Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คติชนในนวนิยาย

คติชนในนวนิยาย

Published by sukunyasopee, 2019-12-25 02:30:04

Description: คติชนในนวนิยาย

Keywords: คติชน

Search

Read the Text Version

คติชนในนวนิยายของพงศกร นายศรณั ยภ์ ัทร์ บุญฮก วิทยานพิ นธ์น้ีเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปริญญาอักษรศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ปกี ารศึกษา 2558 ลขิ สิทธิข์ องจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั

FOLKLORE IN PONGSAKORN'S NOVELS Mr. Saranpat Boonhok A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Arts Program in Thai Department of Thai Faculty of Arts Chulalongkorn University Academic Year 2015 Copyright of Chulalongkorn University

หวั ขอ้ วิทยานพิ นธ์ คตชิ นในนวนิยายของพงศกร โดย นายศรณั ย์ภทั ร์ บุญฮก สาขาวชิ า ภาษาไทย อาจารยท์ ีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ์หลัก อาจารย์ ดร.นา้ ผึ้ง ปทั มะลางคลุ อาจารย์ท่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธร์ ่วม ศาสตราจารย์สุกัญญา สจุ ฉายา คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อนมุ ัตใิ ห้นบั วทิ ยานพิ นธฉ์ บับน้เี ป็นสว่ นหนึ่ง ของการศกึ ษาตามหลกั สูตรปริญญามหาบณั ฑติ คณบดคี ณะอกั ษรศาสตร์ (รองศาสตราจารย์ ดร.กง่ิ กาญจน์ เทพกาญจนา) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ประธานกรรมการ (รองศาสตราจารย์ ดร.สจุ ติ รา จงสถิตยว์ ัฒนา) อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาวิทยานพิ นธ์หลกั (อาจารย์ ดร.น้าผงึ้ ปทั มะลางคลุ ) อาจารยท์ ป่ี รึกษาวิทยานพิ นธ์รว่ ม (ศาสตราจารยส์ ุกญั ญา สุจฉายา) กรรมการ (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารวุ ร) กรรมการภายนอกมหาวทิ ยาลยั (ศาสตราจารย์ ดร.ร่ืนฤทัย สจั จพันธ์)ุ

ง ศรัณย์ภัทร์ บุญฮก : คติชนในนวนิยายของพงศกร (FOLKLORE IN PONGSAKORN'S NOVELS) อ.ที่ ปรึกษาวทิ ยานพิ นธห์ ลัก: อ. ดร.น้าผ้ึง ปัทมะลางคลุ , อ.ทปี่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ์ร่วม: ศ.สกุ ญั ญา สจุ ฉายา, { ย 258 หน้า. บทค ดั ย ่อ ภาษาไท งานวิจัยน้ีมุ่งศึกษาข้อมูลเชิงคติชนและวิเคราะห์กลวิธีการน้าข้อมูลเชิงคติชนมาประกอบสร้างเป็น นวนยิ ายจากผลงานของพงศกร 8 เร่ือง ไดแ้ ก่ เบอ้ื งบรรพ์ สรอ้ ยแสงจันทร์ ฤดูดาว วงั พญาพราย กหุ ลาบรัตตกิ าล คชาปุระ นครไอยราและเคหาสน์นางคอย ผลการวิจัยพบว่า พงศกรประกอบสร้างข้อมูลเชิงคติชนจากข้อมูลหลาย ประเภท ไดแ้ ก่ เร่อื งเล่าพ้นื บ้าน ความเช่อื และขนบธรรมเนยี มพ้ืนบ้าน วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย ประวตั ิศาสตร์ และข้อมูลเบ็ดเตล็ดอ่ืนๆ โดยพงศกรใช้ข้อมูลเหล่าน้ีเป็นฐานแล้วจินตนาการต่อยอดอย่างสมจริงและน้าเสนอเป็น เร่อื งเล่าเชิงคติชนท่ีแทรกอยู่ในนวนยิ าย เรอ่ื งเล่าเชิงคติชนท่ีแทรกอยู่นี้มเี น้ือหาสัมพันธ์กับการลงโทษที่มาจากการ กระทา้ ผิดของมนุษย์ การบง่ บอกความเป็นมาของคนและชมุ ชน และการอยู่รว่ มกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน พงศกรน้าเอาข้อมูลเชิงคติชนมาเป็นองคป์ ระกอบสา้ คญั ในการประกอบสร้างนวนยิ าย ทั้งในด้านของการ สรา้ งโครงเร่ือง ตวั ละคร และฉาก นวนิยายของพงศกรมโี ครงเร่ืองหลักทีเ่ น้นการเดินทางเพื่อหาค้าตอบของชีวิต โดย ความขัดแย้งในเร่ืองเล่าเชิงคติชนที่แทรกอยู่ในนวนิยายเป็นส่วนส้าคัญต่อการสร้างความขัดแย้งในโครงเร่ืองหลกั ด้านการประกอบสร้างตัวละคร การเดินทางท้าให้ตัวละครผู้เดินทางได้เรียนรู้ค้าตอบจากปฏิสัมพันธ์กับตัวละคร ผู้อาศัยในพ้ืนท่ี โดยตัวละครผู้เดินทางมักกลับชาตมิ าเกิดจากตัวละครในเร่ืองเล่าเชิงคติชนที่แทรกอยู่ในเร่ือง ส่วน ตวั ละครที่อาศัยในพื้นทซี่ ึง่ สว่ นใหญ่มีลกั ษณะลึกลบั เหนือธรรมชาตมิ ักมที ่ีมาจากตัวละครในเรื่องเลา่ เชิงคติชนเช่นกัน ด้านการประกอบสร้างฉาก นวนิยายของพงศกรมักน้าเสนอฉากสถานที่ห่างไกลซึ่งสร้างจากเรื่องเล่าเชิงคติชนที่ แทรกอยใู่ นเรือ่ ง เพอื่ เปน็ พื้นที่ให้ตัวละครเอกเกดิ การเรยี นรู้ สว่ นฉากเวลาเปน็ จดุ เชื่อมต่อโลกปจั จบุ ันกับโลกในเรื่อง เลา่ เชงิ คตชิ นเข้าด้วยกัน นอกจากน้ี โครงสร้างของเรื่องราวในนวนิยายของพงศกรยงั สะท้อนแบบแผนการเดินทาง ของวรี บุรษุ ในโครงสร้างเร่อื งเลา่ ปรมั ปราด้วย การนา้ ข้อมูลเชิงคติชนมาประกอบสร้างนวนิยายของพงศกรยังสัมพันธ์กับการน้าเสนอแนวคิดหลักสาม ประการ ประการแรก เหตกุ ารณ์เกี่ยวกับการลงโทษ ตลอดจนตัวละครและฉากท่ีมาจากเร่ืองเล่าเชงิ คติชนเป็นสื่อท่ี เน้นย้าแนวคิดเก่ียวกับค้าสอนทางพุทธศาสนาเรอ่ื งกิเลสเป็นเหตุแห่งทกุ ข์และกรรมเป็นเครอ่ื งก้าหนดความเป็นไป ประการท่ีสอง ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรแสดงให้เห็นภูมิปัญญาของกลุ่มชนชาติพันธ์ุท่ีพงศกรได้น้า ภูมิปัญญาน้ันมาแก้ไขปัญหาในเรอ่ื งเม่ือวิทยาศาสตรเ์ กิดขีดจ้ากัด เพื่อเสนอแนวคิดการแสดงคุณค่าของวัฒนธรรม พน้ื บา้ น ประการสดุ ท้าย พงศกรใชข้ อ้ มลู เชิงคติชนเพ่ือเสนอแนวคิดเกี่ยวกับสภาพสงั คมปัจจุบันและเสนอทางออก ของปัญหาที่สังคมเผชิญอยู่ในสองประเด็น ประเด็นแรก พงศกรใช้แบบอย่างของการอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติจาก ขอ้ มูลเชิงคติชนเพ่ือเสนอแนะทางออกจากภัยธรรมชาติ ประเดน็ ท่สี อง พงศกรใช้นยั ยะของข้อมูลเชิงคติชนท่ีแสดง รากทางวัฒนธรรมและความเป็นมาทย่ี าวนานมาตอบสนองต่อกระแสโหยหาอดตี ของผู้คนในยุคโลภาภิวตั น์ ภาควิชา ภาษาไทย ลายมอื ช่อื นสิ ิต สาขาวิชา ภาษาไทย ลายมอื ชอื่ อ.ท่ีปรกึ ษาหลัก ปกี ารศึกษา 2558 ลายมือชอ่ื อ.ทป่ี รกึ ษาร่วม

จ # # 5680156322 : MAJOR THAI KEYWORDS: PONGSAKORN'S NOVELS / FOLKLORE IN NOVELS / THAI NOVEL / FOLKLORE IN CONTEMPORARY WORLD SARANPAT BOONHOK: FOLKLORE IN PONGSAKORN'S NOVELS. ADVISOR: NAMPHUENG PADAMALANGULA, บทค ัดย ่อ ภาษาอ งั กฤ ษ Ph.D., CO-ADVISOR: PROF.SUKANYA SUJACHAYA, 258 pp. { This thesis aims to study the folk elements and to analyze their parts in constructing Pongsakorn’s eight selected novels which are Beung Ban, Soi Sang Chan, Rudoo Daow, Wang Paya Prai, Kularp Rattikarn, Gaja Pura, Nakorn Aiyara, and Kehat Nang Koi. The research result shows that Pongsakorn not only uses varied folk narratives, folk beliefs and customs but also includes literary texts, historical and many miscellaneous categories to construct his novels. The folk elements in the novels are mostly inspired by the existing sorts combining with the author’s imagination. Folklore in Pongsakorn’s novels is presented as an ‘inserted narratives’ displaying three messages involving the punishments from people’s wrong doings, explanations of the origins of people and places, and suggestions to live in harmony with nature. Folk elements are the main components in constructing plots, characters, and settings of Pongsakorn’s novels. In terms of plot, the novels are narrated through journeys of the main characters to fulfill their curiosity. The conflicts resulting from punishments in folk narratives inserted in the novels play important parts in constructing the main plots of the novels. In addition, the journeys divide characters into two groups: the ‘outer’ and the ‘inner’ characters. These two groups are categorized according to their interactions with places. All main characters are the ‘outer’ ones who reincarnated from the characters in folk narratives inserted in the novels. As for the ‘inner’ ones, Pongsakorn uses folk narratives, beliefs and customs to construct the supernatural characters in leading the main characters to discover their answers. To oblige credibility, Pongsakorn creates settings in faraway places and every place has its own folk narratives behind it. These settings also represent the places of discovery for the main characters as well as the space where the characters in the present time meet with the characters and events from the folk narratives. Besides, the result of this research significantly demonstrates the mythic structure of the hero’s journey through the structure of the novels. The folk elements used in these novels also represent three main themes. Firstly, they represent Buddhist concepts concerning kilesa as a source of sufferings and the consequences of kamma. To present these concepts, Pongsakorn uses folk elements as symbols of kilesa via characters and settings. He also highlights the ‘punishment’ in folk narratives and the ways it is changed to ‘forgiveness’. Secondly, the novels underline the values of folk culture by portraying many ethnic groups in Thailand with positive images and illustrate the function of folklore in maintaining the culture of these ethnic groups. Pongsakorn also views folklore as local wisdoms that can help solve the problems while science and modern knowledge could not. Finally, Pongsakorn’s novels not only reflect problems in the contemporary period but also propose solutions to those problems. The novels illustrate the environmental crisis and give suggestions to the reader to live harmoniously with nature according to the folklores’ morals. At the same time, the novels also imply that Thai society has been changed by the globalization resulting in a so-called ‘identity crisis’ among Thai people. By emphasizing the values of folklore and its significance in asserting the wisdom and the root of community, Pongsakorn’ s novels serve the needs for ‘nostalgic sentiments’ of those who live in the globalized time. Department: Thai Student's Signature Field of Study: Thai Advisor's Signature Academic Year: 2015 Co-Advisor's Signature

ฉ กติ ตกิ รรมประกาศ วิทยานิพนธ์มิใช่งานเดี่ยวทีจ่ ะส้าเร็จไปได้ด้วยตัวผวู้ ิจยั เพียงคนเดียว วิทยานิพนธ์ฉบับน้ีนับว่าลุล่วงไปได้ดว้ ยความรกั ความ เมตตาและการช่วยเหลือจากหลายท่านทท่ี ้าให้ผ้วู ิจัยสามารถผ่านทัง้ ปัญหาที่เคยคาดคะเนไว้และอุปสรรคทีไ่ ม่คาดฝันไปได้ บุคคลแรก คือ ก ิต ตกิ รรมประก าศ อาจารย์ ดร.น้าผึ้ง ปัทมะลางคลุ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ์หลกั “ครู” เป็นก้าลังส้าคัญที่ทา้ ใหใ้ หว้ ิทยานิพนธ์เล่มน้ีปรากฏข้ึน ครูเป็นผู้ ชแ้ี นะแนวทาง เปน็ กา้ ลงั ใจที่เช่อื มน่ั ในตวั ผู้วิจยั ครูเอาใจใส่อยา่ งใกล้ชดิ และใหอ้ สิ ระทางความคิดแก่ผ้วู จิ ัยไดล้ องผิดลองถูก พรอ้ มตัง้ คา้ ถามท่ี เฉยี บคมเพือ่ ชชี้ อ่ งโหวข่ องงาน จนเมื่อใดผู้วิจัยหาทางออกไมพ่ บ ครูจะเปน็ ผชู้ ท้ี างออกเสมอ ผูว้ ิจัยจงึ ขอกราบพระคณุ ครูมา ณ โอกาสน้ี ผู้วจิ ัยขอกราบขอบพระคุณ ศาสตราจารยส์ กุ ัญญา สจุ ฉายาทกี่ รุณารับเปน็ อาจารย์ที่ปรึกษาวทิ ยานิพนธร์ ่วม ครูให้ความรู้และ ไขข้อข้องใจต่างๆ เกยี่ วกบั คตชิ นวิทยาอย่างกระจา่ งชัด พรอ้ มให้ขอ้ เสนอแนะท่ีมีค่าต่อการพฒั นางานอยา่ งดียิ่ง ครูยงั อบรมส่งั สอน ใหค้ วาม เมตตา คอยชว่ ยเหลอื และใหโ้ อกาสผวู้ จิ ัยเสมอ ผู้วจิ ยั รูส้ ึกซาบซง้ึ ในพระคณุ ครอู ย่างสงู ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา ประธาน กรรมการสอบท่เี มตตาผ้วู ิจยั พรอ้ มมอบข้อเสนอแนะและคา้ สอนทีม่ ีค่าเพ่ือปรบั แก้วิทยานพิ นธ์ ศาสตราจารย์ ดร.ร่ืนฤทัย สัจจพนั ธุ์ ทีก่ รุณารบั เป็นกรรมการสอบวิทยานพิ นธ์ ตลอดจนมอบท้ังค้าแนะน้าและก้าลังใจที่มีคา่ ยิง่ แกผ่ วู้ ิจัย และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารุวร ท่ีให้ ขอ้ เสนอแนะและฝากขอ้ คิดให้ผ้วู ิจัยพฒั นาวิทยานพิ นธใ์ ห้ดีทสี่ ุด ผู้วิจยั ขอกราบขอบพระคณุ คณาจารย์ในภาควิชาภาษาไทยทีบ่ ่มเพาะความรู้ ฝกึ ฝนทกั ษะทางวชิ าการ อบรมสั่งสอน มอบโอกาส และความเมตตาแก่ผูว้ จิ ยั มาโดยตลอด องคค์ วามร้ทู ั้งภาษา วรรณคดแี ละคติชนวทิ ยาท่ีไดร้ บั นับเปน็ แรงบนั ดาลใจสา้ คัญให้ผู้วจิ ัยน้ามาพัฒนา เปน็ ในวิทยานพิ นธเ์ ลม่ น้ี ผู้วิจัยจงึ ขอขอบพระคณุ ครูทกุ ทา่ นมา ณ โอกาสน้ี ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณอาจารย์อีกหลายท่านท่ีแม้มิได้สอนมาโดยตรง แต่เป็นส่วนส้าคัญในชีวิตผู้วิจัย ได้แก่ ผู้ช่วย ศาสตราจารยส์ รรควัฒน์ ประดษิ ฐพงษ์ทีเ่ ปน็ “ครูผอู้ ารี” กับผูว้ ิจยั ต้ังแต่เปน็ นิสิตปรญิ ญาตรีเร่อื ยมา ครูให้โอกาส ใหข้ อ้ คิด มอบความรกั ความ เข้าใจแก่ผู้วิจยั โดยไมห่ วังผลตอบแทน ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐนนั ท์ คณุ มาศท่ีมอบโอกาสและชว่ ยเหลือผ้วู จิ ยั ตงั้ แต่รู้จกั กนั ผู้วจิ ัยขอขอบพระคณุ โครงการสู่ความเป็นเลิศด้านภาษาและวรรณคดีไทย คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ที่มอบ ทนุ อดุ หนนุ การศึกษาในระดับบัณฑิตศกึ ษาแก่ผวู้ จิ ัย ผู้วิจยั ขอขอบพระคุณนายแพทยพ์ งศกร จินดาวฒั นะทสี่ ร้างสรรคผ์ ลงานคุณภาพจนเป็นแรงบันดาลใจให้เกิดวทิ ยานิพนธ์เล่มนี้ รวมถึงขอบพระคุณทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้วิจยั สัมภาษณแ์ ละซักถามอยา่ งละเอยี ดซึง่ นับเปน็ ประโยชน์ต่อวิทยานิพนธ์ช้นิ นีอ้ ยา่ งสงู ผู้วิจัยขอขอบคณุ เจ้าหนา้ ท่หี ลายหน่วยงานท่ีอ้านวยความสะดวกแกผ่ ู้วจิ ัยอย่างดี ทั้งเจ้าหน้าท่ภี าควิชาภาษาไทย งานบรกิ าร การศกึ ษา ศนู ย์สารนเิ ทศมนษุ ยศาสตร์ โดยเฉพาะคณุ บุษกร ธรณีท่ีกรุณารับเปน็ ธรุ ะจัดหาตัวบทนวนยิ ายของพงศกรอย่างครบถ้วน ผู้วิจัยขอขอบคณุ อาจารยจ์ ันทร์สดุ า ไชยประเสรฐิ และคณุ ชนัญชิดา บุญเหาะทก่ี รณุ าสละเวลาพสิ จู นอ์ กั ษรและชว่ ยตรวจทาน ขอ้ ผดิ พลาดในวทิ ยานพิ นธฉ์ บับนใี้ ห้มขี อ้ ผดิ พลาดน้อยท่ีสดุ ตลอดจนช่วยเหลือผู้วจิ ัยในหลายคราวอยา่ งเตม็ ที่ ผู้วิจยั ขอขอบคุณเพอื่ นทีค่ อยเคียงข้าง โดยเฉพาะคณุ วรรณศลิ ป์ เยาวหลี คณุ นกั รบ มูลมานัส คณุ สธุ ีรา บนุ นาค คณุ สทุ ธนิ ี ตันติ แสงอรุณ คุณบุญศิริ จุติด้ารงค์พนั ธ์ คุณอนันท์ พรหมดิเรก คุณปณธาน ทองบุญอยู่ ขอขอบคุณเพ่ือนปรญิ ญาโท สายวรรณคดี ได้แก่ คุณ วิลาสินี อนิ ทวงส์ คุณนชิ านนั ทน์ นันทศิรสิ รณ์ คุณณฐั วฒั น์ อนิ ทรภ์ กั ดี คณุ ณัฐกานต์ พลพทิ กั ษ์ คณุ วิรจุ นา ประสารทรัพย์ ที่ร่วมเรียน ร่วมลง แรงกายและใหแ้ รงใจมาดว้ ยกนั ขอขอบคุณอาจารย์ประสงค์ชัย เศรษฐสุรวิชญ์ กัลยาณมิตรที่หวังดีและให้ความช่วยเหลือแกผ่ ู้วิจัยอยา่ งไร้ ข้อแม้เสมอ และขอขอบใจคณุ ณฐั วฒุ ิ แสงพนั ธ์กบั คุณสริ ีมาศ มาศพงศท์ ่คี อยรับฟงั ปญั หาและหว่ งใยผวู้ ิจัย ผู้วิจัยขอขอบคุณครอบครัว ได้แก่ คุณพ่อสุทีปกบั คุณแม่เพ็ญจนั ทร์ บุญฮก และคุณณัฐพัทธ์ บุญฮก น้องชาย ท่ีเข้าใจ เป็น กา้ ลงั ใจ คอยรับฟัง ให้ค้าชี้แนะและเฝ้ารอเห็นความส้าเรจ็ ของผู้วิจัยอย่างอดทน เพราะตลอดทางดแู ต่ละอยา่ งไมง่ า่ ยดายเอาเสียเลย ทา้ ยทส่ี ุด ชวี ิตผูว้ จิ ยั ตลอด 7 ปีที่ผา่ นมาในคณะอักษรศาสตร์นบั เป็นช่วงเวลาที่มีความหมาย เพราะคณะอักษรศาสตรไ์ ม่เพียง มอบ “ความรู้” ซง่ึ เปิดโลกใหม่ เปลี่ยนความคิดและปรบั มุมมองแกผ่ ู้วจิ ัยเท่านน้ั หากคณะยังมอบ “ความรกั ” จากคณาจารย์ เพอ่ื น พ่ี นอ้ ง อย่างท่ีไม่อาจพรรณนาได้ครบถ้วนในหน้ากระดาษนี้ ผู้วิจัยจึงขอขอบคุณทงั้ บทเรียนและบททดสอบต่างๆ ท่ีคณะอักษรศาสตร์ “ประกอบ สรา้ ง” ใหก้ ลายเปน็ ผวู้ จิ ัยดงั เชน่ ทุกวนั นี้

สารบญั หน้า บทคัดย่อภาษาไทย.............................................................................................................................ง บทคัดยอ่ ภาษาองั กฤษ....................................................................................................................... จ กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................. ฉ สารบญั .............................................................................................................................................. ช สารบัญตาราง.................................................................................................................................... ฏ สารบญั ภาพ........................................................................................................................................ฐ บทที่ 1 บทน้า ................................................................................................................................... 1 1.1 ความเปน็ มาและความสา้ คญั ของปญั หา................................................................................. 1 1.2 วตั ถุประสงค์การวิจัย.............................................................................................................. 7 1.3 ขอบเขตการวิจยั .................................................................................................................... 7 1.4 สมมตฐิ านการวจิ ยั ................................................................................................................. 8 1.5 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั ..................................................................................................... 8 1.6 ขั้นตอนการดา้ เนนิ การวจิ ัย..................................................................................................... 8 1.7 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง.............................................................................................. 8 1.7.1 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ศี กึ ษานวนยิ ายของพงศกร ......................................................... 9 1.7.2 เอกสารและงานวจิ ยั ทศ่ี ึกษาการน้าขอ้ มลู คติชนมาใช้ในวรรณกรรมปจั จุบัน............... 11 1.8 ขอ้ ตกลงเบื้องต้น.................................................................................................................. 15 บทท่ี 2 ขอ้ มลู เชิงคตชิ นในนวนิยายของพงศกร................................................................................ 17 2.1 ความหมายของคติชน ข้อมูลคติชนและข้อมลู เชิงคติชน....................................................... 17 2.1.1 ความหมายของ “คติชน” และลักษณะของ “ขอ้ มลู คตชิ น”...................................... 17 2.1.2 ความหมายและลกั ษณะของ “ข้อมลู เชิงคติชน”........................................................ 19 2.2 ประเภทของข้อมลู ท่ีพงศกรใชใ้ นการประกอบสร้างข้อมลู เชิงคตชิ น ..................................... 23

