๓๑ จารึกธรรมจักร ๑ (นครปฐม) นี้ จะใช้คาว่า “วฏฺฏ” สาหรับคาจารึกนี้ ศ. ยอร์ช เซเดส์ ได้กล่าว เก่ียวกับท่ีมาว่า “เราไม่สามารถท่ีจะค้นหาที่มาอย่างถูกต้อง ของคาพรรณนาถึงพระอริยสัจ ๔ ได้ เพราะเหตุว่าคาน้ีมีกล่าวอยู่ทั่วไปในคัมภีร์ต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา สาหรับการแสดงถึงญาณ ๓ ประการที่เกยี่ วกับพระอริยสจั ๔ คอื เกี่ยวกับกจิ ที่จะต้องกระทา และกิจที่ไดท้ าแล้วนนั้ เราจะเห็นว่ามี อยใู่ นหนงั สือมหาวัคค์ แห่งพระวินยั ปิฏก เชน่ เดียวกบั ในหนังสือของพระอรรถกถาจารย์ คือ สมันตปา สาทิกา แต่จารึกบนกาน้ันได้ให้ความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับประโยชน์ ๔ อย่าง (อัตถ) แห่งความจริงของ มรรค คือ การนา เหตุ การเห็น และความสามารถ ข้อความนี้อาจจะมาจากคัมภีร์ ปฏิสัมภิทามัคค์ หรอื จากหนังสือวสิ ทุ ธิมัคค์ ของพระพุทธโฆส และจากหนังสืออธิบายของพระธัมมปาละ ทัง้ สองเลม่ น้ี แต่งขึน้ ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๐ อยา่ งไรกด็ ี คาสัง่ สอนน้ีก็เปน็ คาสง่ั สอนท่มี อี ยใู่ นหนังสือทกุ สมัย เป็น ต้นว่า ในหนังสือสารัตถสมุจจัย ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายของภาณวาร และคงจะแต่งข้ึนในรัชกาลของ พระเจ้าปรากรมพาหแุ ห่งเกาะลังกา (ครึ่งแรกของพุทธศตวรรษที่ ๑๘) จารึกท่ีมลี กั ษณะเป็นพเิ ศษทส่ี ุด กค็ ือ จารึกบนดุม ได้แก่ จารกึ บนขอบช้ันใน (ดุม ๑) เพราะจารึกบนขอบชัน้ นอก (ดมุ ๒) น้นั เป็นจารึก ท่ีไมม่ ีแบบทไ่ี หนเลย จารึกบนขอบช้ันใน (ดมุ ๑) เป็นคาถา ซึ่งแม้วา่ จะเหน็ กันอยู่เสมอ แต่เม่อื มีสมั ผัส รับกันอยู่เชน่ น้ี กเ็ ห็นได้วา่ คงจะลอกมาจากท่ีอื่นทง้ั คาถา ตามความรู้ของข้าพเจ้า คาถาบทน้ีไมไ่ ด้มอี ยู่ ในคัมภีร์อ่ืนๆ อีกเลย นอกจากในหนังสือสารัตถสมุจจัย และปฐมสมโพธิ ซ่ึงได้กล่าวถึงประโยชน์ ๔ อย่างของมรรคด้วย แต่อายุหนังสือเหล่านี้ ก็อ่อนกว่าอายขุ องตวั อกั ษรที่ใช้จารึกบนพระธรรมจักร ซ่ึง พบที่พระปฐมเจดีย์น้ีเป็นแน่นอน เราจงึ ไม่อาจจะกล่าวได้ว่า หนงั สือเล่มหนึ่งเล่มใดในสองเล่มข้างต้น เปน็ ทมี่ าของคาถาท่ีจารึกบนขอบดุมชนั้ ใน (ดุม ๑) ของพระธรรมจักรได้ สงิ่ ที่ควรคน้ หากค็ ือ ท่ีมาของ จารึกและหนังสอื ทง้ั สองเล่มน้ัน แตใ่ นท่นี ี้ เราไมอ่ าจจะกล่าวอะไรยง่ิ ไปกวา่ นีไ้ ด้” กาหนดอายุตามรปู แบบอกั ษรปัลลวะ อายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ ศ. ยอร์ช เซเดสไ์ ดเ้ สนอ ความเห็นไว้วา่ “สิ่งแปลกประหลาดท่ีน่าสนใจที่สุดเกี่ยวกับธรรมจักรวงนี้ก็คือ มีจารึกภาษาบาลีสั้นๆ เปน็ ตอนๆ สลักอยู่ทางด้านหน้าด้านหน่ึง ตัวอักษรท่ีใช้นนั้ มลี ักษณะใกล้เคยี งกันมากกบั ตัวอักษรทใี่ ช้ ในจารึกอื่น ๆ ของอาณาจักรทวารวดีคือ จารึกคาถา เย ธมฺมา ท่ีค้นพบในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ และจารึกที่ ๑๖ (จารึกบนฐานพระพุทธรูปยืน วัดมหาธาตุเมืองลพบุรี อักษรหลังปัลลวะ ภาษา สันสกฤต) อักษรท่ีใช้จารึกนี้มีอายุอ่อนกว่าแผ่นจารึกวัดโพธิ์ร้าง ซ่ึงดูเหมือนว่าจะทาขึ้นในพุทธ ศตวรรษที่ ๑๑ และค้นพบท่ใี นบรเิ วณพระปฐมเจดีย์เม่อื พ.ศ. ๒๔๙๕ แต่จารึกบนธรรมจกั รวงน้ี กย็ ังมี อายุเก่ากว่าพุทธศตวรรษที่ ๑๔ เพราะเหตุว่ายังใชต้ วั “ร” มขี ดี ๒ ขีดอยู่”๓๔ ๒ ) จ า รึ ก ถ้ า ฤ ๅษี เข า งูเมื อ ง ร า ช บุ รี (Ruesi Khao Ngu Cave Inscription, Mueang Ratchaburi) หลักที่ ๒๒ จารึกในถ้าฤษีเขางู จังหวัดราชบุรี เป็นภาษา สันสกฤต อักษรปัลลวะ วัตถุจารึก คือ ฐาน พระพุทธรูปศิลา จานวน ๑ ด้าน มี ๑ บรรทัด มีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ขนาดของวัตถุ ภาพที ๒.๑๐ จารึกถา้ ฤๅษีเขางูเมอื งราชบรุ ี ดา้ นที่ ๑ ๓๔ ศู น ย์ ม านุ ษ ย วิ ท ย า สิ ริ น ธร (อ งค์ ก าร ม ห าช น ), ฐ าน ข้ อ มู ล จ ารึ ก ใน ป ร ะ เท ศ ไท ย , <http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=160 >, 10 January 2016.
๓๒ ท่ีใช้จารึก กว้าง ๔๗ เซนติเมตร สูง ๒๖ เซนติเมตร ไม่ปรากฏหลักฐานของปีท่ีพบและผทู้ ี่พบจารกึ น้ี สถานที่พบจารึก คือ ถา้ ฤษีเขางู วัดเขางู จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันอยู่ท่ี ถ้าฤษีเขางู วัดเขางู ตาบลเจดีย์ หัก อาเภอเมือง จงั หวัดราชบุรี ซึ่งศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้ให้เนื้อหาโดยย่อไว้ ดงั น้ี เน้ือหาโดยย่อของจารึกถา้ ฤๅษเี ขางเู มืองราชบุรี เป็นจารกึ ที่อาจเป็นการบอกชื่อของผู้สร้าง พระพุทธรูป ในท่ีนี้คือ ฤษีสมาธิคุปตะ หรือ พระศรีสมาธิคุปตะ ว่าเป็น ผู้บริสุทธิ์ ด้วยการทาบุญ ศ. ยอร์ช เซเดส์ ได้ให้ความเห็นเพ่ิมเติมว่า “วิสามัญนามข้างปลายว่า “คุปฺตะ” เช่น “สมาธิคุปฺตะ” นี้ เคยใชก้ ันในสมัยราชวงศค์ ุปตะรุ่งเรืองในประเทศอินเดียเปน็ อนั มาก ภายหลังในสมัยตรงกบั สมัยขอมมี อานาจในประเทศน้ี นามเหล่าน้นั ไม่ใคร่ได้ใช้เลย ถา้ ฉะน้ันแล้วพระพุทธรูปทสี่ ลักบนฝาผนังถ้าฤๅษี คง จะเป็นฝีมือครงั้ กรุงทวารวดี คือตรงกับสมัยราชวงศ์คุปตะ (พุทธศตวรรษที่ ๙-๑๓) ในประเทศอินเดีย หรือ ภายหลงั ราชวงศ์คุปตะไม่สนู้ านนกั ”๓๕ ๓) จารึกพระพิมพ์ดินเผาวัดโคกไม้เดน (Inscription on Wat Khok Mai Den Buddha Baked Clay Amulet) เป็นภาษาบาลี อักษรหลังปัลลวะ คือ รูปแบบของ ตัวอักษรเป็นอักษรหลังปัลลวะ อายุราว พุทธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕ วัตถุจารึก คือ ฐานพระพิมพ์ดินเผา จานวน ๑ ด้าน มี ๒ บรรทัด มีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๔- ๑๕ ปีท่ีพบจารึก คือ พ.ศ. ๒๕๐๗ สถานท่ี พบ คือ ด้านตะวันออกของพระเจดีย์ หมายเลข ๔ วัดเขาไม้เดน (เดิมชื่อ วัดโคก ภาพที่ ๒.๑๑ จารกึ พระพิมพ์ดินเผาวดั โคกไม้เดน ดา้ นท่ี ๑ ไม้เดน) ตาบลท่าน้าอ้อย อาเภอพยุหะคีรี จัง ห วั ด น ค ร ส ว ร ร ค์ ผู้ พ บ จ ารึก คื อ เจ้าหน้าที่หน่วยบูรณะขุดแต่งโบราณสถาน กองโบราณสถาน กรมศิลปากร ปัจจุบันอยู่ท่ี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ซ่ึงศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้ให้เนอื้ หาโดยย่อไว้ดังนี้ เนอื้ หาโดยย่อของจารกึ พระพิมพด์ นิ เผาวดั โคกไม้เดน ข้อความคอื คานมัสการพระรัตนตรัย คอื พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์๓๖ ดังนั้น หลักพุทธธรรมทีท่ ีพ่ บในจารกึ นี้ คือ เร่ือง “พระรัตนะ ตรัย” หมายถึง แก้ว ๓ ประการ ซ่ึงเป็นสง่ิ มคี า่ ทีช่ าวพทุ ธให้ความเคารพบูชาสูงสุด ๔ ) จารึก เย ธมฺ ม าฯ เมื อ งศรีเท พ (Ye Dhamma Inscription Mueang Si Thep) เป็นภาษาบาลี อกั ษรปลั ลวะ วัตถุจารึก คือ ศิลารูปส่ีเหลี่ยม ขนาดวัตถุ กว้าง ๒๓ ซม. สงู ๑๕.๕ ซม. มจี ารึก จานวน ๑ ด้าน มี ๔ บรรทัด มีอายอุ ยู่ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ปีท่ีพบจารึก ๓๕ ศู น ย์ ม านุ ษ ย วิท ย าสิ ริน ธร (อ งค์ ก าร ม ห าช น ), ฐ าน ข้ อ มู ล จ ารึก ใน ป ร ะ เท ศ ไท ย , < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=66 >, 10 January 2016 ๓๖ ศูนย์มานษุ ยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=909 >, 12 January 2016
๓๓ คือ พ.ศ. ๒๕๑๙ สถานท่ีพบ คือ เมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้พบจารึก คือ ราษฎรจังหวัด เพชรบูรณ์ ปัจจุบันอยู่ท่ี พระปลัดโปรด สุมโน วัดเสาธงทอง ตาบลท่าหิน อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ซ่งึ ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสริ ินธร (องค์การมหาชน) ไดใ้ ห้เนอ้ื หาโดยย่อไว้ดงั นี้ เนื้อหาโดยย่อของจารึก เย ธมมฺ าฯ เมืองศรีเทพ นบั ว่าเป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา เป็น คาถาคัดมาจากพระวินัยปิฎก มหาวรรค มหาขันธกะ ตอนพระสารบี ุตรและพระโมคคลั ลานะบรรพชา โดยมีเร่ืองย่อว่า “สมัยนั้ น สัญ ชัยปริพ าชก (ปริพาชก คอื นักบวชท่ีไม่ไดน้ บั ถือพระพุทธศาสนา) อาศัยอยู่ ณ กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยบริษัทปริพาชก หมู่ใหญ่ จานวน ๒๕๐ คน และสมัยน้ัน สารีบุตร และโมคคัลลานะประพฤติพรหมจรรย์ในสานักสัญ ชัยปริพาชก ต่างทากติกากันว่า ใครได้บรรลุอมต ธรรมก่อน จงบอกแก่อีกคนหน่ึง สารีบุตรปริพาชก ภาพท่ี ๒.๑๒ จารึกเยธมมฺ าฯ เมืองศรีเทพ ดา้ นท่ี ๑ ได้เห็ น พ ระอัสสชิเข้าไป สู่ก รุงราชคฤห์ เพ่ื อ บิณฑบาต มีความเล่ือมใสในความสงบเสง่ียมเรียบร้อยของท่าน จึงรอจนได้โอกาสก็เข้าไปถามถึง หลักธรรมในศาสนาที่ท่านบวช ท่านกล่าวหลักธรรมเพียงย่อๆ ให้ฟังว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถ าคตทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหลา่ นั้น และความดับแหง่ ธรรมเหลา่ น้ัน สารบี ตุ รได้ฟังก็ไดด้ วงตา เห็นธรรม แลว้ นามาเล่าให้โมคคัลลานะฟัง โมคคัลลานะก็ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงพากันไปลาปรพิ าชก ๒๕๐ คน เพอ่ื จะไปบวชในสานักพระบรมศาสดา แต่ปริพาชกเหล่านัน้ ขอไปดว้ ย จงึ พร้อมกันไปลาสัญ ชัยผู้เป็นอาจารย์ สัญชัยขอให้อยู่กันบริหารหมู่คณะถึง ๓ ครั้ง แตส่ าริบุตรกบั โมคคัลลานะไม่ยอม คง ลาไป พร้อมท้ังปริพาชก อีก ๒๕๐ คน สัญชัยเสียใจ ถึงอาเจียนเปน็ โลหติ เมอ่ื ปริพาชกทัง้ หลาย ไดไ้ ป เฝ้าทูลขอบวชในพระพุทธศาสนาต่อพระผู้มีพระภาคก็ได้รับพระพุทธานุญาตให้เป็นภิกษุ ด้วย เอหภิ ิกขุอุปสัมปทา (พระไตรปิฎกฉบับประชาชน ภาค ๔ ความยอ่ แห่งพระไตรปิฎก เล่ม ๔, ๒๕๓๙, หน้า ๒๑๗)” กาหนดอายตุ ามรปู แบบอกั ษรปัลลวะ อายรุ าวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒๓๗ เปน็ ตน้ ดั ง น้ั น ห ลั ก พุ ท ธ ธ ร ร ม ที่ ป ร า ก ฏ ใน ห ลั ก ฐ า น ท า ง โบ ร าณ ค ดี ต า ม เส้ น ท าง ก า รเผ ย แ ผ่ พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดีในภาคเหนือ ชว่ งพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๖ คอื หลักธรรม คาสอนในพระพทุ ธศาสนา ซึ่งเปน็ คาถามีทมี่ าอยู่ในพระวนิ ัยมหาวรรควา่ “ธรรมเหลา่ ใดเกิดแตเ่ หตุ พระตถาคตตรสั เหตุแหง่ ธรรมเหล่านัน และความดบั แหง่ ธรรมเหล่านัน พระมหาสมณะมีปกติตรสั อยา่ งนี”๓๘ ๓๗ ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน), ฐานข้อมลู จารกึ ในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=156>, 13 January 2016. ๓๘ วิ.ม. (ไทย) ๔/๖๐/๗๓.
๓๔ จารึกนี้ได้เป็นส่ิงยืนยนั ว่าช่วงน้ันพระพุทธศาสนาได้เคยเผยแผ่เข้ามายงั ดินแดนนแี้ ละเคย เจรญิ รุ่งเรืองอย่ใู นดนิ แดนแถบน้ีด้วย ดั ง นั้ น ห ลั ก พุ ท ธ ธ ร ร ม ท่ี ป ร า ก ฏ ใน ห ลั ก ฐ า น ท า ง โบ ร าณ ค ดี ต า ม เส้ น ท าง ก า รเผ ย แ ผ่ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดีในภาคกลางและภาคตะวันตก บริเวณลุ่มน้าเจ้าพระยา น้าท่าจนี น้าแม่กลอง คือ นครสวรรค์ อุทยั ธานี สุพรรณบุรี นครปฐม และราชบุรี ช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๖ คือ หลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนา เชน่ หลกั ธรรมคา้ สอนเรื่องอรยิ สจั ๔ ที่สารวจพบ ในจารึกธรรมจักร (นครปฐม) พุทธศตวรรษที่ ๑๒ หลักธรรมค้าสอนเก่ียวกับการกัลปนา ที่สารวจพบ ในจารึกวัดโพธริ์ า้ ง อาเภอเมือง จังหวดั นครปฐม พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ทีก่ ลา่ วถึงการกลั ปนาของคนทรง เจา้ สองคนให้แก่พระอารามแหง่ หนึ่ง หลกั ธรรมค้าสอนเร่ืองบญุ กุศล ที่สารวจพบในจารึกถา้ ฤๅษีเขางู เมืองราชบุรี พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ที่กล่าวถึงฤษีสมาธิคุปตะ หรือ พระศรีสมาธิคุปตะ ว่าเป็น ผบู้ ริสุทธ์ิ ด้วยการทาบุญ และ หลักธรรมค้าสอนเร่ืองพระรัตนตรยั ที่สารวจพบในจารกึ พระพิมพ์ดนิ เผาวัดโคก ไม้เดน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ ที่วัดเขาไม้เดน ตาบลท่าน้าอ้อย อาเภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค์ เปน็ ตน้ ไดเ้ ป็นสง่ิ ยืนยันว่าชว่ งนนั้ พระพุทธศาสนาได้เคยเจริญรงุ่ เรอื งอยู่ในดินแดนแถบนี้ ๒.๑.๓.๒ จารกึ หลักพุทธธรรมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก คือ ในแถบลุ่มน้าชี น้ามูล และน้าบางปะกง มีการจารึกด้วยอักษรปัลลวะ อักษรหลังปัลลวะ และมอญ โบราณ จะได้นาเสนอใหเ้ ห็นไวส้ กั ๓ ตวั อย่างดงั นี้ ๑ ) จ ารึก วั ด จั น ทึ ก Wat Chanthuek Inscription วัดจันทึก ตาบลจันทึก อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา เป็นภาษา สันสกฤต อักษรปัลลวะ วัตถุจารึก คือ หินทรายแดง จารกึ ไว้ทีฐ่ านบัวรองรบั พระพุทธรูปศิลปสมัยทวารวดี ทาด้วยศิลาทรายสีแดง มีความยาวรอบฐานบัวทั้งส้ิน ๒๒๓ ซม. สภาพชารุดแตกหกั เป็นบางสว่ น โดยเฉพาะ ส่วนที่เป็นจารึก ซ่ึงแต่เดิมคงมีการจารึกเป็นตอนๆ เรียงกันเป็นแถวโดยรอบฐานบัว จานวน ๑ ด้าน มี ๑ ภาพที่ ๒.๑๓ จารกึ วดั จันทึก ขอ้ ความท้งั ๔ ตอน บรรทัด มีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ไม่ปรากฏหลักฐานปีท่ีพบจารึก สถานที่พบ คือ วัดจันทึก ตาบลจันทึก อาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ไม่ปรากฏ หลักฐานผพู้ บจารึก ปัจจุบันอยู่ที่ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พิ มาย อาเภอพิมาย จงั หวดั นครราชสีมา ซึง่ ศูนยม์ านุษยวิทยาสิ รนิ ธร (องค์การมหาชน) ได้ให้เน้ือหาโดยยอ่ ไว้ดงั นี้ เน้ือหาโดยย่อของจารึกวัดจันทึก เป็นเน้ือความ กล่าวถึง พระเทวีของเจ้าแห่งทวารวดี ทรงบัญชาให้พระธิดา สร้างพระพุทธรูป กาหนดอายุตามรูปแบบของตัวอักษรปัล ลวะ ได้อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ โดยจากการเปรียบเทียบ รปู อักษรของจารกึ วัดจันทึก กับรูปอักษรปัลลวะที่พบในภาค ภาพท่ี ๒.๑๔ จารึกเนินสระบัว ดา้ นที่ ๑
๓๕ กลางของประเทศไทย ซ่ึงอยู่ในกลุ่มวัฒนธรรมทวารวดีน้ัน พบว่ามีความคล้ายคลึงกันมาก จึงทาให้ กลา่ วได้ว่าจารึกอกั ษรปัลลวะในจารึกวดั จันทึกน้ี เป็นจารกึ ร่วมสมยั กับจารกึ อักษรปลั ลวะที่พบในภาค กลางของประเทศไทย ซ่ึงมีอายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ เป็นตน้ ๓๙ อย่างไรก็ตามถึงแม้จารึกน้ีจะมิได้มี ข้อความระบุให้เห็นถึงหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนา แต่เน่ืองจากได้มีข้อความกล่าวถึง พระเทวี ของเจ้าแห่งทวารวดี ทรงบญั ชาให้พระธดิ าสร้างพระพุทธรปู ข้อความน้ีเป็นสิง่ แสดงใหเ้ หน็ การทาบุญ กุศลในทางพระพุทธศาสนา ดังน้ันจารึกนี้จึงจัดอยู่ในประเภทหลักธรรมที่เก่ียวกับบุญกุศลในทาง พระพุทธศาสนา เพราะการสรา้ งพระพทุ ธรปู ทีจ่ ารกึ ระบถุ ึงนัน้ เปน็ การทาบญุ ดว้ ยการใหท้ าน เป็นตน้ ๒) จารึกเนินสระบัว เป็นภาษาบาลีและเขมร อักษรหลังปัลลวะ วัตถุ จารึก คือ ใบเสมาหินทรายสีเขียว กว้าง ๔๐ ซม. สงู ๑๗๗ ซม. หนา ๒๘ ซม. จานวน ๑ ด้าน มี ๒๗ บรรทัด มีอายุอยูใ่ น พ.ศ. ๑๓๐๔ คือ มีอายุราวต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ ปีท่ีพบจารึก คือ พ.ศ. ๒๔๙๖ สถานท่ีพบ คือ เนินสระบัว ตาบลโคกปีบ อาเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจนี บุรี ผู้พบจารึก คือ นายชิน อยู่ดี ปัจจุบันอยู่ที่ วัดต้นโพธิ์ศรีมหาโพธ์ิ ตาบลโคกปีบ อาเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ซึ่งศูนย์ มานษุ ยวิทยาสริ ิน (องค์การมหาชน) ไดใ้ ห้เนอื้ หาโดยย่อไว้ดังนี้ เน้ือหาโดยยอ่ ของจารกึ เนินสระบัว เป็นคาสรรเสริญคณุ พระรตั นตรยั การทาบญุ และการ ประดิษฐานเทวรูป กาหนดอายุรูปแบบของตัวอักษรเป็นอักษรหลังปัลลวะ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๔ ประกอบกับมีเลขมหาศักราช ๖๘๓ ซึ่งตรงกับ พุทธศักราช ๑๓๐๔ จึงกาหนดอายุไดว้ ่าจารึก เนินสระบัวมีอายุราวต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๔๔๐ คาสรรเสริญคุณพระรัตนะตรัยน้ีจัดเข้าในหลักพุทธ ธรรมเร่อื ง “รัตนตรัยหรอื รตั นะ ๓” ได้แก่ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นต้น ๓) จารึกบนพระพิมพ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง ๑ (Inscription on Mueang Fa Daet Sung Yang Buddha Baked Clay Amulet 1. เป็นภาษามอญโบราณ อักษรปัล ลวะ วัตถุจารึก คือ พระพิมพ์ดินเผา (ปางสมาธิ) จานวน ๑ ด้าน มี ๑ บรรทัด มีอายุอยู่ในพุทธ ศตวรรษที่ ๑๔ ไมป่ รากฏหลักฐานปีท่ีพบจารึก สถานทพี่ บ คือ เมืองโบราณฟ้าแดดสงู ยาง ตาบลหนอง แปน อาเภอกมลาไสย จังหวัด กาฬสินธ์ุ ไม่ปรากฏหลักฐานผู้พบ จ า รึ ก ปั จ จุ บั น อ ยู่ ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระ นคร กรุงเทพมหานคร ซ่ึงศูนย์ มานุษยวิทยาสิ (องค์การมหาชน) ไดใ้ ห้เน้ือหาโดยย่อไว้ดงั น้ี เน้ือห าโดยย่อของ จารึกพระพิมพด์ นิ เผาเมอื งฟ้าแดด ภาพท่ี ๒.๑๕ จารกึ บนพระพมิ พ์ดนิ เผาเมืองฟา้ แดดสงู ยาง ๑ ด้านที่ ๑ ๓๙ ศูนย์มานุษยวิทยาสริ นิ ธร (องค์การมหาชน), ฐานขอ้ มูลจารกึ ในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=308>, 12 January 2016. ๔๐ เรื่องเดยี วกนั , <http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=321 >, 12 January 2016.
๓๖ สูงยาง ๑ กล่าวถึงพระเจ้าอาอาทิตย์๔๑ อย่างไรก็ตามถึงแม้จารึกน้ีจะมิได้มีข้อความระบุให้เห็นถึง หลักธรรมในทางพระพุทธศาสนาโดยตรง แตเ่ นื่องจากวตั ถุทีน่ ามาใช้จารกึ บนพระพมิ พ์ดินเผาเมืองฟ้า แดดสูงยางเป็นพระพิมพ์ดินเผา (ปางสมาธิ) กลา่ วถึงพระเจ้าอาอาทิตย์ ซึ่งก็มิได้ระบุไวช้ ัดว่าบุคคลท่ี กล่าวถึงในจารึกน้ีมีความเป็นมาอย่างไร ข้อสันนิษฐาน คือ อาจเป็นไปได้ว่าคาว่าพระเจ้าอาทิตย์อาจ เป็นช่ือของพระพิมพ์ดินเผาองค์น้ีก็ได้เน่ืองจากคนพื้นถ่ินอีสานมักเรียกพระพุทธรูปด้วยคาขึ้นต้นว่า “พระเจ้า” เช่น พระเจ้าองคต์ ้ือ เป็นพระพุทธรูปใหญ่องค์หนึ่งซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ วดั ศรชี มพูองค์ตื้อ อาเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย และพระเจ้าใหญ่ เป็นพระพุทธรปู โบราณ ปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๑๓๓ เซนติเมตร สูง ๒๒๒ เซนติเมตร ประดิษฐานอยู่ ณ วัดหงษ์ บ้านศีรษะแรต ตาบลมะเฟือง อาเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นต้น หรือ อาจเป็นไปได้ว่าพระเจ้าอาทิตย์เป็นช่ือของบุคคลผู้ที่มี ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาจึงไดส้ ร้างพระพิมพด์ ินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยางน้ีขนึ้ มาเพ่ือสกั การบูชา หรอื เพอ่ื นาพระพิมพ์ที่สร้างขึน้ น้ีไปฝังไว้ตามเจดีย์(พระธาตุ) ตา่ ง ๆ ตามคติความเชือ่ ท่มี อี ยู่เดิมของคน ในยุคสมัยนั้น ด้วยเหตุน้ีจงึ ได้ใหจ้ ารกึ บนพระพมิ พ์ดินเผาเมอื งฟ้าแดดสูงยาง ๑ นี้ เป็นหลักพุทธธรรม ทีป่ รากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดตี ามเส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี ในดินแดนแถบนนี้ด้วย ดั ง นั้ น ห ลั ก พุ ท ธ ธ ร ร ม ที่ ป ร า ก ฏ ใน ห ลั ก ฐ า น ท า ง โบ ร าณ ค ดี ต า ม เส้ น ท าง ก า รเผ ย แ ผ่ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดีในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือและภาคตะวันออก แถบลมุ่ ชี น้าน้ามูล และลุ่มน้าบางปะกง ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ คือ หลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนา เช่น หลกั ธรรมค้าสอนเร่ืองทาน ทส่ี ารวจพบในจารึกวดั จนั ทกึ พุทธศตวรรษที่ ๑๒ หรอื จารึกบนพระ พมิ พ์ดินเผาเมืองฟ้าแดดสูงยาง ๑ ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ และ หลักธรรมค้าสอนเร่ืองพระรัตนตรยั ที่ สารวจพบในจารึกเนินสระบัว ราวต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ เป็นต้น ได้เป็นส่ิงยืนยันว่าช่วงน้ัน พระพทุ ธศาสนาไดเ้ คยเผยแผเ่ ข้ามายังดินแดนน้ีและเคยเจรญิ รงุ่ เรอื งอยูใ่ นดนิ แดนแถบน้ีดว้ ย ๒.๑.๓.๓ จารึกหลักพุทธธรรมที่พบแถบภาคใต้ เน่ืองจากจารึกหลักพุทธธรรมท่ี ปรากฏตามหลักฐานทางโบราณคดดีสมัยทวารวดี ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ ในแถบภาคใต้มีอยู่ จานวนน้อยจึงได้นาเสนอใหเ้ หน็ ไวส้ ัก ๒ ตัวอย่าง ดังนี้ ๑) จารกึ เย ธมมฺ าฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย ๑ (Ye Dhamma Inscription on Khao Si Wichai Buddha Amulet 1) จารึกนี้เป็น ภาษาสันสกฤต อักษรปัลลวะ วตั ถจุ ารกึ คอื พระพิมพ์ ดินเผา ขนาดวตั ถุ เส้นผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ ๒ ซม. มี จารึก จานวน ๑ ด้าน มี ๒ บรรทัด มีอายุอยู่ในพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๒-๑๓ ปีท่ีพบจารึก คือ พ.ศ. ๒๕๒๕ สถานที่พบ คือ บริเวณวัดเขาศรีวิชัย อาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัจจุบันไม่ทราบว่าได้ถูกเก็บ ภาพท่ี ๒.๑๖ จารึก เย ธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย ๑ ดา้ นท่ี ๑ ๔๑ ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสริ นิ ธร (องค์การมหาชน), ฐานข้อมลู จารึกในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=909 >, 12 January 2016.
