188 พิษร้าย ใครถูกเขา้ อาจถึงตายได้ ใครๆ จึงกลัวม่อนผาเมิงกันนัก” (พงศกร 2555ก, 438) เร่ืองเลา่ นจ้ี งึ มีสว่ นเตือนภัยใหค้ นในสงั คมเหลา่ น้นั ปลอดภยั จากการถกู พิษของนลิ นวารา แตเ่ จา้ แหวนแกว้ กลบั ฝ่า ฝนื เข้าไปในปา่ ตอ้ งห้ามเพื่อเอาดอกนิลนวารามาสร้างดอกกุหลาบรตั ตกิ าล เหตุการณ์นี้อาจมองได้ว่า เจ้าแหวนแก้วได้ทา้ ผดิ จารตี ทอ้ งถนิ่ โดยนยั นี้ ดอกกหุ ลาบสีน้าเงนิ ทีเ่ กิดขน้ึ จึงอาจเปน็ ภยั ทีเ่ กิดข้นึ จาก การละเมิดแบบแผนของท้องถน่ิ กเ็ ป็นได้ เห็นได้ว่า ข้อมูลเชิงคติชนในนวนยิ ายของพงศกรสะท้อนถึงแบบแผนการด้าเนนิ ชีวิตของ คนในแต่ละพื้นทซ่ี ึ่งแมค้ ้าอธบิ ายดังกล่าวอาจไม่สอดคล้องตามหลกั วทิ ยาศาสตร์ หากความสา้ คัญมไิ ด้ อยู่ที่ข้อมลู ดังกลา่ วถูกหรือผดิ แต่อยู่ที่องค์ความรูน้ ี้ช่วยให้ความรู้แกค่ นในสังคมให้สามารถด้ารงชวี ติ ได้อย่างดี โดยเฉพาะสังคมท้องถ่ิน ข้อมูลเชิงคติชนยังแสดงถึงแบบแผนภูมิปัญญาอันแยบยลเพื่อ ควบคมุ สังคมใหอ้ ย่กู ับธรรมชาติรอบตัวไดอ้ ยา่ งปลอดภัยและท้าให้สงั คมขบั เคล่อื นต่อไปอยา่ งสงบสุข โดยนยั นี้ การน้าเสนอบทบาทหน้าทข่ี องข้อมูลเชงิ คตชิ นในนวนยิ ายของพงศกรจงึ เทา่ กับการนา้ เสนอ วา่ คนในท้องถ่ินมี “องคค์ วามรู้” และ “วัฒนธรรม” ในการจดั การและธ้ารงเสถียรภาพทางวัฒนธรรม (stability of culture) ของกลุ่มตน แม้อาจแตกต่างไปจากกระแสหลัก แต่ข้อมูลเชิงคติชนก็ท้าให้ พวกเขามตี ัวตนและด้ารงกลุ่มชนของพวกเขามายาวนาน การน้าเสนอภาพด้านบวกเหลา่ นี้ก็โยงไปสู่ การมองว่า เขาก็มีความเจริญทางวัฒนธรรมไม่ต่างจากวัฒนธรรมอื่น การเปล่ียนให้เขาเป็นเราที่ เหมือนกนั ก็ไม่ใช่เรือ่ งจ้าเปน็ หากชี้ให้เหน็ การอยู่รว่ มกันไดใ้ นสงั คมทม่ี คี วามแตกต่างหลากหลาย 4.2.2 ข้อมูลเชิงคติชนกับการนาเสนอแนวคิดเร่ืองการเปดิ รับความรู้ท่หี ลากหลาย นวนิยายของพงศกรได้น้าเสนอฉากสถานที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสงั คมท่ีความเป็นเมืองได้ เข้าไปเปลย่ี นพ้ืนที่ท้องถ่ิน โดยนวนิยายต้องย้าถึงการเปดิ รับการเปลีย่ นแปลงว่าเราไมอ่ าจหา้ มความ เปลี่ยนแปลงทม่ี าถงึ ได้ หากมใิ ช่เพียงแต่คนทอี่ าศัยในทอ้ งถ่ินเท่านั้นต้องปรับตัว คนภายนอกทเ่ี ข้ามา ต้องเปิดรับถึงความหลากหลายของความรู้ วิถีคิดและวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นด้วย นวนิยายของ พงศกรได้ยกกรณคี วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์เข้ามาชี้ให้เหน็ วา่ องค์ความรชู้ ุดน้กี ย็ ังมีขดี จ้ากัดเมอื่ เผชญิ กบั เหตุการณ์เหนือธรรมชาติ เพื่อเปิดพ้ืนท่ีใหภ้ ูมิปัญญาพื้นบ้านได้แสดงบทบาทแทนท่ีเพ่ือแสดงถงึ การ ประนปี ระนอมระหวา่ งความรู้สองชดุ นี้เขา้ กนั 4.2.2.1 แนวคิดเร่ืองการเปิดรับความร้ทู ีห่ ลากหลาย นวนิยายของพงศกรน้าเสนอฉากท้องถิ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไว้แทบทุกเร่ือง ดังเชน่ ในเบอื้ งบรรพ์ “ตัวเมืองอุดรธานีวันนีไ้ มม่ ีอะไรคุ้นตามนี เลยแมแ้ ตน่ ้อย เวลาสิบกวา่ ปนี ้นั จะว่า นานกน็ านพอดู แต่จะวา่ ไม่นานก็ไม่นานเทา่ ใดนกั หากความเปลีย่ นแปลงมอี ยา่ งรวดเร็วและมากมาย ตึกเก่าที่เคยคุ้นตาหายไป มีตึกใหม่รูปทรงแปลกตาผดุ ขึ้นมาแทนท่ีจนดูราวกับจะเปน็ วัฏจักรไปเสีย แล้ว” (พงศกร 2552, 30) ในวังพญาพราย “การมาถึงของโรมสร้างความเปล่ียนแปลงและความ
189 แตกแยกใหก้ ับชาวบ้านวังพรายอย่างใหญ่หลวง...ชายหนุ่มยึดเอาตลาดสดซ่ึงเขาเปน็ เจา้ ของมาสรา้ ง เป็นหา้ งสรรพสนิ คา้ ครบวงจรขนาดย่อม หา้ งสรรพสินค้าแห่งแรกของอ้าเภอ ตดิ แอรเ์ ยน็ ฉ่้า มีของขาย ทุกอย่างตัง้ แตเ่ สื้อผา้ จิปาถะไปจนถงึ อาหารส้าเร็จรูป...ห้างสรรพสนิ คา้ ของโรมเจริญ กิจการก้าวหน้า ไปด้วยดีไม่หยุดย้ัง หากคนที่ก้าลังจะแย่ก็คือ พ่อค้าแม่ขายรายเล็กๆ ที่เคยมีวิถีชีวิตสงบสุขและเคย ค้าขายกันอยู่แต่ในตลาดสด”(พงศกร 2557ค, 44-45) ส่วนในฤดูดาว ได้เล่าว่า “ผาช้างรอ้ งท่หี ล่อน เคยคุ้นมาแต่เล็กแต่น้อยน้ันเปล่ียนแปลงไปมากในช่วงเวลาเพียงแค่ห้าปีท่ีจากไป...น่ีละ กระแส วัฒนธรรมที่หลั่งไหลไปจนท่ัว ไม่เว้นแม้แต่บ้านป่าดงดอย ดรสานึกภาพไม่ออกเลยว่าอีกสักสิบปี ผาชา้ งร้องและคนเย้าจะเปลี่ยนไปมากอีกสกั แค่ไหน” (พงศกร 2555ข, 40-41) แม้เร่ิมแรกนวนิยายของพงศกรแฝงนัยยะหวาดเกรงการเปล่ยี นแปลงท่ีเกิดข้ึน หากเม่ือ เร่ืองด้าเนินไปเรื่อยๆ จะเห็นว่านวนิยายมิได้เสนอให้หยุดย้ังความเปล่ียน แต่เสนอให้ยอมรับ เพื่อ รับมือการเปลี่ยนแปลงเหล่าน้ันอย่างรู้เท่าทัน สังเกตได้จากความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครเอกชาย หญิงหลายคู่มกั เรม่ิ ตน้ จากความเข้าใจผิดเพราะคิดว่าอกี ฝา่ ยยืนอยู่คนละฝ่ังของอุดมการณ์ ดงั เชน่ ใน ฤดูดาวท่ี “ดรสาเป็นฝ่ายอนุรักษ์ป่า ส่วนเขา ในสายตาของหล่อนคือผู้ท้าลายป่า แล้วผู้อนุรักษ์กับ ผู้ท้าลายจะมีโอกาสเป็นมิตรกันได้หรือไร” (พงศกร 2555ข, 342) การเลื่อนความสมปรารถนา ระหว่างตวั ละครเอกทัง้ สองฝา่ ยเปน็ การเรียนรู้เพอ่ื เปิดรบั ความตา่ งอยา่ งประนีประนอม เพราะ “ไม่มี ใครจะอนรุ กั ษอ์ ะไรไดส้ ุดขั้วหรือทา้ ลายอะไรได้อยา่ งสุดข้วั หรอก ทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งจะตอ้ งมีจุดสมดลุ ของ มัน เราสองคนจะก้าวออกมาพบกันที่คร่ึงทางไม่ได้หรืออย่างไร” (พงศกร 2555ข, 501-502) การ ลงเอยดว้ ยความเข้าใจด้วยการยอมออกจากจุดทตี่ นเองเคยยืนมาสูก่ ารยอมรบั ฟงั จดุ ยืนของคนอื่นท้า ใหค้ วามรกั ของทัง้ คู่สมหวงั เชน่ เดยี วกบั ตอนจบในวงั พญาพราย ปญั หาที่ขิมทองกลัวเก่ียวกบั การเขา้ มาของห้างสรรพสินคา้ ของโรม กลายเปน็ เร่อื งเลก็ น้อยเม่อื มหี ้างสรรพสนิ ค้าจากตา่ งชาตบิ กุ ตลาดเข้า มาจนท้าใหว้ ถิ ีชมุ ชนเปลย่ี นแปลงไปอย่างมาก แต่โรมได้สอนใหข้ มิ ทองมองเปน็ เรือ่ งธรรมดาและต้อง เล้ียงดลู กู ใหเ้ ติบโตอยา่ งรเู้ ท่าทัน สามีสอนหล่อนใหร้ ู้จักปลงและเข้าใจถึงวฏั จกั รความเปลย่ี นแปลงของโลก ความเจริญก็ ยอ่ มคกู่ ับความเสื่อม สกั วนั หน่ึงหา้ งสรรพสินค้าใหญโ่ ตพวกน้ีจะต้องถงึ วันเส่ือมถอย ตอนแรกหล่อนอยากเล้ียงลูกใหเ้ ตบิ โตมาแบบท่ีพ่อเลี้ยงดูหล่อน...หากพอเอาเข้าจริง ท้ังหล่อนและสามีก็มาน่ังถกเถียงกันอยู่นานกว่าจะได้ข้อสรุปว่า โลกปัจจุบันได้ เปลี่ยนไปมากแล้ว ถ้าลูกจะมีชีวิตอยู่ในโลกกลมๆ ใบน้ี อยู่ในสังคมที่น้าใจเหลืออยู่ น้อยเต็มทีได้อย่างสวยงาม เขาและหล่อนจะตอ้ งเล้ียงลูกให้รู้เท่าทันต่อทุกเล่ห์กลของ มนุษย์ ขณะเดียวกันก็สอดใส่ความรักและเอื้ออาทรของครอบครัวไทยลงไปในทุก ข้ันตอนของชีวิตเพื่อให้ลูกได้เติบโตขึ้นมาอย่างผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพกายและใจแข็งแรง (พงศกร 2557ค, 360-361)
190 ในอีกด้านหน่ึง นวนิยายของพงศกรยงั ส่งสารถึงคนเมอื งใหป้ รับมุมมองว่า คนในท้องถิ่น ไม่ไดด้ อ้ ยกวา่ คนเมอื ง พวกเขามีภูมิปญั ญาในการใชช้ ีวติ ร่วมกบั ธรรมชาติ โดยพงศกรสร้างโครงเรื่องท่ี มีองค์ประกอบแฟนทาสติกผ่านความลึกลับเหนือธรรมชาติของตัวละครอมนุษย์ เหตุการณ์เหนือ ธรรมชาติ ของวิเศษและอนื่ ๆ น้ามาสู่ความสับสนในจิตใจของตัวละครเอก การน้าความลึกลับเหนอื ธรรมชาติมาใช้นับเป็นกลวิธีที่ ท้าให้คนเมืองเปิดใจยอมรับขีดจ้ากัดขององค์ความรู้ของ พ วก ตน โดยเฉพาะองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทเ่ี ชอื่ ว่าถกู ตอ้ งทส่ี ดุ ดังเชน่ เขาเกิดมาในยุคที่มนุษย์สามารถไปเหยียบได้ถึงดวงจันทร์ ยุคที่เด็กถูกสอนให้เช่ือใน วิถที างของวิทยาศาสตร์ ซง่ึ ทุกอย่างเปน็ เหตุเป็นผลแก่กนั และสามารถอธบิ ายได้ แต่ชั่วเวลาไม่ถึงสิบวันที่เขาเดินทางกลับมาท่ีเมืองปักษาเพื่อติดตามเด็กชายคนหนึ่ง กลับมีเร่ืองราวพิลึกพิลั่นเกิดขึ้นกับเขามากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นเร่ืองท่ีอยู่เหนือ ค้าอธิบายใด นั่นทา้ ใหเ้ ขาอึดอดั ขัดใจ (พงศกร 2558, 208) เหตุน้ีจงึ ไม่นา่ แปลกใจว่า เมื่อพุทธิต้องเผชิญเหตุการณ์ลกึ ลบั หลายต่อหลายครัง้ จึงทา้ ให้ “เขารู้สกึ เหมือนยืนอยู่บนทางแยกของความคิด มันเป็นความร้สู ึกทกี่ า้ ก่งึ ระหว่างความน่าเช่ือถือกบั ความเหลวไหลไรส้ าระ สมองส่วนทค่ี วบคุมความคิดอย่างเป็นระบบ ความเช่ือถือในเหตุผล ในส่ิงที่ อธิบายและสามารถจับต้องได้ ทา้ งานอย่างหนัก เพื่อตอ่ ตา้ นกบั สมองในส่วนที่ไมต่ ้องการตรรกะใดๆ” (พงศกร 2558, 99) นอกจากพุทธิ ตัวละครอื่นๆ ท่ีเป็นผู้มสี ถานะทางสงั คมสงู และผา่ นการศึกษาใน ระดบั สงู เช่น ดร.สนิ ธพ เป็นผเู้ ช่ียวชาญดา้ นพนั ธุศาสตร์ ดร.ชุษณะ เปน็ ผู้เช่ียวชาญด้านกุหลาบ เปน็ ตน้ ตา่ งต้องเผชญิ เหตุการณน์ อกเหนือกรอบวิทยาศาสตร์ เหตุการณ์เหลา่ นไ้ี ด้สั่นคลอนระบบความคดิ ของตัวละครเอกอยา่ งมนี ัยสา้ คัญ เม่ือโลกในนวนิยายอยู่นอกเหนือจากความรู้แบบวิทยาศาสตร์กับตรรกะปกติที่ใช้กัน โดยทัว่ ไปแล้ว พน้ื ท่ใี นนวนิยายจงึ ต้องใช้ค้าอธิบายจากความรู้ชดุ อน่ื อนั ไดแ้ ก่ องคค์ วามรู้ของชาวบา้ น โดยเฉพาะต้านาน ความเช่ือหรือเรอ่ื งเล่าจากชาวบ้านมาใช้แทน เช่น ดรสาท่ีจบนิเวศวิทยากลับไม่ รู้จักสัตว์ร้ายในผาช้างร้องที่ช่ือว่ากะนาแปะย้อง ส่วนดร.สินธพเองไม่สามารถไขค้าตอบของ ปรากฏการณฤ์ ดูดาว จนพวกเขาต้องอาศยั ภูมิปัญญาของคนในทอ้ งถนิ่ มาไขคา้ ตอบ ฯลฯ ความลึกลับ เหนือธรรมชาติจงึ ชว่ ยเปดิ พน้ื ที่ให้ “ความเปน็ ไปได้รูปแบบอ่นื ” เข้ามาแทนที่ โดยนัยน้ี นวนิยายของ พงศกรจึงสะทอ้ นให้เห็นว่าความรแู้ บบวิทยาศาสตรย์ ังมีขีดจ้ากัดและอาจไม่สามารถไขค้าตอบให้กับ ทกุ สิง่ ได้อย่างสมบรู ณ์ท้ังหมด อน่ึง นวนิยายของพงศกรมไิ ด้วิพากษ์องค์ความรทู้ างวิทยาศาสตร์เสียทีเดียว พงศกรได้ นา้ เอาหลักการทางวิทยาศาสตรม์ าอธบิ ายส่งิ เหนอื ธรรมชาติและการใหเ้ หตุผลแกส่ ง่ิ เหนือธรรมชาติวา่
191 สามารถอธิบายตามหลักวิทยาศาสตร์ได้เช่นกัน ดังเช่น ในเร่ืองเบอื้ งบรรพ์ มีผู้ตั้งข้อสังเกตเก่ียวกับ เหตกุ ารณเ์ มอื งล่มในนทิ านผาแดงนางไอ่ตามแนวทางวิทยาศาสตรไ์ วว้ า่ “ผมคดิ วา่ พนื้ ดนิ แถวนี้เป็นพ้ืนดินที่ออ่ นและไม่เซต็ ตวั ครับ เพราะเปน็ ดนิ ท่เี กดิ จากการ ทบั ถมของตะกอนและโคลน อีกอย่างพืน้ ทแ่ี ถวนี้ ขา้ งใต้ยงั มชี ้นั ของหนิ เกลือซ้อนกันอยู่ หลายช้ัน ท่ีชาวบ้านเขาท้าเกลือสินเธาว์กันไงครับ...เม่ือมีการระเบิดเกิดขึ้น แรงส่ันสะเทือนนน้ั กเ็ ลยทา้ ให้พืน้ ดนิ ยบุ ตัวลงเหมือนเรือ่ งทา้ วผาแดงกับนางไอ่นั่นไง” “นักวิทยาศาสตร์หลายคนเช่ือว่า ไม่ได้ถล่มลงไปด้วยพญานาคเหมือนอย่างใน ตา้ นานหรอกครับ เชือ่ กนั วา่ เปน็ เพราะแรงระเบิดหรอื เพราะแรงสน่ั สะเทือนของการจุด บั้งไฟจ้านวนมากๆพร้อมๆกันต่างหากที่ท้าให้ช้ันหินเกลือท่ีอยู่ข้างใต้เมื องเกิดการ ส่นั สะเทอื นและทรดุ ตวั ยบุ ลงไป และนา้ ก็ไหลบา่ เขา้ ทว่ มเมอื ง” (พงศกร 2552, 161) ส่วนในฤดูดาว พงศกรน้าประเด็นถกเถียงเร่ืองกระบวนการพันธุวิศวกรรมในพชื หรือพชื GMOs มาน้าเสนอ โดยช้ีให้เห็นผลกระทบจากการท้าสวนส้ม GMOs ของสินธพว่า น้องสาวและ คนงานในสวนส้มป่วยด้วยโรคประหลาด ตลอดจนมีผีเส้ือและสัตว์ในสวนส้มล้มตายเกล่ือนกลาด เหตกุ ารณน์ ้ไี ดล้ กุ ลามไปยังบริเวณอื่นของผาช้างรอ้ ง เม่ือเป็นเชน่ น้ีคนในหมู่บ้านจึงเกิดความตระหนก ว่าเป็นลางรา้ ยหรอื เป็นการลงโทษจากผีทพ่ี วกเขานับถอื ซ่งึ ทา้ ใหด้ รสาตกเป็นจ้าเลยของสงั คมไปโดย ปรยิ าย แต่ในความเป็นจรงิ แล้วนวนิยายได้ใหเ้ หตุผลว่า เหตุการณ์นมี้ ิได้เป็นลางร้ายทไ่ี รเ้ หตุผล แตม่ า จากการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีไม่อาจสามารถอธิบายให้ชาวบ้านเข้าใจได้ การน้าวทิ ยาศาสตรม์ าอธบิ ายเหตกุ ารณล์ ึกลบั ยงั ปรากฏอยา่ งโดดเด่นในกุหลาบรัตติกาล กลา่ วคือ ผทู้ ี่แตะตอ้ งกหุ ลาบรตั ตกิ าลอย่างมานนท์เกิดความหลงใหลอยูก่ บั กหุ ลาบอย่างขาดสติ เห็น ภาพของนิลนวารามาปรากฏตัว เหตุท่ีเป็นเช่นน้ี ด้านหน่ึงอาจเปน็ เพราะนิลนวาราได้เข้ามาครอบง้า ความคิดกับการกระท้าของพวกเขา แต่ในอีกมุมหนึ่ง นวนิยายเผยใหเ้ หน็ ว่าอาการขาดสติดงั กลา่ วมี คา้ อธิบายทางวทิ ยาศาสตร์รองรับวา่ มีสารเคมีชนิดหนึ่งในกลีบดอกนิลนวาราในปริมาณที่สูงมาก มากถึงขนาดล้มสัตว์ตัว ใหญๆ่ ได้เลยนะ อันท่ีจรงิ สารเคมีชนดิ นีม้ ีอยูใ่ นฝ่ินในกัญชาด้วย แตป่ รมิ าณทมี่ ีในตน้ ไม้ พวกนัน้ น้อยกว่าในดอกนิลนวาราหลายสิบเท่า สารนเี้ ปน็ สารเสพตดิ สามารถท้าให้คนท่ี เสพเข้าไปเกิดภาพหลอน หูแว่ว การรับรู้เรื่องเวลาและสถานที่ผิดเพ้ียนไปจากความ เป็นจริง...ถ้าเสพต่อเนื่องกันนานๆ ก็จะท้าให้สมองถูกท้าลาย...กุหลาบรัตติกาลไดร้ บั คุณสมบัตินี้มาจากดอกนิลนวาราซ่ึงเป็นต้นแม่...ย่ิงมีเชื้อไวรัสเป็นตัวน้ายีนของ นิลนวาราไปผสมกับกุหลาบขาวฝร่งั เศส ความร้ายแรงของนิลนวาราก็ย่ิงแสดงออกมา ใหเ้ ห็นในกหุ ลาบรนุ่ ลกู ” (พงศกร 2555ก, 492)
192 อย่างไรก็ดี พงศกรได้ทงิ้ ตอนจบแบบปลายเปดิ ว่า คา้ อธิบายทางวิทยาศาสตร์อาจไม่ใช่ ค้าตอบท่ีถูกต้องที่สุด เพราะภาวรีเองได้พบกับเหตุการณ์ประหลาดที่เกี่ยวข้องกับนิลนวาราเช่นกนั ทั้งๆท่ีหล่อนไม่เคยถูกหนามกุหลาบรัตติกาลต้ามือ ดังตอนที่หล่อนขึ้นไปส้ารวจที่ตั้งของเวียงคีรีค้า หล่อนมองเหน็ ภาพเมืองเป็นเงาสะทอ้ นในนา้ ข้ึนมาวาบหนงึ่ “หล่อนมั่นใจวา่ ตนเองไม่ไดต้ าฝาด ยอด ปราสาทสีทองท่ีส่องสะท้อนแสงแดดเปน็ ประกายระยับยังคงติดอยู่ในหว้ งค้านึงของหล่อนมาตลอด ภวารีมั่นใจว่านั่นเป็นส่วนหนึ่งของเวียงคีรีค้า เมืองลับแลในต้านานท่ีชาวบ้านแถวน้ันเล่าขาน ไม่ใช่ ภาพหลอนทเี่ กิดจากความฟนั่ เฟอื นอย่างแนน่ อน” (พงศกร 2555ก, 489) อกี ตอนหน่งึ คือ ในตอนจบ ของเรื่อง เมื่อชุษณะเผาดอกกุหลาบรัตติกาล “ภาวรีสะดุ้งจนสุดตัว เพราะหูแว่วเหมือนได้ยินเสียง ของอสิ ตรีกรีดรอ้ งโหยหวนด้วยความเจบ็ ปวด แต่ครัน้ พอตัง้ ใจฟังกลบั ไม่ไดย้ ินเสยี ง” (พงศกร 2555ก, 505) เหตนุ ี้กลา่ วได้ว่า กหุ ลาบรัตตกิ าล ได้นา้ เสนอมมุ มองและเสนอแนะให้เหน็ วา่ เหตกุ ารณเ์ ดียวกนั อาจมีค้าอธิบายทเ่ี ป็นไปได้มากกว่าหน่ึง ก่อนจบเร่ืองโดยการทง้ิ ใหผ้ อู้ ่านได้คิดต่อเองว่าจะเชอื่ มุมใด เพราะคา้ อธบิ ายทางวิทยาศาสตรห์ รือจากความเชอ่ื ต่างมีความเป็นไปไม่ต่างกัน เม่ือความรู้ชุดเดียวอาจยังมีช่องโหว่ นวนิยายของพงศกรจึงเสนอทางออกว่า ควรน้า ความร้ตู ่างๆ ท่มี ีมาผสมผสานให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ แทน ตวั อย่างท่ีเหน็ ได้ชัด คอื การสร้างฉากเมือง คชาปุระในเรื่องคชาปุระและนครไอยรา เพราะพงศกรไมไ่ ด้เสนอการกลบั ไปอยู่กบั ธรรมชาติแบบใน อดีต หาก “เมืองแหง่ นี้เปน็ กรีนซิต้ี เมืองสีเขียวท่ีปรบั การด้าเนินชีวิตประจ้าวันให้เข้ากับสิง่ แวดล้อม และสภาพธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน พลังงานทั้งหมดในเมืองมาจากธรรมชาติ” (พงศกร 2557ค, 133) อันหมายถึงเมืองทีด่ ้าเนินไปตามวิทยาการของโลก โดยน้าวิทยาการสมัยใหม่มาใช้เพื่อการอยู่ ร่วมกนั กับธรรมชาตอิ ย่างกลมกลืนนนั่ เอง สาเหตทุ ่ีนวนิยายของพงศกรเน้นย้าแนวคิดการเปิดรบั ความรู้จากหลายองค์ความรเู้ ชน่ น้ี อาจเป็นเพราะในบริบทโลกหลังสมัยใหม่ (postmodern) ความรแู้ บบวทิ ยาศาสตรไ์ ดถ้ กู ตงั้ คา้ ถามว่า สามารถอธิบายทุกสิ่งบนโลกได้จริงหรือ กล่าวคือ สภาวะหลังสมัยใหม่ (postmodernity) เป็น ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึ้นในช่วงกลางครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 หลังสงครามโลกสิ้นสุด สุรเดช โชติอุดมพนั ธ์ (2553, 237) กล่าวว่า การหานิยามที่ชัดเจนของค้าว่า “หลังสมัยใหม่” หรือ “โพสต์โมเดิร์น” (postmodern) เป็นเร่ืองท่ีท้าได้ยาก เพราะนักวิชาการแต่ละแขนงได้กลา่ วถงึ แงม่ มุ ของสภาวะหลัง สมัยใหม่ท่ีแตกต่างกันไป หากแกนหลักหน่ึงของกระบวนทัศน์ (paradigm) โพสต์โมเดิร์น คือ การ ปฏิเสธสารัตถะหรอื แก่นแทข้ องส่ิงที่คงท่ีและตายตัว เช่น อัตลักษณ์ เพศสภาพ ประวัติศาสตร์ ฯลฯ มาสู่การมองเห็นความซับซ้อน ยอกย้อน ไหลเลื่อนและมองถึงการเมืองท่ีแฝงเร้นอยู่ ส่วนที่มาของ กระบวนทัศน์นี้ เสาวณิต จุลวงศ์ (2550ก, 16-20) สรุปว่าเกิดจากการต้ังค้าถามต่อองค์ความรู้แบบ สมัยใหม่ (modernism) ท่ีเคยเช่ือว่าความรู้จากแนวทางทางวิทยาศาสตร์เป็นกลไกหลักในการ แสวงหาคา้ ตอบเกย่ี วกบั สิง่ ตา่ งๆ ได้ถูกตอ้ งสมบูรณ์ ความคดิ เช่นนี้นา้ ไปสูค่ วามเช่ือว่าองค์ความรู้ทาง
193 วิทยาศาสตร์สามารถค้นหาความจริง แก้ปัญหาใหก้ บั มนุษย์และทา้ ให้สงั คมมนุษย์สงบสขุ ได้ แต่เมือ่ สังคมได้พัฒนาไปอย่างซับซ้อนมากยิ่งข้ึน นักคิดกลุ่มหลังสมัยใหม่มองว่า องค์ความรู้แบบ วิ ท ยาศาส ตร์ อาจไม่ สามารถอ ธิ บายหรือ ท้าความเข้ าใจปร ากฏก าร ณ์ นสัง คมท่ีมี ความซับซ้อน หลากหลายได้ นักคดิ กลุ่มน้ีตั้งขอ้ สงสัยเกีย่ วกับสทิ ธิอา้ นาจ (authority) ขององคค์ วามรู้หรอื แบบแผน ใดแบบแผนหนึ่งอันเป็นบรรทัดฐานท่ีถูกต้องเพียงชุดเดียว โดยเฉพาะองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาตรฐานทางจริยศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ นักคิดคนสา้ คัญท่ีเสนอการเปลีย่ นแปลงกระบวนทศั น์ (paradigm shift) ขององค์ความรู้ คือ ฌ็อง-ฟรองซัวส์ เลียวตารด์ (Jean-François Lyotard) เสนอไว้ในหนังสือ The Postmodern Condition: A Report on Knowledge (2002) ว่า ต้ังแต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 สังคมสมัยใหม่ ตีกรอบการมองโลกและการเข้าถึงความจริงรอบตัวบนความเช่ือเรื่องเหตุผลและน้าไปสู่การอธิบาย โลกด้วยกระบวนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์เป็นหลัก เพราะเช่ือว่าวิทยาศาสตร์สามารถพิสูจน์ทุกสง่ิ ทกุ อย่างตามกรอบประจักษ์นยิ มได้ ผ่านการทดลองและการใช้ตรรกะเพือ่ นา้ ไปสู่ความจรงิ แท้เพื่อจะได้ ความรู้แบบปรวิสัย (objective) แต่ในสภาวะหลังสมัยใหม่เลียวตารด์ได้จัดจ้าแนกความรู้เป็นสอง กลุ่ม คือ ความรู้แบบวิทยาศาสตร์ (scientific knowledge) และความรู้แบบเร่ืองเล่า (narrative knowledge) เลยี วตารดม์ องว่า ความรูแ้ บบวิทยาศาสตร์เป็นเพียงชุดความคิดท่ีถูกสถาปนาเปน็ เรื่อง เล่ากระแสหลกั (grand narratives) เพ่ือสร้างความชอบธรรมต่อองค์ความรู้ของตน พร้อมกับท้าให้ ความรูแ้ บบเรื่องเล่าอน่ื ๆ ถกู ลดทอนอ้านาจลง แตน่ า่ สังเกตว่า แมค้ วามร้แู บบวทิ ยาศาสตรไ์ ดส้ ถาปนา ตนเองเป็นเกมของภาษา (language game) เพียงเกมเดียวทีส่ ูงเด่นกว่าเกมอืน่ และลดทอนชดุ ความรู้ อื่นลงไป แต่ความรู้แบบวิทยาศาสตร์นี้จ้าเป็นต้องมีความรู้แบบเร่ืองเล่ามารองรับเพ่ือสนับสนุนให้ ความรู้แบบวิทยาศาสตร์ชอบธรรมในการด้ารงอยู่ ดงั เช่นเรือ่ งเล่าทว่ี ่าหากวิทยาศาสตรเ์ จริญข้นึ จะทา้ ให้ความเป็นอยู่ของมนุษยด์ ีย่งิ ๆข้นึ เรื่องเล่านี้เปน็ สว่ นผลกั ดนั ให้มนุษย์ทา้ การท้าทดลองต่อไปอยา่ งไม่ หยดุ ยงั้ (สรุ เดช โชตอิ ดุ มพนั ธ์ 2559, 130-134) เลียวตารด์ยงั เสนอว่า สังคมร่วมสมยั ทเ่ี รากา้ ลงั อาศัยอยู่เป็นสงั คมหลังอุตสาหกรรมหรือ วฒั นธรรมหลังสมยั ใหม่ (late capitalism) เรอ่ื งเลา่ ทเ่ี ป็นความคิดรวบยอดได้สูญเสยี ความน่าเชื่อถือ ไปแล้ว เราจึงควรหันมาให้ความส้าคัญกับเร่ืองเล่ากระแสรอง (micro narratives) มากข้ึน เพราะ เรื่องเล่าเหลา่ นี้ต่างมีความชอบธรรมทจ่ี ะด้ารงอยู่เทา่ กัน โดยเฉพาะความรู้แบบดั้งเดิม (traditional knowledge) เลียวตารด์มองว่า ความรู้แบบน้ีแตกต่างอย่างชัดเจนกับองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพราะองคค์ วามรู้แบบดั้งเดิมมีส่วนส้าคัญต่อการยึดเหน่ียวสงั คมไว้ผ่านการก้าหนดว่า สงิ่ ใดควรได้รับ การกล่าวถึงหรือควรน้ามาปฏิบัติ ความรู้ดังกล่าวจึงท้าหน้าที่หรือมีบทบาทต่อวัฒนธรรมน้ันๆ ซ่ึง แตกต่างไปจากองค์ความรทู้ างวิทยาศาสตรท์ ม่ี กี ฎเกณฑ์เฉพาะของตน (ธีระ นชุ เปีย่ ม 2546, 12-13) หากมองตามแนวนี้ ความรู้จากวิทยาศาสตร์ท่ีถูกยกใหส้ งู เด่นกว่าองค์ความรแู้ บบเร่ืองเล่าเรม่ิ ถูกตั้ง
