระจายเชือ้ และการติดเชื้อท่ถี า่ ยทอดโดยการสมั ผัสดว้ ยมือ ขอ้ บง่ ชี้ในการทำ� ความสะอาดมอื ของบคุ ลากรทางการแพทย์ บุคลากรควรทำ� ความสะอาดมอื เมือ่ ทำ� กจิ กรรมตาม 5 ข้อบง่ ช้ี (5 moments for hand hygiene) ดงั นี้ 1. กอ่ นสมั ผัสผู้ปว่ ย 2. กอ่ นทำ� หัตถการปลอดเชอ้ื 3. หลงั สมั ผสั สารคัดหลัง่ ต่างๆ ของผ้ปู ่วย 4. หลังสมั ผัสผ้ปู ว่ ย 5. หลงั สมั ผัสส่ิงแวดลอ้ มของผู้ป่วย การลา้ งมอื แบ่งได้ 4 วิธี ไดแ้ ก่ 1. การล้างมอื ธรรมดา (Normal hand washing) เปน็ การลา้ งมือเพื่อขจัดส่งิ สกปรก (เหงือ่ ฝุ่นละออง) และเชอ้ื จุลชีพทอี่ ยูบ่ นมอื จะใช้เมื่อ 1.1 ให้การดูแลผปู้ ่วยและไมไ่ ด้มีการสมั ผสั สารคดั หลง่ั จากรา่ งกายของผ้ปู ว่ ย 1.2 ก่อนใหก้ ารดแู ลผ้ปู ่วยท่ีมภี มู ิคุม้ กนั ตำ�่ 1.3 กอ่ นและหลงั สมั ผสั ผู้ปว่ ยแตล่ ะราย 1.4 ก่อน-หลังเตรยี มยาให้ผู้ปว่ ย 1.5 กอ่ นปอ้ นอาหารให้ผ้ปู ่วย การลา้ งมือแบบธรรมดาอย่างถกู ตอ้ ง สำ� หรับบุคลากรทางการแพทย์ มขี ้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. ยืนหา่ งจากอา่ งลา้ งมอื เส้อื ผา้ ไม่สัมผสั อ่าง 2. ถอดแหวน นาฬิกา ออกก่อนลา้ งมือ 3. ลา้ งมือดว้ ยน้�ำสะอาดใหเ้ ปยี กท่ัวมือ 4. ใชส้ บเู่ หลวประมาณ 3-5 มลิ ลลิ ิตร (กดปมั๊ ขวดน�้ำยา และใช้องุ้ มืออกี ดา้ นรองรบั น้ำ� ยา)
การท�ำความสะอาดมือ (Hand Hygiene) 19 5. ใชฝ้ า่ มือถกู นั 6. ฟอกหลังมอื และง่ามน้ิวมอื ด้านหลงั ท้งั 2 ข้าง 7. ฟอกฝ่ามือและงา่ มน้วิ มือด้านหน้าทง้ั 2 ขา้ ง 8. ฟอกขอ้ นว้ิ มือด้านหลังท้งั 2 ขา้ งและน้ิวหัวแม่มอื 9. ฟอกปลายนิ้วมือ ลายเสน้ ฝ่ามอื และรอบข้อมอื ท้ัง 2 ขา้ ง 10. ใชเ้ วลาในการฟอกและถูมอื อยา่ งน้อย 15-20 วนิ าที 11. ล้างมือด้วยน้ำ� สะอาด จนหมดคราบสบู่หรือนำ�้ ยาลา้ งมอื 12. เชด็ มือใหแ้ ห้งดว้ ยกระดาษเชด็ มอื และใชก้ ระดาษเช็ดมอื ปิดกอ๊ กน้ำ� (กรณีก๊อกนำ้� เป็นชนดิ หมุน ปิด-เปิด) 13. ข้ันตอนท่ี 3-12 ใชเ้ วลารวมท้ังหมด ประมาณ 40-60 วนิ าที 2. การลา้ งมือด้วยน�ำ้ ยาฆา่ เชือ้ (Hygienic hand washing) เป็นการล้างมือเม่ือต้องการขจัดเชื้อจุลชีพที่อยู่ชั่วคราวบนมือออก ซึ่งเช้ือจุลชีพอาจเกิดจากการสัมผัส สารคดั หลง่ั จากร่างกายผ้ปู ่วย อุปกรณ์เครอื่ งมอื เคร่อื งใช้ทางการแพทย์ หรอื ส่งิ ของเครื่องใช้ผปู้ ่วยทีป่ นเป้อื นเชื้อ จะใชเ้ ม่ือ 2.1 ให้การดูแลผู้ป่วยและมกี ารสัมผัสสารคัดหล่งั จากรา่ งกายของผู้ปว่ ย 2.2 กอ่ น–หลงั สมั ผัสและดูแลผูป้ ว่ ย ทเี่ สี่ยงตอ่ การตดิ เช้ือสูงหรือผู้ป่วยที่มกี ารตดิ เชอื้ รนุ แรง 2.3 เมอ่ื ตอ้ งทำ� หตั ถการตา่ งๆ ทตี่ อ้ งสอดใสอ่ ปุ กรณท์ างการแพทยเ์ ขา้ สรู่ า่ งกายผปู้ ว่ ย เชน่ การดดู เสมหะ การฉดี ยา การใสส่ ายสวนปสั สาวะ การใสส่ ายยางใหอ้ าหาร และการใสส่ ายสวนหลอดเลอื ดด�ำใหญ่ เป็นตน้ การล้างมอื ดว้ ยนำ้� ยาฆ่าเชอ้ื อย่างถกู ตอ้ ง ส�ำหรบั บุคลากรทางการแพทย์ มีขน้ั ตอนการปฏิบัติ ดังนี้ 1. ยนื ห่างจากอา่ งล้างมอื เสอื้ ผา้ ไม่สัมผัสอา่ ง 2. ถอดแหวน นาฬกิ า ออกกอ่ นล้างมือ 3. ลา้ งมอื ด้วยน้ำ� สะอาดให้เปยี กทัว่ มือ 4. ใชน้ �ำ้ ยาฆา่ เชือ้ ไดแ้ ก่ 4% Chlorhexidine ประมาณ 3-5 มิลลิลิตร (กดป๊มั ขวดนำ้� ยา และใชอ้ งุ้ มือ อกี ดา้ นรองรับน�ำ้ ยา) 5. ใช้ฝา่ มอื ถูกัน 6. ฟอกหลงั มือและง่ามนิว้ มอื ด้านหลังท้งั 2 ข้าง 7. ฟอกฝา่ มือและง่ามนิ้วมอื ด้านหน้าทัง้ 2 ข้าง 8. ฟอกขอ้ น้วิ มอื ดา้ นหลงั และนว้ิ หัวแมม่ อื 9. ฟอกปลายนวิ้ มอื ลายเส้นฝา่ มือและรอบข้อมือทง้ั 2 ข้าง 10. ใช้เวลาในการฟอกและถมู ือ (ข้นั ตอนท่ี 5-9) อย่างน้อย 15-20 วนิ าที 11. ลา้ งมอื ดว้ ยน้�ำสะอาด จนหมดคราบนำ�้ ยาฆ่าเชอ้ื 12. เช็ดมือให้แหง้ ด้วยกระดาษเช็ดมอื และใช้กระดาษเชด็ มอื ปิดก๊อกน�้ำ (กรณกี ๊อกนำ้� เปน็ ชนดิ หมนุ ปิด-เปดิ ) 13. ขัน้ ตอนท่ี 3-12 ใชเ้ วลารวมทงั้ หมด ประมาณ 40-60 วินาที
20 คู่มือการป้องกันและควบคมุ การตดิ เชื้อ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3. การล้างมือก่อนทำ� หัตถการปลอดเชือ้ (Surgical hand washing) เปน็ การลา้ งมอื เมอ่ื ตอ้ งการขจดั หรอื ทำ� ลายเชอื้ จลุ ชพี ทอ่ี ยชู่ วั่ คราวบนมอื และลดจำ� นวนเชอื้ จลุ ชพี ประจำ� ถน่ิ บนมือออก เพ่ือเตรยี มทำ� หัตถการ จะใชเ้ ม่อื 3.1 การผา่ ตัด 3.2 การท�ำคลอด การลา้ งมอื กอ่ นทำ� หตั ถการปลอดเชอื้ อยา่ งถกู ตอ้ ง สำ� หรบั บคุ ลากรทางการแพทย์ มขี นั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. ยืนหา่ งจากอา่ งล้างมอื เสื้อผ้าไมส่ ัมผัสอา่ ง 2. ถอดแหวน นาฬกิ า ออกก่อนล้างมือ 3. ลา้ งมอื ด้วยน�ำ้ สะอาดใหเ้ ปียกทว่ั มือและข้อศอก 4. ใชน้ �้ำยาฆ่าเชื้อ 4% Chlorhexidine หรอื 7.5% Iodophor ครง้ั ละประมาณ 5 ซีซ.