๓๗ เอาไว้ ณ ทใ่ี ด ซง่ึ ศูนยม์ านุษยวทิ ยาสริ ินธร (องคก์ ารมหาชน) ไดใ้ ห้เน้ือหาโดยยอ่ ไว้ดงั นี้ เนอื้ หาโดยย่อของจารกึ เย ธมมฺ าฯ บนพระซุ้มศรีวชิ ัย ๑ เป็นคาถาวา่ ด้วยเหตุเกิดและทาง ดบั ทุกขท์ ั้งหลาย กาหนดอายุตามรูปแบบของตัวอักษรปัลลวะ อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓๔๒ ซ่ึง อักษรเหลา่ น้ีในช่วงเดียวกันก็ไดม้ ีปรากฏอยู่ในภาคอ่นื ของไทยด้วยเชน่ กัน ท่ีมาของหลกั ธรรมดงั กล่าว เคยไดน้ าเสนอไว้แล้วก่อนหน้านี้ ๒) จารึกเยธมฺมาฯ บนพระสถูปดินเผาเมืองยะรัง (Ye Dhamma Inscription on Mueang Yarang Baked Clay Stupa) จารึกน้ีเป็นภาษาสันสกฤต อักษรปัลลวะ วัต ถุ จารึก คื อ พ ร ะ ส ถู ป ดิ น เผ า ข น าด วั ต ถุ เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางฐาน ๗.๕ ซม. เส้นผ่าศนู ย์กลางยอด ๒.๔ ซม. สูง ๑๑.๗ ซม. มีจารึก จานวน ๒ ด้าน มี ๒ บรรทัด คือ แตล่ ะด้านมจี านวน ๑ บรรทัด มีอายุอยู่ ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ปีท่ีพบจารึก คือ วันท่ี ๑๔ กุ ม ภ าพั น ธ์ พ .ศ . ๒ ๕ ๓ ๒ ส ถ า น ที่ พ บ คื อ โบราณสถานเมืองยะรัง อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ภาพท่ี ๒.๑๗ จารึกเยธมมฺ าฯ บนพระสถปู ดนิ เผา ปัจจุบันไม่ทราบว่าได้ถูกเก็บเอาไว้ ณ ที่ใด ซ่ึงศูนย์ เมอื งยะรงั ดา้ นท่ี ๑ (รอบขอบฐานดา้ นนอก) มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้ให้เน้ือหา โดยย่อไว้ดงั นี้ เน้ือหาโดยยอ่ ของจารึกจารึก เย ธมฺมาฯ บนพระสถูปดินเผาเมืองยะรงั เป็นคาถาว่าด้วย เหตุเกิดและทางดบั ทุกทง้ั หลาย มีอายุอยใ่ นพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ โดยกาหนดอายุจากรูปแบบของอกั ษร ปัลลวะ๔๓ กลุ่มจารึกและโบราณวัตถุเหล่าน้ีบ่งชี้ให้เห็นถึงการรับนับถือพระพุทธศาสนา น่าจะเป็น นกิ ายเจติยวาทหรอื ไจตกิ ะ อันเป็นสาขาของนกิ ายมหาสางฆิกะ ทีไ่ ด้เผยแผ่เข้ามาในดินแดนแถบนแ้ี ล้ว ในช่วงเวลาน้ัน ดังนั้ น ห ลัก พุ ท ธธรรมที่ ป ราก ฏ ใน หลักฐานทางโบราณคดีตามเส้นทางการเผยแผ่ พ ร ะ พุ ท ธศ า สน าใน ป ระ เท ศ ไท ย ส มั ย ท ว ารว ดี ใน ภาพท่ี ๒.๑๘ จารกึ เยธมมฺ าฯ บนพระสถปู ดินเผา ภาคใต้ ช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๖ คือ หลักธรรม เมอื งยะรัง ดา้ นท่ี ๒ (รอบขอบฐานดา้ นใน) คาสอนในพระพทุ ธศาสนา ซ่ึงเป็นคาถาทีม่ อี ยใู่ นพระ วินัยมหาวรรค ซ่ึงพระอัสสชิได้กล่าวธรรมน้ีแก่สารี บุตรปริพาชก หลักธรรมน้ีก็ได้ปรากฏอยูใ่ นจารึกตามภาคอ่ืนของประเทศไทยด้วย จึงเป็นสง่ิ ยืนยันว่า ช่วงนัน้ พระพทุ ธศาสนาไดเ้ คยเผยแผเ่ ข้ามายงั ดินแดนนีแ้ ละเคยเจรญิ รุง่ เรอื งอยูใ่ นดนิ แดนแถบนดี้ ว้ ย ๔๒ ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสิรนิ ธร (องคก์ ารมหาชน), ฐานขอ้ มูลจารกึ ในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=750>, 13 January 2016. ๔๓ เรื่องเดียวกัน, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=745 >, 13 January 2016.
๓๘ ส รุ ป ห ลั ก พุ ท ธ ธ ร ร ม ที่ ป ร า ก ฏ ใน ห ลั ก ฐ า น ท า ง โบ ร า ณ ค ดี ต า ม เส้ น ท า ง ก า ร เผ ย แ ผ่ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั ทวารวดีในภาคตา่ ง ๆ ของไทย ชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖ ดงั น้ี ๑) หลักพุทธธรรมที่สารวจพบในภาคกลาง คอื หลกั ธรรมคา้ สอนเรื่องอรยิ สจั ๔ ในจารึก ธรรมจักร (นครปฐม) พุทธศตวรรษที่ ๑๒ หลักธรรมค้าสอนเก่ียวกับการกัลปนา ในจารึกวัดโพธิ์ร้าง อาเภอเมอื ง จังหวัดนครปฐม พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ หลกั ธรรมค้าสอนเรื่องบญุ กุศล ทส่ี ารวจพบในจารึก ถา้ ฤๅษเี ขางเู มอื งราชบุรี พุทธศตวรรษที่ ๑๒ หลกั ธรรมค้าสอนเร่ืองพระรตั นตรัย ท่ีสารวจพบในจารึก พระพิมพ์ดินเผาวัดโคกไม้เดน ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ ที่วัดเขาไม้เดน ตาบลท่าน้าอ้อย อาเภอ พยหุ ะครี ี จงั หวดั นครสวรรค์ เปน็ ต้น ๒) หลักพุทธธรรมที่สารวจพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก คือ หลักธรรมค้าสอนเรื่องทาน ท่ีสารวจพบในจารึกวัดจันทกึ พุทธศตวรรษที่ ๑๒ หรือจารกึ บนพระพิมพ์ ดินเผาเมืองฟา้ แดดสงู ยาง ๑ ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ และ หลกั ธรรมคา้ สอนเรอ่ื งพระรัตนตรัย ทส่ี ารวจ พบในจารกึ เนนิ สระบัว ราวตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๑๔ เปน็ ตน้ ๓) หลักพุทธธรรมท่ีสารวจพบในภาคเหนือ คือ หลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนา ซงึ่ ที่ มีอยู่ในพระวินัยมหาวรรคว่า “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านัน และความดบั แห่งธรรมเหลา่ นนั พระมหาสมณะมีปกติตรสั อย่างนี” ท่ปี รากฏใน จารกึ เยธมฺมาฯ เมือง ศรเี ทพ ที่เมอื งศรีเทพ จงั หวดั เพชรบูรณ์ มอี ายอุ ยูใ่ นพุทธศตวรรษที่ ๑๒ เปน็ ตน้ ๔) หลักพุทธธรรมทส่ี ารวจพบในภาคใต้ คอื หลักธรรมคาสอนในพระพุทธศาสนา ซ่ึงเป็น คาถาที่มีอยู่ในพระวินัยมหาวรรค ซึ่งพระอัสสชิได้กล่าวธรรมนี้แก่สารีบุตรปริพาชก หลักธรรมน้ีก็ได้ ปรากฏอยู่ในจารกึ ตามภาคอนื่ ๆ ของประเทศไทยด้วย ๒.๒ ประวัติศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา และหลักพทุ ธธรรมในประเทศ ไทยสมัยศรีวิชยั อ า ณ า จั ก ร ศ รี วิ ชั ย เค ย เป็ น อ า ณ า บ ริ เว ณ ที่ พ ร ะ พุ ท ธ ศ าส น า ไ ด้ เจ ริ ญ รุ่ ง เรื อ ง ม า แ ล้ ว เชน่ เดยี วกันกับอาณาจกั รทวารวดี กลุ่มชาตพิ นั ธท์ุ ี่อาศัยอยู่ในพื้นท่ีนี้เปน็ ผู้นับถือพระพุทธศาสนา เห็น ได้จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีได้สารวจพบทั้งที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศิลปะวัตถุ พบ กระจายอยู่ทั่วไปในดินแดนอาณาจักรศรีวิชัยและในที่อ่ืน ๆ ในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยด้วย เพื่อให้เขา้ ใจชัดเจนเกี่ยวกับประวตั ิศาสตร์ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และหลักพุทธธรรมใน ประเทศไทยสมัยศรีวิชัย คณะผู้วิจัยจึงได้แบ่งการศึกษาออกเป็น ๓ หัวข้อ คือ ๑) ประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั ศรวี ชิ ัย ๒) เสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัย ศรีวชิ ยั และ ๓) หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏตามเส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยศรี วชิ ัย แต่ละหวั ขอ้ จะไดศ้ ึกษารายละเอยี ดของเน้ือหาตามลาดบั ดังต่อไปนี้ ๒.๒.๑ ประวตั ศิ าสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั ศรีวชิ ยั ศรวี ิชยั เปน็ อาณาจักรโบราณแห่งหนงึ่ ทมี่ ีอยู่จรงิ มอี ายอุ ยรู่ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓- ๑๘ เปน็ อาณาจักรของชาตพิ นั ธ์ุมลายูโบราณ ก่อตั้งขึน้ มาโดยราชวงศไ์ ศเลนทร์ มอี าณาเขตกวา้ งขวาง ครอบคลุมพ้ืนท่ีต้ังแต่แหลมมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา และ
๓๙ บริเวณภาคใต้สุดของประเทศไทยขึ้นมาจนถงึ จังหวัดสุราษฎร์ธานใี นปจั จุบัน ส่วนท่ีตัง้ เมืองหลวงของ อาณาจักรศรีวิชัยในปัจจุบันมีการถกเถยี งกนั อยู่และยังหาขอ้ ยตุ ิมิได้ซ่ึงมีอยู่สองแหง่ คือ ท่ีอาเภอเมือง ไชยา หวัดสุราษฎร์ธานี และ ที่ปาเล็มบัง ซึ่งเป็นเมืองหลวงของจังหวัดสุมาตราใต้ ทางฝ่ังตะวันออก ทางตอนใต้ของเกาะสุมาตราประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน ในอดีตพระพุทธศาสนาได้เผยแผ่เข้ามามี ความเจริญรุ่งเร่ืองอยู่ในอาณาจักรศรีวิชัยนี้เป็นเวลานานเห็นได้จากหลักฐานท้ังที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ท่ีถูกสร้างขึ้นมาด้วยเพราะเกิดจากจากกลุ่มคนในสมัยศรีวิชัยได้มีความศรัทธา เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาจึงสร้างสิ่งเหล่าน้ีถวายเป็นพุทธบูชาไวใ้ นพระพุทธศาสนาดงั น้ันเพื่อให้เกิด ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาของอาณาจักรศรีวิชัยในประวัติศาสตร์ พระพุทธศาสนาในอาณาจักร ศรวี ชิ ยั และอทิ ธิพลของพุทธศาสนาทม่ี ีต่ออาณาจักรศรีวชิ ัย คณะผู้วจิ ยั จงึ ได้แบง่ การศกึ ษาออกเปน็ ๓ หัวข้อ คือ ๑) อาณาจักรศรีวิชัยในประวัติศาสตร์ ๒) เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ ไทยสมัยศรีวิชัย และ ๓) หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏตามเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศ ไทยสมัยศรวี ชิ ัย แต่ละหวั ข้อจะไดศ้ กึ ษาตามลาดับดงั ต่อไปนี้ ภาพที่ ๒.๑๙ แผนที่อาณาจักรศรวี ิชยั ๒.๒.๑.๑ อาณาจกั รศรีวิชัยในประวัติศาสตร์ อาณาจักรศรวี ิชัยเรียกอีกอย่างหนึ่ง วา่ “อาณาจักรศรีโพธ์ิ” ได้มีอายุอยู่ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๘ ถือเป็นอาณาจักรท่ีเก่าแก่ด้ังเดมิ ของ ภาคใต้มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานนับพันปี มีอาณาบริเวณตั้งแต่เกาะสุมาตรา และเกาะชวาของ ประเทศอนิ โดนีเซีย มาจนถึงจังหวัดสุราษฎร์ธานขี องประเทศไทยในปัจจุบัน และได้มอี ิทธิพลไปท่ัวใน
๔๐ หลายจังหวัดในภาคใต้ เห็นได้จากร่องรอยจากหลักฐานทางโบราณคดีทั้งที่เป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุที่สารวจพบตามแหล่งต่าง ๆ ในพื้นท่ีภาคใต้ในปัจจุบัน เป็นส่ิงแสดงให้เห็นถึง แหล่งอารยธรรมสาคัญและมีอิทธิพลทงั้ ในด้านสังคม การเมือง และศิลปวัฒนธรรม จากลักษณะทาง ภูมศิ าสตร์ที่กวา้ งใหญ่ไพศาล จงึ มีผู้เรียกอาณาจักรศรวี ชิ ัยวา่ “มหาอาณาจกั ร” ซึง่ ปรากฏอยใู่ นบันทึก ของชาวจีน ช่ือว่า เจ้าจูกัว (Chau Ju Kua ) เขียนข้ึนใน พ.ศ. ๑๗๖๘ เรียกมหาอาณาจักรศรีวิชัยว่า “สัม-โฟ-ซี” คอื “สามโพธิ” หรอื “สามศรีวิชัย” ซงึ่ ได้แก่ อาณาจกั รศรวี ิชยั ท่ไี ชยา อาณาจักรศรีวิชัยท่ี ปาเล็มบัง และอาณาจกั รศรวี ชิ ยั ทชี่ วาภาคกลางและตะวันตก๔๔ นั้นเอง อาณาจักรศรีวิชัยมีความเจริญรุ่งเรืองในหลายด้านเนื่องจากเป็นดินแดนท่ีมีอาณาบรเิ วณ ติดชายฝั่งทะเล ซึ่งเป็นเส้นทางผ่านของการเดินเรือเพื่อการติดต่อค้าขายระหว่างชนหลายเชื้อชาติ ตัง้ แตป่ ระเทศอนิ เดียไปจนถึงประเทศจนี หากเดนิ ทางโดยใชท้ างเดนิ เรอื ในทะเลก็มคี วามจาเป็นตอ้ งใช้ เส้นทางน้ีเป็นทางผ่าน ด้วยเหตุท่ีในอดีตการติดต่อสัมพันธ์กันได้กด็ ้วยอาศัยทะเลเป็นเส้นทางหลักใน การเช่ือมประสานระหวา่ งกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ชนชาติอินเดียทีม่ คี วามรู้และเชย่ี วชาญในการเดนิ เรือ เพ่ือทาการค้าขายกับชาวเอเชียอาคเนย์ ซ่ึงการได้มีปฏิสัมพันธ์กับชาวชมพูทวีปน้ี ไม่เพียงแต่เร่ือง การค้าขายแลกเปล่ียนสินค้าระหว่างกัน แต่ชาวเอเชียอาคเนย์ยังได้รับอิทธิพลต่าง ๆ จากชาวชมพู ทวีปในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น การติดต่อของชนชาติท่ีอาศัยอยู่ใน ภาคพื้นเอเชยี อาคเนย์กับชาวชมพทู วปี น้นั นกั วชิ าการของไทยให้ทศั นะว่า “ประชาชนในภาคเอเชียอาคเนย์คงจะได้มีการติดต่อกันทางเรือกับประเทศอินเดียก่อน สมัยท่ีพวกอารยันจะบุกรุกเข้ามาในประเทศอินเดีย จึงได้มีวัฒนธรรมร่วมกันดังต่อไปนี คือ ทางด้าน วตั ถุ ไดแ้ ก่ การท้านาโดยใช้การทดน้า การเลยี งวัวและควาย ความรู้เบืองต้นเก่ียวกับโลหะ และความ ชา้ นาญในการเดินเรอื ทางด้านสังคมได้แก่ ความส้าคัญของสตรีและการสืบเชอื สายทางสตรี ทางด้าน ศาสนา ไดแ้ ก่ การนับถือผี การเคารพบชู าบรรพบรุ ุษและเจ้าแห่งพนื ดนิ การสร้างสถานท่ีเคารพขึนบน ที่สูง”๔๕ สาหรับปัจจัยท่ีเอ้ืออานวยให้อาณาจักรศรีวิชัยมีความเจริญรุ่งเรืองดังกล่าวมีอยู่ด้าน เช่น ปจั จัยด้านสงั คม ปจั จยั ดา้ นการเมอื ง ปจั จัยดา้ นภมู ิศาสตร์ และปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ดังนี้ ๑) ปัจจัยด้านสังคม อาณาจักรศรีวิชัยเป็นอาณาบริเวณกว้างขวาง มี ประชาชนอาศัยอยู่ตามเมืองต่าง ๆ จานวนมาก เช่น นครศรีธรรมราช ไชยา ปาเล็มบัง และลังกาสุกะ ที่ปัตตานี เป็นต้น ก็ล้วนแล้วอยู่ภายใต้การปกครองของศรีวิชัยในยุคนั้นด้วย๔๖ ในด้านของศาสนา ประชาชนในอาณาจักรศรีวชิ ัยนบั ถือศาสนาฮินดูและพระพุทธศาสนานิกายมหายาน ท้ังสองศาสนานี้ ๔๔ จันทรจ์ ิรายุ รัชนี อา้ งใน ครองชยั หตั ถา, ประวัติศาสตร์ปตั ตานี สมัยอาณาจกั รโบราณถงึ การ ปกครอง ๗ หัวเมอื ง. ( ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยา เขตปตั ตานี,๒๕๔๘), หนา้ ๕๐. ๔๕ สุภทั รดศิ ดศิ กุล, ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ ถงึ พ.ศ. ๒๐๐๐. หนา้ ๔. ๔๖ ครองชยั หตั ถา, ประวัตศิ าสตร์ปัตตานี สมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง ๗ หวั เมือง. (ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปัตตาน,ี ๒๕๔๘), หน้า ๕๑.
๔๑ เป็นศาสนาหลักในการสร้างความเล่ือมใสศรัทธาให้กับคนในสังคมที่อาศัยอยู่ในอาณาจักศรีวิชัย การ ศรัทธาในศาสนาดังกล่าวได้ก่อเกิดจารีต ประเพณี และวัฒนธรรมต่าง ๆ ทาให้คนในสังคมมีการ ประกอบกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับศาสนาร่วมกัน เช่น การทาบุญด้วยการสร้างศาสนสถาน ศาสนวัตถุ และพทุ ธศิลปวตั ถุ เป็นต้น ขน้ึ ไว้เปน็ จานวนมาก ด้วยเหตุนีอ้ าณาจักรศรีวิชัยจงึ เปน็ บอ่ เกิดอารยธรรม โลกที่มีความสาคัญ เช่น มหาสถูปบุโรพุทโธ สร้างข้ึนจากหินภูเขาไฟ ท่ีสร้างข้ึนในพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ องค์การยูเนสโกก็ได้ประกาศให้บุโรพุทโธเป็นมรดกโลก และเจดีย์พระ บรมธาตุไชยาเป็นสถาปัตยกรรมแบบศรีวิชัย สรา้ งขนึ้ ประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ ไม่ปรากฎประวัติ การสร้างและผู้สร้าง เข้าใจว่าสร้างในขณะที่เมืองไชยาสมัยศรีวิชัยกาลังเจริญรุ่งเรืองสูงสุด หลักฐาน เหลา่ นเี้ ป็นสง่ิ แสดงให้เห็นถึงความเล่ือมใสศรทั ธาของคนในสงั คมที่มตี ่อพระพทุ ธศาสนาที่เข้ามาเผยแผ่ และไดม้ คี วามเจริญรุ่งเรอื งเปน็ เวลายาวนานอยใู่ นอาณาบริเวณนี้ได้เปน็ อย่างดี ๒) ปัจจัยทางด้านการเมือง จากหลักฐานทางโบราณคดีแสดงให้เห็นว่า อาณาจักรศรีวิชัยมีอิทธิพลทางการเมืองการปกครองสูงในแถบน้ีได้แก่ การมีกองทัพท่ีเข้มแข็งคอย สนบั สนุน การแผ่อทิ ธพิ ลเพอื่ ขยายอานาจไปยงั ดนิ แดนตา่ ง ๆ ผู้นาทางการปกครองไดอ้ าศกั ยภาพของ กองทัพที่มีความเข้มแข็งน้ีเข้ายึดอานาจทางการปกครองจากอาณาจักรน้อยใหญ่ที่มีอยู่ในขณะน้ัน ให้ เข้ามาอยู่ภายใต้อานาจทางการปกครองของอาณาจักศรีวิชัย เร่ืองนี้ได้มีหลักฐานทางโบราณคดีจารึก เป็นภาษามลายูโบราณท่เี กาะสมุ าตราวา่ “อาณาจักรศรีวิชยั มีการปราบปรามอาณาจักรแห่งชัมพิและ บนเกาะบังกา ตลอดจนเตรียมก้าลังท่ีจะยกทัพไปปราบปรามเกาะ ชวาอีก”๔๗ ความเกรียงไกรของ กองทัพแห่งศรีวิชัยเกิดจากผู้นาคือพระราชาท่ีมีความสามารถในการรบ ทาให้เมืองขนาดเล็กยอม สวามิภักด์ิ ดงั มีบันทึกในประวัติศาสตรเ์ มืองปตั ตานสี มยั ทยี่ งั คงเป็นดินแดนชอ่ื วา่ ลงั กาสุกะตอนหนง่ึ ว่า “ราชาศรวี ิชัยนันมาจากบาเลม็ บงั ( หรือปาเล็มบัง ) มีความสามารถและเก่งกาจในการท้าสงครามทาง ทะเลและได้ผ่านการท้าสงครามในที่ต่าง ๆ ตามแต่พวกเขาจะไป ด้วยความสามารถของแม่ทัพ จึงเป็น ทเ่ี กรงกลัวแก่ชาวมลายใู นเมืองลงั กาสกุ ะ”๔๘ ความยิง่ ใหญแ่ ละเขม้ แข็งของกองทัพศรีวชิ ัยดงั กลา่ วเอื้อ ใหฝ้ ่ายบ้านเมืองสามารถกาหนดนโยบายในการบริหารกิจการภายในอาณาจกั รได้อย่างสะดวก เพราะ มศี ูนยก์ ลางการปกครองที่กระจายอยู่หลายแห่งเพ่อื ดูแลควบคุมอย่างท่วั ถึง เชน่ กรงุ ครหิหรอื ไชยา( สุ ราษฎรธ์ านี) ธรรมราชปุระหรอื ตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช ) กตาหะหรือเคดาห์(ไทรบุรี) ปาเล็มบัง (ชวา ) ศรีวิชัยจึงกลายเป็น “มหาอาณาจักร”๔๙ ท่ีมีลักษณะพิเศษ คือมีศูนย์กลางการปกครองหลาย แห่งภายใต้เอกภาพเดียวกัน เหล่าน้ีได้เป็นปัจจัยอย่างสาคัญที่ทาให้อาณาจักรศรีวิชัยมีอิทธิพลทาง การเมืองสงู อย่ใู นดินแดนแถบน้ี ๓) ปัจจยั ทางด้านภูมิศาสตร์ ถือเป็นปัจจัยสาคัญยิง่ ที่เอื้ออานวยใหเ้ กิด ความเจริญร่งุ เรืองแก่อาณาจักรศรีวิชยั ซึ่งส่งผลให้ด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกจิ ให้เจริญรุ่งเรือง ๔๗ อา้ งแลว้ , ครองชัย หัตถา, ประวัตศิ าสตรป์ ัตตานี สมัยอาณาจักรโบราณถงึ การปกครอง ๗ หวั เมือง , หน้า ๓๖. ๔๘ ชยั ค์ ฟากิฮฺ อาลี ตึงกู, ประวัตศิ าสตร์ ปาตานี อารีฟิน ตึงกูจิ แปล. (กรงุ เทพมหานคร : มุสลิมนวิ ส์, ๒๕๕๔), หน้า ๓๘. ๔๙ อ้างแลว้ , ประวัติศาสตรป์ ตั ตานี สมยั อาณาจกั รโบราณถงึ การปกครอง ๗ หัวเมือง, หน้า ๕๐.
๔๒ ตามไปด้วย เน่ืองจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของอาณาจักรศรีวิชัยมีพ้ืนท่ีเป็นช่องแคบในทางทะเลท่ี เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างประเทศที่อยู่ทางฝ่ังตะออกและฝั่งตะวันตก การเดินทางเพ่ือติดต่อสัมพันธ์ สื่อสารและการค้าขายของประเทศที่อยู่ทั้งสองฝั่งโดยเฉพาะ ชาวจีน ชาวอินเดีย และชาวตะวันออก กลาง ต้องอาศัยเส้นทางนี้เป็นทางผ่านในการเดินเรือทางทะเล จึงทาให้อาณาจักรศรีวิชัยกลายเป็น ศนู ยก์ ลางการคา้ ระหวา่ ง จนี เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ อินเดีย และตะวนั ออกกลาง ตง้ั แต่พุทธศตวรรษ ท่ี ๒ เป็นตน้ มา๕๐ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเขา้ สอู่ าณาจักรศรีวชิ ัย สว่ นหน่ึงพระสงฆ์ท่เี ข้ามาเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในดินแดนนี้ได้อาศัยปัจจัยทางทางด้านภูมิศาสตร์ท่ีอานวยน้ีด้วย คือ ในการ ติดต่อส่อื สารสัมพันธก์ ันระหว่างคนท้ังสองฟากฝั่งของคือด้านทะเลตะวันออกและดา้ นทะเลตะวันตก ดังกล่าวภูมิศาสตร์ได้กาหนดให้ต้องเดินเรือผ่านดินแดนน้ี ดังนั้นพระสงฆ์จึงถือโอกาสน้ีเป็นผู้ร่วม เดินทางมากับเรือของพ่อค้าซ่ึงทาให้กลุ่มของพ่อค้าที่ทาการติดต่อค้าขายมีพระสงฆ์ท่ีร่วมเดินทางมา ด้วยเป็นทพ่ี ่งึ ทางใจและไดท้ าบุญไปด้วย สาหรับพระสงฆก์ ็ได้ถือโอกาสเดินทางไปกับพอ่ คา้ เพ่ือการเผย แผ่พระพุทธศาสนาในเส้นทางที่พ่อค้าเดินเรือไปถึงนั้นในแถบน้ันด้วย เป็นการได้ประโยชน์ด้วยกันท้ัง สองฝ่าย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ดังกล่าวมีส่วนอย่างสาคัญที่ทาให้พระพุทธศาสนาได้เข้ามาเผยแผ่และ เจริญข้ึนในดินแดนแถบนี้ และอีกประการหน่ึงภูมิศาสตร์ซึ่งเป็นท่ีตั้งของอาณาจักรศรีวิชัยเองเป็น อาณาบรเิ วณทมี่ ีความอุดมสมบูรณ์เพยี บพรอ้ มไปด้วยวัตถุดิบอันเปน็ ทรพั ยากรทางธรรมชาตทิ ่สี ามารถ ผลิตเป็นสินค้าท่ีตรงกับความต้องการของชาวต่างชาติด้วย พระสงฆ์ที่เข้ามาเผยแผ่ก็ได้รับความ สะดวกสบายเนื่องจากไดร้ ับการอุปถมั ภ์บารงุ ด้านปัจจยั ส่ีจากกลุ่มคนที่นับถือพระพุทธศาสนา ปัจจัย ทางด้านภูมิศาสตร์เหล่านี้เป็นสิ่งสาคัญท่ีเอ้ืออานวย ซ่ึงส่งผลให้ดินแดนในอาณาบริเวณนี้กลายเป็น แหล่งอารยธรรมที่สาคัญซ่งึ คนทวั่ โลกต่างใหค้ วามสนใจเข้ามาเที่ยวชมอารยธรรมในแถบน้ี ๔) ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยทางการเมืองหรือการทหารและ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ถือเป็นปัจจัยหลักที่เอ้ือต่อระบบเศรษฐกิจของศรีวิชัยโดยตรง กล่าวคือ ด้าน การเมืองการทหารจะเห็นได้ว่าอาณาจักรศรีวิชัยได้ขยายอานาจของตนไปยังทิศต่าง ๆ เช่น ทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือได้ขยายอานาจไปยังช่องแคบมะละกาและทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ได้ขยาย อานาจไปยังช่องแคบซุนดา จากการท่ีศรีวิชัยได้ขยายอานาจของตนออกไปเช่นนี้ ย่อมแสดงให้เห็น อย่างชดั แจง้ ถึงการขยายตัวไปยังช่องน้าระหวา่ งมหาสมุทรอนิ เดียกับประเทศจีน การควบคุมช่องแคบ ๒ ช่องนี้ ทาใหอ้ าณาจักรศรวี ชิ ัยสามารถควบคมุ การคา้ ในหมูเ่ กาะอินโดนเี ซยี ไว้ไดเ้ ปน็ เวลาหลายร้อยปี และในระหว่างปี พ.ศ. ๑๒๒๘ - ๑๒๓๒๕๑ สามารถนากองทัพเข้ายึดเอาแคว้นไทรบุรีบนแหลมมลายู เข้ามาอยู่ภายใต้อานาจการปกครองของอาณาจักรศรวี ิชัยไดด้ ้วย ในขณะที่ดา้ นภมู ิศาสตร์ จะเห็นไดว้ ่า ด้วยความเป็นอาณาจักรท่ีมีลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เอ้ือต่อกิจการการซื้อขายหรือแลกเปลี่ยนสิ นค้า ระหว่างประเทศ กลา่ วคือการมีชอ่ งแคบทางทะเลสาหรับใช้เป็นเส้นทางเดนิ เรือของชนชาติต่าง ๆ ทา ใหอ้ าณาจักรศรีวิชัยได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจอย่างมากมายไมว่ า่ จะในฐานะเป็นผู้ซ้อื หรือผู้ขายหรือ ในฐานะเป็นเจ้าของพ้ืนที่ผู้คอยจัดระเบียบควบคุมเส้นทางพานิชนาวี ในขณะเดียวกัน ศรวี ิชัยเองก็มี ๕๐ ภูวดล ทรงประเสริฐ,อนิ โดนเี ซีย อดีตและปัจจุบัน. (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ,๒๕๔๗), หน้า ๑๖. ๕๑ สุภัทรดศิ ดิศกุล, ประวตั ิศาสตรเ์ อเชยี อาคเนย์ ถึง พ.ศ. ๒๐๐๐, หนา้ ๓๘.