ซ หน้า 2.2.1 ข้อมลู ประเภทเรือ่ งเลา่ พืน้ บา้ นและอนุภาคจากเรอื่ งเล่าพ้ืนบา้ น ................................ 23 2.2.1.1 นทิ านผาแดงนางไอใ่ นเบื้องบรรพ์................................................................. 23 2.2.1.2 นทิ านปราสาทหินจากกมั พูชาในสร้อยแสงจันทร์.......................................... 25 2.2.1.3 ต้านานน้าท่วมโลกและตา้ นานปรมั ปรากรกี ในคชาปรุ ะและนครไอยรา......... 26 2.2.1.4 อนุภาคหญงิ สาวกลายรา่ งเปน็ ดอกไมใ้ นฤดดู าวและกหุ ลาบรัตตกิ าล ............ 32 2.2.1.5 อนภุ าคเมอื งลม่ ในฤดูดาวและวังพญาพราย.................................................. 35 2.2.2 ข้อมลู ประเภทความเช่อื และขนบธรรมเนียมพืน้ บา้ น ................................................. 37 2.2.2.1 ความเชอื่ และพิธีกรรมของกลมุ่ ชาติพนั ธ์กุ ูยในสรอ้ ยแสงจันทร์ ..................... 37 2.2.2.2 ความเชื่อและพิธีกรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธเุ์ ยา้ ในฤดูดาว.................................. 41 2.2.2.3 ความเช่ือเรอื่ งแถนในฤดดู าว ........................................................................ 43 2.2.2.4 ความเชอ่ื เรอ่ื งผีพรายในวงั พญาพราย คชาปรุ ะและนครไอยรา..................... 44 2.2.2.5 ความเชือ่ เรื่องบงั บดในสร้อยแสงจนั ทร์......................................................... 46 2.2.3 ขอ้ มูลประเภทวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย .............................................................. 47 2.2.3.1 วรรณคดีเรื่องผาแดงนางไอ่ฉบับลายลักษณ์ในเบอ้ื งบรรพ์............................. 47 2.2.3.2 นกจโกระจากนทิ านเวตาลในสรอ้ ยแสงจนั ทร์............................................... 49 2.2.3.3 อทิ ธิพลจากมทั นะพาธาในฤดดู าวและกุหลาบรตั ตกิ าล................................. 51 2.2.3.4 การอ้างองิ วรรณคดหี ลายเรอื่ งในคชาปรุ ะและนครไอยรา............................. 53 2.2.3.5 อทิ ธพิ ลจากนวนิยายของวนิ ทร์ เลยี ววาริณในเคหาสน์นางคอย .................... 55 2.2.4 ขอ้ มูลประเภทประวตั ิศาสตร์ ..................................................................................... 56 2.2.4.1 ประวัติศาสตรก์ ารต่อสูข้ องไทใหญ่ในกหุ ลาบรัตตกิ าล................................... 56 2.2.4.2 ประวตั ิศาสตรท์ วารวดใี นวังพญาพราย......................................................... 58 2.2.5 ข้อมลู ประเภทเบ็ดเตล็ด............................................................................................. 60 2.2.5.1 บนั ทกึ เกย่ี วกบั ดอกไมใ้ นป่าแอมะซอนในฤดูดาว........................................... 60

ฌ หน้า 2.2.5.2 ต้าราคชศาสตรแ์ ละของวเิ ศษเกย่ี วกับช้างในคชาปรุ ะและนครไอยรา............ 60 2.3 การประกอบสร้างและการน้าเสนอข้อมลู เชิงคตชิ นในนวนยิ ายของพงศกร........................... 67 2.3.1 กลวธิ กี ารประกอบสร้างข้อมลู เชิงคติชน..................................................................... 67 2.3.1.1 การใช้ข้อมูลเดมิ โดยตรงมาเป็นแกนหลักของนวนยิ าย.................................. 67 2.3.1.2 การใชข้ อ้ มูลเดมิ บางส่วนแทรกในองคป์ ระกอบของนวนิยาย ........................ 67 2.3.1.3 การสรา้ งข้อมลู เชิงคติชนจากจนิ ตนาการทต่ี ่อยอดขอ้ มูลเดมิ ........................ 68 2.3.1.4 การสร้างความเป็นไปได้ให้แกข่ ้อมลู เชงิ คติชน .............................................. 70 2.3.2 การน้าเสนอขอ้ มลู เชงิ คติชนในนวนยิ ายของพงศกร ................................................... 72 2.3.2.1 การนา้ เสนอเป็นเรอ่ื งเล่าเชิงคตชิ นที่อธิบายความเปน็ มาของสถานท่ี............ 72 2.3.2.2 การนา้ เสนอเปน็ เรือ่ งเลา่ เชงิ คติชนทสี่ ัมพันธก์ บั ตา้ นานและความเชื่อ ........... 74 2.3.2.3 การนา้ เสนอเป็นเรือ่ งเลา่ เชงิ คติชนทส่ี มั พันธ์กบั ครอบครัวของตัวละคร......... 78 บทท่ี 3 การนา้ ข้อมลู เชงิ คติชนมาประกอบสรา้ งเป็นนวนยิ ายของพงศกร ........................................ 81 3.1 การนา้ ขอ้ มูลเชิงคตชิ นมาประกอบสรา้ งโครงเร่ือง ................................................................ 81 3.1.1 โครงเรอื่ งหลกั ในนวนยิ ายของพงศกร......................................................................... 81 3.1.2 การใช้เหตกุ ารณก์ ารลงโทษในเรอ่ื งเลา่ เชงิ คติชนสร้างความขดั แยง้ ในโครงเรือ่ งหลกั .. 85 3.1.2.1 การลงโทษเปน็ สาเหตุของความขัดแย้งในโครงเรื่องหลัก .............................. 86 3.1.2.2 การลงโทษเปน็ การเกรน่ิ การณส์ คู่ วามขัดแยง้ ในโครงเรอ่ื งหลกั ..................... 90 3.1.3 การใช้เร่อื งเลา่ เชงิ คตชิ นสรา้ งโครงเรื่องใหซ้ บั ซ้อนและน่าติดตาม............................... 96 3.2 การน้าข้อมูลเชิงคตชิ นมาประกอบสรา้ งตัวละคร................................................................101 3.2.1 ขอ้ มูลเชงิ คตชิ นกับการสร้างตัวละครผเู้ ดินทาง.........................................................102 3.2.1.1 ลกั ษณะและบทบาทของตวั ละครผเู้ ดนิ ทาง ................................................102 3.2.1.2 การสรา้ งตวั ละครเอกกลับชาติมาเกดิ จากเรือ่ งเล่าเชิงคติชน.......................108 3.2.2 ข้อมูลเชิงคติชนกบั การสร้างตัวละครผ้อู าศัยในพ้นื ที่ ................................................112

ญ หน้า 3.2.2.1 ลักษณะและบทบาทของตวั ละครผอู้ าศยั ในพ้ืนที่........................................112 3.2.2.2 การสร้างตวั ละครลกึ ลบั เหนือธรรมชาติจากเรื่องเลา่ เชิงคติชน....................120 3.2.2.3 การสรา้ งตัวละครสื่อกลางทางจิตวญิ ญาณจากเรือ่ งเล่าเชงิ คติชน................126 3.2.2.4 การสรา้ งตวั ละครทส่ี ัมพนั ธ์กบั ช้างจากเรอ่ื งเลา่ เชงิ คตชิ น ...........................127 3.3 การน้าขอ้ มลู เชิงคติชนมาประกอบสรา้ งฉาก ......................................................................132 3.3.1 ขอ้ มูลเชงิ คตชิ นกับการประกอบสรา้ งฉากสถานที่ ....................................................133 3.3.1.1 ลักษณะและบทบาทของฉากสถานที่..........................................................133 3.3.1.2 การสรา้ งฉากสถานทเ่ี พอื่ นา้ ไปสกู่ ารเรียนรูจ้ ากเรอ่ื งเล่าเชงิ คตชิ น...............143 3.3.2 ขอ้ มูลเชงิ คตชิ นกับการประกอบสร้างฉากเวลา ........................................................149 3.3.2.1 ลักษณะและบทบาทของฉากเวลา ..............................................................149 3.3.2.2 การสรา้ งฉากเวลาเป็นจดุ เช่อื มต่อโลกปจั จบุ นั กบั โลกในเร่ืองเลา่ เชงิ คตชิ น .152 บทท่ี 4 ความสัมพันธ์ระหวา่ งข้อมลู เชงิ คตชิ นกบั แนวคิดหลกั ในนวนยิ ายของพงศกร.....................161 4.1 ความสัมพนั ธ์ระหว่างขอ้ มูลเชงิ คตชิ นกบั แนวคดิ เก่ยี วกบั ค้าสอนทางพุทธศาสนา ...............161 4.1.1 ข้อมลู เชิงคตชิ นกับการน้าเสนอแนวคดิ เรื่องกเิ ลสเป็นเหตุแห่งทกุ ข์..........................162 4.1.1.1 แนวคดิ เร่ืองกิเลสเป็นเหตุแหง่ ทกุ ข์.............................................................162 4.1.1.2 การใช้ตัวละครและฉากจากเรอื่ งเล่าเชงิ คตชิ นเปน็ สญั ลกั ษณข์ องกเิ ลส.......166 4.1.2 ข้อมูลเชงิ คติชนกบั การน้าเสนอแนวคิดเรอ่ื งกรรมกา้ หนดความเปน็ ไป .....................170 4.1.2.1 แนวคดิ เรอื่ งกรรมก้าหนดความเป็นไป........................................................170 4.1.2.2 การใช้การลงโทษในเรอ่ื งเลา่ เชิงคติชนเพือ่ น้าเสนอแนวคดิ เรอื่ งกรรม .........172 4.2 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งข้อมลู เชิงคตชิ นกบั แนวคดิ การแสดงคณุ คา่ วฒั นธรรมพน้ื บ้าน...........176 4.2.1 ข้อมลู เชงิ คตชิ นกับการนา้ เสนอแนวคดิ เชิดชูภูมปิ ญั ญาทเี่ ท่าเทียม...........................176 4.2.1.1 แนวคดิ เรือ่ งการเชดิ ชูภูมปิ ญั ญาท่ีเท่าเทียม.................................................176 4.2.1.2 การน้าข้อมูลเชงิ คติชนมาแสดงถงึ ภูมปิ ัญญาของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ ...................185

ฎ หน้า 4.2.2 ข้อมูลเชงิ คติชนกับการน้าเสนอแนวคดิ เรือ่ งการเปดิ รบั ความรู้ทหี่ ลากหลาย ............188 4.2.2.1 แนวคดิ เร่อื งการเปิดรับความรทู้ หี่ ลากหลาย...............................................188 4.2.2.2 การเทียบเคยี งขอ้ มูลเชิงคติชนกบั วทิ ยาศาสตร์เพือ่ เสนอการเปิดรับ ...........194 4.3 ความสมั พันธร์ ะหว่างข้อมลู เชิงคตชิ นกบั แนวคิดเก่ยี วกบั สภาพสงั คมปจั จุบัน.....................198 4.3.1 ข้อมูลเชงิ คติชนกบั การนา้ เสนอแนวคิดเกี่ยวกบั ปญั หาสง่ิ แวดล้อม...........................198 4.3.1.1 แนวคดิ ปอ้ งกันภัยธรรมชาตดิ ว้ ยการอยรู่ ่วมกับธรรมชาติ............................198 4.3.1.2 การใชบ้ ทเรียนจากข้อมลู เชงิ คติชนเพื่อหันมาอยรู่ ว่ มกับธรรมชาติ..............203 4.3.2 ข้อมลู เชิงคตชิ นกบั การนา้ เสนอแนวคิดเกีย่ วกบั การโหยหาอดีต...............................205 4.3.2.1 แนวคิดเก่ียวกบั การโหยหาอดตี ในกระแสโลกาภิวตั น์ .................................206 4.2.2.2 การน้าข้อมูลเชิงคตชิ นมาแสดงถงึ รากทางวัฒนธรรมของคนในปจั จบุ ัน ......211 บทท่ี 5 บทสรปุ .............................................................................................................................216 5.1 สรุปผลการวจิ ยั ..................................................................................................................216 5.1.1 ผลการศึกษาข้อมลู เชิงคติชนในนวนยิ ายของพงศกร ................................................216 5.1.2 ผลการวิเคราะหก์ ารนา้ ข้อมลู เชงิ คตชิ นมาประกอบสรา้ งเป็นนวนยิ าย......................217 5.2 อภิปรายผลการวจิ ยั ...........................................................................................................222 5.2.1 การสร้างสรรคจ์ ากการสบื ทอดวรรณกรรมไทยในนวนิยายของพงศกร.....................222 5.2.2 คติชนในนวนิยายของพงศกรกบั การต่อเตมิ ประวตั ิวรรณกรรมไทย..........................226 5.3 ขอ้ เสนอแนะ......................................................................................................................230 รายการอ้างองิ ...............................................................................................................................231 ภาคผนวก...................................................................................................................................... 241 ภาคผนวก ก ประวัติและผลงานของพงศกร ............................................................................242 ภาคผนวก ข ข้อมลู เบอ้ื งตน้ และเร่ืองยอ่ นวนิยายของพงศกรท่นี า้ มาศกึ ษา..............................245 ประวัติผเู้ ขียนวิทยานิพนธ์ .............................................................................................................258

ฏ สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1 สรปุ ประเภทขอ้ มลู ท่ีพงศกรน้ามาประกอบสร้างขอ้ มลู เชงิ คตชิ นในนวนยิ าย .............. 66 ตารางท่ี 2 ข้อมูลเชงิ คติชนทพ่ี งศกรสรา้ งจากการตอ่ ยอดข้อมลู เดิมกับจนิ ตนาการ...................... 69 ตารางท่ี 3 อนภุ าคทป่ี รากฏซ้าในเรื่องเล่าเชงิ คตชิ นทอ่ี ธิบายความเปน็ มาของสถานท่ใี น นวนิยายของพงศกร................................................................................................... 73 ตารางท่ี 4 แสดงเหตกุ ารณ์วนกลบั จากเร่ืองเล่าเชิงคตชิ นท่ีปรากฏแทรกในโครงเรือ่ งหลัก ของนวนยิ าย .............................................................................................................. 94 ตารางท่ี 5 แสดงบทบาทของตัวละครเอกท่ีสบั เปลี่ยนเมื่อกลบั ชาติมาเกดิ .................................111

ฐ สารบัญภาพ ภาพท่ี 1 ปราสาทปกั ษจี า้ กรง เมอื งเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ....................................................... 26 ภาพท่ี 2 แผนที่การต้งั ถิ่นฐานของชาวกยู ในบริเวณประเทศไทย กมั พชู าและลาว .......................... 38 ภาพที่ 3 แผนทแ่ี สดงที่ต้งั เมอื งยองหว้ ยและการโยกย้ายถนิ่ ฐานเขา้ สไู่ ทยของตัวละครใน กุหลาบรตั ติกาล.............................................................................................................. 57 ภาพที่ 4 ดอกแสงเดือนในบนั ทึกการเดนิ ทางของมารก์ าเร็ต มี....................................................... 60 ภาพที่ 5 ชา้ งอบุ ลมาลีในต้าราคชศาสตร์........................................................................................ 62 ภาพที่ 6 ช้างสงั ขทนั ตใ์ นต้าราคชศาสตร์........................................................................................ 63 ภาพท่ี 7 แผนภาพแสดงทิศทางในโครงเรอ่ื งหลักของนวนิยายพงศกร............................................ 82 ภาพที่ 8 แผนภาพแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งการลงโทษในเรอื่ งเลา่ เชงิ คตชิ นกบั โครงเรือ่ งหลัก ของนวนิยาย.................................................................................................................... 95 ภาพที่ 9 แผนภาพแสดงทศิ ทางการเลา่ เรอื่ งในโครงเรื่องหลกั กบั การรบั รเู้ รอ่ื งราวใน เร่อื งเลา่ เชิงคตชิ น............................................................................................................ 98 ภาพท่ี 10 แผนภาพแสดงการน้าขอ้ มลู เชิงคตชิ นมาประกอบสรา้ งฉากสถานท่เี พอื่ สร้าง การเรยี นรู้ของตัวละคร..................................................................................................148 ภาพที่ 11 แบบแผนการเดนิ ทางของวรี บรุ ุษตามแนวคิดของโวคเลอร์ ............................................158

บทท่ี 1 บทนา 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ข้อมูลคติชนอย่างนิทาน ต้านาน ความเช่ือต่างมปี ฏิสมั พันธ์กับวรรณกรรมในหลายลักษณะ มาอย่างยาวนาน วรรณคดีลายลกั ษณ์หลายเรอื่ งมีบอ่ เกิดมาจากนิทาน ขณะที่วรรณคดีลายลักษณก์ ็ เป็นคลังข้อมูลท่ีเก็บรักษานิทาน (ประคอง นิมมานเหมินท์ 2551, 82-84) กระทั่งในวรรณกรรม ปัจจุบันซ่งึ ได้รับอิทธิพลจากตะวันตก การน้าข้อมูลคติชนมาสร้างสรรค์งานไดป้ รากฏอยู่เป็นนิตย์ใน หลายรปู แบบและหลายวัตถปุ ระสงค์ ดังเช่นการนา้ ต้านานวีรบุรุษท้องถ่ินมาสร้างบทละครการสรา้ ง ชาติ (อัญชลี ภู่ผะกา 2553) การน้าเพลงพ้ืนบ้านมาสร้างกวีนิพนธ์เพ่ือปลุกเร้าส้านึกทางการเมือง (ตรีศิลป์ บุญขจร 2524) หรือการน้าเอาวัฒนธรรมท้องถ่ินของนกั เขยี นมาสรา้ งสรรค์ ทั้งน้ี แม้เราจะ เห็นความสมั พันธ์ระหว่างคติชนกบั วรรณกรรมท่ีมีต่อกนั เรื่อยมากจ็ ริง หากเป็นเร่ืองยากที่จะอธบิ าย ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลคติชนกับวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะข้อมูลคติชนกับกลุ่ม วรรณกรรมปจั จุบัน เพราะวรรณกรรมแต่ละประเภท (genre) มีพ้ืนฐานการสรา้ งสรรค์งานแตกตา่ ง กัน กลุ่มข้อมูลคติชนท่ีน้ามาใช้ วัตถุประสงค์ของการเลือกข้อมูลคติชนมาน้าเสนอ บริบทการสรา้ ง ผลงาน หรือแม้แต่ลีลาเฉพาะของนักเขียนต่างท้าให้ความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับวรรณกรรมใน แต่ละงานค่อนข้างแตกต่างไป แต่ในอีกแง่หน่ึง ความแตกต่างเหลา่ น้ีช่วย “เปิดพื้นที่” เพ่ือพิจารณา แง่มุมความสมั พันธ์ระหว่างคตชิ นกบั วรรณกรรมไดอ้ กี ไมน่ ้อย เท่าท่ีผ่านมาการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับวรรณกรรมปัจจุบันมักมุ่งพิจารณา วรรณกรรมเป็น “พาหะ” น้าเสนอข้อมูลคติชนว่าวรรณกรรมมีข้อมูลคติชนใดปรากฏอยู่บ้าง หาก แท้จริงแลว้ ข้อมูลคติชนเปน็ พาหะน้าไปสู่การมองเหน็ คุณค่าของวรรณกรรมได้มากขน้ึ ด้วย (ธัญญา สังขพันธานนท์ 2541, 34) เพราะการใช้คติชนในวรรณกรรมอาจบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ระหว่าง คติชนกับวรรณกรรมท่ีลึกซึ้งในหลายระดับ ดังเช่นนัยยะการเล่านิทานท่ีปรากฏในวรรณกรรมของ แดนอรัญ แสงทองได้สะท้อนความสัมพันธ์ท่ีแม้นวนิยายกับนิทานจะมีรูปแบบท่ีแตกต่างกัน แต่ท้ัง นิทานกับนวนยิ ายต่างนับเป็นเร่ืองแต่งที่เตมิ เต็มจินตนาการแก่มนุษยเ์ ช่นเดียวกัน (เสาวณิต จุลวงศ์ 2550ข, 212) เหตุน้ี ถ้ายิ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคตชิ นกบั วรรณกรรมกว้างออกไปมากเท่าใดก็ ย่งิ ช่วยทา้ ใหเ้ ห็นภาพความสัมพนั ธ์ชดั เจนมากยงิ่ ขนึ้ ไปเทา่ นั้น โดยอาจเรม่ิ ศึกษาจากงานของนกั เขียน เป็นรายบุคคล หรือเลือกประเด็นท่ีน่าสนใจมาศึกษาอย่างละเอียดกอ่ นเพ่ือช่วยต่อเติมภาพใหญ่ให้ ชดั เจนข้ึนตามมา

2 ทง้ั นี้ นวนยิ ายเปน็ วรรณกรรมรูปแบบหนึง่ ซึ่งมีนักเขียนจา้ นวนไมน่ ้อยเลอื กน้าข้อมลู คติชนมา ประกอบสร้างผลงานและมหี ลากหลายแนวเร่ือง ตัวอย่างเช่น นวนิยายเยาวชนหลายเรอื่ งน้าเอาตัว ละคร เหตุการณ์การได้ของวิเศษ การปราบยักษ์ ฯลฯ จากวรรณคดีมรดกและนิทานพ้ืนบ้านมา สร้างสรรค์ โดยการแต่งเติมเร่ืองราว ล้อเลียนขนบ ปรับเรื่องให้ทันสมัยเพื่อให้ข้อคิดสอดคล้องกบั ปัจจุบัน (รื่นฤทัย สัจจพันธ์ุ 2549) นักเขียนบางคนน้าข้อมูลจากคติชนมาใช้จนกลายเป็นจุดเด่น ดงั เชน่ มาลา ค้าจนั ทรน์ า้ เอาวฒั นธรรมภาคเหนือได้แก่ ความเชอ่ื ตา้ นานและวิถชี ีวติ มาสรา้ งนวนิยาย อยูเ่ สมอ นวนยิ ายบางเรอ่ื งยงั แทรกวรรณกรรมท้องถน่ิ บทขบั ทอ้ งถิ่นใหส้ อดคล้องกบั เนือ้ เรือ่ ง เหตุน้ี จึงท้าให้นวนิยายของมาลา ค้าจันทร์มีลักษณะเด่นที่สะท้อนกลน่ิ อายวัฒนธรรมล้านนาอย่างเขม้ ข้น (สันตวิ ฒั น์ จันทร์ใด 2550, 183-187) นวนยิ ายแนวลกึ ลบั เหนอื ธรรมชาติเปน็ นวนยิ ายอกี กลุ่มหนึ่งทีน่ ักเขียนมักน้าขอ้ มลู จากคติชน มาใช้ประกอบสรา้ งนวนิยายให้น่าสนใจ เห็นได้ชัดจากนวนิยายของจินตวีร์ วิวัธน์ ซ่ึงมีการใช้ต้านาน ปรัมปรากรีกและต้านานไทย รวมถึงความเช่ือพื้นบ้านต่างๆ มาสร้างความลึกลับ (วลีรัตน์ สิงหรา 2528, 296-299) ส่วนแก้วเก้าน้าเอานิทานพืน้ บ้าน ดังเช่น ต้านานนาคสร้างเมืองหลายส้านวน เค้า นิทานสงั ข์ทองท้ังจากฉบบั ลายลักษณ์และสา้ นวนท้องถิ่น เป็นต้น มาสร้างนวนิยาย โดยแกว้ เกา้ ไม่ได้ น้านิทานพ้ืนบ้านมาเล่าใหมโ่ ดยตรง แต่เสนอแง่มุมใหส้ อดรับกับผู้อ่านในปจั จุบันเป็นหลัก (จีรณทั ย์ วิมุตติสุข 2550, 228-231) และในปัจจุบันยังมีนักเขียนที่อาศัยข้อมูลคติชนมาสร้างเรื่องราวลกึ ลับ เหนือธรรมชาตอิ ย่างโดดเดน่ และได้รับความนยิ มในวงกวา้ งอีกคนหนึง่ ก็คือ “พงศกร” นามปากกาพงศกรของนายแพทย์พงศกร จินดาวัฒนะเริ่มปรากฏขึ้นในวงวรรณกรรมไทย เม่ือนวนิยายเล่มแรกเบ้ืองบรรพ์ ได้รับรางวัลชมเชยมูลนิธิสุภาว์ เทวกุลฯ ประจ้าปี 2544 จากนั้น พงศกรมผี ลงานนวนยิ ายตพี มิ พอ์ ย่างต่อเน่ือง โดยสว่ นใหญ่เปน็ นวนิยายแนวลึกลบั เหนอื ธรรมชาติ จน เม่ือสาปภูษา นวนิยายเร่ืองแรกในชุด “ผีกับผืนผ้า” ได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์เม่ือปี พ.ศ. 2552 และประสบความส้าเรจ็ อย่างสงู ในหมู่ผู้ชม ถอื เปน็ จดุ เปลย่ี นที่สรา้ งช่อื เสยี งและความนยิ ม ให้แก่พงศกรอย่างสูง ส่งผลท้าให้นวนิยายของเขาได้รับความนิยมในวงกว้าง (ปริญญา ชาวสมุน 2555, ออนไลน์) จนมผี ู้มอบสมญานามใหพ้ งศกรเปน็ “เจา้ พ่อ” นวนยิ ายแนวลกึ ลบั แหง่ ยคุ สมัย (นุดา 2558, 108, Ribbonbeau 2557, ออนไลน์, ไทยรฐั ออนไลน์ 2555, ออนไลน,์ ยทุ ธชัย สว่างสมุทรชยั 2554, ออนไลน์) ปัจจบุ นั (พ.ศ. 2559) นวนิยายของพงศกรตพี ิมพ์รวมเล่มแล้วมากกวา่ 40 เรือ่ ง1 พงศกรมักน้าข้อมูลทางวัฒนธรรมมาประกอบสร้างนวนิยายอยู่เสมอ เห็นชัดจากนวนิยาย กลุ่มที่ได้รับความนิยมอยา่ ง “ผีกับผนื ผา้ ” เช่น สาปภูษา รอยไหม ก่ีเพ้า ฯลฯ พงศกรผกู โยงความ 1 นวนิยายของพงศกรยงั มีนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวน วทิ ยาศาสตร์ อิงประวตั ศิ าสตรแ์ ละขบขันอยู่ดว้ ยแต่น้อยกวา่ แนวลึกลับ เหนอื ธรรมชาติ รายละเอยี ดดไู ด้ในภาคผนวก ก