ี (3 ครงั้ ) 5. ฟอกมอื แขนจนถึงขอ้ ศอกใหท้ ่วั ทุกซอกทกุ มุม โดยใช้เวลานาน 2-6 นาที 6. ล้างมือด้วยน้ำ� สะอาดจนหมดคราบนำ�้ ยาฆ่าเช้ือ เชด็ มอื ให้แห้งด้วยผา้ ปราศจากเชือ้ 4. การลา้ งมือโดยไม่ใช้น�ำ้ (Alcohol hand rub) การล้างมือโดยไม่ใช้น้�ำ (Alcohol hand rub) เป็นวิธีการล้างมือท่ีสามารถขจัดจุลชีพท่ีอยู่บนมือช่ัวคราว ออกได้และสามารถใช้แทนการล้างมือธรรมดา การล้างมือด้วยน�้ำยาฆ่าเช้ือ และการล้างมือก่อนท�ำหัตถการ ปลอดเชือ้ ได้ โดยไมต่ ้องล้างมือด้วยนำ�้ หรอื นำ�้ ยาฆ่าเชอ้ื อีก จะใช้เม่อื 4.1 ไม่มีการปนเปอื้ นสิ่งสกปรกบนมอื ท่เี หน็ ไดช้ ัด 4.2 การท�ำกิจกรรมทต่ี ่อเนอื่ งกนั 4.3 กอ่ นและหลังการดแู ลสัมผสั ผู้ปว่ ยแตล่ ะราย 4.4 กอ่ นและหลังการเตรียมยา การฉดี ยา การใหส้ ารน้�ำ/เลือด และการเจาะเลอื ด 4.5 กรณีเร่งดว่ น/อา่ งลา้ งมืออยไู่ กล การลา้ งมือโดยไม่ใชน้ ำ้� อย่างถูกต้อง ส�ำหรบั บคุ ลากรทางการแพทย์ มขี นั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ ดงั นี้ 1. การล้างมือโดยไม่ใช้น้�ำก่อนและหลังการดูแล สัมผัสผู้ป่วย (Hand hygiene technique with an alcohol-base hand rub formulation) 1) ถอดแหวน นาฬิกา ออกก่อนล้างมอื 2) ใชน้ ำ้� ยา Waterless (Alcohol hand rub) ประมาณ 3-5 มิลลิลิตร (กดปมั๊ ขวดนำ�้ ยา และใชอ้ ้งุ มือ อีกดา้ นรองรบั น�้ำยา) 3) ถูมือทั้ง 2 ขา้ งให้ทั่ว 4) ถูหลังมือและงา่ มน้ิวมอื ด้านหลงั ท้งั 2 ขา้ ง 5) ถฝู า่ มือและง่ามนิว้ มอื ด้านหน้าท้ัง 2 ขา้ ง 6) ถูขอ้ น้วิ มือดา้ นหลงั และน้ิวหัวแมม่ ือ 7) ถปู ลายนว้ิ มอื ลายเสน้ ฝ่ามือ 8) ถมู อื จนกระทงั่ นำ�้ ยาแห้ง 9) ใชเ้ วลาในการล้างมือ ขั้นตอน 1.2-1.8 ประมาณ 20-30 วนิ าที
การท�ำความสะอาดมือ (Hand Hygiene) 21 2. การล้างมือโดยไม่ใช้น้�ำก่อนท�ำหัตถการปลอดเชื้อ (Surgical hand preparation technique with an alcohol-base hand rub formulation) 1) ถอดแหวน นาฬกิ า ออกก่อนล้างมือ 2) ใช้ข้อศอกขวากดปั๊มขวดน�้ำยา 3 คร้ัง ให้ได้น�้ำยา Waterless (Alcohol hand rub) ประมาณ 5 ซซี .ี โดยใชอ้ งุ้ มือซา้ ยรองรบั น�้ำยา 3) จุม่ ปลายน้ิวมือดา้ นขวาในน้ำ� ยาท่อี ุ้งมอื ซ้าย นาน 5 วินาที 4) ลูบน้�ำยาที่แขนขวาให้ทั่วรอบแขน โดยลูบจากมือถึงข้อศอก จนกระท่ังน�้ำยาแห้ง โดยใช้เวลา ประมาณ 10–15 วนิ าที 5) ใช้ข้อศอกซ้ายกดปั๊มขวดน�้ำยา 3 ครั้ง ให้ได้น�้ำยา Waterless (Alcohol hand rub) ประมาณ 5 ซีซ.ี โดยใชอ้ งุ้ มอื ขวารองรบั น�้ำยา 6) จุ่มปลายนวิ้ มือดา้ นซา้ ยในนำ�้ ยาที่อ้งุ มือขวา นาน 5 วนิ าที 7) ลูบน้�ำยาที่แขนซ้ายให้ท่ัวรอบแขน โดยลูบจากมือถึงข้อศอก จนกระทั่งน้�ำยาแห้ง โดยใช้เวลา ประมาณ 10–15 วินาที 8) ใช้ข้อศอกขวากดปั๊มขวดน�้ำยา 3 คร้ัง ให้ได้น�้ำยา Waterless (Alcohol hand rub) ประมาณ 5 ซซี .ี โดยใชอ้ งุ้ มอื ซ้ายรองรบั น�ำ้ ยา 9) ถูมอื ท้ัง 2 ข้างให้ทว่ั 10) ถูหลังมือและง่ามนว้ิ มอื ด้านหลังทั้ง 2 ขา้ ง 11) ถูฝา่ มือและงา่ มน้วิ มือดา้ นหนา้ ทงั้ 2 ขา้ ง 12) ถูขอ้ นิว้ มอื ดา้ นหลงั และน้วิ หวั แมม่ ือ 13) ถูปลายนิว้ มอื ลายเสน้ ฝ่ามอื 14) ถูมือจนกระทง่ั นำ้� ยาแห้งใชเ้ วลาอยา่ งน้อย 20-30 วินาที 15) การลา้ งมอื วิธนี ้ใี ชเ้ วลาในการลา้ งมอื รวมทกุ ขนั้ ตอน ประมาณ 60 วินาที
22 คู่มือการปอ้ งกันและควบคุมการติดเช้อื โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น รูปหลักการท�ำความสะอาดมือ 5 ขอ้ บ่งชี้ (5 moments for hand hygiene) ล้างมือก่อน ล้างมอื กอ่ นทำ� สมั ผัสผปู้ ่วย หัตถการปลอดเชื้อ ล้างมือหลัง สมั ผสั ผปู้ ว่ ย ลา้ งมอื หลงั สมั ผสั สารคดั หลง่ั ผปู้ ว่ ย ลา้ งมอื หลงั สมั ผสั สงิ่ แวดลอ้ มของผปู้ ว่ ย ท่มี า: https://www.who.int/infection-prevention/campaigns/clean-hands/5moments/en/
การท�ำความสะอาดมือ (Hand Hygiene) 23 รปู วิธีการลา้ งมือธรรมดา (Normal hand washing) และการล้างมือดว้ ยน้�ำยาฆ่าเชอ้ื (Hygienic hand washing) ล้างมือด้วยน�้ำสะอาดจนเปียกให้ทั่วก่อน กดป๊มั สบูเ่ หลว/น้ำ� ยาฆ่าเช้ือประมาณ 3-5 cc ใช้ฝา่ มือถกู นั ฟอกหลังมอื และง่ามน้ิวมือด้านหลังทงั้ 2 ข้าง ฟอกข้อนวิ้ มือดา้ นหลงั ฟอกฝา่ มอื และงา่ มน้ิวมอื ดา้ นหนา้ ทัง้ 2 ข้าง ฟอกปลายน้วิ มอื ลายเส้นฝ่ามอื ฟอกน้ิวหัวแม่มือ และรอบข้อมือท้งั 2 ขา้ ง ลา้ งมอื ด้วยนำ�้ สะอาด จนหมดคราบนำ้� ยาฆ่าเช้อื เชด็ มือให้แห้งดว้ ยกระดาษเช็ดมอื ใชก้ ระดาษเชด็ มอื ปิดก๊อกนำ้� (กรณีก๊อกน้�ำเป็นชนดิ หมนุ ปิด-เปดิ )
24 คมู่ ือการปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เชือ้ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ รปู วธิ กี ารล้างมอื โดยไม่ใชน้ �ำ้ (Alcohol hand rub) กดน�้ำยา waterless ประมาณ 3-5 ซซี ี โดยใชอ้ งุ้ มือดา้ นใดด้านหนึง่ รองรบั นำ้� ยา ถมู ือทงั้ 2 ข้างให้ทั่ว ถหู ลงั มอื และง่ามน้วิ มอื ด้านหลังท้งั 2 ข้าง ถูข้อนิว้ มอื ด้านหลัง ถูฝา่ มอื และงา่ มน้วิ มอื ดา้ นหนา้ ทง้ั 2 ข้าง ถปู ลายนิ้วมือ ลายเส้นฝ่ามอื ถูน้ิวหวั แมม่ อื ถูมอื จนกระทงั่ น้�ำยาแห้ง ใช้เวลาประมาณ 20-30 วนิ าที