194 ค้าถามถึงความชอบธรรม และยังท้าให้ความรู้รูปแบบอ่ืน เช่น ความเช่ือ ภูมิปัญญาชาวบ้าน ฯลฯ มที ย่ี นื ไดม้ ากขึ้น โดยไม่ถกู ครอบงา้ จากองคค์ วามรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ท้ังน้ี นวนยิ ายของพงศกรไดส้ ะท้อนอทิ ธพิ ลทางความคิดเรือ่ งสภาวะหลังสมยั ใหมอ่ ยู่ด้วย ดังท่ีพงศกรน้าความรู้ทางวิทยาศาสตรก์ ับเรอ่ื งเหนอื ธรรมชาติท่ดี ูตรงกันข้ามกันมาปรากฏร่วมกนั ได้ (วิรี เกวลกุล 2552, 67-68) พงศกรเองยังแสดงจุดยืนชัดว่า แม้ตัวเขาเป็นแพทย์ท่ีเรียนด้าน วิทยาศาสตร์มาโดยตรง แต่เขากลับมองว่า “ยังมีอะไรอีกเยอะมากที่มันไม่สามารถอธิบายได้ด้วย วทิ ยาศาสตร.์ ..บางอยา่ งมันอธิบายได้ แต่วา่ มันไม่สามารถใชท้ ฤษฎีวิทยาศาสตร์มาอธบิ าย” (ปรญิ ญา ชาวสมุน 2555, ออนไลน์) จึงไมน่ า่ แปลกใจวา่ ลกั ษณะเด่นประการหนง่ึ ของนวนยิ ายพงศกร คือ การ น้าประเด็นทางวิทยาศาสตร์และสง่ิ เหนือธรรมชาติขึ้นมาปรากฏร่วมกันอยเู่ สมอเพอื่ ใหม้ ุมมองจากท้ัง สองดา้ นอยา่ งสมดุลกนั (จณิ ณะ รุจิเสนีย์ 2554, 141) และจากทก่ี ลา่ วไปในหวั ขอ้ นยี้ งั สะทอ้ นให้เห็น ด้วยว่า นวนิยายของพงศกรไม่เพียงน้าเอาองค์ความรู้สองชุดมาน้าเสนอควบคู่กัน แต่นวนิยายของ พงศกรสะท้อนการปะทะระหว่างองค์ความรกู้ ระแสหลัก (grand narrative) อันหมายถงึ ความรู้แบบ วิทยาศาสตร์ กับความรู้กระแสรอง (micro narrative) เพ่ือแสดงให้เห็นข้อดีและข้อจ้ากัดของ องค์ความรู้แต่ละชุด ก่อนลงเอยด้วยการประนีประนอมว่า เราไม่จ้าเป็นต้องมีกรอบความคิดเพียง กรอบเดียวในการมองโลก หากควรน้าข้อดีของวิทยาการมาปรับใช้แบบผสมผสานเพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุดและรอบด้านมากท่ีสุด “เพื่อจะอยู่ในโลกท่ีได้เปลี่ยนแปลงไปแล้วใบนี้อย่างดีท่ีสดุ ไม่ใช่เอาแต่เพ้อฝนั หลอกตัวเองว่าไมเ่ ปน็ ไรหรอก...หากเรามองโลกดว้ ยสายตาเป็นกลางจะมองเห็น การเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดขึ้นทุกๆ ส่วน หากเรามีสติ มนุษย์อาจใชป้ ระโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงน้ีก็ได้ เพราะการเปลย่ี นแปลงมไิ ดม้ ีแต่แง่มุมเลวร้ายเสมอไป” (พงศกร 2557ข, 458) 4.2.2.2 การเทียบเคยี งข้อมลู เชงิ คติชนกบั วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อเสนอการเปิดรบั ข้อมูลเชิงคติชนเป็นองค์ความรู้ส้าคัญที่พงศกรน้ามามาอธิบายปรากฏการณ์ที่ วิทยาศาสตร์ไม่สามารถอธิบายได้และช้ีให้เห็นขีดจ้ากัดขององค์ความรู้ของคนเมือง เพื่อเปิดรับ “ความเป็นได้รูปแบบอื่น” ท้ังยังกลายเป็นทางออกของปัญหาที่ตัวละครเผชิญ การสร้างตัวละครผู้ เดินทางใหม้ ีสถานะทางสังคมสงู และมักเปน็ ผ้เู ช่ียวชาญด้านวิทยาศาสตร์นับเปน็ สญั ลกั ษณ์ส้าคัญตอ่ การเสนอแนวคิดนี้ เช่น ดร.สินธพ เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านพันธุศาสตร์ ดร.ชุษณะ เป็นผู้เช่ียวชาญด้าน กุหลาบ โรมเปน็ นายแพทย์ เป็นต้น เพราะเมอ่ื ผเู้ ช่ียวชาญทางวทิ ยาศาสตร์กลบั ต้องเผชิญเหตุการณ์ นอกเหนือกรอบวิทยาศาสตร์ พวกเขาจึงเกิดความส่ันคลอนในระบบความคิดอย่างมีนัยสา้ คัญ และ ต้องยอมรับองค์ความรู้จากข้อมูลเชิงคติชนมาใช้แทน ดังเช่นในฤดูดาว เมื่อเกิดเหตุกะนาแปะย้อง อาละวาดในผาชา้ งรอ้ ง ชาวเมืองอยา่ งดรสาทจี่ บการศกึ ษาปริญญาโทดา้ นนเิ วศวทิ ยาจากต่างประเทศ มา กลบั ไม่มคี วามรูจ้ ดั การสัตวร์ า้ ยไดด้ เี ท่ากับชาวบา้ นทมี่ อี งค์ความรู้
195 หากเปน็ เมอ่ื หลายเดือนกอ่ นหน้าน้ี ดรสาอาจจะไมย่ อมเชอื่ ในทฤษฎีของต่อนอู หล่อนจะต้องยืนยันหัวชนฝาเพ่ือให้สินธพน้ารถลงจากผาช้างร้องเ พื่อพาแสงดาไป ห า หมอและรักษาในโรงพยาบาลซ่งึ อยูใ่ กล้ที่สุด แต่มา ณ วินาทีน้ี หญิงสาวรู้แล้วว่า ยังมีเร่ืองราวอีกมากมายท่ีอยนู่ อกเหนือจากความ รับรู้และเข้าใจของมนุษย์ตัวเล็กๆ มนุษย์ท่ีคิดว่าตนเองเก่งฉกาจ สามารถควบคุม ธรรมชาติทีแ่ สนจะยิ่งใหญเ่ อาไวใ้ นก้ามือได้และมนุษยท์ ี่ท้าทายธรรมชาติและพระเจ้า ท้ายทส่ี ุดแลว้ ดรสาวา่ มนุษยต์ า่ งหากทีห่ ลงตวั เองและโง่งมงาย กับแคแ่ มลงเลก็ ๆ อยา่ ง แมงมุมสขี าวราวเงนิ ยวง ทคี่ นเย้าเรยี กว่า กะนาแปะย้อง ก็ยงั ไม่รู้จัก มาวันนี้ ดรสายอมรับโดยสนิทใจว่า วิทยาศาสตร์ท่ีหล่อนเรียนมาก็ไม่สามารถตอบ คา้ ถามท่หี ลอ่ นสงสยั ได้ทุกอย่าง (พงศกร 2555ข, 449) ฤดูดาว เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของการสะท้อนขีดจ้ากัดความรู้ของคนเมืองในการอธิบาย สิง่ รอบตวั จนตอ้ งนา้ เอาองคค์ วามร้จู ากเรือ่ งเล่าและความเชอื่ ของชาวผาชา้ งร้องมาเป็นองค์ความรชู้ ดุ หลักต่อการไขข้อข้องใจและคลายปมขัดแย้งในนวนิยาย นอกจากนี้ ตัวละครโรมในวังพญาพราย นับว่าน่าสนใจเพราะโดยพื้นฐานแล้ว โรมเป็นนายแพทย์ทีส่ ้าเร็จการศึกษามาทางด้านวิทยาศาสตร์ โดยตรงและเติบโตในต่างประเทศมาตลอด แต่ค้าสาปท่ีเขาเจออยู่นอกเหนือจากท่ีวิทยาศาสตร์ สามารถอธบิ ายได้ “คุณโรมก็เป็นหมอท้าไมถึงไม่หาทางรักษา สิ่งท่ีเกิดนี่อาจไม่ใช่ค้าสาป แต่เป็นโรค ประหลาดอะไรสักอย่างก็ได้นี่ฮะ เป็นไปได้ไหมว่าเขาแพ้แสงจันทร์ ร่างกายเลย เกิดปฏิกิริยารุนแรง หรืออาจจะเป็นเร่ืองของรังสีบางอย่าง เร่ืองของการกลายพันธ์ุ” แม้ไม่ใช่แพทย์ หากหล่อนก็ไม่ใช่คนโง่ ขิมทองสนใจเรื่องราวเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ และความก้าวหน้าทางการแพทย์ หล่อนจึงพยายามคิดหาทฤษฎมี าอ้างอิงอธิบายสิ่งท่ี เกิดขนึ้ กบั โรมตามประสาของคนรุน่ ใหมท่ เ่ี ตบิ โตมากบั โลกแหง่ เหตผุ ล “ถ้าเป็นอย่างเอ็งว่า เขาคงจะรักษาหายไปนานแล้วละ” หลวงพ่อชมท้าให้ความหวัง ของหล่อนหายวบั “ทโ่ี รมเลือกเรยี นแพทย์ก็เพราะเขาต้องการจะรักษาตัวเองนีล่ ะ และ ท่ีเขาไปเรียนถึงต่างประเทศก็เพราะหวังว่าวิทยาการที่ก้าวหน้ากว่าบ้านเราจะให้ คา้ ตอบกับเขาได้” (พงศกร 2557ค, 276) เหตนุ จ้ี ึงท้าให้โรมตัดสนิ ใจเดินทางกลับมายงั วังพราย เพราะโรมเชือ่ วา่ คา้ สาปทเ่ี ขาเผชิญ อยู่มิใช่สิ่งที่อธิบายได้ด้วยค้าอธิบายทางการแพทย์ “มันไม่ใช่โรคหรอกขิมทอง...มันเกิดจากความ อาฆาตแคน้ ของเรอื งแสงฟา้ คา้ สาปทีต่ กทอดมาในสายตระกูลของลอื อนิ ไท ไมม่ ยี า ไมม่ หี นทางใดจะ แก้ไขได้นอกเหนือจากเรืองแสงฟ้าเพียงคนเดียว” (พงศกร 2557ค, 301) จะเห็นว่า การสร้าง ตัวละครที่เป็นแพทย์และเติบโตในต่างประเทศน้ัน โรมไม่ควรจะไม่เชื่อค้าสาปดังกล่าว หากการ
196 ยอมรบั วา่ อาการดงั กลา่ วเป็นเพราะค้าสาป ไม่ใชโ่ รคแสดงถงึ การยอมรบั ขีดจ้ากัดขององค์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์อย่างเดน่ ชัด เม่ือเปน็ เชน่ นี้ ทางออกเดยี วจึงคอื การกลบั มายังวงั พรายซ่งึ เปน็ ตน้ ก้าเนิด ของค้าสาป และในตอนจบของนวนิยาย ภายหลังโรมยุติความขัดแย้งกับเรอื งแสงฟา้ โดยการใหอ้ ภัย แลว้ อาการทัง้ หมดของเขาไมเ่ คยกลบั มาปรากฏอีกเลย นอกจากนี้ ความขดั แยง้ ในนวนิยายอกี หลายเรื่องไมส่ ามารถคลค่ี ลายได้ด้วยค้าอธบิ ายทาง วิทยาศาสตร์ แต่ต้องใช้เรือ่ งเล่าหรอื ความเชื่อมาแก้ไขปญั หา เห็นได้ชัดจากโครงเรอื่ งของนวนิยายท่ี น้าการลงโทษในเร่ืองเล่ามาใช้แบบข้ามภพชาติ การคล่ีคลายความขัดแย้งจึงต้องย้อนกลับไปแก้ไข ความขัดแย้งที่มาจากเร่ืองเล่าเชิงคติชน ดังเช่นในเบื้องบรรพ์ ความฝันประหลาด เหตุการณ์ ประหลาดและความร้สู กึ ต่างๆ ของมีนลว้ นเกย่ี วขอ้ งกับนิทานผาแดงนางไอ่ ตลอดจนการตดิ อยู่ใต้ดิน ของวรัณกับการรอดชีวิตอธิบายได้จากการแก้ไขความขัดแย้งกบั ท้าวภังคี ส่วนเร่ืองสร้อยแสงจันทร์ ตัวละครจากเรื่องเล่าและความเชื่อเร่ืองผีเป็นส่วนส้าคัญต่อการผูกและคลายความขัดแย้งในเรื่อง เหตุการณ์ทเ่ี หน็ ได้ชัดคือ การใหน้ กกีรณะมีบทบาทช่วยพทุ ธิตามหาเดก็ ชายท่หี ายไป แสดงว่ามนษุ ย์ ไม่สามารถจะแก้ไขปญั หาน้ีได้ดว้ ยตนเอง เพราะเด็กชายหายตัวไปถูกสางไพรพรางตัวไว้ ซ่ึงเกินกวา่ ความสามารถของมนุษย์จะจัดการได้ การช่วยเหลือของกีรณะท้าให้พุทธิต้องประหลาดใจ เพราะ “เปน็ ไปได้อยา่ งไรท่โี พรงไม้ขนาดใหญข่ นาดน้ันจะรอดพ้นจากสายตาของคนตง้ั มากมายไปได.้ ..แสงสี ทองระยิบระยับจากวงปีกของกีรณะที่สาดมาต้องร่างของสางไพรเปรียบเสมอื นแสงตะวันสาดสอ่ ง มายังพื้นโลกในยามเช้าและท้าให้ละไอน้าค้างบนยอดหญ้าสลายหายไป เพียงไม่กอี่ ึดใจต่อมา พุทธิก็ ต้องเบิกตากว้างเมือ่ เงารา่ งของสางท้งั หลายสลายไปจนหมดสิ้นเหลอื ไว้เพียงโพรงไม้ขนาดใหญ่ที่โคน ต้นยาง และภายในนั้นมีร่างอวบอ้วนของเด็กชายวัยย่างสิบสองขวบนอนหลบั ใหลราวต้องมนตรา” (พงศกร 2558, 99-100) ส่วนตอนทา้ ยของเรื่อง พงศกรไดน้ า้ ความเชื่อเร่ืองบงั บดมาใชเ้ พือ่ ชว่ ยเหลอื พทุ ธทิ ตี่ กอยู่ในสภาวะคับขัน โดยให้พุทธิล่วงลา้ เข้าไปในดินแดนของบังบดและหลบซ่อนตัวจากคนท่ี ไล่ล่าพุทธิอยู่ การใช้ตัวละครท่ีมาจากเรื่องเล่าเชิงคติชนและความเชื่อมาใช้เพื่อช่วยเหลือตัวละคร ในนวนิยายเชน่ นเ้ี ท่ากบั ว่าเหตกุ ารณ์ในเรือ่ งไม่อาจแก้ไขได้ด้วยองค์ความรแู้ บบวิทยาศาสตร์ แต่ต้อง แก้ไขดว้ ยองคค์ วามรชู้ ดุ อื่น โดยเฉพาะความรู้จากขอ้ มูลเชงิ คติชน เมื่อองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์อาจมิใช่ค้าตอบเดียว พงศกรจึงเสนอการพ่ึงพาองค์ ความรู้ต่างๆ เข้าด้วยกนั โดยช้ีให้เห็นว่าการผสมผสานระหว่างองค์ความรวู้ ิทยาศาสตร์กบั ภูมปิ ญั ญา จากข้อมูลเชิงคติชนน้าไปสู่ความส้าเร็จ ดังที่ปฏิเสธไม่ได้ว่าดอกกุหลาบรัตติกาลในเร่ืองกุหลาบ รัตตกิ าลสา้ เรจ็ ได้จากการผสมผสานระหวา่ งองค์ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ของเจ้าแหวนแก้วซง่ึ รา้่ เรียน มาจากต่างประเทศเข้ากับดอกนิลนวารา ดอกไม้พิษที่พบเฉพาะถ่ิน การผสมดอกกุหลาบรัตติกาล ข้ึนมานับเป็นความส้าเร็จทเี่ กิดจากการผสมผสานระหว่างองค์ความรทู้ างวิทยาศาสตร์กับภูมปิ ัญญา ทอ้ งถิ่น แต่ทว่ากลับเปน็ “การฝืนธรรมชาติ” จึงนา้ มาสเู่ ร่ืองวุ่นวายตามมานัน่ เอง
197 ท้ังน้ี การผสมผสานระหวา่ งความรู้สองชุดท่ีนวนยิ ายของพงศกรน้าเสนอว่าพงึ กระท้า คือ การผสมผสานเพ่อื การอย่รู ่วมกนั กับธรรมชาติอยา่ งดี ดังท่ีปรากฏผ่านฉากเมืองคชาปุระในคชาปรุ ะ และนครไอยรา ด้านหนึ่งฉากนี้ได้รับความคิดจากเรือโนอาห์ในต้านานน้าท่วมโลกมา อีกด้านหนึ่ง นวนิยายเร่ืองน้ีได้เอาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติมาเสนอไว้ในเมืองแห่งนี้ เช่น ธนาคารเมล็ดพืช พลังงานแสงอาทิตย์ ฯลฯ การผสมผสานระหว่างฉากที่มาจากข้อมูลเชิงคติชนกบั การน้าเอาวิทยาการสมัยใหม่ผสมเข้าไปไดส้ ะทอ้ นนัยยะของการผสมผสานระหว่างองค์ความรเู้ ดิมกับ องค์ความรู้วิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน การผสมผสานองค์ความรู้ท้ังสองด้านเพ่ือการอยู่ร่วมกันกับ ธรรมชาตอิ ยา่ งกลมกลนื จงึ เปน็ แนวทางทน่ี วนยิ ายของพงศกรนา้ เสนอ กล่าวได้ว่า นวนิยายของพงศกรน้าเอาองค์ประกอบแฟนทาสติก (fantastic) ท่ีมีความ ลึกลับเหนือธรรมชาตนิ ่าติดตามมาเสนอความเป็นจรงิ แทนทจ่ี ะเลา่ เรื่องแบบตรงไปตรงมา (realistic) โดยองคป์ ระกอบแฟนทาสตกิ เป็นสว่ นน้าผอู้ ่านไปสคู่ วามเพลดิ เพลินทางอารมณ์ เสนอความเปน็ ไปได้ รปู แบบอื่น และชี้ใหเ้ ห็นว่า ความรแู้ บบวทิ ยาศาสตรย์ ังมขี ดี จา้ กัดทีอ่ ธบิ ายทกุ อย่างในโลกไมไ่ ด้ ขอ้ มูล เชิงคติชนจากความเชื่อและเรื่องเลา่ ทเ่ี ล่าสืบต่อกนั มาก็มีเค้าความจรงิ ทสี่ ามารถน้าปรบั ใช้ได้ในการ แกป้ ัญหาหรือเป็นค้าอธิบายท่สี มเหตุสมผลเช่นกัน โดยนยั นี้ องคค์ วามรูจ้ ากภูมิปัญญาจึงมไิ ด้ด้อยไป กวา่ วิทยาศาสตร์ การประสานกันขององคค์ วามรูส้ องชดุ หรือมากกวา่ นั้นเข้าดว้ ยจงึ เป็นส่ิงที่พงึ ทา้ เพอ่ื น้ามาสูป่ ระโยชนส์ ูงสดุ รว่ มกนั โดยสรุปแลว้ นวนยิ ายของพงศกรเสนอแนวคดิ เกย่ี วกับคุณค่าของวัฒนธรรมพื้นบ้านด้วย การเสนอว่า ข้อมูลเชิงคติชนเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและเป็นกลไกธ้ารงสัง คม การเข้ามาของ ตวั ละครจากภายนอกท้าใหส้ ังคมเปล่ียนไป แต่ขณะเดียวกัน พงศกรไดส้ รา้ งตัวละครเอกเขา้ ไปเรยี นรู้ ถงึ การมอี ยขู่ องกล่มุ ชนต่างๆ จนถงึ เรียนรู้ความเจรญิ ทางวัฒนธรรมของกลมุ่ ชนเหลา่ นัน้ เพอ่ื ใหย้ อมรบั สิ่งท่ีพวกเขาเป็น โดยไม่จ้าเป็นต้องเปลี่ยนพวกเขาเป็นเหมือนคนเมืองเสียทีเดียว อีกประเด็นหนึง่ พงศกรได้เสนอให้ฝ่ายคนชนบทต้องเปิดรบั วิทยาการจากภายนอก และสร้างเหตุการณ์ลึกลับเหนอื ธรรมชาติเพ่ือย้อนให้ฝ่ายคนเมืองเห็นขีดจ้ากัดขององค์ความรู้ของตน โดยเฉพาะความรู้แบบ วิทยาศาสตร์ หากนวนิยายของพงศกรมิได้เสนอว่าความรู้แบบวิทยาศาสตรเ์ ป็นสิ่งที่ควรปฏิเสธ แต่ เสนอว่าควรผสมผสานระหว่างองค์ความรทู้ ้ังสองเข้าด้วยกันมากกว่าเพื่อใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด จาก ทง้ั หมดนี้ นวนยิ ายของพงศกรจงึ นับวา่ แสดงแนวคิดความเทา่ เทยี มกนั ทางภมู ิปัญญาท่ีไม่ว่าวัฒนธรรม ความคิด ความรหู้ รือคนกลุม่ ใดต่างมีข้อดแี ละขอ้ จา้ กัด และชแี้ นะว่าการเปดิ รบั ความรูแ้ ละเขา้ ใจผู้คน ทแี่ ตกต่างไปจากตนเปน็ ส่งิ จา้ เป็นเพอ่ื ใหอ้ ยู่รว่ มกันได้ในสงั คมปจั จบุ ันท่มี คี วามหลากหลายนน่ั เอง
198 4.3 ความสัมพันธ์ระหวา่ งขอ้ มลู เชิงคติชนกบั แนวคิดเกีย่ วกับสภาพสังคมปจั จบุ นั นวนิยายของพงศกรหยิบยกปญั หาทีก่ ้าลงั เกิดขนึ้ ในช่วงเวลาที่แตง่ มาน้าเสนอ โดยเฉพาะภัย ธรรมชาติกับความรู้สึกของผู้คนที่มีต่อกระแสโลกาภิวัตน์ ก่อนเสนอแนะทางออกของปัญหา โดย พงศกรได้น้าเอาข้อมูลเชงิ คตชิ นมาเปน็ ส่วนหนง่ึ ในการนา้ เสนอทางออกของปญั หา 4.3.1 ขอ้ มลู เชงิ คตชิ นกบั การนาเสนอแนวคิดเกยี่ วกับปญั หาสงิ่ แวดล้อม 4.3.1.1 แนวคดิ ป้องกันภยั ธรรมชาติด้วยการอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ นวนิยายของพงศกรนา้ เสนอภยั จากธรรมชาติ ทง้ั แบบตรงไปตรงมาในเร่อื งคชาปุระ-นคร ไอยรา ที่เน้นย้าปัญหาโลกร้อนเป็นประเด็นหลัก และยังสอดแทรกปัญหานี้ไว้ในนวนิยายอีกหลาย เรื่องไม่ว่าจะเป็นฤดูดาว วังพญาพรายและกุหลาบรัตติกาล พงศกรชี้ว่า ต้นเหตุส่วนหน่ึงที่ท้าให้ สภาพแวดล้อมเปล่ียนแปลงไปมาจากการกระท้าของมนุษย์ ดังท่ีเนื้อเร่ืองในนวนิยายแต่ละเร่ืองได้ ฉายภาพผลกระทบทีม่ าจากการกระทา้ ของมนษุ ย์และเสนอให้ผอู้ ่านตระหนกั ถงึ การกลับมาอยรู่ ่วมกนั กับธรรมชาติอยา่ งกลมกลืน แต่พงศกรมไิ ด้หมายความว่า คนในปัจจุบันต้องละท้ิงโลกแห่งวิทยาการ เพ่อื กลับเขา้ ไปอยูใ่ นปา่ แต่ต้องรู้จกั การนา้ วิทยาการเข้ามาประยกุ ตเ์ พื่อการอยูร่ ว่ มกับธรรมชาตแิ ทน สาเหตุที่พงศกรเลือกน้าประเด็นเก่ียวกับปัญหาธร รมชาติมาน้าเสนอในนวนิยายอยู่ บ่อยครั้งอาจมาจากความสนใจของพงศกรเองเป็นทุนเดิม ประกอบกับในช่วงเวลาท่ีแต่งนวนิยายมี เหตุการณ์ภยั ธรรมชาตคิ รั้งสา้ คัญเกดิ ขึ้นอย่างกรณธี รณพี บิ ตั ภิ ัยและคลืน่ ยกั ษ์สึนามิเม่อื เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2547 พงศกรได้กล่าวถึงเหตุการณ์ข้างต้นน้ีในเร่ืองวังพญาพราย ซ่ึงแต่งระหว่าง พ.ศ. 2548- 2549 หลังจากเหตุการณ์ภัยพิบัติดังกล่าวไม่นานว่า “เกิดแผ่นดินไหวในอันดามัน คราวนี้ต้าแหน่ง เล่ือนสงู ขึ้นมาจากคราวท่ีเกดิ สนึ าม.ิ ..ครัง้ นีศ้ ูนยเ์ ตือนภัยแห่งชาตติ รวจพบว่า แผ่นดินไหวเกิดขึน้ ใกล้ หม่บู า้ นวังพรายมาก พวกเราจงึ รสู้ ึกไดถ้ งึ ความสั่นสะเทอื น ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั มันบอกดว้ ยว่ามแี ผ่นดินทรุด ตัวลงด้วย ส่งผลให้พ้ืนทบี่ างส่วนของหมู่บา้ นวังพรายยุบตัวลงไปอยู่ต่้ากว่าระดับน้าทะเล” (พงศกร 2557ค, 286) นอกจากน้ี ระหว่างปลายทศวรรษ 2540 ตอ่ ต้นทศวรรษ 2550 ภาวะโลกร้อน (global warming) กลายเป็นกระแสท่ถี ูกหยบิ ยกเปน็ ประเด็นใหญร่ ะดับโลก ภาวะโลกร้อนเปน็ ภาวะท่อี ุณหภมู โิ ลกสูงขน้ึ สาเหตเุ กิดจากปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกทอี่ ยู่ ในชั้นบรรยากาศเพ่ิมสูงข้ึน ก๊าซเรือนกระจกเหล่าน้ี เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) มีเทน (CH4) ไฮโดรฟลูออโรคารบ์ อน (HFC) ฯลฯ เกดิ จากกิจกรรมของมนษุ ย์ ไม่วา่ จะเปน็ การผลิตและใช้พลังงาน การเผาไหม้เช้ือเพลิง การเกษตร อุตสาหกรรม การตัดไม้ท้าลายป่า การรั่วไหลของก๊าซจาก อตุ สาหกรรม การใชผ้ ลติ ภัณฑท์ ี่มกี ๊าซเรือนกระจกเปน็ องค์ประกอบ กา๊ ซเรอื นกระจกเหล่าน้มี ีหน้าท่ี ดูดซับคล่ืนความรอ้ นจากดวงอาทิตย์เพื่อให้โลกอุ่น หากการเพิ่มปริมาณกา๊ ซเรือนกระจกในปรมิ าณ มากจึงท้าให้เกดิ การดูดซับคลน่ื ความร้อนเพ่ิมข้นึ จนเป็นสาเหตุให้อุณหภูมิพ้ืนผวิ โลกสงู ผลกระทบท่ี
199 ตามมาของภาวะโลกร้อนมีอย่างมากมาย ท้ังสุขภาพของคนท่ีต้องเจออากาศร้อนจัด หรือปัญหา ส่ิงแวดล้อมที่ฝนแลง้ น้าท่วม และมีการคาดคะเนกันว่าระดับน้าทะเลจะสูงขึ้นเพราะน้าแข็งขั้วโลก ละลาย อันจะท้าให้พ้นื ทช่ี ายฝัง่ ทะเลประสบภัยน้าท่วม (กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม กระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม 2557, ออนไลน)์ พงศกรไดส้ อดแทรกข้อมลู เก่ียวกบั โลกร้อนไวต้ ลอดในเรอ่ื งคชาปุระและนครไอยรา และ อธิบายวา่ เหตุท่ีภาวะโลกรอ้ นไดร้ บั การกลา่ วถงึ อย่างกว้างขวางมาจากภาพยนตร์สารคดีของอดีตรอง ประธานาธิบดีอัล กอร์ของสหรัฐอเมริกา ช่ือ The Inconvenient Truth “สารคดีของกอร์สร้าง ปรากฏการณ์ใหม่ใหก้ ับประชากรโลก นอกจากน้ียังสรา้ งความต่ืนตระหนกให้กับประชากรโลกในวง กว้าง เมื่อได้รบั รู้ความจริงว่าปัญหาโลกร้อนไมใ่ ช่เรอ่ื งไกลตัวอกี ต่อไป ภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดข้ึนในโลก ใบนี้ไม่ว่าจะเป็นคลื่นยักษ์สึนามิ แผ่นดินไหว...ทุกอย่างล้วนเป็นผลมาจากภาวะโลกร้อนทั้งส้ิน.. หนังเรอ่ื งน้ีแสดงให้ทกุ คนเหน็ และตระหนกั วา่ โลกทเ่ี ราเคยอยู่กันอยา่ งสุขสบายก้าลังจะแปรเปลย่ี นไป อย่างส้ินเชิง มนุษย์ก้าลังเผชิญหนา้ กับภัยพบิ ัติทนี่ ่ากลวั ย่ิงกว่าสงครามนิวเคลียร์” (พงศกร 2557ก, 58-59) ทั้งนี้ การน้าเสนอภัยธรรมชาติทั้งคลื่นยักษ์สึนามิและภาวะโลกร้อนในนวนิยายของ พงศกรต่างมจี ุดร่วมกนั ตรงที่ พงศกรเสนอว่าภัยเหล่าน้เี ป็นภยั รปู แบบใหมท่ ่ีผิดแปลกไปจากอดตี และ คาดการณ์ว่าในอนาคตก็อาจเกดิ ภัยรูปแบบใหม่ข้ึนมาได้อีก สาเหตุที่ท้าใหเ้ กิดภัยธรรมชาตริ ปู ใหมก่ ็ มาจากมนุษย์ซ่ึงทง้ั ละเลยและตักตวงผลประโยชน์จากธรรมชาติมาเปน็ ของตน เช่นในวังพญาพราย เมือ่ เกิดเหตุการณ์แผน่ ดินทรุดตัวและฝนตกหนักจนเกดิ น้าท่วมฉบั พลันในหมบู่ า้ นวงั พราย ในด้านหนึ่ง อาจมองว่าเกดิ จากการกระทา้ ของเรอื งแสงฟา้ หากในอกี ด้านหนงึ่ “ขิมทองว่าทั้งหมดท่เี กดิ ขนึ้ น่าจะมี ผลมาจากการทีม่ นษุ ย์ละเลยต่อธรรมชาติ ไม่สนใจกับสงิ่ แวดล้อมเท่าที่ควร...หากมนษุ ย์ยงั คงไม่สนใจ ต่อธรรมชาติ แม้นักวิทยาศาสตร์ทั่วโลกจะออกมาเตือนเป็นเสียงเดียวกันว่า ความรุนแรงเช่นนี้จะ ยังคงเกิดขึ้นต่อเน่ืองไปอีกหลายปี กับท้ังยังจะรุนแรงมากข้ึนเร่ือยๆ หากมนุษย์ยังคงตั้งหน้าต้ังตา ท้าลายธรรมชาติกันต่อไป” (พงศกร 2557ค, 266) และใน คชาปุระ “หากเราหันไปมองดู รอบกายก็จะสังเกตได้ง่ายๆ จากฤดูกาลท่ีเปล่ียนไป...เกิดน้าท่วมในเมืองที่ไม่เคยท่วมมาก่อน หน้า หนาวก็แห้งแล้งและบอ่ ยครัง้ เกิดมีฝนตกผิดฤดูกาล สิ่งเหล่าน้ีไม่เคยมีมากอ่ น ส่ิงเหล่านก้ี ้าลงั เกิดกับ ทุกภูมิภาคท่ัวโลก...ดูเหมือนธรรมชาติก้าลังป่ันป่วนด้วยน้ามือของมนุษย์” (พงศกร 2557ก, 36) นวนิยายของพงศกรจึงเน้นย้าความส้าคัญของมนุษย์ต่อการแก้ไขปัญหาน้ีและวิธีการแก้ไขที่พงศกร น้าเสนอกค็ อื การอยรู่ ่วมกนั กบั ธรรมชาตอิ ยา่ งกลมกลนื แตก่ ่อนทนี่ วนยิ ายของพงศกรจะน้าผู้อา่ นไปสแู่ นวคิดการอยรู่ ว่ มกันกับธรรมชาติ นวนิยาย ของพงศกรหลายเร่อื งฉายภาพความพยายาม “ฝืนธรรมชาติ” ของมนษุ ย์ กล่าวคือ มนุษย์เอาชนะสิ่ง ท่ีธรรมชาติสร้าง โดยการมาเล่นบทเปน็ ผู้กา้ หนดและคัดสรรแทนธรรมชาติ การฝืนธรรมชาติเช่นนี้