3 ลกึ ลบั เหนือธรรมชาตกิ บั ขอ้ มูลวัฒนธรรมเกี่ยวกบั ผืนผา้ หลายชาติ ในบรรดาขอ้ มูลทางวฒั นธรรมทพ่ี บ ในนวนิยายของพงศกร “ข้อมูลที่มาจากคติชน” โดยเฉพาะเรื่องเล่าพื้นบ้าน ความเช่ือพ้ืนบ้านและ ขนบธรรมเนยี มพื้นบ้านนบั วา่ ปรากฏอยู่จ้านวนมาก เร่ิมตั้งแต่นวนิยายเรอ่ื งแรกเรอื่ งเบอื้ งบรรพ์ ซง่ึ ได้ รางวัลเพราะพงศกรน้านิทานพื้นบ้านอีสานเร่ืองผาแดงนางไอ่มาใช้เป็นกลวิธีส้าคัญต่อการสร้าง นวนยิ ายและน้าเสนอแนวคดิ ทางพทุ ธศาสนาออกมาอย่างลงตัว (พงศกร 2552, คา้ นา้ สา้ นักพมิ พ์) สาเหตุท่ีพงศกรมักน้าข้อมูลจากคติชนมาใช้ในนวนิยายอยู่เสมอ เพราะพงศกรชื่นชอบ เร่ืองราวจากนิทาน ต้านานและความเช่ือของทอ้ งถ่ินต่างๆ เป็นทุนเดิม เมื่อเขาแต่งนวนิยาย เขาจงึ ต้องการน้าเอาข้อมูลเหล่าน้ันมาสอดแทรกไว้ (ชานนท์ 2553, 28) อีกส่วนก็ได้รับอิทธิพลจาก นวนิยายของจินตวีร์ ววิ ัธนซ์ ึง่ พงศกรชื่นชอบและนา้ มาเปน็ ต้นแบบของการประพันธ์ ดังที่พงศกรเคย ใหส้ มั ภาษณไ์ ว้วา่ ผมไดอ้ ิทธิพลจากคุณจินตวีรม์ ากทเี ดยี ว...คณุ จินตวรี จ์ ะมีเร่ืองของวฒั นธรรม เรื่องของวรรณคดี มาผสมผสาน มีคตชิ นความเช่ือด้วย (งานของจนิ ตวรี ์จึง) เป็นแนวทางทผ่ี มเองปรบั มาใช้ในงาน ของตวั เอง ...(ดังน้นั ) งานของตวั เองจะไมไ่ ดเ้ ปน็ ผอี ย่างเดยี ว แต่จะมีเรื่องของคตคิ วามเช่อื เร่อื ง ของคติชนมาผสมอยู่เกือบทุก ๆ เร่อื งเลยกว็ า่ ได้ (โดย) ผมจะลงลึกในเร่ืองของข้อมลู ทส่ี ามารถ อ้างอิงได้ ตอ้ งทา้ งานหนักในส่วนของข้อมลู (นุดา 2558, 115) ตัวอย่างการใช้ข้อมูลทม่ี าจากคตชิ นในนวนิยายของพงศกร เช่นเร่ืองฤดูดาว ซ่ึงได้รับรางวลั จากหลายองค์กร ทั้งรางวัลชมเชยในการประกวดหนังสอื ดีเด่นประเภทนวนยิ าย งานสัปดาห์หนงั สือ แห่งชาติ พ.ศ. 2549 หนังสอื แนะนา้ ในการประกวดเซเวน่ บ๊คุ อวอรด์ พ.ศ. 2550 และไดร้ ับเลอื กเป็น หนังสือ 1 ใน 100 เลม่ ในโครงการ 100 เลม่ หนังสือดวี ทิ ยาศาสตร์ (พ.ศ. 2537-2548) ไดก้ ลา่ วถึงคติ ความเช่อื และพิธีกรรมของชาวเย้าในภาคเหนอื ของประเทศไทย และกลา่ วถงึ ตวั ละคร “แถน” ซ่งึ อยู่ ในความเชื่อของกลมุ่ ชาติพนั ธไุ์ ท-ลาว ในนวนิยายเรอ่ื ง คชาปรุ ะและนครไอยรา พงศกรน้าเอาตา้ นาน น้าท่วมโลกมาน้าเสนอ พร้อมกับดงึ เอาข้อมลู บางสว่ นในต้าราคชศาสตร์หรอื ตา้ ราช้างของไทยมากลา่ ว ไวใ้ นนวนิยาย การด้าเนินเรอ่ื งในเรือ่ งนี้ก็เป็นการเดินทางผจญภัยฝ่าอปุ สรรคตา่ งๆ โดยอุปสรรคที่ตัว ละครตอ้ งเผชญิ สว่ นหน่งึ ก็มาจากตัวละครและของวิเศษในต้านานปรมั ปรากรกี เปน็ ตน้ จนอาจกล่าว ได้ว่า ความลึกลับเหนือธรรมชาติท่ีผสมกับข้อมูลจากคติชนปรากฏอยู่ในนวนิยายของพงศกรนบั เป็น จดุ เดน่ ประการหนงึ่ ของนวนิยายพงศกรกว็ า่ ได้ แตท่ วา่ ข้อมูลทม่ี าจากคติชนในนวนิยายของพงศกรซง่ึ ปรากฏอยา่ งโดดเดน่ เชน่ นี้กลับยังไม่ได้ รับการกล่าวถึงไว้มากนัก เพราะจากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนวนิยายของ พงศกรพบวา่ ทิศทางการศึกษาส่วนใหญม่ ุง่ เนน้ ไปยงั กลุ่มนวนิยายชุดผกี บั ผนื ผา้ ทไี่ ด้รับความนิยมเสีย มากและยงั ไม่มีงานวิจัยใดท่นี ้าเสนอประเด็นการใชข้ ้อมูลทีม่ าจากคติชนในนวนิยายของพงศกรอย่าง

4 ชัดเจน พบเพียงการอภิปรายเช่ือมโยงระหว่างการน้าข้อมลู จากคติชนมาสร้างส่ิงเหนือธรรมชาติ แต่ ยงั ไม่มีการมองข้อมลู ท่มี าจากคติชนอย่างตรงไปตรงมาว่ามีลักษณะเช่นใด2 ผู้วิจัยเห็นว่า ข้อมูลจากคติชนท่ีปรากฏในนวนิยายของพงศกรนับว่ามีลักษณะน่าสนใจย่ิง เพราะพงศกรมิไดเ้ พยี งน้าขอ้ มลู ที่ไหลเวียนในสังคมมาน้าเสนอโดยตรงเพียงอย่างเดียว แตย่ ังพบการ ผกู โยงกบั ข้อมลู อนื่ ๆ อย่างเช่นประวตั ิศาสตร์ โบราณคดีหรอื วรรณคดเี ขา้ ไป และในนวนยิ ายบางเรื่อง พงศกรสรา้ งเรอ่ื งเลา่ พ้นื บ้านขน้ึ มาใหม่โดยดัดแปลงอนุภาค (motif) จากเร่ืองเลา่ พ้ืนบา้ นทไ่ี หลเวียน อยู่ ดังท่ีการศึกษาเบือ้ งต้นพบว่า ในฤดูดาว มีเร่ืองเล่าเกย่ี วกับความรักที่ไม่สมหวังระหว่างแถนกับ มนุษย์ พงศกรนา้ เสนอเร่อื งเลา่ ดังกลา่ วควบค่กู ับคติความเชือ่ ของชาวเย้าเพอื่ เชอ่ื มโยงเหตุการณ์ความ ขัดแยง้ หลักในนวนิยาย โดยเร่ืองเลา่ ดังกลา่ วไม่พบในความเช่อื ของเย้า แตเ่ ป็นเร่ืองเล่าทพ่ี งศกรสร้าง ข้ึน (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มิถุนายน 2558) ในเรื่อง สร้อยแสงจันทร์ พงศกรน้าเสนอวัฒนธรรมของ กลุ่มชาตพิ ันธก์ุ ูยหรอื ส่วยในภาคอีสาน พรอ้ มกบั ผูกโยงชาวกยู เข้ากับปราสาทหนิ ท่สี มมติขึน้ ปราสาท หินแห่งน้ีมีนกวิเศษคอยดแู ลรกั ษาปราสาทอยู่ โดยพงศกรได้เค้ามาจากต้านานปราสาทหินหลงั หน่ึงใน กัมพูชาและพงศกรได้น้าเอาอนุภาคนกจากนิทานเวตาลมาต่อยอดให้เรื่องเล่ามีมิติซับซ้อนย่ิงขึ้น (พงศกร สมั ภาษณ์ 9 มถิ ุนายน 2558) เห็นได้ว่า ข้อมูลจากคติชนในนวนิยายของพงศกรมีท่ีมาจากหลายแหล่ง ไม่ได้จ้ากัดเฉพาะ ท้องถ่ินเดียว และมีมิติการประกอบสร้างที่ซับซ้อนจนท้าให้เกิดค้าถามต่อไปว่า ข้อมูลท่ีพงศกรใช้มา จากแหลง่ ข้อมูลใดบา้ ง ข้อมลู สว่ นใดเป็นข้อมลู ทไี่ หลเวยี นอยู่ในสงั คมและสว่ นใดทพี่ งศกรสรา้ งขน้ึ ใหด้ ู สมจริง พงศกรไดน้ ้าข้อมูลทีห่ ลากหลายเหลา่ นมี้ าผสมผสานกนั อย่างไรและเม่ือเกิดการผสมระหว่าง ข้อมูลสองสว่ นนี้แล้วท้าให้เกดิ ลักษณะแปลกใหม่หรือแตกต่างไปจากเดิมอย่างไร ท้ังน้ี เพ่ือหลกี เลยี่ ง ข้อถกเถียงทว่ี า่ ขอ้ มูลกลุ่มนี้นับเป็นขอ้ มลู คตชิ นหรอื ไม่น้ัน ผ้วู ิจยั จงึ ขอเรยี กกลมุ่ ข้อมลู นี้ว่า “ขอ้ มูลเชงิ คตชิ น” อันบ่งบอกถึง ลักษณะขอ้ มูลท่ีเป็นเรอ่ื งเล่า ความเชื่อและขนบธรรมเนยี มพ้ืนบา้ นทคี่ ลา้ ยคลึง แตอ่ าจไมใ่ ช่ “ข้อมูลคตชิ น” เสยี ทัง้ หมด3 การน้าข้อมูลเชิงคติชนมาประกอบสรา้ งนวนิยายยังเป็นประเด็นที่น่าสนใจอีกประการหน่ีง เพราะการนา้ ขอ้ มลู คติชนมาใช้ในวรรณกรรมยอ่ มมีหน้าทตี่ ่อกลวธิ กี ารประพนั ธ์วรรณกรรมขึน้ มาด้วย การเข้าใจบทบาทของการน้าข้อมูลคติชนมาประกอบสร้างวรรณกรรมจะท้าให้เราเห็นคุณค่าและ เข้าใจวรรณกรรมมากยิ่งข้ึน (ธัญญา สังขพันธานนท์ 2541, 35) โดยจากการศึกษาเบ้ืองต้นพบว่า ขอ้ มูลเชงิ คติชนมิไดท้ า้ หนา้ ทเ่ี พียงแค่สรา้ งสีสนั ให้นวนิยายของพงศกรสนกุ น่าตดิ ตามเทา่ นนั้ หากการ วางโครงเรอื่ ง การสร้างตัวละครและการสร้างฉากในนวนิยายแต่ละเร่ืองก็มีส่วนสมั พนั ธ์กบั ข้อมลู เชงิ 2 ดรู ายละเอยี ดในหัวขอ้ 1.7.1 เอกสารและงานวิจยั ที่เกีย่ วขอ้ งกับงานเขยี นของพงศกร 3 ดรู ายละเอียดในหวั ข้อ 2.1.2 ความหมายและลักษณะของ “ข้อมลู เชิงคติชน”

5 คติชนอยู่หลายมิติ ดังเช่นในเร่ือง เบ้ืองบรรพ์ ตัวละครเอกในโลกปัจจุบันต้องเดือดร้อนจากการ เผชิญหน้ากับเหตุการณ์ลึกลับต่างๆ ตัวละครจึงเริ่มค้นหาต้นตอของปัญหา ก่อนพบว่าปมขัดแย้ง ระหว่างตัวละครในนิทานผาแดงนางไอ่ได้สง่ ผลต่อตัวละครเอกในโลกปัจจุบัน ส่วนในนวนิยายอีกหลายเรอื่ ง พงศกรน้าตัวละครในเรื่องเล่าพื้นบา้ นหรอื ความเช่ือมาสร้าง เป็นตัวละครหลักในนวนิยายอย่างเช่นเร่ืองวังพญาพราย มีตัวละคร “นางพราย” เป็นตัวละคร ปฏิปักษ์ของเรื่อง ลักษณะสว่ นหน่ึงดัดแปลงมาจากความเชื่อเรือ่ งผีพรายของคนไทย อีกส่วนหน่ึงมา จากเรื่องเล่าเก่ียวกับเมืองล่มซึ่งปรากฏในนวนิยายว่า เมืองล่มกลายหนองน้า ผู้คนในเมืองล้มตาย กลายเป็นผพี รายเฝ้าหนองนา้ ด้วย นอกจากนี้ เร่อื งเล่าพน้ื บา้ นในนวนยิ ายหลายเร่อื งก็ยังคล้ายนิทาน ประจ้าถ่ิน ซึ่งมีเนื้อหาเกยี่ วกับความเป็นมาของบุคคลและสถานท่ีเพ่ือบ่งบอกความเป็นมาของฉาก ดังเช่นเรอ่ื งเคหาสน์นางคอย พงศกรสรา้ งฉากบ้านนางคอยมาจากเร่ืองเล่าสมมติเกย่ี วกับความรักท่ี ไม่สมหวงั หญิงสาวในเร่ืองเลา่ รอคอยชายคนรักกลบั มาจนร่างของนางกลายเป็นหินจนเป็นที่มาของ ชื่อหมู่บ้านนี้ จากที่กล่าวมานี้ผวู้ ิจัยจึงเกิดค้าถามว่า ข้อมูลเชิงคติชนมีบทบาทต่อการประกอบสร้าง นวนิยายอย่างไรอีกบา้ ง การตอบค้าถามข้อนกี้ ็จะทา้ ให้มองเห็นความสมั พนั ธ์ทีล่ ึกซ้ึงระหว่างขอ้ มลู เชงิ คตชิ นกับการสร้างนวนยิ ายของพงศกรอยา่ งชดั เจนมากยง่ิ ขึ้น กลวิธีการประกอบสรา้ งนวนยิ ายย่อมน้าผอู้ ่านไปสู่แนวคิดทผ่ี ูแ้ ต่งต้องการส่ือ ดังท่ีการสรา้ ง สิ่งเหนอื ธรรมชาติในนวนิยายของพงศกรมกั น้าผูอ้ า่ นไปสแู่ นวคิดทางพุทธศาสนา โดยเฉพาะเรอ่ื งกเิ ลส กรรมและการให้อภัย (จิณณะ รุจิเสนีย์ 2554) นวนิยายของพงศกรยังสะท้อนแนวคิดท่ีสัมพันธก์ บั บริบทสงั คมร่วมสมยั ไว้หลายแง่มุม และแม้ว่าพงศกรได้รับอิทธิพลงานเขียนของจินตวีร์ ววิ ัธน์มาเป็น แนวทางการเขียนนวนิยายแต่ นวนิยายของพงศกรมีจุดเด่นด้านการสะท้อนความหลากหลายทาง สังคมที่เปิดพ้ืนที่ให้ความหลากหลายทาง อัตลักษณ์ เพศสภาพ ชาติพันธุ์ด้ารงอยู่ได้ แตกต่างจาก นวนิยายของจนิ ตวีร์ซึ่งมักจบลงด้วยการหลอมรวมความหลากหลายใหเ้ ป็นกระแสหลกั (วิรี เกวลกลุ 2552) อกี ทั้งนวนิยายของพงศกรไดส้ ะทอ้ นภาพของสังคมไทยปัจจบุ ันที่โหยหาอดีตอันเป็นผลมาจาก โลกาภิวัตน์และระบบทุนนิยม ผืนผ้าหรอื วัฒนธรรมที่ปรากฏในนวนิยายของพงศกรก็สะท้อนถงึ การ ตอบโต้โลกาภิวัตน์กับทนุ นิยมอยู่ในที (อนัญญา วารีสอาด 2556, วิทยา วงศ์จันทา 2555) นวนิยาย ของพงศกรอีกหลายเรือ่ งก็สะท้อนภาพการเปลี่ยนแปลงของท้องถิ่นต่างๆอันเกิดจากระบบทุนนิยม ลักษณะเช่นน้ีก็สอดคล้องกับกระแสวรรณกรรมไทยร่วมสมัยท่ีมักสะท้อนการโหมกร ะหน้่าของ ทุนนิยมจนน้ามาสกู่ ารเปลีย่ นแปลงตา่ งๆ ของสังคมไทยอย่างกว้างขวาง (ดวงมน จิตร์จ้านงค์ 2558, สรุ เดช โชติอดุ มพันธ์ุ 2557) แมก้ ระทั่งวญิ ญาณในนวนิยายของพงศกรยงั เป็นสญั ลักษณท์ แ่ี สดงความ รนุ แรงภายในครอบครัว โดยเฉพาะความรุนแรงท่เี กดิ ขึ้นกบั ผ้หู ญงิ (ชุตมิ า ประกาศวุฒิสาร 2556) อกี ทั้ง นวนิยายของพงศกรได้เสนอประเด็นสง่ิ แวดล้อมไว้บ่อยครง้ั ดังในเรื่องคชาปรุ ะและนครไอยรา พงศกรได้เน้นย้าปัญหาและผลกระทบจากภาวะโลกร้อน (Global Warming) อย่างชัดเจน รวมถึง

6 แฝงการเปล่ียนแปลงทางสิ่งแวดล้อมท่ีน่าวิตกจากการท้าลายธรรมชาติไว้ใน ฤดูดาวและ กุหลาบรตั ตกิ าลอกี ดว้ ย ดงั นัน้ การวิเคราะห์กลวธิ กี ารประกอบสร้างข้อมลู เชงิ คติชนในนวนิยายของ พงศกรจึงตอ้ งพิจารณาแนวคิดควบคกู่ ับบรบิ ททางสังคมไปพร้อมกัน สถานะนายแพทย์ของพงศกรที่ศึกษามาทางวิทยาศาสตร์ก็ท้าให้นวนิยายของพงศกรมีมิติ ความน่าสนใจอีกไม่น้อย เพราะแม้พงศกรเป็นนักวิทยาศาสตร์ ทว่านวนิยายของเขากลับน้า องค์ประกอบที่ไม่สามารถพสิ ูจน์ไดด้ ว้ ยวทิ ยาศาสตร์อยา่ งวญิ ญาณ อมนุษย์ การข้ามภพชาติ ฯลฯ มา สร้างเป็นผลงานอยา่ งตอ่ เน่อื ง แต่นวนยิ ายของพงศกรก็มิไดม้ ีเพียงแต่ความลึกลบั เหนือธรรมชาตเิ พยี ง อย่างเดียวเช่นกัน เพราะพงศกรยังได้สอดแทรกประเด็นทางวิทยาศาสตรค์ วบคู่กันไปกบั เหตุการณ์ ลึกลับเหนือธรรมชาติเหล่าน้ัน ตัวอย่างเช่นในฤดูดาว พงศกรสอดแทรกประเด็นถกเถียงทาง วทิ ยาศาสตรอ์ ย่างการตดั ต่อพันธกุ รรมพืช (Genetically Modified Organisms–GMOs) ไวค้ วบค่กู บั เหตุการณ์ลึกลับท่ีมาจากคติความเช่ือของชาวเย้าและเรื่องเล่าพื้นบ้าน ส่วนเร่ืองกุหลาบรัตติกาล กล่าวถงึ เทคโนโลยีการผสมดอกไม้ขา้ มสายพันธจุ์ นได้ดอกกุหลาบพันธุใ์ หม่ แต่การผสมขา้ มสายพันธุ์ จะเกดิ ขน้ึ ไมไ่ ดห้ ากขาดดอกไมป้ ระจา้ ถ่นิ ท่ีมีภูมิหลงั ลกึ ลบั จากเรอ่ื งเล่าพืน้ บา้ น เปน็ ต้น จนมีผู้กลา่ ววา่ การน้าเสนอส่งิ เหนอื ธรรมชาติกับวิทยาศาสตร์มาสรา้ งนวนยิ ายนับเปน็ ลกั ษณะเด่นประการหนง่ึ ของ พงศกร (จิณณะ รุจิเสนยี ์ 2554) จากที่กล่าวมาย่อมเห็นว่า เม่ือพิจารณาการประกอบสร้างนวนิยายของพงศกรจึงมิอาจ พิจารณาเพียงแค่ตัวบท (text) ในนวนิยายเท่าน้ัน หากแต่ต้องเชื่อมโยงไปถึงบริบท (context) แม้กระทั่งพ้ืนฐานของตัวนักเขียนต่อการประกอบสร้างนวนิยายขึ้นมา ค้าถามที่น่าสนใจคือ การ ประกอบสร้างนวนยิ ายซง่ึ พงศกรมกั ใชข้ ้อมลู เชงิ คติชนเปน็ องค์ประกอบอยบู่ ่อยครงั้ นน้ั สัมพันธ์ตอ่ การ น้าเสนอแนวคดิ ใดบ้าง และพงศกรน้าข้อมูลเชงิ คติชนมาเปน็ ส่วนน้าเสนอแนวคดิ นัน้ อยา่ งไร การตอบ ค้าถามน้ีก็จะท้าให้เราเห็นความเช่ือมโยงอย่างชัดเจนต้ังแต่การเลือกใช้ข้อมลู การประกอบสร้างมา จนถงึ การน้าเสนอความคิดที่ต้องการสอ่ื แกผ่ อู้ า่ น อนึ่ง หากเรามองว่านวนยิ ายของพงศกรเป็นส่วนหน่ึงของกระแสธารวรรณกรรมปัจจบุ ันแล้ว ลักษณะทป่ี รากฏในนวนิยายของพงศกรตามท่กี ล่าวมาข้างต้นยงั จะสามารถน้ามาอภปิ รายถึงภาพรวม ของวรรณกรรมไทยปัจจุบันได้ โดยเฉพาะการศึกษา “คติชนในนวนิยายของพงศร” เช่นนี้จะช่วย แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับวรรณกรรมว่ามีมิติเดิมใดที่ยังคงอยู่ และมีมิติความสัมพันธ์ รปู แบบใหมเ่ กดิ ขึน้ อยา่ งไร ผูว้ ิจยั เห็นวา่ การศกึ ษา “คติชนในนวนิยายของพงศกร” จะเปน็ “ชนิ้ สว่ น” ที่ช่วย “ต่อเติมช่องว่าง” ในประวัติวรรณกรรมไทย ตลอดจนช่วยฉายภาพของความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง คตชิ นกับวรรณกรรมในชัดเจนมากยิ่งขน้ึ ตามมา