การท�ำความสะอาดมือ (Hand Hygiene) 25 รปู วธิ ีการล้างมือโดยไมใ่ ช้น้�ำ (Alcohol hand rub) ก่อนการทำ� หตั ถการผ่าตัด/ทำ� คลอด ใชข้ อ้ ศอกขวากดนำ�้ ยาประมาณ 5 cc. จุ่มปลายนวิ้ มือด้านขวาในน�้ำยาที่องุ้ มือซ้าย โดยใช้องุ้ มอื ซา้ ยรองรับน�้ำยา นาน 5 วนิ าที ลูบน้ำ� ยาที่แขนขวาใหท้ ่ัวรอบแขน โดยลบู จากมอื ถึงข้อศอก จนกระท่ังน�้ำยาแหง้ โดยใชเ้ วลาประมาณ 10-15 วินาที ดงั ภาพที่ 3-7 จุ่มปลายนว้ิ มือด้านซา้ ยในน�้ำยาท่ีองุ้ มือซา้ ย ใช้ขอ้ ศอกซา้ ยกดนำ�้ ยาประมาณ 5 cc. โดยใช้อุง้ มือขวารองรับน�ำ้ ยา นาน 5 วนิ าที ลูบนำ้� ยาท่แี ขนขวาให้ทัว่ รอบแขน โดยลบู จากมอื ถงึ ข้อศอก จนกระทงั่ นำ้� ยาแหง้ โดยใช้เวลาประมาณ 10-15 วนิ าที (ท�ำตามขัน้ ตอน ดงั ภาพที่ 3-7)
26 คู่มอื การปอ้ งกันและควบคมุ การติดเชอื้ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ถูมือทง้ั 2 ข้าง ใชข้ ้อศอกขวากดนำ้� ยาประมาณ 5 cc. โดยใช้องุ้ มือซ้ายรองรับน้ำ� ยา ถูหลงั มือและง่ามน้วิ มือดา้ นหลงั ท้ัง 2 ขา้ ง ถฝู ่ามือและง่ามนวิ้ มือด้านหนา้ ท้งั 2 ข้าง ถูขอ้ น้ิวมอื ดา้ นหลังและนวิ้ หวั แม่มือ ถูมือจนกระทั่งน�้ำยาแห้ง ใช้เวลาประมาณ 20-30 วนิ าที การลา้ งมอื วิธนี ีใ้ ช้เวลาในการลา้ งมอื รวมทกุ ขัน้ ตอน ประมาณ 60 วินาที
การทำ� ความสะอาดมือ (Hand Hygiene) 27 โปสเตอร์การทำ� ความสะอาดมือ โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ (ปี 2562) การประเมินการท�ำความสะอาดมอื ของบคุ ลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มีการกระตุ้นและส่งเสริมการท�ำความสะอาดมือในบุคลากร ทางการแพทย์ทุกระดับรวมถึงนักศึกษาแพทย์ โดยมีกิจกรรมรณรงค์การท�ำความสะอาดมือท่ัวท้ังองค์กร การจัด อบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติ ตลอดจนมีการติดตามการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องและยั่งยืน ในบุคลากร สขุ ภาพ จงึ มกี ารกำ� หนดใหม้ กี ารประเมนิ ผลจากการสมุ่ สงั เกตการทำ� ความสะอาดมอื ของบคุ ลากรขณะปฏบิ ตั งิ าน โดยประเมินตามข้อบ่งช้ี ท�ำความสะอาดมือถูกต้องครบถ้วนทุกขั้นตอน ระยะเวลาเพียงพอ มีการให้ข้อมูล ย้อนกลับให้บุคลากรทราบถึงผลการปฏิบัติทันทีขณะปฏิบัติ และสรุปรายงานผลเป็นสถิติแจ้งผู้บริหารและ หน่วยงานรับทราบ
28 คมู่ อื การป้องกนั และควบคมุ การตดิ เช้อื โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น แบบประเมินการทำ� ความสะอาดมือของบคุ ลากร โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ 1. ขอ้ มลู ทัว่ ไป หอผ้ปู ว่ ย........................................................แผนก/ ภาควิชา................................................................................ วันทส่ี ังเกต ......../......../........ เวลาท่ีเริม่ สังเกต....................................... เวลาที่หยดุ สงั เกต................................... 2. ความพร้อมใชข้ องอุปกรณ์สนบั สนนุ การทำ� ความสะอาดมอื ดงั น้ี ล�ำดับ รายการ มี ไม่มี หมายเหตุ เพยี งพอ ไมเ่ พียงพอ 1 อา่ งล้างมอื 2 นำ�้ ยาลา้ งมือ - สบเู่ หลว - 4% Chlorhexidine (Hibiscrub) - Waterless (Alcohol hand rub) 3 กระดาษเชด็ มอื 4 โปสเตอร์แสดงวธิ กี ารท�ำความสะอาดมือ 5 ถังขยะใสก่ ระดาษเช็ดมอื 3. การสังเกตพฤตกิ รรมการทำ� ความสะอาดมอื วิธีการล้างมอื (เลือก 1 วธิ กี าร ตอ่ 1 ขอ้ บ่งช้)ี ตำ� แหนง่ กจิ กรรม ข้อบ่งชี้ ลา้ งมือถกู ต้อง ลา้ งมอื ไม่ถูกต้อง ไมล่ า้ งมอื HR HW HR HW ระบุ : ก่อนสัมผสั ผู้ปว่ ย ………..................... ก่อนทำ� หตั ถการปลอดเช้ือ ..............………… ..............……………. หลงั สมั ผัสสารคดั หล่ังผปู้ ่วย ..............……………. หลังสมั ผัสผูป้ ว่ ย หลงั สมั ผัสสิ่งแวดล้อมรอบตวั ผ้ปู ่วย วธิ ีการลา้ งมือ (เลือก 1 วธิ ีการ ตอ่ 1 ข้อบ่งช้ี) ต�ำแหนง่ กิจกรรม ขอ้ บ่งช้ี ลา้ งมอื ถูกตอ้ ง ลา้ งมือไม่ถูกต้อง ไม่ลา้ งมอื HR HW HR HW ระบุ : ก่อนสัมผัสผ้ปู ่วย ..............……………. กอ่ นท�ำหตั ถการปลอดเชอื้ ..............………… ..............……………. หลงั สมั ผสั สารคัดหลงั่ ผ้ปู ว่ ย ..............……………. หลงั สมั ผัสผู้ป่วย หลังสัมผสั สิง่ แวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย หมายเหตุ: ล้างมอื ถกู ตอ้ ง = มกี ารล้างมือครบ 6 ข้ันตอน และครบตามระยะเวลาท่ีกำ� หนด ล้างมอื ไม่ถูกตอ้ ง = มกี ารลา้ งมอื แต่ไมค่ รบ 6 ข้นั ตอน และไม่ครบตามระยะเวลาที่ก�ำหนด HR = ลา้ งมือด้วยวธิ ี hand rub ฟอกมือ 6 ขั้นตอน ประมาณ 20-30 วนิ าที HW = ลา้ งมอื ด้วยวิธี hand wash ฟอกมอื 6 ขน้ั ตอน อยา่ งนอ้ ย 15-20 วินาที