200 กลับส่งผลย้อนกลับมาท้าลายมนุษย์อย่างร้ายแรง ตัวอย่างที่ชัดเจนคือ การน้าเสนอวิทยาการของ มนษุ ยอ์ ยา่ งการตดั แต่งพันธกุ รรมพืชในฤดดู าว นวนิยายเร่อื งน้ีเสนอประเด็นเรอ่ื งการตดั ตอ่ พันธุกรรม พชื โดยมนษุ ย์ “GMOs คอื การสร้างสิง่ มชี ีวติ ชนดิ ใหม่ข้นึ มา โดยการตัดตอ่ ใส่โปรตนี และสารบางอยา่ ง ลงไปในพนั ธกุ รรมของสิ่งมชี ีวติ เดมิ เพอ่ื ใหส้ ่ิงมีชีวิตใหมท่ ี่สรา้ งขึน้ มาใหม่นัน้ มคี ณุ สมบตั ิดีขน้ึ ” (พงศกร 2557ข, 337) นวนิยายแฝงนัยความหวาดเกรงต่อภัยที่ก้าลังจะเกิดข้ึนจาก GMOs และวิพากษ์ว่า มนุษยก์ ้าลงั ฝนื ธรรมชาตผิ า่ นมุมมองของดรสา มนุษยน์ อ้ ยกา้ ลงั ทา้ ทายตอ่ อ้านาจธรรมชาตทิ ่ยี ่งิ ใหญ่ มนุษย์ก้าลังท้าในส่ิงท่ีไม่ใช่หน้าที่และบทบาทของตน และส่ิงที่มนุษย์ก้าลังท้าอยู่นั้นจะ สง่ ผลต่อโลกทัง้ ใบและอารยธรรมของมนุษยชาติทส่ี รา้ งสมกันมานานนบั หมน่ื นับแสนปี ดรสาเช่ือในกฎของธรรมชาติ การมีชีวิตอยู่รอดของส่ิงมีชีวิตและทฤษฎีการเลือกสรรของ ชารล์ ส์ ดาร์วนิ นักชีววทิ ยาผู้มีชื่อเสียง ผ้ทู ่แี ขง็ แรงกว่าเท่านน้ั จงึ จะมีชีวิตรอดอยูไ่ ด้ หากบัดน้ี มนุษย์ก้าลังสร้าง ‘ผู้ที่แข็งแรงกว่า’ ข้ึนมาด้วยมือของตนเอง แล้วใครจะรู้ วัน หน่ึงมนษุ ย์อาจจะกลายเป็นผ้ทู ี่อ่อนแอกว่าและสญู ส้ินเผ่าพนั ธ์ุไปในท่ีสดุ (พงศกร 2557b, 337) ความคิดของดรสาขัดแยง้ กับสนิ ธพ เขามองว่า “กระบวนการปรับตัวตามธรรมชาติน้ันมี อยู่ หากกระบวนการทว่ี ่านั้นกินเวลานานนบั พนั นบั หม่ืนปี ซึ่งช่วงเวลาท่ปี ระชากรของโลกเพิ่มทวีขึ้น มากมายหลายเท่า มนษุ ยชาตอิ าจจะอยู่รอดได้ไมถ่ ึงเวลานนั้ วทิ ยาการยคุ ใหม่กา้ วหนา้ ไปมากเกนิ กวา่ ใครจะเคยคาดคิด ก้าวหน้าไปจนถึงขนาดทีม่ นุษยเ์ ล่นบทพระเจา้ สามารถสร้างสิ่งมีชีวติ ขึ้นมาไดเ้ อง ในหลอดทดลอง โลกสมัยน้ีก้าวไกลไปถึงไหนแล้ว คนไทยจะมามัวล้าหลังอยู่ได้อย่างไร” (พงศกร 2557ข, 392) นวนิยายสะท้อนการปะทะระหว่างความคิดท้ังสองให้เห็น ก่อนแสดงผลกระทบที่ เกดิ ข้ึนจากสวนส้มของสินธพ “สม้ GMOs ที่ผมทดลองปลูกในสวนมลี ะอองเกสรทเี่ ปน็ พิษ ก่อให้เกดิ ภูมิแพ้อย่างแรงในสงิ่ มชี ีวิตทเี่ ข้าใกล้...นอี่ าจเปน็ สัญชาตญาณป้องกันตัวของมันเองทเี่ กิดจากยนี ของ สัตว์ท่ีเราตัดตอ่ เข้ากับยีนของส้มกเ็ ปน็ ได้” (พงศกร 2557ข, 456) ผลกระทบดังกลา่ วทา้ ให้สตั วต์ ่างๆ ล้มตายจ้านวนมากและน้องสาวของเขาเองกล็ ม้ ป่วยและอาการหนักอย่างมาก ทา้ ยท่สี ุด เรือ่ งด้าเนิน ไปให้สินธพพบว่า ส่ิงที่เขาท้าน้ันผิดพลาดและเขาต้องการจะเรมิ่ ต้นใหม่ โดยเขาต้องการเปล่ยี นจาก สวนส้ม GMOs ท่ีตัดต่อพันธุกรรมเพื่อให้ได้ส้มแข็งแรงท่ีสุดมาสู่สวนส้มเชิงอนุรักษ์จากการผสาน ความรู้กับดรสา “ท้าไมคุณไม่ผสมผสานความรู้ของคุณเข้ากับความรู้ของผม เรามาท้าสวนส้มเชิง อนุรักษ์ด้วยกันนะดรสา ส่วนส้มทดลองพวกนั้น หากเราได้กลับไป ผมจะท้าลายมันท้ิงให้หมด ผม สัญญา” (พงศกร 2557ข, 502) ประเดน็ นส้ี ะทอ้ นวา่ การพยายามฝนื ธรรมชาติน้ามาสู่ผลกระทบทอี่ ยู่ เหนือการควบคุม การจบเรื่องด้วยความต้องการท้าลายส้มทดลองมาสู่การท้าส้มเชิงอนุรักษ์ตาม
201 แนวทางของดรสากเ็ ท่ากับยอมรับว่า การพยายามเอาชนะธรรมชาตอิ าจไม่ใช่คา้ ตอบเทา่ กับการหันมา อย่รู ่วมกบั ธรรมชาตแิ ทน การน้าเสนอประเด็นเร่ืองสม้ GMOs มีความคล้ายคลึงกับประเด็นการผสมข้ามสายพนั ธ์ุ จนได้ดอกกุหลาบรัตติกาลในเรอ่ื งกุหลาบรัตติกาล เพราะดอกกุหลาบสีน้าเงินหรือ Blue Rose ไม่ สามารถพบไดใ้ นธรรมชาติ แตเ่ จ้าแหวนแกว้ กลบั ทมุ่ เทแทบจะทงั้ ชวี ิตเพ่อื ค้นหาทางผสมข้ามสายพันธ์ุ ของดอกกุหลาบให้ได้ จน “เมือ่ ไม่สามารถใชก้ หุ ลาบผสมกบั กหุ ลาบได้ เจ้าแหวนแกว้ ก็เรมิ่ คิดวิธีใหม่ โดยการน้าเอาดอกไมพ้ ันธุ์อนื่ มาผสมกับกหุ ลาบแทน...บัณฑิตสาวด้านพฤกษศาสตร์จากอังกฤษเคย เรยี นรู้วิธกี ารน้ายีนของตน้ ไม้ชนิดหนง่ึ ไปผสมกบั ต้นไม้ต่างสายพนั ธ์ุ โดยใช้เชอ้ื ไวรสั มาเปน็ ตัวน้า เธอ จึงไม่รรี อทจ่ี ะน้าเอาวิธีการนัน้ มาใช้บา้ ง” (พงศกร 2555ก, 433-434) ท้ายท่ีสุดดอกกุหลาบสนี า้ เงิน ดอกแรกของโลกก็ปรากฏขึ้นจากการผสมกบั ดอกนิลนวารา แตก่ ารสร้างดอกกุหลาบรตั ตกิ าลได้สา้ เรจ็ กลับต้องแลกด้วยชีวิตของคนรอบตัวเจ้าแหวนแก้ว เพราะเจ้าขุนสิงห์ผู้เป็นสามลี ้มปว่ ย “วันที่สอง วันทีส่ ามหลังจากเข้านอนโรงพยาบาล เจ้าขุนสงิ ห์เร่ิมมอี าการเพ้อ..แทนทจ่ี ะเพ้อถงึ เมยี ตัวเองกลับไป เพ้อถึงนิลนวารา...ก่อนหน้าจะไม่สบายสองสามวนั เห็นว่าเจ้าขนุ สิงหไ์ ปช่วยแหวนแก้วย้ายกุหลาบใน สวนจนหนามต้ามือ กลายเป็นแผลอักเสบมีหนอง” (พงศกร 2555ก, 440-441) ภายหลังเจา้ ขุนสิงห์ เสียชีวิตลงอย่างกะทันหัน ส่วนลูกสาวของเจ้าแหวนแก้วได้หนีออกจากคุ้มไปไม่กลับมาอีกเลย เจ้า แหวนแกว้ จึงตัดสนิ ใจเกบ็ เรอื่ งดอกกุหลาบดอกนไ้ี ว้เพียงแค่คนเดยี วเพราะตระหนักถงึ ภยั ทีต่ ามมาจาก ดอกไม้ดอกนี้ เห็นได้วา่ การสร้างดอกกหุ ลาบดอกนี้ส้าเร็จได้ยอ้ นให้ผู้อา่ นคดิ ทบทวนว่า คมุ้ ค่าหรือไม่ กับส่ิงทเี่ จ้าแหวนแกว้ ตอ้ งสูญเสยี ไป เพราะกหุ ลาบดอกนกี้ ลบั เปน็ ภยั ทยี่ ้อนกลับมาท้าลายชีวติ ของเจา้ แหวนแก้วและย้อนมาท้าลายผูท้ ี่เก่ียวข้องกับดอกไม้ดอกนี้ โดยนัยน้ี อาจตีความได้ว่า การพยายาม เข้าไปจัดการธรรมชาติเพ่อื เอาชนะส่งิ ทีธ่ รรมชาติไม่มีเป็นการฝนื ธรรมชาติจนเกิดเป็นผลร้ายอยา่ งท่ี เราควบคุมไมไ่ ดก้ ็เปน็ ได้ เม่ือการฝนื ธรรมชาติน้าภัยมาสมู่ นุษย์ นวนิยายของพงศกรจึงเสนอทางออกด้วยการหนั กลับมาอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติอย่างพึ่งพาอาศัย และแนวคิดน้ียังขยายขอบเขตไปสู่ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนษุ ย์ด้วยกนั อกี ระดับหน่ึง กล่าวคือ การอยู่ร่วมกนั กบั ธรรมชาติเป็นสงิ่ ทม่ี นษุ ย์ พึงกระทา้ ขณะเดียวกันมนุษย์ก็ต้องเรียนรทู้ ่ีจะอยู่ร่วมกับเพ่ือนมนุษย์อย่างดีด้วย เพราะปัญหาจาก ภัยธรรมชาติเป็นภัยร่วมกันของมนุษย์ทุกกลุ่มและน่าหวาดเกรงมากกว่าการท้าสงครามเพื่อแย่งชงิ อ้านาจกัน การท้าให้มนุษย์รอดพ้นจากภัยน้ีก็คือหนั มารว่ มมือร่วมใจกัน ดังที่แสดงชัดเจนจากความ ขัดแย้งในคชาปุระและนครไอยรา เมื่อเรื่องได้ด้าเนินมาถึงจุดวิกฤต พงศกรน้าภัยจากธรรมชาตมิ า เกิดควบคู่กับภัยสงครามเพ่อื ชี้ให้เหน็ ว่า ภัยสงครามกลายเป็นเรอ่ื งไร้แก่นสาร เม่ือเทียบเคียงกับภัย ธรรมชาติที่ยิ่งใหญ่เกินกว่ามนุษย์จะควบคุมได้ เพราะ “ขณะที่มนุษย์ก้าลังท้าสงคราม รบราฆ่าฟัน กันเองไม่มีท่ีสิ้นสุด มนุษย์ไม่รู้เลยว่าทุกคนก้าลังเผชิญหน้ากับหายนะภัยคร้ังยิ่งใหญ่ ซ่ึงต้องอาศัย
202 ความรว่ มมือรว่ มใจเปน็ หน่ึงเดยี วของทกุ คนเท่านน้ั มนษุ ยชาติจึงจะรอดวกิ ฤตในคร้งั นไี้ ปได้” (พงศกร 2557ก, 59) โดยเหตุท่ีนวนิยายเสนอประเด็นดังกล่าวกเ็ ปน็ ไปได้ว่า ช่วงเวลาท่ีพงศกรแต่งนวนิยาย เรื่องน้รี ะหว่างปี พ.ศ. 2550-2551 เป็นช่วงเวลาที่สงั คมไทยก้าวเข้าสคู่ วามขัดแยง้ จากความเหน็ ตา่ ง ทางการเมือง ผู้คนแบ่งฝักแบ่งฝ่าย ความแตกแยกในสังคมไทยจึงอาจส่งอิทธิพลให้นวนิยายเรื่ องนี้ หยิบเร่ืองการแบ่งข้วั อ้านาจมานา้ เสนอ ก่อนทจี่ ะยกภยั ธรรมชาติทรี่ ุนแรงไมย่ ิ่งหย่อนกว่ากันมาเน้นยา้ เพื่อจะใช้ภัยน้เี ป็นสว่ นช่วยใหล้ ดอคติ แยกความเปน็ เขาหรอื เราแล้วหนั กลับมารว่ มมือกันรบั มือจาก ภัยที่ก้าลงั เกดิ ขึ้นแทน ไม่เพียงแต่ในคชาปุระและนครไอยรา ในฤดูดาวได้เน้นย้าการก้าวข้ามอคติระหว่าง ตัวละครเอกชายหญิงโดยใช้ “นกเงือก” ซึ่งเป็นตัวแทนของธรรมชาติมาเป็นส่ือกลางประสานความ เข้าใจ กล่าวคือ ดรสากบั สนิ ธพพบกันครง้ั แรกตอนท่ดี รสาพยายามเข้าไปช่วยนกเงอื กทีถ่ กู คนงานสวน ส้มยิงบาดเจบ็ ในครงั้ นั้นดรสาแต่งกายเป็นเย้า ท้าให้สินธพไมร่ ้วู ่าหลอ่ นคือใคร หล่อนเองก็เข้าใจวา่ สินธพคือหัวหน้าคนงาน มิใช่เจ้าของสวนส้ม ด้วยเหตุนี้ท้ังคู่จึงเร่ิมต้นความสัมพันธ์โดยแต่ละฝ่าย ละวางตัวตนทแี่ ท้จรงิ ความสัมพันธ์ของทง้ั คู่เริม่ ก่อตวั ขึ้นจากการดูแลนกเงือกทบ่ี าดเจ็บ นกเงือกจึง เปน็ สอ่ื กลางเชอื่ มความสัมพันธร์ ะหว่างทั้งคู่ให้แสดงแง่มมุ ดใี ห้อีกฝ่ายเห็น จนทา้ ให้ “หล่อนลืมความ ขุ่นเคืองและความหวาดระแวงภายในใจเก่ียวกับเรื่องราวระหว่างไร่ผาสุกและสวนส้มที่เขาท้างาน ใหก้ บั ดอกเตอร์สินธพจนหมดสนิ้ เหลือเอาไวแ้ ต่ความยินดที ่ีนางนกเงอื กยนิ ยอมรบั เอาอาหารทหี่ ล่อน เพียรพยายามน้ามาให้ในทสี่ ุด” (พงศกร 2555ข, 107-108) แต่เม่ือท้งั คู่รวู้ ่าต่างฝ่ายต่างเป็นใครแลว้ ท้าใหต้ ่างฝา่ ยประกาศตนเป็นศตั รูกนั หากความรสู้ กึ ดตี อ่ กนั ได้หยงั่ รากลกึ ลงไปในใจของทงั้ คเู่ สียแล้ว ในแงน่ ี้ นกเงือกจึงมบี ทบาททา้ ให้ตัวละครคูน่ ี้ละวางตัวตนลงแลว้ หันมาร่วมมือรว่ มใจช่วยกันรักษานก ตัวนใ้ี หห้ ายดี น่าสนใจว่า เหตทุ ีพ่ งศกรเลือกใช้นกเงือกอาจเปน็ เพราะนกเงือกเป็นตัวแทนธรรมชาติที่ อดุ มสมบรู ณ์ ดงั ที่พงศกรเน้นถึงนกเงอื กอยตู่ ลอดว่า “นกเงอื กเป็นสมบตั อิ ันล้าค่าทีธ่ รรมชาตมิ อบให้ มวลมนุษยชาติ วถิ ชี ีวติ ของนกเงือกจะต้องพง่ึ พิงผืนป่าทีอ่ ุดมสมบูรณ์ มีต้นไม้ขนาดใหญส่ ้าหรับให้ท้า รัง มตี ้นไม้ ผลไม้และสัตวอ์ กี นานาชนดิ ให้ใช้เป็นอาหาร หากปา่ หมดลงไปในวนั ใด นกเงอื กก็ไม่อาจจะ สืบทอดดา้ รงเผ่าพนั ธุไ์ ดอ้ กี ตอ่ ไป...ไดเ้ ห็นนกเงือกพ่อแม่ลูกทตี่ น้ หวา้ ในวันนี้ ดรสาจงึ ดใี จมากมายดว้ ย เป็นสิ่งที่บ่งช้ีว่าป่าทผ่ี าช้างร้องนั้นยังไม่ถูกท้าลายไปมากนกั ” (พงศกร 2555ข, 86) เม่ือนกเงือกคือ สัญลักษณ์ท่ีสะท้อนธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์ การท่ีตัวละครเอกท้ังสองฝ่ายเข้ามาช่วยกันประคบ ประหงมสัตวต์ วั นีท้ ่ถี ูกคนทา้ รา้ ยจนหายดีน้ันเทา่ กบั เป็นสญั ลักษณ์สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ คนที่แมจ้ ะยืนคน ละฝั่งอุดมการณ์ได้มาร่วมมอื รว่ มใจกันรักษาและฟ้นื ฟูธรรมชาติท่ีถูกคนท้าลายไป โดยนัยน้ี การอยู่ ร่วมกับธรรมชาติจึงเป็นประเด็นส้าคัญท่ีถูกยกข้ึนมาใช้สลายความขัดแย้งระหว่างมนุษย์ โดยการ ละวางความเปน็ “เรา” หรือ “เขา” แลว้ มาร่วมมอื รว่ มใจเพ่ือรบั มอื กบั ภัยจากธรรมชาติท่ยี งิ่ ใหญ่กวา่ แทน
203 4.3.1.2 การใช้บทเรยี นจากขอ้ มลู เชิงคตชิ นเพอ่ื หันมาอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ เมื่อนวนยิ ายของพงศกรเสนอวา่ ภัยธรรมชาตมิ สี าเหตุจากการละเลยธรรมชาติ การตักตวง ผลประโยชน์ไปจนถึงการพยายามเอาชนะธรรมชาติของมนุษย์ พงศกรได้ยกข้อมูลเชิงคติชนมาเป็น บทเรียนให้คนปัจจุบันเห็นการอยู่ร่วมกันอย่างใกล้ชิดระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ เพราะในอดีต มนษุ ย์ลว้ นตอ้ งพึ่งพาธรรมชาติเป็นหลักในการดา้ รงชีวติ เม่ือมนษุ ย์ไม่สามารถควบคมุ ความรอ้ น ความ หนาว ฝนตก พายุและสภาพแวดล้อมอ่ืนๆ ได้จึงน้ามาสู่ “การเคารพ” ธรรมชาติ ทั้งผ่านความเชื่อ พิธีกรรมต่างๆ เพื่อให้พวกเขาอยู่รอดในสภาพแวดล้อมน้ัน (ปรีชา ช้างขวัญยืนและสมภาร พรมทา 2556, 63-64) โดยนวนิยายของพงศกรน้าเสนอความสัมพันธ์รูปแบบข้างต้นอยู่บ่อยคร้ัง ดังเช่น ฤดูดาว ได้แสดงให้เห็นว่าความเชื่อเรื่องผีของคนผาช้างผูกโยงเข้ากับธรรมชาติรอบตัวได้อย่าง แนบเนียน จนกลายเป็นแบบแผนต่อการเคารพและอย่รู ่วมกับธรรมชาติ ตลอดจนทา้ ให้ธรรมชาติใน บรเิ วณนัน้ ยงั คงอดุ มสมบรู ณ์ ย่งิ เมือ่ เติบโตข้นึ ดรสากร็ ู้ว่าแทท้ ี่จริงแล้ว มนุษย์มคี วามกลัวอยู่ในหัวใจ เร่อื งราวอันสับสน อลหม่านท่เี กดิ ขน้ึ ในสงั คมของมนุษย์ล้วนแล้วแตม่ ีกา้ เนดิ จากความกลวั ในหัวใจ...มนุษย์มัก หวาดกลวั ในอา้ นาจธรรมชาติและส่งิ ท่ีอยู่นอกเหนือการควบคุมเสมอ มนษุ ยก์ ็เลยสรา้ งภูตผี สร้างสิ่งท่ีมองไม่เห็น พิสูจน์ไม่ได้ขึ้นมาเพื่ออธิบายส่ิงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนเพ่ือหาค้าตอบให้กับ ความหวาดกลวั ของตน […] หญงิ สาวเชอื่ ว่า การนับถอื ผีเป็นภมู ิปญั ญาอันแยบยลของชาวบ้านในสมัยก่อนมากกว่า การนบั ถือผี เคารพผเี ปน็ จารตี เปน็ ความเชื่อ เปน็ เครอ่ื งมือสา้ คญั ของมนษุ ยท์ ี่ใชจ้ ดั ระเบียบ ในสงั คม โดยไมต่ อ้ งอาศัยตา้ รวจหรือกฎหมายอยา่ งกับทกุ วันน้ี [...] ตวั อยา่ งหนง่ึ ทีด่ รสาเห็นว่าเปน็ สงิ่ ดที ี่สุดเทา่ ท่ีสังคมมนุษย์จะสร้างคติความเช่ือขึ้นมาได้ ก็คือ การเคารพย้าเกรงของชาวบ้านท่ีมีให้กับผีขุนน้า ผีขุนน้าท่ีปกปักดูแลรักษาผืนป่าอนั เป็นต้นก้าเนิดของสายน้า หมู่บ้านทางภาคเหนือที่เคารพผีขุนน้า ป่าต้นน้าจะได้รับการ พทิ กั ษ์เอาไว้เป็นอยา่ งดที สี่ ดุ (พงศกร 2555ข, 160-161) ชาวเย้าทผี่ าช้างร้องนี่หวาดกลัวป่าโหงกันทุกคน คา่ ที่เปน็ ดินแดนตอ้ งห้าม เป็นป่าต้นน้าท่ีมี ผีมากมายสิงสถิตอยู่และยังเป็นป่าส้าหรับประกอบพิธีกรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน ไม่มีผู้ใด ได้รบั อนญุ าตให้ย่างกรายเข้าไปในเขตหวงห้ามน้ัน ผเู้ ดียวทอี่ าจจะเขา้ ไปไดเ้ ป็นบางครั้งบาง คราวกค็ ือ ผู้ทเ่ี ปน็ หวั หนา้ ของหมู่บา้ นและซบิ เม้ียนเมี่ยน หมอผีประจ้าเผา่ เทา่ น้ัน น่ีเองคือภูมิปัญญาของท้องถ่ิน ท่ีสร้างคติความเชื่อดังกล่าวขึ้นมาเพ่ือใช้บังคับควบคุม กันเองและนนั่ เปน็ ผลดที ่ีทา้ ใหบ้ ริเวณตน้ น้ายงั ไม่ถูกรกุ ราน (พงศกร 2555ข, 167) ส่วนในกุหลาบรัตติกาล พงศกรบรรยายให้เหน็ บทบาทของความเชื่อของคนในท้องถิ่นท่ี ชว่ ยให้พนื้ ทมี่ อ่ นผาเมิงยังอุดมสมบรู ณ์ซ่ึงมีประสทิ ธิภาพมากกวา่ การใช้กลไกประเภทอื่น
204 “ม่อนผาเมิงถือว่ายังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่มาก เม่ือเทียบกับภูเขาอื่นๆ ในบริเวณ เดียวกัน” ชษุ ณะอดอธบิ ายไม่ได้ “ทา้ นองเดยี วกับดอยหลวงเชียวดาวละครับ” “เพราะเป็นเขตปา่ อนุรกั ษ์ใชไ่ หมคะ ตน้ ไมใ้ บหญ้าจงึ ยงั อดุ มสมบูรณด์ ี” […] “กส็ ่วนหนึ่งฮะ” ชษุ ณะยิม้ ตอบ “ทสี่ า้ คญั คือต้านานเรอื่ งเล่าตา่ งหาก” “เรือ่ งเล่า ตา้ นาน” ภาวรีขมวดคว้ิ “ยงั ไงคะ ทา้ ไมฉนั ไมเ่ คยไดย้ ินเรื่องพวกน้มี าก่อนเลย” “ทกุ ทอ้ งถนิ่ ล้วนมีต้านานและเร่ืองเล่า อา้ งองิ กับสถานทแี่ ทบท้งั นั้น อย่างทดี่ อยหลวงเชียง ดาวก็มีเร่ืองเล่าถึงเมืองลับแลและความศักด์ิสิทธิ์ของเจ้าหลวงค้าแดง ชาวบ้านแถวนั้นให้ ความเคารพกันมากจนไม่กล้าจะตัดไม้ บุกรุกถางป่า เห็นไหมครับว่าความเช่ือเร่ืองผีและ เร่ืองลึกลบั ในสังคมบา้ นเรา เปน็ จารีตที่ดี ทา้ ใหย้ งั คงสามารถรกั ษาปา่ ไมเ้ อาไว้ได้ ยิง่ ปา่ ไหน เขียวคร้ึมอุดมสมบูรณ์ดีละก็ ขอให้สันนิษฐานเอาไว้ได้เลยว่า จะต้องมีเรื่องเล่าผีน่ากลัว หรือเรื่องลกึ ลบั เขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง จนทา้ ให้ชาวบา้ นรสู้ ึกเกรงกลัวและไมอ่ ยากเขา้ ไปแตะต้อง” (พงศกร 2555ก, 383-384) หากเม่ือสงั คมเปล่ียนไป จารีตเกี่ยวกับการเคารพธรรมชาตกิ เ็ ปลี่ยนตาม ดังที่นวนยิ ายท้ัง สองเรือ่ งสะทอ้ นการเปลีย่ นแปลงในพนื้ ทีป่ ่าซ่ึงเคยมีเรื่องเลา่ ปรากฏอยู่ ดังท่ีฤดดู าวฉายภาพการเข้า มาของดร.สินธพทีเ่ ข้ามาเปลย่ี นแปลงสภาพแวดลอ้ มของผาช้างร้อง “ที่จรงิ แล้วตัวหมู่บา้ นผาช้างร้อง กน็ บั เน่อื งเป็นสว่ นหน่งึ ของปา่ เพราะคา้ สอนที่มีมาแตร่ ่นุ ปยู่ ่าตายายนั้นห้ามมิให้เย้าตดั ไมใ้ หญ่โดยไม่มี ความจ้าเป็น ดงั นนั้ เนินเขาอนั เปน็ ทีต่ ง้ั ของหมูบ่ ้านจงึ ยังมีต้นไม้อุดมสมบรู ณ์เป็นผนื เดยี วตอ่ กนั กบั ปา่ ทางดา้ นหลงั จะเรม่ิ มบี ริเวณทแี่ หวง่ วน่ิ ไปกต็ รงบริเวณท่ีดอกเตอร์คนเมืองคนนนั้ ขึ้นมาหักรา้ งถางป่า เพอ่ื ทา้ ไรส่ ้มนนั่ ละ” (พงศกร 2555ข, 39) สว่ นในกหุ ลาบรัตตกิ าล ชุษณะได้แสดงความเห็นว่า “แต่ สมัยน้กี ไ็ มไ่ หวแล้วนะครับ...ผดี ุแค่ไหนก็แพ้ดาวเทยี มและความไฮเทค ปา่ เขาลา้ เนาไพรในบ้านเราจึง หายสูญไปเกอื บหมด ภูเขาลูกไหนๆก็กลายเปน็ ภูเขาหวั โล้นไปเสียมากแล้ว” (พงศกร 2555ก, 384) เห็นได้ชัดว่า นัยยะหน่ึงท่ีนวนิยายของพงศกรแฝงไว้คือ การมองว่าความรู้แบบวิทยาศาสตร์และ ความคิดของชาวเมืองเห็นธรรมชาติเป็นทรัพยากรแตกต่างจากความเชื่อของชาวบ้านตรงที่มอง ธรรมชาติด้วยความเคารพ เม่ือผู้คนเปลยี่ นความคิดจากการเคารพธรรมชาติมาสูก่ ารมองธรรมชาติ เปน็ ทรัพยากรสง่ ผลใหม้ นษุ ย์เขา้ มาตักตวงอยา่ งไมส่ นิ้ สดุ เมื่อเป็นเช่นน้ี พงศกรจึงได้หยิบยกข้อมูลเชิงคติชนมาเป็นบทเรียนให้เหน็ ถงึ ภูมิปญั ญาท่ี มนุษย์ส่ังสมมาเพื่ออยู่ร่วมกับธรรมชาติ แสดงให้คนปัจจุบันเห็นว่า ในอดีตมนุษย์อยู่ร่วมกันกับ ธรรมชาติได้โดยไม่ท้าลาย และสามารถพึ่งพาอาศัยธรรมชาติได้อย่างดี ดังที่ในคชาปุระและนคร ไอยรา พงศกรนา้ บทเรยี นจากเรื่องเลา่ เชงิ คตชิ นมาแสดงใหเ้ ห็นภัยธรรมชาตอิ ย่างเด่นชัด โดยเฉพาะ การน้าต้านานนา้ ทว่ มโลกมาใช้ นวนิยายเรื่องนแ้ี สดงบทเรียนจากต้านานน้าท่วมโลกวา่ ความผิดของ มนุษยท์ ่ไี มใ่ ส่ใจเทพเจา้ หรอื ธรรมชาตริ อบตัวส่งผลให้ธรรมชาติลงโทษมนษุ ยด์ ้วยการส่งน้าทว่ มโลกมา
205 ล้างโลก การที่มีเรือโนอาห์เกิดข้ึนได้เพราะเขารู้จักเตรียมการ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ตลอดจนหันมาใสใ่ จธรรมชาติมาขึ้น นอกจากนี้ พงศกรยังน้าข้อมูลเชิงคติชนท่ีมีการผสมผสานทาง วัฒนธรรมหลายแหล่งเข้าด้วยกัน ท้ังการผสมผสานระหว่างผีพรายกับนางไซเรน การผสมผสาน ระหว่างกล่องแพนโดรา่ กบั น้าอมฤต คติเก่ียวกับช้างฯลฯ จนท้าให้เกิด “วัฒนธรรมลูกผสม” การนา้ ข้อมูลหลายชาติมาผสมผสานเพื่อมุ่งไปสู่ประเด็นปัญหาโลกรอ้ นเดียวกนั กส็ ะทอ้ นจดุ ร่วมทเี่ ป็นสากล ของมนษุ ย์ เพราะเมอ่ื ขอ้ มูลเชิงคติชนท่มี ลี ักษณะลกู ผสมได้สะทอ้ นปัญหาที่การก้าวขา้ มพรมแดนชาติ ใดชาติหน่งึ วฒั นธรรมใดวฒั นธรรมหนึ่งไปสู่ภยั ร่วมกนั ของมนุษยชาติ ทุกต้านาน ทุกเรอื่ งเล่าลว้ นกล่าวตรงกัน คอื เม่อื สงั คมมนษุ ย์เส่ือมศีลธรรมจนถงึ ท่สี ุดก็ถึง เวลาท่ีพระเป็นเจ้าผู้สร้างโลกจะต้องล้างความช่ัวทิ้งไป โดยการท้าให้น้าท่วมโลก บาง ต้านานก็พูดถึงไฟบรรลัยกัลป์จะมีส่ิงมีชีวิตซ่ึงประพฤติดีบางส่วนเท่านั้นที่เหลืออยู่เพื่อ สืบทอดเผา่ พนั ธุ์ตอ่ ไป แม้หลายคนจะหาวา่ เขาเพอ้ เจอ้ แตด่ ร.เศวตก็ยงั ไม่สิน้ ความพยายาม มนุษย์ทุกคนเกิดมาในโลกน้ีด้วยพันธะบางประการ มนุษย์จึงมีหน้าท่ีต่อโลก ต่อเผ่าพันธ์ุ ของตนเองและดร.เศวตรตู้ ัวเองดีว่าเขามีหน้าทใี่ ด ดว้ ยเหตุนี้ เขาจงึ พยายามทุกวิถีทางท่ีจะ เตือนภัยให้คนไทยหันมาสนใจกับสิ่งแวดล้อม ช่วยกันคนละไม้คนละมือเพ่ือป้องกันภัย ธรรมชาตทิ ี่กา้ ลังจะเกิดข้ึน สตีเฟ่น ฮอว์คงิ นกั ฟสิ กิ ส์ช่ือดังกล่าวไว้ว่า มนุษยม์ วั กังวลถึงแตส่ งครามท่ีทา้ ลายล้างชีวิต คนไปหลายพันคน แตล่ มึ นกึ ถงึ ภาวะโลกร้อนที่สามารถกวาดท้าลายล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์โลก ไปจนหมดสิ้นในคราวเดียว (พงศกร 2557ก, 100-101) เหตนุ ี้ การยกข้อมลู ดงั กล่าวมานา้ เสนอน้เี พอ่ื เปน็ ตวั อยา่ งใหม้ นุษยใ์ นปัจจบุ ันเห็นบทเรยี น จากคติชน และเป็นตัวอย่างใหเ้ หน็ ว่า มนษุ ยจ์ ้าเปน็ ตอ้ งหนั มาอยูร่ ่วมกับธรรมชาติ ดงั ท่ี “คชาปุระไม่ อาจจะช่วยใหโ้ ลกรอดพ้นจากวิกฤติโลกรอ้ นได้ แต่คชาปุระเปน็ เมอื งตัวอย่างให้ไดเ้ ห็นกนั ตา่ งหากว่า ในภาวะท่ีโลกบอบชา้ จากการกระทา้ ของมนุษย์ จนส่งผลใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอ้ ม อย่างมากมาย มนุษย์ท้ังหลายจะปรับตัวปรับวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ให้กลมกลืนกับธรรมชาติได้ อยา่ งไร” (พงศกร 2557ข, 105) 4.3.2 ขอ้ มูลเชงิ คติชนกบั การนาเสนอแนวคดิ เกย่ี วกบั การโหยหาอดตี นวนิยายของพงศกรน้าองค์ความรทู้ ่ีอยู่ในวัฒนธรรมไทยมาน้าเสนออยา่ งหลากหลาย อย่าง เรื่องเล่าพื้นบ้าน ต้าราช้าง วรรณคดีไทย ฯลฯ หรือวัฒนธรรมอ่ืน ๆ ในดินแดนประเทศไทยเพื่อ สะท้อนภาพของความรุ่งเรืองในอดีต การแสดงคุณค่าของวัฒนธรรมโบราณในนวนิยายของพงศกร น่าจะสัมพันธ์กับบริบทโลกาภิวัตน์และสภาพสงั คมไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจเมื่อปี พ.ศ. 2540 ท่ีเกิด กระแสการโหยหาอดีตอย่างกว้างขวางในหม่คู นไทย