7 ด้วยประเด็นท้ังหมดนี้ ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรจึงนับว่ามีความน่าสนใจให้ ศกึ ษาหลายมิติ โดยผ้วู จิ ยั จะมุ่งศึกษาสองประเด็นหลกั ประเดน็ แรก มุง่ ศกึ ษาตัวขอ้ มูลเชิงคติชนแต่ละ เร่ืองจากนวนยิ ายจ้านวน 8 เล่ม ได้แก่ เบือ้ งบรรพ์ สรอ้ ยแสงจนั ทร์ ฤดูดาว วังพญาพราย กหุ ลาบ รตั ตกิ าล คชาปุระ นครไอยราและเคหาสนน์ างคอย ก่อนนา้ มาสังเคราะห์ให้เห็นภาพรวมของข้อมูล เชิงคติชนในนวนิยายของพงศกร ส่วนอีกประเด็น จะมุ่งวิเคราะห์บทบาทของข้อมูลเชงิ คติชนตอ่ การ ประกอบสรา้ งนวนยิ าย ทงั้ การสรา้ งโครงเร่ือง ตวั ละคร ฉากและความสมั พนั ธ์ตอ่ การนา้ เสนอแนวคิด ส้าคัญ การวิจัยน้ีจะช้ีให้เหน็ ความสา้ คัญของข้อมลู เชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรและเป็นแนวทาง การศึกษางานเขียนของนกั เขยี นอื่นตอ่ ไป 1.2 วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1.2.1 เพ่ือศึกษาข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรจ้านวน 8 เรื่อง ได้แก่ เบื้องบรรพ์ สร้อยแสงจนั ทร์ ฤดดู าว วังพญาพราย กุหลาบรัตติกาล คชาปุระ นครไอยราและเคหาสนน์ างคอย 1.2.2 เพือ่ วิเคราะห์กลวธิ ีการนา้ ข้อมลู เชิงคตชิ นมาประกอบสร้างเปน็ นวนิยาย 1.3 ขอบเขตการวิจัย ผู้วิจัยใช้เกณฑ์คัดเลือกนวนิยายจากเรื่องท่ีมีข้อมูลคติชนหรือข้อมูลท่ีมีความคล้ายคลึงกับ ข้อมูลคติชนทไี่ หลเวียนในสงั คม ไม่ว่าจะเป็นนิทาน ต้านาน ความเชื่อ ขนบธรรมเนียมพน้ื บ้านต่างๆ และขอ้ มูลดงั กลา่ วตอ้ งมีบทบาททสี่ า้ คญั ในนวนิยาย ผวู้ จิ ัยคัดเลอื กนวนิยายไดจ้ า้ นวน 8 เล่ม ไดแ้ ก่ 1) เบ้อื งบรรพ์ ตีพิมพ์รวมเลม่ ครัง้ แรก พ.ศ. 2545 2) สร้อยแสงจันทร์ ตพี ิมพร์ วมเล่มคร้งั แรก พ.ศ. 2546 3) ฤดูดาว ตีพิมพ์รวมเล่มครัง้ แรก พ.ศ. 2548 4) วังพญาพราย ตพี มิ พ์รวมเล่มครงั้ แรก พ.ศ. 2549 5) กุหลาบรตั ติกาล ตพี ิมพร์ วมเลม่ ครง้ั แรก พ.ศ. 2551 6) คชาปรุ ะ ตีพิมพร์ วมเลม่ ครัง้ แรก พ.ศ. 2552 7) นครไอยรา ตีพมิ พ์รวมเลม่ ครงั้ แรก พ.ศ. 2552 8) เคหาสนน์ างคอย ตพี ิมพร์ วมเลม่ ครั้งแรก พ.ศ. 2553 ท้ังนี้ แมน้ ักคตชิ นอาจนับรวมผืนผ้าเปน็ ขอ้ มูลคติชน และนวนิยายของพงศกรจา้ นวนหน่ึงจะ มผี นื ผ้าเป็นองคป์ ระกอบสา้ คญั เชน่ สาปภษู า รอยไหม กี่เพา้ เปน็ ตน้ หากแต่ผูว้ ิจัยมไิ ดน้ ับรวมข้อมลู ดังกลา่ วเข้ามาในการวจิ ยั ชิ้นนี้ เนือ่ งจากงานวจิ ัยชิน้ น้ีมงุ่ เน้นข้อมลู เชิงคติชนทเ่ี ป็นกลมุ่ เรื่องเล่า ความ เชื่อหรือขนบธรรมเนียมต่างๆ หากนับรวมผืนผ้าซึ่งเป็นวัตถุ (material folklore) เข้ามาจะท้าให้ ขอบเขตงานวจิ ยั นก้ี วา้ งเกนิ กวา่ วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย

8 1.4 สมมตฐิ านการวิจยั นวนิยายของพงศกรที่เลือกมาศึกษาใช้ข้อมูลเชิงคติชนหลายประเภท ทั้งท่ีเป็นความเชื่อ พื้นบ้าน เร่ืองเลา่ พ้ืนบ้านและขนบธรรมเนียมพน้ื บ้าน ขอ้ มูลเชิงคตชิ นเหล่าน้ีเป็นองค์ประกอบส้าคัญ ที่พงศกรใช้สรา้ งโครงเรื่อง ตัวละครและฉากให้มีมติ ิของความลกึ ลบั เช่น มีการปรากฏของวิญญาณ และตัวละครอมนุษย์ลักษณะต่างๆ มีการก้าวข้ามระหว่างมิติความเป็นปัจจุบันในนวนิยายและมิติ ความเป็นอดีตในเร่ืองเล่าพ้ืนบ้าน มีการสร้างฉากในจินตนาการโดยอาศัยความเช่ือและเร่ืองเล่า พื้นบ้าน เป็นต้น การประกอบสร้างในลกั ษณะดังกลา่ วน้ีนอกจากจะเพิม่ ความน่าสนใจในการด้าเนนิ เรื่องแล้ว ยังเป็นกลวิธีท่ีพงศกรใช้เพ่ือน้าเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ คติทางพุทธศาสนา คุณค่าของ วัฒนธรรมพื้นบ้าน และการสะทอ้ นสภาพสงั คมปจั จุบนั 1.5 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 1.5.1 เข้าใจความสา้ คัญของขอ้ มูลเชงิ คติชนในนวนยิ ายของพงศกร 1.5.2 เป็นแนวทางการศกึ ษาข้อมูลเชงิ คติชนในนวนยิ ายของนกั เขยี นอืน่ 1.6 ขั้นตอนการดาเนนิ การวิจัย 1.6.1 ศึกษาตัวบทนวนยิ ายที่เลือกมาศึกษาทงั้ 8 เล่มอยา่ งละเอยี ด 1.6.2 ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง 1.6.3 วิเคราะหแ์ ละสังเคราะหข์ อ้ มูลเชิงคติชนในนวนยิ ายของพงศกร 1.6.4 วิเคราะห์และสงั เคราะห์ความสมั พันธ์ระหว่างข้อมลู เชิงคติชนต่อกลวิธีประกอบสร้าง และการนา้ เสนอแนวคดิ ในนวนิยายของพงศกร 1.6.5 สรปุ และอภิปรายผลการวิจยั 1.7 เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง ผู้วิจัยแบ่งเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรก เอกสารและงานวิจัย เกี่ยวกับนวนิยายของพงศกร กลุ่มท่ีสอง เอกสารและงานวิจัยเก่ียวกับการน้าข้อมูลคติชนมาใช้ใน วรรณกรรมปัจจบุ นั

9 1.7.1 เอกสารและงานวจิ ยั ทีศ่ ึกษานวนยิ ายของพงศกร วิทยานิพนธ์เรื่อง “ใต้เงาแห่งอดีต\": การศึกษาเปรียบเทยี บการสร้างภาพแทนแบบกอทิกใน งานเขียนของจินตวีร์ วิวัธน์ กับ พงศกร จินดาวัฒนะ ของวิรี เกวลกุล (2552) ศึกษาเปรียบเทียบ นวนิยายของจินตวีร์ วิวัธน์กับพงศกรผ่านรูปแบบและเนื้อหาในกรอบนวนิยายแนวกอธิก (Gothic) โดยเลือกนวนิยายเรื่อง สร้อยแสงจันทร์ กลิ่นการเวกและสาปภูษา ของพงศกรมาเป็นตัวบท ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า ด้านรูปแบบ นวนิยายของพงศกรปรับขนบนวนิยายกอธิกของตะวันตกให้มี ลักษณะยืดหยุ่นและยังได้รบั อิทธิพลจากนวนิยายของจนิ ตวีร์ วิวัธน์มาเป็นต้นแบบ ส่วนด้านเน้ือหา นวนยิ ายของพงศกรสะทอ้ นมติ ทิ างสังคมที่แสดงความหลากหลายทางวัฒนธรรมทง้ั ทางชาติพนั ธุ์และ เพศวิถีมากกว่างานของจินตวีร์ โดยความหลากหลายดังกล่าวสามารถด้ารงอยู่อย่างไม่แปลกแยก กลา่ วได้ว่า วิทยานพิ นธ์ของวิรีช้ีให้เหน็ นยั ยะมิตทิ างสงั คมที่แฝงอยู่ในนวนิยายของพงศกร โดยเฉพาะ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และวิรียังเลือกใช้เร่ือง สร้อยแสงจันทร์ ซึ่งเป็นกลุ่มข้อมูลที่ผู้วิจัย เลอื กมาศึกษากม็ สี ว่ นช่วยผวู้ จิ ยั นา้ มาใช้ต่อยอดมมุ มองตอ่ ไปได้ วิทยานิพนธ์เร่ือง อัตลักษณ์กับบริบททางสังคมในนิยายโรมานซ์แนวข้ามภพชาติของไทย ของอนญั ญา วารีสอาด (2553) ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างอตั ลักษณ์ของชนชัน้ เพศสถานะและชาติ พันธ์ุในนวนิยายโรมานซแ์ นวข้ามภพชาติที่เปลยี่ นแปลงไประหว่างสองช่วงเวลาในเร่อื ง วิทยานิพนธ์ ฉบับน้ีเลือกนวนิยายของพงศกรเร่อื งรอยไหม มาวิเคราะหอ์ ัตลักษณ์ชาติพนั ธุ์และพบว่า ความรักใน อดีตชาติของตัวละครเอกท้ังชายและหญิงถูกบริบททางสังคมในขณะน้ันคือ ช่วงการเข้ามาของ ตะวันตกเพ่อื แสวงหาอาณานิคม ตวั ละครเอกทเี่ ปน็ เจ้านายลา้ นช้างและลา้ นนาแมจ้ ะมีใจรักกัน แต่ก็ ไม่อาจท้าตามความต้องการของตนเองได้เน่ืองจากต่างต้องท้าเพื่อชาติพันธุ์ของตน แต่ในภพชาติ ปจั จุบนั บริบทท่ีเปล่ียนแปลงทา้ ใหท้ งั้ ค่สู ามารถรักกันได้ แม้วทิ ยานิพนธ์ฉบบั น้มี ิได้ม่งุ ศกึ ษานวนิยาย ของพงศกรโดยตรง แต่ได้เปิดประเด็นเรื่องอัตลักษณ์ชาติพันธ์ุในนวนยิ ายของพงศกรซงึ่ ใกลเ้ คยี งกับ กล่มุ ข้อมลู ท่ีผู้วจิ ัยเลอื กศกึ ษา วิทยานิพนธ์เร่ือง การวิเคราะห์นวนิยายเหนือธรรมชาติของพงศกร ของจิณณะ รุจิเสนีย์ (2554) มุ่งศึกษาหาส่ิงเหนือธรรมชาติที่ปรากฏและกลวิธีการน้าสิ่งเหนือธรรมชาติเหลา่ น้ันมาสร้าง เป็นนวนิยายของพงศกรจ้านวน 13 เร่ือง ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า นวนิยายของพงศกรมีส่ิงเหนือ ธรรมชาติทั้งส้นิ 7 ประเภท คือ ผี สิ่งศักดิ์สทิ ธิ์ อ้านาจจิต ไสยเวท เครื่องรางของขลงั อาถรรพ์ และ ลางสังหรณ์-โชคลาง โดยพงศกรนา้ ส่งิ เหนอื ธรรมชาตดิ ังกล่าวมาสรา้ งเปน็ นวนยิ ายผา่ นการสร้างโครง เรอื่ ง ตัวละคร ฉากและการด้าเนินเร่อื งหลายรปู แบบอย่างแนบเนยี นและมีเอกภาพเพ่ือเสนอแนวคิด ส้าคัญ คือ แนวคิดทางพทุ ธศาสนาเรือ่ งกเิ ลส อภัยทานและกฎแห่งกรรม วิทยานิพนธ์ฉบับนชี้ ้ีให้เหน็ วา่ จุดเด่นของนวนยิ ายพงศกรคอื การนา้ วฒั นธรรมเก่ียวกับผืนผ้ามาใช้จนเป็นเอกลกั ษณข์ องพงศกร

10 และนวนิยายของพงศกรยังได้แฝงการปลูกจิตส้านึกเกย่ี วกับการเตือนภัยอนั ตรายท่ีก้าลังเกิดขึ้นกับ สังคมร่วมสมัยด้วย งานวิจัยของจิณณะมีความใกล้เคียงกับแนวทางการวิจัยของผู้วิจัย อีกท้ังใน งานวิจัยของจิณณะยังใหข้ ้อมูลเบ้อื งต้นเกย่ี วกบั สงิ่ เหนือธรรมชาติซึ่งบางส่วนเหลือ่ มซ้อนกบั ข้อมูลที่ ผู้วจิ ยั ก้าลงั จะศกึ ษา หากแต่ผ้วู ิจยั จะจา้ กดั เฉพาะข้อมลู คติชนไม่นับรวมสง่ิ เหนือธรรมชาตทิ ุกประเภท วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาการใช้ภาษาไทยในนวนิยายของพงศกร จินดาวัฒนะ ของจรงุ เจริญวัย (2555) มุ่งวิเคราะห์การใช้ภาษาตั้งแต่ระดับค้า ประโยค การใช้ภาพพจน์และส้านวนใน นวนิยายของพงศกรจ้านวน 12 เล่มที่ตีพิมพ์ในช่วง พ.ศ. 2545-2552 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นส้านวน ภาษาของพงศกรทีโ่ ดดเดน่ ได้แก่ การใชค้ า้ แสดงรูปธรรมเพื่อสื่ออารมณ์ของตวั ละครทีเ่ ปน็ นามธรรม ให้ชัดเจน การใช้ประโยคค้าถามเพื่อกระตุ้นให้ผู้อ่านติดตามและใคร่รู้กับส่ิงที่จะเกิดขึ้น การใช้ ภาพพจน์แบบอุปมาเปรียบความเหมือนและการใช้ส้านวนที่มาจากนิทาน ต้านาน พงศาวดาร ประวัติศาสตร์เพื่อบ่งบอกความเก่าแก่ยาวนานของชาติ เห็นได้ว่า วิทยานิพนธ์ฉบับนี้แตกต่างจาก งานวิจัยนวนิยายของพงศกรอื่นๆ เพราะมุ่งศึกษาเชิงภาษาเป็นส้าคัญ ขณะท่ีในงานอื่นมักมุ่งเน้นท่ี เนื้อหาและกลวธิ ีการนา้ เสนอในนวนยิ ายเป็นหลกั วิทยานิพนธเ์ รอ่ื ง การประกอบสร้าง“ความเปน็ ลาว”ในวรรณกรรมและสื่อภาพยนตร์ไทยรว่ ม สมัย ของวิทยา วงศ์จันทา (2555) ศึกษาภาพแทน “ความเป็นลาว” ในตัวบทวรรณกรรมและ ภาพยนตร์ไทยจ้านวน 7 เร่อื ง ในจา้ นวนนี้มีนวนิยายของพงศกร 2 เร่ือง คือ สาปภูษา และ รอยไหม ในวิทยานพิ นธฉ์ บับน้ีไดเ้ สนอการวเิ คราะหน์ วนิยายของพงศกรทัง้ สองเรอื่ งในประเด็นการโหยหาอดีต (nostalgia) ของสังคมไทยร่วมสมัย และชี้ใหเ้ หน็ วา่ สาปภูษาและรอยไหมนา้ เสนอภาพแทนความเปน็ ลาวเป็นอดีตท่ีรุ่งเรือง สวยงามและอุดมสมบูรณ์ โดยมีผ้าและผู้หญิงเป็นส่ือกลาง ส่วนผีท่ีปรากฏ ในนวนิยายก็เป็นสญั ลักษณ์ทแ่ี สดงความลกึ ลับที่มาควบคู่กบั ความเป็นลาว โดยผ้า ผู้หญิงและผีต่าง แฝงนยั ถงึ แสดงการโหยหาอดีตเพ่ือโตก้ ลบั ความเป็นสมยั ใหม่ท่กี ้าลังเกิดข้ึนในปจั จุบัน จากการศกึ ษา นี้ช่วยเปดิ ประเด็นการวเิ คราะหส์ ัญลักษณ์ท่แี ฝงอยใู่ นนวนิยายของพงศกรกบั บรบิ ทสังคม โดยเฉพาะ การโหยหาอดตี ทปี่ รากฏผา่ นผนื ผา้ ซ่งึ นับวา่ ใกลเ้ คียงกบั ขอ้ มูลเชิงคตชิ น บทความเรื่อง วาทกรรมโหยหาอดีตกับแนวคิดการรวมกันเป็นหน่ึงของประชาคมอาเซียน ในนวนิยายเรื่อง รอยไหม ของ พงศกร ของอนัญญา วารีสอาด (2556) มุ่งศึกษานวนิยายเรื่อง รอยไหม โดยช้ีให้เห็นถึงกระบวนการประกอบสร้างความเป็นลาว ผ่านผีท่ีผูกติดกับซ่ินไหมของลาว และการข้ามภพชาติของตวั ละครเอก บทความนี้นา้ เสนอว่า ความเป็นลาวทปี่ รากฏในนวนยิ ายเร่ืองน้ี เป็น “ลาวใหม่” ที่เปล่ยี นแปลงไปเพราะระบบทนุ นยิ มและด้อยกว่าความเป็นลาวด้งั เดมิ ท่เี ปน็ วิถชี ีวิต ในอุดมคติ ลักษณะเช่นน้ีแสดงถึงวาทกรรมโหยหาอดีต บทความของอนัญญาใกลเ้ คียงกับของวิทยา หากอนญั ญาไดเ้ สนอประเดน็ เชอื่ มโยงระหวา่ งอุดมคติของวิถีเดมิ ของลาวกบั วิถีไทยในปัจจุบันไว้ด้วย ว่า การสรา้ งภาพอดุ มคติของลาวก็เพอื่ สะทอ้ นให้เห็นวา่ สงั คมไทยไดส้ ูญเสยี ความความสวยงามนั้นไป

11 จากระบบทุนนิยม และบ่งบอกว่าท้ังไทยและลาวต่างเป็นพวกพ้องเดียวกันภายใต้บริบทการรวม ประชาคมอาเซียนทต่ี อ้ งหาหนทางตอ่ รองกบั ทุนนิยมและโลกาภิวัตน์ด้วย งานของอนญั ญานบั ว่าช่วย เนน้ ยา้ ใหเ้ หน็ ถงึ ภาวะโหยหาอดตี ท่ีปราฏในนวนยิ ายของพงศกร บทความเรอ่ื ง บ้านผสี ิง: การหลอกหลอนกับความรนุ แรงทางเพศในเพรงสนธยา ของชุติมา ประกาศวุฒิสาร (2556) ศึกษานวนิยายเรื่อง เพรงสนธยา ผ่านแนวคิด uncanny ตามทฤษฎีจิต วิเคราะห์ของซิกมุนด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) ผลการศึกษาช้ีให้เห็นว่า แม้นวนิยายเร่ืองนี้เน้น การระทึกขวัญและสืบสวนชวนติดตาม หากการปรากฏตัวของวิญญาณในนวนิยายได้สะท้อนความ รุนแรงในครอบครวั เพราะวิญญาณหญิงสาวท่ีผกู ติดกับพืน้ ท่ีบา้ นเปน็ ตัวแทนทก่ี ลับมาหลอกหลอนตวั ละครมนุษย์ เพ่ือเรียกร้องความยุติธรรม ขณะเดียวกันการที่ตัวเอกหญงิ ถูกวิญญาณหลอกหลอนใน บ้านของตนเองเปรียบเหมือนการท้าลายความเช่ือของชนชั้นกลางท่ีมองว่าบ้านเป็นพ้ืนที่ส่วนตัวท่ี อบอนุ่ แตบ่ า้ นกลบั เปน็ สถานทที่ ซี่ กุ ซอ่ นความรนุ แรงและความปรารถนาทางเพศของกลุ่มคนชั้นกลาง ไว้ และยังสะท้อนประเด็นความรุนแรงในครอบครัวทีเ่ กิดขึ้นในสังคมร่วมสมัย บทความนี้นับว่าช่วย เปิดมมุ มองการตีความเชิงสัญลกั ษณ์ของเร่ืองเหนือธรรมชาติในนวนยิ ายของพงศกรอยา่ งน่าสนใจ จากการทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่ศึกษานวนิยายของพงศกรท้าให้พบข้อสังเกตว่า นวนิยายของพงศกรเพิง่ เรม่ิ ไดร้ ับความสนใจนา้ มาเป็นตัวบทศกึ ษาวจิ ัยในช่วงต้นทศวรรษ 2550 เปน็ ต้นมาและถือว่ายังมไี มม่ ากนัก งานวิจัยสว่ นใหญใ่ ช้ตัวบทนวนิยายของพงศกรทไี่ ด้รับความนิยม โดย เฉพาะนวนิยายกลุ่มผีกับผืนผ้าเป็นหลัก และยังไม่มีงานวิจัยที่มุ่งศึกษาข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยาย อย่างละเอียด หากงานวจิ ัยเหลา่ นนี้ บั ว่ามีแงม่ มุ ทส่ี ามารถขยายไปสู่กลมุ่ ข้อมูลท่ีผวู้ ิจยั เลือกมาศกึ ษาใน วิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้ เพราะงานวิจัยข้างต้นช่วยเปิดมุมมองเก่ียวกับนวนิยายพงศกรไว้อย่าง หลากหลาย ทั้งการวิเคราะห์ตัวบท การเช่ือมโยงกับบริบทและการตีความสัญลักษณ์ท่ีปรากฏใน นวนิยาย ผ้วู ิจัยสามารถนา้ มุมมองมาตอ่ ยอดหรือขยายมมุ มองในตวั บททเ่ี ลอื กศึกษาไดต้ ่อไป 1.7.2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ศี กึ ษาการนาข้อมูลคตชิ นมาใชใ้ นวรรณกรรมปัจจุบนั งานวิจัยกลุ่มน้ีเก่ียวข้องกับการน้าข้อมูลเชิงคติชนซึ่งอาจเป็นเร่ืองเล่าพื้นบ้าน ความเชื่อ พื้นบ้านและขนบธรรมเนียมพืน้ บ้านตา่ งๆ มาสร้างเป็นวรรณกรรมปจั จบุ นั ทัง้ ทเ่ี ปน็ นวนิยาย เร่อื งสั้น และกวนี ิพนธ์ โดยสามารถจ้าแนกเปน็ 2 กลมุ่ คือ การน้าข้อมลู คติชนมาใช้ในกลมุ่ วรรณกรรมต่างชาติ กับกลุ่มวรรณกรรมไทย 1.7.2.1 กลุ่มวรรณกรรมต่างชาติ วิทยานิพนธ์เรื่อง โพรมีทิอุส: จากต้านานสู่วรรณกรรม ของวิไลพรรณ สุคนธทรัพย์ (2541) เลือกอนุภาค (motif) ตัวละครโพรมีทิอสุ จากต้านานปรมั ปรากรีก (Greek mythology) มา เปรยี บเทียบกับวรรณกรรมปจั จบุ ันทีแ่ ต่งต่างสมัย โดยมงุ่ เน้นศึกษากลวิธีการนา้ ต้านานเก่ามาเลา่ ใหม่