การท�ำความสะอาดมอื (Hand Hygiene) 29 บรรณานุกรม สายสมร พลดงนอก, และเพลินจนั ทร์ เชษฐโ์ ชติศกั ดิ.์ (2557). การลา้ งมอื . อ้างใน ค่มู อื การปอ้ งกันและควบคมุ การติดเชื้อ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นปี 2557-2560. (หน้า 17-28). ขอนแกน่ : โรงพมิ พค์ ลงั นานาวิทยา จงั หวัดขอนแกน่ . สมหวงั ดา่ นชยั วจิ ติ ร. (2548). วธิ ปี ฏบิ ตั เิ พอื่ ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ อักษรสมยั (1999). อะเคอ้ื อุณหเลขกะ. (2542). การปอ้ งกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล (พิมพ์ครั้งท่ี 2). เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิง่ เมอื ง เชียงใหม่. Aurora health care system administrative manual. (2017). HAND HYGIENE/SURGICAL HAND SCRUB. [November 13, 2017]. Form https://medicalprofessionals.aurorahealthcare.org/ students/rehab/art/hand-sanitation.pdf Boyce JM, Pittet D. (2002). Guideline for hand hygiene in health – care setting. MMWR: 51 (RR-16), 1-44. Garner JS, Favero MS. (1985). CDC guideline for handwashing and hospital Environmental control, Infect Control, 1986, 7, 231-43. Larson,E. (1995). APIC guideline for handwashing and hand antisepsis in health care settings. Am J Infect Control, 23, 251-69. Widmer AF. (2000). Replace hand washing with use of a waterless alcohol hand rub?. Clin Infect Dis, 31, 136-43. WHO. (2011) WHO guidelines on hand hygiene in healthcare. [Cited November 14, 2011]. from http://whqlibdoc.who.int/publications/2009/9789241597906_eng.pdf
30 คมู่ ือการปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เช้ือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น อุปกรณป์ อ้ งกนั รา่ งกายส่วนบคุ คล (Personal Protective Equipment- PPE) ทฆิ มั พร ตลบั ทอง* รศ.พญ.ศริ ลิ ักษณ์ อนนั ต์ณฐั ศิร*ิ * รศ.พญ.เนสนิ ี ไชยเอยี *** อปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกายสว่ นบคุ คล เปน็ อปุ กรณ์ สำ� หรบั ปอ้ งกนั การสมั ผสั โดยตรง ระหวา่ งผวิ หนงั หรอื อวยั วะ ต่างๆ ของบุคลากรกับเลือด สารน้�ำ สารคัดหลั่ง เน้ือเยื่อของผู้ป่วย ส่ิงปนเปื้อนหรือสารพิษ เป็นการใช้อุปกรณ์ ปอ้ งกนั รา่ งกายสว่ นบคุ คล เพอื่ ปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื และแพรก่ ระจายเชอื้ จากการใหก้ ารรกั ษาและการพยาบาลผปู้ ว่ ย ความส�ำคัญของการใช้อปุ กรณป์ ้องกนั ร่างกาย การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลมีโอกาสปนเปื้อนเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทางตา จมูก ปาก และบริเวณผิวหนัง ทมี่ บี าดแผลโดยการสัมผสั เลือดเป็นแหลง่ โรคทส่ี �ำคญั ของเชอื้ ไวรสั เอดส์ ไวรสั ตับอกั เสบบีและซี และจลุ ชพี อนื่ ๆ นอกจากนยี้ งั รวมถงึ เนอ้ื เยอ่ื และสารคดั หลง่ั จากรา่ งกาย ไดแ้ ก่ นำ�้ ไขสนั หลงั นำ�้ ไขขอ้ นำ้� ในชอ่ งปอด นำ้� ในชอ่ งทอ้ ง นำ้� ในช่องเยือ่ ห้มุ หัวใจ น�้ำครำ่� น�ำ้ อสุจิ และน้�ำเมอื กในชอ่ งคลอด การใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกายทเ่ี หมาะสม มปี ระสทิ ธภิ าพและถกู วธิ ี จะสามารถชว่ ยปอ้ งกนั การสมั ผสั เลอื ด และสารคดั หลงั่ จากรา่ งกาย บคุ ลากรตอ้ งศกึ ษาขอ้ มลู และพจิ ารณาถงึ ความจำ� เปน็ ในการใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกาย ถา้ ใชม้ ากเกนิ ไปจะท�ำให้การปฏิบัติงานไมส่ ะดวก เสยี เวลา และเสียค่าใชจ้ า่ ยโดยไม่จำ� เป็น หลกั การเลือกใช้อุปกรณป์ อ้ งกันร่างกาย อปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกายเปน็ อปุ กรณป์ อ้ งกนั การสมั ผสั โดยตรงระหวา่ งผวิ หนงั หรอื อวยั วะตา่ งๆ ของบคุ ลากร กับเนื้อเย่ือของผู้ป่วยหรือสิ่งปนเปื้อน แต่ขณะเดียวกันหากใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกายไม่ถูกต้องจะท�ำให้ปนเปื้อน เชื้อโรค และเกิดการแพร่กระจายเช้ือโรคสู่บุคลากร ผู้ใช้บริการหรืออุปกรณ์ใช้ได้ เช่น ถุงมือถ้าใช้อย่างถูกต้อง จะป้องกันการสัมผัสโดยตรงของมือกับเนื้อเยื่อผู้ป่วย เลือด และสารคัดหลั่ง ท�ำให้ผู้สวมถุงมือและผู้ใช้บริการ ปลอดภัย แต่ถ้าสวมถุงมือติดต่อกันเป็นเวลานานและมีการปฏิบัติงานหลายๆ กิจกรรมอย่างต่อเนื่องโดยไม่ถอด ถุงมือ เช่น ทำ� แผลผปู้ ่วยแล้วเขียนรายงานต่อ เป็นตน้ ท�ำให้เชื้อโรคแพรก่ ระจายเช้ือไปสอู่ ุปกรณต์ ่างๆ ซ่งึ จะแพร่ สูผ่ อู้ ื่นได้ * พยาบาลปฏิบตั ิการ หน่วยควบคมุ การตดิ เชื้อ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ** รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาโรคติดเชือ้ และเวชศาสตรเ์ ขตร้อน ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ *** รองศาสตราจารย์ สาขาวชิ าอาชีวเวชศาสตร์ ภาควชิ าเวชศาสตรช์ ุมชน งานอาชีวอนามยั และความปลอดภยั คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