206 4.3.2.1 แนวคิดเกย่ี วกบั การโหยหาอดตี ในกระแสโลกาภวิ ัตน์ สาเหตุท่ีนวนิยายของพงศกรเชิดชูคุณค่าวัฒนธรรมโบราณน่าจะสอดคล้องกับบริบท สังคมไทยช่วงทศวรรษ 2540 สังคมไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจเกิดกระแสโหยหาอดีตและมองว่า โลกาภิวัตน์เป็นภัยที่คุกคามสังคมไทย พงศกรจึงได้จ้าลองภาพความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณ ข้ึนมานา้ เสนอและเนน้ ยา้ อตั ลักษณข์ องตนในช่วงเวลาทส่ี งั คมไทยก้าลังโหยหารากของตน ทั้งนี้ “โลกาภิวัตน์” (globalization) เปน็ ค้าที่มีความหมายหลายนัยและถูกน้ามาใชอ้ ย่าง แพร่หลาย แมนเฟร็ด สเตเกอร์ (Manfred Steger) ศาสตราจารย์ด้านโลกศึกษา (global studies) ได้สรุปแกนหลักของโลกาภวิ ัตนจ์ ากนกั วิชาการหลายสาขาไว้ว่า โลกาภวิ ัตนเ์ กดิ ขนึ้ จากการทีเ่ ครือขา่ ย และกิจกรรมทางสังคมชนิดใหม่มีปริมาณเพ่ิมข้ึน เครือข่ายและกิจกรรมทางสังคมชนิดใหม่นี้ได้ ก้าวข้ามพรมแดนทางภูมิศาสตร์และพรมแดนทางรัฐชาติแบบเดิม ท้าให้ความสัมพันธ์ทางกิจกรรม สงั คมได้ขยายวงกว้างมากข้นึ และเกิดการพ่ึงพาอาศัยกันในหลายระดับ เพราะความสัมพันธท์ ่ีเชอ่ื มหา กนั อย่างงา่ ยดายเช่นน้ีทา้ ใหก้ ารแลกเปลย่ี นและกจิ กรรมทางสงั คมเกดิ ขึ้นระหว่างกันอย่างรวดเร็วและ เขม้ ข้นอย่างมาก โลกาภวิ ตั น์ส่งผลมากกวา่ กิจกรรมทางการเมอื ง เศรษฐกจิ วฒั นธรรม แตห่ ยั่งลึกได้ เข้าไปในระดับจิตใจของผู้คน อันมีผลต่อการก้าหนดอัตลักษณ์ของแต่ละคน รวมถึงการสร้าง อตั ลกั ษณใ์ หมท่ ง้ั ในระดับปจั เจกและระดับสงั คม (แมนเฟร็ด สเตเกอร์ 2553, 41-43) หรอื อกี นัยหนึ่ง โลกาภิวัตนเ์ ปน็ กระบวนการเชื่อมโลกใหแ้ คบลง เกิดความสมั พนั ธท์ ี่ก้าวขา้ มพ้ืนทแี่ ละเวลา ทุกอยา่ ง บนโลกสามารถส่ือถงึ กนั ได้อยา่ งง่ายดาย กจิ กรรมตา่ งๆท่ีเกิดขึน้ จึงเชอื่ มถงึ กันเป็นเครือข่าย ลกั ษณะ เช่นน้กี ม็ ีผลตอ่ การก้าหนดความเป็นอยู่ของคนในยคุ ปจั จบุ ันต้ังแตค่ วามคิดไปจนถึงการสร้างอตั ลกั ษณ์ ของแตล่ ะบุคคล สา้ หรบั โลกาภวิ ัตนก์ ับสงั คมไทย คริส เบเคอร์และผาสกุ พงษไ์ พจิตร (2557) กลา่ วว่าชว่ ง ทศวรรษ 2510 ถึงทศวรรษ 2540 เปน็ ชว่ งเวลาท่เี ศรษฐกจิ ไทยเตบิ โตอยา่ งสงู และเขา้ ไปเป็นส่วนหนงึ่ ในโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่พ่ึงพาภาคอุตสาหกรรมแทนภาคการเกษตร ส่งผลให้เศรษฐกจิ ไทยไม่ได้พงึ่ พาการเกษตรเป็นหลกั อกี ตอ่ ไป ชนบทถูกลดความส้าคัญลงและท้าให้ เกดิ การขยายตัวของเมืองพร้อมกับการกระจุกตวั ของความเจริญอยู่ในเมอื งตามมา โดยเฉพาะในช่วง ทศวรรษ 2530 สังคมไทยได้เปลย่ี นแปลงอย่างกว้างขวางจากเทคโนโลยีการสอ่ื สารทีร่ วดเรว็ มากขนึ้ ตลอดจนเศรษฐกจิ ท่ีเติบโตอย่างกา้ วกระโดดที่เรียกว่า “เศรษฐกิจแบบฟองสบู่” โลกาภิวัตน์ยังได้สง่ อิทธิพลอย่างมากต่อรสนิยมและความคิดของคนไทย เช่น ความหลากหลายของวิถีชีวิตของผู้คน การเกิดสังคมมวลชน ฯลฯ (คริส เบเคอร์และผาสุก พงษ์ไพจิตร 2557, 299-347) ทว่า “ภาวะฟอง สบแู่ ตก” ในปี พ.ศ. 2540 ไดเ้ ปล่ียนแปลงทัศนคตเิ กยี่ วกับอนาคตของสงั คมไทยไปอย่างสน้ิ เชิง เพราะ เดมิ โลกาภวิ ตั นไ์ ดท้ า้ ใหไ้ ทยฝนั จะเป็นผู้ทรงอทิ ธิพลทางเศรษฐกจิ ในเอเชียหรือมคี ้ากล่าวว่าเป็น “เสือ
207 ตวั ทห่ี ้าแหง่ เอเชยี ” หากภาวะฟองสบู่แตกไดท้ า้ ให้ความฝนั นนั้ พังทลายลง ผ้คู นรสู้ ึกผิดหวงั กับกระแส โลกาภิวัตน์ หลายฝ่ายมองว่า โลกาภิวัตน์กา้ ลงั ทา้ ให้เมืองไทยกลายเปน็ ทาสของตะวันตกไม่ตา่ งจาก การตกเป็นอาณานิคมแก่ชาติตะวันตก บ้างมองว่าไทยไม่พร้อมรับมือกับโลกาภิวัตน์ ฝ่ายที่เคย สนับสนุนโลกาภวิ ัตนอ์ ย่างเตม็ ที่กลับมองว่าถงึ เวลาตอ้ งปรับปรุงให้เมอื งไทยอยู่รอดไดใ้ นสภาวะท่ีโลก เปล่ยี นแปลง (ครสิ เบเคอรแ์ ละผาสุก พงษ์ไพจิตร 2557, 379-382) เหตุนี้วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 จึงก่อให้เกิดกระแสชาตินิยมขึ้นมาอีกคร้ังหน่ึง ดังท่ีมี แนวคิดเร่ืองการด้ารงวิถีชีวิตของไทยที่เน้นการพึง่ ตนเอง มีการยกวัฒนธรรมท้องถิ่นมากล่าวถึงมาก ขน้ึ นกั วชิ าการและนกั ธุรกจิ จา้ นวนหนึง่ จดั ตัง้ กลุม่ ชาตนิ ิยมใหม่เพอ่ื หวงั ปลกุ เรา้ ความคิด จิตวิญญาณ และหวังกอบกู้ความเปน็ ไทยใหร้ อดพ้นจากการถูกคุกคามจากต่างชาติ ในสื่อสารมวลชนเองก็มีการ ตอกย้าการปกปอ้ งชาติจากการคุกคามอย่างกว้างขวาง (คริส เบเคอร์และผาสกุ พงษ์ไพจิตร 2557, 382-385) ตัวอย่างท่ีชัดเจน คือ ส่ือภาพยนตร์ ดังที่ก้าจร หลุยยะพงศ์ (2547) เสนอว่าในช่วงเวลา ดังกล่าว ภาพยนตร์ไทยกลับมาได้รับความนิยมอีกครง้ั หนึ่ง และภาพยนตรแ์ นวย้อนยุค ตัวอย่างเช่น นางนาก บางระจัน สรุ โิ ยไท ฯลฯ ไดถ้ กู สรา้ งขึ้นจา้ นวนมากและได้รับความนยิ มอยา่ งแพรห่ ลาย กา้ จร อธิบายว่าเพราะภาพยนตร์ตอบสนองต่อภาวะของผชู้ มที่มีความรู้สึกชาตินิยม และศัตรูที่ปรากฏใน ภาพยนตร์ย้อนยุคมักไม่พ้น “พม่า” ท่ีเป็นศัตรูคู่แค้นในมโนทัศน์ของคนไทยมาช้านาน หากในช่วง เวลาหลงั วิกฤตเศรษฐกจิ ศัตรูคู่แค้นดังกลา่ วถูกน้ามาใช้ใหม่เพือ่ ต่อสู้กับเจา้ หนีข้ องไทยหรือองค์การ การเงินระหว่างประเทศ (IMF) น่นั เอง การโหยหาอดีต (nostalgia) เป็นแนวคิดหนึ่งที่ถูกน้ามาอธิบายสังคมไทยหลังวิกฤต เศรษฐกจิ พัฒนา กติ ตอิ าษา (2546, 3-8) สรุปวา่ การโหยหาอดตี เปน็ วิธีการมองโลกในส้านกั คดิ หลัง สมัยใหม่ (postmodernism) การโหยหาอดีตคือการเรียกหาอดีตที่เลือนหายไปแล้วให้กลับคืนมา (to call up a vanished past) โดยรู้วา่ โลกแหง่ ความเป็นจริงเป็นไปไม่ได้ การโหยหาจึงเกิดข้ึนด้วย การจา้ ลองอดีตขนึ้ มาใหม่ ผ่านจนิ ตนาการและอารมณค์ วามรสู้ กึ ในปจั จุบันขณะ การโหยหาอดตี มีท้ัง ในระดับปัจเจกและในระดับสังคม ในระดับปจั เจก การโหยหาอดีตช่วยสร้างตัวตนของแต่ละบคุ คล สร้างความทรงจ้าส่วนบุคคลขึ้นมา ส่วนในระดับสังคม การโหยหาอดีตเป็นจินตนาการร่วม (collective imagination) ของปัจเจกแลว้ กลายเป็นรากฐานของการสรา้ งแบบแผนทางวัฒนธรรม รูปแบบต่างๆ ที่ช่วยรื้อฟ้ืนอดีตขนึ้ มา เช่น การเขยี นประวัติศาสตร์ ภาพยนตร์ นวนิยาย ดนตรี ฯลฯ ซึ่งนบั เปน็ ผลผลติ ของการโหยหาอดตี ร่วมกันของคนในสังคม พัฒนาแสดงทรรศนะด้วยว่า ปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคมไทยนับต้ังแต่หลังวิกฤต เศรษฐกิจบง่ บอกถึงอาการโหยหาอดีตอยา่ งแพรห่ ลาย ผคู้ นในสงั คมขาดความม่นั ใจในตนเองและเกิด ความรสู้ กึ ไม่เชอื่ มน่ั ในอนาคตของสังคมไทย สาเหตุทเ่ี ปน็ เชน่ นี้เพราะความผนั ผวนของชีวิต จากเดิมท่ี ก้าลังเพลดิ เพลนิ อยู่กับความทันสมัยและความรงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจ แต่เศรษฐกจิ ทีพ่ ังทลายลงท้าให้
208 สงั คมตอ้ งเผชญิ กับความจริงท่ีเจบ็ ปวด ผ้คู นมองเหน็ ว่าทุนนยิ มและการพฒั นาตามแบบตะวนั ตกไมใ่ ช่ คา้ ตอบ เม่อื พวกเขาเผชิญกับวิกฤตอตั ลกั ษณ์ พวกเขาจงึ หวนกลบั ไปหาความเป็นไทย วฒั นธรรมและ สถาบันด้ังเดิมเพื่อตามหาตัวตนที่หายไปในวัฒนธรรมตะวันตก ดังท่ีพบจากแฟช่ันย้อนยุค กาแฟ โบราณ การรื้อฟื้นเมอื งนา่ อยู่ สนิ ค้าภูมิปัญญาพ้นื บ้าน หนังสอื ยอ้ นยคุ ภาพยนตรแ์ นวชาตนิ ิยม ฯลฯ (พัฒนา กติ ติอาษา 2546, 40-41) ข้อมูลคตชิ นเป็นส่วนหนง่ึ ทสี่ งั คมไทยหวนกลับไปหา ดงั ท่ีสกุ ัญญา สจุ ฉายา (2543, 105) ช้ีว่า แต่เดิมคติชนมีบทบาทต่อการรวมพลังของกลุ่มคนมาช้านาน ยิ่งในบริบทสังคมไทยหลังวิกฤต เศรษฐกิจ คติชนยังสืบทอดบทบาทต่อการรวมพลังของคนไทยเพ่ือต่อสู้กับการเข้ามาของทุนนิยม ตะวันตก ดังท่ีวีรบุรุษของชาติในอดีตถูกหยิบยกข้ึนมากล่าวถึงอย่างพระสุพรรณกัลยา พระสุรโิ ยทยั ชาวบ้านบางระจัน ฯลฯ ประชาชนทกุ ระดบั มคี วามเช่อื และมกี ารทรงเข้าบุคคลสา้ คญั ทั้งทีเ่ ป็นวรี บรุ ุษ และอริยสงฆ์ สาระส้าคัญก็คือ การแสดงความรักชาติและห่วงใยประเทศชาติเป็นแกน นอกจากน้ี ข้อมูลคติชนยังถูกน้ามาตอบสนองกระแสการโหยหาอดีตผ่านการท่องเทยี่ วหรือการสรา้ งผลติ ภัณฑ์ ดงั ที่งานวจิ ัยของอภิลกั ษณ์ เกษมผลกลู (2556, 103-132) แสดงใหเ้ ห็นว่า ทา่ มกลางการโหยหาอดีต ของสังคมไทย เร่ืองเล่าพื้นบ้านกลายเป็นทุนทางวัฒนธรรมท่ีเพ่ิมมูลค่าแก่ผลติ ภัณฑ์ในทอ้ งถ่ินต่างๆ รวมถึงกระตุ้นการทอ่ งเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม เพราะเรอ่ื งเลา่ พ้นื บา้ นมสี ่วนชว่ ยจ้าลองอดีตเก่าและสร้าง อดตี ใหม่ใหแ้ กค่ นไทยรุ่นใหม่ท่รี สู้ ึกโหยหาอัตลักษณท์ ีห่ ายไป การโหยหาอดีตเป็นสิ่งที่พบได้ในนวนิยายของพงศกรหลายเรื่อง ดังท่ีนวนิยายเรื่อง รอยไหมและสาปภูษา ได้แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคมไปสรู่ ะบบทุนนิยม โดยผืนผ้าและผใี น นวนิยายสองเรื่องนไี้ ด้แสดงการโต้กลับความเปน็ สมยั ใหม่ พร้อมแฝงการโหยหาความรงุ่ เรอื งในอดีต (วิทยา วงศ์จันทา 2555, อนัญญา วารีสอาด 2556) เม่ือเป็นเช่นน้ีการน้าข้อมูลที่แสดงคุณค่าของ วัฒนธรรมโบราณในนวนิยายของพงศกรท่ีเลือกมาศึกษาสะท้อนนัยยะถึงการโหยหาอดีตไว้ด้วย เช่นกัน ดังทใี่ นนวนยิ ายของพงศกรที่เลือกมาศึกษามีการสร้างตวั ละครปฏิปักษเ์ ปน็ ชาวตะวันตกท่ีเข้า มาตักตวงประโยชน์จากประเทศไทย เพราะชาวตะวันตกต่างแฝงตัวเข้ามาตักตวงผลประโยชนท์ ง้ั ใน รูปของนักวิจัยหรอื ในรปู ของนายทุน ตัวละครกลุ่มนี้สะท้อนให้เห็นการเข้ามาของต่างชาติพร้อมกับ เทคโนโลยี ความทันสมัยและการติดต่อสื่อสารทก่ี ้าวข้ามพรมแดนได้ง่ายดาย หากแต่ในมุมหนึ่ง ตัว ละครกล่มุ นี้ได้เข้ามาตักตวงผลประโยชนจ์ ากประเทศไทยด้วย โดยนัยนี้ ตัวละครกล่มุ นีจ้ งึ อาจสะทอ้ น ถงึ การหวาดเกรงภัยโลกาภิวัตน์ได้ประการหน่ึง การชี้ภัยโลกาภิวัตน์มาพร้อมกับการยืนยันความเปน็ มาของคนไทย ดังที่พงศกรหยิบยก ข้อมูลหลายแหล่งเพ่ือยืนยันถึงรากของคนไทยในปัจจุบัน ดังเช่นวังพญาพราย พงศกรน้า ประวัติศาสตร์สมัยทวารวดีมาใช้และย้าตลอดทั้งเร่ืองว่า บ้านวังพรายเป็นเมืองเก่าที่ร่วมยุคกับ อารยธรรมทวารวดี “ทวารวดีมตี วั ตนจริงๆ ไมใ่ ชเ่ พียงเมอื งในตา้ นาน...หลายเมอื งในสมัยทวารวดยี ังมี
209 ผ้คู นอาศยั สบื เนอ่ื งมาจนถึงปจั จบุ นั เช่น นครปฐม เพชรบุรี ราชบุรี นีย่ ่อมเปน็ สง่ิ ท่บี อกเราวา่ คนไทย ไมไ่ ดอ้ พยพมาจากเทือกเขาอลั ไต ทางตอนใต้ของประเทศจีนอย่างทแ่ี บบเรยี นในสมยั หนง่ึ เคยสอนกนั แต่บอกให้เราภาคภูมิใจว่า คนไทยอยู่บนแผน่ ดินแหลมทองนี้มานานนักหนาแล้ว” (พงศกร 2557ค, 372) การเน้นยา้ ความคิดดังกลา่ วกพ็ บได้อีกจากการคน้ หาเมอื งเอกทะชิตาของวรัณเร่ืองเบอ้ื งบรรพ์ ซง่ึ เป็นการย้อนกลับไปหารากทางวัฒนธรรมโบราณเพอ่ื บง่ บอกว่าคนไทยอาศยั ในดนิ แดนประเทศไทย มาเป็นเวลาช้านาน เพราะ “ในแหลมทองที่เรากันนี้ มีอาณาจักรโบราณมากมายมาก่อนหน้าสุโขทยั พี่เชื่อว่า ที่จริงแล้วคนไทยเราอยู่ท่ีน่ี ไม่ได้มาจากที่ไหนเลย เพียงแต่เราอยู่กันอย่างกระจัดกระจาย และอยู่กันต่างช่วงเวลา...ในเมื่อมีอาณาจักรทวารวดี อาณาจักรศรีวิชัย ตามพรลิงค์ แล้วท้าไมจะมี เอกทะชติ าไมไ่ ด้ (พงศกร 2552, 48) การแสดงความย่ิงใหญ่ของ “บรรพบุรษุ ” จากวฒั นธรรมโบราณ สะทอ้ นกลับมาส่คู นในปัจจุบนั ทเ่ี ป็น “ลูกหลาน” เพือ่ สรา้ งความภาคภมู ิใจใน “ราก”ของตน น่าสังเกตว่า นวนิยายของพงศกรมไิ ดป้ ฏิเสธความเปน็ ไทยว่าต้องเป็นไปตามกระแสหลกั เท่านั้น แต่ได้เสนอการมองคุณคา่ ของวัฒนธรรมต่างๆ ท่ีหลากหลายในดินแดนประเทศไทยหลายยุค หลายสมัย ดังท่ีฤดูดาว สร้อยแสงจันทร์และกุหลาบรัตติกาล ได้น้าเอาประวตั ิความเป็นมาของชาติ พนั ธต์ุ า่ งๆมาเน้นย้าถงึ รากของพวกเขา การน้าเสนอวฒั นธรรมโบราณจึงไม่ไดจ้ า้ กัดเฉพาะวัฒนธรรม ไทยท่ีมี “รากเดียว” แต่เป็นวัฒนธรรมท่ี “ร่วมราก” กันขึ้นมา การน้าเสนอเช่นนี้อาจเป็นเพราะ กระแสโลกาภิวัตน์ได้ท้าให้เกิดคนจ้านวนหนึ่งกลัวถูกกลืนกลายทางวัฒนธรรม แนวคิดความ หลากหลายทางวัฒนธรรมจงึ กลายเป็นแนวคิดท่ีช่วยท้าให้ความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ด้ารงอยู่ได้อย่างเท่าเทียมมากกว่าในอดีตดังที่กล่าวไปในหัวข้อที่ผ่านมา 4.2.1.1 แล้ว นอกจากนี้ ศิราพร ณ ถลางยงั ไดอ้ ภิปรายไวเ้ ก่ยี วกบั กลุ่มชาตพิ นั ธ์ุในประเทศไทยในหนังสอื มองคติชนเหน็ ตัวตน ชาติพันธ์ุตอนหนง่ึ วา่ หากย้อนไปเม่ือยุคสรา้ งชาตไิ ทยหรือย้อนอดตี ไปสัก 50 ปี กลุ่มชาตพิ นั ธุ์คงมสี ถานะเป็นเพียง ชนกลมุ่ น้อยและคอ่ นข้างจะเป็นชายขอบภายใต้โครงสร้างของอ้านาจรัฐไทย แม้ทกุ วนั นี้กลุ่ม ชาติพนั ธุ์ทงั้ หลายยังตอ้ งอย่ภู ายใตอ้ ้านาจรฐั เช่นเดียวกับคนไทย แต่กม็ องได้วา่ ไดร้ บั โอกาสให้ แสดง “ตวั ตนของชาติพันธ์ุ” ไดอ้ ย่าไม่ตอ้ งปิดบังซ่อนเร่นเช่นเมื่อก่อน ท้งั นค้ี งเปน็ เพราะทุก วันน้ีเราอยู่ในสังคมโลกาภิวัตน์ สังคมแห่งการท่องเท่ียว สังคมประชาธิปไตย สังคมทุนนิยม สังคมวัตถุนิยม สังคมยุคข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงบริบทสังคมดังกล่าวน้ีมีผลท้าให้คนในโลกน้ี ตดิ ต่อกันได้อย่างไร้พรมแดน การเข้าถึงเทคโนโลยีส่อื สารก็เท่าเทยี มกันมากข้ึน...เม่ือโลกเปิด กว้างข้ึน คนในประเทศไทยก็รับรู้และยอมรับความหลากหลายทางชาติพันธุ์ได้มากขึ้น วัฒนธรรมท่ีแตกต่างกลับเป็นสิ่งที่น่าสนใจและขายได้...แนวคิดเรื่องสิทธิชุมชนและสิทธิ มนุษยชนก็มีส่วนส้าคัญในการเปลย่ี นวิธีคิดให้ชาวโลกทุกวันนี้ต้องยอมรับในสิทธิที่เท่าเทียม กนั ของมนุษยท์ กุ คนมากข้ึน (ศริ าพร ณ ถลาง 2559, 230)
210 กล่าวได้ว่า นวนิยายของพงศกรไม่ได้สะท้อนว่ากลุม่ ชนชาติพันธ์ุเป็นเพียงคนชายขอบใน ประเทศไทย แตน่ วนิยายของพงศกรได้เน้นย้าถึงคุณค่าของวัฒนธรรมโบราณทม่ี รี ่วมกันใน “ดนิ แดน ประเทศไทย” ท่ีไม่ใช่เพียง “วัฒนธรรมไทย” เหตุนี้การน้าเสนอให้เหน็ รากของวัฒนธรรมโบราณจึง มิได้น้าเพยี งวฒั นธรรมไทยกระแสหลกั มาใช้ เพราะไม่ว่าวฒั นธรรมใดที่มรี ากในดินแดนแถบนย้ี อ่ มเปน็ ต้นก้าเนิด “ลูกหลาน” หรือดอกผลทางวัฒนธรรมท่ีเติบใหญ่ข้ึนมา ความเก่าแก่ที่ด้ารงมาแต่อดีต อย่างเชน่ ชาวกูยดังท่ีไพฑูรย์ มีกศุ ล (2540) กลา่ ววา่ เป็น “ผสู้ ืบวัฒนธรรมต่อเนื่องนบั พันปี” ยนื ยันถึง ความเจริญที่สืบต่อกันมา วัฒนธรรมโบราณท่ีพงศกรเน้นย้าจึงมีบทบาทเติมเต็มรากหรือบ่งบอก อตั ลักษณ์ทม่ี าของคนปัจจุบนั นั่นเอง อย่างไรก็ดี นวนิยายของพงศกรมักน้าเสนอในตอนจบว่า ความรุ่งเรืองของอดีตไม่ได้มี หน้าท่ีเพื่อให้คนปัจจุบันยึดติดอยู่กับอดีตท่ีจบลงไปแล้ว หากส่ิงส้าคัญคือการอยู่กับปัจจุบัน ส่วน วัฒนธรรมโบราณมีหน้าที่ใหค้ ้าตอบว่าตนเป็นใคร ตวั อยา่ งที่ชดั เจนคอื ตอนจบในเบื้องบรรพ์ วรณั ได้ เหน็ วัฒนธรรมโบราณทเี่ ขาตามหา แตเ่ ขาพบในชว่ งทีจ่ ะหมดลมหายใจ เขาจงึ ตระหนกั ได้วา่ ทุกส่ิงทุกอย่างถูกธรรมชาติและกาลเวลาก้าหนดมาอย่างเหมาะสม วัฒนธรรมหนึ่ง เมื่อ เจริญมาจนถงึ จดุ ทสี่ ดุ กจ็ ะเสอื่ มสลายลงไป ไมน่ านนกั กจ็ ะมวี ฒั นธรรมใหมเ่ กดิ ข้นึ มาแทนที่ เป็นวัฏจักร ไม่มีประโยชน์อะไรทจี่ ะไปโหยหาสิง่ ซง่ึ ดับสูญไปแล้ว ถึงแม้เขาจะนา้ เมืองเอกทะชติ ากลบั มาสสู่ ายตาของชาวโลกได้ หากส่งิ ซ่งึ เขาน้ากลบั มานั้น จะเปรยี บไปมันก็เป็นเพยี งซากของคนตายเทา่ นั้น ผูค้ นอาจจะมาเท่ียวชมความมหัศจรรย์พันลึกของเมอื งโบราณ แลว้ ก็จะจากไป คนแลว้ คน เลา่ ส่วนเอกทะชติ าทแ่ี ทจ้ ริงนน้ั ได้ “ตาย” ไปนานนมแล้ว (พงศกร 2552, 165) เบื้องบรรพ์สะทอ้ นว่าสงิ่ ท่ีวรณั ทา้ อยู่เหมือนการขุดซาก “คนที่ตายแล้ว” เพื่อจะนา้ ไปสู่ ขอ้ คน้ พบส้าคญั คอื การรกั ษา “คนท่ียงั มชี วี ิต” อนั หมายถึง การหันกลบั มามองเหน็ คณุ ค่าและชว่ ยกนั รักษามรดกทางวัฒนธรรมที่หลงเหลืออยู่ในปัจจุบนั มากกว่า เม่ือวรัณตระหนักเช่นน้ัน วรัณจึงยอม ปล่อยให้วัฒนธรรมที่เขาพบ “จมหาย” ไปกับอดีต วรัณไม่สนใจทจ่ี ะน้าเอาเรื่องเมืองเอกทะชิตามา ประกาศแก่ชาวโลกอีกต่อไป และการปลอ่ ยวางดังกลา่ วก็ทา้ ให้เขารอดชีวิตออกมา การจ้าลองภาพ จากอดีตให้เกิดขึ้นตรงหน้าตัวละครในปัจจุบันจึงเป็นไปเพ่ือให้ตัวละครเอกได้เรียนรู้รากและสร้าง ความภาคภูมิใจ มิได้ให้หลงใหลกับวัฒนธรรมที่ตายไปแล้ว เสนอให้หันมาสนใจวัฒนธรรมที่ยงั มีชวี ิต น่ันคอื มรดกทางวัฒนธรรมที่ยงั คงสืบทอดมาในปัจจบุ ัน เช่น โบราณสถาน ประเพณี ความเชื่อ ฯลฯ การหันมารักษามรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดมาถึงปัจจุบันปรากฏอย่างเด่นชัดใน สร้อยแสงจันทร์ เพราะโครงเรื่องหลกั คอื การค้นหาคนรา้ ยทเ่ี ข้ามาโจรกรรมวัตถุโบราณในปราสาท
211 ควบคู่ไปกับการน้าเสนอภาพของปราสาทปักษาจ้าจองรกร้างขาดการดูแลกลางป่า ท้ังพุทธิและ เดือนเต็มดวงก็เป็นผู้มีอุดมการณ์อนุรักษ์อย่างเต็มเป่ียมและเป็นกระบอกเสียงส้าคัญให้หันมาใสใ่ จ โบราณสถาน สังเกตได้ว่า หน้าท่ีการงานของพุทธิซ่ึงเป็นนักเขียนสารคดีและเดือนเต็มดวงท่ีเป็น นกั โบราณคดมี ีบทบาทตอ่ การรกั ษาโบราณสถานอยา่ งชัดเจน คนหน่งึ เป็นประชาชนทัว่ ไปทส่ี นใจท้า สารคดีเพื่อให้คนหันมาสนใจปราสาทหิน ขณะท่ีอีกคนเป็นเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งเก่ียวข้องกับการดูแล ปราสาทหินโดยตรง หากเร่ืองท้าให้พุทธิมีบทบาทเด่นที่ส้าคัญไปกว่าเดือนเต็มดวง เหตุท่ีเป็นเช่นน้ี อาจตีความได้ว่า นวนยิ ายตอ้ งการยา้ ถงึ บทบาทภาคประชาชนวา่ สา้ คัญไม่ยง่ิ หยอ่ นไปกว่าภาครัฐ การ รอภาครฐั เข้ามาจัดการเพยี งอย่างเดียวอาจไม่เพยี งพอ การหนั มาดแู ลและรกั ษามรดกทางวฒั นธรรม ควรเปน็ หน้าที่ของประชาชนท่วั ไป โดยเฉพาะคนในท้องถ่ิน “เพราะการพัฒนาที่มาจากทอ้ งถ่ินและ ความคิดของชาวบ้านเองนั้นย่อมจะย่ังยืนกว่าการที่ทางการ ‘ส่ัง’ ให้ท้องถ่ินและชาวบ้านท้าการ พฒั นา” (พงศกร 2558, 304) เห็นได้ว่า นวนิยายของพงศกรสะทอ้ นความสัมพันธ์กับสงั คมไทยในสมยั ที่แต่ง นวนิยาย ของพงศกรได้สอดแทรกการโหยหาอดีตโดยน้าเอาประเด็นเรือ่ งความรุ่งเรืองของวัฒนธรรมโบราณ ขน้ึ มาโดยผา่ นการเดินทางของตัวละครเอก การค้นพบถงึ หลกั ฐานท่แี สดงว่าเคยมีวฒั นธรรมในอดีตที่ เจริญรุ่งเรืองในดินแดนแห่งนี้มาเนิ่นนานก็ช่วยตอบสนองกับภาวะของผู้คนร่วมสมัยท่ีก้าลังโหยหา หลักยึดทางอตั ลักษณข์ องตน และชว่ ยสร้างความภาคภูมิใจ การสรา้ งความภาคภมู ิใจเชอื่ มโยงตอ่ ไปสู่ แนวคิดให้ผู้คนหันกลับมาดูแลวัฒนธรรมโบราณทยี่ ังหลงเหลือในปจั จุบัน เพราะสงิ่ เหลา่ น้นั เปน็ สงิ่ ท่ี บ่งบอกว่าเราเป็นใครนั่นเอง อย่างไรก็ดี วัฒนธรรมโบราณในนวนิยายของพงศกรได้เปิดกว้างไป มากกวา่ วฒั นธรรมไทยกระแสหลักเพียงอยา่ งเดยี ว หากแต่ไดห้ มายรวมไปถึงวฒั นธรรมกลุม่ ตา่ งๆ ท่มี ี ร่วมกันในดินแดนประเทศไทยเพื่อบง่ บอกว่า วัฒนธรรมเหล่าน้ีร่วมรากกันและประกอบสร้างใหเ้ ป็น เราเชน่ ทกุ วันนี้ 4.2.2.2 การน้าขอ้ มลู เชงิ คตชิ นมาแสดงถงึ รากทางวัฒนธรรมของคนในปจั จบุ ัน นวนิยายของพงศกรน้าเสนอภาพวัฒนธรรมโบราณ โดยพงศกรน้าเรื่องเล่าเชิงคติชนมา สรา้ งใหก้ ลายเปน็ เรื่องจรงิ ท่เี คยเกิดขึน้ และรุ่งเรืองในอดีต ไม่ว่าจะเปน็ เมอื งทเี่ คยล่มไดก้ ลับมาปรากฏ ต่อตัวละครเอก ตัวละครในเรอื่ งเล่าได้ปรากฏตัวในปัจจุบนั การนา้ เมืองหรือตวั ละครทอ่ี ยใู่ นเรอื่ งเล่า เชิงคติชนมาปรากฏในปัจจุบันเช่นน้ีนับเป็นการจ้าลองภาพอดีตให้มาปรากฏในปัจจุบนั เพ่ือให้คน ปัจจุบันได้มองเห็นและรู้สึกภาคภูมิใจ ก่อนจะช้ีน้าให้ผู้อ่านรู้สึกหวงแหนและน้าไปสู่การอนุรักษ์ วฒั นธรรมโบราณต่อไป การท้าให้เรื่องเลา่ เชิงคติชนกลายเปน็ เรอื่ งจริงพบได้ในนวนิยายทกุ เรื่อง เม่ือเร่อื งเลา่ เชิง คตชิ นทเี่ ลา่ ขานกลายเป็นเร่ืองจรงิ ทเ่ี คยเกดิ ขึ้นแล้วย่อมหมายความว่า ในพื้นท่ดี ังกล่าวย่อมเป็นแหล่ง