๔๓ สินค้าซง่ึ เปน็ ปัจจยั ภายในทค่ี อยโอบอุ้มระบบเศรษฐกิจให้มคี วามแขง็ แกรง่ ด้วย นัน่ คือ การมที รัพยากร ทางธรรมชาติท่มี ากมายและหลากหลายพรอ้ มทจี่ ะเสนอขายหรือแลกเปล่ียนกับชนชาติต่าง ๆ เช่นกัน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งแร่ทองคาซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายว่าดินแดนแถบนเี้ ป็นดินแดนแห่งทองคา จึง เป็นที่มาของคาเรียกในกลุ่มนักเดินเรือและพ่อค้าชาวจีนว่า “สุวรรณภูมิ” หรือ “แผ่นดินทองคา”๕๒ ในขณะที่พ่อค้าชาวอาหรับท่ีได้เข้ามาทาการค้ากับอาณาจักรศรีวิชัยก็ได้กล่าวถึงความมากมายของ ปริมาณแร่ทองคาไว้ว่า๕๓ “อาณาจักรแห่งนีเป็นอาณาจักรใหญ่มีความม่ังคั่งด้วยการค้าขายและ การเกษตร ทังยังมีปริมาณทองค้าในอาณาจักรเป็นจ้านวนมาก พระราชาของอาณาจักรจะทรงใช้ ทองค้าแท่งโยนลงในสระหน้าพระราชวังทกุ วันเป็นการนับจา้ นวนวนั ท่ีครองราชย์”๕๔ ปัจจัยทางด้าน เศรษฐกิจเหล่านี้เป็นสิ่งหนึ่งซึ่งมีความสาคัญท่ีส่งผลให้ดินแดนในอาณาบริเวณน้ีกลายเป็นแหล่งอารย ธรรมท่ีมีความสาคัญด้านเศรษฐกิจมากขึ้นคนท่ัวโลกต่างให้ความสนใจเดินทางเข้ามาติดต่อเพ่ือทา การคา้ มากขึ้นตงั้ แตอ่ ดีตเรอื่ ยมาจนถึงปัจจบุ นั เป็นตน้ ๒.๒.๑.๒ พระพุทธศาสนาในอาณาจักรศรีวิชัย กลุ่มชนผู้อาศัยอยู่ในดินแดน อาณาจักรศรีวิชัยดั้งเดิมเป็นผู้นบั ศาสนาผี ครั้นอาณาจกั รศรีวิชัยมีการตดิ ต่อสมั พันธ์กับชาวชมพูทวีป หรืออินเดียในยุคแรกเร่ิม ชาวอินเดียได้นาเอาศาสนาพราหมณ์-ฮินดูเข้ามาเผยแผ่ในอาณาบริเวณนี้ ในยุคนี้กลุ่มคนจึงได้นับถือศาสนาพรามหมณ์-ฮินดู อย่างแพร่หลาย โดยมีพราหมณ์ชาวอินเดียได้ นาเอาศาสนาฮินดูเข้ามาเผยแผ่ยังอาณาจกั รศรีวชิ ัย ต่อมาในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ พระพทุ ธศาสนา ลัทธิมหายานก็ได้ถูกนามาเผยแพร่โดยพระภิกษุชาวอินเดีย ชนชาวศรีวิชัยจึงได้หันมานับถือ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน อยา่ งแพรห่ ลาย แม้กระท่ังกษตั ริย์วงศ์ไศเลนทร์ แตล่ ะพระองคก์ ็ยงั ได้ อุทิศตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีด้วยการทานุบารุงพระพุทธศาสนา เช่น การสร้างวัดขนาดใหญ่ท่ัวทั้ง เกาะชวา และพุทธสถานโบโรพุทโธ ในชวา ภาคกลางก็ได้เร่มิ ตน้ สร้างอย่างจรงิ จังใน พ.ศ. ๑๒๑๕ และ ใช้เวลาก่อสร้างนานตลอดปลายพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ จนกระท่ังกลายเป็นพุทธสถานที่สาคัญท่ีสุดแห่ง หนึ่งของโลก๕๕ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ได้เข้ามาในดินแดนเอเชียอาคเนย์ทางหมู่เกาะ ตอนกลางของเอเชียอาคเนย์ ไดแ้ ก่ แหลมมลายู สุมาตรา ชวา แล้วมารงุ่ เรอื งมากในสมัยอาณาจกั รศรี วิชัย ในช่วงราว พ.ศ. ๑๓๐๐ -๑๔๐๐ เห็นได้จากการสารวจขุดพบพระพุทธรูปและศิลปวัตถุฝ่าย มหายาน จานวนมากในอาณาจักรศรีวิชัย นอกจากนี้ยังมีหลกั ฐานจากการจดบันทกึ ของหลวงจีนอีจ้ ริง ซงึ่ ไดเ้ ดนิ ทางจากเมอื งกวางตงุ้ ประเทศจีนโดยเรอื ของพวกอารบั ผา่ นอาณาจกั รฟนู ันมาพักท่อี าณาจักร ศรีวิชัยในเดอื น ๑๑ พ.ศ. ๑๒๑๔ เปน็ เวลา ๒ เดือน ก่อนท่ีจะเดนิ ทางต่อผ่านเมอื งไทรบุรี ผ่านหมเู่ กาะ ๕๒ ครองชัย หัตถา, ประวัติศาสตร์ปัตตานี สมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง ๗ หัวเมือง, หนา้ ๘. ๕๓ สน่ัน เมืองวงษ์, ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์, (กรุงเทพมหานคร:สุณีย์การพิมพ์, ๒๕๒๐), หนา้ ๗๙. ๕๔ หมายเหตุเพิ่มเติม : ผู้ท่ีกล่าวถึงอาณาจักรดังกล่าวข้างต้นเป็นชาวอาหรับช่ือ ซาบัก ( Zabag) สันนิษฐานว่าอาณาจักรทซ่ี าบักได้กล่าวถงึ น้ี คอื อาณาจักรศรีวิชยั เนือ่ งจากในบันทึกนช้ี ่วงนน้ั มีความเกี่ยวโยงกับชว่ ง ของเวลาและสถานท่ีในการดารงอยู่แหง่ อาณาจกั รศรวี ิชัยในขณะนั้น ๕๕ ภวู ดล ทรงประเสรฐิ , อินโดนีเซีย อดตี และปจั จุบนั , หน้า ๑๗.
๔๔ คนเปลือยนิโคบาร์ ถึงเมืองท่าตามพรลิงก์ เดินทางต่อยังประเทศอินเดียเพ่ือสืบทอดพระพุทธศาสนา ได้บนั ทึกไว้ว่า “พระพุทธศาสนาแบบมหายานเจริญรุ่งเรืองในอาณาจักรศรีวิชัย ประชาชนทางแหลม มลายเู ดมิ สว่ นใหญ่นับถอื พระพุทธศาสนา แตก่ ไ็ ด้ตดิ ต่อกับพ่อคา้ อาหรบั มุสลมิ ท่ีเดินทางผา่ นเพือ่ ไปยัง ประเทศจีน ดังนันในเวลาต่อมาศาสนาอิสลามจึงได้เผยแผ่ไปยังมะละกา กลันตัน ตรังกานู ปาหงะ และ ปตั ตานี จนกลายเป็นรฐั อสิ ลามไป”๕๖๕๗ เปน็ เคร่ืองยืนยันอีกด้วยและเม่ือเช้ือสายกษตั ริย์จากเมอื งตามพรลิงค์ ( นครศรธี รรมราช ) ไปครองกัมพูชาก็ได้นาเอาพระพุทธศาสนานิกายหายานเข้าไปเผยแพร่ในกัมพูชา จึงทาให้ประชาชน ชาวกมั พูชาในยคุ น้ันหันมานับถือพระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานตามไปด้วย จากหลักฐานบันทึกต่าง ๆ ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่ออาณาจักรศรีวิชัยได้ยอมรับนับถือ พระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ศรีวิชัยก็ได้พัฒนาตนเองให้เป็นดินแดนของพระพุทธศาสนานิกาย มหายาน และเป็นศูนย์กลางในการเผยแพร่หลักคาสอนในทางพระพุทธศาสนาไปยังดินแดนอื่น ๆ ใน เกาะชวา คาบสมุทรมาเลย์ และประเทศจีนอีกด้วย๕๘ ถือเป็นจุดเริ่มต้นสาคัญของการทาให้ภาคพื้น เอเชยี อาคเนย์กลายเป็นดนิ แดนแห่งพระพุทธศาสนา กลา่ วไดว้ ่า การกระจายตัวของพระพุทธศาสนา ไปยังเมืองย่อยต่าง ๆ ได้ขยายไปตามอิทธิพลของอาณาจักรศรีวชิ ัยที่ได้แผ่ขยายไปยังพ้ืนท่ีต่าง ๆ ซึ่ง จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ีสารวจพบตามแหล่งต่าง ๆ แสดงให้เห็นว่าพระพุทธศาสนานิกาย มหายานมอี ิทธิพลต่อประชาชนในภาคพน้ื เอเชยี อาคเนย์ไปตามอาณาเขตที่อยภู่ ายใต้การปกครองของ ศรีวิชัย ด้วยเหตุดังกล่าวน้ี ศรีวิชัยนอกจากจะเป็นศูนย์กลางการค้าทางทะเลแล้ว ยงั เป็นแหล่งกาเนิด ศลิ ปวฒั นธรรม เป็นศูนย์วิชาความรสู้ าขาต่าง ๆ และเป็นศนู ย์กลางของพุทธศาสนาในเอเชยี ตะวนั ออก เฉียงใต้ด้วย กษตั รยิ ์ศรีวิชัยหลายพระองคไ์ ด้สนับสนุนพระพุทธศาสนาอย่างจริงจัง เมืองต่าง ๆ ในเขต ปกครองของศรีวิชัยได้มีการสร้างสนสถาน และส่งเสริมพระพุทธศาสนาอย่างจริงจังและกว้างขวาง พระพุทธศาสนาไดเ้ คยตัง้ ม่นั อยา่ งมัน่ คง และเคยเจริญรุ่งเรอื งในดินแดนแถบนี้มาอยา่ งยาวนาน ก่อนที่ ศาสนาอิสลามจะเผยแผเ่ ขา้ มาแทนท่ีพระพทุ ธศาสนาในดินแดนนใ้ี นยุคต่อมา๕๙ ๒.๒.๑.๓ อิทธิพลของพระพุทธศาสนาท่ีมีต่ออาณาจักรศรีวิชัย หลังจากท่ีชาว อาณาจักรศรีวิชัยได้มายอมรับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายานแล้ว ชนในสังคมก็มีความเคารพ ศรัทธาในพระพุทธศาสนา เข้ารว่ มประกอบพิธีกรรมในพระพุทธศาสนา อปุ ถัมภบ์ ารุงและปฏิบัติตาม หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา สร้างสนสถานทเ่ี กย่ี วข้องกับทางพระพทุ ธศาสนาไว้เป็นพทุ ธบชู า ทาให้ พระพุทธศาสนานิกายมหายานมีอิทธิพลต่อชาวศรีวิชยั ท้ังในดา้ นสงั คม ดา้ นการศึกษา ด้านพทุ ธศิลป์ ดา้ นการเมอื งการปกครอง อิทธิพลของพระพทุ ธศาสนาสมยั ศรวี ิชยั ประมวลได้ดงั ต่อไปนี้ ๕๖ สนนั่ เมอื งวงษ์, ประวัตศิ าสตร์เอเชยี อาคเนย์, หน้า ๒๕-๒๖. ๕๗ https://th.wikipedia.org/wiki/ อาณาจกั รศรีวิชยั , ๑๘ ต.ค. ๕๙. ๕๘ ภวู ดล ทรงประเสรฐิ , อินโดนีเซีย อดตี และปจั จบุ นั , หนา้ ๑๗. ๕๙ Harrison อ้างใน ครองชยั หตั ถา, ประวัติศาสตรป์ ัตตานี สมยั อาณาจักรโบราณถงึ การปกครอง ๗ หวั เมือง. ( ภาควชิ าภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขต ปัตตานี,๒๕๔๘), หนา้ ๕๐
๔๕ ๑) ด้านสงั คม พระพทุ ธศาสนาในอาณาจกั รศรวี ิชัยไดม้ ีอิทธพิ ลต่อสงั คม และวิถีชีวิตของกลุม่ ชนในทุกระดับ คือ ตั้งแต่ราชวงษ์กษัตริย์ลงไปถึงชาวบ้านสามัญต่างก็เป็นผู้ท่ีนับ พระพุทธศาสนา การปฏิบัติตามพิธีกรรมและความเช่ือในทางศาสนาของกลุ่มชนท่ีอาศัยอยู่ในอาณา บรเิ วณนี้ ได้มกี ารประสมผสานกนั ระหว่างพระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน กบั ศาสนาพราหมณ์- ฮนิ ดู เนื่องจากว่าก่อนท่ีพระพุทธศาสนาเจ้าเข้ามาเผยแผ่ในอาณาจักรศรีวิชัย กลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในแถบนี้ ตง้ั แตช่ นช้นั กษัตรยิ ล์ งไปจนถงึ ประชาชนสามัญ ได้นบั ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อยู่กอ่ นแล้ว เช่น ไดม้ ีการ สารวจพบโบราณวัตถุสาคัญได้แก่ ศิวลึงค์และฐานโยนิ เป็นอารยธรรมอินเดีย ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔ ในอาณาบรเิ วณ วัดเขียนบางแก้ว หมู่ที่ ๔ ตาบลจองถนน อาเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง ซ่ึง เป็นท่ีตั้งของชุมชนโบราณ เป็นต้น ต่อมาเม่ือพระพุทธศาสนาได้เข้ามาเผยแผ่ในอาณาจักรศรีวิชัยจึง เกิดการประสมผสานทางความเช่ือเข้าไว้เข้าด้วยกัน ดังนั้นการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อในทาง พระพุทธศาสนาก็ได้มีพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดูรว่ มเข้ามารว่ มด้วย เช่น ลกั ษณะการก่อสร้าง พระราชวังของกษัตริย์ศรีวิชัยซ่ึงเป็นชาวพุทธ นิยมสร้างบนพ้ืนที่สูงเพ่ือให้เหมาะสมกับฐานะกษัตริย์ พ้ืนที่สูงดงั กล่าวนี้เปรียบได้กับภูเขาพระสุเมรุ เป็นภูเขาอันศักด์ิสิทธิ์๖๐ เป็นที่ประทับของพระศิวะซึ่ง เป็นเทพเจ้าสูงสุด ตามความเชื่อของผู้ท่ีนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวะนิกาย ซ่ึงความเช่ือใน ลกั ษณะน้ีได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์- ฮินดู ความเช่ือดังกล่าวได้มีอยู่ในวิถชี ีวิตของผู้คนใน ทุกชนช้ัน ดังนั้นท้ังศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพระพุทธศาสนาต่างก็ได้มีอิทธิพลต่อสังคมผู้คนใน อาณาจักรศรีวิชัยเป็นอย่างมาก โดยท้ังสองศาสนาได้มีการประสมผสานด้านพิธีกรรมเข้าไว้ด้วยกัน อย่างลงตัว ประชาชนชาวพุทธที่เข้าร่วมในพิธีกรรมในทางศาสนาขณะนั้นกเ็ ขา้ ใจว่านั้นคือการปฏิบัติ ตามพิธีกรรมในทางพระพุทธศาสนา เหล่านีค้ ืออิทธิพลของพระพุทธศาสนาท่มี ีต่อสังคมในอาณาจักร ศรีวิชยั ในช่วงนนั้ ๒) ด้านการศึกษา เอลชา ไชนุดิน ได้กล่าวถึงเร่ืองราวเก่ียวกับ การศกึ ษาพระพทุ ธศาสนาไวใ้ นหนังสือประวัติศาสตรอ์ ินโดนเี ซียตอนหนง่ึ ความวา่ “ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ อาณ าจักรศรีวิชัยเป็นศูนย์กลางการศึกษาเก่ียวกับ พระพุทธศาสนา หลวงจีนอีจิงจากประเทศจีนได้เรียนไวยากรณ์ภาษาสันสกฤตในหมู่สงฆ์มากกว่า ๑๐๐ รูป นานถึง ๗ เดือน และด้วยพระบรมโพธิสมภารจากกษัตริย์ ท่านยังอยู่ต่อท่ีโมโลยู (จามบี ) อีกถึง ๒ เดือน ต่อมาท่านได้เดินทางกลับมาจากอินเดียและมาอยู่ที่ศรีวิชัยอีกถึง ๔ ปี เพ่ือแปล พระไตรปิฎก ท่านได้แนะน้านักแสวงบุญชาวพุทธจากประเทศจีนควรเตรียมไปอยู่ ณ ที่นัน ๒ ปี เพ่ือ ฝึกฝนความรู้ภาษาอังกฤษใหด้ ีขึนกอ่ นจะไปเรยี นต่อท่อี ินเดีย ในกลางพุทธวรรษที่ ๑๖ กษัตรยิ ์ศรีวชิ ัย องค์หน่ึงเป็นผู้สร้างวัดพุทธศาสนา ( หรือสถานที่ศึกษาเล่าเรียน ) บนริมฝ่ังมหาสมุทรอินเดีย และ หลังจากนันไม่นานนัก เราเรียนรู้จากหลักฐานธิเบตว่า อติสา ( Atisa ) ผู้ปฏิรูปพุทธศาสนาในธิเบต เคยศึกษาอยูท่ ีศ่ รวี ชิ ยั ถึง ๑๒ ป๖ี ๑ ๖๐ เอลชา ไชนดุ ิน. เพชรี สมุ ติ ร, แปล. ประวัตศิ าสตร์อินโดนีเซยี .( กรงุ เทพมหานคร : โครงการตารา สังคมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร,์ ๒๕๕๗), หนา้ ๖๙. ๖๑ เร่อื งเดยี วกัน, หน้า ๖๙.
๔๖ ความตอนนี้แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาท่ีมีต่อด้านจัดการศึกษาให้กับ พระสงฆ์ที่เขา้ มาบวชในพระพุทธศาสนามจี านวนมากกว่าพนั รูป สถานศกึ ษาดังกล่าวน่าจะเป็นทีร่ ู้จัก ของคนทั่วไปและมีช่ือเสียงเป็นที่น่าเช่ือถือเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพระพุทธศาสนา เห็นได้จาก หลวงจีนอี้จิงช่วงเดินทางจากประเทศจีนจะไปอินเดียท่านเข้ามาศึกษาไวยากรณ์สันสกฤตในหมู่สงฆ์ มากกว่า ๑๐๐ รูป อยู่ที่นี่นานถึง ๗ เดือน และมีพระชาวทิเบตก็เคยเข้ามาศึกษาท่ีน้ีด้วย ต่อมาเมื่อ หลวงจนี อ้ีจิงได้เดินทางจากอินเดียกลับไปประเทศจีนก็ได้มาพักที่อาณาจักศรีวิชัยเป็นเวลานานถึง ๔ ปี เพื่อแปลพระไตรปิฎก หลักฐานเหล่านี้สนับสนุนและเป็นส่ิงแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของ พระพุทธศาสนาดา้ นการศกึ ษาในอาณาจักรศรวี ชิ ยั ได้เป็นอย่างดี ๓) ด้านพุทธศิลป์ การเข้ามาในอาณาจักรศรีวิชัยของพระพุทธศาสนา นิกายมหายาน ไดม้ อี ิทธพิ ลต่อพุทธศิลปะและวัฒนธรรมของอาณาจักรศรีวชิ ัยเปน็ อยา่ งมาก เห็นได้ท่ีมี การสร้างวัดและเจดีย์ขนาดใหญ่ตามคติของพระพุทธศาสนานิกายมหายานในอาณาบริเวณน้ี ท่ี พระพุทธศาสนามหายานเผยแผไ่ ปถงึ ซ่ึงอิทธพิ ลด้านพุทธศิลปท์ ี่ชาวพุทธในอาณาจักรศรีวิชัยได้สร้าง ไว้ในพระพุทธศาสนาในยุคน้ันยังปรากฏให้เห็นจนถึงปัจจุบัน ร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดีตามที่ โดยเฉพาะในพื้นท่ภี าคใต้ของประเทศไทยปัจจุบันตง้ั แต่จังหวดั สุราษฎร์ธานลี งไปกนิ พ้ืนท่ีถึงเกาะชวา และหลายพื้นที่ในประเทศอนิ โดนีเซียอันเป็นจุดกาเนิดอารยธรรมศรีวิชัย แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลด้าน พุทธศิลป์ที่เกิดจากพระพุทธศาสนานิกายมหายานอย่างชัดเจน เช่น เจดีย์ยุคอาณาจักรศรีวิชัย พระพุทธรูปยุคอาณาจักรศรีวิชัย นอกจากน้ียังได้พบว่ามีการใช้ภาษบาลีและภาษาสันสกฤตอย่าง แพร่หลาย เช่น พระนามของกษัตริย์๖๒ หลายพระองค์ในอาณาจักศรีวิชัยมกี ารใช้พระนามเป็นภาษา บาลหี รือสนั สกฤต เปน็ ต้น กษตั รยิ ์หลายพระองค์ท่นี บั ถือพระพุทธศาสนาได้เป็นผนู้ าในการสรา้ ง ศาสนสถานต่าง ๆ มีการออกแบบด้านพุทธศิลป์ที่มีความงดงามอันเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของศรีวิชัย เหล่านี้ล้วนแสดงใหเ้ ห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาด้านพุทธศิลปใ์ นอาณาจักรศรีวิชัยได้เป็นอย่างดี เกีย่ วกับเรือ่ งน้ี นักวิชาการของไทยได้ให้ทศั นะเก่ยี วกับอทิ ธิพลทางพระพทุ ธศาสนาท่ีมตี ่ออาณาจักรศรี วิชัยไว้ว่า๖๓ หลักฐานทางโบราณวัตถุซ่ึงมีอายุระหว่างพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๗ ที่สารวจพบในเขต ภาคใต้ของประเทศไทย ในตอนบนของแหลมมลายู และหมู่เกาะท่ีสาคัญ คือ สุมาตราและชวา ลกั ษณะศิลปะวัตถุและงานทางสถาปัตยกรรม ประติมากรรมจากแหล่งตา่ ง ๆ ดงั กล่าว มีท้ังคลา้ ยคลึง และแตกต่างกัน แต่สง่ิ ท่เี หมือนกัน คือ เป็นผลงานของฝ่ายพระพุทธศาสนานิกายมหายานท้ังส้ิน อาจ แบ่งประเภทของโบราณวตั ถแุ ละโบราณสถานที่เป็นศลิ ปะสมัยศรวี ิชัยได้ดังตอ่ ไปน้ี (๑) สถาปตั ยกรรม ประเภท จัณฑิ ( Candi ) ซ่งึ ไมใ่ ช่คาว่าเจดยี ์ แต่ เป็นช่ือหน่ึงของพระอุมา ใช้เรียกศาสนสถานของทั้งศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา โดยมี ความหมายว่าเป็นสถานท่ีฝงั ศพ เป็นสถาปัตยกรรมที่นิยมสรา้ งในอินเดียสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ ในชั้นแรกนยิ มทาเป็นวิหารเลก็ ๆ (คล้ายที่เรียกกนั ในภาคกลางว่า มณฑป นิยมสร้างเพ่ือประดษิ ฐาน รอยพระพุทธบาทจาลอง ) มหี ลงั คาซ้อนกันหลาย ๆ ชนั้ ปักสลักลวดลายไว้ดา้ นข้างเปน็ ภาพนูน สมัย ๖๒ ชยั ค์ ฟากฮิ ฺ อาลี ตึงก,ู ประวตั ศิ าสตร์ ปาตานี อารฟี ิน ตงึ กจู ิ แปล.( กรุงเทพมหานคร : มสุ ลิมนิวส์ , ๒๕๕๔), หนา้ ๔๕. ๖๓ สน่ัน เมืองวงษ,์ ประวัตศิ าสตร์เอเชยี อาคเนย์, หน้า ๗๖.