อุปกรณป์ ้องกนั รา่ งกายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment- PPE) 31 หลักการใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั รา่ งกาย 1. ใช้ในกรณีทีจ่ ำ� เป็นตามขอ้ บง่ ชเ้ี ท่านั้น 2. ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั งาน เชน่ การเจาะเลอื ดสวมถงุ มอื สะอาด การลา้ งอปุ กรณม์ อื สวมถงุ มอื ยางหนา เปน็ ตน้ 3. ใชเ้ ฉพาะภารกจิ เดยี ว เมอ่ื เสรจ็ ส้นิ ภารกจิ แล้วให้ถอดหรือปลดออกทันที 4. ใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกนั รา่ งกายท่ีมคี ณุ ภาพดีและประหยัด 5. เลือกขนาดให้พอดี เพ่อื สะดวกต่อการปฏิบัตงิ านและเป็นผลดตี ่อการปอ้ งกัน 6. รูจ้ ักวิธกี ารเกบ็ รกั ษาและวิธกี ารท�ำความสะอาดอุปกรณ์ภายหลงั การใช้ หลกั การพจิ ารณาการใสอ่ ุปกรณ์ป้องกนั รา่ งกาย โดยพิจารณาจากช่องทางการแพรก่ ระจายของเชือ้ โรค 1. การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) ใช้อุปกรณ์อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย คือ ใส่เส้ือกาวน์ ถุงมือ เมื่อสัมผัสผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม ท�ำความสะอาดมือก่อนและหลังใส่อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย ส่วนบุคคล 2. การป้องกันการแพร่กระจายเช้ือจากละอองฝอยขนาดใหญ่ มีอนุภาคมากกว่า 5 ไมครอน (Droplet) ใชอ้ ปุ กรณอ์ ปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกาย คอื สวมผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู เมอื่ เขา้ ใกลผ้ ปู้ ว่ ยในระยะ 3 ฟตุ สวมถงุ มอื เมอ่ื สมั ผสั ผู้ปว่ ยและสิ่งแวดล้อม ท�ำความสะอาดมอื ก่อนใส่และหลัง จากถอดอุปกรณป์ อ้ งกันรา่ งกายส่วนบคุ คล 3. การป้องกันการแพร่กระจายเช้ือจากละอองฝอยขนาดเล็ก ที่มีขนาดอนุภาคน้อยกว่า 5 ไมครอน (Airborne) ใชอ้ ปุ กรณอ์ ปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกาย คอื ใสผ่ า้ ปดิ ปากและจมกู ชนดิ กรองพเิ ศษ (mask N95) ทำ� fit check ทุกครง้ั ทใี่ ส่ ใส่เสอ้ื กาวนเ์ ม่อื เข้าห้องแยกโรค ท�ำความสะอาดมือก่อนและหลังใสอ่ ุปกรณ์ปอ้ งกันร่างกายส่วนบคุ คล อุปกรณป์ ้องกนั ร่างกายส่วนบุคคล โดยสว่ นใหญท่ ำ� ใหบ้ คุ ลากรตอ้ งสมั ผสั เลอื ดและสารคดั หลงั่ ของผปู้ ว่ ย บคุ ลากรตอ้ งใสอ่ ปุ กรณป์ อ้ งกนั รา่ งกาย (Personal protective equipment- PPE) ใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมและพอดกี บั ผสู้ วมใสแ่ บง่ ตามบรเิ วณทป่ี อ้ งกนั คอื 1. อปุ กรณป์ อ้ งกันบริเวณมือทส่ี มั ผสั ไดแ้ ก่ ถุงมือ 2. อุปกรณป์ อ้ งกันบรเิ วณใบหนา้ ตา จมูก ศีรษะ ได้แก่ ผา้ ปดิ ปากและจมกู ใบหน้า (face masks) แวน่ ตา (protective eyewear) 3. อุปกรณป์ ้องกนั ใบหน้า (face shield) หมวก (Cap) 4. อุปกรณป์ ้องกันบรเิ วณล�ำตวั ได้แก่ เสื้อคลมุ และผ้ากันเปอ้ื น (gown and apron) และอปุ กรณป์ ้องกนั บรเิ วณเทา้ (footware) ชนดิ ของอปุ กรณ์ปอ้ งกนั ร่างกายสว่ นบคุ คล มีดงั น้ี 1. ถงุ มือ (glove) 2. เส้อื คลุม (gown) 3. ผา้ กันเปื้อน (apron) 4. ผ้าปดิ ปากและจมูก (mask) 5. แว่นตาและอุปกรณ์ป้องกนั ใบหนา้ (goggle and face shield) 6. หมวก (Cap) 7. รองเทา้ (boot footware)
32 คูม่ ือการป้องกนั และควบคมุ การติดเชอื้ โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ภาพที่ 1 อปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล 1. อปุ กรณป์ อ้ งกนั ร่างกายบริเวณมอื ทส่ี ัมผัส 1.1 ถุงมือ (glove) เป็นอุปกรณ์ป้องกันร่างกายบริเวณมือท่ีสัมผัส ถ้าใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม จะทำ� ใหป้ ลอดภยั ทัง้ ตอ่ ผู้ปว่ ยและผู้ใช้ แต่ถ้ามีการใชไ้ มถ่ ูกต้องและเกินความจ�ำเป็นจะท�ำใหส้ ูญเสยี งบประมาณ การใสถ่ ุงมือมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือ 1. ปอ้ งกนั มอื ของบคุ ลากรไมใ่ หป้ นเปอ้ื นเชอื้ จากการสมั ผสั เลอื ดและสารคดั หลง่ั ตา่ งๆ ของผปู้ ว่ ยหรอื ผวิ หนังท่มี แี ผลหรือเย่ือบุผิวตา่ งๆ ของผูป้ ว่ ย 2. ป้องกันการแพรก่ ระจายเชื้อจากมอื บุคลากรสผู่ ปู้ ่วยขณะทำ� หตั ถการ 3. ลดการแพร่กระจายเชื้อจากมือบุคลากรท่ีปนเปื้อนเชื้อจากผู้ป่วยแล้วแพร่กระจายเชื้อไปสู่ผู้ป่วย อื่นและส่ิงแวดลอ้ ม ชนิดของถุงมือ 1. ถุงมือปราศจากเชื้อ (sterile gloves or surgical gloves) มี 2 ชนดิ คอื 1.1 ถุงมือปราศจากเชื้อขนาดส้ัน ใช้ส�ำหรับการท�ำหัตถการต่างๆ ท่ีปราศจากเชื้อ ได้แก่ การผา่ ตัด การท�ำคลอด การใสส่ ายสวนหลอดเลือดดำ� สว่ นกลาง เป็นต้น 1.2 ถงุ มือปราศจากเช้ือขนาดยาว ใชใ้ นการล้วงรก หรือผ่าตัดอวัยวะท่ีอยลู่ ึก 2. ถุงมือสะอาด (non sterile glove) คือ ถุงมือชนิดใช้ครั้งเดียวทิ้ง บุคลากรใส่เพ่ือป้องกันมือ ไม่ให้ปนเปื้อนเช้ือของผู้ป่วยจากการสัมผัสเลือดและสารคัดหล่ังต่างๆ หรือต้องสัมผัสผิวหนังที่มีแผลหรือเย่ือบุ ผวิ ตา่ งๆ ของผปู้ ่วย สวมเมอ่ื ต้องสัมผัสส่ิงสกปรก สารมีพิศและมีเช้ือโรค 3. ถงุ มอื ยางอย่างหนาหรอื ถงุ มอื แม่บา้ น (Heavy dusty gloves) คอื ถงุ มือยางชนิดหนาใช้เมอื่ ลา้ ง อุปกรณท์ างการแพทย์ ทำ� ความสะอาดพ้นื หรอื ทำ� ความสะอาดส่ิงแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย เป็นต้น