12 ในวรรณกรรมแต่ละเร่ือง ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีการดัดแปลงอนุภาคตัวละครจากต้านานมาเป็น วรรณกรรมพบ 4 กลวิธีหลัก ได้แก่ (1) การน้าต้านานโดยคงเนื้อเร่ืองหลกั ไว้ตามเดิม (2) การน้า ต้านานเดิมมาแต่งต่อเติม (3) การน้าต้านานเดิมมาสร้างเป็นต้านานใหม่ (Myth-Making) และ (4) การน้าต้านานมาใช้เป็นสัญลักษณ์ ในวิทยานิพนธ์น้ียังแสดงเค้าจากต้านานในวรรณกรรมโดยใช้ อนุภาค (motif) มาแสดงใหเ้ ห็นว่ามกี ารคงไว้และปรบั เปล่ียนไป ผู้วิจัยเห็นว่ากลวิธีดังกลา่ วสามารถ น้ามาเป็นแนวเทียบการน้าคติชนมาเลา่ ใหม่ในนวนิยายของพงศกรไดส้ ว่ นหน่ึง วิทยานิพนธ์เรื่อง วรรณกรรมเยาวชนชุดเซ็นจูรี ของปิแอร์โดเมนิโค บัคคาลาริโอ: วรรณกรรมแนวแฟนตาซีกับนเิ วศน์ส้านึก ของสกุ ุลภา วเิ ศษ (2554) ใช้ขอ้ มูลจากวรรณกรรมเยาวชน ชุด เซ็นจูร่ี (Century) ซึ่งเป็นวรรณกรรมอิตาเลยี นร่วมสมัยเพ่ือศึกษาเช่ือมโยงกับแนวคิดนเิ วศน์ ส้านึก ผลการศึกษาช้ีให้เห็นว่า นวนิยายแนวจินตนิมิต (fantasy) กลุ่มนี้หยิบยืมอนุภาคจากนิทาน พื้นบ้านหลายประการมาประกอบสร้างองคป์ ระกอบในนวนิยาย เช่น ของวิเศษ เหตกุ ารณ์มหศั จรรย์ เปน็ ต้น โดยสุกลุ ภาไดเ้ ปรียบเทียบอนภุ าคที่ปรากฏในนวนยิ ายกับดชั นีอนุภาคนทิ านพ้ืนบา้ น (Motif- Index of Folk Literature) ของสติธ ทอมป์สนั (Stith Thompson) เพ่ือช้ีใหเ้ ห็นว่า วรรณกรรมชุด นีไ้ ด้รับอิทธพิ ลจากอนภุ าคนทิ านมาสร้างเหตกุ ารณ์มหศั จรรย์เพ่ือเสนอแนวคดิ นิเวศเชงิ ส้านึกแบบอิง อาศัย กระต้นุ ให้ผู้อ่านโดยเฉพาะเยาวชนเกดิ สา้ นึกรักษธ์ รรมชาติและปลกู ฝงั แนวคิดการอยูร่ ว่ มกันกบั ธรรมชาติ วิทยานิพนธ์เล่มนี้ถือว่าเปิดประเด็นให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างคติชนกับประเด็น สิ่งแวดลอ้ มซง่ึ สอดคลอ้ งกับแนวคดิ หนึง่ ทพ่ี บในนวนิยายของพงศกร บทความเร่ือง Fairy Tale and Fantasy: From Archaic to Postmodern ของ Maria Nikolajeva (2003)ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างนิทานมหัศจรรย์ (Fairy Tale) กับวรรณกรรม แนวจินตนิมติ (Fantasy) จดุ ส้าคญั ของบทความนี้คอื การช้ีใหเ้ หน็ วา่ วรรณกรรมแนวจินตนิมติ มคี วาม คล้ายคลงึ กบั นทิ านมหัศจรรย์ในแง่ของตัวละครและองค์ประกอบ โดยวรรณกรรมจนิ ตนยิ มไดร้ ับเค้า ตัวละครมหัศจรรย์และโครงเร่ืองมาจากนิทาน บทความน้ีนับว่าแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง นิทานกับวรรณกรรมผา่ นองคป์ ระกอบของเร่อื งเลา่ สองประเภทและชว่ ยสะทอ้ นความสมั พันธ์ระหวา่ ง คติชนกับวรรณกรรมทม่ี ากกว่าการน้าข้อมูลคติชนมาใช้สรา้ งวรรณกรรม หากชี้ให้เหน็ ความสัมพนั ธ์ ระดับโครงสร้างของเรอื่ งเลา่ สองประเภท ประเด็นนชี้ ว่ ยเพิ่มมมุ มองให้ผ้วู ิจยั นา้ มาพิจารณาโครงสร้าง ในนวนยิ ายของพงศกรเปรยี บเทยี บกับเรื่องเลา่ พ้นื บ้านในอดีตอกี ระดับหนึง่ บทความเรื่อง Gothic Fiction and Folk-Narrative Structure: The Case of Mary Shelley’s Frankenstein ของ Manuel Aguirre (2013) มุ่งชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง วรรณกรรมกอธิกกับขอ้ มลู คตชิ นท่ีเดิมมไิ ดศ้ กึ ษาเช่ือมโยงกัน ในบทความเสนอว่าวรรณกรรมกอธกิ มี จดุ ก้าเนดิ จากเร่อื งตา้ นานปรัมปรา (Myth) ต้านานวีรบรุ ุษและนิทานพ้นื บา้ น โดยยกนวนิยายกอธิกท่ี รู้จักกันอย่างแพร่หลายเรื่องแฟรงเกนสไตน์มาเป็นกรณีศึกษา ผลการศึกษาช้ีให้เห็นว่าแท้จริงแลว้

13 เรือ่ งราวของตัวละครเอกในเรอ่ื งไม่ต่างไปจากการเลา่ เรอื่ งอตั ชีวประวตั ิของวีรบุรษุ ในเรื่องเลา่ พื้นบา้ น และช้ีให้เห็นบทบาทหน้าท่ีของวรรณกรรมกอธิกในฐานะจุดเชื่อมต่อระหว่างวัฒนธรรมมขุ ปาฐะและ วรรณกรรมลายลักษณ์ พร้อมกับเสนอให้เห็นระบบคิดในการสร้างเรื่องเล่าสมัยใหม่ ผู้วิจัยเห็นว่า บทความช้ินน้ีมีความนา่ สนใจในการนา้ เสนอมุมมองความสมั พันธ์ระหว่างวรรณกรรมกบั คติชนในแง่ โครงสรา้ งการเล่าเรอื่ งเช่นเดียวกับบทความก่อนหนา้ 1.7.2.2 กลมุ่ วรรณกรรมไทย บทความเรอ่ื ง เพลงพื้นบ้านกับรอ้ ยกรองสมัยใหม่ ของตรีศลิ ป์ บุญขจร (2524) เสนอให้ เห็นพัฒนาการการนา้ เพลงพืน้ บา้ นมาใช้ในรอ้ ยกรองสมัยใหม่และช้ีบทบาทของเพลงพน้ื บา้ นต่อการ สรา้ งบทรอ้ ยกรองลายลักษณ์ จุดท่นี ่าสนใจ บทความนี้ชใี้ ห้เหน็ บทบาทของเพลงพนื้ บา้ นต่อกวีนิพนธ์ การเมืองไทยช่วงปีพ.ศ. 2516 ท่ีมีส่วนสา้ คญั ในการเรา้ อารมณค์ วามรสู้ ึกและช้ีนา้ ความคิดของคนใน สงั คม และยงั ชี้ใหเ้ หน็ กระบวนการประยุกตม์ รดกทางวรรณศลิ ปท์ ี่สบื สานและสร้างสรรคใ์ หเ้ ข้ากบั ยุค สมัยไปพรอ้ มกัน บทความนี้แสดงถึงประเด็นสา้ คัญของการใชข้ ้อมูลคติชนเข้ามาผสานกบั รอ้ ยกรอง ร่วมสมัยเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะน่ันคือเร่ืองการเมือง รวมถึงยังช้ีให้เห็นแง่มุมของการสืบสานและ สร้างสรรคผ์ า่ นการผสานระหวา่ งวรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลักษณ์อันเปน็ ประโยชน์ใน การพจิ ารณาการน้าข้อมลู คตชิ นมาใชใ้ นนวนยิ ายของพงศกรดว้ ย บทความเรื่อง บทบาทของข้อมูลทางคติชนในเรื่องสั้นของนักเขียนอีสาน ของธัญญา สังขพันธานนท์ (2541) เสนอว่า การศึกษาข้อมูลทางคติชนในวรรณกรรมมิควรจ้ากัดการมองว่า นักเขียนหยิบยืมข้อมูลคติชนใดมาแสดงในวรรณกรรมเท่าน้ัน แต่ควรพิจารณาให้ลึกลงไปด้วยว่า ข้อมูลทางคติชนมีบทบาทต่อกลวิธีการสรา้ งวรรณกรรมในแง่ใด โดยธัญญายกเร่ืองส้ันของนักเขียน อีสานสองคน คือ รมย์ รตีวันและลาว ค้าหอม เป็นกรณีตัวอย่างเพ่ือแสดงให้เห็นว่า ข้อมูลคติชนมี บทบาทต่อการวางโครงเร่ืองและส่ือความหมายทซ่ี อ่ นอยู่ในเร่ืองสั้นอย่างสา้ คัญ อีกทง้ั นกั เขยี นอสี าน ยังใช้ข้อมูลคติชนมาแสดงโลกทัศน์และความคิดของคนอีสานจากสายตาของคนใน ผู้วิจัยเห็นว่า บทความน้ีเปิดประเด็นการศึกษาคติชนในวรรณกรรมที่มิเพียงแค่การค้นหาข้อมูลที่ปรากฏใน วรรณกรรม แต่เสนอให้เน้นมามองกลวิธีการน้าคติชนมาประกอบสร้างเป็นวรรณกรรมซึ่งสามารถ น้ามาขยายต่อกบั การศกึ ษาการประกอบสรา้ งนวนิยายของพงศกรได้ บทความเรือ่ ง ภาพปรากฏทางคติชนวิทยาในวรรณกรรมร่วมสมัยภาคใต้ ของพิทยา บษุ รารตั น์ (2544) ศึกษากลวธิ กี ารนา้ ขอ้ มลู คตชิ นมาใช้ในวรรณกรรมและหาภาพของวถิ ชี ีวิตภาคใต้ที่ ปรากฏผ่านการใช้ข้อมูล จากงานเขียนของกลุ่มนักเขียนภาคใต้ เช่น ไพฑูรย์ ธัญญา กนกพงศ์ สงสมพันธ์ุ มานพ แก้วสนทิ เปน็ ต้น ผลการศกึ ษาพบว่า วรรณกรรมของนกั เขยี นชาวใตน้ า้ เอาข้อมูล คติชนมาน้าเสนอหลายกลวิธี ท้ังการน้าข้อมูลคติชนมาสอดแทรกไว้ในนวนิยายโดยตรง หรือน้า “คติชนแปรสภาพ” ซ่ึงมีทั้งส่วนทเี่ ปน็ คติชนที่ไหลเวยี นในสังคมกบั อกี สว่ นทน่ี กั เขยี นดัดแปลงขึน้ มาใช้

14 การใช้ข้อมูลคติชนในวรรณกรรมเหล่านี้สะท้อนบุคลิกภาพของคนใต้ท่ีเป็นคนรักความเป็นธรรม ปฏเิ สธการเอารัดเอาเปรยี บ และมวี ิถีชวี ิตทอ่ี ยู่บนพืน้ ฐานความเชอื่ พุทธศาสนา อิสลามและความเช่ือ ด้ังเดิม ค่านิยมอื่นๆ ท่ีเป็นลักษณะเฉพาะของคนใต้อย่างเช่นความเป็นนักเลง “นายหัว” การไม่ ยอมรบั นบั ถอื ใครงา่ ยๆ เปน็ ตน้ บทความนส้ี มั พนั ธ์กับการศกึ ษาของผู้วจิ ัยตรงท่กี ารวเิ คราะห์ข้อมูลท่ี นา้ มาใช้และชีใ้ หเ้ ห็นวา่ การน้าขอ้ มูลคติชนมาใชม้ กี ารดัดแปลงดังทีเ่ รียกว่า “คติชนแปรภาพ” และยงั เห็นนยั ยะของการน้าข้อมลู เหลา่ น้มี าใช้ในบริบทใหม่เพื่อสือ่ ประเดน็ ทีแ่ ตกตา่ งไปจากเดิม วิทยานิพนธ์เร่ือง การใช้วรรณคดีและวรรณกรรมพื้นบ้านในนวนิยายของแก้วเก้า ของ จีรณัทย์ วิมุตติสุข (2550) ศึกษากระบวนการการน้าวรรณคดีและวรรณกรรมพ้ืนบ้านมาสรา้ งเป็น นวนิยายของแก้วเก้า 13 เรื่อง ผลการวิจัยช้ีว่า แก้วเก้าดึงเอาองค์ประกอบของวรรณคดีและ วรรณกรรมพ้ืนบ้านมาเล่าใหม่ให้สอดคล้องกับเหตุการณ์ในโลกปัจจุบันในรูปแบบนวนิยายแนว จินตนิมิต (fantasy) อย่างกลมกลืนและสมเหตสุ มผลเป็นที่ยอมรับได้ในโลกปัจจุบนั โดยจีรณทั ยส์ บื หาที่มาของข้อมูลต่างๆ ที่แก้วเก้าใช้ในนวนิยายแล้วน้ามาเปรียบเทียบเหตุการณ์และองค์ประกอบ ในนวนิยาย วิทยานิพนธ์ฉบับน้ีจึงช่วยแสดงมุมมองด้านการสืบทอดและประยุกต์ใช้ข้อมูลคติชน โดยเฉพาะวรรณกรรมท้องถ่ิน และน้ามาเป็นแนวทางในการสืบค้นที่มาของข้อมูลเชิงคติชนใน นวนยิ ายของพงศกรได้ วิทยานิพนธเ์ ร่อื ง การใช้วัฒนธรรมท้องถ่ินภาคเหนอื ในการสร้างสรรคน์ วนยิ ายของมาลา ค้าจันทร์ ของสันติวัฒน์ จันทร์ใด (2550) ศึกษาการน้าวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือท้ังความเชื่อ วิถีชีวิต เร่ืองเล่า ต้านาน ประวัติศาสตร์ ภาษาถ่ินมาใช้สร้างนวนิยายของมาลา ค้าจันทร์ 9 เรื่อง ผลการวิจยั ชี้ใหเ้ หน็ ว่า นวนิยายของมาลา ค้าจันทร์สอดแทรกวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นภาคเหนือลงไปใน ทุกองค์ประกอบ การใช้ขอ้ มลู ดังกลา่ วแสดงแนวคิดทม่ี ีพื้นฐานจากการท้าตามจารีตและอนุรกั ษ์หวง แหนวัฒนธรรมของคนภาคเหนือนวนิยายของมาลา ค้าจันทร์จึงมีคุณค่าอย่างย่ิงในแง่การสร้าง บรรยากาศทอ้ งถ่นิ ภาคเหนอื อย่างเข้มข้นและการแสดงให้เห็นวฒั นธรรมลา้ นนาในรูปแบบบันเทิงคดี ด้วยศิลปะการใช้ภาษาอย่างประณีตบรรจงท่ใี ห้ทงั้ ความสนุกสนานและเน้ือหาสาระท่ีนา่ สนใจ ท้ังยัง เห็นความสัมพันธ์ระหว่างนักเขยี นกับอตั ลกั ษณ์ท้องถ่นิ ของตน บทความเรื่อง นัยของการเล่านิทานในเจ้าการะเกด เรื่องรักเมื่อครั้งบรมสมกัลป์ ของ เสาวณิต จุลวงศ์ (2550ข) มงุ่ วเิ คราะห์นยั ยะของการเล่านิทานท่ปี รากฏในนวนิยายเรอื่ งเจา้ การะเกด เร่ืองรักเม่ือคร้ังบรมสมกัลป์ ของแดนอรัญ แสงทอง ผลการศึกษาช้ีให้เหน็ ว่า ในนวนิยายของแดน อรัญใช้กลวธิ ีการเล่าเรื่องท่ีน้าเอารูปแบบการเล่านทิ านของตะวันออกมาใช้ มกี ารผสมผสานเรือ่ งเล่า จากหลายแหล่งและเล่าในลักษณะนิทานซ้อนนิทานเพ่ือเป็นการต่อรองกั บรูปแบบนวนิยายจาก ตะวันตกและย่ัวล้อให้เห็นว่า แท้จริงแล้วนวนิยายก็เป็นเพียงเรื่องแต่งที่มีขีดจ้ากัด มิได้มีภารกิจ ยิง่ ใหญ่ในการรับใช้สงั คมตามท่เี คยเช่ือกนั มาดว้ ย บทความของเสาวณิตแสดงให้เหน็ วา่ นวนยิ ายของ

15 แดนอรัญสะท้อนความคิดว่านวนิยายนับเป็นกระแสธารที่สบื เนื่องตอ่ จากการเลา่ นิทาน มิไดแ้ ยกกนั อย่างเดด็ ขาด ขณะเดยี วกันก็ยืนยันให้เหน็ ว่าแทจ้ รงิ แล้วทง้ั นิทานและนวนยิ ายต่างมีภารกจิ ส้าคัญทไี่ ม่ ต่างกันและไม่เปลย่ี นไปคอื แสดงพลังจนิ ตนาการของมนุษย์นนั่ เอง จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกลุ่มน้ีสามารถมองเห็นประเด็นการศึกษาได้สอง แนวทาง แนวทางแรก มุ่งเน้นการวิเคราะห์องค์ประกอบของวรรณกรรมว่า ข้อมูลคติชนปรากฏใน วรรณกรรมผ่านองค์ประกอบใดของวรรณกรรม รวมถึงวรรณกรรมไดฉ้ ายภาพข้อมูลคตชิ นใดออกมา บา้ ง งานวจิ ัยกล่มุ นี้มักมุ่งเนน้ การวิเคราะห์ แจกแจงและจัดกลุ่มขอ้ มลู ในตวั บทเป็นหลกั สว่ นงานวิจัย อีกแนวทางหน่ึงจะพยายามเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลคติชน รวมถึงอธิบายนัยยะและ ป ร า ก ฏก า ร ณ์ ขอ ง ข้ อ มู ล คติ ชน ที่ ผู ก โ ย ง กั บ ตั วบ ท แ ล ะ บ ริ บ ท ท า ง สั ง คม ม า ก ก ว่ า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ องค์ประกอบของวรรณกรรมเพียงอย่างเดียว และน่าสังเกตว่า งานวิจัยในกลุ่มวรรณกรรมไทยมัก ช้ีให้เห็นถึงการสืบสานและสรา้ งสรรค์ผา่ นขอ้ มลู คตชิ นทนี่ ้ามาเปน็ ประเด็นศกึ ษาด้วย จากแนวทางท่ี ได้ทบทวนเอกสารและงานวจิ ัยกลุ่มนที้ ั้งสองแนวทางสามารถนา้ มาปรับใช้ไดท้ ัง้ ในแงก่ ารวเิ คราะห์ตัว บท การน้าขอ้ มูลคติชนมาประกอบสรา้ งเป็นนวนิยายได้ รวมถงึ การวเิ คราะห์ข้อมูลคตชิ นเชอื่ มโยงกบั บริบททางสังคม ตลอดจนน้ามาอภิปรายการสบื สานและสรา้ งสรรค์ของนวนิยายพงศกรจากการใช้ ข้อมลู คติชนไดอ้ ีกดว้ ย เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ งทง้ั หมดแสดงใหเ้ หน็ ชัดเจนวา่ แมว้ า่ จะมีการศึกษางานเขียน ของพงศกรมาบ้างแล้ว แต่ยังมีจ้านวนไม่มากนักและประเด็นท่ีผู้วิจัยศึกษาท่ีมุ่งเน้นไปท่ีข้อมูลเชิง คติชนของพงศกรนั้นยังไม่มีผู้ใดศึกษามาก่อน ผู้วิจัยจึงจะใช้มุมมองที่หลากหลายในเอกสารและ งานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องกบั พงศกรมาต่อยอดพร้อมกับน้าวิธกี ารศึกษาจากการทบทวนเอกสารและงานวิจยั กลุ่มการใช้ข้อมูลคติชนในวรรณกรรมทั้งของต่างชาติและของไทยมาใช้พร้อมค้นหามิติความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งข้อมูลเชงิ คตชิ นกบั วรรณกรรมในมิติใหมๆ่ 1.8 ข้อตกลงเบื้องต้น 1.8.1 ผู้วิจัยจะใช้ค้าว่า “ข้อมูลเชิงคติชน” เพื่อหมายถึง ข้อมูลท่ีพงศกรสรา้ งข้ึนจากการนา้ ขอ้ มูลคตชิ นประเภทตา่ งๆ เช่น เรอื่ งเลา่ พนื้ บ้าน ความเชือ่ พนื้ บา้ น ขนบธรรมเนยี มพนื้ บา้ น ประเภท ใดประเภทหนึง่ หรือหลายประเภทรวมกนั แล้วน้ามาผสมผสานกบั จนิ ตนาการและขอ้ มลู ประเภทอนื่ ๆ ท้าให้เกิดข้อมูลในนวนิยายทมี่ ีลักษณะคลา้ ยคลงึ กับข้อมูลคติชนท่ีไหลเวียนอยู่ในสงั คม ซึ่งผู้วิจัยจะ อภปิ รายที่มาของค้าน้ีโดยละเอียดในบทท่ี 2

16 1.8.2 ข้อความ “นวนยิ ายของพงศกร” ในวทิ ยานพิ นธ์ฉบบั น้ีมคี วามหมายเฉพาะนวนิยายที่ เลอื กมาศกึ ษาเพยี ง 8 เล่ม มิไดค้ รอบคลุมนวนิยายทงั้ หมดของพงศกร และนวนิยายของพงศกรทไี่ มไ่ ด้ เลือกมาศึกษานั้นก็อาจไม่จ้าเปน็ ตอ้ งมีลักษณะเช่นเดยี วกบั ทผ่ี วู้ ิจยั อภิปรายไวใ้ นวทิ ยานิพนธ์กไ็ ด้ 1.8.3 ช่ือหนังสือหลายเล่มพ้องกับชื่อสถานที่ ชื่อวัตถุหรือเหตุการณ์ในนวนิยาย ได้แก่ ใน หนังสือสร้อยแสงจันทร์ มีอัญมณีชื่อสร้อยแสงจันทร์ปรากฏอยู่ ในเรื่องฤดูดาว มีปรากฏการณ์ท่ี เรยี กวา่ ฤดูดาว ในเร่อื งคชาปรุ ะและนครไอยรา มีเมืองชื่อวา่ เมอื งคชาปุระและในกุหลาบรัตตกิ าล มี ดอกกุหลาบรัตติกาล เหตุน้ีเพ่ือแยกแยะว่า ผู้วิจัยก้าลังกล่าวถึงหนังสือหรือเหตุการณ์ในนวนิยาย ผู้วิจัยจึงจะขอกล่าวถึงหนังสือด้วยการท้าตัวอักษรเป็นตัวหนา ส่วนเหตุการณ์ สถานที่หรือวัตถุท่ี ปรากฏในนวนิยายนั้นใช้ตัวอักษรปกติและใส่ค้าช้ีเฉพาะลงไป ได้แก่ อัญมณีสร้อยแสงจันทร์ เมือง คชาปุระ ปรากฏการณ์ฤดดู าว ดอกกุหลาบรตั ติกาล