๔๗ หลัง ๆ นิยมทาเป็นรูปทรงสูง ลักษณะเป็นพระสถูป และพระเจดีย์ภายในจะบรรจุพระบรมธาตุ หรือ พระอัฐิ ตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมดังกล่าวนิยมสร้างในสมัยศรีวิชัย เช่น เจดีย์พระบรมธาตุไชยา อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี พระเจดีย์วัดมหาธาตุ อาเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช นอกจากน้ียังได้สารวจพบซากฐานของจัณฑิ ในภาคใต้ของประเทศไทยอีกหลายแห่ง เชน่ ในจงั หวัดพังงา สงขลา เป็นต้น ทหี่ มู่เกาะชวาในภาคตะวันออกของชวากลาง เช่น จัณฑิกาลาสัน จัณฑิปวน จณั ฑปิ รมั มานัน และท่ใี หญโ่ ตมีช่อื เสยี งมาก คอื จัณฑบิ ุโรพทุ โธ ซึ่งสร้างใน พ.ศ. ๑๓๓๔ (๒) ประติมากรรม ท่ีสารวจพบจานวนมาก ได้แก่ รูปพระโพธิสัตว์ ของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน แหล่งที่พบมากคือบริเวณภาคใต้ของไทยในเขตจังหวัด นครศรีธรรมราช สุราษฏร์ธานี พังงา สงขลา เป็นต้น รูปพระโพธิสัตว์ปางที่งดงามมาก คือ พระ โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร นอกจากน้ัน ได้พบเทวรูปปางต่าง ๆ และส่ิงของเคร่ืองใช้ของคนสมัยศรีวิชัย เช่น เคร่ืองป้ันดินเผา เป็นประเภท ถ้วย ชาม และภาชนะ ต่าง ๆ เคร่ืองประดับท่ีทาด้วยหินขัด สัมฤทธิ์ อกี ทัง้ ไดพ้ บภาพนนู จากเครือ่ งป้ันดินเผา ทแ่ี สดงถึงศิลปวัฒนธรรมหลายลกั ษณะ เช่น การเล่น การแต่งกาย ขนบธรรมเนียมบางอย่าง ท่ีมี่อยู่ในดินแดนแถบนี้ กลุ่มสถาปัตยกรรมและปติมากรรม สมยั ศรวี ิชยั ที่สารวจพบในทต่ี ่าง ๆ มตี ัวอย่างของภาพมานาเสนอใหไ้ ดศ้ กึ ษาดังตอ่ ไปนี้ ภาพที่ ๒.๒๐ กลุ่มเจดีย์โบโรบุโด: โบราณสถานท่ีเป็นสถาปัตยกรรมงดงามและเป็นสัญลักษณ์สาคัญ ของพระพุทธศาสนานกิ ายมหายานในอาณาจกั รศรวี ชิ ัย ปจั จบุ ันอยู่ในประเทศอินโดนเี ซีย ภาพที่ ๒.๒๑ พระโพธิสัตว์อวโลกเิ ตศวร พทุ ธศลิ ป์สมยั ศรวี ิชยั อายรุ าวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔
๔๘ ภาพที่ ๒.๒๒ พระโพธิสตั วอ์ วโลกิเตศวร ๔ กร พุทธศิลปส์ มยั ศรวี ิชยั อายรุ าวพุทธศตวรรษที่ ๑๔ สถาปัตยกรรมกลุ่มโบราณสถานทางพระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน แสดงให้เห็นถึงความ เป็นสถาปัตยกรรมร่วมสมัยเดียวกัน มีวตั ถุประสงค์ รปู แบบ หรือลักษณะ การสร้างเป็นไปในแนวทาง เดยี วกัน คอื สร้างเจดีย์โดยมวี ัตถุประสงค์เพ่อื เป็นสถานท่ีสาหรบั ใช้บรรจุพระบรมสารรี ิกธาตุขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เห็นได้จากพื้นที่ซึ่งได้สารวจพบในหลายจังหวัดท่ีอยู่ทางภาคใต้ของ ประเทศไทยปัจจุบนั ซ่งึ นามาจดั แบ่งออกได้อย่างน้อยเป็น ๓ รปู แบบ ดังนี้ รูปแบบที่ ๑ เป็นรูปแบบเจดีย์ทรงมณฑป มีฐานและเรอื นธาตุรปู ส่ีเหลย่ี มจัตุรัส ส่วนยอด เปน็ เจดีย์แปดเหลี่ยม ส่วนฐานปากระฆงั สรา้ งเป็นช้ันลดหล่ันกนั ไป มเี จดีย์ประดบั มมุ และซุ้มบันแถลง ในแต่ละทิศ เช่น พระบรมธาตุไชยา วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวหิ าร อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ ธานี เป็นต้น ภาพที่ ๒.๒๓ พระบรมธาตไุ ชยา วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
๔๙ แบบที่ ๒ เป็นแบบเจดีย์ทรงโอคว่าแบบศรลี ังกา เช่น พระบรมธาตุเจดีย์ วัดพระมหาธาตุ วรมหาวิหาร อาเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช และ พระบรมธาตุเจดยี ์ วัดเขียน บางแก้ว อาเภอเขาชยั สน จังหวดั พัทลงุ เปน็ ต้น ภาพท่ี ๒.๒๔ พระบรมธาตุเจดยี ว์ ัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร อาเภอเมอื งนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช ภาพท่ี ๒.๒๕ พระบรมธาตเุ จดยี ว์ ัดเขยี นบางแก้ว อาเภอเขาชยั สน จงั หวัดพทั ลงุ แบบที่ ๓ เป็นแบบเจดียท์ รงปราสาท พบที่เจดีย์วัดหลง อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฏร์ธานี และเจดยี ์วดั แก้ว อาเภอไชยา จังหวดั สรุ าษฏรธ์ านี เป็นตน้ ภาพท่ี ๒.๒๖ เจดีย์วดั หลง อาเภอไชยา จังหวดั สุราษฏร์ธานี
๕๐ ภาพท่ี ๒.๒๗ เจดียว์ ัดแกว้ อาเภอไชยา จังหวดั สุราษฏร์ธานี โบราณสถานที่ในตัวอย่างท่ีนาเสนอมาทั้งหมดนี้ได้สร้างข้ึนมาในสมัยอาณาจักรศรีวิชัย อย่างไรกต็ าม มขี ้อสังเกตว่าอยู่ประการหนึ่งคือโบราณสถานบางแห่งได้เปลีย่ นรปู จากเดิมไปแล้ว เช่น พระบรมธาตุเจดีย์ เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งเชื่อกันว่าเดิมมีรูปแบบเป็นเจดีย์ทรงมณฑปซ่ึงเป็น สถาปัตยกรรมศิลปะแบบศรีวิชัยคล้ายพระบรมธาตุไชยา ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี คร้ันเม่ือเมือง นครศรธี รรมราช ได้รับอทิ ธิพลจากพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทแบบลังกา ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ประกอบกับพระสถูปเจดีย์ทรงมณฑปในช่วงนน้ั มีสภาพทรุดโทรม จึงได้มกี ารสร้างเจดีย์องค์ใหญ่ตาม แบบศิลปะแบบลังกาทับองค์เดิมข้ึนอีกช้ันหน่ึง ซ่ึงนอกจากเจดีย์พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช แล้ว ก็ยังมีปราสาทวัดหลงในจังหวัดสุราษฎร์ธานีด้วย ซึ่งปรากฏหลักฐานวา่ มีการสร้างทับของเดิมไว้ ในขณะท่ีมหาเจดีย์บุโรบุโดเป็นศิลปะฮินดูชวา โดยผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรมอินเดียกับ วัฒนธรรมด้ังเดิมของชวายังคงรักษาศลิ ปะแบบศรีวิชัยไวไ้ ดอ้ ย่างสมบูรณ์ เปน็ ต้น ๒.๒.๑.๔ อิทธิพลของศิลปะศรีวิชัยทีมีต่อพุทธศาสนาในยุคต่อมา ความเป็น อาณาจักรท่ีใหญ่โตกว้างขวางและมีศิลปวัฒนธรรมท่ีมีอัตลักษณ์เป็นของตนเอง ไดส้ ่งผลให้อาณาจักร ศรวี ิชัยเป็นอาณาจกั รท่ที รงอทิ ธพิ ลอยา่ งสงู ทัง้ ในชว่ งระยะเวลาท่ศี รีวิชัยยังมคี วามเจริญรงุ่ เรืองอยู่และ หลังจากได้เส่ือมสลายไปแล้ว เห็นได้จากร่องรอยหลักฐานทางโบราณคดีท่ีปรากฏอยู่ในปัจจุบันอัน แสดงให้เห็นถึงการได้รบั อทิ ธิพลจากศิลปะศรีวชิ ยั ดงั น้ี ๑) เจดีย์วัดถ้าสิงขร ต้ังอยู่ในเขต อาเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ ธานี โดยภายในบรเิ วณวัดถ้าสิงขรแห่งนี้ได้มีการประดิษฐานเจดีย์ที่มีลักษณะก่ออิฐถือปูนเลียนแบบ พระบรมธาตุไชยา ศิลปะศรีวิชัย ภายในองค์พระเจดีย์เป็นท่ีประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจาลอง มี การบนั ทึกประวัตขิ องเจดียว์ ดั ถ้าสงิ ขรไว้วา่ ได้ถูกสรา้ งข้นึ มาในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยาเปน็ ราชธานี ภาพที่ ๒.๒๘ เจดีย์วดั ถ้าสงิ ขร อาเภอคีรรี ัฐนคิ ม จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
๕๑ ๒) วัดเขาพระอานนท์ ตั้งอยู่ตาบลศรีวิชัย อาเภอพุนพิน จังหวัดสุ ราษฎร์ธานี โดยภายในบริเวณวดั เขาพระอานนท์แหง่ น้ีได้มีเจดยี ์ลักษะก่ออฐิ ถือปูนเลยี นแบบพระบรม ธาตุไชยา ภายในองค์พระเจดีย์เป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป จากหลักฐานมีการบันทึกว่าเกี่ยวกับ ประวัตขิ องวัดเขาพระอานนท์ว่าได้ถูกสรา้ งข้ึนในยคุ สมยั กรุงศรอี ยธุ ยาถึงรัตนโกสนิ ทร์ ภาพที่ ๒.๒๙ เจดียว์ ัดถ้าสิงขร อาเภอครี ีรฐั นคิ ม จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี จากหลักฐานทางโบราณคดีทั้งท่ีเป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ และพุทธศิลป์ ดังท่ีได้ นาเสนอมาแล้วข้างต้นจะเหน็ ได้ว่า เม่อื พระพุทธศาสนาไดเ้ ขา้ มาเผยแผ่อาณาจักรศรวี ิชัยไมเ่ พียงแต่จะ มีทธิพลต่อวิถีชีวิตของประชาชนผู้อาศัยอยู่อาณาบริเวณนี้ทั้งในด้านสังคม ด้านการศึกษา ด้านพุทธ ศิลป์ และด้านการเมืองการปกครองในยุคศรีวิชัยเท่าน้ัน อิทธิพลของพระพุทธศาสนาดังกล่าวยังได้ สง่ ผลทาให้มีการสร้างโบราณสถาน โบราณวัตถุ และพุทธศิลป์ เลียนแบบสมัยศรีวิชัยในยุคหลังต่อมา ด้วย ๒.๒.๑.๕ ความสัมพันธ์ด้านการนบั ถือศาสนาระหว่างทวารวดกี ับศรวี ิชยั หลกั ฐาน ทางโบราณคดีหลายท่ีสารวจพบในอาณาจักรศรวี ชิ ัยและทวารวดีได้แสดงให้เหน็ ว่าทั้งสองอาณาจักรได้ นบั ถือพระพทุ ธศาสนาเหมอื นกัน เช่น พระพุทธรูปสมัยทวารวดที ี่ถกู สารวจพบแถบจังหวัดทางภาคใต้ ในเขต อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมืองโบราณยะรัง อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เป็นต้น จาก หลักฐานทางโบราณคดีท่ีสารวจพบดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าอาณาจักรทวารวดีได้แผ่ขยายวัฒนธรรม ของตนไปยังอาณาบริเวณอาณาจักรศรีวิชัยด้วย การแผ่ขยายวัฒนธรรมทวารวดีไปยังอาณาจักรศรี วชิ ยั นี้เป็นเหตุให้พระพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทท่ีมกี ลุ่มคนนบั ถืออยู่ในอาณาจักทวารวดีได้เผยแผ่ไปยัง อาณาจักรศรีวิชัยด้วยและทาให้พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทเริ่มเข้ามามีอิทธิพลทาให้เกิดการ เปล่ียนแปลงในการนับถือนิกายในพระพุทธศาสนาเกิดข้ึนกล่าวคือจากเดิมกลุ่มคนที่อาศัยอย่ใู นอารา
๕๒ จกั รศรวี ิชัยเปน็ ผู้นับถอื พระพุทธศาสนานกิ ายมหายาน เมื่อพระพทุ ธศาสนานิกายเถรวาทได้แผอ่ ิทธิพล ขยายเข้ามายังอาณาจักศรีวิชัยจึงทาให้กลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณน้ีค่อยหันมาให้ความสนใจ และยอมรับนบั ถือพุทธศาสนานกิ ายเถรวาทในเวลาตอ่ มา ลักษณะเด่นท่ีเห็นได้ชัดระหว่างพุทธ ศาสนาในอาณาจักรท้ัง ๒ นี้ คือ อาณาจักรทวารวดีได้รับอิทธิพลพุทธศาสนาแบบเถรวาทโดยมี รากฐานมาจากพระพุทธศาสนาในดินแดนสวุ รรณภูมิด้ังเดิม ในขณะที่อาณาจักรศรีวิชัยไดร้ ับอิทธิพล จากพระพุทธศาสนานิกายมหายานและมีการผสมผสานกับวัฒนธรรมพราหมณ์-ฮินดู ท่ีได้เข้ามามี อิทธิพลอยู่ในดินแดนแถบน้ีอยู่ก่อนแล้ว ส่วนการเข้ามาของพระพุทธศาสนานิกายมหายานใน อาณาจักรศรวี ิชัยน้ันสนั นษิ ฐานวา่ น่าจะเกิดขึ้นในยุคที่มหาวิทยาลัยนาลนั ทาในประเทศอินเดียมคี วาม เจริญรุ่งเรืองด้านการศึกษาเป็นอย่างมาก โดยพระสงฆ์ท่ีได้รับการศึกษาทางพระพุทธศาสนาจาก มหาวิทยาลัยนาลันทาเป็นผู้นาพระพุทธศาสนานิกายมหายานเข้ามาเผยแผ่ในเผยแผ่ในอาณาจักรศรี วชิ ัย เหตุผลสนับสนุนในเรอื่ งนี้คือเง่อื นไขยคุ สมยั มคี วามสัมพนั ธ์และตรงกันพอดี พุทธศาสนาท้ังสองนิกายต่างก็มีอิทธิพลต่ออาณาจกั รทวารวดีและศรวี ิชัยในหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้านสังคม วัฒนธรรม การศึกษา พุทธศิลป์ สถาปัตยกรรม และประติมากรรม มีการสร้างศาสน สถานตา่ ง ๆ เพอ่ื เป็นสัญลกั ษณ์แสดงให้เห็นถึงความศรัทธาในพระพุทธศาสนา อาณาจกั รทวารวดีได้มี การสร้างพุทธศิลป์ที่มีความงดงามตามแบบทวารวดีอันมีรากฐานที่เกิดจากความเล่ือมใสศรัทธาใน พระพุทธศาสนาแบบเถรวาท และอาณาจักรศรีวชิ ัยก็ได้มีการสร้างพุทธศลิ ป์ท่ีมีความงดงามตามแบบ ศรวี ิชัยอันมีรากฐานที่เกิดจากความเลื่อมใสศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาแบบมหายาน เปน็ ต้น ๒.๒.๒ เสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาในประเทศไทยสมัยศรวี ชิ ยั ตามหลักฐานทางโบราณคดีได้แสดงการเข้ามาของพุทธศาสนาในดินแดนเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ อันเป็นยุคที่ดินแดนแถบน้ีมีความเจริญรุ่งเรืองมาก จาก หลั กฐาน ทางโบ ราณ คดี แสดงให้เห็ น ว่าในยุ คนั้ น พ ระพุ ทธศาสน ามีความ เจริญ ควบ คู่กับ ศาสน า พราหมณ์-ฮินดู ประชาชนในดนิ แดนแถบนไ้ี ด้หันมานบั ถอื ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพทุ ธศาสนาแทน ความเช่ือด้ังเดิมเป็นจานวนมาก และจากการสารวจพบหลักฐานทางโบราณคดีในพื้นท่ีต่าง ๆ ที่เคย เป็นดินแดนของอาณาจักรศรีวิชัย เช่น เมืองไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนา ท่ีได้เข้ามายังดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นี้เป็นพุทธศาสนานิกายมหายาน ซ่ึง หลกั ฐานทางโบราณคดีตามที่ได้ค้นพบดังกล่าว เช่น ประติมากรรมรูปองค์พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร อันแสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนานิกายมหายาน ได้เจริญรุ่งเรืองข้ึนในแหลมมลายูและหมู่เกาะ อนิ โดนีเซียในราวต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ ซง่ึ คงเปน็ ด้วยอทิ ธพิ ลของราชวงศ์ปาละและบรรดาพระภกิ ษุ ท่มี หาวทิ ยาลัยนาลันทาในประเทศอนิ เดยี และลักษณะสาคญั ของพุทธศาสนาลัทธมิ หายานในระยะนี้ก็ มีลักษณะเอนเอียงไปทางพุทธตันตระแห่งนิกายมหายานแบบวัชรยาน ซ่ึงนิกายนี้แพร่หลายมากใน แคว้นเบงคอลตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๓ และนอกจากน้ีพระพุทธศาสนายังมีการประสมผสาน กับศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู ซง่ึ แสดงให้เหน็ ในจารึกทีเ่ กลรุ ัก ซงึ่ เจริญรงุ่ เรืองขึ้นท่ีเกาะชวาจนเกลายเป็น ลทั ธิเคารพนับถือพระศิวพุทธ รวมทั้งความเชอ่ื เกี่ยวกับวิญญาณของผทู้ ่ีตายไปแล้วจะกลับมาให้ความ
๕๓ ช่วยเหลือผู้ทีย่ งั มชี วี ิตอยู่ ซงึ่ ทาให้พระพุทธศาสนาท่ีกลุ่มคนผอู้ าศัยอยใู่ นเกาะชวาและบาหลีนับถืออยู่มี ลักษณะกลายเปน็ การเคารพนับถือผีและนบั ถอื วิญญาณของบรรพบุรุษไป๖๔ จากการศึกษาพระพุทธศาสนาในอาณาจักรศรีวิชัยที่ผ่านมาเห็นได้ว่าจุดเริ่มต้นของการ เผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังดนิ แดนแถบนี้เริ่มจากมีชาวอินเดียที่เดินทางเขา้ มาในอาณาจักรศรีวิชยั ใน ฐานะพ่อค้า ในกลุ่มน้ีมีท้ังท่ีเป็นพระสงฆ์และคฤหัสถ์ พระสงฆ์ได้อาศัยเรอื ของพ่อค้าเพ่ือเดินทางเข้า เผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนแถบน้ี สาหรับคฤหัสถ์ท่ีเดินเดินทางเข้ามาในดินแดนแถบนี้มี จุดประสงค์หลักเพ่ือทาการค้าขายและได้ถือโอกาสนาเอาศาสนาท่ีตนเองเคารพนับถืออยู่ในเวลานั้น เข้ามาเผยแผ่อีกในดินแดนแถบนี้ด้วย จึงทาให้ผู้คนในดินแดนแถบนี้เริ่มรู้จักและคุ้นเคยกับ พระพุทธศาสนา เรมิ่ ตัง้ แต่ชนช้นั สงู เช่น ชน้ั ชนั้ กษัตริย์ เชอื้ พระวงศ์ ข้าราชบริพาร ชนชน้ั กลาง เชน่ ผู้ ประกอบอาชีค้าขาย ผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจดี และ ชนชั้นล่าง เช่น ผู้ประกอบอาชีพทางด้าน การเกษตร ประศุสัตว์ กรรมกร เป็นต้น ต่างกไ็ ด้หนั มานับถือพระพุทธศาสนา ประกอบกับอาณาจักร ศรีวิชยั ในยคุ ดังกลา่ วเป็นมีอาณาบริเวณกว้างขวาง เปน็ เสน้ ทางการเดนิ เรอื ทะเลที่ประเทศจีน อนิ เดีย และประเทศท่อี ยู่ในแถบตะวนั ออกกลาง ต้องใช้เส้นทางดังกล่าวเดินทางเพอื่ ทาการติดตอ่ ค้าขายซ่งึ กัน และกัน จงึ ทาให้อาณาจักศรีวิชัยมคี วามสาคัญท้งั ในด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมอื ง และเป็นศูนย์กลาง สาคัญในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาไปยังดินแดนอื่น ๆ ในเกาะชวา คาบสมทุ รมาเลย์ และประเทศจีน อีกด้วย๖๕ ซ่ึงในส่วนของดินแดนต่าง ๆ ซึ่งเป็นเมืองเล็กน้อยท่ีขึ้นกับอาณาจักรศรีวิชัยก็ได้รับเอา พระพุทธศาสนาไปนบั ถอื เป็นศาสนาประจาทอ้ งถน่ิ ของตนด้วย เป็นต้น ทางด้านนักวิชาการของไทยได้ให้ทัศนะเก่ียวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์วัฒนธรรมทาง พระพทุ ธศาสนาในอาณาจกั ศรวี ชิ ัยไว้ว่า “ส้าหรับหลักฐานทางโบราณคดี ได้ค้นพบจารึกภาษามลายูโบราณ ๔ หลกั ท่เี กาะสุมาตรา คอื ๓ หลักแรกใกล้เมืองปาเล็มบัง หลักท่ี ๔ ณ กะรัง บราหิ ( Karang Brahi ) แถบต้นแมน่ ้า บะตัง หริ (Batang Hari ) และนอกจากนีก็ยังมีอีกหลักหนึ่งท่ี โกตา กะปูร์ ( Kota Kapur) บนเกาะบังกา ทางทิศตะวันออกของเกาะสุมาตรา จารึกเหล่านีแสดงให้เห็นว่ามีอาณาจักรที่นับถือพระพุทธศาสนา อย่ทู ีเ่ มืองปาเล็มบังระหว่าง พ.ศ. ๑๒๒๕ – ๑๒๒๙ และอาณาจักรนกี เ็ พ่ิงจะปราบปรามอาณาจักรทลี่ ้า หลังแห่งชัมพิและบนเกาะบังกา ลงได้ ตลอดจนก้าลังเตรียมที่จะยกทัพไปปราบปรามเกาะ ชวาอีก ศาสตราจารยเ์ ซเดลเ์ หน็ ว่าอาณาจักรนีมนี ามวา่ ศรีวชิ ัย ซ่ึงตรงกบั อาณาจักรโฟชิ ในบันทกึ เดินทางของ พระภิกษอุ ีจงิ ทบ่ี นั ทกึ ไวเ้ มือ่ ครงั ท่ีได้เดนิ ทางมาในดนิ แดนนี”๖๖ ศลิ าจารึกท่ีเมืองปาเล็มบังใน พ.ศ. ๑๒๒๗ เป็นพยานหลักฐานอันแรกที่มีศักราชซึ่งแสดง ให้เห็นถึงพทุ ธศาสนานิกายมหายานในเอเชยี อาคเนย์ ซึ่งเป็นพระพุทธศาสนานกิ ายสรวาสตวิ าทิน และ เป็นนิกายใหญ่ของพระพุทธศาสนามหายานท่ีใช้ภาษาสันสกฤต กาลังเป็นท่ีแพร่หลายอยู่ทั่วไปใน ๖๔ สภุ ัทรดิศ ดิศกลุ , ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ ถงึ พ.ศ. ๒๐๐๐, หน้า ๔๓ – ๔๔. ๖๕ ภูวดล ทรงประเสริฐ,รศ.ดร. อนิ โดนีเซีย อดีตและปจั จุบนั . (กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ,๒๕๔๗), หน้า ๑๗. ๖๖ อ้างแลว้ , ประวัตศิ าสตรเ์ อเชียอาคเนย์ ถงึ พ.ศ. ๒๐๐๐, หน้า ๓๖.
๕๔ ดินแดนแถบนี้ และในอาณาจักรศรีวิชัยยังได้มีคัมภีร์โยคาจริยภูมิศาสตร์อันเป็นงานช้ินสาคัญของ พระภกิ ษุอสังคะ ผู้กอ่ ต้ังพระพุทธศาสนามหายานนกิ ายโยคาจารหรอื วิชญาณวาทินข้ึนด้วย๖๗ เหล่าน้ี เป็นสิ่งแสดงให้เห็นว่าศรีวิชัยเป็นยุคท่ีพระพุทธศาสนานิกายมหายานมีความเจริญรุ่งเรื่องอย่างมาก และไดเ้ ผยแผข่ ยายไปยังท่ีตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอาณาจกั รทอี่ ยู่ใกล้เคยี ง เช่น อาณาจกั รมะตะรัม ซง่ึ อยใู่ น ฐานะเป็นคู่แขง่ อาณาจักรศรีวิชัย และเป็นจักรวรรดทิ ่ีเด่นในเกาะชวาก็ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา อาณาจักรมะตะรัมในตอนต้นนั้นนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และเคารพในศิวลึงค์ ซ่ึงเป็น เคร่ืองหมายและรูปเคารพของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู แต่ต่อมาได้หันมานับถือพระพุทธศาสนานิกาย มหายาน อยา่ งแพร่หลาย กษัตริย์ไศเลนทร์ แต่ละพระองค์กไ็ ด้อทุ ิศตนเป็นพุทธศาสนิกชนท่ีดี โดยได้ ให้การทานุบารุงพระพุทธศาสนา๖๘ เป็นต้น สาหรับร่องรอยของพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่ได้ สารวจพบตามเสน้ ทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาสมยั ศรีวิชัยมีดงั ต่อไปน้ี ๒.๒.๒.๑ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในแหลมมลายูในหมู่เกาะอนิ โดนเี ซีย สาหรบั แหลมมลายูนี้เป็นคาบสมุทรขนาดใหญ่ ตั้งอยู่ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ และเป็นจดุ ที่อยู่ใตส้ ุด ของทวปี เอเชีย สว่ นแคบสดุ ของคาบสมทุ รมลายู คือ คอคอดกระ ชายฝง่ั ด้านตะวันตกเฉยี งใตแ้ ยกออก จากเกาะสุมาตราด้วยช่องแคบมะละกา ในอดีตอาณาบริเวณนี้เคยเป็นอาณาจักรศรีวิชัยและมีการ สารวจพบหลักฐานทางโบราณคดีทเี่ กยี่ วข้องกบั พระพทุ ธศาสนาในสถานทต่ี า่ ง ๆ ดงั น้ี ๑) เกาะชวา ใน พ.ศ. ๑๓๒๑ พระเจ้าปะนังกะรันได้ทรงสร้างศาสน สถานถวายนางตาราทะละสัน ชื่อพระนางตาราน้ีเป็นช่ือหนึง่ ของพระโพธิสัตว์ตาราหรือ พระแม่ตารา ซ่ึงเป็นพระโพธิสัตว์ฝ่ายหญิงในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน โดยมีสายการปฏิบัติสืบทอดกันมา อย่างต่อเน่ืองในพระพุทธศาสนานิกายมหายานแบบวัชรยาน คาว่า “ตารา” มาจากภาษาสันสกฤต หมายถึง ขา้ ม การบูชาพระโพธสิ ัตวน์ ้ีเร่มิ มมี าต้งั พทุ ธศตวรรษท่ี ๘ – ๑๑ ในอินเดียทางภาคเหนอื และ แพร่หลายท่ีสุดในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๗ ตานานทางพุทธศาสนามหายานกล่าวว่าพระนางตา ราเกิดจากน้าตาของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์ เม่ือมองเห็นว่าสัตวโ์ ลกมีแต่ความทุกข์ เมื่อน้าตาของ พระองค์ไหลลงมาจนกลายเปน็ ทะเลสาบ จงึ เกิดดอกบัวข้ึน และในดอกบัวนั้นมีพระนางตาราสถิตอยู่ แต่ในตานานบางฉบับก็กล่าวว่า พระนางตาราเกิดจากรังสีธรรมของพระอมิตาภะพุทธะ เมื่อ พระพุทธศาสนาจากอินเดียทางภาคเหนือได้เผยแผ่เขา้ สู่อาณาจกั รศรีวิชัยก็ได้มีกลุ่มคนเลอื่ มใสศรัทธา โดยเฉพาะพระเจา้ ปะนังกะรัน ได้ทรงสรา้ งศาสนสถานถวายนางตาราทะละสัน ปัจจุบันพระโพธิสัตว์ ตาราหรอื พระแมต่ ารายงั มผี ู้นบั ถืออยใู่ นอินเดีย เนปาล และ ทเิ บต เป็นต้น ๒) เกาะชวาใน พ.ศ. ๑๓๒๕ อาจารย์จากแคว้นเบงกอลของอินเดีย ได้ สร้างรูปพระมัญชุศรีโพธิสตั ว์ข้ึนที่เกลุรัก๖๙ หมายถึงพระโพธิสัตว์ผู้ประเสริฐย่ิง สวยงามยง่ิ มงคลย่ิง ความเช่ือในพระมัญชุศรีโพธิสัตว์นี้ได้เกิดมขี ึ้นมาในช่วงประมาณพุทธศตวรรษที่ ๖ เนือ่ งจากในคัมภีร์ พระพุทธศาสนานิกายมหายานมชี อ่ื พระมัญชุศรีโพธสิ ัตว์ปรากฏอยูในพระสูตทช่ี ่อื ว่า สทั ธรรมปุณฑรีก ๖๗ อา้ งแล้ว, สภุ ทั รดศิ ดศิ กลุ , ประวัติศาสตรเ์ อเชียอาคเนย์ ถึง พ.ศ. ๒๐๐๐, หน้า ๓๘. ๖๘ ภวู ดล ทรงประเสริฐ, รศ.ดร. อนิ โดนีเซีย อดีตและปัจจุบนั . (กรงุ เทพมหานคร: สานักพิมพแ์ ห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย, ๒๕๔๗), หน้า ๑๗. ๖๙ อ้างแลว้ , ประวัติศาสตรเ์ อเชยี อาคเนย์ ถงึ พ.ศ. ๒๐๐๐, หน้า ๔๔.