อปุ กรณป์ อ้ งกนั ร่างกายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment- PPE) 33 หลกั การใชถ้ งุ มือสะอาดและถงุ มือปราศจากเช้อื 1. ทำ� ความสะอาดมอื และเชด็ ใหแ้ หง้ หรอื ปลอ่ ยใหแ้ หง้ เองในกรณที ใี่ ช้ Alcohol hand rub solution 2. ตรวจสอบการรว่ั ของถงุ มอื ดงั ภาพท่ี 2 เลอื กขนาดถงุ มอื ใหพ้ อดกี บั มอื ถา้ ใสเ่ สอื้ กาวนต์ อ้ งใหถ้ งุ มอื คลมุ บริเวณแขนเสอื้ 3. หลงั การใชถ้ งุ มอื กบั ผปู้ ว่ ยแลว้ ระมดั ระวงั ไมใ่ หใ้ ชถ้ งุ มอื นน้ั สมั ผสั ตวั เอง สงิ่ แวดลอ้ ม บคุ คลอน่ื และ รอบตวั ผู้ป่วย เชน่ ผ้าม่าน ราวก้ันเตียง ลูกบิดประตู เปน็ ต้น 4. ถอดถงุ มอื ทนั ทหี ลงั ทำ� การพยาบาลหรอื หตั ถการผปู้ ว่ ย (หา้ มสมั ผสั สงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั ผปู้ ว่ ย) และ ทิง้ เปน็ ขยะติดเช้ือ 5. หา้ มใชถ้ งุ มอื คเู่ ดยี วกนั ในการใหก้ ารพยาบาลผูป้ ่วยหลายคนหรือหลายกจิ กรรม ให้ใช้ถงุ มือคใู่ หม่ ในการดูแลผปู้ ่วยรายใหม่ 6. ไมค่ วรทำ� ความสะอาดมือขณะสวมถุงมือ เพือ่ ใช้กบั ผู้ป่วยรายใหม่ 7. การถอดถงุ มือต้องระวังไม่ใหม้ อื สัมผัสกบั ส่งิ ปนเปอ้ื นบนถงุ มอื ดังภาพท่ี 3 8. ท�ำความสะอาดมอื ทนั ทีทถ่ี อดถุงมอื เพราะการใช้ถงุ มอื ไม่ได้แทนการท�ำความสะอาดมือ 123 ตรวจสอบการรว่ั ซมึ สวมถงุ มอื ทงั้ สองข้างให้กระชับพอดมี อื 4 ภาพท่ี 2 วธิ กี ารใส่ถุงมือ 56 ใชม้ ือขา้ งทถี่ นดั จับดา้ นนอก สอดนิ้วเข้าไปในถุงมอื ทิ้งลงถงั ขยะตดิ เชอื้ ของถงุ มืออกี ข้าง ดึงถุงมอื ให้ แลว้ ตลบกลบั เอาถงุ มอื ดา้ นใน ตลบกลับดา้ นเอาด้านในถงุ มอื ออก แลว้ กำ� ไว้ในมืออกี ขา้ ง ของถงุ มือออก ภาพที่ 3 วธิ กี ารถอดถุงมอื
34 คู่มอื การปอ้ งกันและควบคุมการตดิ เช้อื โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น หลักการใช้ถงุ มอื ยางหนา หรอื ถงุ มอื แมบ่ ้าน 1. ถอดถุงมือทุกคร้งั กอ่ นทีจ่ ะจับผา้ มา่ น ราวก้ันเตยี ง ลูกบดิ ประตูหรือปิดประตูห้องผู้ปว่ ย กดลฟิ ต์ หรอื สมั ผสั ส่ิงแวดล้อมอ่ืนๆ ที่นอกเหนอื จากกิจกรรมท�ำความสะอาด 2. เมื่อเสร็จกิจกรรมแล้วล้างถุงมือด้วยน�้ำและสบู่หรือผงซักฟอก แล้วน�ำถุงมือไปตากให้แห้ง ท้ังดา้ นในและด้านนอกก่อนน�ำมาใช้ใหม่ 3. ท�ำความสะอาดมือทันทีท่ถี อดถงุ มือเพราะการใช้ถงุ มอื ไม่ได้แทนการทำ� ความสะอาดมอื 4. การถอดถงุ มอื ตอ้ งระวงั ไมใ่ หม้ อื สมั ผสั กบั สง่ิ ทป่ี นเปอ้ื นบนถงุ มอื โดยการดงึ ปลายถงุ มอื ออก จนถงึ บริเวณขอ้ มอื แล้วจงึ ถอดเหมือนถุงมือสะอาด ดงั ภาพที่ 4 123 ถุงมอื อยา่ งหนา ดึงปลายถุงมือออก ใชม้ อื สอดเข้าถุงมอื อีกขา้ ง ถึงบรเิ วณขอ้ มอื เพื่อดึงออก ภาพท่ี 4 วธิ ีการถอดถงุ มอื ยางหนา 2. อุปกรณ์ป้องกันบริเวณใบหนา้ ปาก จมกู ตา และศีรษะ ผ้าปิดปากและจมูก แว่นตาและอุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ช่วยป้องกันไม่ให้เลือดหรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย กระเดน็ เขา้ ตาเขา้ ปากและจมกู ของบคุ ลากร บคุ ลากรควรสวมผา้ ปดิ ปากและจมกู แวน่ ตาและอปุ กรณป์ อ้ งกนั ใบหนา้ (Face masks, protective eyewear and face shield) เมื่อท�ำกิจกรรมท่ีคาดว่าอาจมีการกระเด็น หรือมี การฉดี พงุ่ ของเลอื ด หรือสารคดั หลั่งของผูป้ ่วยสบู่ ุคลากร การใช้ผา้ ปดิ ปากและจมกู แว่นตา หรอื อปุ กรณป์ ้องกนั ใบหน้า ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของบุคลากรว่า ลักษณะการพยาบาลน้ันจะมีโอกาสท�ำให้สัมผัสเลือดหรือ สารคัดหล่งั หรือไม่ กรณีท่ีควรใชผ้ า้ ปดิ ปากและจมกู แว่นตาและอปุ กรณ์ปอ้ งกนั ใบหน้า ไดแ้ ก่ การทำ� ผา่ ตดั ใหญ่ การท�ำฟนั การตดั กระดกู ดว้ ยเล่อื ยไฟฟา้ การทำ� คลอด การใสท่ อ่ ช่วยหายใจ เป็นต้น 2.1 ผา้ ปิดปากและจมกู (Face masks, surgical mask, medical mask) ผ้าปิดปากปิดจมูก ใช้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อจากระบบทางเดินหายใจ รวมท้ังป้องกันเลือด สารคัดหลงั่ กระเด็นเขา้ ปากหรอื ตาของบคุ ลากร การสวมผา้ ปดิ ปากปิดจมกู ถา้ บุคลากรปฏิบัตไิ ม่ถูกต้องจะท�ำให้ ประสทิ ธิภาพการปอ้ งกนั เชอ้ื ลดลง วตั ถปุ ระสงคข์ องการสวมผ้าปิดปากและจมูก เพ่ือ 1. ปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ โรคทแ่ี พรก่ ระจายทางระบบทางเดนิ หายใจจากจมกู และปากของผสู้ วมใสส่ ผู่ ปู้ ว่ ย หรอื คนที่อยูใ่ กล้เคียง 2. ปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื โรคทแี่ พรก่ ระจายทางระบบทางเดนิ หายใจจากผปู้ ว่ ยสบู่ คุ ลากร ผปู้ ว่ ยอนื่ และญาติ 3. ปอ้ งกนั เลือดและสารคัดหล่ังในร่างกายกระเดน็ เข้าปากและจมกู ของบุคลากร