212 วัฒนธรรมโบราณที่รงุ่ เรอื งมาตง้ั แต่อดีต การค้นพบดังกล่าวย่อมส่งผลต่อคนในพื้นท่ีให้รู้สกึ ภูมิใจใน รากเหงา้ ของตน ตัวอย่างเช่นในเบอื้ งบรรพ์ การคน้ พบวา่ มีเมืองเอกทะชติ าและยงั พบอีกว่าเมืองน้ีมี กลไกท่ซี ับซอ้ นเพือ่ ปอ้ งกนั คนบุกรกุ “แสดงให้เหน็ ถึงภูมิปญั ญาอันชาญฉลาดของชาวนครเอกทะชิตา บรรพบุรุษของชาวอีสานในปัจจุบัน” (พงศกร 2552, 139) จนกระทั่งในตอนจบของเรื่องวรัณได้ ค้นพบอารยธรรมที่ฝงั อย่ใู ต้ดนิ เขาพบพระพุทธรูปปางนาคปรกและฮูปแต้มซงึ่ ยืนยนั วา่ “พระพทุ ธรูป ปางนาคปรกและฮูปแต้มเหล่านีบ้ ง่ บอกถึงวัฒนธรรมอนั สูงส่งของนครเอกทะชิตาไดเ้ ป็นอย่างดี อกี ท้ัง ยังเป็นส่งิ ทยี่ ืนยันว่า พระพุทธศาสนาได้แผข่ ยายจากชมพูทวีปมายงั ดินแดนอีสานและหย่ังรากลึกลง อย่างม่ันคง ชายหนุ่มไล้มือไปบนผนังทมี่ ีฮปู แต้มด้วยความอิ่มใจ” (พงศกร 2552, 167) ความอ่ิมใจ ของวรัณเรยี กไดว้ า่ มาจากความอ่ิมอกอิ่มใจที่ไดพ้ ิสจู น์ความคดิ เรือ่ งเมอื งเอกทะชติ าไดจ้ ริงและอ่มิ ใจที่ ได้เห็นความยิง่ ใหญ่ของวฒั นธรรมโบราณ ส่วนในเคหาสน์นางคอย พงศกรแทรกเร่ืองเลา่ เก่ียวกับเจา้ หญงิ กับโจรสลัดเพื่อบง่ บอก ความเป็นมาของบ้านนางคอยว่าเคยเปน็ เมอื งสา้ คัญเมืองหนึง่ ของรัฐปาตานี แต่ที่ผา่ นมาไมม่ ีหลกั ฐาน ปรากฏ กระท่ังเมือ่ เรื่องด้าเนินไปถึงตอนทสี่ กั กทศั นแ์ ละก้งุ ลงไปในทางเดินใต้ดิน ท้ังคู่พบกับหลุมฝัง พระศพของเจา้ หญิงเดวซี ่ึงแสดงใหเ้ หน็ วา่ “เราไดพ้ บหลักฐานสา้ คญั ท่ีสดุ ในหน้าประวัตศิ าสตรท์ อ้ งถน่ิ แลว้ เจ้าหญงิ เดวีและโจรสลัดบบี ามอี ยจู่ ริงๆ ไม่ใช่ต้านานอยา่ งที่ใครๆ เชื่อกัน” (พงศกร 2556, 178) การพบว่าพระศพของเจ้าหญิงเดวีถูกฝังไว้เคียงข้างโจรสลัดบีบาย่อมหมายความว่า พวกเขาทั้งคู่มี โอกาสได้กลับมาอยู่ด้วยกัน และอีกนัยหนึ่ง การค้นพบยังสัมพันธ์กับความเก่าแก่ของบ้านนางคอย การมีหลุมฝังพระศพอยู่ในท่ีนี้เท่ากับว่าบ้านนางคอยเคยเป็นแหล่งความเจริญในอดีตมาก่อน เช่นเดียวกับฤดูดาว ดรสาได้พบซากเมืองเวียงแสนเพ็งซ่ึงเป็นเมืองร่วมยุคกับสุโขทัย รวมถึงเมือง เวยี งพรายในวังพญาพรายที่นา้ เอาประวัติศาสตร์ทวารวดีมาเชื่อมโยงก็มจี ุดประสงคส์ า้ คญั คือ “บอก ให้คนไทยรู้และภาคภูมิว่า แท้จริงแล้วคนไทยไม่ได้มาจากไหน ... พวกเราอยู่ท่ีน่ี อยู่บนผืนแผ่นดิน แหลมทองอนั อดุ มสมบูรณม์ านเน่นิ นานนับพันปแี ลว้ ” (พงศกร 2557ค, 336) ยิ่งไปกว่านน้ั ในสรอ้ ยแสงจันทร์ พงศกรยังนา้ รายละเอียดในเรื่องเลา่ เก่ยี วปราสาทปักษา จ้าจองให้เกิดข้ึนจริงต่อหน้าตัวละครในปัจจุบัน เพื่อตอกย้าผู้อ่านให้หันกลับมาดูแลมรดกทาง วัฒนธรรม กลา่ วคอื เร่อื งเลา่ ปกั ษาจ้าจองได้เลา่ ถงึ ภมู ิหลงั ของปราสาทท่เี ก่าแกร่ ว่ มยคุ กับอารยธรรม ขอม และปราสาทปักษาจา้ จองเปน็ หลักฐานของความรงุ่ เรอื งนั้นที่คนรุ่นหลงั ไดเ้ ห็น โดยฉากปราสาท ปักษาจา้ จองนบั เปน็ สญั ลกั ษณแ์ ทนความร่งุ เรอื งจากอดตี นวนิยายฉายภาพของปราสาทหินหลังน้ีให้ ผู้อา่ นเห็นถงึ ความยง่ิ ใหญข่ องวัฒนธรรมที่มคี วามเก่าแก่ยาวนาน โดยเฉพาะจากมมุ มองของพุทธิทเ่ี ตม็ ไปดว้ ยความชนื่ ชมในความรุ่งเรอื งคร้ังอดีต ที่แม้ตัวปราสาททรดุ โทรมไปตามกาลเวลา แตค่ ณุ ค่าและ ความยงิ่ ใหญ่ยังคงตระหง่านสงา่ งาม
213 การถ่ายทอดความรุ่งเรอื งของปราสาทปักษาจ้าจองมาพร้อมกับบรรยากาศความลึกลับ ไม่ว่าจะเป็นจากการปรากฏตัวของนกกีรณะและวัตถุวิเศษอย่างอัญมณีสร้อยแสงจันทร์ การสร้าง บรรยากาศเช่นน้ีช่วยส่งเสริมภาพความย่ิงใหญ่ของปราสาทปักษาจ้าจอง เพราะความลึกลับเหนือ ธรรมชาตเิ พิ่มความเข้มข้นของบรรยากาศให้น่าเกรงขาม แสดงให้เห็นถงึ ความย่งิ ใหญ่ของอารยธรรม โบราณท่ียังคงมี “พลัง” หมายถึง พลังเหนือธรรมชาติทห่ี ลับใหลอยู่ในปราสาทรอวันผู้คนไปค้นพบ พลังน้ีไมต่ ่างจากปราสาทหนิ ท่ีแม้ถูกท้งิ รกรา้ งกลางปา่ ลึกและดูเหมือนไมม่ ีความส้าคัญใด แต่แท้จรงิ แลว้ กองซากปรักหกั พงั ยอ่ มมพี ลังอันแสดงถงึ ความรุง่ เรืองของมนุษย์ในอดีตไว้รอผู้คนในปจั จุบันหัน มาเหลียวแลและปกป้องสถานที่เหล่านี้จากการฉกฉวยผลประโยชน์เอาพลังที่ฝั งอยู่ของผู้ไม่หวัง ดี “ความลึกลับ” จึงมบี ทบาทแสดงใหเ้ หน็ “ความรงุ่ เรือง” ของอดตี ทย่ี ังปรากฏในปัจจบุ นั ส่วนนกกีรณะที่ถูกจองจ้าอยู่ในปราสาทนับเปน็ ตัวแทนของความเจริญรุ่งเรืองจากอดตี เพราะการท่ีกรี ณะถูกจองจา้ อย่ใู นปราสาทแห่งน้ีส่งผลให้กรี ณะ “ยังมชี ีวติ ” ทว่ี นเวียนอยกู่ ับปราสาท ขณะท่โี ลกภายนอกหมุนเวียนเปลีย่ นไป พุทธิและเดือนเต็มดวงต่างเกิดใหม่เปน็ อีกคนหนงึ่ ชวี ติ ของ นกกีรณะทกี่ ้าวข้ามเวลายาวนานนีจ้ ึงถือเป็นสญั ลักษณ์ส้าคัญเพอื่ แสดงความรุ่งเรอื งในอดตี ทีส่ บื เน่ือง มาจนถึงปจั จบุ ัน การพบกนั ระหว่างตัวละครในโลกปจั จุบนั กับนกกีรณะเสมือนการยนื ยันอารยธรรม โบราณที่ยังคง “หายใจ” อยู่เพื่อรอคอยให้คนปัจจุบันค้นพบ กีรณะจึงเป็นสื่อกลางของเร่ืองที่ เชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบันใหส้ มั พันธ์กันอย่างแนบแน่น อีกท้ังบทบาทของกรี ณะในฐานะตัวละครผูน้ ้า ทางแกพ่ ุทธิคน้ พบอดีตของตนน้ัน ในแง่น้ี กรี ณะได้ช่วยสะทอ้ นคุณค่าของวฒั นธรรมโบราณและชี้น้า ทางให้แก่คนในปัจจุบัน กลา่ วไดว้ ่า นกกีรณะเป็นตวั ละครสะทอ้ นความยงิ่ ใหญ่และพลังของอดีตที่ยัง “มชี ีวติ ” ชีวติ ของกรี ณะที่ด้ารงอย่กู ้าวขา้ มเวลายาวนานจงึ เป็นสญั ลักษณ์แสดงความรุง่ เรอื งท่ี “ยังไม่ ตาย” ไปจากโลกปัจจุบันอย่างเป็นรูปธรรม สว่ นการจากไปของกีรณะในตอนทา้ ยไม่ใช่ความตายของ วัฒนธรรม หากแสดงใหเ้ หน็ วา่ หน้าทขี่ องกรี ณะต่อการปกป้องปราสาทจบลงแลว้ และถงึ เวลาให้คน ในปจั จบุ ันไดส้ านตอ่ 14 โดยสรุปแล้ว นวนิยายของพงศกรมีส่วนแสดงให้เห็นปัญหาจากกระแสโลกาภิวัตน์ที่ ไหลบ่าเข้ามา โดยเฉพาะในบริบทสังคมไทยหลังวิกฤตเศรษฐกิจที่คนรู้สกึ โหยหาอดีต นวนิยายของ พงศกรเชิดชูวฒั นธรรมโบราณเพ่อื บ่งบอกรากของคนปัจจุบัน จา้ ลองอดีตเพอื่ สรา้ งความภาคภูมใิ จให้ ด้าเนินชีวิตต่อไปในปัจจุบนั ได้อย่างภาคภูมิ ในอีกด้านหนึ่ง ผลจากกระแสโลกาภิวัตน์ช่วยเปิดพ้นื ท่ี ของความหลากหลายทางวัฒนธรรมมากกว่าวฒั นธรรมไทยกระแสหลกั อย่างเดยี ว ทา้ ให้กลุ่มชาติพันธ์ุ ถูกกลา่ วถึงและน้าเสนอออกมาในฐานะวฒั นธรรมร่วม โดยพงศกรนา้ เอาเรอ่ื งเลา่ เชิงคติชนมาจ้าลอง 14 ดรู ายละเอยี ดการวเิ คราะห์ประเดน็ นเ้ี พิ่มเติมในบทความทผ่ี ้วู ิจัยเขียนไว้ได้ในบทความเรือ่ ง “สร้อยแสงจันทร์ ปราสาทหิน นก จากนทิ านและหม่บู ้านชาวกยู ” (ศรัณยภ์ ัทร์ บญุ ฮก 2558)
214 เป็นเรือ่ งที่เกดิ ขนึ้ จริงในอดีต เร่ืองเลา่ เชงิ คติชนจงึ มิได้เป็นเพยี งเรอ่ื งปรัมปรา แต่กลายเป็นเรอ่ื งจรงิ ท่ี เคยเกิดขึ้นในอดีต โดยนัยนี้ ข้อมูลเชิงคติชนจึงมีส่วนช่วยตอบสนองให้คนในปัจจุบันรู้สึกเติมเต็ม เก่ียวกับความเป็นมาของตน ด้ารงชีวิตในปัจจุบันได้อย่างภาคภูมิ และหันกลับมาช่วยอนุรักษ์มรดก ทางวัฒนธรรมโบราณท่ยี ังคงอยใู่ นปัจจบุ ัน จากทีม่ าเกยี่ วกบั แนวคดิ ในนวนิยายของพงศกรเกยี่ วกบั การแสดงปัญหาและเสนอทางออกใน สังคมปัจจุบัน นวนิยายของพงศกรซึ่งแต่งในช่วงทศวรรษ 2540 - 2550 เน้นย้าสองประเด็นหลัก ประเด็นแรก พงศกรเน้นย้าถึงการอยู่กับธรรมชาติอย่างกลมกลืนแทนท่ีจะเอาชนะธรรมชาติ เพื่อ หาทางออกให้แกภ่ ยั พบิ ัตแิ ละปัญหาโลกรอ้ นที่รนุ แรงมากขน้ึ โดยยกความเชื่อและเรอ่ื งเล่าทมี่ ีสาระถงึ การอยู่ร่วมกับธรรมชาติมาเป็นแบบอย่าง อีกประเด็นหน่ึง ในช่วงหลังที่สังคมไทยประสบวิกฤต เศรษฐกิจทศวรรษ 2540 ท้าให้เกิดภาวการณ์โหยหาอดีตและผู้คนเร่ิมมองเห็นภัยของกระแส โลกาภิวัตน์น้ัน พงศกรน้าวัฒนธรรมโบราณมาเชิดชูเพ่ือสร้างความภาคภูมิใจและอธิบายรากความ เปน็ มาของคนในปัจจบุ นั โดยใช้ขอ้ มลู เชิงคตชิ น โดยเฉพาะกลุม่ เร่ืองเล่าเชงิ คติชนมาท้าใหเ้ กิดขน้ึ จริง ทา้ ใหต้ ัวละครเอกค้นพบเมืองทส่ี ญู หาย ได้ค้นพบอดีตชาตขิ องตนและพบตัวละครจากในเรือ่ งเล่าเชิง คติชน เหตุผลส้าคัญเพื่อยืนยนั ความรุ่งเรอื งในอดตี ว่าเป็นเรื่องจริง ท้าใหต้ ัวละครในปจั จุบนั ตระหนัก ถึงรากเหง้าทางวัฒนธรรมที่น่าภาคภูมิใจ ในนวนิยายบางเรื่องยังได้น้าเอามรดกทางวัฒนธรรมทย่ี ัง หลงเหลืออยู่ในปจั จุบันมาน้าเสนอเพ่ือบ่งบอกว่า การได้เรยี นรู้รากของอดีตจะท้าให้เราได้หันกลับมา ชว่ ยอนุรกั ษ์วฒั นธรรมโบราณท่ียังคงอยใู่ นปัจจบุ ัน เห็นได้ชดั วา่ นวนยิ ายของพงศกรหยบิ ยกเนอื้ หาใน มิติการบ่งบอกความเป็นมาและการอยรู่ ่วมกบั ธรรมชาติอย่างกลมกลืนในข้อมูลเชงิ คตชิ นมาเป็นส่วน หลกั ต่อการน้าเสนอแนวคิดนี้ จากผลการวิเคราะห์ในบทที่ 4 แม้ผู้วิจัยจะแยกอภิปรายแนวคิดเป็นสามประเด็น หากแต่ นวนยิ ายแต่ละเรือ่ งต่างเสนอแนวคิดดังกลา่ วออกมาพร้อมกัน โดยแนวคดิ ก็ไม่ได้แยกขาดออกจากกัน เสียทีเดียว และน่าสังเกตว่า ไม่ว่าจะเปน็ แนวคิดทางธรรมหรือแนวคิดทางสงั คมก็ตาม นวนิยายของ พงศกรล้วนน้าเสนอแนวคิดไปสู่แก่นแกนเดียวกัน คือ “การแสวงหาความสุขส่วนตนอันจะน้าไปสู่ ความสงบสขุ ในสังคมสว่ นรวมท่ีกา้ ลงั เปลี่ยนแปลง” โดยพงศกรใช้กรอบความคิดทางพทุ ธศาสนามา เป็นฐาน ดงั ท่แี นวคิดทางพทุ ธศาสนาในนวนยิ ายมุ่งเน้นหลกั ธรรมเพ่ือการอยู่ร่วมกันในสังคมมากกว่า หลกั ธรรมเพ่อื การหลดุ พ้น ขณะเดียวกันแนวคดิ ทัง้ การยอมรับภูมปิ ัญญาหรอื การแกไ้ ขปญั หาในสังคม ปัจจบุ นั นวนิยายของพงศกรได้เสนอขอ้ เสนอแนะทีต่ ้ังอยูบ่ นความคดิ ทางพุทธศาสนา เห็นไดจ้ ากการ ยอมรับความแตกตา่ งหลากหลายจะเกิดขนึ้ ไดเ้ พราะการลดอตั ตา เช่น การลดอตั ตาของมนุษย์ที่มุ่งจะ เอาชนะธรรมชาติ มุ่งช้ีให้เห็นขีดจ้ากดั ของวิทยาศาสตร์ แสดงความเทา่ เทียมทางภูมิปัญญาของคน ชาติพันธุ์ต่างๆ ฯลฯ ตลอดจนเน้นการอยู่กับปัจจุบันอย่างรู้เท่าทัน ไม่ยึดติดกับอดีต ไม่หวาดกลัว
215 การเปล่ยี นแปลงทจี่ ะเกิดข้ึนในอนาคต แนวคิดน้ีมาจากความคิดท่ีมองสงิ่ ตา่ งๆเป็น “วัฏจักร” ดังท่ี นวนยิ ายของพงศกรเสนอให้มองโลกอย่างเปน็ กลาง เน้นการประนปี ระนอมมากกวา่ การปะทะ การอยู่ ร่วมกันอย่างสงบสุขไดจ้ ึงตอ้ งยอ้ นกลบั มาเรม่ิ จากความคิดและการกระท้าในระดบั ปัจเจกก่อน ผลการศึกษาในบทนี้แสดงใหเ้ หน็ สัมพนั ธภาพขององค์ประกอบตา่ งๆ ทั้งโครงเรื่อง ตัวละคร และฉากได้โน้มนา้ ผอู้ า่ นไปสู่แนวคิดของนวนิยายอยา่ งมีเอกภาพ นวนยิ ายของพงศกรทีม่ คี วามลึกลับ เหนือธรรมชาติจึงมิได้มงุ่ เน้นความเพลิดเพลินทางอารมณ์เพียงอย่างเดียว แต่ยังมุ่งเน้นการจรรโลง ความคิดของผู้อ่านบนฐานคิดจากพุทธศาสนาให้กลับมาทบทวนตนเองเพ่ือมีชีวิตท่ีสุขกายสุขใจ เสนอแนะการอย่รู ว่ มกันในสงั คมท่มี ีการเปลีย่ นแปลงได้อย่างรเู้ ท่าทนั ตลอดจนเสนอการร่วมมือร่วม ใจกันระหว่างคนต่างกลุ่ม คนที่มีอุดมการณ์ต่างกัน หรือระหว่างคนเมืองกับคนชนบทเพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุด โดยนวนิยายใช้ข้อมูลเชิงคติชนเน้นย้ากิเลสกับกรรม และเป็นสื่อกลางท่ีน้ามาใช้ ถ่ายทอดแนวคิดการเชิดชูวัฒนธรรมท่ีแตกต่าง โดยเฉพาะวัฒนธรรมพ้ืนบา้ น การแสดงสภาพสงั คม ร่วมสมัยที่องค์ความรู้แบบเดียวอาจไม่เพียงพอ การสะท้อนปัญหาในสังคมร่วมสมัยทั้งปัญหาจาก ธรรมชาติและการโหยหารากจากอดีต โดยนัยน้ี ข้อมูลเชิงคติชนถือว่ามีบทบาทอันสัมพันธ์ต่อการ นา้ เสนอแนวคดิ ทง้ั หมดออกมาอย่างเด่นชดั
บทท่ี 5 บทสรปุ 5.1 สรุปผลการวจิ ยั วิทยานิพนธ์ฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรและ วิเคราะหก์ ลวิธีการน้าข้อมูลเชงิ คติชนมาประกอบสรา้ งเป็นนวนิยาย โดยกา้ หนดขอบเขตการศึกษาจา กนวนิยายของพงศกร 8 เรอ่ื ง ได้แก่ เบื้องบรรพ์ สร้อยแสงจันทร์ ฤดูดาว วังพญาพราย กุหลาบ รัตติกาล คชาปุระ นครไอยราและเคหาสน์นางคอย และต้ังสมมติฐานเบอื้ งต้นไว้ว่า นวนิยายของ พงศกรท่ีเลือกมาศึกษาใช้ข้อมูลเชิงคติชนหลายประเภท ท้ังท่ีเป็นความเชอ่ื พนื้ บ้าน เร่ืองเล่าพ้ืนบ้าน และขนบธรรมเนียมพ้ืนบ้าน ข้อมลู เชิงคติชนเหลา่ นี้เป็นองคป์ ระกอบส้าคญั ทพ่ี งศกรใช้ประกอบสร้าง โครงเร่ือง ตัวละครและฉากให้มีมิติของความลึกลับ เช่น มีการปรากฏของวิญญาณและตัวละคร อมนุษย์ลกั ษณะตา่ งๆ มีการกา้ วขา้ มระหวา่ งมิติความเป็นปัจจุบนั ในนวนิยายและมติ ิความเป็นอดีตใน เร่ืองเล่าพ้ืนบา้ น มีการสรา้ งฉากในจนิ ตนาการโดยอาศัยความเชื่อและเรอื่ งเลา่ พืน้ บ้าน เป็นต้น การ ประกอบสร้างในลักษณะดังกลา่ วนีน้ อกจากจะเพ่ิมความนา่ สนใจในการด้าเนินเรือ่ งแลว้ ยังเป็นกลวธิ ี ท่ีพงศกรใช้เพ่ือน้าเสนอแนวคิดเก่ียวกับคติทางพุทธศาสนา คุณค่าของวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน และการ สะทอ้ นสภาพสังคมปัจจบุ นั จากการวิจยั ผูว้ จิ ัยได้ขอ้ สรุป ดังน้ี 5.1.1 ผลการศึกษาข้อมลู เชิงคติชนในนวนิยายของพงศกร ในบทที่ 2 ของวิทยานิพนธ์ ผู้วิจัยได้สืบค้น รวบรวมและเรียบเรียงข้อมูลที่พงศกรน้ามา ประกอบสร้างเป็นข้อมูลเชิงคติชน วิเคราะห์กับสังเคราะห์ลกั ษณะของข้อมูลเหล่าน้ัน ผลการศึกษา พบลักษณะส้าคัญของข้อมูลเชิงคตชิ นในนวนิยายพงศกร คือ ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกร ประกอบสร้างจากข้อมูลหลายประเภท ได้แก่ ข้อมูลคติชนที่เป็นเร่ืองเล่าพื้นบ้าน ความเช่ือและ ขนบธรรมเนียมพ้ีนบ้าน ซึ่งมีทั้ง “คติจากหลายชน” หลายกลุ่มชาติพันธ์ุทั้งกูย เย้า ไทใหญ่ และ “คติชนจากหลายชาติ” ทั้งของไทยและต่างชาติผสมกนั นอกจากนี้ พงศกรยังใช้ข้อมลู จากวรรณคดี และวรรณกรรมไทย ประวัติศาสตร์และข้อมูลเบ็ดเตล็ดอื่นๆเข้ามาผสมด้วย ข้อมูลเชิงคติชนใน นวนิยายของพงศกรจึงไม่ได้มาจากข้อมูลคติชนเพียงแหล่งเดียว แต่เกิดจากการผสมผสานระหว่าง ขอ้ มูลหลายชุดเขา้ ด้วยกนั โดยพงศกรมักนา้ ข้อมลู เดิมเปน็ ฐานแล้วต่อยอดพรอ้ มกับสร้างความเป็นไป ได้ให้แก่ข้อมูลท่ีสร้างขึ้น ท้าให้ข้อมูลเชิงคติชนท่ีสร้างข้ึนดูสมจริง จากลักษณะนี้จึงกล่าวได้ว่า แม้ พงศกรจินตนาการข้อมูลเชิงคติชนข้ึนเป็นส่วนใหญ่ แต่ข้อมูลเชิงคติชไม่ได้เกิดข้ึนจากความว่างเปล่า หากมาจากการต่อยอดขอ้ มูลเดมิ ข้อมลู ทไ่ี ด้จงึ มีความคลา้ ยคลงึ กบั ขอ้ มลู คตชิ นทไ่ี หลวนอยู่ในสังคม
217 พงศกรน้าเสนอขอ้ มลู เชงิ คตชิ นเปน็ เร่ืองเลา่ เชงิ คติชนที่แทรกอยู่ในนวนยิ าย เนื้อหาของเร่ือง เล่าเชิงคติชนสามารถแบ่งได้สามกลุ่ม ได้แก่ เรื่องเล่าท่ีอธิบายความเป็นมาของสถานท่ี เรื่องเล่าที่ สมั พันธ์กบั ต้านานและความเชื่อและเร่อื งเล่าภายในครอบครัวตัวละครเอก เรือ่ งเลา่ เชิงคตชิ นท้ังสาม กล่มุ ลว้ นมีจุดร่วมกนั คือ การใหค้ ้าตอบถงึ “ความเป็นมาของผู้คนและสงั คม” แสดง “การลงโทษจาก การกระท้าผิดของมนุษย์” ทั้งการลงโทษระหว่างมนุษย์ด้วยกันที่สร้างความทุกข์กับความพยาบาท และการลงโทษของพระเจ้าเมอ่ื มนุษยก์ ระทา้ ผิด สร้างการรอคอยและความหวังเพื่อการแก้ไข อีกทัง้ เร่ืองเล่าเชิงคติชนยงั ชี้ใหเ้ ห็นบทเรียนถึง “การอยู่ร่วมกันกบั ธรรมชาติอย่างกลมกลืน” ไปพร้อมกัน กล่าวได้ว่า ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรน้าเสนอบทบาทของข้อมลู เชิงคติชนท่ีให้บง่ บอก ความเป็นมาของคนและเสนอแนะถงึ การอยรู่ ่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ผลการศึกษาสว่ นน้ีนับว่าสอดคล้องกับสมมติฐานว่าข้อมลู เชิงคติชนในนวนิยายของพงศกร ประกอบสรา้ งจากเร่ืองเล่าพนื้ บ้าน ความเช่อื และขนบธรรมเนยี มพืน้ บา้ น และยงั ไดข้ ้อค้นพบเพมิ่ เติม ด้วยว่า พงศกรใช้มาจากข้อมูลอ่ืนๆ อีกหลายประเภทมาผสมผสาน ผลการวิจัยได้ช้ีให้เห็น กระบวนการประกอบสรา้ งขอ้ มูลเชงิ คติชน การคน้ พบน้ที า้ ใหส้ ามารถอธบิ ายทัง้ สาเหตุทีท่ ้าให้ข้อมูล เชิงคตชิ นทงั้ นา่ เช่ือและชวนสบั สนในเวลาเดยี วกนั โดยการจา้ แนกประเภทของข้อมลู อยา่ งละเอียดได้ ช่วยอธิบายว่าข้อมูลสว่ นใดมาจากข้อมูลเดมิ และส่วนใดมาจากจินตนาการของผแู้ ต่ง และการค้นพบ เน้ือหาของข้อมูลเชิงคติชนว่ามีจุดร่วมกันอย่างน่าสนใจดังกล่าวก็จะเป็นส่วนสา้ คัญในการวิเคราะห์ กลวธิ ีประกอบสร้างต่อไป 5.1.2 ผลการวเิ คราะห์การนาข้อมลู เชงิ คติชนมาประกอบสร้างเปน็ นวนิยาย ในสว่ นน้ีผวู้ จิ ัยไดอ้ ธบิ ายแยกเป็นสองส่วน คอื ในบทที่ 3 วิเคราะห์การนา้ ข้อมูลเชงิ คติชนมา ประกอบสร้างในนวนิยาย และในบทท่ี 4 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการน้าข้อมูลเชิงคติชนมา ประกอบสรา้ งกับการนา้ เสนอแนวคิดหลกั ในนวนยิ ายของพงศกร ผลการศกึ ษาพบว่า แม้นวนยิ ายของ พงศกรจะเปน็ นวนยิ ายลึกลับเหนอื ธรรมชาติท่ผี นวกขนบนวนยิ ายรกั พาฝัน หากโครงเร่ืองหลกั กลบั ให้ น้าหนักไปท่ีการเดินทางเพ่ือการค้นหาค้าตอบของตัวละครเอก มีเหตุการณ์ส้าคัญคือ การเปิดเร่อื ง ด้วยการเดินทางของตัวละครให้เดินทางไปในที่ไม่คุ้นเคย จากนั้นพวกเขาต้องเผชิญกับเหตุการณ์ ลึกลบั เหนือธรรมชาตจิ นน้าไปสู่การค้นหาและการค้นพบ เร่อื งได้พฒั นาไปสจู่ ดุ สูงสุดของความขัดแยง้ ให้ตัวละครแก้ไข ความขัดแย้งคล่คี ลายลงเมื่อตัวละครได้พบค้าตอบท่ีตามหา ในนวนิยายแตล่ ะเรอ่ื ง พงศกรนา้ อนุภาคการลงโทษจากเรอื่ งเลา่ เชิงคติชนมาใช้สร้างโครงเรอ่ื ง โดยนา้ การลงโทษในเร่อื งเล่า เชิงคติชนมาสร้างเป็นสาเหตุของความขัดแย้งในโครงเร่ือง อีกส่วนหน่ึงเป็นการเกริ่นการณ์ความ ขัดแยง้ ในโครงเร่ือง การลงโทษจากเร่อื งเล่าเชงิ คตชิ นดังกล่าวปรากฏชัดเม่อื เรือ่ งพัฒนามาถงึ จดุ สงู สดุ ของความขัดแย้ง เพราะเหตุการณก์ ารลงโทษที่ปรากฏในเรื่องเลา่ เชิงคตชิ นมกั วนกลบั มาเกิดซา้ เพอื่
218 ฉายภาพความขัดแยง้ ในอดตี อยา่ งเปน็ รูปธรรมเพือ่ นา้ ไปสู่การเรยี นร้ขู องตัวละคร การเรยี นรูส้ ้าคญั คอื การเลือกยุติเรื่องราวความขัดแย้งในอดตี โดยการยกโทษแทนทีจ่ ะลงโทษซา้ เร่ืองราวจึงจบลงอยา่ ง สงบสุข ท้ังนี้ การค้นพบท่ีส้าคัญคือ การรู้จักตนเองมากข้ึน เพราะเม่ือตัวละครผ่านการเรยี นรู้ต่างๆ พวกเขาจะเข้าใจว่าเหตุใดพวกเขาต้องเดินทางเข้ามาในพ้ืนที่น้ัน พรอ้ มกนั น้ี นวนยิ ายของพงศกรยังมี ล้าดับโครงเรอ่ื งแบบระทึกใจและโครงเรือ่ งผจญภัยท่ีเร้าความน่าติดตาม โดยในช่วงการปล่อยเรื่อง ออกมา พงศกรน้าเอาข้อมลู เชิงคติชนมาใช้เพื่อเป็นชิ้นส่วนต่อการค้นหาของตัวละครเอกจนน้าไปสู่ การค้นพบในทส่ี ดุ ด้านการประกอบสร้างตัวละครนบั ว่าสัมพนั ธก์ ับโครงเร่ืองการเดนิ ทางอย่างแนบแน่น โดยตวั ละครอาจแบ่งเป็นตัวละครท่ีเดินทางเข้าไป ตัวละครกลุ่มนี้เสมือนนักเดินทางต้องเข้าไปหาค้าตอบ โดยมีทั้งกลุ่มที่เป็นตัวละครเอกและตัวละครปฏิปักษ์ ตัวละครกลุ่มน้ีต่างมีสถานะทางสงั คมสูง การ ออกจากสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคยมาพบกับกลมุ่ คนใหม่ท่ีตนแทบไม่รูจ้ ักก็เพ่อื โน้มน้าใหต้ ัวละครเอก เรียนรู้ ส่วนตัวละครปฏปิ ักษ์ต้องการตกั ตวงผลประโยชน์เกินตัว โดยเรอื่ งเล่าเชิงคตชิ นมกั สัมพันธ์กับ ตวั ละครเอก เพราะพวกเขากลับชาตมิ าเกดิ จากเร่ืองเลา่ เชิงคตชิ น การเดนิ ทางของตัวละครเอกจึงเปน็ การเดินทางหาตัวตนในอดตี ชาติ ขณะเดยี วกนั เหตกุ ารณ์ประหลาดท่พี วกเขาเผชิญสามารถอธบิ ายได้ จากเรอื่ งเล่าเชิงคติชน เพราะในอดตี พวกเขาเคยเปน็ ผูผ้ ูกปมขัดแย้ง พวกเขาจงึ ต้องรบั ผลกระทบทตี่ น ก่อไว้ในภพชาติปัจจุบัน การเดินทางยังท้าใหต้ ัวละครจากภายนอกมีปฏิสมั พันธ์กับตัวละครในพื้นท่ี ตัวละครในพ้ืนที่มีลักษณะหลากหลาย แต่ทุกตัวล้วนโน้มน้าตัวละครผเู้ ดินทางไปสู่ค้าตอบท่พี วกเขา ตามหา เช่น ตัวละครผู้น้าทางเปน็ ผชู้ ่วยเหลือ เช่ือมโยง กุมความลับและเผยความจรงิ ออกมาให้ตวั ละครเอกได้ค้นพบ เป็นต้น ท่ีน่าสังเกตคือ ข้อมูลเชิงคติชนมบี ทบาทตอ่ การสร้างตัวละครที่อาศัยใน พ้ืนท่ีให้มีลักษณะลึกลับเหนือธรรมชาติอย่างเด่นชัด ดังท่ีตัวละครจากเรื่องเล่าเชิงคติชน ความเช่ือ และขนบธรรมเนียมพื้นบา้ นได้ปรากฏตัวในโลกปัจจบุ นั ในรูปแบบอมนุษย์ วิญญาณ ฯลฯ พงศกรยงั เอาความเชื่อและขนบธรรมเนียมมาสร้างเป็นตัวละครผู้น้าทางจิตวิญญาณอย่างหมอผขี องกลุ่มชาติ พันธ์ุ ตัวละครลึกลบั เหนือธรรมชาตเิ หล่านี้นับเป็นองค์ประกอบเด่นที่ท้าใหต้ ัวละครทเ่ี ดินทางเข้ามา เกดิ ความฉงนสงสัยจนนา้ ไปสู่คา้ ตอบในตอนจบ การเดินทางย่อมสัมพันธ์กับการเปล่ียนสถานที่และเวลา การประกอบสร้างฉากจึงเป็นอีก องคป์ ระกอบหนึ่งทสี่ ้าคญั ฉากสถานที่มบี ทบาทส้าคญั ใหต้ ัวละครเอกเดนิ ทางเข้าไปในพื้นท่ีท่ีห่างไกล จากความรับรู้ ฉากสถานที่ส่วนใหญ่เป็นฉากสมมติ แต่อิงพิกัดทางภูมิศาสตร์และอิงข้อเท็จจริงจาก สถานที่จรงิ ฉากลกั ษณะเชน่ นีท้ า้ ให้เหตกุ ารณเ์ หลอื เช่ือทเี่ กดิ ขึ้นดูน่าเชอื่ ไม่ขดั กับความรู้สึกของผ้อู ่าน และไม่ขดั กบั ความเปน็ จริง ฉากสถานที่มีบทบาทเป็นพ้นื ท่ีให้ตวั ละครเอกเรยี นรู้ โดยพงศกรสร้างฉาก สถานท่ีให้สัมพนั ธอ์ ยา่ งแนบแน่นกับเร่อื งเล่าเชิงคติชน ดงั ทพ่ี งศกรน้าเรื่องเลา่ เชิงคตชิ นท่ีอธบิ ายความ เป็นมาของสถานท่ีและเร่ืองเล่าภายในครอบครัวสร้างฉากในเรื่องให้มีความพิเศษ ที่ส้าคัญ ฉาก