๕๕ สูตร ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาที่ความคิดแบบมหายานพัฒนาขึ้นอย่างสมบูรณ์แล้วอยู่ในประเทศอินเดีย เม่ือพระพทุ ธศาสนามหายานได้เผยแผเ่ ขา้ มาสอู่ าณาจักรศรวี ิชัย ก็ได้มีกลุม่ คนทเี่ ล่ือมใสศรัทธา โดยจึง ได้สรา้ งรูปพระมัญชุศรโี พธสิ ัตว์ข้ึนไว้เพ่ือเคารพบูชา สาหรับเปน็ พระโพธิสตั ว์น้ีถือว่าเปน็ พระโพธิสตั ว์ ฝ่ายปัญญา มีหน้าท่ีคุ้มครองนักปราชญ์ ในงานพุทธศิลป์ท่ัวไป พระมัญชุศรีโพธิสัตว์มักปรากฏคู่กับ พระสมันตภัทรโพธิสัตว์ โดยพระมญั ชศุ รีอยู่บนสงิ โตเขียวสว่ นพระสมันตภัทรอยู่บนชา้ งสีขาว เป็นต้น ๓) เกาะชวา ใน พ.ศ. ๑๓๙๓ กษัตริย์แห่งราชวงศ์ไศเลนทร์ ได้ทรง สร้างเจดีย์บุโรบุโด เป็นสถูปเจดีย์ขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นตามคติความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกาย มหายาน สันนิษฐานว่าได้ทรงสร้างข้ึนใน พ.ศ. ๑๓๙๓ ปัจจุบันเจดีย์บุโรบุโดตั้งอยู่ทางภาคกลางของ เกาะชวาบนท่ีราบเกฑุ ทางฝั่งขวาใกล้กับแม่นา้ โปรโก ห่างจากยอกยาการ์ตา ทางตะวันตกเฉียงเหนือ ๔๐ กิโลเมตร บุโรพุทโธสร้างดว้ ยหินภเู ขาไฟประมาณ ๒ ล้านตารางฟุตบนฐานส่ีเหลี่ยม กวา้ งด้านละ ๑๒๑ เมตร สูง ๔๐๓ ฟตุ เป็นรูปทรงแบบปิรามิด มีลานเป็นชั้นลดหลั่นกัน ๘ ช้ัน และใน ๘ ช้ันน้ัน ๕ ชั้นลา่ งเป็นลาน ๔เหลยี่ ม ๓ ชั้นบนเป็นลานวงกลม สามวงกลมยอดโดมกลางและบนลานกลมชั้นสงู สุด มีพระสถูปต้ังสูงข้ึนไปอีก ๓๑.๕ เมตร เป็นมหาสถูปที่ระเบียงซ้อนกันเป็นช้ัน ๆ ลดหลั่นกันไป มหา สถปู มกี ารตกแต่งดว้ ยภาพสลัก ๒๖๗๒ ชน้ิ และ รูปปนั้ พระพุทธรปู ๕๐๔ องค์ โดมกลางล้อมรอบด้วย ๗๒ รปู ปั้น พระพทุ ธรูปแต่ละองค์น่งั อยู่ภายในสถูปเจาะรูปส่ีเหล่ียมขา้ วหลามตัดที่รอบล้อมสถปู ด้าน บนสดุ ๗๐ สาหรับพระมหาเจดยี ์บุโรบุโดในอินโดนีเซยี กล่าวได้วา่ นค้ี ือสัญลกั ษณ์แหง่ ความเป็นเอกภาพ ในด้านความเลื่อมใสศรทั ธาในสนสถานท่ีเป็นพยานในวิถคี วามเชื่อเดียวกันของกลุ่มชนท่ีเคยอาศัยใน อยใู่ นภูมภิ าคนม้ี าแล้วอยา่ งยาวนาน๗๑ ๒.๒.๒.๒ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยในภาคใต้ของไทย ได้ กล่าวมาแล้วว่าแหลมมลายูเมื่อก่อนเคยเป็นอาณาจักรศรีวิชัยท่ีมีอาณาบริเวณกว้างขวาง ครอบคลุม พ้ืนท่ีทางภาคใต้ตอนบนต้ังแต่จังหวัดสุราษฏร์ธานีลงไปทางภาคใต้ตอนล่างของประเทศไทยยาวไป จนถึงประเทศอินโดนเี ซียปัจจุบัน ดินแดนส่วนนี้ได้เคยเป็นเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาแล้ว ในสมัยอาณาอาณาจักรศรีวชิ ยั ซ่งึ ได้มีการสารวจพบหลักฐานทางโบราณคดีท้ังที่เป็นโบราณสถานและ โบราณวัตถุท่ีเก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนาจานวนมาก แสดงให้เห็นถึงร่องรอยของความเป็นเส้นทาง การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาสมยั ศรวี ิชยั ในภาคใตข้ องประเทศไทยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ดงั น้ี ๑) จังหวดั สุราษฎร์ธานี จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านีเปน็ เมืองเก่าแก่ในอดตี เคย เปน็ ดินแดนที่อยูใ่ นอาณาจักรศรีวชิ ัย เส้นทางการเผยแผ่พุทธศาสนาในเขตจังหวัดสุราษฎรธ์ านี น่าจะ มีจุดศูนยก์ ลางอยู่ที่ อาเภอไชยา เนื่องจากอาณาบรเิ วณซงึ่ เป็นที่ต้ังของอาเภอไชยยา จังหวัดสรุ าษฎร์ ธานี ในปจั จบุ ันไดเ้ คยเป็นศนู ย์กลางของความเจริญทง้ั ทางฝา่ ยอาณาจักรและศาสนจักรทส่ี าคญั ของศรี วิชัยในอดีต ซึ่งได้มีการสารวจพบหลักฐานทางโบราณคดีท้ังท่ีเป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุท่ี เก่ยี วขอ้ งกับพระพุทธศาสนาสมยั ศรีวิชัยเปน็ จานวนมากดงั น้ี ๗๐ https://th.wikipedia.org/wiki/โบโรบดู รู ์ ๒๑ ต.ค. ๕๙ ๗๑ ภูวดล แดนไทย, สถานการณ์ภาคใต้ เมอื่ ....นาวาไทยหลงทศิ . (ยะลา: จดั พมิ พโ์ ดย ศูนย์พทิ ักษ์ สวัสดภิ าพครู ๓ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และคณะ,๒๕๕๑), หน้า ๑๓๙.
๕๖ (๑) วัดพระบรมธาตุไชยา ตั้งอยู่ตาบลเวียง อาเภอไชยา จังหวัด สุราษฎร์ธานี เปน็ วดั เก่าแก่ในสมยั ศรวี ชิ ยั เพราะมลี กั ษณะทางศิลปะแบบศรวี ิชัย หรอื ท่ีเรียกกันว่าแบบ อนิ โดชวานีส อนั แสดงถงึ ความมีลักษณะร่วมกับศิลปะแบบศรีวิชัยในชวา ประเทศอินโดนีเซีย ยกเว้น ส่วนยอดขององคพ์ ระบรมธาตุ ที่มลี กั ษณะเปน็ แบบศิลปะไทย ในอดีตส่วนยอดของพระบรมธาตุในยุค แรกที่สร้างข้ึนน่าจะเป็นศิลปะแบบศรีวิชัยท้ังหมดแต่ต่อมาส่วนยอดได้มีการหักพังลงมาและหาย สาบสญู ไป เมอื่ มีการบูรณปฏิสงั ขรณ์ใหม่จงึ ได้ใช้ศลิ ปะแบบไทยแทนท่แี บบศรวี ชิ ัย ภาพที่ ๒.๓๐ พระบรมธาตุไชยา อาเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี (๒) วัดเวยี ง ตั้งอยู่ตาบลตลาด อาเภอไชยา จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี เดิมช่ือวัดเวียงไชยหรอื วัดหวั เวยี ง บริเวณวัดเวียงน้ีมีกาแพงและคูเมืองลอ้ มรอบ จึงเปน็ วัดประจาเมือง พระเวียงของไชยาต้ังแต่สมัยศรีวิชัย สร้างโดยพระเจ้าธรรมเสตุใน พ.ศ. ๑๓๑๘ ตั้งเป็นวัด พ.ศ. ๑๕๒๕ มีพระนาคปรกสาริดสูง ๑.๖ เมตร จารึกที่ฐานว่า “พ.ศ. ๑๗๒๖ มีพระราชโองการของพระ เจา้ ไตรโลกยราช (ท่ไี ชยา) วันขน้ึ ๓ ค่า เดือน ๗ วันพุธ ให้เสนาบดีช่ือตลาไน เจ้าเมอื งครหิ (กระบุรี) อาราธนาช่างหล่อชื่อมรแดง ศรีญาโน หล่อพระข้ึนด้วยสาริดหนัก ๑ ภาระ ๒ ตุละ ทองคา (ท่ีปิด) ๑๐ ตาลึง ให้มหาชนผู้ศรัทธา อนุโมทนาอยู่ที่นี่ จะได้ถึงสรรเพชรญาณ” ภายในวัดได้พบฐานศาสน สถานโบราณจมดิน ๒-๓ ม. มีกระปุกและหม้อหลายชนิดหลายสมัยบรรจุกระดูกและลูกปัดหินวาง ซ้อนกันท่ฐี าน ๒๐๐ กวา่ ใบ๗๒ และภายในวัดเวียงมพี ระพทุ ธรปู ปางมารวิชัยประดษิ ฐานอยู่ ๗๒ อา้ งองิ จากบนั ทึกภายในวดั เวียง อาเภอไชยา จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี
๕๗ ภาพที่ ๒.๓๑ พระพทุ ธรูปปางมารวิชัยที่พบภายในวัดเวียง (๓) วัดหลง ตงั้ อยรู่ ะหว่างวดั เวียงกบั วดั แกว้ อยูใ่ นเขตอาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ถูกสร้างขึ้นราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕ และถูกสร้างทับอีกครั้งในราวพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๘-๒๒ สันนิษฐานว่าเดิมชื่อวดั หลวงแล้วเพ้ียนเป็นวัดหลง โดยเชื่อกันว่าอาจเป็นหน่งึ ใน ปราสาท ๓ หลังท่พี ระเจา้ กรุงศรีวชิ ัยได้ทรงโปรดเกลา้ ให้สร้างข้ึนเพื่อถวายเป็นพทุ ธบชู าและถวายแก่ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี และพระโพธิสัตว์วัชรปาณี โดยมีหลักฐานทาง โบราณคดีทส่ี าคญั คือ ฐานเจดีย์หรือฐานปราสาท พระพิมพ์ดนิ ดิบ พระพุทธรูป เครื่องถว้ ยชามจนี จาก เตาหลวงฉวนสมัยราชวงศ์ซุ่งและหยวน เคร่ืองถ้วยชามจีนสมัยราชวงศ์หมงิ และชงิ เคร่ืองถ้วยสุโขทัย กระปกุ บรรจุอัฐิที่เผาแลว้ ฝังไว้ที่ฐานเจดยี ์ และมีเศษภาชนะดนิ เผาเนื้อดนิ ๗๓ เปน็ ต้น ภาพท่ี ๒.๓๒ วัดหลงในเมืองไชยา จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ๗๓ อ้างอิงจากบันทึกภายในบรเิ วณโบราณสถานวัดหลง อาเภอไชยา จังหวดั สุราษฎรธ์ านี
๕๘ (๔) เจดีย์วัดแก้ว ตั้งอยู่ในเขตอาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภายในบริเวณวัดแก้วมีเจดยี ์ซึงเป็นโบราณสถานท่ีสาคัญ มลี ักษณะเป็นอาคารทรงปราสาทขนาดใหญ่ กอ่ ด้วยอิฐใม่สอปูน มแี ผนผงั เป็นรูปกากบาท ซึง่ เปน็ ลกั ษณะแผนผังที่นิยมใชก้ ับโบราณสถานประเภท จันทิในประเทศอินโดนีเซีย มุขทางด้านทิศตะวันออกเป็นทางเข้าสู่ห้องโถงกลางหรือท่ีเรียกว่า ครรภคฤหะ ซึง่ ห้องดงั กลา่ วมีขนาดกวา้ ง ๔ เมตร ยาว ๔ เมตร ปัจจุบนั ประดิษฐานพระพุทธรปู ปูนปั้น ปางมารวชิ ัยขนาดใหญเ่ ปน็ ประธาน สว่ นด้านซ้ายและด้านขวาเปน็ ซุ้มกอ่ ด้วยอฐิ ด้านละซุ้ม ปัจจบุ ันใช้ ประดิษฐานพระพุทธรูป จากรปู แบบทางสถาปัตยกรรมของโบราณสถานเจดีย์วัดแก้วสันนษิ ฐานว่ามี อายุราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๔-๑๕ รว่ มสมยั กับพระบรมธาตุไชยาและโบราณสถานวัดหลง นอกจากน้ียัง มปี ริศนาลายแทงเล่าสบื กันมาวา่ “เจดียว์ ัดแกว้ ศรธี รรมาโศกสร้างแลว้ แลเห็นเรอื งรองส่ีเท้าพระบาท เหยียบปากพะเนียงทอง ผู้ใดคิดต้อง กินไม่สินเลย” เช่ือกันว่าเจดีย์วัดแก้ว อาจเป็นหนึ่งในปราสาท สามหลังที่พระเจ้ากรุงศรีวิชัยได้ทรงโปรดเกล้าให้สร้างข้ึนเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาและถวายแก่พระ โพธสิ ตั วอ์ วโลกิเตศวร พระโพธสิ ัตว์ปทั มปาณี และพระโพธิสตั วว์ ัชรปาณี ภาพท่ี ๒.๓๓ วัดแกว้ ในเมอื งไชยา จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ๒) จังหวัดนครศรีธรรมราช ในอดีตมีการเรียกดินแดนแถบน้ีอยู่หลาย ช่ือ เช่น ในคัมภีร์มหานิเทศของอินเดีย ท่ีเขียนขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ ๗-๘ เรียกว่า \"ตามพรลิงก์\" บันทึกโบราณของเมืองจีนเรียก \"เซ้ียะ-โท้ว (ถู-กวัว่ ) \", \"รกั ตะมฤติกา\" (จารึกภาษาสันสกฤต) ซึ่งล้วน หมายถึง \"ดินแดนที่มีดินสีแดง\", ตะวันตกนิยมเรียกกันมา จนกระท่ังต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ คือ \"ลิ กอร์\" สันนิษฐานว่าชาวโปรตุเกสที่เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น เป็นผู้เรียกก่อน โดยเพ้ียนมาจากคาว่า \"นคร\" ส่วนช่ือ \"นครศรีธรรมราช\" มาจากพระนามของกษัตริย์ผู้ครองนครใน อดีต มีพระนามวา่ \"พระเจ้าศรีธรรมาโศกราช\" (ราชวงศ์ศรีธรรมาโศกราช) มีความหมายว่า \"นครอัน เป็นสง่าแหง่ พระราชาผ้ทู รงธรรม\" หรือ \"เมืองแห่งพุทธธรรมของพระราชาผ้ยู ่ิงใหญ่\"๗๔ ดินแดนส่วนน้ี ในอดีตก็เคยเป็นเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในสมัยอาณาเป็นอาณาจักรศรีวิชัย หลักฐานทาง ๗๔ ประวตั จิ ังหวัดนครศรีธรรมราช,<https://sites.google.com/site/numod2536/canghwad.> ,September 2016.
๕๙ โบราณคดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่สารวจพบทั้งท่ีเป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุจานวนมาก แสดงใหเ้ ห็นถงึ ร่องรอยของเส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในสมยั ศรวี ิชัยได้ดงั น้ี (๑) วัดเสมาเมือง ได้มีพระราชาแห่งอาณาจักรศรีวิชัยได้ทรง สรา้ งศาสนสถานถวายพระพุทธเจ้า พระโพธิสัตวป์ ัทมปาณี และพระโพธสิ ัตว์วัชรปาณี ขึ้นไว้ ณ เมอื ง นครศรีธรรมราช เรื่องนี้มีเร่ืองราวบันทึกไว้ในประวัติการสร้างวัดเสมาเมือง ซึ่งต้ังอยู่ในอาเภอเมือง จังหวดั นครศรีธรรมราช ว่า พระเจ้าศรธี รรมโสกราช เปน็ ผทู้ รงสร้างวดั น้ีข้ึนเมอื่ พ.ศ. ๑๓๑๘ ภายหลัง จากที่ได้ทรงสร้างพระบรมธาตแุ ล้ว ๑๘ ปี สถานท่สี ร้างวดั นเี้ ป็นทาเลอยู่ใจกลางเมืองนครศรธี รรมราช ในสมัยนั้น มีพระประสงค์ท่ีจะให้ภิกษุ ฝ่ายมหายาน อยู่จาพรรษาเป็นแห่งแรก วัดน้ีได้เป็นต้นกาเนิด ของวัดท้ังหลายในเมืองนคร ในการสร้างวัดได้มีการสร้างศาสนสถานด้วยอิฐรวมสามหลัง เพื่ออุทิศ ถวายแด่พระพุทธองค์ผู้ทรงชานะมาร พระโพธิสัตวป์ ัทมปาณี และ พระโพธสิ ัตว์วัชรปาณี และมีสถูป ๓ องค์ ซึ่งพระราชทานนามว่า ชยนั ตะ สร้างขึ้นตามพระราชโองการของพระราชา (๒ ) วั ด พ ร ะ บ รม ธาตุ ต้ั งอ ยู่ ใน เข ต อ าเภ อ เมื อ ง จังห วั ด นครศรีธรรมราช ได้ปรากฏในทางโบราณคดีว่าเป็นวัดที่ถูกสร้างข้ึนโดยกษัตริย์ศรีวิชัยในยุคศรีวิชัย เรอื งอานาจ แม้ว่าเมืองนครศรีธรรมราชหรือตามพรลงิ ค์ในยุคนั้นจะมีฐานะเป็นประเทศราชอิสระจาก ศรีวิชยั แต่ด้านศิลปะก็ยังอยู่ภายใต้อิทธพิ ลของศรีวิชัยซ่ึงจะเหน็ ได้จากพระธาตุเจดีย์องค์เดิมมีศิลปะ แบบศรีวิชยั ดั้งเดิม แต่ถูกบูรณะสร้างทับเปน็ แบบเจดยี ์ทรงโอคว่าตามแบบศิลปะเถรวาทแบบลังกาใน ยุคที่อาณาจักรศรีวิชัยเร่ิมได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนาเถรวาทแบบลังกา ที่เผยแผ่เข้ามายังดินแดน แหง่ นี้ วัดพระบรมธาตุปจั จุบนั เปน็ ดงั น้ี ภาพที่ ๒.๓๔ วดั พระบรมธาตุ ตั้งอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ๓) จังหวัดพัทลุง เป็นจังหวัดหน่ึงท่ีมีความเป็นมายาวนานต้ังแต่ สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์ มกี ารสารวจพบหลักฐานขวานหนิ ขดั ในทอ้ งท่ีท่วั ไปหลายอาเภอในสมัยศรวี ชิ ัย ซึ่งมอี ายุอยู่ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ –๑๔ อาณาบรเิ วณที่เปน็ ดินแดนเมืองพทั ลุงในปัจจุบนั ในอดีตเคย เป็นแหล่งชุมชนที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดียในด้านพระพุทธศาสนานิกายมหายาน หลักฐานทาง โบราณคดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาท่ีมกี ารสารวจค้นพบ เช่น พระพิมพ์ดินดิบจานวนมากเป็นรูปพระ
๖๐ โพธสิ ัตว์ รปู เทวดาโดยได้สารวจพบบริเวณถ้าคหู าสวรรค์ และถ้าเขาอกทะลุ๗๕ แสดงให้เห็นถึงร่องรอย ของเส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาสมัยศรีวชิ ัยในอาณาบริเวณน้ีได้เปน็ อย่างดี โบราณสถานและ โบราณวตั ถทุ ่ีเกยี่ วกับพระพทุ ธศาสนาท่ีมีไดส้ ารวจพบมีดังตอ่ ไปน้ี (๑) วัดเขียนบางแก้ว ต้ังอย่ใู นเขตตาบลจองถนน อาเภอเขาชัยสน จังหวดั พทั ลุง เจ้าพระยากรุงทองซ่ึงเป็นเจา้ เมืองพัทลุงได้สร้างวัดเขียนบางแก้วข้ึนใน พ.ศ. ๑๔๘๒ ใน ยคุ สมัยอาณาจักรศรีวชิ ัยมีความเจริญรุ่งเรอื งอยู่ในเวลานั้น ครน้ั ถึง พ.ศ. ๑๔๙๓ เจ้าพระยากุมาร กับ นางเลอื ดขาว ได้อัญเชิญพระบรมสารรี ิกธาตุ จากประเทศศรลี ังกานามาบรรจุไว้ในพระมหาธาตุเจดีย์ ภายในบริเวณวัดบางแก้วแห่งน้ีได้มีการสารวจพบโบราณวัตถุสาคัญ ได้แก่ ศิวลึงค์และฐานโยนิ เป็น สัญลักษณข์ องศาสนาพราหมณ์-ฮินดู มีอายอุ ยู่ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๔ ด้วย สาหรับในวัดเขยี นบาง แกว้ น้ไี ดม้ ีพทุ ธศาสนสถานสาคัญท่ีสร้างขนึ้ ในสมัยศรวี ิชัยตงั้ อยู่ คือ พระมหาธาตุเจดียว์ ดั เขียนบางแก้ว มีศิลปะแบบศรีวิชัย แต่ด้วยเหตุท่ีพระมหาธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้วเดิมนั้นมีความเก่าแก่เพราะได้ ผ่านกาลเวลามายาวนานจึงเกิดชารุดทรุดโทรม เป็นเหตุให้มีการบูรณปฏิสังขรณ์ใหม่หลายคร้ัง จน กลายเป็นแบบลังกาเช่นเดียวกับพระบรมธาตุเจดีย์ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช อย่างไรก็ตาม พระ มหาธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว ก็ยังมีฐานพระเจดีย์ที่ยังคงเค้าเดิมอยู่ โดยฐานพระเจดีย์มี ๘ เหล่ียม ศิลปะแบบนี้ได้รับอิทธิพลจากศิลปะปาละของอินเดีย ซุ้มพระพุทธรูป ๓ ซุ้ม อิทธิพลของ ศลิ ปะแบบชวา ทรงระฆงั คว่า ลักษณะกอ่ อฐิ ฐานแปดเหลยี่ ม วดั โดยรอบยาว ๑๖.๕๐ เมตร สูงถึงยอด ๒๒ เมตร รอบพระมหาธาตุบริเวณฐานซุ้มพระพุทธรูปโค้งมน ๓ ซุ้ม กว้าง ๑.๒๘ เมตร สูง ๒.๖๓ เมตร สาหรบั พระมหาธาตุเจดยี ว์ ดั เขยี นบางแกว้ ในปัจจบุ นั เปน็ ดังนี้ ภาพที่ ๒.๓๕ พระมหาธาตเุ จดีย์วดั เขียนบางแกว้ จังหวดั พทั ลงุ ๔) จังหวดั ปตั ตานี เมอื งปตั ตานีเดมิ มีช่ือเรยี กว่า \"ลงั กาสุกะ\" สนั นิษฐาน ว่าต้ังข้ึนราวพุทธศตวรรษที่ ๗ แล้วกล่าวต่อมาดินแดนส่วนนี้ก็ได้ถูกผนวกเข้าไว้ภายใต้การปกครอง ๗๕ ประวตั จิ งั หวัดพทั ลุง, <http://www.phatthalung.go.th/history>,September 2016.
๖๑ ของอาณาจักรศรีวิชัย ช่วงที่พระพุทธศาสนามีอิทธิพลในอาณาจักรศรีวิชัยลังกาสุกะได้ตกอยู่ภายใต้ อานาจทางการปกครองของศรีวิชัย เป็นเหตุให้พระพุทธศาสนาในช่วงดังกล่าวได้แผ่ขยายเจริญขึ้นใน ดนิ แดนลังกาสุกะด้วย ในบันทึกฉบับหน่ึงของหลวงจนี อี้-ชิง ระบุว่าประเพณีวัฒนธรรมมลายูพุทธใน หมู่เกาะอินโดนีเซีย สมัยน้ันเจริญมากโดยเฉพาะในพุทธศตวรรษท่ี ๑๑ เชื่อว่าประเพณีดังกล่าวถูก นามายังเมอื งลงั กาสกุ ะนี้ด้วย เช่น ภาษาสนั สกฤต พระพุทธศาสนา ความรู้เกี่ยวกบั การเดนิ เรอื ศิลปะ การกอ่ สรา้ ง ดนตรี และเครื่องใช้ของราชนกิ ลู ๗๖ เป็นต้น (๑) เมืองโบราณในอาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีการสารวจพบ เมอื งโบราณในอาเภอยะรัง ประกอบดว้ ยคนู ้ารูปวงรี ลอ้ มรอบด้วยพุทธสถานอิฐ ๕ แห่ง นอกจากนี้ยัง พบหลกั ฐานคือสถูปจาลองดินเผา พระพิมพ์ดินดิบ ซ่งึ บางช้นิ ปรากฏหลักฐานมีจารึกตัวอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต ท่ีเป็นคาถาเก่ียวเนื่องกับพระพุทธเจ้า ซ่ึงในยุคสมัยดังกล่าวภาษาสันสกฤตและ พระพุทธศาสนานิกายมหายานได้มีอิทธิพลต่อดินแดนลังกาสุกะเป็นอยา่ งมาก ซึ่งจากหลักฐานต่าง ๆ เหล่านี้ น่าจะสร้างขึ้นสาหรับกราบไหว้บูชา ตามคติความเชื่อในพุทธศาสนามหายาน นิกายเจตยิ วาท และนามาเก็บรักษาไว้ภายในศาสนสถาน สันนิษฐานว่าน่าจะมีอายุอยู่ราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ เป็น อยา่ งน้อย๗๗ โบราณสถานและโบราณวัตถุที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาทม่ี ีได้สารวจพบในเมืองโบราณใน อาเภอยะรงั จังหวดั ปัตตานีส่วนหนึ่ง มภี าพปรากฏให้เห็นดังตอ่ ไปน้ี ภาพท่ี ๒.๓๖ เมืองโบราณ อาเภอยะรัง จงั หวัดปตั ตานี ในขณะที่ชัยค์ ฟากิฮฺ อาลี ตึงกู ผู้มีชีวิตในเมืองลังกาสุกะได้เล่าเกี่ยวกับเร่ืองราวของการ เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในดินแดนลังกาสุกะซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของอาณาจักรศรีวิชัยไว้แล้ว เร่ือง ดงั กล่าวเป็นที่มาของหนงั สือช่อื “ประวตั ิศาสตร์ปาตานี” ข้อความตอนหน่ึงมดี งั นี้ ๗๖ Ahmad Fathy al-Fatani. อา้ งใน ครองชัย หตั ถา, หน้า ๓๑-๓๒. ๗๗ เดชา สุดสวาท และคณะ. เอกสารประกอบการสัมมนา เร่ือง การศกึ ษาชมุ ชนโบราณเมืองปตั ตานี ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๐ ถึง ต้นพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๔.ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ,๒๕๓๖). หนา้ ๑๖.
๖๒ “...ตอ่ มาคนฮินดเี ดินทางเขา้ มา โดยน้าพระพุทธรูป เขา้ มาขายให้กับคนในลังกาสุกะ ชาว ฮินดีเหล่านันมาเผยแพร่ศาสนาพุทธ กราบไหว้พระรูป ชาวฮินดีเข้ามาและเผยแพร่ จนคนมลายู จา้ นวนมากเขา้ ไปห้อมล้อม การเผยแพร่ของชาวฮินดีนันอยู่กลางวงล้อมของชาวมลายู เขาจะเล่นกล และเป็นหมอรักษา จนคนมลายูสงสัยและคนจ้านวนมากท่ีเชอ่ื ถือเข้าไปนับถือศาสนาพุทธมากยิ่งขึน ทุกวัน จนกระทั่ง ราชาเองก็กราบไหว้พระพุทธรูปทุกคน จึงท้าให้พระพุทธรูปถูกสรา้ งขนึ มากมายใน ลงั กาสกุ ะ” “ท้านองเดียวกับศาสนาพุทธในลังกาสุกะ ในเวลาต่อมาคนก็เข้ารับนับถือ ศาสนาอิสลาม เปน็ ระยะ ๆ คนจีนก็เข้ามาจ้านวนมาก ในขณะนนั ชาวฮินดีก็เผยแพร่ศาสนาของเขาจนไปถึงเมืองจีน เช่นเดยี วกบั ในลงั กาสกุ ะ กระท่ังศาสนาพุทธมีคนเชื่อถือกนั มากในประเทศจีน เมอ่ื คราวชาวพทุ ธเข้า ไปนัน คนจีนบอกวา่ เป็นปีที่ส่ีร้อย ( ปคี ริสต์ศักราช 400 ) แต่ยังไม่แน่นอน เพราะในขณะนันยังไม่มีปี ฮจิ เราะห์ หลังจากศาสนาพุทธไดเ้ ข้าไป (ในลังกาสุกะ) นนั ส่วนใหญ่เปน็ พวกนักสอนศาสนาชาวฮนิ ดี ทา้ การสอนคนมลายู ในสมัยนนั ผู้หญิงผชู้ ายไมต่ ้องแตง่ งานกัน และไม่เป็นท่ีต้องห้ามในการหลบั นอน ร่วมกัน ผู้หญิงมอี สิ ระเสรี หลอ่ นต้องการจะอย่กู ับใครกไ็ ด้” “ต่อมา มีเร่ืองราวเกียวกับชาวอินเดีย ได้มาติดต่อสัมพันธ์กับชาวปานานี ในขณะนันมี ความใกล้ชิดกันมาก เพราะศาสนาพุทธมคี วามเจริญรุ่งเรือง และย่ิงใหญ่ มกี ารน้าหลักค้าสอนศาสนา พุทธเข้ามาในเมืองนีและในเมืองมุลกุลชวาศาสนาพุทธก็เจริญรุ่งเรืองเชน่ เดียวกัน และยงั แผเ่ ขา้ มาถึง เมืองปาตานี คนเฒ่าคนแก่เล่าว่าการเผยแผ่ศาสนาพุทธนันได้เกิดมีภาษาสันสกฤตและบาลี มี พระพุทธรูปเกิดขึนมากมาย การแต่งกายด้วยสีเหลืองเกิดขึนมาก ราชาและข้าราชบริพารรวมทัง ราษฎรทวั่ ไปต่างพากันไปฟังคา้ สอนของศาสนาพุทธในอุโบสถของพุทธศาสนาเตม็ ไปด้วยพระพุทธรูป” ๗๘ จากข้อความตรงนี้แสดงให้เห็นว่าเส้นทางการเผยแผ่มาพระพุทธศาสนามาสู่จังหวัด ปั ต ต า นี ห รื อ ดิ น แ ด น ลั ง ก าสุ ก ะ สมั ย น้ั น มี ค น ช าว อิ น เดี ย เป็ น ผู้ เผย แ ผ่ โด ย น าสั ญ ลั ก ษ ณ์ ใน ท า ง พระพุทธศาสนาคือพระพุทธรูปเข้ามาขายให้กับคนในลังกาสุกะ มีเทคนิคในการเผยแผ่ท่ีดึงดูดทาให้ คนหันมาสนใจในพระพุทธศาสนา เช่น การเล่นกล และเป็นหมอรักษา เป็นต้น ทาให้คนจานวนมาก นบั ถอื พระพทุ ธศาสนามากยงิ่ ขน้ึ ทกุ วนั จนกระท่งั ราชาเองก็ได้หันมานบั ถือพระพุทธศาสนา และกราบ ไหว้พระพุทธรูป จึงทาให้พระพุทธรูปถูกสร้างมากมายในอาณาจักรลังกาสุกะ สมัยน้ัน มีคากล่าวว่า การแต่งกายด้วยสเี หลืองเกดิ ข้ึนมาก คาทกี่ ลา่ วถงึ สีเหลืองตรงนนี้ า่ จะหมายถึงพระสงฆ์ท่ีเปน็ นักบวชใน พระพุทธศาสนาซ่ึงเป็นผู้ท่ีห่มจีวรเหลือง ราชาและขา้ ราชบริพารรวมท้ังราษฎรท่ัวไปต่างพากันไปฟัง คาสอนของศาสนาพุทธ ในอโุ บสถของพระพทุ ธศาสนาเตม็ ไปด้วยพระพุทธรปู เปน็ ต้น ๕) จังหวัดยะลา ในอดีตคือส่วนหนึ่งของอาณาจักรลังกาสุกะดังที่ได้ กลา่ วมาแลว้ ในตอนทวี่ า่ ด้วยเร่ืองเส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาในจังหวัดปัตตานี สาหรบั เรื่องราว เรื่องราวเกี่ยวกับเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในจังหวัดยะลาที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ ก็จะใช้วิธี ๗๘ ชัยค์ ฟากิฮฺ อาลี ตงึ กู, ประวตั ิศาสตร์ ปาตานี อารฟี ิน ตึงกูจิ แปล.(กรุงเทพมหานคร: มสุ ลิมนิวส์ , ๒๕๕๔), หนา้ ๓๖ – ๔๒.