อุปกรณ์ปอ้ งกนั รา่ งกายส่วนบคุ คล (Personal Protective Equipment- PPE) 35 ชนิดของผา้ ปิดปากปิดจมกู 1. ผ้าปิดปากปิดจมูกชนิดธรรมดา (Surgical mask) เป็นชนิดที่ใช้แล้วทิ้ง โดยใช้ส�ำหรับป้องกัน ละอองฝอยขนาดใหญ่ (Droplet precautions) และละอองทีฟ่ ุง้ กระจายในอากาศ 2. ผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู ชนดิ กรองพเิ ศษ (Respiratory protective mask) มลี กั ษณะพเิ ศษ แบง่ ออกเปน็ 2.1 ชนิดกรองเช้ือโรค Particulate respirator (Mask N95) ท�ำด้วยแผ่นกรองอย่างละเอียด สามารถปอ้ งกนั ฝนุ่ ละอองตา้ นอนภุ าค รวมทงั้ เชอ้ื จลุ ชพี ทม่ี ขี นาดเลก็ กวา่ 5 ไมครอน ไดถ้ งึ รอ้ ยละ 95 เปน็ อปุ กรณ์ ส่วนบุคคล 2.2 ชนดิ กรองเชอ้ื โรคและสารพษิ สามารถกรองเชอื้ ทป่ี ะปนในละอองฝอย ขนาดเลก็ ทฟี่ งุ้ กระจาย ในอากาศ รวมท้ังสามารถป้องกันสารพิษที่ฟุ้งกระจายในอากาศได้ ซึ่งประสิทธิภาพของผ้าปิดปากปิดจมูกชนิดนี้ ดที สี่ ดุ สามารถกรองเชอื้ โรคขนาด 1-5 ไมครอน ซงึ่ มสี ว่ นประกอบ มเี ยอื่ กรองพเิ ศษ (High efficiency particulate air filter: HEPA filter) 2.3 ชนิดกรองเชื้อโรคและมีลิ้นกรองอากาศ (Respirator with exhalation value) สามารถ กรองเชอื้ ทป่ี ะปนในละอองฝอยขนาดเลก็ ทฟ่ี งุ้ กระจายในอากาศได้ และมลี น้ิ กรองอากาศ ลนิ้ กรองอากาศนี้ จะเปดิ เมื่อหายใจออกเป็นการระบายลม และจะปิดเมื่อหายใจเข้า โดยอากาศที่หายใจเข้าจะผ่านแผ่นกรองอากาศ จะชว่ ยลดความเปียกช้ืนและอณุ หภูมิเนื่องจากอากาศทีห่ ายใจออกมา หลักการใชผ้ า้ ปิดปากปิดจมกู 1. ผ้าปดิ ปากปดิ จมกู ชนิดธรรมดา (Surgical mask) 1.1 การทำ� หตั ถการ เชน่ ผา่ ตดั ฟอกผวิ หนงั ผปู้ ว่ ยไฟไหม–้ นำ�้ รอ้ นลวก การใสส่ ายสวนหลอดเลอื ด ด�ำใหญ่ ใสส่ ายปัสสาวะ เจาะไขกระดูก ดดู เสมหะ เปน็ ต้น 1.2 การดแู ลผู้ปว่ ยหรือการปฏิบัตงิ านในห้องปฏิบตั ิการที่อาจมีเลอื ด สารคดั หล่งั จากผ้ปู ่วยหรอื สารน้ำ� ท่ีปนเปอ้ื นเชื้อกระเด็นเข้าปากและจมูก 1.3 เมื่อต้องให้การดูแลหรือท�ำการรักษาพยาบาลผู้ป่วยโรคติดต่อทางเดิน เช่น ไอกรน คอตีบ และหัดเยอรมนั เปน็ ตน้ 1.4 สำ� หรับผปู้ ่วยทม่ี ภี ูมติ ้านทานต่�ำหรอื อยู่ในสภาวะทส่ี ามารถแพรก่ ระจายเช้อื ทางละอองฝอย ของนำ�้ มกู น้�ำลาย 2. ผา้ ปดิ ปากปิดจมูกชนดิ กรองพิเศษ (Respiratory protective mask, particulate mask หรือ Mask N 95) มีลักษณะพเิ ศษ คอื สามารถกรองเชอ้ื โรคทม่ี อี นุภาคขนาดเลก็ กวา่ 5 ไมครอน ได้อย่างน้อยรอ้ ยละ 95 เมอ่ื ตอ้ งดูแลหรือรักษาพยาบาลผู้ปว่ ยโรคติดต่อรนุ แรงในระบบทางเดินหายใจ เช่น หดั วณั โรคปอดระยะแพร่เชอื้ โรคไข้หวัดนก (Avian Influenza) สุกใส งูสวัดแบบแพร่กระจาย และผู้ป่วยสงสัยว่าเป็นโรคทางเดินหายใจ เฉยี บพลนั รนุ แรง (Severe Acute Respiratory Syndrome: SARS)
36 คู่มอื การป้องกันและควบคุมการตดิ เชอ้ื โรงพยาบาลศรนี ครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิธกี ารสวมและถอดผา้ ปิดปากปดิ จมกู 1. ผ้าปดิ ปากปิดจมกู ชนดิ ธรรมดา (Surgical mask) 1.1 วธิ สี วม ผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู ชนดิ ธรรมดาแบบใชค้ รงั้ เดยี ว (Disposable mask) มี 2 ดา้ น และมสี แี ตกตา่ งกนั โดยด้านท่มี ีสีเข้มกว่าจะมีคณุ สมบัติในการป้องกันของเหลวซึมทะลุของนำ้� ไดด้ ี ช้ันกลางเปน็ ส่วนทใี่ ชก้ รองเชื้อโรค สว่ นดา้ นท่ีมสี อี อ่ นกว่าจะมีลักษณะนุ่ม ไม่ทำ� ให้เกดิ การระคายเคือง ดังน้ัน การสวมผา้ ปิดปากปดิ จมกู จงึ ควรสวม ให้ถูกตอ้ ง ดังน้ี 1.1.1 ใช้มือท้ังสองข้างจับผ้าปิดปากปิดจมูก บริเวณโครงลวด หักพับคร่ึงให้โครงลวด เปน็ ลกั ษณะรูปตัววี คล้ายสนั จมูก 1.1.2 จบั ผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู วางแนบใบหนา้ โดยใหข้ อบทมี่ โี ครงลวดรปู ตวั วี อยดู่ า้ นบนบรเิ วณ สนั จมูกและให้ด้านสีเขม้ อยูด่ ้านนอกของใบหน้า 1.1.3 กรณีเป็นผ้าปิดปากปิดจมูกชนิดคล้องหู ให้ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลาง น้ิวนางดึงสายรัดให้ คล้องใบหู 2 ข้าง แล้วคล่ีผ้าปิดปากปิดจมูกให้คลุมใบหน้าตั้งแต่สันจมูกจนถึงใต้คาง กรณีเป็นผ้าปิดปากปิดจมูก ชนิดสายเชือกผูกให้ผูกเงื่อนกระตุก โดยดึงเชือกเส้นบนคาดเหนือใบหูแล้วผูกเชือกที่ศีรษะ คลี่ผ้าปิดปากปิดจมูก ให้คลุมใบหน้าต้ังแต่สนั จมกู จนถงึ ใต้คาง แล้วดึงเชอื กเสน้ ล่างผูกทีท่ า้ ยทอย 1.1.4 กดโครงลวดให้แนบกับจมูกและแกม้ โดยใหก้ ระชับกับใบหน้า 1.2 วิธถี อด กรณีเป็นผ้าปิดปากปิดจมูกชนิดคล้องหู ให้ดึงสายคล้องใบหูทั้ง 2 ข้าง ออกอย่างระมัดระวัง แล้วทงิ้ ในถงั ขยะติดเช้ือ กรณีเป็นผ้าปิดปากปิดจมูกชนดิ สายเชือกผกู ใหด้ ึงกระตกุ เชือกดา้ นลา่ งก่อน แลว้ กระตุก เชือกเสน้ บนออก ใชม้ อื ทง้ั 2 ขา้ ง ดงึ ผ้าปดิ ปากปดิ จมูกออกจากใบหน้าอยา่ งระมดั ระวงั แล้วทิ้งในถังขยะติดเชอื้ 2. ผ้าปิดปากปิดจมูกชนิดชนิดกรองพิเศษ (Respiratory protective mask, particulate mask หรอื Mask N95) 2.1 วิธีสวม 2.1.1 เลือกขนาดของผา้ ปิดปากปิดจมกู ใหพ้ อดีกับใบหนา้ 2.1.2 วางผา้ ปิดปากปดิ จมกู ในมือให้ด้านที่มีโครงลวดอย่ดู า้ นบนและให้สายรดั อย่หู ลงั มอื 2.1.3 ครอบผ้าปิดปากปิดจมูกบนใบหน้าต้ังแต่จมูกถึงใต้คาง โดยให้ด้านที่มีโครงลวดอยู่ ด้านข้างบนบริเวณจมูก และจัดให้กระชับทุกส่วนของใบหน้า ดึงสายเส้นบนรัดศีรษะโดยคาดเหนือใบหู แล้วดึง สายเส้นลา่ งรัดศีรษะให้คาดต�่ำกว่าใบหู 2.1.4 ใช้นิ้วมือกดผ้าปิดปากปิดจมูกด้านที่มีโครงลวดแนบกระชับได้รูปกับสันจมูก และ กดบรเิ วณขอบผ้าปิดปากปดิ จมกู ให้แนบกบั ใบหนา้ แลว้ จัดให้กระชับกบั ใบหนา้ 2.1.5 ตรวจสอบความกระชับของการสวมผ้าปิดปากปิดจมูก โดยใช้สองมือประคอง รอบผ้าปิดปากปิดจมูก แล้วหายใจออก ถ้ามีลมรั่วรอบๆ จมูก ให้กดผ้าปิดปากปิดจมูกแนบบริเวณสันจมูกใหม่ ถ้ามีลมร่ัวบริเวณขอบผ้าปิดปากปิดจมูกให้กดบริเวณขอบผ้าปิดปากปิดจมูกและจัดให้แนบกระชับกับใบหน้าใหม่ อีกคร้ัง 2.1.6 ห้ามสวม ผา้ ปดิ ปากปิดจมูกชนิด N95 ครอบทับผา้ ปิดปากปิดจมูกชนดิ ธรรมดา