บทที่ 2 ข้อมลู เชิงคตชิ นในนวนิยายของพงศกร ในบทน้ีมงุ่ ศึกษาขอ้ มลู เชงิ คติชนในนวนยิ ายของพงศกร โดยในสว่ นแรกจะเร่ิมจากการอธิบาย ค้าสา้ คญั ในงานวิจยั นี้ ค้าว่า “ขอ้ มูลเชงิ คติชน” ซง่ึ มีความหมายแตกตา่ งจาก “ข้อมูลคตชิ น” ในส่วน ที่สองของบทจะเปน็ การแสดงภูมิหลงั ของขอ้ มูลเชิงคติชนในนวนยิ ายของพงศกรว่า พงศกรน้าข้อมูล ประเภทใดบ้างมาประกอบสรา้ งข้อมูลเชิงคติชน และวิเคราะห์การประกอบสรา้ งข้อมูลคติชนว่าใช้ วธิ ีการใด ผลการประกอบสร้างว่าข้อมูลเชงิ คตชิ นท่เี กดิ ขึ้นมลี กั ษณะอย่างไร 2.1 ความหมายของคตชิ น ข้อมลู คตชิ นและข้อมูลเชงิ คตชิ น “ขอ้ มูลเชิงคตชิ น” เปน็ คา้ ท่ผี ู้วิจยั ใชใ้ หม้ ีความหมายเฉพาะในวทิ ยานิพนธฉ์ บบั นี้ ผูว้ ิจัยจึงจะ อธิบายความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับค้าว่าคติชน คติชนวิทยาและข้อมูลคติชนโดยสังเขปก่อน เช่ือมโยงไปสู่ความหมายของคา้ ว่าข้อมลู เชงิ คติชนตามล้าดบั 2.1.1 ความหมายของ “คตชิ น” และลักษณะของ “ข้อมลู คติชน” ค้าว่า “คติชน” เป็นศัพท์บัญญัติจากค้าว่า folklore ในภาษาอังกฤษ วิลเลียม ธอมส์ (William Thoms) นักวิชาการชาวอังกฤษได้เสนอค้านขี้ ้ึนใช้เม่ือปี ค.ศ. 1846 หมายถึง ความรู้ของ ชาวบ้าน ต้ังแตน่ ทิ านที่ชาวบา้ นเลา่ กนั เพลงท่ีชาวบ้านรอ้ ง การแสดงพ้ืนบา้ น ความเชอ่ื ประเพณี ฯลฯ โดยก่อนหน้าน้ันองค์ความรู้เกี่ยวกับชาวบ้านไม่อยู่ในความสนใจของนักวิชาการ ข้อมูลกลุ่มน้ีจึงถือ เป็นข้อมูลใหม่ในวงวิชาการ ท้าให้เกดิ การลงไปศึกษาวิถชี ีวิตของผ้คู นระดับลา่ ง ก่อนเกิดทฤษฎแี ละ แนวคดิ เพื่ออ่านหรอื ตคี วามข้อมูลตามมา (ศริ าพร ณ ถลาง 2552, 2-3) ส้าหรับค้าวา่ folklore ในวง วิชาการไทย ระยะแรกใช้ค้าว่า “คติชาวบ้าน” หมายรวมท้ัง “กลุ่มข้อมูล” ท่ีเกีย่ วกับชาวบ้านและ “ชื่อวิชา” ที่ใช้ศึกษา4 จนภายหลังก่ิงแก้ว อัตถากร ซึ่งจบการศึกษาปริญญาเอกด้าน folklore โดยตรงจากประเทศสหรฐั อเมรกิ าและเผยแพรอ่ งค์ความรแู้ ขนงน้ีแก่วงวิชาการไทยให้กว้างขวางข้ึน เป็นผู้เสนอให้ใช้ค้าว่า “คติชน” และ “คติชนวิทยา” เป็นคนแรก โดยคติชนเป็นค้าเรยี กกลุม่ ข้อมลู ส่วนคติชนวิทยาเปน็ ช่อื วิชาในการศกึ ษา (กญั ญรัตน์ เวชชศาสตร์ 2541, 6-7) การสร้างศัพท์บัญญัติว่าคติชนและคติชนวิทยาสะท้อนการเปล่ียนแปลงด้านแนวคิดของ “folk” และ “lore” กลา่ วคือ ในยุคแรก ชน (folk) หมายถึงเฉพาะชาวบา้ นหรอื กล่มุ คนทไ่ี ม่เจรญิ ใน 4 นักวิชาการหลายคนที่ใช้ค้าว่าคติชาวบ้าน เช่น พระยาอนุมานราชธน เจือ สตะเวทิน กุหลาบ มัลลิกะมาส ฯลฯ รวมถึงใน พจนานุกรมไทยฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ก็ยังใช้คา้ นี้อยู่

18 สังคมอารยะ (the uncivilized element in a civilized society) และคนท่ีไม่รู้หนังสือในสังคมทีร่ ู้ หนังสือ (the illiterate in a literate society) ซง่ึ ไมห่ มายรวมถงึ คนในเมอื งที่เจรญิ แลว้ และรหู้ นงั สอื แต่เมื่อสังคมเจริญเป็นเมืองมากย่ิงขึ้น ชาวนาหรือคนในชนบทก็เร่ิมเข้ามาสู่ระบบอุตสาหกรรมจน กลายเป็นส่วนหนึ่งของสังคมเมือง สาเหตุดังกล่าวน้ามาสู่ค้าถามในบทความของอลนั ดันดีส (Alan Dundes) ว่า “Who are the Folk?” หรือใครนับเปน็ “folk” ได้บ้าง ในบทความน้ีดันดีสได้นิยาม “folk” ใหม่ซ่ึงหมายรวมกลมุ่ คนใดๆ ท่ีมีขนาดเล็กหรือใหญ่ก็ได้ หากต้องมีลักษณะหรือมีอตั ลกั ษณ์ บางประการเฉพาะกลุ่มรว่ มกัน อาจจะเป็นจุดรว่ มทางอาชพี ศาสนา ภาษา หรอื อืน่ ๆ กไ็ ด้ เหตนุ ้ี folk จึงอาจไม่ใช่เพียงชาวบ้านที่ไม่รู้หนังสืออีกต่อไป แต่อาจเป็นชาวเมืองที่รู้หนังสืออย่างดี กล่าวได้ว่า “ชน” ในความหมายใหม่จงึ ไม่จ้ากัดเฉพาะกลมุ่ ชาวบ้านเทา่ นนั้ คตชิ นวทิ ยาจึงเปน็ ศาสตรท์ ี่มองกลุ่ม คนได้อย่างกวา้ งขวางและหลากหลายมากยงิ่ ขึ้นกว่าในอดีตและเป็นการขยายขอบเขตการศึกษาจาก กลุ่มชน “ชาวบา้ น” สู่ “ชาวเมอื ง”(ศริ าพร ณ ถลาง 2552, 420-423) ส่วนค้าว่า คติ (lore) อันหมายถึง กลุ่มข้อมูลที่เป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมก็ได้เปลี่ยนไป เชน่ เดยี วกัน ข้อมลู ท่นี ักคติชนสนใจในช่วงเรม่ิ แรกราวคริสต์ศตวรรษท่ี 19 คอื ขอ้ มลู ประเภทถอ้ ยค้า (verbal folklore) ทั้งท่ีเป็นนิทานพื้นบ้าน เพลงพ้ืนบ้าน ภาษิตปริศนาค้าทาย เพราะผู้สนใจศึกษา กลมุ่ แรกเป็นนกั ภาษาศาสตรแ์ ละนกั วรรณคดีท่เี นน้ การลงไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากชาวบ้าน พวกเขา มองว่าถ้อยคา้ สามารถสะท้อนความคิด ความเชื่อและจินตนาการของชาวบ้าน จากนน้ั การศกึ ษาก็ได้ ขยายมาสู่การละเล่นการแสดง (performing folklore) และต่อมานักคติชนวิทยาหลายคนเห็นว่า การศึกษาคติชนวิทยาไม่ควรจ้ากัดข้อมูลอยู่เพียงเท่าน้ัน หากต้องศึกษาศิลปะการแสดงออกของ มนุษย์ในส่วนที่จับต้องได้ ได้แก่ ศิลปหัตถกรรม และวัฒนธรรมการด้ารงชีวิตในมิติอื่นด้วย จึงท้าให้ เกิดค้าว่า “folklife” อีกค้าหน่ึง (ศิราพร ณ ถลาง 2552, 423-424) ขอบเขตของข้อมูลคติชนใน ปจั จุบนั จงึ ไดข้ ยายกว้างขวางออกไป ความสนใจการวเิ คราะห์ขอ้ มูลคติชนกม็ ุ่งเน้นไปท่ีคตชิ นประเภท วัตถุ (material folklore) กับคติชนประเภทความเชื่อประเพณี (customary folklore) และอ่ืนๆ มากขึน้ (ศริ าพร ณ ถลาง 2552, 4-13) เมอ่ื เป็นเช่นนี้ ขอบข่ายของขอ้ มลู คติชนจงึ ถอื ว่าขยายขอบเขต ครอบคลุมข้อมูลทางวัฒนธรรมหลายมิติ ดังท่ีริชาร์ด ดอร์สัน (Richard Dorson) ได้รวบรวมและ เสนอการจัดประเภทข้อมูลคติชนไว้ในหนังสือ Folklore and Folklife: an Introduction ครอบคลุมขอ้ มูลทง้ั รูปธรรมและนามธรรม (สกุ ญั ญา สุจฉายา 2556, 10) ดังน้ี ประเภทแรก วรรณกรรมมุขปาฐะ (oral literature/verbal art/expressive literature) สามารถแบ่งย่อยได้เป็นเร่ืองเล่าพ้ืนบ้าน (folk narrative) เพลงพื้นบ้านหรือร้อยกรองพ้ืนบ้าน (folksong or folk poetry) ภาษิต (proverbs) ปริศนาคา้ ทาย (riddles) และคา้ กล่าวชาวบา้ น (folk speech)

19 ประเภทท่ีสอง วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) หรือวิถีชีวิตของชาวบ้านทาง กายภาพซ่ึงครอบคลุมกลวิธี ทักษะ ต้าราและสูตรที่ส่งทอดโดยการบอกเล่า เช่น สถาปัตยกรรม พื้นบ้าน เครือ่ งแตง่ กายพนื้ บา้ น การปรุงอาหารพนื้ บา้ น เคร่ืองมือเคร่ืองใชท้ ่ผี ลิตดว้ ยมอื เปน็ ตน้ ประเภทที่สาม ขนบธรรมเนียมพ้ืนบ้าน (social folk custom) เป็นกิจกรรมเพื่อรวม ปฏสิ มั พันธ์ของคนในชมุ ชน ได้แก่ ประเพณีในช่วงการเปลี่ยนผ่านของชีวติ (rites of passage) ความ เช่ือพื้นบ้าน (folk belief) การรักษาโรคพ้ืนบ้าน (folk medicine) งานเทศกาลของชาวบ้าน (festival) และการละเล่น (recreation and game) ประเภทสุดท้าย ศิลปะการแสดงพ้ืนบ้าน (performing folk arts) ประกอบด้วยดนตรี พนื้ บ้าน (folk music) การเตน้ รา้ พื้นบา้ น (folk dance) และละครชาวบา้ น (folk drama) ส่วนวงวิชาการคติชนวิทยาไทย ก่ิงแก้ว อัตถากร (2519, 6) ได้แบ่งกลุ่มข้อมูลคติชนเป็น 3 กลุ่มใหญ่ โดยใช้ถ้อยค้าเป็นเกณฑ์ในการจัดแบง่ ได้แก่ กลุ่มแรก “มุขปาฐะ” ได้แก่ บทเพลง นิทาน ปริศนา ภาษิต ค้าพังเพย ภาษาถ่นิ และความเชอื่ กลุ่มท่สี อง “อมุขปาฐะ” ไดแ้ ก่ ศลิ ปะ หตั ถกรรม และสถาปตั ยกรรม และกลมุ่ ทีส่ าม “ผสม” ไดแ้ ก่ การรอ้ งร้า การละเล่น ละคร พธิ กี รรม ประเพณี เมื่อความหมายของ “คติ” “ชน” และ “คติชน” ได้ขยายขอบเขตออกไป ตัวข้อมูลใน การศึกษาคติชนวิทยาจึงมีอย่างไม่จา้ กัด และเมื่อสังคมได้พัฒนาไปกลายเปน็ เมืองมากย่ิงขึ้น ปัจจยั ดงั กลา่ วส่งผลใหม้ ีแนวโน้มการศึกษา “คตชิ นสมยั ใหม่” (modern folklore) ซ่ึงเปน็ เรอื่ งเล่าในเมอื ง (Urban Legend) เร่ืองเล่าในอินเทอร์เน็ต นิทานมหัศจรรย์สมัยใหม่เข้ามาอีกด้วย โดยเฉพาะกลมุ่ คติชนสมัยใหม่ท่ีปรากฏท้ังในสื่อสมัยใหม่อย่างอินเทอร์เน็ต เกมคอมพิวเตอร์ หรืออ่ืนๆ อย่าง กว้างขวาง การศึกษาข้อมูลคติชนสมัยใหม่มงุ่ มองมายังกลุ่มชาวเมืองและปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนกบั ข้อมูลคติชนในยุคโลกาภิวัตน์มากขึ้น (ศิราพร ณ ถลาง 2552, 449-462) ข้อมูลคติชนสมัยใหม่ ใกล้เคยี งกบั ขอ้ มูลเชิงคติชนในนวนยิ ายของพงศกรซึ่งจะกลา่ วในล้าดับต่อไป 2.1.2 ความหมายและลักษณะของ “ขอ้ มูลเชงิ คตชิ น” ข้อมูลคติชนสัมพันธ์กับปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้คนในกลุ่มคนหนึ่งๆ จนเกิดเป็นผลผลิตทาง วัฒนธรรมข้ึน ย่ิงเม่ือสังคมเจริญเป็นเมืองมากข้ึน ข้อมูลดังกล่าวไม่ได้หายไป แต่ได้ปรับตัว พัฒนา รูปแบบและเนอ้ื หาให้สอดคล้องกับวิถชี ีวิตคน โดยเฉพาะสงั คมเมอื งทส่ี ่ือสารมวลชนเข้ามามีบทบาท เป็นสื่อกลางในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคน เหตุน้ีจึงมีข้อมูล “คติชนสมัยใหม่” (modern folklore) เกิดข้นึ ศิราพร ณ ถลาง (2552, 449-454) ได้ยกตวั อย่างจากสงั คมอเมรกิ ันท่ีแม้กา้ วเข้าสู่ ความเปน็ สมยั ใหม่ แตย่ ังมีเรอ่ื งเลา่ เกยี่ วกบั ความลกึ ลบั มภี ูตผีปรากฏตวั หากเรอ่ื งเลา่ เหล่านน้ั มีสงั คม เมืองเป็นฉากหลัง ซ่ึงอาจสะท้อนความหวาดกลัวต่อเทคโนโลยีหรือความเป็นสมัยใหม่ ข้อมูลกลุ่ม ดังกล่าวอาจเรียกได้ว่าเป็น “Urban Legends” หรือ “เร่ืองเล่าสมัยใหม่” ลักษณะของเรื่องเล่า

20 สมยั ใหม่ก็มีความคลา้ ยคลึงกบั ข้อมูลคติชนในอดตี ตรงที่ผู้เล่ามกั อ้างวา่ เปน็ เรื่องจรงิ เนอ้ื หามลี กั ษณะ “เกินจริง” แบบนิทาน แต่ละเรื่องมีหลายส้านวน เรื่องเล่าเหลา่ นี้นอกจากจะถ่ายทอดผา่ นมขุ ปาฐะ แล้วยงั อาศยั เทคโนโลยสี มัยใหม่อย่างคอมพิวเตอร์ อนิ เทอร์เน็ต อเี มล์ ฯลฯ เขา้ มาเป็นส่อื กลาง เร่ือง เล่าสมัยใหมจ่ ึงเป็น “lore” อันสะทอ้ นทัศนคติของ “folk” ที่มีชีวิตอยู่ในสงั คมเมอื ง การศึกษาเรอ่ื ง เล่าสมยั ใหม่จึงสามารถท้าใหเ้ ราเข้าใจผู้คนในสงั คมปัจจบุ ันที่มวี ิถีชีวิตเปล่ยี นไปจากสงั คมประเพณี เม่ือย้อนกลับมายงั สังคมไทยกน็ ับว่ามเี รอื่ งเล่าสมัยใหมอ่ ยู่ไม่น้อย ท้ังท่ีเปน็ เรือ่ งผีในรายการ วิทยุและสอื่ ออนไลน์ หรือเร่อื งเลา่ อีกหลายแนวท่ีสะทอ้ นใหเ้ หน็ อตั ลักษณ์ของกลมุ่ คนในสงั คมปจั จุบนั ตัวอย่างเช่น งานวิจัยของพจมาน มูลทรัพย์ (2551) ได้ศึกษาเร่ืองเล่าของเกย์ในชุมชนวรรณกรรม ออนไลนจ์ ากกลุม่ บลูสกาย โซไซตใ้ี นเว็บไซต์พันทิป (www.pantip.com) และแสดงใหเ้ หน็ วา่ เรอ่ื งเลา่ ชุมชนออนไลน์มีสว่ นช่วยยึดโยงความเปน็ พวกเดียวกัน บ่งบอกอัตลกั ษณ์เกย์ว่าไม่ต่างจากคนท่ัวไป และตอบโต้กบั วาทกรรมกระแสหลกั หรอื งานของเกศสุดา นาสเี คน (2557) ไดศ้ กึ ษาเรือ่ งเล่าแนวรัก โศก (Narrative of Tragic Love) ในรายการวิทยุคลบั ฟรายเดย์ (Club Friday) เกศสุดาชี้ให้เห็นว่า เร่ืองเลา่ แนวรักโศกที่ผฟู้ งั โทรมาปรกึ ษากับผจู้ ดั รายการ มีเรือ่ งราวจากการประสบปญั หาชีวิตรักหลาย รูปแบบ สะทอ้ นให้เห็นรสนยิ มหรือค่านยิ มทมี่ ีรว่ มกันของกลมุ่ ผูเ้ สพ และนบั ไดว้ า่ เรอื่ งเล่าแนวรักโศก เหลา่ นี้เป็นคติชนสมยั ใหม่ในกลุ่ม city folk ท่สี ะท้อนความผกู พนั ระหว่างวิถีชวี ิตคนเมอื งกับพ้ืนที่สื่อ สาธารณะ คติชนสมัยใหม่ยังมีรูปแบบและเน้ือหาอีกหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็น “นิทานมหัศจรรย์ สมัยใหม่” เช่น เร่อื งราวของโดราเอมอน โปเกมอน ดจิ ิมอนและแฮร่ี พอตเตอร์ ฯลฯ รวมถงึ เนอื้ หาใน เกมคอมพวิ เตอร์ท่ีการเดินทางแสวงหาของวิเศษประเภทต่างๆ ไม่ต่างจากนทิ านจกั รๆวงศ์ๆ ในอดีต และมีบทบาทต่อการตอบสนองการเติมเต็มความคิดหรือความปรารถนาของเด็ก (ศิราพร ณ ถลาง 2552, 456) หรอื “ปริศนาคา้ ทาย (riddle) สมัยใหม่” เองก็ปรบั เปล่ยี นไปในบริบทปจั จบุ นั ดังที่งาน ศึกษาของ ศิริพร ภักดีผาสุข (2548, 13-50) ได้ศึกษาข้อมูลคติชนกลุ่มน้ีในอนิ เทอร์เนต็ และใหข้ อ้ สรปุ อย่างน่าสนใจว่า คติชนประเภทน้ีแปลกใหม่เพราะเกิดการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมโลกและ วฒั นธรรมท้องถ่ินท้ังในด้านรปู แบบ เนอ้ื หาและการน้าเสนอเข้าดว้ ยกัน ผลทไ่ี ดก้ ็คือ ปรศิ นาค้าทายที่ มีลักษณะเป็นวัฒนธรรมลูกผสม (cultural hybridity) อาจกล่าวได้ว่า ข้อมูลคติชนสมัยใหม่เป็น ข้อมูลที่เกิดจากการปรับตัวให้เข้ากับสภาพสังคมเมืองและผู้คนท่ีผูกพันกับสื่อสาธารณะมากยิ่งขึ้น ข้อมูลคติชนจึงขยายจากการศึกษาชุมชนจริงสู่ชุมชนออนไลน์หรือกลุ่มคนท่ีปฏิสัมพันธ์ผ่าน สื่อสารมวลชนอันสามารถสะทอ้ นให้เห็นความสมั พนั ธข์ องผูค้ นในสังคมทีเ่ ปลี่ยนแปลง แนวคิดเรือ่ งข้อมูลคตชิ นสมัยใหมส่ ามารถน้าพจิ ารณากับข้อมูลคติชนในนวนิยายของพงศกร ได้ กลา่ วคอื นวนยิ ายของพงศกรมีการน้าข้อมลู คติชนบางสว่ นมาใช้และไปคล้ายคลงึ กับข้อมลู คติชน สมัยใหม่อื่นๆ ดังเช่นเกมคอมพิวเตอร์ท่ีมีลักษณะคล้ายคลึงกับนิทานจักรๆวงศ์ๆ นิทานมหัศจรรย์

21 สมัยใหม่ หรือปรศิ นาค้าทายในอินเทอร์เนต็ การศึกษาข้อมูลเชิงคตชิ นในนวนิยายดังกลา่ วจงึ เปน็ มงุ่ พิจารณาเพื่อชใี้ หเ้ หน็ “พลวตั ” ท่เี กิดจากการสบื ทอดและการสรา้ งสรรค์ผ่านตวั ขอ้ มูล ทั้งน้ี “ข้อมูลเชิงคติชน” ในนวนิยายของพงศกรที่กลา่ วถึงในวิทยานิพนธ์นี้หมายถึง ข้อมูลท่ี พงศกรสร้างข้ึนจากการน้าข้อมูลคติชนประเภทต่างๆ เช่น เร่ืองเล่าพื้นบ้าน ความเช่ือพ้ืนบ้าน ขนบธรรมเนยี มพื้นบ้าน ประเภทใดประเภทหนึ่งหรอื หลายประเภทรวมกัน แล้วน้ามาผสมผสานกับ จนิ ตนาการและขอ้ มลู ประเภทอื่นๆ ทา้ ใหเ้ กดิ ข้อมูลในนวนยิ ายท่ีมีลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั ขอ้ มูลคติชนที่ ไหลเวยี นอยู่ในสงั คม โดยเหตุที่ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรมีลักษณะคล้ายคลึงกับข้อมูลคติชนท่ี ไหลเวียนในสงั คมเน่อื งจากเมื่อพิจารณาองค์ประกอบยอ่ ยๆ ทีป่ รากฏในขอ้ มูลเชงิ คติชนแลว้ จะพบว่า มตี ัวละคร วตั ถสุ ง่ิ ของหรอื เหตกุ ารณ์ท่คี ลา้ ยคลึงกับเหตุการณ์ในนิทานพื้นบา้ นหรอื ต้านานหลายเรื่อง ในทางคติชนวิทยาเรียกองค์ประกอบย่อยๆ ว่า motif โดยสติธ ทอมป์สันกล่าวไว้ในหนังสือ The Folktale (Thompson 1977, 415) ว่า A motif can be defined as the smallest element in a tale having a power to persist in tradition. In order to have this power it must have something unusual and striking about it. Most motifs fall into three classes. First are the actors… . Second come certain items in background of action. In the third place there are single incidents. ข้อความในหนังสือของทอมปส์ ันอาจแปลได้ว่า motif คือ “หน่วยย่อยในนิทานที่ได้รับการ สืบทอดและด้ารงอยู่ในสังคมหนึ่งๆ และเหตทุ ่ีไดร้ ับการสบื ทอดกเ็ พราะมคี วาม ‘ไมธ่ รรมดา’ มคี วาม น่าสนใจทางความคิดและจินตนาการ อาจเป็นตัวละคร วัตถุสิ่งของ พฤติกรรมของตัวละครหรือ เหตุการณ์ในนิทาน” (ศิราพร ณ ถลาง 2552, 40) ในวงวิชาการคตชิ นวิทยาไทย กิ่งแก้ว อัตถากรได้ บัญญตั คิ า้ วา่ motif วา่ “อนุภาค”ของนิทาน (กญั ญรตั น์ เวชชศาสตร์ 2541, 6-7) ซงึ่ ผวู้ จิ ัยจะใช้ค้านี้ แทนค้าว่า motif ต่อไป ตัวอย่างอนุภาคของนิทานทรี่ ู้จักกันดี เช่น เม่ือกล่าวถึงรองเท้าแก้วเรากม็ กั นึกถึงนิทานเร่ืองซินเดอเรลลา รองเท้าแกว้ เปน็ อนภุ าควตั ถุสิ่งของ เมื่อกล่าวถึงตวั ละครท่เี กดิ เป็นหอย เราก็จะนกึ ถงึ เรือ่ งสังข์ทอง เมอ่ื กลา่ วถงึ เหตุการณก์ ระรอกเผอื กปลอมตนมาและเหตุการณเ์ มืองลม่ ลง เป็นหนองน้าก็อาจท้าให้นึกถึงเรื่องนิทานผาแดงนางไอ่ เป็นต้น อนุภาคของนิทานจึงเป็น องค์ประกอบเล็กๆ ทที่ า้ ให้เราจดจดจ้าไดด้ ้วยความพิเศษของอนภุ าคเหล่าน้ัน หากพิจารณานทิ านในหลายวัฒนธรรมเราจะพบอนภุ าคท่คี ล้ายคลงึ กัน เช่น แม่เล้ียงใจร้าย การแปลงกายจากคนเป็นสัตว์ ฯลฯ อนุภาคท่ีคล้ายคลึงกันดังกล่าวได้รับการรวบรวมไว้โดยสติธ ทอมป์สนั และคณะในดัชนอี นภุ าคนทิ านพนื้ บา้ น (Motif-Index of Folk Literature) ทอมป์สันได้