๖๓ เดียวกนั กบั ที่ได้ศกึ ษามาแล้ว คือ อาศัยข้อมูลที่สารวจพบจากหลักฐานทางโบราณคดีเป็นหลัก สาหรับ โบราณสถานและโบราณวตั ถทุ ่ีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่ไดส้ ารวจพบในจงั หวดั ยะลามดี งั น้ี (๑) วัดคูหาภิมุข ต้ังอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังหวัดยะลา หลักฐาน ทางโบราณคดีที่เก่ียวข้องกับพระพุทธศาสนาสมัยศรีวิชัยที่สารวจพบในวัดคูหาภิมุข คือ ตานาน พื้นเมือง เป็นการเล่าถึงเร่ืองราวเก่ียวกับเหตุการณ์ ในครั้งท่ีมีการสร้างพระบรมธาตุเมือง นครศรีธรรมราช ในขณะน้ันว่า เจ้าเมืองต่าง ๆ ที่อยู่ในอาณาบริเวณอาณาจักรศรีชัย ได้เป็นผู้อยู่ ภายใต้อานาจการปกครองของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรศรีวิชัย อันได้แก่ เมืองพัทลุง ปัตตานี กลันตัน ตรงั กานู ป่าหัง และเมืองไทรบุรี กษัตริย์เหล่าน้ันเม่ือได้ทราบข่าวการสร้างพระบรม ธาตุของพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรศรีวิชัย จึงใคร่จะร่วมการกุศลด้วย จึงได้พากันนาสิ่งของ ต่าง ๆ บรรทุกเรือสาเภา แล่นใบมายังเมืองนครศรีธรรมราช เพ่ือจะร่วมสร้างพระบรมธาตุ แต่เม่ือ เดินทางมาถึงก็ปรากฏว่า พระบรมธาตุได้สร้างเสร็จแล้ว บรรดาเจ้าเมืองต่าง ๆ ดังกล่าวเม่ือไม่ได้มี โอกาสร่วมพระบรมธาตุ ก็เดินทางกลับเมืองตนดว้ ยความผิดหวัง เมอ่ื เรอื แล่นมาถึงชายทะเลแหง่ หนึ่ง เห็นมีภูเขาสูงใหญ่อยู่รมิ ฝั่งทะเลก็พากันจอดเรือแวะพัก แล้วขึ้นไปสารวจดูเขาลูกน้ัน ก็ได้พบถ้าใหญ่ แห่งหนึ่ง ภายในถ้ามีความวิจติ รงดงามยิ่งนัก บรรดาเจา้ เมืองต่าง ๆ เหล่าน้ันจงึ ได้ปรกึ ษาหารือกนั ว่า เมอื่ ไม่ได้มีโอกาสสร้างพระบรมธาตุแลว้ ก็นา่ จะมาชว่ ยกันสร้างพระพุทธไสยาสน์ขึ้นไว้ในถา้ แห่งน้ี จึง ได้ร่วมกันสร้างพระนอนองค์ใหญ่ ขึ้นเม่ือประมาณปี พ.ศ. ๑๓๐๐ มีขนาดยาวประมาณ ๘๑ ฟุต วัด รอบองค์พระ ได้ ๓๕ ฟุต พระบาทท้ังสองซ้อนกันสูงประมาณ ๑๐ ฟุต๗๙ นอกจากน้ี ภายในถ้าวัด คูหาภิมุข ยังเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์ศรีวิชัย อันเป็นท่ีเก็บวัตถุโบราณที่สารวจพบจากถ้าต่าง ๆ ใน ตาบลหน้าถ้า อันได้แก่ ภูเขาวัดถ้า ภูเขากาป่ัน ต่อมากรมศิลปากรได้ค้นพบพระพิมพ์ดินดิบและ พระพทุ ธรปู สมยั ศรีวชิ ยั พระพทุ ธไสยาสน์ วดั คหู าภิมุข ( วดั ถา้ ) จังหวดั ยะลา ปัจจบุ ันเป็นดงั ในภาพนี้ ภาพท่ี ๒.๓๗ พระพุทธไสยาสน์ วัดคหู าภมิ ขุ ( วัดถ้า) จงั หวัดยะลา ๗๙ http://www.dhammathai.org/thailand/bi22.php ออนไลน์วันที่ ๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙
๖๔ สรุปการศึกษาเรื่องราวเก่ียวกับภูมิศาสตรว์ ัฒนธรรมเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในอาณาจักรศรวี ิชยั ซ่ึงได้ศึกษามาแล้วทั้งหมดในหัวขอ้ แบง่ เป็น ๒ เส้นทาง คอื ๑) เส้นทางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาในแหลมมลายูในหมูเ่ กาะอนิ โดนีเซียพุทธศาสนาไดม้ ีความเจรญิ รุ่งเรืองและแพร่หลาย อ ยู่ ใน ห มู่ เก า ะ ช ว า ก ลุ่ ม ค น ใน อ า ณ า บ ริ เว ณ น้ี ไ ด้ ให้ ก า ร ย อ ม รั บ แ ล ะ มี ค ว า ม เลื่ อ ม ใส ศ รั ท ธ า ใ น พระพุทธศาสนา มีการการสร้างศาสนสถาน ศาสนวัตถุ ศิลปวัตถุ มากมาย เช่น มหาสถูปโบโรบูดูร์ เป็นสถานท่ีท่องเทีย่ วท่ีมชี ื่อเสียงของประเทศอินโดนีเซียทสี่ ามารถดึงดดู นักท่องเท่ียวทั่วโลกให้เข้ามา เที่ยวชมความงามของพุทธศาสนสถานแห่งนี้ องค์การยูเนสโกได้ประกาศให้บุโรพุทโธเป็นมรดกโลก เมือ่ พ.ศ. ๒๕๓๔ นคี้ ือความสาเรจ็ ทง่ี ดงามของการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาอาณาบรเิ วณน้ใี นอดตี และ ๒) เส้นทางการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาแหลมมลายูในประเทศไทย เห็นไดว้ า่ พระพทุ ธศาสนาไดม้ ีความ เจริญรุ่งเรืองอยู่ในและแพร่หลายอาณาอยู่ในอาณาบริเวณตั้งแต่ภาคใต้ตอนบนคือต้ังแต่จังหวัด สุราษฏรธ์ านีลงไปตามลาดับจนถงึ ภาคใต้ตอนล่างสุดคือในจังหวัดยะลาของประเทศไทยปจั จุบัน ตาม เสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในอาณาบรเิ วณนี้ไดพ้ บร่องรอยความเจริญรงุ่ เรืองของพุทธศาสนา ในสมัยอาณาจักรศรีวิชัยปรากฏตามตามหลักฐานทางโบราณคดีกระจายอยู่ในพื้นหลายจังหวัด เช่น จงั หวดั สุราษฏร์ธานี จังหวัดนครศรีธรรมราช จงั หวัดพัทลุง จังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา เป็นต้น หลักฐานต่าง ๆ เหล่านี้เป็นภูมิศาสตร์ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และพระพทุ ธศาสนา เปน็ ความสาเร็จท่งี ดงามของการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาอาณาบรเิ วณนี้ในอดตี ๒.๒.๓ หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏตามเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาใน ประเทศไทยสมัยศรีวชิ ัย จากการสืบค้นจารึกสมัยทวารวดี พุทธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๘ พบว่าได้มีการ สารวจพบหลักพทุ ธธรรมท่ีปรากฏในหลกั ฐานทางโบราณคดตี ามเส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาใน ประเทศไทยสมัยศรีวิชัย ตัง้ แต่บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานีลงไปจนถึงใต้สุด คือ บรเิ วณจังหวัดปัตตานี ซ่งึ ยุคสมยั ของอาณาจักรศรีวิชัยน้ีมีอายุคาบเกี่ยวกนั กับยุคสมัยของอาณาจักรทวารวดี กล่าว คือ ช่วง อายุของทวารวดีมีอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๖ แต่อาณาจักรศรีวิชัยมีอาอยู่ในช่วงพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๓-๑๘ จะเห็นว่าอาณาจกั รศรีวิชยั เกิดภายหลังอาณาจักรทวารวดีประมาณหน่ึงศตวรรษ แตม่ ีอายุสิ้นสุดภายหลงั อาณาจักทวารวดีประมาณสองสตวรรษ ดงั นั้นเพื่อให้มีความชดั เจนง่ายต่อการ ทาความเข้าใจเกี่ยวกบั ช่วงเวลาของยคุ สมัยท่ีทาการศึกษา สาหรับในงานวจิ ัยเร่ืองนถ้ี ือว่าหากจารึกใด เกดิ ขึ้นในช่วงพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ แมว้ ่าจารกึ นั้นจะอย่ใู นทางภาคใต้ของไทยก็ให้ถือว่ามอี ายอุ ยู่ในสมัย ทวารวดี แต่ถ้าจารกึ ใดเกดิ ขึ้นในภาคใตข้ องไทยต้ังช่วงศตวรรษท่ี ๑๓-๑๘ ใหถ้ ือว่ามีอายุอยใู่ นสมัยศรี วิชัย ในการศึกษาได้แบ่งพื้นที่ภาคใต้ออกเป็น ๒ ตอนดังนี้ ๑) จารึกหลักพุทธธรรมท่ีพบแถบภาคใต้ ตอนบน ๒) จารกึ หลกั พทุ ธธรรมท่ีพบแถบภาคใตต้ อนลา่ ง แตล่ ะหวั ขอ้ จะได้นามาศกึ ษาตามลาดบั ดงั น้ี ๒.๒.๓.๑ จารึกหลักพุทธธรรมท่ีพบแถบภาคใต้ตอนบน คือ บริเวณพ้ืนท่ี ๗ จังหวัดต่อไปนี้ ได้แก่ ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา นครศรีธรรมราช กระบี่ และ ภูเก็ต จะได้ นาเสนอให้เห็นไว้สกั ๑ ตวั อย่างดงั น้ี
๖๕ ๑) จารึกวดั เสมาเมือง (Wat Sema Mueang Inscription) เป็ น ภ า ษ า สนั สกฤต อักษรหลงั ปัลลวะ วัตถุจารึก คอื ศิลาแผน่ รูป ใบเสมา กว้าง ๕๐ ซม. สูง ๑๐๔ ซม. หนา ๙ ซม. จานวน ๒ ดา้ น มี ๓๓ บรรทดั ดา้ นท่ี ๑ มี ๒๙ บรรทัด ด้านที่ ๒ มี ๔ บรรทัด มีอายุอยู่ใน พ.ศ. ๑๓๑๘ คือ มี อายุราวต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๔ ปีที่พบจารึก คือ พ.ศ. ภาพท่ี ๒.๓๘ จารกึ วดั เสมาเมือง ดา้ นท่ี ๑ ๒๔๕๐ สถานที่พบ คือ วัดเสมาเมือง ตาบลเวียงศักด์ิ อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้พบจารึก คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงรา ชานุภาพ ปัจจุบันอยู่ทพ่ี ิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ซ่ึงศูนย์มานษุ ยวทิ ยาสิริน ธร (องค์การมหาชน) ได้ใหเ้ น้อื หาโดยย่อไวด้ ังน้ี เน้ือหาโดยย่อของจารึกวัดเสมาเมือง ด้านท่ี ๑ เน้ือความตอนต้นเป็นการสรรเสริญความ ยิ่งใหญข่ องพระเจา้ กรงุ ศรีวชิ ัย ชว่ งต่อมากลา่ วถงึ พระบรมราชโองการใหพ้ ระเถระนามวา่ ชยนั ตะ สร้าง ปราสาทอิฐ ๓ หลัง เพ่ือถวายให้เป็นท่ีประทับแด่พระมนุษยพุทธ พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี และ พระ โพธิสตั ว์วชั รปาณี ต่อมาเม่ือชยันตเถระมรณภาพ ลกู ศิษยข์ องท่านคืออธมิ ุกตเิ ถระ ได้สรา้ งปราสาทอิฐ ขึน้ อีก ๒ หลัง ใกล้ ๆ กัน ส่วนด้านท่ี ๒ น้ัน กล่าวว่า พระเจ้ากรุงศรีวิชัยพระองค์น้ี พระนามวา่ “ศรี มหาราชา” เป็นมหากษัตริย์ในไศเลนทรวงศ์ ยิ่งใหญ่เหนือ กษัตริย์ท้งั ปวง เปรียบไดด้ ่ังพระวิษณุองค์ท่ี ๒ การกาหนด อายุ ในจารึกด้านท่ี ๑ บรรทัดท่ี ๒๖ บอกมหาศักราช ๖๙๗ ซ่ึงตรงกับ พ.ศ. ๑๓๑๘๘๐ จารึกวัดเสมาเมืองน้ีมิได้ บอกถึงหลักพุทธธรรมโดยตรงแต่มีเน้ือหาที่เกี่ยวกับเร่ือง การทาบุญด้วยการให้ทานในพระพุทธศาสนา คือ มีการ ภาพที่ ๒.๓๙ จารกึ วัดเสมาเมอื ง ด้านที่ ๒ สรา้ งปราสาทอิฐ ๓ หลงั เพอ่ื ถวายใหเ้ ปน็ ท่ปี ระทับแดพ่ ระ มนุษยพทุ ธ พระโพธสิ ัตว์ปัทมปาณี และ พระโพธิสัตว์วัชร ปาณี ตามหลักความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน เปน็ ตน้ ๒.๒.๓.๒ จารึกหลักพุทธธรรมท่ีพบแถบภาคใต้ตอนล่าง คือ บริเวณพ้ืนที่ ๗ จงั หวัดต่อไปนี้ ได้แก่ ตรงั พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และ นราธิวาส จะได้นาเสนอให้เห็นไว้ สัก ๑ ตวั อย่างดงั นี้ ๘๐ ศู น ย์ ม านุ ษ ยวิท ยาสิ ริน ธร (องค์ ก ารม ห าช น ), ฐาน ข้ อมู ล จ ารึ ก ใน ป ร ะ เท ศ ไท ย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=323>, 18 January 2016.
๖๖ จารึกพระสถูปพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย เปน็ ภาษาบาลี อักษรหลังปลั ลวะ วตั ถุจารึก คือ ดนิ ดิบ ถ้าเขานุ้ย จังหวัดตรงั จานวน ๑ ด้าน มี ๕ บรรทัด มีอายุอยู่ใน พุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ ปีท่ีพบจารึก คือ พ.ศ. ๒๕๕๕ สถานที่พบ คือ ถ้าเขานุ้ย จังหวัดตรัง ผู้พบจารึก คือ สานัก ศิลปากรที่ ๑ ๕ ภูเก็ ต ปัจจุบัน อยู่ สานัก ศิลปากรที่ ๑๕ ภูเก็ต ๒๑๗/๓ หมู่ ๓ ตาบลศรี สุนทร อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ซึ่งศูนย์ ภาพท่ี ๒.๔๐ จารึกพระสถปู พมิ พด์ ินดบิ เขานุ้ย ด้านท่ี ๑ มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ได้ บนั ทกึ เนอื้ หาโดยยอ่ ไว้ดังน้ี เน้ือหาโดยย่อของจารึกพระสถูปพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย มีการจารึกหลักพุทธธรรมเป็นคาถา เย ธมฺมาฯ เป็นพระคาถาที่พระอสสชิ ได้แสดงแก่อุปติสสะ ภายหลังกลับจากเข้าไปบิณฑบาตใน กรงุ ราชคฤห์ ซง่ึ เปน็ คาถามีท่ีมาอยู่ในพระวนิ ยั มหาวรรค พระคาถานแ้ี ปลเปน็ ภาษาไทยได้ว่า “ธรรมเหลา่ ใดเกดิ แต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตแุ หง่ ธรรมเหล่านัน และความดับแห่งธรรมเหล่านนั พระมหาสมณะมีปกติตรสั อยา่ งนี”๘๑ เปน็ ท่ีนา่ สังเกตว่าในพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ซึ่งอยู่ในสมัยทวารวดีนัน้ ได้มกี ารสารวจพบจารึก หลกั พุทธธรรมในแถบภาคใต้ตอนล่างอยูหลายช้นิ เช่น จารกึ เยธมมฺ าฯ บนพระพิมพ์ดนิ ดิบเมืองยะรัง ชินที่ ๒ เป็นภาษาสันสกฤต อกั ษรปัลลวะ วัตถุจารึก คือ พระพิมพ์ดนิ ดิบ จานวน ๑ ด้าน มี ๒ บรรทัด มีอายุอยู่ใน พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ปีที่พบจารึก คือ ๑๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๒ สถานที่พบ คือ โบราณสถาน เมืองยะรัง อาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ผู้พบจารึก คือ หน่วยศิลปากรที่ ๙ ปัจจุบันไม่ ปรากฏว่าอยู่ ณ ท่ีใด พระพิมพ์องค์นี้เป็นโบราณวัตถุหนึ่งในหลาย ๆ ชิ้นท่ีได้จากการขุดแต่ง โบราณสถานเมืองยะรัง อาเภอยะรัง จงั หวดั ปัตตานี เมื่อราว พ.ศ. ๒๕๓๒ ก่องแก้ว วรี ะประจักษ์ ได้ ทาการศึกษาโบราณวัตถุที่มีจารึกปรากฏอยู่ ซ่ึงมีอยู่ด้วยกัน ๙ ชิ้น เป็นพระพิมพ์ดินดิบ ๓ ช้ิน เป็น พระสถูปพิมพ์ดินดิบ ๕ ชิ้น และ เป็นพระสถูปดินเผา ๑ ชิ้น โดยตีพิมพ์ในวารสารศิลปากร ปีที่ ๓๓ ฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๓) ต่อมา ชะเอม แก้วคล้าย ได้เขียนบทความเรื่อง “จารึก เย ธมฺมาฯ” และได้ กล่าวถึงจารกึ กลุม่ ท่ีพบท่ีเมืองยะรังนด้ี ้วยเช่นกนั พระพิมพ์นี้ ทาด้วยดินดิบ ลักษณะเปน็ การพมิ พ์จาก แม่แบบทาเป็นภาพนูนต่ารูปพระพุทธเจ้าประทับน่ังสมาธิราบ เหนือปัทมบัลลังก์ ตรงกลาง มีสถูป ขนาบอย่สู องข้าง ภาพทัง้ หมดลอยตวั อยูเ่ หนืออกั ษรจารึก พระพิมพ์ดนิ ดบิ น้นั นิยมสร้างข้ึนเพื่อบรรจุ อฐั ิธาตขุ องพระสงฆเ์ ถระผูเ้ ป็นครูอาจารยเ์ มอ่ื มรณภาพ และเผาศพแล้วก็นาอัฐิธาตมุ าโขลกเคลา้ กับดิน พิมพ์พระพุทธรูปหรือรูปสถูปไว้ การสร้างพระพิมพ์ดินดิบเช่นน้ี มีความประสงค์เพียงเพ่ือปฏิบัติ ๘๑ วิ.ม. (ไทย) ๔/๖๐/๗๓.
๖๗ ประโยชน์อันเป็นหนทางบุญให้แก่ผู้มรณภาพเท่านั้น มิได้สร้างขึ้นเพ่ือการสืบอายุพระพุทธศาสนา เน้ือหาโดยย่อของที่จารึกบนพระพิมพ์น้ี ต้นประโยคชารุดเล็กน้อย คาสมบูรณ์คงเป็น ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นั่นคือ พระอริยสัจ ๔ นั่นเอง พระอริยสัจ ๔ น้ี ในภาคกลางของประเทศไทยช่วงพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๒ ซ่ึงอยู่ภายใต้วัฒนธรรมทวารวดี ก็นิยมจารึกคาพรรณนาถึงพระอริยสัจ ๔ ไว้บนพระ ธรรมจกั รด้วย๘๒ เปน็ ต้น แสดงใหเ้ หน็ วา่ พระพุทธศาสนาได้เข้ามาสดู่ นิ แดนนก้ี อ่ นสมยั ศรีวิชยั แล้ว หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดีตามเสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในประเทศไทยสมัยศรีวิชัย ช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘ คือ หลักพุทธธรรมท่ีสารวจพบในภาคใต้ ตอนบน คือ หลักธรรมเรอ่ื งการทา้ บญุ เช่น จารึกวดั เสมาเมือง ท่สี ารวจพบในวดั เสมาเมือง ตาบลเวียง ศักดิ์ อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการให้ทานในพระพุทธศาสนา คือ สร้างปราสาทอิฐ ๓ หลัง เพื่อถวายให้เปน็ ท่ีประทับแด่พระมนุษยพุทธ พระโพธิสัตว์ปัทมปาณี พระโพธิสตั วว์ ัชรปาณี ตาม หลักความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน และ หลักพุทธธรรมท่ีสารวจพบในภาคใต้ตอนล่าง คือ หลักพุทธธรรมเรื่องอริยสัจ ๔ เช่น จารึกพระสถูปพิมพ์ดินดิบเขานุ้ย ซ่ึงสารวจพบที่ถ้าเขานุ้ย จังหวดั ตรัง มีการจารกึ หลกั พุทธธรรมเปน็ คาถา เย ธมฺมาฯ ซึง่ เป็นคาถามีทมี่ าอยใู่ นพระวนิ ยั มหาวรรค และ พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ซึ่งอยู่ในสมัยทวารวดีช่วงก่อนอาณาจกั รศรีวชิ ัยนน้ั กไ็ ดม้ กี ารสารวจพบจารึก หลักพุทธธรรมในแถบภาคใต้ตอนล่างอยูหลายชิ้นเหล่าน้ีเป็นสิ่งแสดงให้เห็นว่า พระพุทธศาสนาได้มี การเผยแผเ่ ข้ามาสูด่ ินแดนน้กี อ่ นการเกิดข้นึ ของอาณาจกั รศรีวิชัยแล้ว เป็นต้น สรุป ประวัตศิ าสตร์ เส้นทางการเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา และหลักพุทธธรรมที่ปรากฏใน หลกั ฐานทางโบราณคดีตามเส้นทางการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาสมัยทวารวดแี ละศรีวิชัย ท่ีได้ศกึ ษา ทั้งหมดในบทน้ีมขี อ้ คน้ พบที่นา่ สนใจดงั นี้ ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี บริเวณดังกล่าวเคยเป็น อาณาจักรฟูนันที่มีอาณาเขตกว้างขวางครอบคลุมลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาภาคกลางของไทยและแถบลุ่ม แม่น้าโขงอันได้แก่เขมรและเวียดนามในปัจจุบัน ซึ่งพระพุทธศาสนาได้เคยเจริญรุ่งเรืองมาก่อนแล้ว กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่บริเวณน้ีเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา เห็นได้จากหลักฐานทางโบราณคดีท่ี สารวจพบ เช่น จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาบาลี บนพระพมิ พ์ ๑ (เมตเตยยโก) มีอายุอยูใ่ นพุทธศตวรรษ ท่ี ๑๑ - ๑๒ สารวจพบที่ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ อ่ทู อง จังหวดั สพุ รรณบรุ ี จารึกอักษรปลั ลวะ ภาษา บาลี บนพระพิมพ์ ๒ (สารีปุตโต) มีอายุอยู่ในพุทธศตวรรษที่ ๑๑ – ๑๒ สารวจพบที่เจดีย์หมายเลข ๑๑ เมอื งโบราณอทู่ อง จงั หวัดสุพรรณบุรี และ จารึกอักษรปลั ลวะ ภาษาบาลี บนพระพมิ พ์ ๖ (ปณุ โณ สุนาปรันโต) มอี ายอุ ยู่ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๑ - ๑๒ สารวจพบพบทเ่ี จดีย์หมายเลข ๑๑ เมอื งโบราณอู่ ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นต้น จารึกเหล่านี้อยู่ในช่วงเปล่ียนผ่านของสมัยฟูนันเข้าสู่สมัยทวารวดี ๘๒ ศนู ย์มานษุ ยวทิ ยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน), ฐานข้อมลู จารึกในประเทศไทย, < http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=733 >, 18 January 2016.