219 สถานที่ในนวนิยายเปน็ สถานที่หลกั ในเรอื่ งเล่าเชิงคติชน โดยเปน็ ฉากทต่ี วั ละครเอกเดนิ ทางมาพบกับ เหตุการณ์กับตัวละครท่ีตนเคยผูกกรรมกันในอดีต สถานทจ่ี ึงเปน็ ท้ังพื้นท่ีผกู และคลายความขัดแยง้ ของเร่ืองและการคลายความขัดแย้งน้าไปสูก่ ารพบคา้ ตอบของตวั ละครเอกในเวลาต่อมา ขณะที่เรอ่ื ง เล่าเก่ียวกับต้านานน้าท่วมโลกมีบทบาทต่อการสร้างฉากเมืองสมมติเพ่ือรับมือกับภัยโลกร้อนใน ปัจจุบัน และการเดินทางไปยังเมืองคชาปุระเปรียบเสมือนการเดินทางหาอดุ มคติของการอยู่รว่ มกนั กับธรรมชาติอย่างกลมกลืน ส่วนฉากเวลาเป็นส่วนส้าคัญอีกประการหน่ึง เพราะฉากเวลาเป็น สัญลักษณ์ต่อการกระท้าหรือเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขึ้นในเรอ่ื ง โดยพงศกรไดห้ ยบิ ใช้ฉากเวลากลางคืนและ เน้นความส้าคัญของแสงสว่างมาให้ความหมายของเวลาท่ีเกดิ เร่ืองราวให้มีความพิเศษ เช่น การให้ ความหมายกับแสงจันทร์ หรือการเกิดขึ้นของปรากฏการณ์ฤดูดาว ฯลฯ และท่ีส้าคัญ ฉากเวลาท่ีมี ความพิเศษเหลา่ น้ีเป็นจุดเช่ือมต่อให้โลกปัจจุบนั ได้เข้ามาบรรจบกับโลกในเรื่องเล่าเชิงคตชิ น ตัวละคร เอกในโลกปัจจุบันได้ก้าวข้ามไปในพื้นท่ีสมมติจากเร่ืองเล่าเชิงคติชน หรือตัวละครในเรื่องเล่าเชิง คติชนได้มาปรากฏตัวร่วมกับตัวละครในโลกปัจจบุ ัน เหตุน้ีเองฉากเวลาจงึ มีส่วนเช่ือมต่อระหว่างตวั ละคร ฉากและเหตกุ ารณ์ในโลกปัจจบุ ันกบั โลกในเร่อื งเลา่ เชิงคตชิ น อนึ่ง จากการศึกษายังพบอีกว่า นวนิยายของพงศกรมิได้เพียงหยิบเอาข้อมูลเชิงคติชนมา ประกอบสรา้ งเปน็ สว่ นประกอบต่างๆในนวนยิ ายเพยี งเทา่ นั้น เพราะในระดบั โครงสรา้ งของเรอ่ื ง การ เดินทางของตัวละครเอกในนวนิยายของพงศกรยังสอดคลอ้ งกับแบบแผนการเดินทางของวีรบุรุษใน โครงสร้างเร่อื งเล่าปรัมปรา ความสอดคล้องดังกล่าวสะท้อนให้เหน็ ว่า ไม่เพียงแต่ข้อมูลเชิงคติชนจะ เป็นองคป์ ระกอบหลักในนวนิยาย หากนวนิยายของพงศกรยงั สะทอ้ นให้เห็นการใช้โครงสรา้ งเรือ่ งเล่า จากคติชน โดยนัยนี้นับว่า “คติชนในนวนิยายของพงศกร” มีทั้งนัยยะท้ังการน้า “ข้อมูลเชิงคตชิ น” มาใช้และสะท้อนนยั ยะความสมั พนั ธร์ ะหว่าง “คตชิ น” กับนวนยิ ายท่ีลึกซึ้งไปอีกระดบั หนง่ึ การน้าข้อมูลเชงิ คติชนมาประกอบสรา้ งสมั พันธ์กบั แนวคิดหลกั ในนวนิยายของพงศกรอยา่ ง เด่นชดั ดังที่ในบทที่ 4 ของวิทยานพิ นธ์ได้วเิ คราะห์ประเดน็ ดังกลา่ วแลว้ พบวา่ นวนิยายของพงศกรท่ี เลือกศึกษามุ่งน้าเสนอแนวคิดใหญส่ องด้าน คือ แนวคิดทางธรรมและแนวคิดทางโลก โดยแนวคิด ทางธรรมเปน็ แนวคิดที่สมั พนั ธ์กบั คา้ สอนทางพทุ ธศาสนา ได้แก่ แนวคิดเรื่องกิเลสเปน็ เหตุแหง่ ทุกข์ เพื่อเสนอให้ละวางจากความโลภอันน้าภัยมาสู่ตน ละวางความโกรธและความหลงเพ่ือให้สามารถ ปล่อยวางอดีตได้ อกี ส่วนหนึ่งกเ็ สนอแนวคิดว่ากรรมกา้ หนดความเปน็ ไปของสรรพสิง่ และมผี ลผูกพัน กันไปอยา่ งไม่สิ้นสดุ จุดประสงคเ์ พอ่ื ใหม้ องเหน็ ทางออกของความขดั แยง้ ท่ียืดเยอื้ ด้วยการอโหสิกรรม แนวคิดเกี่ยวกบั คา้ สอนทางพทุ ธศาสนาท้ังสองนบั ว่าสมั พันธ์กับการคิดดีและท้าดใี นระดบั ปจั เจก สอน ให้รู้เท่าทันความทุกข์ท่ีเกิดจากกเิ ลสและยอมรับเรอ่ื งกรรมเพื่อใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั ในสังคมได้อยา่ งสงบสุข โดยพงศกรใช้ข้อมูลเชิงคติชนมาน้าเสนอแนวคิดข้างต้น ผ่านการน้าข้อมูลเชิงคติชนมาสร้างเปน็ ตัว ละครและฉากให้เป็นสัญลักษณ์ของกิเลส เพื่อบ่งบอกให้ผู้อ่านหลีกเลี่ยงพฤติกรรมดังกล่าว และ
220 พงศกรนา้ เอาอนุภาคการลงโทษในเรอ่ื งเล่าเชิงคตชิ นมาเนน้ ยา้ เพื่อสอนใจใหต้ ระหนกั ถึงผลกรรม รจู้ กั ปล่อยวาง โดยในตอนจบตวั ละครเอกเลือกท่จี ะเปลี่ยนการลงโทษซง่ึ คือการท้าบาปกรรมมาสู่การยก โทษคอื การให้อภยั และอโหสกิ รรม ด้านแนวคิดทางโลกจ้าแนกเป็นสองประเด็นคือ แนวคิดเกี่ยวกับการแสดงคุณค่าวัฒนธรรม พื้นบ้าน กับแนวคิดการสะท้อนสภาพสังคมปัจจุบัน แนวคิดแรก นวนิยายของพงศกรน้าเสนอให้ ผอู้ ่านเปิดรับความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมองเหน็ คุณคา่ ของคนแตล่ ะกลุ่มอย่างเสมอกัน โดย พงศกรน้าเอาข้อมูลเชิงคติชนมาน้าเสนอเป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านท่ีใช้ธ้ารงสังคม และแสดงนัยยะว่า แท้จริงแล้วแต่ละวัฒนธรรมไม่ด้อยไปกว่าวัฒนธรรมอน่ื เพอื่ น้ามาสู่การมองภูมิปญั ญาของแตล่ ะกลุม่ ชนอย่างเท่าเทียม พร้อมกันนี้ นวนิยายของพงศกรยังเสนอว่าในสังคมที่เปลี่ยนแปลง องค์ความรู้ เพียงแต่วิทยาศาสตร์ยังมีขีดจ้ากัดไม่อาจอธิบายทุกอย่างในโลกได้อย่างสมบูรณ์ เหตุน้ีเราจึงควร เปดิ รบั ความเปน็ ไปไดร้ ปู แบบอน่ื โดยพงศกรน้าเอาเหตกุ ารณล์ ึกลบั เหนอื ธรรมชาติข้นึ มาปรากฏ เพือ่ ช้ีใหเ้ ห็นขดี จา้ กัดของวทิ ยาศาสตรแ์ ล้วใช้องค์ความรู้จากข้อมลู เชิงคติชนมาแกไ้ ขปญั หาแทน การสร้าง เร่ืองเช่นน้ีกเ็ พื่อช้ีช่องโหว่ขององค์ความรู้เพียงชุดเดียว และน้ามาสู่ข้อเสนอให้รูจ้ ักนา้ เอาองค์ความรู้ ท้ังวิทยาศาสตร์และภมู ิปญั ญาชาวบา้ นมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ส่วนอีกแนวคดิ หนึ่ง นวนยิ ายของพงศกรสะทอ้ นปัญหาที่เกิดข้ึนในช่วงเวลาที่แต่งนวนิยายไว้ สองประเด็น ประเดน็ แรก ไดแ้ ก่ ปญั หาภัยธรรมชาติท่มี นุษยก์ ระทา้ ตอ่ ธรรมชาติ พร้อมกับเสนอแนะ การอยู่ร่วมกบั ธรรมชาติอยา่ งกลมกลนื โดยพงศกรยกความเชื่อและเรอื่ งเล่าในชมุ ชนท่ีมีสารเก่ียวกับ การอยู่ร่วมกบั ธรรมชาติมาเป็นแบบอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการรับมอื ภัยธรรมชาติ ส่วนปัญหาจาก กระแสโลกาภิวัตน์กบั การโหยหาอดตี พงศกรยกวัฒนธรรมโบราณมาแสดงความรงุ่ เรอื งในอดีตเพอ่ื สะทอ้ นใหค้ นในยุคโลกาภวิ ตั น์รสู้ กึ ภมู ิใจและดา้ เนินชวี ติ อย่างภาคภูมิ โดยไม่ยดึ ตดิ กับการคน้ หาอดีต ทจี่ บไปแลว้ แตห่ ันมาดแู ลมรดกทางวฒั นธรรมท่ีหลงเหลอื อยูใ่ นปัจจบุ ัน พงศกรไดใ้ ชข้ ้อมลู เชงิ คติชน โดยเฉพาะกลุ่มเรอื่ งเล่าเชิงคติชนมาสรา้ งเรื่องให้เกิดข้ึนจริง ท้าให้ตัวละครเอกค้นพบเมืองท่ีสูญหาย ได้ค้นพบอดีตชาติของตนและพบตัวละครจากในเรื่องเลา่ เชิงคติชน วัตถุประสงค์ส้าคัญเพ่ือให้ผู้อา่ น ตระหนักถงึ รากเหง้าทางวัฒนธรรมท่ีน่าภาคภมู ใิ จและหนั กลบั มาชว่ ยอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมโบราณที่ยังคง อยู่ในปัจจุบันและน่าสังเกตด้วยว่า วัฒนธรรมโบราณที่พงศกรน้าเสนอมิใช่เพียงวัฒนธรรมไทยใน กระแสหลัก แต่เน้นการแสดงถึงการเปดิ รับความหลากหลายทางวัฒนธรรมเพื่อให้เห็นรากร่วมทาง วัฒนธรรมมากกว่าการเน้นย้าถึงความเป็นไทยอันแสดงให้เห็นว่าความเป็นไทยได้ขยายขอบเขต มากกวา่ อดตี จากผลการวจิ ัยทง้ั หมดย่อมกล่าวไดว้ ่า นวนิยายของพงศกรมิใช่นวนิยายแนวลกึ ลับทีน่ า้ เสนอ เพียงความต่ืนเต้น เร้าใจและชวนตดิ ตามเทา่ นั้น หากความลกึ ลบั เหนือจริงเหล่านี้ได้บรรจุความเปน็ จริงของสังคมร่วมสมัยไว้ องค์ประกอบต่างๆ ที่พงศกรสร้างขึ้นลว้ นมสี ่วนสอดคลอ้ งส่งไปยังแนวคิด
221 ทางธรรมและแนวคิดทางโลกอย่างมีเอกภาพ โดยนัยน้ี นวนิยายพงศกรจึงมีลักษณะเด่นด้านการใช้ ความลึกลับเหนือธรรมชาติเพือ่ นา้ เสนอแนวคิด เพราะแม้การนา้ เสนอนวนยิ ายเพื่อชี้น้าแนวคิดแบบ ตรงไปตรงมาก็ย่อมทา้ ได้ แต่พงศกรกลับอาศัยความเหนือธรรมชาติ ความลึกลบั เร้าความน่าติดตาม เพอื่ เสนอความเป็นจริงออกมาแทน กลวธิ ีเชน่ นไี้ ด้น้าผู้อา่ นไปส่คู วามเพลดิ เพลนิ ทางอารมณ์ไปพร้อม กับฉุกคิดถึงการใช้ชีวิตและมองเห็นส่ิงที่เกิดข้ึนในสังคมซ่ึงซุกซ่อนอยู่เบื้องหลังความเพลิดเพลิน ลักษณะเช่นน้ียังแสดงส้านึกในพันธกิจของนักเขียนที่มีต่อการสะท้อนปัญหาและช้ีแนะทางออกให้ ผู้อ่าน คุณค่าของนวนยิ ายของพงศกรจงึ มไิ ด้มีพันธกิจเพ่อื ส้าเรงิ อารมณเ์ พียงประการเดียว แต่มีส่วน สา้ คญั ตอ่ การแสดงสา้ นึกทางสงั คมทเี่ ราด้ารงอยู่ไปพรอ้ มกัน ผลการวิเคราะห์ข้างต้นสามารถพิสูจน์สมมติฐานการวิจัยอย่างประจักษ์ชัดว่า ข้อมูลเชิง คติชนยึดโยงกับองค์ประกอบต่างๆอย่างซับซ้อนและมีมิติของความสัมพันธ์ในหลายระดับ การน้า ข้อมูลเชิงคติชนมาใช้เพือ่ ทา้ ใหน้ วนิยายเกิดความลกึ ลบั เปน็ เบื้องตน้ เช่นการท้าใหโ้ ครงเร่ืองมคี วาม ลึกลับ การปรากฏตัวของตัวละครอมนุษย์ การสร้างฉากสถานที่ที่ห่างไกล การท้าให้ฉากเวลามี บทบาทเช่อื มต่อระหวา่ งโลกปัจจบุ นั กบั โลกในเร่อื งเล่าเชิงคติชน ฯลฯ แต่ผลการศกึ ษายังพบวา่ ความ ลกึ ลบั ท่มี าจากข้อมลู เชงิ คตชิ นทา้ ใหน้ วนิยายของพงศกรมี “เรอื่ งราว” เพราะท้าให้ผ้อู า่ นรู้ “สาเหตุ” ว่าเหตกุ ารณ์ความขัดแย้งที่ตวั ละครพบเจอมาจากอะไร เหตุใดตวั ละครลกึ ลับตา่ งๆ จงึ ต้องมาปรากฏ ตัว สถานที่ท่ีตัวละครมาปฏิบตั ิภารกจิ มีท่ีมาอย่างไร และมองเห็น“แนวทาง” ในการแก้ไขปัญหาให้ ตรงจดุ กลา่ วไดว้ ่า การนา้ ข้อมูลเชงิ คติชนมาใชป้ ระกอบสรา้ งนวนยิ ายมสี ว่ นส้าคญั ต่อการสร้างความ ลกึ ลบั ต่อนวนยิ ายและเป็นความลกึ ลับซ่ึงมี “ที่มา” และมี “ทไี่ ป” ต่อเร่ืองน่นั เอง ผลการวิเคราะหย์ งั ชี้ใหเ้ ห็นด้วยว่า ขอ้ มูลเชงิ คตชิ นยังเปน็ องคป์ ระกอบที่พงศกรน้ามาใช้เพอื่ นา้ เสนอแนวคดิ เกยี่ วกับคติ ทางพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะเรอ่ื งกิเลสและกรรม นา้ เสนอคุณค่าของวัฒนธรรมพนื้ บา้ นและวัฒนธรรม อื่นๆว่าไม่ด้อยกว่าวัฒนธรรมอื่น สะท้อนการเปิดรับความหลากหลายและการผสมผสานองค์ความรู้ ต่างๆเขา้ ดว้ ยกัน ตลอดจนสะทอ้ นสภาพสงั คมปัจจุบนั ที่มีการเปลยี่ นแปลงไป โดยเน้นใหเ้ ปดิ รบั และ รบั มือกบั ความเปล่ียนแปลงท่ีคนในปัจจุบนั กา้ ลงั เผชิญท้งั ภัยธรรมชาติและกระแสโลกาภิวัตน์ ทั้งหมด น้ีจงึ อาจสรุปได้วา่ ขอ้ มลู เชงิ คตชิ นเปน็ จุดเดน่ ในนวนิยายของพงศกรและเปรียบเหมือนกลไกกลางใน การขับเคลอื่ นเรื่องราวพร้อมกับยึดโยงองค์ประกอบต่างๆให้สัมพันธ์เข้าหากนั และส่งผลต่อเอกภาพ ของเร่ืองอย่างย่ิง หากตัดข้อมูลเชิงคติชนออกจากนวนิยายเสียแล้ว สัมพันธภาพท่ีปรากฏใน องค์ประกอบตา่ งๆยอ่ มสูญเสยี ไป เอกภาพตอ่ การน้าเสนอความคดิ ออกมาย่อมวน่ิ แหวง่ ไปเป็นแน่
222 5.2 อภปิ รายผลการวจิ ัย ผู้วิจัยได้ประมวลข้อค้นพบเพื่อตอบวัตถุประสงค์และพิสจู น์สมมติฐานไปในหัวข้อท่ีผ่านมา ส้าหรับหัวข้อน้ีผู้วิจัยจะมุ่งอภิปรายผลการวิจัยท่ีค้นพบเป็นสองประเด็น การอภิปรายนวนิยายของ พงศกรว่าการศึกษาคร้ังนี้ท้าให้เข้าใจนวนิยายของนักเขียนคนน้ีมากขึ้นเพียงใด และการอภิปราย เช่อื มโยงระหวา่ งคติชนในนวนยิ ายของพงศกรกับบริบทของสงั คมและบรบิ ทของวงวรรณกรรมไทย 5.2.1 การสรา้ งสรรคจ์ ากการสืบทอดวรรณกรรมไทยในนวนยิ ายของพงศกร ผลการวิจัยในวิทยานิพนธ์เล่มน้ีอาจช่วยให้เข้าใจนวนิยายของพงศกรมากย่ิงข้ึน เพราะ การศึกษานวนิยายของพงศกรจากตัวบท 8 เรอ่ื งในวิทยานพิ นธ์นถี้ ือเปน็ การน้านวนิยายของพงศกรซง่ึ ไม่ไดร้ บั การกลา่ วถงึ มากนกั มาวิเคราะห์อย่างละเอียด ข้อค้นพบประการหน่ึงที่เหน็ วา่ เปน็ ลกั ษณะเดน่ ของนวนยิ ายของพงศกร คือ นวนิยายของพงศกรทีเ่ ลอื กมาศึกษาแสดงให้เหน็ การสร้างสรรค์บนฐาน ของการสบื ทอดวรรณคดีและวรรณกรรมไทย การสืบทอดทพี่ บไดช้ ัด คือ การน้าข้อมูลเชิงคติชนเข้า มาปรบั ใชใ้ นนวนิยายซงึ่ พบในวรรณคดีไทยมายาวนาน การสร้างโครงเรอื่ งการเดนิ ทางของตัวละคร เอกผ่านการท้าภารกิจต่างๆ ท่ีคล้ายคลึงกับโครงสรา้ งของเร่ืองเล่าพื้นบ้านในอดีต และการน้าเสนอ แนวคิดที่มีฐานคิดจากพุทธศาสนามาใช้ พงศกรได้สืบทอดของเดิมโดยอาศัยฐานจากขนบของ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยมาตีความพร้อมกับสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ในนวนิยายท้าให้เกิดความ แปลกใหม่ไปจนกลายเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของพงศกร ลักษณะการสร้างสรรค์บนฐานของการสืบทอดประการแรก พงศกรน้าเอาคติชนท่ีเป็นมุข ปาฐะมาสรา้ งเป็นนวนิยาย ลักษณะเช่นน้ีเป็นที่ยอมรับกนั โดยทัว่ ไปอยู่แลว้ ว่าเกิดขึ้นมาช้านาน ดังท่ี ประคอง นิมมานเหมินท์ (2551, 82-82) ช้ีให้เห็นว่าเร่ืองเล่าพ้ืนบ้านเป็นบ่อเกิดของวรรณคดี ลายลักษณ์ เช่น ลิลิตพระลอ ขุนช้างขุนแผน อิเหนา ไกรทอง เป็นต้น การหยิบเอาเร่อื งเลา่ เหล่าน้ี มาแต่งวรรณคดีอาจมาทง้ั เรื่องหรือเพียงบางสว่ น และเม่ืออยู่ในรปู ลายลักษณแ์ ลว้ นอกจากจะมีความ ประณีตบรรจงในการใช้ภาษา ยังมีการแต่งเติมหรือดดั แปลงท้าให้เรื่องราวไมเ่ หมอื นเดิมเสียทีเดยี ว การน้าเอาข้อมลู คตชิ นมาบรรจลุ งในวรรณคดใี นบางบรบิ ทกไ็ ด้รบั การตคี วามให้สอดรับกับเป้าหมายที่ กวีต้องการ ดังท่ีอัญชลี ภู่ผะกา (2553, 219-255) ได้เสนอแง่มุมหนึ่งของพระราชนิพนธ์รัชกาลท่ี 6 ว่าทรงน้าเอาเร่อื งเล่าพ้ืนบา้ น โดยเฉพาะต้านาน ได้แก่ เร่ืองพระรว่ งซ่ึงเป็นนทิ านวีรบุรุษในท้องถ่นิ ภาคกลางมาดัดแปลงเป็นบทละคร รวมถึงเรื่องท้าวแสนปมท่ีน้าเอานิทานเร่ืองนี้มาใช้แต่งเป็น วรรณคดี จุดมุ่งหมายส้าคัญของการใช้ต้านานก็เพ่ือบ่งบอกความเป็นมาที่ยาวนานของชาติไทย กระตุ้นให้คนไทยในเวลานั้นภาคภูมิใจหรือกล่าวว่าคติชนมีบทบาทต่อ “การสร้างชาติ” แม้แต่ใน วรรณกรรมปัจจบุ ัน เราจะเหน็ ลักษณะการน้าคติชนมาใช้โดยท้าให้เหน็ การตีความใหม่ใหส้ อดคล้อง กับบรบิ ท ดังท่ีตรีศิลป์ บุญขจร (2524) ได้ชี้ให้เห็นถงึ การนา้ รูปแบบและเน้ือหาจากเพลงพนื้ บา้ นมาใช้
223 สร้างเป็นกวีนิพนธ์การเมืองในช่วงทศวรรษ 2510 เพื่อต่อสูก้ ับอา้ นาจรัฐบาลเผด็จการ การน้าคตชิ น มาใช้ยังน้ามาสกู่ ารนา้ เสนอวัฒนธรรมทอ้ งถ่ินตามพื้นเพของนักเขียนแต่ละคน เช่น วรรณกรรมของ มาลา ค้าจันทร์ได้น้าเอาความเช่ือและวัฒนธรรมของภาคเหนือมาน้าเสนอ ลาว ค้าหอมและรมย์ รติวัน นา้ เสนอภาพของอสี าน หรอื งานของนกั เขยี นภาคใต้กพ็ ยายามน้าเสนอลักษณะเด่นของกลุ่มคน ใต้ท่แี ตกต่างไปจากคนภาคอื่น เปน็ ตน้ กลา่ วได้ว่า การน้าคตชิ นมาใช้อาจนับเปน็ “ขนบ” อย่างหนงึ่ ที่ ปรากฏตั้งแต่อดีตกระทั่งปัจจุบัน และสามารถน้ามา “เล่น” ได้อย่างหลากหลายให้สอดรับกับ วตั ถุประสงค์ของกวีหรือนกั เขียน ในแง่น้ี นวนิยายของพงศกรได้สะทอ้ นแนวทางทวี่ รรณคดีและวรรณกรรมไทยใช้สบื มา สิ่งท่ี พงศกรสร้างสรรค์ คือ การผูกโยงเรื่องราวจากอนุภาคต่างๆจนเกดิ เป็นเร่ืองใหม่ทีแ่ ม้จะแตกต่างไป จากเดิม แต่ผู้อ่านก็ย่อมสัมผัสว่ายังมีเค้าบางอย่างจากอดีตอยู่ นอกจากนี้นวนิยายของพงศกรยัง ผูกโยงขอ้ มลู เชงิ คตชิ นเขา้ กับปรากฏการณ์ใหมๆ่ ที่เกิดขนึ้ ในปจั จบุ นั ไดแ้ ก่ วิทยาการจากองคค์ วามรู้ วิทยาศาสตร์ ภัยจากปัญหาส่ิงแวดล้อมและกระแสโลกาภิวัตน์ การสร้างสรรค์เหล่านี้ลว้ นแต่แสดง ลักษณะเฉพาะของพงศกรที่หยิบเอาสถานการณ์ปัจจุบันมาตีความเชื่อมโยงเข้ากับองค์ความรู้ เชิง คติชนและเสนอทางออกอย่างประนีประนอม ในทางกลบั กนั การสรา้ งสรรค์นวนิยายเช่นนี้ก็สะท้อน คุณคา่ ของข้อมูลเชิงคตชิ นในบริบทที่เปลีย่ นไป ส่ิงที่น่าขบคิดอีกประการหนง่ึ คือ คติชนในนวนิยายพงศกรแตกตา่ งจากคติชนในวรรณกรรม ของนักเขียนคนอื่นอย่างไร ผู้วิจัยเห็นว่า นักเขียนส่วนมากมักน้าเสนอคติชนจากท้องถิ่นของตน อย่างเช่น มาลา ค้าจันทร์ที่น้าเสนอวัฒนธรรมภาคเหนือ กลุ่มนาครที่น้าเสนอวัฒนธรรมภาคใต้ ลาว ค้าหอมน้าเสนอวัฒนธรรมภาคอีสาน เป็นต้น การน้าคติชนมาใช้ผ่านวรรณกรรมจึงเป็นไปใน ฐานะของ “คนใน” ท่ีเล่าท้องถิ่นของตนออกมา ขณะท่ีนวนิยายของพงศกรมักเล่าด้วยมุมมองของ “คนนอก” ที่น้าเสนอวัฒนธรรมออกมา ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรยังสะท้อนภาวะ “การข้ามชาติและชาตพิ นั ธุ์” ดงั ทีแ่ หลง่ ข้อมลู ของข้อมลู เชิงคติชนมาจากท้ัง “คติจากหลายชน” และ “คติชนจากหลายชาติ” ที่น่าสนใจคือ ภาวการณ์ข้ามชาติและชาติพันธ์ุได้สะท้อนรากร่วมทาง วัฒนธรรมระหวา่ งวฒั นธรรมท่ีหลากหลายในดินประเทศไทย สะท้อนความคิดที่เป็นสากลของมนุษย์ เพ่ือเตือนภยั ท่ีมนษุ ยชาตกิ า้ ลังเผชญิ นอกจากน้ี ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรยังแสดงลกั ษณะ “การข้ามพรมแดนของ องค์ความรู้” ดังจะเห็นว่าการผูกโยงขอ้ มลู เชิงคติชนใหส้ มั พันธ์กันนั้นมาจากองค์ความร้หู ลายชุด ทั้ง ขอ้ มูลคตชิ น วรรณคดี วรรณกรรม ประวตั ิศาสตร์ ต้ารา ฯลฯ พงศกรผูกโยงขอ้ มลู ที่อาจดไู มเ่ ก่ียวกัน ให้สัมพนั ธ์กัน โดยพงศกรหาแง่มุมมาเช่ือมโยงขอ้ มลู แต่ละสว่ นเข้าดว้ ยกันอย่างนา่ สนใจ ที่เป็นเชน่ น้ี อาจเปน็ ไปไดว้ า่ พงศกรมไิ ด้มองว่าแตล่ ะองคค์ วามรแู้ ยกขาดจากกันอยา่ งท่วี งวชิ าการพยายามจดั แบง่ เพราะองคค์ วามรู้ที่พงศกรน้าเสนอนัน้ ลว้ นแลว้ แต่เปน็ ไปในทิศทางเดียวกันคือ การน้าเสนอให้เห็นถึง
224 ภูมิปัญญาและรากของผู้คนท่ีส่ังสมกันมาอย่างยาวนาน การพยายามหาจุดร่วมโยงในการร้อยเรียง ข้อมูลเชิงคติชนเข้าหากนั กเ็ ทา่ กบั การพยายามหาจดุ ร่วมขององค์ความร้แู ต่ละชุดเพ่ือเสนอให้เหน็ ถงึ มรดกทางภูมปิ ญั ญาที่เป็นสากล กลา่ วไดว้ ่า การน้าเสนอขอ้ มลู เชิงคตชิ นในนวนยิ ายของพงศกรยังไม่ จ้ากัดว่าต้องมาจากท้องถ่ินใดท้องถ่ินท่ีใด ชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยเฉพาะ หรือกระทั่งมไิ ด้จ้ากัดวา่ มี เพียงข้อมลู คติชน การน้าเสนอข้อมลู เชิงคตชิ นจึงปรากฏอย่างหลากหลาย รวมถงึ รูปแบบการน้าเสนอ ของพงศกรท่ีเน้นความลกึ ลับเหนือธรรมชาติด้วยแล้วก็อาจท้าให้แตกต่างจากการน้าเสนอคติชนใน นักเขยี นอน่ื ทม่ี กั ใช้เล่าเรื่องแบบ สัจนิยม ถา่ ยทอดวฒั นธรรมและน้าเสนอวถิ ีชวี ิตของผคู้ นโดยตรงด้วย อนึ่ง ลักษณะการใช้คติชนของพงศกรอาจสอดคล้องกับการใช้วรรณกรรมพ้ืนบ้านที่ หลากหลายในนวนิยายของแก้วเก้า รวมถึงการใช้วัฒนธรรมพ้ืนบ้านในนวนิยายของจินตวีร์ วิวัธน์ มากกว่า อย่างไรก็ดี แม้จะแตกต่างในการน้าเสนอแต่นัยยะของการน้าข้อมูลเชิงคติชนมาใช้ใน นวนยิ ายของพงศกรกย็ งั เน้นย้าคุณค่าของขอ้ มลู เชงิ คติชนอยู่และปรบั มุมมองให้คนนอกไดเ้ ห็นคุณค่า และลักษณะเฉพาะของกลมุ่ คนท่พี งศกรนา้ เสนอ ประการทส่ี อง การเดินทางในนวนิยายของพงศกรแสดงความคลา้ ยคลึงกับการเดินทางของ ตัวละครเอกของเรอ่ื งเล่าพ้ืนบา้ นในอดีต โครงเร่อื งในนวนิยายเนน้ การเดนิ ทางเพ่อื การค้นพบของตัว ละครเอก การเดินทางตัวละครต้องท้าภารกิจและผจญภัยต่างๆในสถานท่ีที่แปลกใหม่ มีตัวละคร ปฏิปักษ์เข้ามาขัดขวางการท้าภารกจิ ตลอดจนพบตัวละครผู้น้าทางท่ชี ่วยเหลอื และให้ค้าแนะน้าจน ท้าภารกิจส้าเรจ็ โดยนัยน้ี โครงเรือ่ งของนวนิยายก็ยงั คงใช้ลา้ ดับข้ันในการเดินทางของตวั ละครเอก จนน้าไปสู่การท้าภารกิจสา้ เรจ็ ในตอนทา้ ย อย่างไรก็ดี แม้โครงสร้างการด้าเนนิ เรื่องในนวนิยายจะ คลา้ ยคลงึ การโครงสรา้ งในเรอื่ งเล่าพนื้ บา้ นเดมิ แต่ผ้อู า่ นย่อมไม่รู้สกึ ว่าตนก้าลังอา่ นนทิ านหรือต้านาน หรือไม่รู้สึกว่าตวั ละครเอกเปน็ วรี บุรุษที่สงู สง่ หากเปน็ มนษุ ยป์ ถุ ุชนเฉกเช่นเดยี วกบั เรา เหตทุ ี่เปน็ เชน่ นี้ เพราะโดยธรรมชาติแลว้ นวนยิ ายกับนิทานแตกต่างกนั ตรงท่ีความสมจริง นทิ านมักเปน็ สงิ่ ท่เี กดิ ขึ้นใน อดีตอันไกลโพ้นและเต็มไปด้วยเร่ืองราวอัศจรรย์ท่ีห่างไกลความจริง แต่นวนิยายเปน็ เร่ืองแต่งขน้ึ ที่ จ้าลองเอาเรอ่ื งราวของคนท่สี ามารถเกิดขึ้นและทา้ ให้เช่ือว่าเกิดขึ้นได้จริง ตลอดจนตัวละครเอกใน เรื่องกม็ ีสถานะไมต่ า่ งจากคนทัว่ ไป เหตุนน้ี วนิยายของพงศกรจึงอาจเรียกได้วา่ สะทอ้ นเค้าการเดนิ ทาง ของวีรบุรุษกจ็ ริงอยู่ แต่มีรูปแบบและธรรมชาตขิ องเนื้อหาท่ีแตกตา่ งไปจากเร่ืองเลา่ พื้นบา้ น ประการสุดท้าย นวนิยายของพงศกรได้สะท้อนแนวคิดทางพุทธศาสนาที่อยู่คู่กับการ สร้างสรรค์งานวรรณกรรมไทยมาช้านาน ดังที่ม.ล.บุญเหลอื เทพยสุวรรณ (2514, 69) ได้กล่าวไว้ว่า กวีไทยต่างมีปรัชญาชีวิตที่ยึดพระรัตนตรยั เป็นสรณะ สิ่งนี้ท้าให้วรรณคดีไทยแตกต่างจากตะวนั ตก เพราะวรรณคดีไทยไม่ตั้งค้าถามกับปัญหาเหนือโลกหรือท่ีเรียกว่า metaphysics ว่าโลกเกิดมา อย่างไร มนุษยค์ อื อะไร หากกวีไทยมองโลกว่าเปน็ เชน่ นน้ั มองมนษุ ย์วา่ ประกอบด้วยกิเลสและตัณหา มองทุกอยา่ งวา่ เป็นธรรมชาตแิ ละสงั สารวฏั หากมีอะไรรนุ แรงกโ็ ทษผี ขณะเดยี วกันยงั มหี วังในอนาคต