อปุ กรณ์ป้องกันร่างกายสว่ นบุคคล (Personal Protective Equipment- PPE) 37 2.2 วิธีการถอด 2.2.1 ใชม้ ือดา้ นท่ีไมถ่ นัดวางครอบบน Mask N95 2.2.2 ดงึ สายรดั เสน้ ลา่ งขา้ มศรี ษะออกมากอ่ น แลว้ จงึ ดงึ สายรดั เสน้ บนออกอยา่ งระมดั ระวงั 2.2.3 ดงึ ผา้ ปิดปากปดิ จมูกออกจากใบหนา้ โดยจบั บริเวณขอบของ Mask N95 2.2.4 กรณีผ้าปิดปากปิดจมูกมีสภาพดี ไม่เปื้อน/สกปรก สามารถน�ำกลับมาใช้ซ�้ำได้ ภายในเวรน้นั ๆ (ไม่ควรใช้งานเกนิ 1 เวร หรือ 8 ช่วั โมง) โดยระหว่างการใชง้ านใหเ้ กบ็ ในถุงพลาสตกิ พร้อมระบุ ชอื่ ผู้ใช้ที่ซอง 2.2.5 กรณีผ้าปิดปากปิดจมูกเปื้อน/สกปรก ให้ทิ้งในถังขยะติดเช้ือ และไม่ควรน�ำไป สง่ อบแก๊สหรอื ตากแดด เพอ่ื น�ำกลับมาใช้ซ้�ำ ขอ้ บง่ ชก้ี ารใชผ้ ้าปิดปากและจมกู ชนดิ กรองพเิ ศษ 1. บุคลากรท่ีต้องดูแลผู้ป่วยท่ีเป็นโรคหรือสงสัยว่าเป็นโรคที่สามารถแพร่กระจายเช้ือทางอากาศ ในหอ้ งแยก หรอื ห้องแยกท่ีตดิ อุปกรณ์ปรบั อากาศ 2. ถ้าผู้ป่วยสงสัยว่าเป็น pulmonary TB และต้องตรวจวินิจฉัยซ่ึงมีโอกาสท�ำให้แพร่กระจายเชื้อ ไปสู่บุคลากรได้ เช่น การท�ำ Bronchoscope การใสท่ ่อช่วยหายใจ การดูดเสมหะ เป็นต้น วธิ ีปฏิบตั ิ การใสผ่ า้ ปดิ ปากและจมกู ชนิดกรองพิเศษ 1. ทำ� ความสะอาดมือกอ่ นใส่ผา้ ปดิ ปากและจมกู 2. การสวมผ้าปิดปากและจมูกชนิดกรองพิเศษ โดยประกบผ้าปิดปากและจมูกเข้าใบหน้า ให้แถบ อลูมเิ นียมอยบู่ นสันจมูกและส่วนล่างคลมุ คาง ดึงสายรดั เสน้ บนไปด้านหลงั ศรี ษะ โดยพาดเฉยี งเหนอื ใบหู สายรัด เส้นล่างไปรัดบริเวณต้นคอ จัดสายรัดให้เรียบร้อย ใช้นิ้วมือทั้งสองข้างรีดแถบอลูมิเนียมให้แนบกับสันจมูกและ ตรวจสอบความพอดีหรอื ความกระชับกบั ใบหนา้ (fit check) โดยการหายใจเข้า และหายใจออก ดงั ภาพท่ี 5 3. เปล่ยี นใหม่ทันที เม่อื เป้ือน ชน้ื แฉะเสยี รปู ทรง หรอื ส้ินสดุ การดูแลผปู้ ว่ ยตลอดในหนึ่งเวร 4. ภายหลงั การใชใ้ หท้ งิ้ เปน็ ขยะตดิ เชอ้ื และถา้ ตอ้ งการเกบ็ ไวใ้ ชใ้ หม่ ตอ้ งระมดั ระวงั การปนเปอ้ื นเชอื้ โดยเฉพาะสว่ นทส่ี มั ผัสกับอากาศภายนอก เพราะเป็นส่วนที่สมั ผสั เชอ้ื โรค 5. ทำ� ความสะอาดมือหลังถอดผา้ ปิดปากและจมูกทกุ คร้ังและทงิ้ เปน็ ขยะตดิ เชอ้ื หากจ�ำเป็นต้องนำ� N95 กลับมาใชซ้ ำ้� ตอ้ งพิจารณาวา่ N95 เปรอะเป้ือนหรอื เสยี รปู ทรงหรือไม่ ยงั ไมม่ ีข้อมลู เก่ยี วกับการน�ำ N95 กลับมาซ�ำ้ อยา่ งไรกต็ ามการน�ำ N95 กลบั มาใช้ซ�้ำอาจทำ� ให้เกิดการปนเป้ือน จึงควรพิจารณาความเสี่ยงทีอ่ าจเกิดขนึ้ ห้ามให้ผู้ป่วยใส่ Mask N95 เพราะอาจเป็นอันตรายจากการหายใจล�ำบาก โดยเฉพาะผู้ป่วย โรคปอดเรอ้ื รัง หรือโรคหวั ใจ เปน็ ต้น ให้ใส่ surgical mask แทน การทดสอบความกระชบั ของผา้ ปิดปากและจมูกชนิดกรองพเิ ศษ (Fit check) มี 2 วิธี คอื 1. วธิ หี ายใจออก หลงั จากใสเ่ รยี บรอ้ ยแลว้ ใหใ้ ช้ 2 มอื ประคองรอบผา้ ปดิ ปากและจมกู แลว้ หายใจออก ถา้ มลี มรว่ั ออกรอบๆ ผา้ ปดิ ปากและจมกู แสดงวา่ ไมพ่ อดตี อ้ งปรบั ตำ� แหนง่ ใหม่ รดี แถบอลมู เิ นยี มอกี ครงั้ หรอื ดงึ สาย รดั ไปดา้ นหลงั มากขน้ึ และทดสอบอกี จนกวา่ จะไมม่ ลี มรว่ั ออกมา หรือตอ้ งเปล่ียนขนาดของผ้าปดิ ปากและจมกู ดังภาพท่ี 5 2. การหายใจเขา้ หลงั จากใสเ่ รยี บรอ้ ยแลว้ ใหใ้ ช้ 2 มอื ประคองรอบผา้ ปดิ ปากและจมกู แลว้ หายใจเขา้ ถา้ พอดีจะพบว่า ผ้าปดิ ปากและจมูกจะยุบตัวลง ถ้าไม่พอดีจะไม่มกี ารยุบตวั ของผ้าปดิ ปากและจมูก ตอ้ งปรบั ใหม่
38 คู่มอื การป้องกันและควบคุมการติดเชอื้ โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ 1 23 4 ประกบผ้าปดิ ปากและจมูก ดงึ สายรัดเสน้ บน รดี แถบอลมู เิ นียม ตรวจสอบความพอดี ป้องกันเช้อื เข้าใบหน้า ไวด้ ้านหลังศรี ษะเหนอื หู ใหแ้ นบสนั จมกู หรือกระชับกบั ใบหนา้ สายล่างรดั บริเวณตน้ คอ ภาพที่ 5 การใส่ Mask N95 และท�ำ fit check 123 ดงึ สายรดั ด้านล่าง ดงึ สายรัดดา้ นบน ทิ้งในขยะตดิ เชอ้ื ข้ามศรี ษะออก ขา้ มศรี ษะออก ภาพท่ี 6 การถอด Mask N95 การเลกิ ใช้ผา้ ปิดปากและจมกู ชนิดกรองพิเศษ 1. ใส่ผ้าปิดปากและจมกู ชนดิ กรองพิเศษ เม่ือใหก้ ารดแู ลผู้ป่วย pulmonary TB จนกว่าผลการตรวจ เสมหะดว้ ยการยอ้ ม AFB เปน็ ผลลบติดต่อกนั 3 วนั หรือผ้ปู ว่ ยไดร้ ับการรักษาด้วยยาต้านวณั โรคครบ 2 สัปดาห์ และไม่พบว่ามีอาการของระบบทางเดนิ หายใจ เช่น ไอ เป็นตน้ 2. ถา้ สงสยั วา่ ผปู้ ว่ ย pulmonary TB ใหบ้ คุ ลากรใสผ่ า้ ปดิ ปากและจมกู ชนดิ กรองพเิ ศษจนกวา่ ผล AFB เป็นลบตดิ ต่อกัน 3 วนั 3. ในกรณีที่เป็นโรคอื่นท่ีต้องใส่ผ้าปิดปากและจมูกชนิดกรองพิเศษ ให้ใส่จนกว่าผู้ป่วยไม่สามารถ แพร่กระจายเช้ือทางอากาศได้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255