๖๘ อาณาจักรฟูนันส้ินสดุ ลงเพราะอาณาจักรเจนละเข้าปกครองในปี พ.ศ.๑๐๘๒ ซึ่งอยู่ในศตวรรษที่ ๑๑ ตอ่ จากน้ันอาณาจักรทวารวดีกไ็ ด้ถอื กาเนดิ ข้นึ มาในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ อาณาจักรทวารวดีนี้น่าจะมีศูนย์กลางอยู่ในภาคกลางของประเทศไทยปัจจุบัน โดยมีจุด เริ่มอาณาเขตครอบคลุมดินแดนตั้งแต่เมืองสะเทิมในประเทศพม่ามาจนถึง ภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ศูนย์กลางของอาณาจักร ในระยะแรก สนั นษิ ฐานวา่ ต้งั อยทู่ ่ีเมืองอทู่ อง จังหวดั สุพรรณบุรี ตอ่ มาอาจย้ายไปอยู่ทเี่ มอื งนครปฐม หรอื ไม่กอ็ ยทู่ ี่คู บัว ในเขตจังหวัดราชบุรีปัจจุบัน เน่ืองจากบริเวณท้ัง ๓ แห่ง มีร่องรอยเมืองโบราณ ศิลปวัตถุ และ โบราณสถานแบบทวารวดีเหมือน ๆ กันจานวนมาก เช่น พระพุทธรปู สมัยอมราวดี และท่นี ครปฐมยัง ได้พบรูปเคารพในพุทธศาสนาก่อนสมัยท่ีจะมีการสร้างพระพุทธรูปอีกด้วย เช่น พระธรรมจักร โพธิบัลลังก์ เป็นต้น ในสมัยทวารวดีนี้กลุ่มคนนับถือพระพุทธศาสนา เน่ืองจากมีร่องรอยของ พระพุทธศาสนา ได้ปรากฏให้เหน็ ทงั้ ในโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศลิ ปวัตถุ ในภมู ิภาคต่าง ๆ ของ ประเทศไทยเป็นจานวนมาก อาณาจักรทวารวดีส้ินสุลงในพุทธศตวรรษที่ ๑๖ เนื่องจากอานาจของ ขอมท่ีมีอิทธิพลเข้ามาปกครองดินแดนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางของประเทศไทย ทาให้อาณาจักรทวารวดีต้องหมดอานาจลง การเกิดข้ึนของอาณาจักรทวารวดีเป็นการวางรากฐานที่ สาคัญทางศลิ ปวัฒนธรรมให้แกช่ าติไทยที่ปรากฏให้เหน็ สืบตอ่ มาจนถึงปัจจุบัน เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยทวารวดี จากหลักฐานทาง โบราณคดีสมยั ทวารวดีท่ีคน้ พบตามท่ีตา่ ง ๆ เปน็ สงิ่ แสดงให้เหน็ ว่า พระพุทธศาสนาจากอนิ เดยี เมื่อเข้า มาสู่ทวารวดีแล้วก็ได้เผยแผ่ไปยังอาณาจักรต่าง ๆ คือ ด้านทิศเหนอื เผยแผ่ไปยังอาณาจักรโยนกเชียง แสน ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันนออกเผยแผ่ไปยังอาณาจักรอิศานปุระหรือเจนละ ด้านทิศใต้เผยแผ่ไปยังอาณาจักรศรีวิชัย และ ด้านทิศตะวันตกเผยแผ่ไปยังอาณาจักรศรีเกษตรหรือ พกุ าม เป็นตน้ เหตุที่ทาใหพ้ ระพุทธศาสนาเผยแผไ่ ปยงั อาณาจักรต่าง ๆ ได้อยา่ งสะดวกและกวา้ งขวาง เพราะไดม้ ีปจั จัยท่ีเกอื้ หนนุ อยา่ งน้อยสามประการดังน้ี ๑) ดา้ นรปู แบบวัฒนธรรมพุทธ เปน็ วฒั นธรรมที่มคี วามยืดหยนุ่ สูง เม่ือได้แผ่ขยายเข้าไปสู่ อาณาจักรต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในช่วงเวลานั้น ได้มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมของ พื้นที่น้ัน ๆ จึงสามารถปรบั ตัวเขา้ กบั วฒั นธรรมในอาณาจกั รเหลา่ น้ันไดอ้ ย่างลงตวั ๒) ด้านเสน้ ทางคมนาคมทางน้าสะดวก เนื่องจากเมืองตา่ ง ๆ ที่รบั วัฒนธรรมไปจากทวาร วดี โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่น้าเจ้าพระยามีลาน้าติดต่อถึงกันได้หลายสาย และมีการติดต่อค้าขายกัน โดยใช้เส้นทางน้าในการขนส่งสินค้า การแผ่ขยายทางวัฒนธรรมพุทธจากอาจักรทวารวดีไปยัง อาณาจักรอ่ืน ๆ จึงทาได้ง่ายโดยอาศัยการคมนาคมตามเส้นทางของลาน้าในการติดต่อข้าขายสินค้า ของผ้คู นจากอาณาจกั หน่งึ ไปยังอีกอาณาจกั รเปน็ ไปได้อยา่ งสะดวกสบาย ๓) ดา้ นเสน้ ทางคมนาคมทางบกสะดวก โดยเฉพาะบรเิ วณพน้ื ท่ีราบในภาคกลางเป็นพื้นท่ี ราบทาใหก้ ารเดินทางติดต่อกันตลอดทัง้ การขนส่งสินค้าไปค้าขายระหวา่ งกนั ทางบกทาไดส้ ะดวก การ แผ่ขยายทางวัฒนธรรมพุทธจากอาจักรทวารวดีไปยังอาณาจักรอื่น ๆ จึงทาได้ง่ายโดยอาศัยการ คมนาคมตามเสน้ ทางบกในการติดต่อขา้ ขายสินค้าจากอาณาจักรหน่ึงไปยงั อกี อาณาจักรหน่งึ
๖๙ หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดีตามเสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในประเทศไทยสมัยทวารวดีชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๖ มดี งั น้ี ๑) หลักพุทธธรรมที่สารวจพบในภาคกลาง คือ หลักธรรมเร่ืองอริยสัจ ๔ ในจารึก ธรรมจกั ร (นครปฐม) พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ หลกั ธรรมเรื่องการกัลปนา ในจารึกวัดโพธิร์ ้าง อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ หลักธรรมเร่ืองบุญกุศล ท่ีสารวจพบในจารึกถ้าฤๅษีเขางูเมือง ราชบุรี พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ หลกั ธรรมเรอื่ งพระรตั นตรัย ทส่ี ารวจพบในจารกึ พระพิมพ์ดนิ เผาวดั โคกไม้ เดน ราวพทุ ธศตวรรษที่ ๑๔-๑๕ ท่ีวัดเขาไม้เดน ตาบลท่านา้ ออ้ ย อาเภอพยุหะครี ี จังหวดั นครสวรรค์ เปน็ ต้น ๒) หลักพุทธธรรมที่สารวจพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก คือ หลักธรรมเรอ่ื งทาน ที่สารวจพบในจารึกวัดจันทึก พุทธศตวรรษท่ี ๑๒ หรือจารึกบนพระพิมพ์ดินเผา เมืองฟ้าแดดสูงยาง ๑ ในพุทธศตวรรษที่ ๑๔ และ หลักธรรมเร่ืองพระรัตนตรัย ท่ีสารวจพบในจารึก เนนิ สระบวั ราวตน้ พุทธศตวรรษที่ ๑๔ เป็นตน้ ๓) หลักพุทธธรรมที่สารวจพบในภาคเหนือ คือ หลักธรรมเรื่องอริยสจั ๔ ซึ่งที่มอี ยู่ในพระ วนิ ยั มหาวรรคว่า “ธรรมเหลา่ ใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหลา่ นัน และความดับแห่ง ธรรมเหล่านัน พระมหาสมณะมีปกติตรัสอย่างนี” ที่ปรากฏใน จารึกเยธมฺมาฯ เมืองศรีเทพ ท่ีเมือง ศรีเทพ จังหวัดเพชรบรู ณ์ มอี ายอุ ยู่ในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ เป็นต้น ๔) หลกั พุทธธรรมท่ีสารวจพบในภาคใต้ คือ หลักธรรมเร่อื งอริยสัจ ๔ ซึ่งเป็น เย ธมฺมาฯ เปน็ คาถาท่ีมีอย่ใู นพระวนิ ยั มหาวรรค ซงึ่ พระอสั สชิได้กล่าวธรรมน้ีแกส่ ารบี ุตรปรพิ าชก ทสี่ ารวจพบใน จารกึ เย ธมฺมาฯ บนพระซุ้มศรีวิชัย ๑ อาเภอพุนพนิ จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี มีอายอุ ยู่ในพทุ ธศตวรรษที่ ๑๒-๑๓ และ จารึก เย ธมมฺ าฯ บนพระสถปู ดินเผาเมอื งยะรงั จงั หวัดปัตตานี อายุอย่ใู นพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ เปน็ ต้น ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยศรีวิชัย เป็นอาณาจักรโบราณท่ีมีอยู่ ชว่ งพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๘ เป็นอาณาจักรของกลุม่ ชาตพิ นั ธ์ุมลายูโบราณ ก่อต้งั ขึ้นโดยราชวงศ์ ไศ เลนทร์ มีอาณาเขตกวา้ งขวาง ครอบคลุมพ้ืนท่ีต้ังแต่แหลมมลายู เกาะสุมาตรา เกาะชวา ช่องแคบมะ ละกา ช่องแคบซุนดา และภาคใต้สดุ ของประเทศไทยข้ึนมาจนถึงจังหวัดสรุ าษฎร์ธานีในปัจจบุ ัน ส่วน ที่ต้ังเมืองหลวงของอาณาจักรศรีวิชัยยังมีการถกเถียงกันอยู่ซ่ึงมีอยู่สองแห่ง คือ ท่ีอาเภอเมืองไชยา หวัดสุราษฎร์ธานี และ ที่ปาเล็มบัง ซึ่งเป็นเมืองหลวงจังหวัดสุมาตราใต้ อยู่ฝ่ังตะวันออกทางตอนใต้ ของเกาะสมุ าตราประเทศอนิ โดนเี ซยี ปจั จุบัน อาณาจักรศรีวิชัยมีความเจริญรุ่งเรืองในหลายด้านเนื่องจากเป็นดินแดนชายฝ่ังทะเล ซ่ึง เปน็ เส้นทางผา่ นของการเดินเรือเพอ่ื การติดต่อคา้ ขายระหว่างชนหลายเชื้อชาติตง้ั แต่ประเทศอินเดยี ไป จนถึงประเทศจีน หากเดนิ ทางโดยใช้ทางเรือในทะเลก็ใช้เส้นทางนี้เป็นทางผา่ น การติดต่อสัมพนั ธก์ ัน ในสมัยศรีวิชัยได้อาศัยทะเลเป็นเสน้ ทางหลักในการติดต่อคา้ ขายระหว่างกัน ชนชาติอินเดียที่มคี วามรู้ เชย่ี วชาญในการเดินเรือคา้ ขายกับชาวเอเชียอาคเนย์ ได้นาเอาศาสนาและว้ฒนธรรมของตนเขา้ มาเผย แผ่ให้กับกลุ่มคนท่ีอาศัยอยู่ในดินแดนแถบน้ีด้วย จึงทาให้พระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรื่องอยู่ใน อาณาจักรศรวี ิชัย เป็นบอ่ เกิดอารยธรรมโลกท่ีมีความสาคัญ เช่น มหาสถปู บุโรพุทโธในประเทศอินโดนี เชีย สร้างขึ้นจากหินภูเขาไฟ ในพุทธศตวรรษที่ ๑๓ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ องค์การยูเนสโก ได้
๗๐ ประกาศให้บุโรพุทโธเป็นมรดกโลก และเจดีย์พระบรมธาตุไชยาเป็นสถาปัตยกรรมแบบศรวี ิชัย สร้าง ข้ึนประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๓-๑๔ หลักฐานเหล่านี้เป็นส่ิงแสดงให้เห็นถึงความเล่ือมใสศรัทธาของ คนในอาณาจกั รศรวี ิชัยท่ีมตี อ่ พระพุทธศาสนา ซงึ่ เคยได้มีความเจรญิ รงุ่ เรืองอยู่ในดินแดนแถบน้ี ต่อมา เม่ืออาณาจักรศรีวิชัยอ่อนแอลง อาณาจักรมัชปาหิตได้ยกทัพเข้ามาตีศรวี ิชัย ได้ดินแดนสุมาตราและ บางสว่ นของคาบสมุทรมลายูไป อาณาจกั รศรีวิชัยจ้ึงสิ้นสดุ ลงในพุทธสตวรรษที่ ๑๖ เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมัยศรีวิชัย พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ มาในดินแดนแถบน้ีเริม่ จากมีชาวอินเดียเดินทางเข้ามาในอาณาจักรศรีวชิ ัยในฐานะพ่อค้า ในกลุ่มน้ีมี ทั้งพระสงฆ์และคฤหัสถ์ พระสงฆ์ได้อาศยั เรือของพ่อคา้ เพื่อเดินทางเขา้ เผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ชนกลุ่ม นี้ได้นาเอาศาสนาท่ีตนเองเคารพนับถืออยู่ในเวลาน้ันเข้ามาเผยแผ่ในดินแดนแถบน้ีด้วย จึงทาให้ผู้ท่ี อาศัยอยู่บริเวณได้รู้จักพระพุทธศาสนา เริ่มต้ังแต่ชนช้ันสูง เช่น ชั้นชั้นกษัตริย์ เชื้อพระวงศ์ ข้าราช บริพาร ชนชั้นกลาง เช่น ผู้ประกอบอาชีค้าขาย ผู้มีฐานะทางเศรษฐกิจดี และ ชนชั้นล่าง เช่น ผู้ ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตร ประศุสัตว์ กรรมกร เป็นต้น ได้ให้การนับถือพระพุทธศาสนา ประกอบกับอาณาจักรศรีวิชัยในยุคนั้นมีพ้ืนท่ีกว้างขวาง เป็นเส้นทางการเดินเรือทะเล ที่ประเทศจีน อินเดีย และประเทศที่อยู่ในแถบตะวนั ออกกลาง ต้องใช้เส้นทางนี้ในการเดินทางเพื่อติดต่อค้าขายซ่ึง กันและกัน อาณาจักศรีวิชัยจึงมีความสาคัญทั้งทางด้านสงั คม เศรษฐกิจ การเมือง และเป็นศนู ย์กลาง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยงั ดนิ แดนอื่น ๆ ในเกาะชวา คาบสมุทรมาเลย์ และประเทศจีน เป็นต้น สาหรับเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศไทย พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรือง อยู่บริเวณภาคใต้ตอนบน ตัง้ แต่จังหวัดสุราษฏร์ธานีลงไปถึงภาคใต้ตอนล่าง มีการสารวจพบร่องรอย ความเจริญรุ่งเรืองของพุทธศาสนาสมัยศรีวิชัย เช่น พระบรมธาตุไชยา อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ ธานี สร้างประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๔ วัดพระบรมธาตุ ตั้งอยู่ในเขตอาเภอเมือง จังหวัด นครศรธี รรมราช วัดเขยี นบางแก้ว อาเภอเขาชัยสน จงั หวดั พทั ลุง สร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๑๔๘๓ พระสถูป พิมพ์ดินดิบเขานุ้ย เป็นภาษาบาลี อักษรหลังปัลลวะ ถ้าเขานุ้ย จังหวัดตรัง มีอายุในพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๔ พระพิมพ์ดินดิบ จังหวัดปัตตานี มีอายุอยู่ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ และ พระพุทธไสยาสน์ วัดคูหาพิมขุ (วดั ถา้ ) จงั หวดั ยะลา สร้างข้ึนเม่อื พ.ศ. ๑๓๐๐ เปน็ ตน้ ดินแดนส่วนนีไ้ ด้เคยเป็นเสน้ ทาง การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาในสมัยอาณาจักรศรีวชิ ัย หลักพุทธธรรมท่ีปรากฏในหลักฐานทางโบราณคดตี ามเสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ในประเทศไทยสมัยศรวี ิชยั ท่สี ารวจพบในภาคใต้ตอนบน คือ หลักธรรมเร่ืองการท้าบุญ เชน่ จารึกวัด เสมาเมือง ท่สี ารวจพบในวดั เสมาเมอื ง ตาบลเวียงศักด์ิ อาเภอเมือง จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีอายุอยู่ ใน พ.ศ. ๑๓๑๘ มเี นื้อหาท่กี ล่าวถงึ การทาบุญให้ทานในพระพทุ ธศาสนา คือ สร้างปราสาทอิฐ ๓ หลัง เพือ่ ถวายให้เป็นที่ประทบั แด่ พระมนุษยพทุ ธ พระโพธิสตั วป์ ัทมปาณี พระโพธสิ ัตว์วชั รปาณี ตามหลัก ความเชื่อในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน และ หลักพุทธธรรมที่สารวจพบในภาคใต้ตอนล่าง คือ หลกั ธรรมเร่ืองอรยิ สัจ ๔ เช่น จารึกพระสถูปพิมพ์ดนิ ดิบเขานุ้ย ซงึ่ สารวจพบที่ถา้ เขานุ้ย จงั หวัดตรัง มี อายุอยู่ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ – ๑๔ มีการจารึกคาถา เย ธมฺมาฯ ซ่ึงมีท่ีมาอยู่ในพระวินัยปิฎก มหาวรรค และ ในพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ ซ่ึงอยู่ในสมัยทวารวดีช่วงก่อนอาณาจักรศรีวิชัยน้ันก็ได้มีการ สารวจพบจารึกหลักพทุ ธธรรมในแถบภาคใต้ตอนลา่ งหลายชน้ิ หลักฐานทางโบราณคดีเหลา่ น้ีแสดง ใหเ้ หน็ วา่ พระพุทธศาสนาเคยไดเ้ ผยแผ่เข้ามาสู่ดนิ แดนน้ีกอ่ นการเกดิ ขึน้ ของอาณาจักรศรีวชิ ยั
บทที่ ๓ ประวตั ศิ าสตร์ เสน้ ทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาและหลักพุทธธรรม สมยั ลพบรุ ี สมัยท่ีขอมเรืองอำนำจสูงปกครองดินแดนประเทศไทยอยู่ในช่วงสมัยลพบุรี มีอำยุ ประมำณ พ.ศ. ๑๒๐๐- ๑๘๐๐ ปี ช่วงดังกล่ำวกษัตริย์ขอมบำงพระองค์เป็นพุทธมำมกะ และบำง พระองค์เปน็ พรำหมณมำมกะ แต่อย่ำงอย่ำงไรกต็ ำมในช่วงดงั กล่ำวพระพุทธศำสนำกย็ ังแพรห่ ลำยและ มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนท่ีอำศัยอยู่ในอำณำบริเวณนี้เป็นอย่ำงมำก เห็นได้จำกหลักฐำนทำง โบรำณคดีทั้งท่เี ป็นโบรำสถำนและโบรำณวตั ถุทำงพระพุทธศำสนำทไี่ ด้มีกำรสำรวจพบในสมยั ลพบุรีนี้ จำนวนมำก จำกกำรศึกษำประวัติศำสตร์พระพุทธศำสนำในสมัยลพบุรีพบว่ำมีท้ังพระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทและนกิ ำยมหำยำน จำกหลกั ฐำนทำงโบรำณคดีพบร่องรอยของพระพุทธศำสนำมหำยำน ลทั ธิมันตระยำนได้เคยเจริญรุ่งเรืองอยู่ในอำณำบริเวณน้ีมำแลว้ ทั้งในประเทศกัมพูชำและในประเทศ ไทยตั้งแต่ตอนกลำงและอีสำนบำงส่วนลงไป โบรำณสถำนที่สำคัญเกี่ยวกับพระพุทธศำสนำมหำยำน ลัทธิมันตระยำน เช่น ปรำสำทหินพิมำย และพระปรำงค์สำมยอดท่ีลพบุรี เป็นต้น กำรศึกษำ ประวัตศิ ำสตร์และเส้นทำงกำรเผยแผพ่ ระพุทธศำสนำสมยั ลพบุรี พบวำ่ คนที่อำศยั อย่ใู นอำณำบรเิ วณน้ี ได้มีติดต่อสื่อสำรและปฏิสัมพันธ์กับคนในอำณำจักรอื่น ๆ ทั้งด้ำนสังคม เศรษฐกิจ กำรเมือง กำร ปฏิสัมพันธ์ดังกล่ำวได้ก่อให้เกิดแพร่กระจำยทำงวัฒนธรรมจำกท่ีหน่ึงไปยังอีกท่ีหนึ่งไดอ้ ย่ำงค่อยเป็น คอ่ ยไปรวมทั้งศำสนำด้วย สมัยลพบรุ ีน้ีเป็นช่วงคำบเกย่ี วกนั กับสมัยทวำรวดี ซง่ึ อำรยธรรมทวำรวดี ได้ เคยมคี วำมเจริญรุ่งเร่อื งมำกอ่ นแล้วในอำณำบรเิ วณนีเ้ มอื่ ทวำรวดีเส่ือมลง ตอ่ มำขอมได้เรอื งอำนำจเข้ำ ปกครองดินแดนแถบน้ี ซึ่งกษัตริย์ขอมบำงพระองค์นับถือพระพุทธศำสนำและบำงพระองค์นับถือ ศำสนำพรำหมณ์-ฮินดู จึงทำให้ทั้งพระพุทธศำสนำและศำสนำพรำหมณ์-ฮินดู ได้เข้ำไปมีอิทธิพลต่อ ควำมเช่อื ของประชำชนสมัยลพบุรีเป็นอยำ่ งมำก เพื่อให้เกดิ ควำมเข้ำใจประวัติศำสตรพ์ ระพุทธศำสนำ สมัยลพบรุ ีทีช่ ดเจน ในบทน้ีผู้วิจัยจงึ ไดแ้ บง่ กำรศกึ ษำเปน็ ๓ หัวข้อ ๑) ประวัติศำสตรพ์ ระพุทธศำสนำ ในประเทศไทยสมัยลพบุรี ๒) เส้นทำงกำรเผยแผพ่ ระพุทธศำสนำในประเทศไทยสมัยลพบรุ ี และ ๓ ) วเิ ครำะห์หลักพุทธธรรมท่ีปรำกฏในหลกั ฐำนทำงโบรำณคดีในประเทศไทยสมัยลพบุรี แต่ละหัวข้อจะ ได้นำมำศึกษำตำมลำดบั ดังน้ี ๓.๑ ประวตั ศิ าสตร์พระพุทธศาสนาในประเทศไทยสมยั ลพบรุ ี ไดก้ ลำ่ วแล้วว่ำวัฒนธรรมสมัยลพบุรีไดร้ ับอทิ ธิพลทำงวฒั นธรรมจำกสมัยทวำรวดอี ยู่มำก เน่ืองจำกก่อนหนำ้ ที่จะเกิดอำณำจักรละโว้หรอื ลพบุรนี ัน้ อำรยธรรมทวำรวดีได้เคยเจริญรุ่งเรืองมำกอ่ น แล้ว ทำงด้ำนพระพทุ ธศำสนำในอำณำบริเวณนี้เคยนับถือพระพุทธศำสนำนกิ ำยเถรวำทแบบอโศกซง่ึ มี มำแต่เดิมต้ังแต่ครำวหลังจำกพระเจ้ำอโศกมหำรำชได้อุปถัมภ์ให้มีกำรทำสังคำยนำพระพุทธศำสนำ ครง้ั ที่สำมในประเทศอินเดียส้ินสุดลงพระองค์ได้ส่งสมณทูตสององค์ ได้แก่ พระโสณะและพระอุตระ มำเผยแผ่พระพุทธศำสนำในดินแดนสุวรรณภูมิเชื่อกันว่ำคืออำณำบริเวณอันเป็นดินแดนในเอเชีย
๗๒ ตะออกใต้ทั้งหมด สำหรับประเทศไทยช่ือว่ำดินดังกล่ำวได้แก่จังหวัดนครปฐม ซึ่งในยุคโบรำณอำณำ บริเวณจงั หวัดนครปฐมของประเทศไทยปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของอำณำจักรทวำรวดี ต้ังแต่นั้นเป็นต้น มำพระพุทธศำสนำเถรวำทแบบอโศกก็ได้เจริญรุ่งเรืองอยู่ในดินแดนแถบนี้เรื่อยมำ จนถึงสมัยลพบุรี เม่ือขอมมีอำนำจปกครองพระพุทธศำสนำนิกำยมหำยำนก็ได้เผยแผ่มำยังดินแดนถบน้ีด้วย จึงเกิดมี พระพุทธศำสนำเป็นสองนิกำย อย่ำงไรก็ตำมเนื่องจำกชนชั้นปกครองในสมัยนี้ได้นับถือ พระพุทธศำสนำนิกำยมหำยำนจึงทำให้พระพุทธศำสนำนิกำยมหำยำนเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่ำงมำก ดังนั้นในหัวข้อนี้ เพ่ือให้เห็นภำพของประวัติศำสตร์พระพุทธศำสนำสมัยลพบุรีชัดเจนผู้วิจัยจึงแบ่ง กำรศึกษำออกเป็น ๒ หัวข้อ คือ ๑) ประวัติศำสตร์พระพุทธศำสนำ นิกำยมหำยำนสมัยลพบุรี ๒) ประวตั ิศำสตรพ์ ระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทในสมยั ลพบุรี แต่ละหวั ขอ้ จะได้ศกึ ษำตำมลำดบั ดังน้ี ๓.๑.๑ ประวัตศิ าสตร์พระพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาท สมยั ลพบรุ ี อำณำจักรละโว้ได้รับพระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทเจรญิ มำตั้งแต่สมัยทวำรวดี๑ จนกระทั่งได้ขำดหำยไปในช่วงต้นพุทธศตวรรษท่ี ๑๕ ซึ่งสอดคล้องกับหลกั ฐำนทำงจำรึกภำษำบำลีที่ หำยไปเช่นกัน แต่จำรึกสันสกฤตยังคงควบคู่กับภำษำมอญโบรำณ ยังเป็นท่ีแพร่หลำยไปอีกหน่ึง ศตวรรษ จะเห็นได้จำกจำรึกภำษำขอมเข้ำมำแทนที่ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ซ่ึงเป็นช่วงสิ้นสุด ของจำรกึ มอญโบรำณในภำคกลำง ส่วนในภำคตะวันออกเฉียงเหนือยังไม่พบจำรึกภำษำบำลี ซ่ึงเป็นหลักฐำนทำง ประวัติศำสตร์ที่แสดงให้เห็นกำรแพร่หลำยของนิกำยเถรวำทท่ีเก่ำแก่ไปกว่ำพุทธศตวรรษที่ ๑๘ แต่ หลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ศิลปะ เชน่ ภำพสลกั บนใบสมี ำจำกเรือ่ งมหำนิบำตชำดก ช้ใี หเ้ ห็นวำ่ นกิ ำย เถรวำทนำ่ จะเขำ้ มำประดิษฐำนในลุม่ แม่น้ำชีตง้ั แตต่ น้ พทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ พระพุทธศำสนำนกิ ำยเถรวำททร่ี ่งุ เรืองข้นึ ในสมัยลพบุรี จำแนกไดเ้ ป็นสองช่วงคือ ช่วงท่ี ๑ ก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๖ เป็นช่วงของอำรยธรรมมอญโบรำณ จะเป็นพุทธศิลป์ ในช่วงระยะเวลำเดียวกันกับที่ลัทธิตันตระยำนเป็นท่ีแพร่หลำยในภำคกลำงและภำคใต้ของประเทศ ไทย นิกำยเถรวำทกลับไปเจริญรุ่งเรืองข้ึนในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจำกกำรศึกษำเรื่องมหำ นิบำตชำดกที่ปรำกฏบนใบสีมำ เห็นได้ว่ำ ชำวมอญโบรำณมีมหำนิบำตชำดกที่แตกต่ำงไปจำก ชำดก อฏั ฐกถำ ของศรีลงั กำ ซ่ึงแสดงให้เหน็ วำ่ พระพทุ ธศำสนำ นิกำยเถรวำทที่แพรห่ ลำยอยใู่ นช่วงกอ่ นพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๖ น่ำจะมิได้รับนิกำยนี้มำจำกลงั กำ ซ่ึงสมมติฐำนข้อยังได้รับกำรสนับสนุนจำกประติมำ นิรมำณวิทยำของพระพุทธรูปประทับสมำธิรำบ ปำงสัมผัสธรณี ซ่ึงต่อจำกน้ีไปเรียกว่ำ ปำงมำรวิชัย ตำมทนี่ ิยมเรียกกันในประเทศไทยและเปน็ เอกลักษณ์ของพระพุทธรูปนกิ ำยเถรวำทในประเทศไทย แต่ ไมป่ รำกฏในลังกำเช่น พระสมณโคดมเป็นพระนำมที่ชำวไทยผู้นบั ถือพระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทใช้ เรียกพระศำกยมุนี พระสมณโคดมในประเทศไทยน้ันนิยมสร้ำงเป็นพระพุทธรูปประทับสมำธิรำบ ปรำงมำรวิชัย ดงั เช่น พระพุทธรูปทองคำของพิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ พระนคร พระพุทธรูปองค์น้ีมี พุทธลักษณะใกล้เคียงกับพระพุทธรูปท่ีสร้ำงขึ้นในภำคตะวันออกเฉียงเหนือในช่วงคร่ึงแรกของพุทธ ๑ สมั ภำษณ์ นำงสำว ธัชสร ตันตวิ งศ์, เจ้ำพนักงำนพิพิธภัณฑ์สถำนแหง่ ชำติ พระนคร, วนั ที่ ๒๐ เมษำยน ๒๕๕๙.
๗๓ ศตวรรษที่ ๑๕ และน่ำจะเป็นพระสมณโคดมประทับขัดสมำธิรำบปำงมำรวิชัยท่ีเก่ำแก่ท่ีสุดองค์หน่ึง ของประเทศไทย ภำพที่ ๓.๑ พระพุทธรูปทองคำปำงวชิ ยั สมัยลพบรุ ี พพิ ธิ ภัณฑสถำนแหง่ ชำติ พระนคร ช่วงท่ี ๒ พุทธศิลป์ในนิกำยเถรวำท หลังพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ จนถึงกลำงพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ เป็นช่วงที่นิกำยเถรวำทเจริญรงุ่ เรืองขึน้ ในภำคกลำง ภำคตะวันออกเฉียงเหนอื และภำคเหนือของ ประเทศไทย ถึงแม้วำ่ ศิลปะในนิกำยเถรวำทยคุ นีจ้ ะมีจำนวนน้อยกว่ำที่สร้ำงขึน้ ในลัทธติ ันตระยำนใน ช่วงเวลำเดียวกัน นอกจำกน้ันแล้ว หลักฐำนทำงประวัติศำสตร์๒ เช่น ศิลำจำรึกศำลสูง อำเภอเมือง จงั หวัดลพบุรี ที่กล่ำวถึงพระเจ้ำสุรยิ วรมันที่ ๑ ตรัสให้พระภิกษุฝ่ำยมหำยำนสถวิรสวดมนต์ถวำยบุญ กศุ ลเม่ือถงึ ศีลสวดมนต์ภำวนำให้แกพ่ ระองค์ ในปี พ.ศ.๑๕๖๕ - ๑๕๖๘ และดำ้ นที่ ๑ ของศิลำจำรึก ดงแม่นำงเมือง อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งจำรึกขึ้นในปี พ.ศ.๑๗๑๐ ใช้ภำษำบำลี จึง แสดงใหเ้ หน็ ว่ำ นิกำยเถรวำทมิไดส้ ญู หำยไปจำกภำคกลำงของประเทศไทยเสยี ทเี ดียว นอกจำกน้ันในบันทึกพงศำวดำรฉบับหอแก้ว๓ หรือ HmannanMahayazawinawgyi ของพม่ำ ยังได้กล่ำวถงึ พระภิกษุตมสนิ ทะ ผูเ้ ป็นพระโอรสของพระเจำ้ กรุงกัมโพช(ลพบุร)ี และยังเป็น ท้ังเพ่ือนและสำวกของพระภิกษุชำวมอญโบรำณ ฉำยำวำ่ ฉปตะ ท่ีไปอปุ สมบททลี่ ังกำและมำเผยแพร่ สงิ หลสงฆ์ปกั ขะท่ีเมืองพุกำมในปี พ.ศ. ๑๗๓๔ เม่ือพญำสววำสิทธิกษตั ริยแ์ ห่งหรภิ ุญไชยมีพระชนั ษำ ครบ ๒๖ ปี ไดท้ รงเลื่อมใสในพระรัตนตรยั จงึ โปรดใหส้ ร้ำงพระเชตวันขึน้ นอกจำกนน้ั ยังโปรดให้สร้ำง พระเจดีย์ขึน้ สำมองค์ทีห่ น้ำพระอุโบสถทำงดำ้ นทิศตะวันออก และเมอ่ื พระองคม์ ีพระชนั ษำ ๓๒ ปี จึง ๒ สัมภำษณ์ นำยวิษรุต วะสกุ นั , เจำ้ พนกั งำนพิพิธภัณฑ์สถำนแหง่ ชำติ พระนคร, ๒๐ เมษำยน ๒๕๕๙. ๓ สัมภำษณ์ นำงสำวธชั สร ตันตวิ งศ์, เจำ้ พนกั งำนพพิ ิธภัณฑ์สถำนแหง่ ชำติ พระนคร, ๒๐ เมษำยน ๒๕๕๙.