225 แต่ไม่หวังถึงอุดมคติเพราะยังไม่ถึงยุคพระศรีอาริย์ ในแง่นี้ แม้นวนิยายจะเป็นรูปแบบที่รับจาก ตะวันตก แต่เนื้อหาในนวนิยายไทยยังสะท้อนฐานคดิ จากคตทิ างพุทธศาสนาท่ีสืบเนอ่ื งมา ยิ่งในกลุม่ วรรณกรรมร่วมสมยั แนวคดิ พทุ ธศาสนากลับได้รบั การเน้นย้าอยา่ งสงู ดังท่ีดวงมน จิตร์จา้ นงค์ (2558, 100-101) ช้ีว่าวรรณกรรมไทยช่วง พ.ศ. 2520 – 2547 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่วัตถุนิยมโหมกระหน้่า สงั คมไทย นกั เขียนน้าเอาพุทธธรรมหรอื ปรัชญาทางพทุ ธศาสนามาน้าเสนอดว้ ยการตระหนักถึงคณุ คา่ ของคติเหลา่ นี้และพยายามใช้ฐานคิดนี้มาสื่อสารเพื่อให้ทบทวนถึงหายนะจากการยึดติดในความสขุ ทางโลก เม่ือกล่าวถึงนวนิยายของพงศกร ผลการวิจัยระบุชัดถึงการใช้คติทางพุทธศาสนาเป็นท้ัง แนวคิดท่ีนา้ เสนอออกมาให้เหน็ ถงึ กเิ ลสและกรรม ย่งิ ไปกว่านั้น นวนิยายของพงศกรยังนา้ เอาคติทาง พุทธศาสนามาเชอ่ื มโยงประเดน็ ทางสงั คมต่างๆ ดังเช่นการละวางอตั ตาเพอ่ื การเปดิ รับความแตกต่าง หลากหลาย การยอมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมทต่ี ั้งอยู่ด้วยการมองสิ่งท่ีเกิดข้ึนเป็นวัฏจักรและ ยอมรับถึงความไม่เท่ียงท่ีต้องแปรเปลี่ยนไป ตลอดจนการเสนอทางออกของความขัดแย้งด้วยการ ประนีประนอมแทบทุกด้านเพื่อใหส้ งั คมด้าเนินไปอย่างสงบสขุ โดยที่มิได้ปฏิเสธวา่ มนุษย์จะหลุดพน้ จากกิเลสหรอื ความขัดแย้งระหว่างกันได้สมบรู ณ์ โดยการใช้ข้อมูลเชิงคติชนนับว่าสะทอ้ นความคดิ ทางพุทธศาสนา เพราะพงศกรได้สร้างเรื่องเล่าเชิงคติชนที่เน้น “อนุภาคการลงโทษ” เพื่อน้าเสนอ แนวคดิ เรือ่ งกิเลสและกรรม อนุภาคดังกลา่ วเรยี กไดว้ ่าพบในนิทานพ้นื บา้ นไทยมานาน การนา้ อนภุ าค น้ีมาใช้ในนวนิยายได้สะท้อนมมุ มองทม่ี ีต่อเรื่องเลา่ เชิงคติชนว่ายังมีบทบาทต่อ “การสอนใจ” ไม่ให้ ผู้คนประพฤติผดิ โดยนัยนี้ ข้อคิดแบบที่ “นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า..” ยังคงด้ารงอยู่ในนวนิยายของ พงศกร โดยพงศกรน้าเอาอนุภาคการลงโทษในนิทานมาใช้เพื่อสอนใจคนในปัจจบุ ันด้วยเนื้อเร่ืองท่ี เปลย่ี นไป การกลับชาติมาเกดิ ท่ีใช้เป็นสว่ นเชื่อมโยงตัวละครจากเรื่องเลา่ เชิงคติชนกับตัวละครในโลก ปัจจุบันก็ถือเป็นสิ่งท่ีพบได้ในวรรณคดีไทยมายาวนาน ทั้งวรรณคดีศาสนาอย่าง “ชาดก” ก็มักเปน็ เรื่องราวของพระโพธิสัตว์ก่อนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า การเล่าชาดกประกอบด้วยการเปิดเรื่องใน ปัจจุบันท่ีท้าให้พระพุทธเจ้าทรงเล่าอดีตชาติ (ปัจจุปปันนวัตถุ) จากน้ันจะเล่าเรื่องราวในอดีต (อตีตวัตถุ) อาจมีถ้อยค้าอธิบายประกอบ (คาถาและไวยากรณ์) และจบลงด้วยการแจกแจงว่าบคุ คล ในเร่ืองกลับชาติมาเกิดเป็นใครในชาติปัจจุบัน (สโมธาน) (ศักด์ิศรี แย้มนัดดา 2545, 47) หรือใน วรรณคดเี อกของไทยอย่างรามเกียรติ์ไดแ้ สดงสาเหตขุ องความขัดแยง้ ระหวา่ งทศกัณฐ์กบั พระรามว่า มาจากความขดั แย้งเมอื่ อดตี ชาติ คราวที่พระนารายณ์แปลงตนมาปราบนนทก ความขดั แยง้ ในคร้งั นนั้ ได้กลายเปน็ ส่วนสา้ คัญต่อการอธิบายสาเหตุสงครามระหวา่ งพระรามกับทศกัณฐ์ แมแ้ ต่นิทานพน้ื บ้าน หลายเร่อื ง เช่น ปลาบู่ทองทแี่ มข่ องนางเอ้อื ยกลับชาตมิ าเกิดเปน็ ท้ังปลา ต้นไม้ นก พระรถเสน-เมรีที่ กลับชาติไปเกิดเป็นพระสุธน-นางมโนราห์ เป็นต้น สาเหตุท่ีเป็นเช่นนี้ก็คงเพราะสังคมไทยได้รับ
226 อิทธิพลทางความคิดจากพุทธศาสนาเรื่องสังสารวัฏท่ีการกระทา้ ต่างๆโยงต่อกันด้วยกรรมไม่สิน้ สุด การทพี่ งศกรใชค้ วามขัดแย้งแบบข้ามภพชาตเิ ช่นน้ีนอกจากจะน้าความเช่ือทางพุทธศาสนามาใช้แล้ว ในอีกด้านหน่งึ ยง่ิ เป็นการเน้นย้าถงึ ความคิดเรือ่ งกรรมให้เดน่ ชัด และการยุติความขัดแย้งด้วยการให้ อภัยสะท้อนถึงความพยายามท้าความดี ท่ีไม่ใช่เพ่ือล้างบาปกรรมในอดีต แต่เพ่ือตัดบ่วงกรรมท่ีจะ เกิดขนึ้ ในอนาคตนนั่ เอง หากมองแง่คิดต่างๆในนวนิยายของพงศกรให้ลกึ ซ้งึ แล้ว ผู้วิจัยเห็นว่า นวนิยายของพงศกร สะท้อนโลกทัศน์ตาม “กฎไตรลักษณ์” อันประกอบด้วยความไม่เทยี่ งแท้ (อนจิ จงั ) ความทกุ ข์ (ทกุ ขัง) และความไมม่ ตี ัวตน (อนตั ตา) เพราะนวนิยายเน้นย้าเร่ืองการเปล่ยี นแปลงอยตู่ ลอด ทั้งทางสังคมและ การเคลื่อนไปไม่ยึดติดกับอดีต นวนิยายของพงศกรช้ีให้เห็นความทุกข์ของการยึดติดไม่ยอมรับ เปลี่ยนแปลง ดังท่ีเกิดการลงโทษ การจองจ้า เกิดเป็นความอาฆาต และเกิดความขัดแย้งทาง อุดมการณ์ทางสังคม เพ่ือชี้ให้เห็นความไม่เที่ยงแท้ และขณะเดียวกันการใช้การข้ามภพชาติมาเกิด การยึดติดเป็นวิญญาณ การพบจุดจบของตัวละครต่างๆแล้วแต่ล้วนสะท้อนถึงการหลงอยู่ในกเิ ลสท่ี พวกตนสร้างข้ึนจนก็เกิดทุกข์อย่างยาวนาน การจบเร่ืองเช่นนี้ชี้ให้เห็นถึงความไร้แก่นสารของสิง่ ท่ี พวกเขาทา้ ลงไปทัง้ หมด ช้ีให้เหน็ ว่า “ชวี ติ กเ็ ท่าน้ีเอง” ไม่ได้มีอะไรสา้ คัญไปกว่าการคดิ ดแี ละท้าดีต่อ กัน กล่าวไดว้ า่ แมใ้ นบรบิ ทสงั คมปจั จุบันทเี่ ปลยี่ นแปลงไปมากเพียงใด พงศกรยังเห็นวา่ การมองโลก โดยใช้กรอบทางพุทธศาสนาเปน็ สงิ่ ทย่ี ังใชไ้ ดเ้ สมอ การสรา้ งสรรคน์ วนยิ ายของพงศกรจงึ นา้ เอาฐานคดิ ดังกล่าวน้ีมาประยุกต์ใช้เพ่ือแก้ปัญหาจากการปะทะกับการเปลย่ี นแปลงหรือการอยู่รว่ มกันในสงั คม เพอ่ื หาทางออกอย่างประนีประนอม ท้ังหมดที่กลา่ วมาย่อมสะท้อนใหเ้ ห็นว่านวนิยายของพงศกรยืนยันความสืบเนื่องของขนบวร รณกรรมไทย สะทอ้ นการสร้างสรรคบ์ นฐานคิดทไ่ี ม่ตดั ขาดจากของเก่า แตข่ ณะเดยี วกันในบริบทโลก ที่เปลยี่ นแปลงไป เราจะเหน็ องค์ประกอบใหม่ๆ ที่เข้ามา โดยนวนยิ ายของพงศกรหลอมรวมใหเ้ ข้าเปน็ เนื้อเดยี วกัน 5.2.2 คติชนในนวนยิ ายของพงศกรกบั การตอ่ เติมประวตั วิ รรณกรรมไทย ในหวั ข้อนจี้ ะอภิปรายเชอื่ มโยงนวนยิ ายของพงศกรกับบรบิ ท (context) นอกเหนือจากท่ีการ กล่าวถึงตัวบท (text) ไปในหัวขอ้ ทีแ่ ล้ว เพื่อแสดงให้เห็นว่า “คติชนในนวนยิ ายของพงศกร” เกิดขึน้ ในบริบทใด เหตุใดจงึ ท้าใหง้ านของพงศกรกลุม่ นี้ได้รับความนิยม ตลอดจนเช่ือมโยงให้เห็นว่าคตชิ น ในนวนิยายของพงศกรอย่ตู ้าแหน่งแห่งทใี่ ดในวงวรรณกรรมไทย ประการแรก ผลการวิจัยสามารถทา้ ใหเ้ ราเข้าใจบรบิ ทการเกดิ ขึน้ ของการใช้ขอ้ มลู เชิงคติชน ในนวนิยายได้ลุ่มลึกมากยิ่งขึ้น เพราะแม้นวนิยายของพงศกรจะเกิดข้ึนจากความชอบส่วนตัวของ พงศกร แต่ถา้ พจิ ารณาประกอบกบั บริบทสังคมแลว้ จะเหน็ ว่า นวนิยายของพงศกรเกิดขึ้นในช่วงเวลา
227 เดียวกับกระแสโหยหาอดีตในทศวรรษ 2540 ต่อมาถึง 2550 ภาวะดังกล่าวท้าให้สังคมไทยเริ่มหัน กลับมามอง “ความเป็นไทย” มองความคิดท้องถ่ินนิยม การกลับมาหาความรู้ชุมชน เพื่อต่อสู้กับ แนวคิดโลกาภิวัตนแ์ ละระบบทนุ นิยม ดังท่ีการท่องเท่ยี วชุมชนและสนิ ค้าชุมชน แฟช่ันย้อนยุค ฯลฯ ทัง้ หมดกล็ ว้ นเป็นการย้อนกลบั ไปหาสงิ่ ที่ (คดิ ว่า) เป็นของดง้ั เดิมน่นั เอง วงวรรณกรรมไทยก็เป็นส่วนหนึ่งในกระแสดังกลา่ ว สุรเดช โชติอุดมพนั ธ์ุ (2557, 117-119) ช้ีให้เห็นว่าจากระบบทุนนิยมและบริโภคนิยมท่ีซับซ้อนมากขึ้นก็ท้าให้คนเร่ิมหันกลับมาท่ีแนวคิด เศรษฐกจิ พอเพียง นกั เขียนไทยในช่วงหลงั ค.ศ. 2000 (พ.ศ.2543) เหน็ พ้องวา่ ระบบทุนนยิ มลดทอน คุณค่าความเปน็ มนุษย์ ส่งผลตอ่ ศีลธรรมและจรยิ ธรรม วรรณกรรมไทยจ้านวนหนึ่งจงึ ได้เสนอแงล่ บ ของทุนนิยมทีก่ า้ ลังทา้ ลายคุณค่าด้ังเดิมของสังคมไทย โดยเฉพาะความพอเพยี งไว้ ในอีกแง่หนง่ึ การ นา้ เอา “ลักษณะที่ดูเป็นไทย” ทีถ่ กู นา้ มาใชใ้ นวรรณกรรมกอ็ าจจะมาจากแนวโน้มของวรรณกรรมโลก อีกทางหน่ึง ดังท่ีรื่นฤทัย สัจจพันธุ์ช้ีใหเ้ ห็นว่า ตั้งแต่วรรณกรรมเร่อื งแฮรี่ พอตเตอร์ (Harry Potter) ของเจ เค โรลล้งิ (J.K. Rowling) นักเขยี นชาวองั กฤษท่ีโด่งดงั และยอดนยิ มไปท่วั โลก ซึ่งนวนยิ ายเลม่ แรกตีพิมพ์ครั้งแรกปีพ.ศ. 2540 ความนิยมของวรรณกรรมชุดพ่อมดน้อยน้ีได้สง่ ผลให้นักเขียนไทย หลายคนพยายามสร้างงานวรรณกรรมเยาวชน โดยนา้ นทิ านพ้ืนบ้านและวรรณคดีมรดกมาสร้างใหม่ ให้ทนั สมัย เร้าอารมณ์และแทรกข้อคิดคา้ สอนแกเ่ ดก็ ไทย วรรณกรรมชดุ พอ่ มดน้อยนี้ยังส่งผลต่อการ สรา้ งนวนิยายออนไลนป์ ระเภทแฟนตาซีของไทย ท่ีรจู้ ักกันดีอยา่ งเรอ่ื งเดอะไวดโ์ รสและหัวขโมยแหง่ บารามอส (ร่นื ฤทยั สัจจพันธ์ุ 2549, 40, 2552, 45) จึงเป็นไปได้ว่า การน้าเอานทิ านหรือวรรณคดี ไทยมาใชก้ ็สอดรบั จากกระแสวรรณกรรมตะวันตกและเขา้ กบั บรบิ ทสังคมไทยที่ก้าลังโหยหาอดตี การใช้คติชนในนวนยิ ายของพงศกรอาจนบั เปน็ ผลผลติ หนึง่ ของกระแสการโหยหาอดีตเหน็ ได้ จากนวนิยายของพงศกรน้าเสนอปัญหาจากกระแสโลกาภิวัตน์และการละเลยวัฒนธรรมโบราณ ตลอดจนการแสดงภัยธรรมชาติที่ช้ีให้เห็นถึงพฤติกรรมของผู้คนที่เปล่ียนแปลงไปตามทุนนิยม ขณะเดียวกัน พงศกรได้พยายามน้าเอาข้อมูลเชิงคติชนมาใช้ ท้าให้เรื่องราวดูน่าตื่นเต้น น่าติดตาม เพ่ือให้หันกลับมาที่องค์ความรู้ชุมชน การอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ ตลอดจนการหันมาช่วยกันรักษา มรดกทางวัฒนธรรมต่างๆ แมใ้ นภายหลงั เนื้อหาในนวนิยายของพงศกรจะยอมรับว่าการเปล่ยี นแปลง เป็นส่ิงปกติก็ตาม อาจกล่าวได้ว่า เหตุผลของการใช้คติชนในนวนิยายของพงศกรน่าจะเกิดขึ้น ทา่ มกลางบรบิ ทสงั คมทนุ นิยม กระแสโลกาภวิ ตั นห์ ลงั วิกฤตเศรษฐกิจทก่ี ระแสโหยหาอดีตได้มีอิทธพิ ล ต่อหลายภาคส่วนในสงั คม การใช้คติชนน่าจะเปน็ รูปแบบหนึ่งในการนา้ เอาความรูข้ องท้องถ่ินมาใช้ เป็นการน้าเอาองคค์ วามรู้ในอดีตมาเสนอถึงคุณค่า รวมถึงการผสมผสานและตคี วามใหม่ จดุ ประสงค์ หลักเพื่อช้ีใหเ้ ห็นรากและสรา้ งความภาคภมู ใิ จให้แกค่ นในปจั จุบัน ประการถัดมา บริบทที่เอื้อให้นวนิยายของพงศกรได้รับความนิยม กล่าวคือ ต้ังแต่ปีพ.ศ. 2545 นามปากกาของพงศกรไดร้ ับการตอบรับจากนกั อ่านค่อนขา้ งสูงในช่วงเวลาไมถ่ งึ สิบปี พงศกรมี
228 ผลงานออกมาอย่างสม่้าเสมอ นวนิยายบางเร่อื งได้รับการตีพิมพ์ซ้าจ้านวนหลายครง้ั นวนิยายหลาย เรื่องได้รบั การสร้างเป็นละครโทรทัศนท์ ี่มีคนติดตามอย่างแพรห่ ลาย จนพงศกรได้รบั สมญานามเปน็ “เจ้าพ่อนวนิยายลึกลับสยองขวัญ” ในยุคปัจจุบันอันแสดงความนิยมของพงศกรได้อย่างดี จาก ผลการวิจัยในวิทยานิพนธ์นี้สามารถอธิบายสาเหตุและปัจจยั ทท่ี ้าให้นวนิยายของพงศกรขึ้นมาไดร้ บั ความนยิ มในวงกว้างได้ประการหน่งึ ว่า นวนิยายของพงศกรท่ีนา้ ขอ้ มลู เชงิ คติชนเข้ามาประกอบสร้าง บนขนบนวนิยายท่ีผู้อ่านกลุ่มใหญ่คุ้นเคยและเป็นท่ีนิยมอยู่แล้ว นั่นคือ นวนิยายแนวลึกลับเหนือ ธรรมชาติที่มีองค์ประกอบของรักพาฝนั โดยหากจัดนวนิยายของพงศกรตามท่ีชูศักด์ิ ภัทรกุลวณิชย์ (2558, 29-34) เสนอไวอ้ าจจัดเข้ากลมุ่ “นวนิยายยอดนิยม”15 หมายถงึ นวนยิ ายท่ีเขยี นลงเป็นตอนๆ ตามหน้านิตยสาร เช่น สกุลไทย ขวัญเรือน โลกนวนิยาย ฯลฯ การพิมพ์เป็นตอนๆจะท้าให้ผู้อ่าน “ติด” อยากอ่านตอ่ ไปเรื่อยๆ กลุม่ ผอู้ า่ นมกั เป็นผูม้ ีการศกึ ษาดีและมีทางเลือกแนวนวนิยายทีต่ นชอบ เน้ือหามีความหลากหลายทั้งอิงประวัติศาสตร์ นวนิยายรัก นวนิยายครอบครัว ฯลฯ นวนิยาย ยอดนิยมมีผู้อา่ นอย่างกวา้ งขวาง มจี า้ นวนมากทส่ี ุดกวา่ กลุ่มอน่ื และมกั มกี ารตพี มิ พร์ วมเล่มซง่ึ มักขาย ดีกว่ากลุ่มอื่นดว้ ย ชูศกั ดิ์เสนอด้วยว่า นวนิยายยอดนิยมมักจะมกี ารสร้างงานทีอ่ ยู่ในสูตรนวนยิ ายแนว รักพาฝัน นักเขียนนวนิยายกลุ่มนี้มักสร้างผลงานให้เข้ากับประเภทของนวนิยาย แต่สิ่งที่ท้าให้ นวนิยายของนักเขียนแต่ละคนแตกต่างไปคือ การสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวในงานเขียนเพ่ือสร้าง “แฟน” นกั อ่าน ผูอ้ า่ นมักผกู พนั กบั นักเขยี นบางคนและตดิ ตามจากช่ือนกั เขยี น ปัจจัยท่ีเอื้อให้นวนิยายของพงศกรเป็นท่ียอมรับและได้รับความนิยมคงเน่ืองจาก “ต้อง รสนยิ ม” กับผอู้ า่ น เพราะนวนยิ ายของพงศกรไดส้ ่งตีพิมพ์เป็นตอนๆ ลงในนิตยสารสกุลไทยก่อนขยบั ขยายไปสู่นิตยสารอื่นๆ เน้ือหาในนวนิยายของพงศกรกน็ ่าจะต้องสอดคล้องกบั ผ้อู ่านที่ก้าลังโหยหา ความเป็นไทย ดงั ท่พี งศกรน้าเอาขอ้ มูลเชงิ คติชนของคนหลายกลุ่ม นา้ เสนอฉากทีห่ ่างไกลจากความรู้ ของผู้คน ขณะเดียวกันก็เสนอความเพลดิ เพลนิ จากเรอ่ื งราวลกึ ลบั เหนือธรรมชาติทต่ี ัวละครเอกตอ้ ง เดินทางและเผชิญหน้ากับเหตุการณ์ลึกลบั ตลอดจนการลา้ ดบั เร่ืองทร่ี ะทกึ ใจซึ่งเรา้ ใจใหผ้ ้อู ่านตดิ ใจ และพฒั นาเร่อื งไปตามสตู รของนวนยิ ายแนวรกั พาฝนั แม้กระทัง่ การนา้ เสนอแนวคดิ ในนวนยิ ายก็ท้า 15 ชศู กั ด์ิ ภทั รกลุ วณชิ ย์ ได้การแบ่งกลมุ่ นวนยิ ายเปน็ สามกลุ่มตามกลุ่มผู้อา่ น ไดแ้ ก่ กล่มุ แรก นวนิยายชาวบ้าน คอื นวนยิ ายสัน้ ๆ ประเภทเล่มละสิบสองบาท มีวางขายท่ัวไปตามแผงหนังสือและร้านหนังสือในต่างจังหวัด กลุ่มผู้อ่านคือชาวบ้านท่ัวไป เนื้อหา ตรงไปตรงมาไม่ซับซ้อน กลุ่มท่ีสอง นวนิยายยอดนิยม เป็นนวนิยายทเี่ ขยี นลงเป็นตอนๆตามหน้านิตยสารผู้หญิงเช่น สกุลไทย ขวัญ เรือน ฯลฯ มีท้ังอิงประวัติศาสตร์ นวนิยายรัก ครอบครัว เนื้อหาและการด้าเนินเร่ืองจะซับซ้อนกว่ากลุ่มแรก ผู้อ่านจะมีการศึกษาดี พอสมควรจนถงึ ดีมาก กลุ่มที่สาม นวนยิ ายสรา้ งสรรค์ คือ งานเขยี นทมี่ ีเน้อื หาคอ่ นข้างหนัก จรงิ จงั เสนอปญั หาสังคม บางเลม่ มีวิธกี าร นา้ เสนอซบั ซ้อนเข้าใจยาก กลมุ่ ผ้อู ่านจา้ กัดวงในกลุ่มคนแคบๆ ที่เรยี กตัวเองว่า “ปัญญาชน” ดรู ายละเอยี ดไดใ้ นบทความ “ทศวรรษ หนา้ ของนวนยิ ายไทย” ใน อา่ น(ไม่)เอาเรือ่ ง ของชศู กั ด์ิ ภัทรกุลวณิชย์ (2558)
229 ให้นวนิยายของพงศกรมีสาระทแ่ี ฝงอยู่ในนวนิยาย เหตุน้ีจึงท้าให้นวนิยายของพงศกรชวนอ่านและ ชวนคดิ ไปพรอ้ มกัน อีกปัจจยั หนงึ่ นักเขียนทเ่ี น้นเขียนงานด้านแนวลกึ ลับเหนือธรรมชาตมิ ีอยู่ไมม่ ากนัก เม่ือชือ่ ของพงศกรปรากฏขึน้ มาก็ทา้ ใหส้ ามารถครองพ้นื ท่ีในวงวรรณกรรมได้ไม่ยาก และที่มีบทบาทสงู มาก คอื บทบาทจากละครโทรทศั น์ พงศกรไดก้ ลา่ วไว้เองวา่ ละครโทรทัศน์ โดยเฉพาะสาปภษู า รอยไหม ก่ีเพ้า ฯลฯ ซ่ึงได้รับความนิยมอย่างสูงในหมผู่ ู้ชมได้ย้อนกลบั มาทา้ ให้นวนิยายของพงศกรเรื่องอืน่ ๆ ได้รับความนิยมตามมา ดังนั้น การน้าขนบท่คี ุ้นเคยของนวนิยายยอดนิยมมาสร้างสรรค์ตามแนวทาง ของพงศกรเรียกได้ว่าท้าให้ผู้อ่านติดและอยากตามต่อ ตลอดจนอิทธิพลต่อผู้ชมโทรทัศน์เองก็ล้วน สง่ ผลใหช้ ื่อของพงศกรกลายเปน็ “เจ้าพอ่ ” นวนิยายแนวนีไ้ ดอ้ ยา่ งไม่น่าแปลกใจ ประการสดุ ทา้ ย คตชิ นในนวนยิ ายของพงศกรกบั บรบิ ทวรรณกรรมไทยร่วมสมัย เราจะเหน็ วา่ คตชิ นในนวนยิ ายของพงศกรเปน็ ชิน้ ส่วนทีย่ นื ยนั พลวัตและตอกยา้ ใหเ้ หน็ ปรากฏการณ์ “ปัจจบุ นั ในอดตี ” ทเ่ี กดิ ข้ึนในวงวรรณกรรมไทยอย่างเด่นชดั เพราะดังทกี่ ลา่ วไปแล้ววา่ ตัวขอ้ มลู เชิงคตชิ นและ ตัวนวนิยายของพงศกรมีทง้ั สว่ นสืบทอดจากขนบและสร้างสรรค์ข้ึนใหม่ การสร้างสรรค์บนฐานการ สืบทอดในนวนิยายพงศกรสอดคล้องกับท่ีรื่นฤทัย สัจจพันธ์ุ (2549, 66) ชี้ให้เห็นว่า เร่ืองราวใน วรรณกรรมท่ีไหลเวียนอยู่ในความทรงจ้าแลว้ น้ามาสร้างใหม่เป็นสง่ิ แสดงใหเ้ ห็นว่า วรรณกรรมและ ขนบวรรณกรรมมคี วามเคลื่อนไหวเป็นพลวตั และมีชีวติ ใหม่อย่ตู ลอดเวลา พรอ้ มกนั นน้ั การใช้ขอ้ มูล เชิงคตชิ นในนวนิยายของพงศกรมีสว่ นพสิ ูจน์ถงึ ลกั ษณะ “ปัจจบุ ันของอดีต” ดงั ที่ดวงมน จติ ร์จ้านงค์ (2558, 107-108) ได้ระบุอย่างชัดเจนว่า งานวรรณกรรมไทยร่วมสมัยแทบไม่มีเรื่องใดที่แสดง ความคิดใหม่โดยส้ินเชิง หากปรากฏลักษณะ “ปัจจุบันของอดีต” หมายถึง การน้าอดีตที่ผ่านการ กลน่ั กรองแล้ววา่ ยังมคี วามหมายมาใหค้ วามหมายใหมใ่ หส้ อดคลอ้ งกบั ปจั จบุ นั เหตทุ อ่ี ดีตยงั คงปรากฏ อยู่เพราะอดตี ท่ีเลือกมานั้นยังมี “คุณค่าทางใจในการดา้ รงอยู่นอกบริบทต้นกา้ เนิดของความคิด” ท่ี ผ่านการคดั เลอื กทางปญั ญามาสรา้ งสรรค์ผลงาน นวนิยายของพงศกรจึงเป็นชิ้นส่วนที่ยืนยันพลวัตของวรรณกรรมไทยที่ยังน้าอดีตทั้งขนบ วรรณกรรมและความคิดที่อยู่ในงานวรรณกรรมไทยมาสร้างสรรค์ ข้อมูลเชิงคติชนที่ปรากฏใน นวนิยายของพงศกรสะท้อนคุณค่าของอดีตท่ียังคงอยู่ โดยเฉพาะการนา้ ข้อมลู เชิงคตชิ นมากลั่นกรอง หามิติที่ด้ารงอยู่และไม่สูญหายไป คติชนในนวนิยายของพงศกรจึงพิสูจน์ถึง “กระแสธาร” ของ วรรณกรรมไทยที่มีต้นธารมาจากอดีต ขณะเดียวกันก็แสดงว่ากระแสธารก็ไม่เคยหยุดนิ่ง อาจ เชี่ยวกรากหรือนงิ่ เอ้ือยต่างกันไป รวมถึงเสน้ ทางกอ็ าจตรงด่ิงหรอื ลดเล้ยี วหรอื อาจมีกระแสธารสาย อื่นไหลเขา้ มาบรรจบด้วยกเ็ ป็นสง่ิ หนง่ึ ทีต่ ้องพจิ ารณากนั ตอ่ ไป แตส่ ิ่งหนงึ่ ท่ีบอกแกเ่ ราคงไม่พ้นวา่ การ เดนิ ทางของกระแสธารยอ่ มเปดิ พ้ืนท่ีรอใหน้ ักเขยี นคน้ หาเส้นทางสร้างสรรค์ตอ่ ไปไมส่ นิ้ สดุ
230 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.3.1 แมว้ ทิ ยานพิ นธ์ฉบับนี้ศกึ ษาขอ้ มลู เชิงคติชนกลมุ่ ทีเ่ ปน็ เรอื่ งเลา่ และกลมุ่ ขนบธรรมเนยี ม พ้ืนบ้านเปน็ หลกั หากนวนิยายของพงศกรยังมีข้อมลู วัฒนธรรมกลมุ่ อื่นๆท่ีน่าสนใจอีกหลายรูปแบบ อย่างผืนผ้าจากหลายชาติ เช่น สาปภูษา รอยไหม ก่ีเพ้า เป็นต้น หรือกลุ่มเครื่องประดับ เช่น กาไลมาศ กุณฑลสวาท เป็นต้น ก็อาจน้ามาศึกษาในแนวทางที่ใช้ในวิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้ เพ่ือท้าให้ มองเห็นภาพรวมของการใชข้ ้อมูลทางวัฒนธรรมในนวนิยายของพงศกรชดั ยิ่งข้นึ 5.3.2 ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้พบการสอดแทรกข้อมูลจากวรรณคดี วรรณกรรมและ ประวัตศิ าสตรค์ วบคู่กับขอ้ มลู คตชิ น ในนวนยิ ายเรื่องอื่นของพงศกรก็ไดม้ กี ารน้าขอ้ มูลเหล่าน้มี าสร้าง เป็นแกนหลักของนวนิยาย อย่างเช่นบุราปรัมปรา ท่ีน้าเอาพระอภัยมณีมาใช้ มณีแดนสรวงและ ลูกไม้ลายสนธยาน้าเอาไตรภูมิกถามาใช้ สาวหลงยุคเปน็ นวนิยายอิงประวัติศาสตร์ เป็นต้น ข้อมูล กลุ่มนี้นับว่ามีความน่าสนใจให้ศึกษาและยังสามารถใช้วิธีการศึกษาตามที่ใช้ในวิทยานิพนธ์เล่มน้ีได้ อนั จะท้าให้เห็นการสบื ทอดขนบทางวรรณศลิ ปแ์ ละพลวัตของวรรณคดไี ทยในอกี ทางหนึ่ง 5.3.3 วิธีการศึกษาข้อมูลเชิงคติชนวิเคราะห์แบบเจาะลึกเฉพาะนักเขียนรายบุคคลใน วิทยานิพนธ์เช่นนี้ยังสามารถน้ามาใช้ได้กับงานของนักเขียนอื่นได้อีก เพ่ือให้เหน็ ลักษณะเฉพาะของ นักเขยี นแตล่ ะคน และในอนาคต หากไดง้ านวิจัยที่วิเคราะหข์ อ้ มูลเชิงคติชนในนกั เขียนหลายคนอยา่ ง ละเอียดแล้วก็อาจนา้ มารวบรวมและสงั เคราะหใ์ ห้เหน็ ภาพรวมของคติชนในวรรณกรรมไทยได้ชัดเจน หรืออีกแนวทางหนึ่งกอ็ าจน้าเอาอนภุ าคของนิทานท่ปี รากฏบ่อยคร้ังในวรรณกรรมไทย เช่น อนุภาค เมืองล่ม อนภุ าคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้ ฯลฯ มาศึกษาในเชิงด่ิง น่ันคือ ศึกษาอนุภาคเดยี วจากตัว บทของนักเขียนหลายคนเพื่อท้าให้เรามองเห็นความหมายที่คงไว้หรือแปรเปล่ียนไปได้อีกด้วย การศึกษาตามขอ้ เสนอนีจ้ ะเป็นการช่วยตอ่ เตมิ ประวัติวรรณกรรมไทยได้ชดั เจนและลกึ ซ้ึงมากข้นึ 5.3.4 แมว้ ทิ ยานพิ นธ์ฉบบั น้ไี มไ่ ด้ยึดระเบยี บวิธกี ารศกึ ษาจากทฤษฎใี ดทฤษฎหี น่ึงโดยเฉพาะ เพราะยึดการอา่ นละเอียด (close reading) เปน็ หลกั กอ่ น แล้วนา้ เอากรอบความคดิ ท่สี อดรบั กับสิง่ ท่ี ไดจ้ ากตัวบทมาใช้อธบิ ายเพ่อื ให้วิเคราะห์ตัวบทไดช้ ดั เจนมากขึ้น หากผวู้ จิ ยั เห็นวา่ การน้ากรอบทฤษฎี ใดทฤษฎหี นึ่งมาใชใ้ นการอ่านขอ้ มลู เชงิ คติชนในนวนิยายก็เป็นส่งิ ทีท่ า้ ได้เชน่ กันและอาจทา้ ให้มมุ มอง ท่ีมองผ่านแว่นทฤษฎีมีความแปลกแตกต่างไป เช่น แนวคิดหลังสมัยใหม่ (postmodern) เกี่ยวกับ การเขา้ ถึงความร้แู ละความจรงิ แนวคิดหลงั อาณานคิ ม (postcolonial) เพื่อมองการโตก้ ลบั ของกล่มุ คนท่ีถูกกดทับ (subaltern) การน้าแนวคิดเรื่องวาทกรรม ( discourse) กับภาพตัวแทน (representation) เพ่ือมองหาชุดความคดิ ทีน่ วนิยายซ่อนอยู่ ตลอดจนการน้าเสนอภาพแทนของกลมุ่ คนท่ีแตกตา่ ง เปน็ ตน้