22 ด้าเนนิ การรวบรวมจากนทิ านทั่วโลกมาจดั หมวดหมอู่ นุภาค โดยแยกตามอนภุ าค แบ่งหมวดย่อยแล้ว แทนค่าด้วยตัวอักษร A-Z เช่น หมวด A อนุภาคเกี่ยวกับต้านานปรัมปรา (Mythological motifs) หมวด B สัตว์ หมวด C ข้อหา้ ม หมวด D ความวเิ ศษ ฯลฯ ในแตล่ ะหมวดจะมีล้าดับทีแ่ ยกย่อยไปอีก เชน่ หมวด D ความวิเศษ จ้าแนกได้เป็น D0-D699 การแปลงรา่ ง D700-799 การถอนค้าสาป D800- 1699 ของวิเศษ ฯลฯ ในแตล่ ะลา้ ดบั ช้ันของตัวเลขแบง่ ยอ่ ยไดอ้ ีก เช่น D0-D699 การแปลงร่าง หาก พิจารณาย่อยไปอีกก็จะมี D100-D199 การแปลงร่างจากคนเป็นสัตว์ และยังแยกย่อยอีกเป็นการ แปลงรา่ งจากคนเปน็ สัตว์เลีย้ งลูกดว้ ยนม การแปลงรา่ งจากคนเปน็ นก การแปลงรา่ งจากคนเปน็ ปลา ฯลฯ นอกจากหนงั สือชดุ นจ้ี ะระบุอนุภาคท่พี บ ในหนงั สือยังให้ข้อมูลด้วยวา่ อนุภาคดงั กล่าวพบได้ใน นทิ านจากชาติใดบ้าง ดชั นีอนภุ าคนิทานพืน้ บา้ นจงึ ถอื เป็นหนังสืออา้ งอิงส้าคญั ทางคติชนวทิ ยาและ นับเป็น “ขุมคลังแห่งความคิดและจินตนาการของมนุษย์” และท้าให้เราเห็นความคิดของคนต่าง วัฒนธรรมท่ีมรี ว่ มกันอนั แสดงให้เห็นถงึ ความคิดท่เี ปน็ สากล (ศิราพร ณ ถลาง 2552, 41-47) การศึกษาอนุภาคของนิทานสามารถใช้ดัชนีอนุภาคนิทานพ้ืนบ้านเปน็ ตัวต้ัง โดยเลือกบาง อนุภาคท่ีปรากฏในแทบทุกสังคมวัฒนธรรมมาศึกษา พิจารณาความเหมือนและความต่างระหว่าง นทิ าน-ต้านานระหว่างไทยกบั สากล ในอกี แนวทางหน่งึ อาจเลอื กเฉพาะอนภุ าคใดอนุภาคหนึ่งข้ึนมา พจิ ารณาเฉพาะวัฒนธรรมนนั้ ๆ โดยไมต่ ้องอา้ งอิงกลับไปท่ดี ัชนอี นุภาคนทิ านพน้ื บ้านก็ได้ นอกจากน้ี แนวคดิ อนภุ าคของนทิ านสามารถน้ามาประยกุ ต์ใช้กบั การศกึ ษาข้อมลู เชงิ คติชนในวงวรรณคดีศึกษา ได้เช่นกัน โดยเฉพาะการศึกษากลมุ่ วรรณกรรมปจั จุบันท่ีดัดแปลงหรือหยิบยืมอนุภาคบางสว่ นจาก นิทาน-ต้านาน ดงั เช่น วทิ ยานพิ นธข์ องวไิ ลพรรณ สุคนธทรพั ย์ (2541) ศึกษาการน้าอนุภาคตวั ละคร โพรมีทิอุส (Prometheus) ในต้านานปรัมปรากรีกมาสร้างเป็นวรรณกรรมปัจจุบันท่ีเขียนเป็น ภาษาองั กฤษ วทิ ยานิพนธ์ของสุกุลภา วิเศษ (2554) ศึกษาเทยี บเคยี งอนภุ าคตัวละคร วัตถุสิ่งของและ เหตุการณ์ในตัวบทวรรณกรรมกับดัชนีอนุภาคนิทานพ้ืนบ้านเพื่อแสดงให้เหน็ ว่า วรรณกรรมเหล่านี้ ได้น้าเอาอนภุ าคของนิทานพน้ื บา้ นมาใช้และสง่ ผลต่อแนวคดิ การสร้างสา้ นกึ เชงิ นเิ วศแกผ่ ู้อา่ น เปน็ ตน้ งานวจิ ยั ดังกลา่ วแสดงใหเ้ หน็ การน้าขอ้ มลู คติชนเดมิ มาใชใ้ หม่เพอื่ เสนอสารในบรบิ ททเ่ี ปลยี่ นไป และ ข้อมูลเชงิ คตชิ นในนวนิยายของพงศกรนบั ว่าเขา้ ข่ายนี้เช่นกัน เพราะนวนิยายทเี่ ลือกมาศึกษาแทบทุก เรื่องจะมีอนุภาคท่ีโดดเด่นอยู่หลายอนุภาค เช่น น้าท่วมโลก เมืองล่ม หญิงสาวกลายเป็นดอกไม้ เปน็ ตน้ ซ่ึงพบทัง้ ในดัชนอี นุภาคนทิ านพนื้ บ้านและนิทานพน้ื บา้ นไทย แลว้ บรบิ ทการนา้ มาใชย้ งั มีการ นา้ อนภุ าคมาใช้เพอ่ื เสนอแนวคิดท่ีเปลยี่ นแปลงไปดว้ ย ด้วยเหตนุ ี้ ผวู้ ิจยั จงึ จะน้าแนวคิดอนุภาคของนิทานมาประยกุ ต์ใชพ้ ิจารณาข้อมลู เชิงคติชนใน นวนิยายของพงศกร โดยจะใช้ค้นหาอนุภาคหลักจากเรอื่ งเล่าพ้ืนบ้านท่ีพงศกรน้ามาสร้างข้อมลู เชงิ คติชนท่ีเป็นเร่ืองเล่า (narrative) และน้ามาใช้ค้นหาอนุภาคร่วมกันของข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยาย ของพงศกรต่อไป

23 2.2 ประเภทของขอ้ มลู ท่พี งศกรใช้ในการประกอบสรา้ งขอ้ มลู เชิงคติชน ในหัวข้อนี้ผู้วิจัยจะแจกแจงข้อมูลที่พงศกรน้ามาใช้ประกอบสร้างข้อมูลเชิงคติชน ตาม ประเภทข้อมูลท่ีพงศกรน้ามาสร้างข้อมูลเชิงคติชน โดยพบว่าพงศกรใช้ข้อมูลห้าประเ ภท ได้แก่ ประเภทแรก เรื่องเล่าพื้นบ้านและอนุภาคจากเร่ืองเล่าพื้นบ้าน ประเภทท่ีสอง ความเชื่อและ ขนบธรรมเนยี มพื้นบ้าน ประเภททส่ี าม วรรณคดีและวรรณกรรมไทย ประเภทท่สี ่ี ประวัตศิ าสตร์ และ ประเภทสดุ ท้าย ขอ้ มูลเบ็ดเตลด็ ที่อยูใ่ นวัฒนธรรมไทยและตา่ งชาติ ดังตอ่ ไปนี้ 2.2.1 ข้อมูลประเภทเรอื่ งเล่าพืน้ บา้ นและอนภุ าคจากเรื่องเล่าพนื้ บา้ น ค้าว่า “เร่ืองเลา่ พื้นบ้าน” (folk narrative) สุกัญญา สุจฉายา (2556, 21) ให้ความหมายว่า เรอ่ื งเลา่ พื้นบา้ นหรือนิทานพื้นบา้ น (folktale) เป็นเรอ่ื งเล่ารอ้ ยแกว้ ทส่ี บื ทอดตอ่ ๆกันมา มโี ครงเรื่องที่ จดจ้าได้และเข้าใจได้ง่าย เป็นสมบตั ิรว่ มกันของชมุ ชน ประคอง นิมมานเหมนิ ท์ (2551, 89) จ้าแนก เน้ือหาของเรื่องเล่าพ้ืนบ้านไว้ 11 ประเภท เช่น ต้านานปรัมปรา (myth) นิทานมหัศจรรย์ (fairy tale) นทิ านประจ้าถนิ่ (sage/local legend) นทิ านอธบิ ายเหตุ (explanatory tale) มกุ ตลก (joke) เป็นต้น ท่ีน่าสังเกต คือ ทั้งนิทานและต้านานต่างจดั รวมอยู่ในเรอื่ งเล่าพื้นบ้าน เพราะแทจ้ ริงแล้วทัง้ สองต่างเป็นเร่ืองเล่าท่ีสืบต่อกันมาอย่างยาวนาน ผ่านการเล่าและไม่ทราบว่า ผู้ใดเป็นผู้แต่ง เช่นเดียวกนั หากจุดแบง่ สา้ คัญ คือ “ความศักดิส์ ทิ ธ์ิ” หมายถึง ต้านานมักมเี นื้อหาเกี่ยวกับเทพเจา้ หรือสิ่งศักด์ิสิทธิ์ต่างๆ มาปรากฏในเร่ือง และบางต้านานเป็นที่มาของพิธีกรรมด้วย ตัวอย่างเช่น ต้านานการกา้ เนดิ โลก ตา้ นานการอธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาตติ ่างๆ เปน็ ต้น ขณะทน่ี ิทานเป็นเรื่อง เล่าที่ยังมีเรื่องราวเก่ียวกับทางโลกเกีย่ วกับชีวิตมนุษย์มากกว่า5 ทั้งนี้ ผู้วิจัยจะใช้ลักษณะข้างต้นมา พิจารณาและเรียกชื่อขอ้ มูลในนวนยิ ายว่าเปน็ นทิ านหรอื ต้านาน ซึ่งพบวา่ ในนวนิยายของพงศกรมีท้ัง การน้าเร่ืองเล่าพื้นบ้านท้ังเร่ืองมาใช้ บางส่วนก็เอามาเฉพาะโครงเรื่องและบางส่วนก็น้ามาเฉพาะ อนภุ าคเด่นๆ 2.2.1.1 นทิ านผาแดงนางไอ่ในเบอื้ งบรรพ์ นวนิยายเรือ่ งเบอ้ื งบรรพ์ นา้ นิทานพื้นบา้ นอสี านเรือ่ งผาแดงนางไอ่มาใช้เปน็ องคป์ ระกอบ หลักของนวนยิ าย นทิ านเร่ืองน้เี ปน็ นิทานประจ้าถนิ่ มีบทบาทอธบิ ายความเปน็ มาของหนองน้าขนาด ใหญ่ท้ังหนองหานสกลนครและหนองหานกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี รวมถึงอธิบายภูมินามต่างๆ ใน ภาคอีสาน พงศกรเลา่ ว่า นวนิยายเรื่องนี้เขียนจากแรงบันดาลใจเม่ือครั้งเป็นนักศึกษาแพทยไ์ ปออก 5 สุกัญญา สุจฉายา (2556: 34) กล่าวไว้ว่า องค์ประกอบความศักดิ์สิทธ์ินั้นเป็นเกณฑ์ท่ีนักคตชิ นน้ามาจัดแบ่งระหว่างนิทานกบั ต้านาน หากในความรับรู้ของคนไทยโดยทั่วไป ต้านาน คือ เร่ืองเล่าท่ีสืบต่อกันมาช้านานเพียงอย่างเดียว แต่ในงานวิจัยชิ้นน้ีจะใช้ ความหมายของค้าวา่ ตา้ นาน ตามที่ได้กลา่ วไปเพ่อื แยกระหวา่ งนทิ านกับตา้ นานให้ชัดเจน

24 ภาคสนามที่จังหวัดสกลนคร ที่พักของเขาอยู่ใกล้กับหนองหานสกลนคร ท้าให้เขาได้จินตนาการว่า หากมีการขุดค้นพบเมืองท่ีอยู่ใต้หนองหานจริงจะเป็นเช่นใด จนเขามีโอกาสได้สานต่อความคิด ดังกลา่ วเปน็ นวนิยายเรอ่ื งเบื้องบรรพ์ (พงศกร, สมั ภาษณ์, 9 มถิ นุ ายน 2558) นิทานผาแดงนางไอ่เล่าถึงพระยาขอมผู้ครองเมืองเอกทะชิตา6มีธิดาที่งดงามยิ่งชื่อว่า ไอ่ค้า เม่ือถึงวัยเลือกคู่ พระยาขอมได้จัดพิธีเสี่ยงหาลูกเขยโดยแข่งขันจุดบั้งไฟ ถ้าบั้งไฟของผู้ใด ทะยานขึ้นสูงท่ีสดุ ผูน้ ้ันจะได้เป็นลูกเขย ผลปรากฏว่าท้าวผาแดงชนะและลอบได้เสียกับนางไอ่ค้าใน เวลาต่อมา กลา่ วถงึ ทา้ วภงั คี บตุ รพญานาคกใ็ ชโ้ อกาสการแขง่ ขันครงั้ น้ีแปลงตนเปน็ กระรอกดอ่ นหรอื กระรอกเผือกมาลอบชมนางไอ่ค้า เม่ือนางไอ่ค้าเห็นกระรอกด่อนก็เกิดความอยากได้กระรอกตัวนี้ อย่างประหลาด นางสง่ั ให้บ่าวไพรช่ ่วยกนั จบั แตไ่ ม่มีใครจบั ได้ จนนางไอ่คา้ ใชธ้ นยู ิงกระรอกตวั น้นั ตาย กอ่ นตายกระรอกดอ่ นไดอ้ ธิษฐานว่า ขอใหเ้ นอ้ื ของตนมปี ริมาณเพ่มิ ขนึ้ พอเล้ียงคนทั้งเมอื งได้และคนที่ กินเน้ือตนขอให้จมหายลงไปพรอ้ มเมือง ผลปรากฏว่า เมอ่ื นางไอ่ค้าแบ่งเน้ือกระรอกก็แบ่งเท่าใดไม่ หมดจนสามารถแบง่ ให้แก่ชาวเมอื งทุกคนไดก้ นิ มเี พียงหญิงม่ายคนเดยี วทไ่ี ม่ได้กนิ กลา่ วถงึ พญานาค เมื่อรู้เร่ืองว่าบุตรชายของตนเสียชีวิตก็โกรธแค้นแล้วยกทัพมาถลม่ เมืองเอกทะชิตาจนล่มกลายเปน็ หนองนา้ เว้นแต่บา้ นหญิงม่ายท่ีไม่ได้ล่มลงไปพรอ้ มเมือง ทา้ วผาแดงไดพ้ านางไอ่คา้ หนีจากเมืองด้วย มา้ บักสาม ระหว่างทางนางไอค่ า้ ได้ทิง้ สัมภาระต่างๆ ไปเพ่ือใหห้ นีได้ทันเวลา ท้ายท่ีสุดนางไอค่ า้ ก็หนี ไม่พ้นและจมหายลงไปในแผ่นดิน ท้าวผาแดงกลบั มายังเมืองของตน สรู้ บกับพญานาคต่อไป รอ้ นถงึ พระอินทร์ตอ้ งลงมาตดั สินความว่า สาเหตุท่แี ท้จรงิ เกิดขน้ึ เพราะผลกรรมที่ผูกพันมาแตอ่ ดตี ชาติ นาง ไอค่ า้ เคยเกิดเป็นลกู สาวเศรษฐีทีแ่ ต่งงานกับชายใบ้หรือทา้ วภงั คี ชายใบท้ า้ ใหล้ กู สาวเศรษฐแี ค้นเคอื ง อย่างมากจนก่อนตายนางอธิษฐานว่าจะจองเวรกับท้าวภังคีไปตลอด เม่ือท้าวผาแดงกับพญานาค ทราบความดังกล่าวจึงสงบศึกกันไป ทั้งนี้ นิทานเรื่องนี้เปน็ ท่ีมาของสถานท่ีต่างๆ ในภาคอีสาน เช่น ขณะท่ีนางไอ่ค้าทิ้งฆ้องลงไปจุดน้ันกลายเป็นหนองฆ้อง เม่ือทิ้งแหวนลงไปจุดน้ันก็กลายเป็นหนอง แหวน หรือบ้านของแมม่ ่ายคนนนั้ กค็ ือ ดอนแม่ม่าย เป็นต้น (สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอสี าน 2542, เลม่ 5, 2755-2756) ส่วนในเบ้อื งบรรพ์ ได้น้าเน้ือเร่อื งจากนิทานผาแดงนางไอ่มาเปน็ ต้นเหตุของปมขัดแย้งท่ี เกิดข้นึ ในนวนิยาย ตัวละครเอก “มีน” หญงิ สาวทีม่ คี วามฝันเก่ยี วกบั การหลบหนีจากเมอื งท่ีกา้ ลังล่ม ได้เดินทางกลบั มาอดุ รธานีอีกครง้ั หนึ่งเพ่อื มาเยี่ยม “วรัณ” นักโบราณคดีหน่มุ ผู้ก้าลงั ค้นหาเมอื งเอก ทะชิตาตามนิทานเพือ่ พิสูจน์ใหโ้ ลกเหน็ ว่าเคยมีเมอื งนอ้ี ยู่จรงิ หากการเดินทางกลับมาของมีนก็ทา้ ให้ มีนรบั ร้ถู งึ แรงอาฆาตกอ่ นพบว่าตนคอื นางไอค่ า้ กลับชาติมาเกิด ส่วนฝา่ ยวรณั กต็ ดิ อยใู่ นอุโมงค์ใตด้ นิ ที่ 6 การสะกดคา้ ชื่อเมือง ช่ือตัวละครและช่ือสถานทใ่ี นนิทานตา่ งๆ ในเอกสารแต่ละฉบับกไ็ ม่ตรงกนั ดงั นั้น เพื่อไม่ให้สบั สนผวู้ ิจัยจะ ใช้การสะกดตามท่ีปรากฏในนวนิยายของพงศกรเพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ ความสบั สนเมือ่ ยกตัวบทมาอธบิ าย

25 เขาขุดขนึ้ นวนยิ ายแสดงใหเ้ หน็ วา่ แรงอาฆาตจากท้าวภงั คไี ดส้ ง่ ผลมาถงึ ปมขัดแย้งในภพชาติปัจจุบัน ของตัวละครในเร่ือง พงศกรยังใช้ฉากหนองหานกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานีเป็นฉากหลักและอ้างถึง สถานท่ีจริงที่มาจากนิทานอย่างดอนแม่ม่าย ห้วยฆ้อง ฯลฯ ด้วย กล่าวได้ว่า ในเรื่องเบ้ืองบรรพ์ พงศกรนา้ เอาเน้อื เรอื่ ง ตวั ละครและฉากในนิทานผาแดงนางไอ่ทงั้ เรื่องมาใชผ้ า่ นปมขัดแย้งในนวนยิ าย ตวั ละครที่กลบั ชาตมิ าเกดิ รวมถึงฉากทอ่ี า้ งองิ กบั นิทาน 2.2.1.2 นิทานปราสาทหินจากกมั พูชาในสรอ้ ยแสงจนั ทร์ สร้อยแสงจันทร์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเดินทางเข้ามายังหมู่บ้านชาวกูยในแถบชายแดน ไทย-กัมพูชาของตัวละครเอกเพ่ือตามหาคนที่หายไป ภารกิจดังกล่าวท้าให้เขาต้องเข้ามาผูกพนั กบั เรื่องราวลึกลับ โดยเฉพาะการพบกับ “นกจโกระ” ท่ีเฝ้า “ปราสาทปักษาจ้าจอง” ปราสาทรกรา้ ง กลางป่า ปราสาทแหง่ นมี้ เี ร่ืองเล่าว่าเคยเปน็ ทอี่ ยขู่ องฤๅษผี ูบ้ า้ เพญ็ ตบะ หากแตค่ วามผิดบางอยา่ งของ นกจโกระไดท้ ้าใหน้ กถกู จองจ้าและต้องเฝ้าปราสาทมาจนถึงปจั จบุ นั ส่ิงทนี่ า่ สนใจคือ ปราสาทปักษา จ้าจองเป็นฉากสมมติที่พงศกรสร้างข้ึนในนวนิยาย โดยได้เค้าความคิดมาจากปราสาทในประเทศ กัมพูชา (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มิถุนายน 2558) ปราสาทน้ีตามทป่ี รากฏในนวนิยายเป็นศาสนสถาน ขนาดเล็กรกร้างกลางป่าลึก สร้างตามสถาปัตยกรรมขอมและไม่ได้มีบทบาทเท่าใดนักใน ประวตั ศิ าสตร์ พทุ ธกิ า้ วลว่ งผ่านระเบยี งคดท่ีล้อมพระปรางค์ประธานด้วยความคุ้นเคยผ่านจากระเบียง ศิลาเข้าไป ก่อนจะถึงตัวปรางค์ประธาน มีบันไดนาคยกพ้ืนสูง สองข้างบันไดมีนาคเจ็ด เศยี รท่ที ้ามาจากศิลา เล้อื ยทอดกายอยู่เป็นราวจับ บรเิ วณก่งึ กลางพ้ืนบันไดนาคมรี อยสลัก เป็นวงกลม ภายในประกอบด้วยรูปดอกบัวเก้ากลีบ อันหมายถึงจักรวาลและโลก เป็น ตา้ แหนง่ ทีผ่ มู้ าถงึ เทวสถานจะหยดุ และคุกเข่าลงเพ่ือสวดมนต์บชู าเทพแห่งปราสาท […] จากลกั ษณะปราสาทท่ีไมไ่ ดใ้ หญโ่ ตมากมาย ท้าใหช้ ายหนมุ่ รู้ว่า ปราสาทปกั ษาจ้าจองคง ไม่ได้เป็นเทวสถานหลวงของกษัตริย์ขอมเมืองพระนครแต่อย่างใด หากคงจะเป็นเพียง เทวสถานท่สี รา้ งขึ้นมาเพอ่ื บูชาเทพเจ้า เปน็ ท่ีบา้ เพ็ญศลี ของผู้ถอื บวชและเป็นทปี่ ระดิษฐาน รปู เคารพของประชาชนในแถบนี้ (พงศกร 2558, 30-31) ผู้วิจัยพบว่าชื่อ “ปราสาทปักษาจ้าจอง” คล้ายคลึงกับ “ปราสาทปักษีจ้ากรง” (Baksei Chamkrong) ปราสาทหินในเมืองเสยี มราฐ ประเทศกมั พชู า ตามหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ แล้ว มาดแลน จิโต (Madeleine Giteau) กล่าวไว้ว่า ปราสาทปักษีจ้ากรงสร้างขึ้นโดยพระเจ้า หรรษวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษท่ี 15 เพ่ืออุทิศถวายแด่พระราชบิดาและพระมารดาของพระองค์ ลักษณะเป็นเทวสถานขนาดเล็กตามไศวนิกาย ฐานของปราสาทสร้างด้วยศิลาแลงซ้อนกันหลายช้ัน ตัวปราสาทสร้างจากอิฐประดับลวดลายปูนป้ันดังภาพท่ี 1 ปราสาทแห่งน้ีต้ังอยู่ใกล้กับปราสาท