๗๔ ได้เสดจ็ ออกผนวชพร้อมด้วยพระโอรส ๒ พระองค์ ณ พระอุโบสถของวดั เชตวันแห่งนี้ โดยมีพระรำช คุรุซ่ึงมีอำยุ ๘๒ ปี เป็นประธำนสงฆ์ เม่ือพระองค์ทรงผนวชนั้น มีพระภิกษุจำนวน ๘๐ รูป และ สำมเณรจำนวน ๑๐๒ รปู จำพรรษำอยู่ ณ วัดเชตวนั ส่วนศิลำจำรึกท่ไี ด้มำจำกวดั ดอนแก้วอีกหลกั หนึ่ง ซึ่งเซเดส์กลำ่ ววำ่ คนเป็นผู้ท่ีพบวดั จำม เทวี อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูนน้ัน มีข้อควำมว่ำเม่ือ พ.ศ. ๑๗๖๑ พญำสววำธิสิทธิได้ทรง ปฏิสังขรณ์พระรตั นเจดีย์ขึ้นใหม่ เพรำะพระเจดยี ์องค์เดิมได้พังทลำยลงไปเนื่องจำกแผ่นดนิ ไหว พระ เจดีย์ที่สร้ำงข้ึนใหม่ น้ี ตกแต่งประดับประดำกับไม่มีอะไรเสมอเหมือนนั้นเจดีย์อ่ืน ๆ เหมือนใน อำณำจักรหริภุญชยั แห่งนี้ซึง่ เปน็ เอกลกั ษณ์ของศิลปะพระพทุ ธศำสนำ นิกำยเถรวำท ๓.๑.๑.๑ รัตนเจดยี ์ ภำพที่ ๓.๒ รตั นเจดีย์ วัดจำมเทวี จงั หวัดลำพูน จำกภำพที่ ๓.๒ รตั นเจดยี ์ วดั จำมเทวี จงั หวดั ลำพูนเปน็ หลักฐำนทำงประวัตศิ ำสตรช์ ั้น สำคัญท่ีแสดงให้เห็นว่ำ ในช่วงกลำงพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ชำวมอญโบรำณท่ีอำศัยอยู่บริเวณจังหวัด ลำพูนในปัจจุบัน นับถือพระพุทธศำสนำนิกำยเถรวำท และมีควำมเป็นไปได้ว่ำนิกำยนี้เพ่ิงเข้ำมำ ประดิษฐำนในดินแดนแถบน้ีก่อนหน้ำน้ีไม่นำนนักและเจริญรุ่งเรืองขึ้นเม่ือกษัตริย์มีพระศรัทธำเสด็จ ผนวชพร้อมด้วยพระประยูรญำติ จึงเป็นสำเหตุที่ทำให้พุทธศิลป์ เถรวำทมีควำมเจริญในแคว้น หริภญุ ชัย (ลำพนู ) พระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทท่ีปรำกฏข้ึนในช่วงที่ ๒ นี้เน้นกำรสรำ้ งรูปพระสมณโคดม ประทับสมำธิรำบ ปรำงมำรวิชัย ทรงครองจีวรห่มดอง และให้ควำมสำคัญแด่รูปพระสมณโคดม มำกกว่ำพระอดีตพุทธะหรือพระอนำคตพุทธะ ซ่ึงต่อไปจะกลำยเป็นลักษณะเฉพำะของพุทธศิลป์ใน นกิ ำยเถรวำทในประเทศไทยสบื ตอ่ มำ
๗๕ พระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทยังเป็นแรงบันดำลใจในกำรเปลี่ยนแปลงประติมำนิรมำณ วทิ ยำของพระพุทธรูปท่ีพบในประเทศไทย เชน่ นิยมกำรสรำ้ งพระพุทธรูปยนื ครองจวี รคลุมพระอังสะ ท้ังสองข้ำง พระหัตถ์ขวำแสดงธรรมหรือประทำนอภัยที่หน้ำพระอุระ พระกรซ้ำยทอดลงข้ำงพระ วรกำย หรอื สรำ้ งพระพทุ ธรูปทรงอุณหศิ หลำยยอด ซึง่ ลักษณะทก่ี ล่ำวถงึ ขำ้ งต้นทง้ั หมดน้ัน ดร.วดู เวิร์ด (Woodward) เสนอว่ำ๔ เป็นปติมำนิรมำณวิทยำของพุทธศิลป์ในนิกำยอริยะ อันเป็นที่แพร่หลำยใน ประเทศไทยในช่วงกลำงพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ ถึงกลำง ๑๙ นิกำยอริยะน้ี ย่อมำจำก อริยำรหันตปกั ขะ ภิกขุสงฆ์ทศี่ ิลำจำรกึ กัลยำณีของพระเจ้ำธรรมเจดีย์ กษัตริย์มอญโบรำณมีกำรปกครองหงสำวดี (พ.ศ. ๒๐๑๕ - ๒๐๓๕) โปรดให้จำรข้ึนในปี พ.ศ. ๒๐๑๙ อ้ำงว่ำ เป็นชือ่ นิกำยด้ังเดิมที่พระโสณะมหำเถระ และอุตตระมหำเถระนำเข้ำมำจำกอินเดีย เม่ือสถำปนำพระพุทธศำสนำในรำมัญประเทศ แต่ภำยหลัง เรียกว่ำ กมั โพชสงฆป์ ักขะ เพรำะวำ่ พระอำรำมของนิกำยอริยะน้ันต้ังอยู่ติดกับค่ำยของเชลยศึกชำว กัมโพช ดังนั้นจำกจะต้ังช่ือให้กับพุทธศิลป์นิกำยเถรวำทในช่วงระยะเวลำนี้ ก็น่ำจะเป็นกัมโพชสงฆ์ ปักขะ มำกกวำ่ อรยิ ะเพรำะมีควำมสัมพันธโ์ ดยตรงกับชำวกัมโพช อย่ำงไรกต็ ำม รปู แบบตำ่ ง ๆ ของพระพุทธรปู ทอี่ ำจจะสรำ้ งข้ึนในกมั โพชสงฆ์ปกั ขะนั้น พบ รวมกันในหม้อดินเผำท่ีจงั หวัดสมุทรสำคร พร้อมกับด้ำมขบั ของกระดิ่ง (มณฺฏำ) ซง่ึ ใช้ในพิธีกรรมของ ลัทธิตันตระยำน จึงเป็นไปได้ว่ำ กัมโพชสงฆ์ปักขะน้ันเป็น พระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทท่ีรับเอำ พิธีกรรมและกำรปฏิบัตธิ รรมบำงประกำรจำกลัทธิตันตระยำนมำผสมผสำนเปน็ ของตนเอง อันเป็นต้น กำเนิดของนิกำยตันตริกเถรวำทหรือโยคำวจร ซึ่งเป็นนิกำยหลักของประเทศไทยสืบต่อมำ นอกจำกนั้นแล้ว พระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำทที่แพร่หลำยอยู่ในช่วงระยะเวลำนี้ก็มิใช่นิกำย มหำ วหิ ำรวำสินของลังกำท่ีเคร่งครัด แต่อำจจะเป็นนิกำยท่ีได้ผสมผสำนกับลัทธิมหำยำน จนจำรึกศำลสูง เรียกว่ำ มหำยำนสถวีระ กเ็ ปน็ ได้ ช่วงที่ ๒ หลังพุทธศตวรรษที่ ๑๖ เป็นช่วงของอำรยธรรมขอม อันจะเห็นได้จำกจำนวน ของจำรึกขอมท่ีปรำกฏขึ้นในช่วงระยะเวลำเดียวกัน และอิทธิพลของศิลปะขอมและรุ่งเรืองภำยใต้ คณะกัมโพชสงฆ์ปักขะพุทธศิลป์ในนิกำยเถรวำทในช่วงท่ี ๒ กัมโพชสงฆ์ปักขะน้ันสะท้อนให้เห็นกำร ผสมผสำนระหว่ำงนิกำยเถรวำทกับนิกำยตันตระยำน โดยวิวัฒนำกำรทำงด้ำนรูปแบบจำกศิลปะของ ขอมกับศิลปะในลัทธิตันตระยำนที่แพร่หลำยในสมัยรำชวงศ์ปำละเสนะของอินเดีย (พ.ศ.๑๒๙๓ - ๑๗๗๒) ในชว่ งปลำยพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ - ๑๗ อกี ด้วย กลำ่ วคอื นยิ มสร้ำงพระพทุ ธรปู ทรง อุณหศิ ห้ำยอด อนั ประกอบด้วยกระจังขนำดใหญ่สำมตัวท่ีตรงกลำงและดำ้ นข้ำง ซึ่งขั้นดว้ ยก้ำนดอกบัวอุบล และทำเป็นปมเหนือ พระกรรณทิ้งชำยลงมำที่พระอังสำทั้งสองข้ำง นอกจำกนั้น ยังทรงกรองศอทับ ด้วยจีวร พุทธลักษณะเชน่ น้ีมักหรือยืนบนปัทมำสน์ มปี ระภำมณฑลรปู เปลวเพลิงเป็นแผน่ หลัง มธี งทิว หรือกำ้ นพระศรมี หำโพธ์ิอย่ใู ตฉ้ ัตร พระพุทธรปู ส่วนใหญ่ในกลุม่ ท่ีดดั แปลงมำจำกพระพทุ ธรปู ท่ีมปี ระภำมณฑลเปน็ แผ่นหลัง ของอินเดียน้ัน ได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นเรือนแก้วหรือรัตนปรำสำท และพระพุทธรูปซึ่งทรง อุณหิศห้ำ ๔ สมั ภำษณ์ นำงสำวธชั สร ตนั ติวงศ์, เจ้ำพนักงำนพิพิธภัณฑส์ ถำนแหง่ ชำติ พระนคร, ๒๐ เมษำยน ๒๕๕๙.
๗๖ ยอดนั้น มักจะสร้ำงเป็นพระพุทธรูปในกลุ่มน้ีปรำกฏข้ึนในภำคกลำงของประเทศไทยในช่วงครึ่งแรก ของพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ ซ่ึงผวู้ ิจัยไดน้ ำเสนอ ดว้ ยพทุ ธศลิ ป์ต่อไปนี้ ๓.๑.๑.๒ รตั นปรำสำทหรือเรือนแก้วสัมฤทธิ์นี้ มีภำพทั้งสองด้ำน ด้ำนหน้ำ แต่ เดิมมีพระพุทธรูปซึ่งเป็นประติมำกรรมลอยตัว ยืนอยู่ภำยในซุ้มหยัก ท่ีมีเกียรติมุขถือยอดซุ้มอยู่ ด้ำนบน แบ่งเป็นสำมตอน ตอนบนสุดมีสถูปสำมองค์ ซ่ึงคงหมำยถึง พระอดีตพุทธะสำมองค์ อน่ึง สถปู ทงั้ ๓ องค์นม้ี ีลักษณะคลำ้ ยกนั สถูปประธำนองคใ์ หญ่สุดซ่ึงต้ังอยู่ตรงกลำงนน้ั มีลกั ษณะคลำ้ ยกัน คือ องค์สถูปต้ังอยู่บนฐำนปัทม์รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มีสถูปจำลอง (สฺถูปิก) รวยรอบอยู่ท้ัง ๘ ทิศ เหนือ ฐำนปัทม์ข้ึนไปเป็นองค์ระฆัง แผนผังขององค์ระฆังเป็นรูปมะเฟืองส่ีกลีบ เอวคอดและป่องช่วงบน เหนือองค์ระฆังเป็นฐำนบัวคว่ำบัวหงำยทรงกลม รองรับปรียอดทรงกรวยสองชั้น ตอนกลำงเป็นรูป พระพทุ ธเจ้ำไสยำสน์ พระหตั ถข์ วำรองรับพระเศียรทสี่ วมอุณหศิ ห้ำยอด พระกรและพระหตั ถ์ซ้ำยแนบ ลงที่พระวรกำยซ้ำย จีวรด้ำนซ้ำยพับทบลง ทรงสวมป้ันเหน่งเป็นแถบหนำ ทับชำยสบงด้ำนบน พระ ไสยำสน์องค์น้ีน่ำจะได้แก่ พระเมตไตรย์ ตอนล่ำงเป็นรูปพระสำวกส่ีรูปคุกเข่ำพนมมือ กรอบของซุ้ม เรือนแก้วสัมฤทธ์ิน้ีเป็นฝักเพกำท่ีมียอดเป็นก้ำนบัวและใบโพธิ์ ตอนล่ำงของกรอบที่ขนำบซุ้มทั้งสอง ขำ้ งเปน็ พระพทุ ธรูปประทับสมำธิ ปำงมำรวชิ ยั ขำ้ งละองค์ ภำพท่ี ๓.๓ รตั นปรำสำท หรอื เรอื นแกว้ สัมฤทธ์ิกำหนดอำยุอยู่ในชว่ งครึง่ แรกของพุทธศตวรรษ ที่ ๑๙ จำกภำพที่ ๓.๓ รัตนปรำสำท หรือเรอื นแก้ว แบ่งเป็นสองตอนช่วงกลำงของตอนล่ำงเป็น พระพุทธรูปยนื ในซมุ้ พระหัตถข์ วำแสดงธรรมหน้ำพระอรุ ะ พระกรซำ้ ยแนบพระวรกำย พระหัตถซ์ ำ้ ย ประทำนพร ทรงคำดป้ันเหน่งเป็นแถบหนำทับชำยสบงด้ำนบน ทำงด้ำนซ้ำยและขวำขององค์มี พระพุทธรูปประทับสมำธิรำบ ปำงมำรวิชัย อยู่ข้ำงละองค์ ส่วนองคย์ ืน ได้แก่ พระสมณโคดม โดยได้ ปรำกฏพระองค์อีกครั้งหน่ึง ตอนบนเป็นปรำสำทจตุรมขุ ตั้งอยบู่ นฐำนปัทมล์ ูกแก้วอกไก่ มีพระสมณ โคดมลกั ษณะคล้ำยกับองคท์ อี่ ยู่ตอนลำ่ งทกุ ประกำร ยืนอยใู่ นซุ้มเหรือองค์พระมีซมุ้ บัญชรซ้อนลดหลั่น กนั ขึน้ ไปสีช่ ั้น เฉพำะสำมชั้นล่ำงประดษิ ฐำนพระพุทธรูปประทับปำงสมำธิชัน้ ละองค์ รวมเปน็ พระอดีต พุทธะสำมองค์ ตรงมุงของแต่ละชั้นตกแต่งด้วยกลับขนุน ช้ันที่ห้ำไม่มีซุ้มบัญชร มีแต่กลีบขนุน ยอด เปน็ บวั หงำย กลับขนุนรองรับปญั จศูล เป็นท่ีนำ่ สังเกตวำ่ ศิลขรของปรำสำทหลงั นข้ี อบด้ำนนอกเป็นรูปไข่ส่วนท่ปี ่องออกมำมำก ท่ีสุดคือ ซุ้มบัญชรของชน้ั ทส่ี ำม ซึ่งแตกต่ำงกับศิขรของปรำสำทสลักนูนต่ำสำมหลังท่ีระเบียงปรำสำท
๗๗ บำยน ซ่ึงส่วนที่ป่องท่ีสุด ได้แก่ ซุ้มบัญชรของช้ันที่หนึ่ง จึงทำให้ปรำสำทในเรือนแก้วน้ีดูสูงและสง่ำ กว่ำปรำสำทขอมที่มีลักษณะป้อมเต้ียตอนล่ำงของกรอบของเรือนแก้วเป็นฝักเพกำ ตอนบนเป็นก้ำน บวั และใบโพธริ์ ับกนั ทั้งสองข้ำง ๓.๑.๑.๓ แผงสัมฤทธิ์พระสมณโคดม ภำพท่ี ๓.๔ แผงสัมฤทธ์ิพระสมณโคดม จำกภำพท่ี ๓.๔ ศลิ ปกรรมชิ้นนแ้ี สดงพุทธประวัตขิ องประพทุ ธเจำ้ ดังน้ี ด้ำนท่ี ๑ แผงสัมฤทธิ์นี้มีสองด้ำน พระสมณโคดมเสด็จกลับจำกกรุงกบิลพัสด์ุ แล้วเสด็จ ไปเทศนำโปรดพระประยูรญำติ กำหนดอำยุในช่วงครึ่งหลังพุทธศตวรรษท่ี ๑๘ สัมฤทธ์ิ สูง ๔๑.๑๘ ซม. พพิ ธิ ภัณฑสถำนแห่งชำติ พระนคร ด้ำนที่ ๒ ท่ีพระสมณโคดมเสดจ็ กลับจำกกรุงกบิลพสั ด์แุ ละทรงเทศนำธรรมโปรดพระนำง ยโสธรำและพระรำหลุ ๓.๑.๑.๔ พระสมณโคดมยนื สมั ฤทธิ์ ภำพท่ี ๓.๕ พระสมณโคดมยนื สัมฤทธอ์ิ ำยปุ ระมำณคร่งึ แรกของพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ จำกภำพ ๓.๕ พระสมณโคดมยนื สัมฤทธท์ิ รงครองจีวรคลุมพระองั สำท้งั สองข้ำงพระหัตถ์ขวำ แสดงธรรมที่หนำ้ พระอรุ ะพระกรซ้ำยทอดลงตำมพระวรกำยพระหตั ถซ์ ้ำยประทำนพรไดจ้ ำกกรุปรำงค์
๗๘ ประธำนวดั รำชบรู ณะอำจจะเป็นส่วนหน่ึงของเรอื นแก้วที่กล่ำวถึงข้ำงตน้ และคงเป็นพระสมณโคดมท่ี ทรงยนื อยู่ภำยในซมุ้ แต่ฐำนสูญหำยไปแล้วพระพทุ ธรปู องค์ดงั กลำ่ วมีลักษณะพิเศษ คอื มไี รพระศกเป็น ลูกประคำมีรศั มเี ปน็ รูปวงโค้งทรงครองจวี รคลุมพระอังสำทงั้ สองข้ำงขอบสบงด้ำนบนคำดด้วยป้ันเหน่ง หนำตกแต่งด้วยดอกไม้กลมทด่ี ้ำนหนำ้ และด้ำนข้ำง ๓.๑.๑.๕ พระสมณโคดมนำคปรก ภำพที่ ๓.๖ พระสมณโคดมนำคปรก กลำงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ สัมฤทธิ์ สงู ๔๐ เซนติเมตร จำกภำพท่ี ๓.๖ พระพุทธศำสนำ นิกำยเถรวำท สมัยลพบุรนี ิยมสรำ้ งพระสมณโคดมนำค ปรก แต่มีลักษณะท่ีแตกต่ำงไปจำกพระวัชรสัตวพ์ ุทธะ คือ ไม่ทรงสวมอำภรณ์เครื่องประดับ ประทับ สมำธิรำบปำงแสดง ปำงมำรวิชัย แทนปำงสมำธิ ตัวอย่ำงได้แก่ รูปพระสมณโคดมนำคปรกสัมฤทธิ์ ทรงครองจีวรห่มดอง ชำยจวี รเป็นแถบรูปส่ีเหล่ยี มผืนผ้ำ พระพกั ตร์เหล่ียม มีไรพระศก พระเกศำเป็น เส้นถกั พระอุษณีษะเป็นฐำนรองรับ พระรศั มีทรงกรวยเรียบ ประทับบนกลับบัวหงำยซ่ึงมีผ้ำทิพย์ ปู ทับขนดนำคจำกลักษณะของพระพทุ ธรูปองคน์ ี้สำมำรถกำหนดอำยไุ ดใ้ นช่วงกลำงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ๓.๑.๑.๖ พระสมณโคดมทรงเครอ่ื ง ภำพท่ี ๓.๗ พระสมณโคดม ทรงเคร่ืองในเรือนแกว้ พบในจังหวัดชัยภมู ิ ครงึ่ แรกพุทธศตวรรษที่ ๑๙ สมั ฤทธ์ิ สูง ๒ เมตร๕ ๕ Kimbell Art Museum, Fortworth, Texas, U.S.A. (Woodward 1979, 73)
๗๙ จำกภำพที่ ๓.๗ พระพุทธปฏิมำประทับขัดสมำธริ ำบ ปำงมำรวิชัยทรงเคร่ือง น่ำจะได้แก่ พระสมณโคดม อันมีหลักฐำน คือพระพุทธปฏมิ ำทรงเครอ่ื งในเรอื นแก้วสัมฤทธ์ิของ พิพิธภัณฑ์ศิลปะ คิมแบล (Kimbell Art Museum) พระพุทธปฏิมำองค์น้ี จำกฐำนถึง ยอดนพศูลย์สูง ๒ เมตร สำมำรถถอดแยกออกได้เป็น ๑๓ ส่วน เป็น “พระพุทธปฏิมำองค์เดียวพบท่ีชัยภูมิ ควำมเลอเลิศ อลังกำรของปฏิมำกรรมองค์น้ี อำจพูดได้ว่ำ กษัตริย์ขอมต้องเป็นผู้สร้ำงข้ึนมำแน่” พระพุทธปฏิมำ องค์น้ีทรงอณุ หิส กุณฑล ทรงเปลอื ยพระอุระ และทรงกรองศอแบบเขมร ประทับเหนือฐำนบัวคว่ำบัว หงำย เพ่ิมมุมหน้ำกระดำนแสดงภำพกองทัพมำร ภำยในซุ้มเรือนแก้วตกแต่งด้วยสิงห์พ่ำห์ และซุ้ม ใบระกำภำยในประดิษฐำนพระพุทธปฏิมำ ปำงมำรวิชัยทรงเคร่ือง ๒๗ องค์ และเม่ือรวมกับองค์ ประธำนจะได้ ๒๘ องค์ ซึ่งก็คอื จำนวนของพระอดตี พุทธะ ตัง้ แต่พระทีปงั กรพทุ ธถงึ พระสมณโคดม ใน พระไตรปิฎกหมวด พุทธวงส์ขุททกนิกำย สุตตันตปิฎก๖ จึงน่ำจะสร้ำงข้ึนในคณะกัมโพชสงฆ์ปักขะ ประมำณกลำง พทุ ธศตวรรษที่ ๑๘๗ ๓.๑.๑.๗ พระพทุ ธปฏิมำยืน ปำงประทำนพร ภำพที่ ๓.๘ พระสมณโคดมยนื ประทำนพรพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๙ สัมฤทธ์ิ สูง ๒๔.๕ เซนตเิ มตร พพิ ธิ ภัณฑสถำนแห่งชำติ เจำ้ สำมพระยำจงั หวัดพระนครศรีอยุธยำ ๖ กรมศิลปำกร, ศัพทานุกรมโบราณคดี, กรงุ เทพมหำนคร: สำนักโบรำณคดี กรมศลิ ปำกร, ๒๕๕๐, ๗ โครงกำรสำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชนโดยพระรำชประสงค์ในพระบำทสมเด็จพระ เจ้ำอยู่หัว. “ปรำสำทขอมในประเทศไทย.”สำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชน โดยพระรำชประสงคใ์ นพระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ ัว เล่ม ท่ี ๓ ๐ , <http://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=๓ ๐ &chap=๓ &page=ch>, สบื ค้นเมื่อ ๑ มนี ำคม ๒๕๕๙.
๘๐ จำกภำพที่ ๓.๘ พระพุทธรูปพระสมณโคดมยืน ยกพระหัตถ์ขวำประทำนอภัย พระหัตถ์ ซำ้ ยทอดลงท่ีพระอุรุ ที่สรำ้ งข้ึนในรัฐกัมโพช ภำยใต้คณะกมั โพชสงฆ์ปักขะ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙ มี ๒ แบบ แบบท่ี ๑ พระกรขวำพำดหนำ้ พระอรุ ะ พระหัตถ์ขวำหงำยออก แบบที่ ๒ พระกรขวำยื่นออกทำงด้ำนหน้ำ พระหัตถ์ประทำนอภัย พระหัตถ์ซ้ำยหงำย ประทำนพร ควำมแตกต่ำงของทง้ั สองแบบนี้อยู่ท่ีวสั ดแุ ละเทคโนโลยีของกำรสร้ำงพระพทุ ธปฏิมำ เช่น สลกั จำกศลิ ำ ดุนบนแผ่นโลหะ หรือพระพิมพ์ จะเป็นแบบที่ ๑ เพรำะกำรแสดงประทำนอภยั ด้วยวัสดุ และเทคโนโลยีข้ำงต้น เป็นเหตุให้ต้องพำดพระกรขวำหน้ำพระอุระ และพระหัตถ์หงำยออกทั้งน้ีเป็น กำรแก้ปัญหำของช่ำงอันเกิดจำกข้อจำกัดทำงด้ำนวัสดุ ส่วนที่สร้ำงด้วยสัมฤทธิ์ ไม่มีควำมจำเป็นท่ี จะต้อง พำดพระกรขวำผ่ำนพระอุระ เพรำะสำมำรถท่จี ะยืน่ พระกรออกมำทำงดำ้ นหน้ำได้ ยกเวน้ ท่ใี น กรณีที่ผู้สร้ำงจำลองรูปแบบมำจำกพระพุทธปฏิมำศิลำ หรือพระพุทธปฏิมำดุน เช่น พระพุทธปฏิมำ สัมฤทธิ์ จำกกรุพระปรำงค์วัดรำชบูรณะ พระนครศรีอยุธยำ ซึ่งสืบทอดพุทธลักษณะของพระ พุทธ ปฏิมำเขมร เช่น พระพักตร์เหลี่ยม พระขนงเช่ือมกันเป็นเสน้ ตรง พระเกศำถัก พระเมำลีแบนรัด ดว้ ย พวงประคำ รัศมีเป็นต่อมกลม ขอบสบงด้ำนบนคำดด้วยรัดพระองค์ ปั้นเหน่งรูปวงกลมมีลำยวงท้ัง ด้ำนหน้ำและด้ำนข้ำงพระพุทธปฏิมำแบบน้ีน่ำจะจำลองมำจำกพระพุทธปฏิมำศิลำแบบบำยนของ ขอม สร้ำงขนึ้ ท่ลี ะโว้ (ลพบรุ ี) พระพุทธศำสนำในอินเดยี เร่ิมเส่อื มลงตง้ั แต่รำว พ.ศ. ๑๖๐๐–๑๗๐๐ เน่ืองมำจำกกำรทำ สงครำมกับชำวมุสลิมท่ีเข้ำมำรุกรำนอินเดีย ซ่ึงทำให้กำรนับถือพระพุทธศำสนำ นิกำยมหำยำนใน เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้เส่อื มลงดว้ ย ในช่วงเวลำนัน้ กำรค้ำขำยทำงทะเลระหวำ่ งตะวันออกกลำงไปยัง จนี ผำ่ นทำงศรลี ังกำเริม่ เฟอ่ื งฟขู ้ึน และเป็นช่วงเวลำเดยี วกบั ที่มกี ำรฟ้นื ฟูพระพทุ ธศำสนำนกิ ำยเถรวำท ทใี่ ชภ้ ำษำบำลีทศี่ รีลังกำอกี คร้งั นกิ ำยนี้จึงแพร่หลำยไปสเู่ อเชียตะวนั ออกเฉียงใต้พระเจ้ำอโนรธำมังช่อ กษัตริยผ์ ู้ก่อตัง้ จกั รวรรดิพมำ่ ครั้งแรกเป็นผู้รับพระพทุ ธศำสนำ นิกำยเถรวำทลัทธลิ ังกำวงศ์น้ีเข้ำสู่พม่ำ มกี ำรสร้ำงเจดีย์ในเมืองหลวงมำกมำย แม้ในกำลต่อมำ อำนำจของพม่ำเส่ือมถอยลงเพรำะถูกมองโก ลรุกรำน และไทยมีอำนำจขึ้นแทน จนถึงปัจจุบันพระพุทธศำสนำนิกำยเถรวำทก็ยังคงเป็นนิกำยหลัก ในพมำ่ ส่วนอีกเส้นทำงหน่ึงนั้นคือ พระพุทธศำสนำนิกำยเถรวำทจำกลังกำแพร่หลำยเข้ำสู่ ประเทศไทยทีน่ ครศรีธรรมรำชจำกน้ันด้วยกำรติดตอ่ ค้ำขำย และกำรทูตทำให้พระพุทธศำสนำ นกิ ำย เถรวำทได้เผยแพร่เข้ำสู่อำณำจักรขอมในช่วงท้ำยรัชกำลของพระเจ้ำชัยวรมันที่ ๗ มหำรำชผู้ย่ิงใหญ่ แห่งขอมโบรำณซ่ึงจะเห็นได้จำกเจดีย์ทรงลังกำภำยปรำสำทพระขรรค์ ดังแสดงภำพท่ี ๓.๙ ด้วย อทิ ธิพลแห่งพระรำชอำนำจของอำณำจักรขอมสง่ ผลให้ อำณำจักรละโว้ได้รบั แนวคิดดงั กลำ่ วดว้ ย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440