รายการอ้างอิง ภาษาไทย กญั ญรัตน์ เวชชศาสตร.์ 2541. “วงการคตชิ นวทิ ยา ผู้บุกเบกิ และผลงาน” ใน คตชิ นกบั คนไทย-ไท: รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบรบิ ททางสงั คม [ศริ าพร ณ ถลางและสกุ ัญญา ภทั ราชัย บรรณาธิการ]. กรงุ เทพฯ : โครงการต้าราคณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ก้าจร หลุยยะพงศ.์ 2547. หนงั อษุ าคเนย:์ การศกึ ษาภาพยนตร์แนววฒั นธรรมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. กงิ่ แกว้ อัตถากร. 2519. คติชนวทิ ยา. กรงุ เทพฯ: หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ กรมการฝกึ หัดครู. เกศสดุ า นาสเี คน. 2557. เร่ืองเล่าแนว “รักโศก” และกลวธิ กี ารให้คา้ ปรกึ ษาในพ้ืนทส่ี ่อื สาธารณะ: กรณศี ึกษารายการวิทยุ “คลบั ฟรายเดย”์ : วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ ภาควชิ า ภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ครสิ เบเคอรแ์ ละผาสกุ พงษ์ไพจติ ร. 2557. ประวัตศิ าสตรไ์ ทยร่วมสมยั . กรงุ เทพฯ: มตชิ น. จรุง เจริญวยั . 2555. การศกึ ษาการใช้ภาษาไทยในนวนิยายของพงศกร จินดาวัฒนะ. วทิ ยานพิ นธ์ ปรญิ ญามหาบัณฑติ สาขาภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. จารวุ รรณ ธรรมวัตร. 2522. ลกั ษณะวรรณกรรมอสี าน. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. จิณณะ รจุ เิ สนยี .์ 2554. การวิเคราะห์นวนิยายเหนือธรรมชาติของพงศกร. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบณั ฑิต สาขาไทยศึกษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั รามค้าแหง. จิราภรณ์ อัจรยิ ะประสิทธ.ิ์ 2547. สตรรี าชสา้ นกั ไทใหญใ่ นเรอ่ื งเลา่ ของนักเขียนสตรรี ว่ มสมยั : การศกึ ษาบทบาทของผหู้ ญิงในพนื้ ทสี่ าธารณะและพน้ื ที่ส่วนตัว. วิทยานิพนธป์ ริญญา มหาบัณฑติ สาขาวรรณคดีเปรียบเทยี บ คณะอักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั จีรณทั ย์ วิมุตตสิ ุข. 2550. การใชว้ รรณคดแี ละวรรณกรรมพน้ื บ้านในนวนิยายของแก้วเก้า. วิทยานพิ นธป์ ริญญามหาบณั ฑติ สาขาภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เจสส์ จ.ี พเู รต.์ 2546. ชนชาตเิ ยา้ : เย้าเมี่ยนและเยา้ มนุ ในจนี เวียตนาม ลาวและไทย. แปลโดย มงคล จนั ทรบ์ ้ารงุ และสมเกยี รติ จา้ ลอง. กรุงเทพฯ: รเิ วอร์ บ๊คุ ส์. ชยั รตั น์ พลมุข. 2552. วรรณคดปี ระกอบพระราชพธิ ีสมยั รตั นโกสนิ ทร:์ แนวคิดธรรมราชากบั กลวธิ ี ทางวรรณศลิ ป.์ วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต สาขาภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
232 ชานนท์. 2553. \"เกบ็ ตกเสวนาหลากหลายความคดิ หลากหลายรสจากนวนิยายของพงศกร.\" สกลุ ไทย, 9 มนี าคม 2553, 28-30. ชุติมา ประกาศวฒุ สิ าร. 2556. \"บ้านผสี ิง : การหลอกหลอนกบั ความรุนแรงทางเพศใน เพรงสนธยา.\" วารสารอกั ษรศาสตร์ 42 (1):61-105. ชูศกั ดิ์ ภทั รกุลวณิชย์. 2551. \"ความหลากหลายทางวฒั นธรรมจากหลอมรวมเปน็ หนง่ึ สผู่ สมผสาน พันทาง.\" วารสารอักษรศาสตร์ 37 (1):16-36. ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย.์ 2558. อา่ น(ไม่)เอาเรอื่ ง. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ: อ่าน. ฌอ็ ง-ปแิ ยร์ โกลเด้นชไตน.์ 2541. การอ่านนวนยิ าย. แปลโดย วลั ยา วิวัฒน์ศร. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 3. กรุงเทพฯ: ส้านกั พมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ณฏั ฐภทั ร จันทวิช. 2542. ช้างพาหนะ. กรุงเทพฯ: โครงการสืบสานมรดกวฒั นธรรมไทย. ณฏั ฐวี ทศรฐและวีระพงศ์ มสี ถาน. 2540. สารานกุ รมกลมุ่ ชาตพิ ันธ:ุ์ เม่ยี น (เย้า). นครปฐม: สา้ นักงานวจิ ัยภาษาและวฒั นธรรมเอเชียอาคเนย์ สถาบนั วจิ ยั ภาษาและวัฒนธรรมเพ่ือ พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. ณรี นุช แมลงภู.่ 2552. อนภุ าคการให้รางวลั และการลงโทษในนิทานพื้นบ้านไทย: ลกั ษณะและ ความหมายเชิงวฒั นธรรม. วิทยานิพนธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ สาขาภาษาไทย คณะ อกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ดวงมน จติ รจ์ ้านงค์. 2558. “โลกทัศนแ์ ละพลังทางสุนทรียะในวรรณกรรมไทย พ.ศ. 2520-2547” ใน จินตทรรศนจ์ ากปัตตานี : มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ในกระแสการเปล่ยี นแปลง [ณภคั เสรีรกั ษแ์ ละรชฎ สาตราวธุ , บรรณาธิการ]: 88-116. ปัตตานี: คณะมนุษยศาสตรแ์ ละ สงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ วิทยาเขตปตั ตาน.ี ดานภุ า ไชยพรธรรม. 2555. อภธิ านศพั ทต์ า้ นาน เรื่องเล่าและนทิ านปรัมปราจากทว่ั โลก. กรุงเทพฯ: แพรธรรม. ตรีศลิ ป์ บญุ ขจร. 2524. \"เพลงพ้ืนบ้านกับรอ้ ยกรองสมัยใหม่.\" วารสารอกั ษรศาสตร์ 13 (2):1-14. ธวชั ปณุ โณทก. 2527. \"ประวัติหวั เมืองอสี านตอนล่าง.\" ใน สมบัตอิ ีสานใต้ครงั้ ท่ี 3, 35-45. กรงุ เทพฯ: ภาพพมิ พ.์ ธญั ญา สังขพันธานนท์. 2538. “การศกึ ษามมุ มองในวรรณกรรมประเภทเรอื่ งเล่า” ใน ปรากฏการณ์ แหง่ วรรณกรรม. ปทุมธาน:ี นาคร. ธัญญา สงั ขพนั ธานนท.์ 2541. \"บทบาทของขอ้ มลู ทางคติชนในเร่ืองสัน้ ของนกั เขียนอสี าน.\" วารสาร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 17 (1):32-44. ธิดา สาระยา. 2545. ทวารวด:ี ตน้ ประวัตศิ าสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: เมอื งโบราณ. ธรี ะ นุชเปี่ยม. 2546. \"Postmodernism: วถิ คี วามคดิ และวถิ ีชวี ิต.\" วารสารปารชิ าต 15 (2):1-14.
233 นิยะดา เหลา่ สุนทร. 2545. “นทิ านเวตาล: ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง 4 ส้านวน” ใน พินจิ วรรณลักษณ์, 143-163. กรุงเทพฯ: ลายคา้ . นุดา. 2558. \"เปดิ ใจสนทนา...นพ.พงศกร จนิ ดาวฒั นะ คุณหมอนกั เขยี น เจา้ พอ่ นวนยิ ายลกึ ลับสยอง ขวัญ.\" ขวัญเรอื น พฤษภาคม 2558, 108-118. บรมมหาประยรู วงศ์, สมเดจ็ เจ้าพระยา. 2464. ตา้ รานพรตั น์. พระนคร: โรงพมิ พโ์ สภณพิพรรฒ ธนากร. บญุ เหลอื เทพยสุวรรณ, ม.ล. 2514. “หัวเล้ียววรรณกรรมไทย” ใน วรรณไวทยากร เลม่ 2: 55-157. กรงุ เทพฯ: โครงการต้าราสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ สมาคมสงั คมศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย. บุญเหลอื เทพยสุวรรณ, ม.ล. 2539. แว่นวรรณกรรม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติง้ แอนด์ พบั ลิชชง่ิ . ปรมินท์ จารวุ ร. 2549. ความขัดแยง้ และการประนีประนอมในตา้ นานปรัมปราไทย. กรงุ เทพฯ: โครงการเผยแพรผ่ ลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ประคอง นิมมานเหมินท์. 2551. นทิ านพ้นื บา้ นศึกษา. พิมพค์ รั้งท่ี 3. กรงุ เทพฯ: โครงการเผยแพร่ ผลงานทางวชิ าการ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปรีชา ชา้ งขวัญยนื และสมภาร พรมทา. 2556. มนษุ ย์กับศาสนา. พมิ พค์ รง้ั ที่ 5. กรงุ เทพฯ: โครงการ เผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ปรชี า พณิ ทอง. 2524. วรรณคดีอีสานเรอ่ื ง ผาแดงนางไอ่. อุบลราชธานี: ศิริธรรม. พงศกร. 2552. เบ้อื งบรรพ์. พมิ พค์ รงั้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ: เพือ่ นดี. พงศกร. 2555ก. กหุ ลาบรัตตกิ าล. พมิ พ์ครั้งที่ 3. กรงุ เทพฯ: กรู๊ฟ พับลิชช่งิ . พงศกร. 2555ข. ฤดดู าว. พมิ พ์คร้งั ท่ี 4. กรงุ เทพฯ: กรฟู๊ พบั ลชิ ช่ิง. พงศกร. 2556. เคหาสน์นางคอย. พิมพค์ รง้ั ที่ 4. กรุงเทพฯ: กรูฟ๊ พับลิชชง่ิ . พงศกร. 2557ก. คชาปุระ. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: กรฟู๊ พบั ลิชชิ่ง. พงศกร. 2557ข. นครไอยรา. พมิ พค์ ร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ: กรฟู๊ พับลชิ ช่ิง. พงศกร. 2557ค. วงั พญาพราย. พิมพ์ครง้ั ที่ 3. กรงุ เทพฯ: กรู๊ฟ พบั ลิชช่ิง. พงศกร. 2558. สรอ้ ยแสงจนั ทร์. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: กรฟู๊ พบั ลชิ ช่งิ . พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรม องั กฤษ-ไทย ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2545. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑติ ยสถาน. พจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย สมยั สโุ ขทัย ไตรภมู ิกถา ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน. 2544. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
234 พจมาน มลู ทรพั ย.์ 2551. เรอื่ งเลา่ ของเกยใ์ นชมุ ชนวรรณกรรมออนไลน:์ กรณีศึกษากลุม่ “บลสู กาย โซไซตี้” ใน www.pantip.com. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑติ ภาควชิ าภาษาไทย คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. พรรณวดี ศรีขาว. 2554. การสบื ทอดและบทบาทของพธิ ีเลย้ี งผีบรรพบรุ ษุ ของชาวกูย ที่บ้านละเอาะ อ้าเภอน้าเกลี้ยง จงั หวดั ศรสี ะเกษ. วิทยานพิ นธ์ปริญญามหาบัณฑติ สาขาภาษาไทย คณะ อักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . พระครสิ ตธรรมคมั ภรี ์ ภาคพันธสัญญาเดิมและพนั ธสญั ญาใหม่. 2531. กรุงเทพฯ: สมาคมพระครสิ ต ธรรมไทย. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). 2551. พจนานุกรมพทุ ธศาสน์ ฉบับประมวลศพั ท์. พมิ พค์ รงั้ ที่ 11. กรงุ เทพฯ: เอส.อาร.์ พริ้นตงิ้ แมส โปรดกั ส์. พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). 2542. “กรรม” ใน ค้า: ร่องรอยความคิดความเชื่อไทย [สวุ รรณา สถาอานนั ทแ์ ละเนือ่ งนอ้ ย บุณยเนตร บรรณาธกิ าร], 112-121. พิมพค์ รงั้ ที่ 3. กรงุ เทพฯ: สา้ นักพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . พัฒนา กติ ตอิ าษา, บรรณาธิการ. 2546. มานุษยวทิ ยากับการศกึ ษาปรากฏการณโ์ หยหาอดีตใน สังคมไทยรว่ มสมยั . กรงุ เทพฯ: ศูนยม์ านุษยวิทยาสิรนิ ธร. พิทยา บุษรารตั น.์ 2544. \"ภาพปรากฏทางคติชนวิทยาในวรรณกรรมร่วมสมยั ภาคใต้.\" วารสาร ทกั ษิณคดี 6 (1):92-106. พทิ ยาลงกรณ, พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืน. 2552. นทิ านเวตาล. กรุงเทพฯ: แพรวส้านักพมิ พ์. ไพฑูรย์ มกี ุศล. 2540. \"ชนชาติกวย ผสู้ ืบวัฒนธรรมตอ่ เนอ่ื งนับพันปี.\" วารสารประวตั ศิ าสตร์:13-33. มงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว, พระบาทสมเดจ็ พระ. 2554. มัทนะพาธา. กรงุ เทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร. มาดแลน จีโต. 2543. ประวตั ิเมอื งพระนครของขอม. ทรงแปลโดย ม.จ.สุภทั รดศิ ดิศกุล. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ: มตชิ น. มารก์ าเรต็ ม.ี 2544. แอมะซอน แดนสตั ว์รา้ ยและไม้งาม. แปลโดย พวงแสด. กรงุ เทพฯ: ศรสี ารา. แมนเฟร็ด สเตเกอร.์ 2553. โลกาภิวัตน์: ความรฉู้ บับพกพา. แปลโดย วรพจน์ วงศ์กจิ รุ่งเรอื ง. . กรงุ เทพฯ: โอเพน่ เวลิ ดส์ . รัชนีกร รชั ตกรตระกลู . 2549. ฉากในจินตนยิ ายของแกว้ เกา้ . วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑติ สาขา ภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . รื่นฤทัย สจั จพนั ธุ.์ 2544. “ภาพเกนิ จริงในวรรณคด:ี การตอกยา้ ความเขม้ ขน้ ของความรสู้ ึก” ใน วรรณคดีศึกษา, 29- 34. กรงุ เทพฯ : ธารปญั ญา. รนื่ ฤทยั สจั จพนั ธุ์. 2549. “การสบื ทอดวรรณคดีมรดกสู่วรรณกรรมเยาวชนรว่ มสมยั ของไทย” ใน สุนทรยี รสแหง่ วรรณคดี, 39-67. กรงุ เทพฯ: ณ เพชร.
235 ร่นื ฤทยั สจั จพนั ธ.์ุ 2552. \"วรรณกรรมออนไลน์: วฒั นธรรมการสร้าง-เสพวรรณศลิ ป์ในบรบิ ท่ี เปลยี่ นแปลง.\" วารสารสถาบนั วฒั นธรรมและศลิ ปะ 11 (1):43-57. รืน่ ฤทยั สจั จพนั ธุ์. 2553. “ ‘น้า’ ในวรรณกรรมรว่ มสมยั ” ใน สืบสานสร้างสรรคว์ รรณศิลป์, 225- 252. กรงุ เทพฯ: สถาพรบคุ๊ ส.์ ละเอียด วสิ ทุ ธิแพทย.์ 2522. ช้างในวรรณคดีสนั สกฤตและวรรณคดีบาล.ี วทิ ยานิพนธป์ ริญญา มหาบัณฑิต แผนกวิชาภาษาตะวันออก บัณฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. วลีรตั น์ สงิ หรา. 2528. เรื่องเหนอื ธรรมชาติในนวนยิ ายของจินตวรี ์ วิวัธน.์ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญา มหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร. วัชราภรณ์ ดษิ ฐป้าน. 2544. \"อนุภาคน้าเต้าในต้านานน้าท่วมโลกและต้านานก้าเนดิ มนุษย์.\" วารสาร ภาษาและวรรณคดไี ทย 18:62-77. วิทยา วงศ์จนั ทา. 2555. การประกอบสรา้ ง“ความเป็นลาว”ในวรรณกรรมและสอ่ื ภาพยนตรไ์ ทยรว่ ม สมยั . วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีเปรยี บเทียบ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . วินทร์ เลียววารณิ . 2551. บหุ งาปารี. กรงุ เทพฯ: 113. วนิ ทร์ เลียววารณิ . 2552. บหุ งาตาน:ี บหุ งาปารภี าคสอง. กรุงเทพฯ: 113. วิภาพ คญั ทพั . 2547. การวเิ คราะหฉ์ ากตื่นเต้นสา้ คญั ในนวนยิ ายสยองขวญั ของจนิ ตวรี ์ วิวัธน์. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาไทย มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. วริ ี เกวลกลุ . 2552. ใตเ้ งาแห่งอดตี ”: การศึกษาเปรยี บเทยี บการสรา้ งภาพแทนแบบกอทกิ ใน งานเขียนของจนิ ตวีร์ วิวัธน์กบั พงศกร จินดาวฒั นะ. วทิ ยานพิ นธป์ ริญญามหาบณั ฑิต สาขา วรรณคดีเปรียบเทยี บ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. วิไลพรรณ สคุ นธทรพั ย์. 2541. โพรมที ิอุส : จากตา้ นานสู่วรรณกรรม. วิทยานิพนธป์ รญิ ญา มหาบณั ฑิต ภาควิชาวรรณคดเี ปรยี บเทยี บ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . วีระพงศ์ มสี ถาน. 2544. สารานกุ รมกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุ: ไทยใหญ่. นครปฐม: ส้านักงานวจิ ัยภาษาและ วฒั นธรรมเอเชยี อาคเนย์ สถาบันวจิ ัยภาษาและวฒั นธรรมเพื่อพฒั นาชนบท มหาวทิ ยาลยั มหิดล. ศรณั ยภ์ ัทร์ บญุ ฮก. 2558. \"สรอ้ ยแสงจันทร์ ปราสาทหนิ นกจากนิทานและหมู่บ้านชาวกูย.\" วารสาร เมืองโบราณ 41 (2):131-139. ศรศี กั ร วลั ลโิ ภดม. 2538. ค้นหาอดตี ของเมอื งโบราณ. กรงุ เทพฯ: เมืองโบราณ. ศรีศักร วลั ลโิ ภดม. 2558. \"สหพนั ธรฐั ทวารวดี.\" วารสารเมอื งโบราณ 41 (4):23-36. ศกั ด์ศิ รี แยม้ นัดดา. 2545. วรรณคดีพุทธศาสนาพากยไ์ ทย. พิมพค์ รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์ พรน้ิ ต้งิ แอนด์พบั ลิชชิง่ .
236 ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา. 2550. เวตาลปัญจวิงศต:ิ นิทานเวตาลฉบบั สมบรู ณย์ ีส่ บิ หา้ เรอื่ ง. พิมพ์คร้ังท่ี 7. กรงุ เทพฯ แมค่ ้าผาง. ศริ าพร ณ ถลาง. 2545. ชนชาตไิ ทในนทิ าน: แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพน้ื บ้าน. กรุงเทพฯ มตชิ น. ศิราพร ณ ถลาง. 2552. ทฤษฎีคตชิ นวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตา้ นาน-นิทานพ้นื บ้าน. พิมพ์ คร้ังที่ 2. กรงุ เทพฯ สา้ นักพมิ พแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . ศริ าพร ณ ถลาง, บรรณาธิการ. 2559. มองคติชนเห็นตวั ตนชาตพิ ันธ์ุ. กรุงเทพฯ: ศนู ยม์ านุษยวทิ ยา สิรินธร. ศิรพิ ร ภกั ดผี าสขุ . 2548. “ปรศิ นาค้าทาย: ภมู ิปัญญาทางภาษาและการผสมผสานทางวฒั นธรรมใน ยุคโลกาภวิ ตั น์” ใน เพลง ดนตรี ปริศนา ผา้ ทอ: ภมู ปิ ญั ญาทางดา้ นการละเล่นและการช่าง [ดาริน อนิ ทรเ์ หมอื น บรรณาธกิ าร], 13-50. กรุงเทพฯ: ศนู ย์มานุษยวทิ ยาสริ นิ ธร. ส.พลายนอ้ ย. 2544. ตา้ นานผไี ทย. พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: น้าฝน. สตารพ์ กิ ส.์ 2551. \"ปืนใหญจ่ อมสลัด.\" สตารพ์ ิกส์ 58-65. สมเกียรติ จ้าลอง. 2547. “องค์ความรใู้ นการจดั การทรพั ยากรและสขุ ภาพของชาว “เมี่ยน” ใน นเิ วศวทิ ยา ชาติพนั ธุ์ ทรพั ยากรชีวภาพ และสิทธิชุมชน [ยศ สันตสมบตั ิ และคนอ่ืนๆ], 70- 112. เชียงใหม่: บรษิ ัท วทิ อนิ ดีไซน.์ สมทรง บรุ ุษพฒั น.์ 2538. สารานกุ รมชนชาติกยู . นครปฐม: สา้ นักงานวจิ ยั ภาษาและวฒั นธรรมเอเซยี อาคเนย์ สถาบันวจิ ัยภาษาและวฒั นธรรมเพื่อพฒั นาชนบท มหาวิทยาลยั มหิดล. สรศักด์ิ จนั ทรว์ ัฒนกุล. 2551. 30 ปราสาทขอม ในเมอื งพระนคร. กรงุ เทพฯ: เมืองโบราณ. สันติวฒั น์ จันทร์ใด. 2550. การใช้วัฒนธรรมท้องถ่นิ ภาคเหนือในการสรา้ งสรรค์นวนยิ ายของมาลา ค้าจนั ทร.์ วทิ ยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑติ สาขาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. สารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ภาคใต้. 2542. กรุงเทพฯ: มลู นิธสิ ารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ธนาคารไทย พาณิชย์. สารานุกรมวฒั นธรรมไทย ภาคเหนอื . 2542. กรงุ เทพฯ มลู นธิ ิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทย พาณชิ ย.์ สารานุกรมวฒั นธรรมไทย ภาคอีสาน. 2542. กรงุ เทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคาร ไทยพาณชิ ย.์ สกุ ญั ญา สจุ ฉายา. 2543. \"การสรา้ งชาตแิ ละทอ้ งถ่ินจากคตชิ น.\" วารสารภาษาและวรรณคดีไทย 17:95-106.
237 สุกญั ญา สุจฉายา. 2549. \"แถน แมน: เทพเทวาหรอื บรรพชนคนไท.\" วารสารอักษรศาสตร์ 35 (2):162-193. สุกญั ญา สจุ ฉายา. 2556. วรรณกรรมมขุ ปาฐะ. กรงุ เทพฯ: โครงการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ คณะ อกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุกัญญา สุจฉายา. 2557. วรรณคดนี ทิ านไทย. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: ส้านกั พิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. สกุ ลุ ภา วเิ ศษ. 2554. วรรณกรรมเยาวชนชดุ เซน็ จูรี ของปิแอรโ์ ดเมนโิ ค บัคคาลารโิ อ: วรรณกรรม แนวแฟนตาซกี บั นเิ วศน์สา้ นึก. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบณั ฑิต ภาควิชาวรรณคดี เปรียบเทยี บ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . สจุ ิตรา จงสถิตย์วัฒนา. 2544. พทุ ธธรรมในกวีนิพนธ์ไทยสมยั ใหม่. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ ผลงานวชิ าการ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สนุ ทร ณ รงั ษี. 2552. พทุ ธปรชั ญาจากพระไตรปิฎก. พิมพค์ ร้งั ที่ 4. กรงุ เทพฯ สา้ นักพิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุเนตร ชตุ นิ ธรานนท.์ 2556. พมา่ รบไทย: ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกบั พม่า. พิมพ์ครง้ั ที่ 12. กรุงเทพฯ: มตชิ น. สุรเดช โชตอิ ดุ มพันธ.์ 2551. \"การละเมิดกรอบจารีตสังคมในวรรณกรรมกอธกิ ไทย: กรณีศึกษาชนชน้ั และเพศสถานในปราสาทมืด.\" วารสารศลิ ปศาสตร์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 8 (2):44-111. สรุ เดช โชติอดุ มพันธ์. 2553. “โพสตโ์ มเดริ ์นกบั ประเด็นการศกึ ษาในวรรณกรรม” ใน BOOKMARX ฉบบั คยุ ข้ามคนื กับแดนอรญั แสงทอง. กรงุ เทพฯ: ผจญภัย. สรุ เดช โชติอดุ มพันธ์. 2559. ทฤษฎีวรรณคดวี จิ ารณต์ ะวนั ตกในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20. กรุงเทพฯ: ส้านักพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . สรุ เดช โชติอุดมพันธุ.์ 2557. “ทิศทางวรรณกรรมไทยหลงั ค.ศ. 2000: กรณีศึกษาเร่อื งส้ันและ นวนิยาย” ใน จะเก็บเกย่ี วข้าวงามในทุ่งใหม่: ประวัตวิ รรณกรรมไทยร่วมสมัยในมมุ มองรว่ ม สมยั [นทั ธนยั ประสานนามและสรณฐั ไตลังคะ บรรณาธกิ าร], 113 – 130. กรุงเทพฯ: ภาควชิ าวรรณคดแี ละคณะกรรมการฝา่ ยวจิ ัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสา้ นักงานศิลปวฒั นธรรมรว่ มสมยั กระทรวงวัฒนธรรม. เสฐียรโกเศศ. 2515. เมืองสวรรคแ์ ละผสี าง เทวดา. พระนคร: บรรณาคาร. เสมอชยั พูลสุวรรณ. 2552. รฐั ฉาน (เมืองไต): พลวัตของชาตพิ นั ธใุ์ นบรบิ ทประวตั ศิ าสตรแ์ ละสงั คม การเมืองรว่ มสมัย. กรงุ เทพฯ ศนู ยม์ านุษยวิทยาสริ นิ ธร.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271