26 พนมบาเค็ง รวมถงึ แหลง่ ปราสาทหนิ ท่ีโด่งดังอย่างนครวดั -นครธม ปราสาทหลังนจี้ ึงไม่เปน็ ทีร่ ู้จกั ของ นกั ท่องเทยี่ วโดยทว่ั ไป (มาดแลน จีโต 2543, 20-22) นอกจากน้ี ยงั มีเรอื่ งเลา่ ท่ีสืบต่อกนั เกี่ยวกบั ทม่ี า ของชื่อปราสาทวา่ เจ้าชายพระองค์หน่ึง (บ้างก็เล่าว่าเปน็ กษัตริย์) ได้หนีภัยจากศัตรมู าจนถงึ บรเิ วณ ปราสาท เม่ือศัตรูจวนเจียนจะจับตัวได้ ก็มีนกตัวหนึ่งเข้ามาคุ้มครองและซ่อนพระองค์จากศัตรู หลังจากน้ันเจ้าชายก็สามารถกลับมาเอาชนะศัตรูก่อนขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นกษัตริย์ได้ส้าเร็จ พระองค์จึงได้กลับมาสร้างปราสาทหลังน้ีข้ึนเพ่ือระลกึ ถึงบุญคุณของนกตัวน้ันและเป็นท่ีมาของช่อื “ปกั ษีจา้ กรง” แปลว่า นก(ปักษี) ที่ช่วยคุ้มครอง(จา้ กรง) นน่ั เอง (สรศกั ดิ์ จันทร์วฒั นกลุ 2551, 89) ภาพที่ 1 ปราสาทปกั ษีจากรง เมอื งเสยี มราฐ ประเทศกมั พชู า (ที่มา \"Baksei Chamkrong\", online) ทง้ั ชื่อของปราสาทท่ีคล้ายคลึงกัน ลกั ษณะของปราสาทท่ีเป็นปราสาทขนาดเล็กและไม่ได้ รับความสนใจมากนัก รวมทั้งเรื่องเล่าที่อธิบายความเป็นมาของปราสาทปักษีจ้ากรงน้ี ก็มีส่วน สอดคล้องกับเนื้อหาของ สร้อยแสงจันทร์ ดังท่ีนวนิยายใช้ช่ือ “ปักษาจ้าจอง” ให้ล้อกับ “ปกั ษจี า้ กรง” ขณะเดียวกันกไ็ ด้ให้ความหมายใหม่กบั ปราสาทปักษาจ้าจอง คอื ปราสาททน่ี กถกู จอง จ้าไว้ โดยมีตัวละครนกจโกระท่ีถูกจองจ้าไว้ในปราสาทปักษา นกจโกระในนวนิยายก็มีบทบาท คุ้มครองอัญมณีสร้อยแสงจันทร์และปราสาทหิน และมีบทบาทช่วยเหลือตัวละครเอกอย่างเด่นชัด คล้ายกับการช่วยเหลอื เจา้ ชายให้ปลอดภัยในเรื่องเลา่ เหตุน้ีจงึ อาจกล่าวได้ว่า ปราสาทปักษาจา้ จอง ในนวนิยายคงได้เคา้ และดดั แปลงมาจากปราสาทปักษจี ้ากรงน่นั เอง 2.2.1.3 ต้านานน้าทว่ มโลกและตา้ นานปรมั ปรากรกี ในคชาปุระและนครไอยรา นวนิยาย คชาปุระและนครไอยรา มีเน้ือเรอื่ งต่อเนื่องกันเป็นสองภาค ภาคต้น คชาปรุ ะ เล่าถึงการตามหาเมอื งคชาปุระของตัวละคร ฝ่ายตัวละครเอกต้องการหาค้าตอบใหแ้ ก่โลกปัจจุบันท่ี ก้าลงั เผชญิ กบั ภยั ธรรมชาติ ดังท่มี ีจารึกไวว้ ่า “เม่อื น้าท่วมฟา้ เม่อื ปลากินดาว ชาวคชาปุระจะอยูร่ อด ปลอดภัย” ส่วนตัวละครฝ่ายปฏิปักษ์ต้องการหาเมืองน้ีเพื่อครอบครองทรพั ย์สินเงินทองและความ

27 เป็นอมตะ การเดินทางของตัวละครสองฝ่ายเต็มไปด้วยอุปสรรค ในภาคปลายนครไอยรา ได้พลิก ความคาดหมายจากทเ่ี ขา้ ใจวา่ เมืองคชาปรุ ะเป็นเมืองรา้ ง กลับกลายเป็นเมอื งที่ยังมีชีวิตและวทิ ยาการ ก้าวล้า ผ้คู นมีชวี ติ ร่วมกบั ธรรมชาติอย่างกลมกลนื แต่เมอื งน้ีก้าลังมีปัญหาภายในแบ่งฝักแบ่งฝ่ายทาง การเมือง และตัวละครเอกมีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องจนท้ายที่สดุ ตัวละครกไ็ ด้เรียนรูแ้ ละรับค้าตอบจาก การเดินทาง พงศกรได้ให้ค้าตอบการช่วยโลกจากภัยธรรมชาติโดยเชื่อมโยงกับต้านานน้าท่วมโลก และยังใชต้ ้านานปรัมปรากรีกเปน็ อุปสรรคหลายด่านเพือ่ ใหต้ ัวละครสามารถคน้ หาคา้ ตอบ ต้านานน้าท่วมโลกจัดเป็นต้านานปรัมปรา (myth)7 ที่พบอยู่หลายวัฒนธรรม มีเนื้อหา กล่าวถึงเหตุการณ์น้าท่วมใหญ่เพ่ือล้างโลก ก่อนจะมีสรรพสิ่งต่างๆข้ึนมาใหม่หลังน้าลด (ประคอง นิมมานเหมินท์ 2551, 19) เช่น ตา้ นานปรัมปรากรกี (Greek Mythology) เทพเจา้ ซุส (Zeus) เทพท่ี ใหญ่ที่สุดได้ช้าระล้างโลกมนุษย์ผู้กระท้าผิดบาปด้วยน้าท่วมใหญ่ หากมีชายหญิงคู่หน่ึงรอดชีวิตมา และเทพซุสเหน็ ว่าทั้งคู่เป็นคนดีจงึ ได้ช่วยเหลือชายหญิงคู่นน้ั กอ่ นท่ีท้ังคจู่ ะกลายเป็นท่ีมาของชนชาติ กรีก (อ.สายสุวรรณ 2549, 17-19) หลายกล่มุ ชาตพิ นั ธ์ใุ นบรเิ วณเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ภาคพ้นื ทวีป ก็มีต้านานน้าท่วมโลกเช่นกนั และมกั มีเรอื่ งเลา่ เช่ือมโยงกับ “น้าเต้า” ดังที่ชาวเย้า จ้วง ไทใต้คงและ กลุ่มคนทีพ่ ูดภาษาตระกูลไท-กะไดทางตอนใต้ของจีนมเี รอ่ื งเล่าว่า เมื่อเกิดน้าท่วมโลกใหญ่ มนุษย์พ่ี น้องชายหญิงได้หลบเข้าไปในผลน้าเต้า เม่ือน้าลด มนุษย์ทั้งคู่จึงออกมาจากน้าเต้าจนกลายเป็น บรรพบุรุษของกล่มุ ชาติพันธ์ุนั้นๆ น้าเต้าจึงมีบทบาทประหน่ึงเรือหลบภัยน้าท่วมโลกและช่วยด้ารง เผ่าพนั ธม์ุ นุษย์ไว้ (วัชราภรณ์ ดิษฐปา้ น 2544, 63-64) เปน็ ต้น ในคชาปรุ ะและนครไอยรา อา้ งอิงถงึ ต้านานน้าท่วมโลกหลายส้านวน (version) อันแสดง ถึงความเปน็ สากลของความคิดเก่ยี วกับต้านานน้าทว่ มโลก เพื่อบ่งบอกว่า หากเคยเกิดน้าทว่ มในอดีต มาแล้วภยั ธรรมชาตโิ ดยเฉพาะปัญหาโลกร้อน (Global Warming) คงอาจเปน็ เหตุเกิดให้ซา้ ขึ้นได้อีก อัยย์ถอนใจเม่ือนึกไปว่า ทุกอารยธรรมล้วนมีต้านานน้าท่วมโลกเหมอื นๆ กัน ไม่ว่าจะเปน็ คัมภีร์ไบเบิลเก่าของฮิบรู ต้านานน้าท่วมโลกและต้านานลูกน้าเต้าของชนชาติไท ต้านานน้า ท่วมโลกในคมั ภีรอ์ ลั กรุ อาน ตา้ นานน้าทว่ มโลกในเทพปกรณมั ของกรีกโบราณ แม้แต่ในไตรภูมิพระร่วงและลลิ ิตโองการแช่งน้า อันได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณก์ ็ ยงั กลา่ วถงึ การล้างโลกดว้ ยไฟก่อนจะเกิดน้าท่วมโลกเพ่ือการก้าเนิดใหม่ ทุกตา้ นาน ทกุ อารยธรรมกล่าวถึงเร่ืองนเ้ี หมือนกนั แถมจากการศกึ ษาทางโบราณคดที ั่วโลก ยังแสดงใหเ้ ห็นวา่ เคยเกิดนา้ ทว่ มโลกใหญม่ าแลว้ จรงิ ๆ ดงั น้ัน ใครจะกลา้ รับรองวา่ น้าทว่ มโลกจะไมเ่ กิดข้นึ อีกคร้ัง (พงศกร 2557ก, 37-38) 7 ต้านานปรมั ปรา เป็นค้าท่ีประคอง นิมมานเหมนิ ท์ (2551) ใช้ แปลมาจากค้าวา่ myth ซึ่งคา้ นีใ้ นภาษาไทยมคี ้าเรียกหลายค้า เช่น เทวปกรณ์ เทพปกรณมั ฯลฯ แต่ในทนี่ ้ผี ูว้ ิจัยจะใชค้ ้านตี้ ามทีป่ ระคองเสนอไว้

28 นวนิยายยังแสดงให้เห็นด้วยว่า “บัดนี้หลักฐานทางวิทยาศาสตรบ์ อกให้รูว้ ่าโลกของเรา ร้อนขน้ึ กว่าเดิม น้าแขง็ ข้ัวโลกกา้ ลังละลาย ภัยธรรมชาติเร่ิมรุนแรง หลกั ฐานทางคติชนวทิ ยาบอกใหร้ ู้ วา่ ทกุ ตา้ นาน ทุกชนชาตเิ คยบันทกึ เรือ่ งนา้ ทว่ มโลกเอาไว้เหมือนๆ กนั และหลกั ฐานทางโบราณคดีท่ี ปรากฏอยตู่ รงหนา้ ของเขา ยงิ่ ตอกย้าใหม้ ัน่ ใจวา่ น้าเคยทว่ มโลกมาแล้วจริงๆ” (พงศกร 2557ก, 101) หรือกล่าวอีกนัยหน่ึง น้าท่วมโลกในอดีตกับปัญหาโลกร้อนในปัจจุบันต่างเป็นเร่ืองเดียวกัน เพราะ ปญั หาโลกรอ้ นจะเปน็ สาเหตุใหส้ ภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลง อุณหภมู ิของโลกที่สงู ขึน้ จนทา้ ใหน้ ้าแข็ง ทั่วโลกละลาย น้าท่วมโลกจงึ ไม่ใช่เรอื่ งไกลตวั “ไม่ใช่เหมือนน้าปา่ ทซ่ี ดั มาโครมเดียวแล้วทุกสิง่ จะจม หาย หากน้าท่วมโลกท่ีจะเกิดกับมนุษยชาติ เป็นส่ิงท่ีค่อยๆ เกิดทีละน้อย ระดับน้าทะเลจะค่อยๆ สูงขึ้นจนแผ่นดินชายฝ่ังเริ่มหายไป พายุฝนและอุทกภัยจะทวีก้าลังแรงมากข้ึน น้าจะท่วมนานมาก ข้นึ ” (พงศกร 2557ข, 35-36) ในบรรดาตา้ นานน้าทว่ มโลกหลายสา้ นวน ต้านานเรือโนอาห์ทีป่ รากฏในคมั ภรี ไ์ บเบิลของ ศาสนาคริสต์ได้ปรากฏอย่างโดดเด่นในนวนิยาย พงศกรได้น้าต้านานเรือโนอาหม์ าเน้นเพื่อแสดงให้ เห็น “การรับมอื ” กับภัยน้าท่วมโลก ดังท่ีในพระคัมภีร์ไบเบิลเลา่ ว่า ภายหลังจากพระเจา้ ทรงสร้าง มนุษย์คแู่ รกแลว้ มนษุ ย์ก็มีจ้านวนเพิ่มมากข้นึ ตามลา้ ดบั และมคี วามช่ัวช้าเพิ่มข้ึนเชน่ กัน พระองคเ์ สยี พระทัยที่สรา้ งมนุษยข์ ้ึนมาจึงตัดสินพระทัยลงโทษมนุษยเ์ หล่านั้นโดยจะบนั ดาลน้าทว่ มใหญเ่ พอ่ื ลา้ ง โลกและมนษุ ยท์ กุ คน ยกเว้นเพยี ง โนอาหแ์ ละครอบครวั ของเขาเทา่ น้นั ท่พี ระองคเ์ ห็นเป็นผชู้ อบธรรม พระเจ้าจึงทรงส่ังใหโ้ นอาหต์ อ่ เรอื ล้าใหญ่ ภายในแบ่งเป็นห้องเพ่ือให้บรรทุกสรรพสัตว์อย่างละหน่ึงคู่ ได้ จากนน้ั ก็เกดิ นา้ ท่วมใหญท่ า้ ลายลา้ งทกุ สรรพส่ิงบนโลกกินเวลายาวนานกวา่ ร้อยห้าสบิ วันก่อนท่ีนา้ จะลดและครอบครัวของโนอาห์กับบรรดาสรรพสัตว์จะออกจากเรือมาเพือ่ เริม่ อารยธรรมใหมอ่ กี ครัง้ หนึ่ง (พระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ 2531, 9-13) พงศกรน้าการ เตรียมความพรอ้ มของโนอาห์มาตีความให้เหน็ ว่า แม้มนุษย์ไม่สามารถหลีกเลย่ี งภัยทกี่ ้าลงั จะเกิดได้ แต่มนษุ ยก์ ส็ ามารถตระเตรียมให้พรอ้ มเพือ่ รับมอื ภัยธรรมชาติดังกล่าว โดยได้สรา้ ง “เมืองคชาปุระ” เปน็ เหมือนเรอื โนอาหน์ ั่นเอง “...หากท่านเคยได้ยินต้านานน้าท่วมโลกของศาสนาคริสต์มาก่อน กค็ งจะจา้ ได้ว่าก่อนที่จะ เกิดน้าท่วม พระเจ้ามบี ัญชาให้โนอาห์ต่อเรอื ลา้ ใหญ่ พรอ้ มกับรวบรวมพันธ์ุสัตว์อย่างละหน่ึงคู่ เพอื่ ทจ่ี ะได้สบื ทอดเผา่ พันธุต์ อ่ ไปเมือ่ น้าลด” “แปลว่าคชาปรุ ะกค็ ือเรอื ของโนอาห์” […] หากเกิดน้าท่วมใหญ่ทั่วโลกจริงดังว่า คชาปุระน่าจะเป็นเมืองท่ีได้รับผลกระทบน้อยท่ีสุด เท่าท่ีเขาสงั เกตเหน็ เมอื งลับแลแห่งนี้อยู่ไดด้ ้วยตนเอง มีแหล่งอาหาร มแี หล่งพลังงาน ไม่ต้อง พงึ่ พงิ โลกภายนอกเลยแม้แตน่ ้อย

29 และหากเกิดอุทกภัยใหญ่จนส่ิงมีชีวิตมากมายต้องแตกดับไป อย่างน้อยคชาปุระก็จะมีพืช และพันธ์สุ ัตว์อยู่อย่างละหนึ่งคู่เหมอื นกับเรอื โนอาห์! (พงศกร 2557ข, 36-37) เหตทุ ี่นวนิยายเร่ืองน้ีเนน้ การนา้ เสนอตา้ นานเรอื โนอาห์เพื่อเป็นตน้ แบบของการรบั มือภัย น้าท่วมโลก ทั้งๆที่ต้านานน้าท่วมโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็มี “เรือน้าเต้า” ที่คล้ายกับเรือ โนอาห์น้ันน่าจะเปน็ เพราะเรือ่ งเรือโนอาหเ์ ป็นส้านวนที่รับรู้กันทัว่ ไปในสงั คมไทยมากกว่าสา้ นวนอ่ืน สว่ นตา้ นานน้าทว่ มโลกในเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้มกั เป็นส่วนหนึง่ ของตา้ นานการสรา้ งโลก (creation myth) ซึ่งสังคมไทยเป็นสังคมพุทธและพุทธศาสนาถือว่าเรื่องของการสร้างโลกเป็นอจินไตยหรือ ความรู้ที่ไม่เกี่ยวกับการบรรลุนิพพาน ชาวไทยจึงไม่สนใจใคร่รู้เก่ียวกับต้านานน้าท่วมโลกและการ สร้างโลกมากนกั (ศิราพร ณ ถลาง 2545, 52) ขณะท่ีเรือโนอาห์ซึง่ เป็นเรื่องเด่นเรื่องหน่ึงในศาสนา ครสิ ต์เปน็ สา้ นวนท่ีอยู่ในความรบั รขู้ องคนไทยกระแสหลักมากกวา่ พร้อมกันนั้นคชาปุระและนครไอยรายังใช้ต้านานปรัมปราอีกประเภท คือ ต้านาน ปรัมปรากรีกมาปรากฏผ่านตัวละครที่มีลักษณะคล้ายนางไซเรน (Siren) และของวิเศษที่คล้ายกับ กล่องของนางแพนโดรา่ (Pandora’s Box) ซงึ่ มสี ่วนผสมของคตคิ วามเชอ่ื ในสงั คมไทยลงไปด้วย ดงั ท่ี ตัวละครคล้ายนางไซเรนปรากฏใน คชาปุระ ขณะที่ตัวละครเอกเดินทางผจญภัยหาเมืองคชาปุระ ระหวา่ งทางต้องเจอกับ “นางพราย” เป็นดา่ นสกดั ไมใ่ ห้คนภายนอกสามารถรุกล้าเข้าไปได้ “เกาะนางพราย” หัวใจของหญิงสาวเต้นรัวด้วยความตระหนก เลือดในกายเหมือนจะเย็น เฉียบไปในบัดดล “ใช”่ ดร.เศวตพยักหนา้ “เป็นเกาะทีพ่ วกเราจะต้องผ่าน กอ่ นจะไปถงึ คชาปุระ พอ่ เช่ือว่าที่ เกาะน้ันมีนางพรายเฝ้าอยู่ ท้าหน้าท่ีป้องกันไม่ให้ผคู้ นผ่านไปจนถึงคชาปุระได้ง่ายๆ พวกนาง คงใช้เสียงเพลงที่พวกเราได้ยิน ลอ่ หลอกให้คนหลงใหลแลว้ เดินเข้าไปหา” “เหมือนนางไซเรนใชไ่ หมคะพ่อ” ส่ิงที่ก้าลังเกิดข้ึนในยามนี้ ท้าให้อัยย์อดนึกไปถึงนางไซเรนในต้านานกรีกปกรณัมซึ่งรจนา โดยโฮเมอร์ไม่ได้ […] “พ่อคิดว่าน่าจะท้านองเดียวกัน เสียงนี้มาจากเกาะนั้นแน่ และใครก็ ตามที่เล่นดนตรีท่ีเราได้ยิน คงต้องการจะหลอกล่อให้คามินและคนอื่นๆ หลงไปติดกับดัก” (พงศกร 2557ก, 553-554) แมช้ อื่ “นางพราย” จะคลา้ ยกับ “ผีพราย” ในความเชือ่ ของไทย แต่เกาะนางพรายทว่ี ่าน้ี กลบั มีหญงิ สาวดดี พณิ เพือ่ สะกดจิตใหผ้ ชู้ ายหลงใหลและหลอกลอ่ มาฆา่ หากพิจารณาแลว้ นางพรายที่ พงศกรสร้างข้ึนไม่ได้ถูกสร้างจากความเช่ือเร่อื งผพี รายเทา่ นั้น หากพงศกรไดน้ ้าอนุภาคตัวละครนาง ไซเรนมาผสมดว้ ย กล่าวคือ ไซเรนเป็นอมนุษย์พวกหนึ่งที่อาศัยในเกาะกลางทะเล ขับร้องเพลงดว้ ย เสียงท่ีมีเสน่หช์ วนหลงใหลใช้หลอกลอ่ นกั เดินเรอื ท่ผี า่ นมา เมอ่ื เหลา่ นักเดินเรือได้ยินเพลงของไซเรนก็

30 จะเคลบิ เคลิ้มลืมทกุ สิง่ ทกุ อย่างและในท่ีสดุ ก็จะกระโดดลงทะเลตาย (อ.สายสวุ รรณ 2549, 236-237) เห็นได้ว่า พงศกรใช้อนุภาคของนางไซเรนท้ังการอาศัยอยู่เกาะกลางทะเลและการมีเสยี งอันไพเราะ เพื่อหลอกลอ่ คนให้มาตาย ทั้งยังเชอื่ มโยงกบั นางพรายในความเชอ่ื คนไทยกบั นางไซเรนตรงทที่ ั้งสอง เป็นอมนุษย์ทม่ี ถี ่นิ ที่อย่ผู กู พนั กบั นา้ ที่จะน้าคนไปอยู่ด้วยหรือไปแทนทีน่ ั่นเอง ส่วนของวิเศษ “กล่องแหง่ ความเป็นอมตะ” คล้ายกับกล่องของนางแพนโดร่า กล่าวคอื นางแพนโดร่าเป็นผหู้ ญงิ คนแรกของโลกมนุษยเ์ กิดจากเทพเจา้ ทง้ั หลายบนสวรรค์สร้างขึน้ เพือ่ แก้แคน้ โพรเมธิอัส (Prometheus) เพราะโพรเมธิอสั ขโมยไฟจากสวรรค์ไปใหม้ นุษย์และเอาช้นิ เนือ้ ดีท่ีสุดของ สัตว์ท่ีถูกสังเวยไปให้มนุษย์แทนเทพเจ้า ซุสจึงได้สร้างนางแพนโดร่า ซึ่งแปลว่า “ของขวัญทั้งหมด” จากเทพเจา้ และเป็นหญิงงดงามที่สุดมอบให้แก่โพรเมธิอัสมาพร้อมกับกล่องใบหน่ึงท่ีบรรจุความช่ัว ร้ายไวเ้ ตม็ เปีย่ ม ซสุ สง่ั หา้ มไม่ให้นางเปิดกลอ่ งเด็ดขาด แม้โพรเมธอิ สั จะปฏิเสธไมร่ ับนางแพนโดรา่ แต่ เอพิเมธอิ สั (Epimetheus) ไดร้ บั นางไวเ้ ปน็ ภรรยา แลว้ วันหนึง่ นางแพนโดรา่ กอ็ ดความกระหายใคร่รู้ ไว้ไมส่ า้ เร็จจึงเปดิ กลอ่ งใบนนั้ ออก ทนั ใดนน้ั ความช่ัวรา้ ยต่างๆ ท้ังความทกุ ขโ์ ศก โรคภัย และความ ชว่ั รา้ ยอื่นๆ ก็โบยบินออกมาจากกล่องและกระจายไปส่มู นษุ ยชาตทิ งั้ ปวง นางแพนโดรา่ รีบปิดกล่องและ เหลอื เพยี งความหวงั เทา่ นน้ั ท่ีเหลืออยู่ ความหวังจึงเป็นส่ิงปลอบประโลมจติ ใจมนุษยชาติในยามทุกข์ โศกเพียงส่ิงเดียว กล่องของแพนโดร่าเป็นส่วนหนึ่งท่ีให้มนุษย์ตระหนักว่าไม่มีหนทางใดชนะซุสได้ (เอดิธ แฮมิลตัน 2556, 102-103) นอกจากน้ยี ังมเี รื่องเล่าอีกส้านวนหน่ึงว่า ซุสได้ประทานนางเพือ่ ขัดเกลาจิตมนษุ ย์ใหม้ คี วามอ่อนโยน และเอพเิ มธอิ สั มกี ลอ่ งใบหนง่ึ อยู่ในครอบครองอยแู่ ลว้ ไม่ใช่นาง แพนโดร่านา้ ลงมา จนบงั เอิญนางเปดิ กล่องเข้าจึงเกิดโทษต่างๆ (อ.สายสวุ รรณ 2549, 16-17) ทั้งน้ี อนภุ าคกลอ่ งแพนโดรา่ ทหี่ ้ามเปดิ เพราะจะทา้ ให้เกดิ ความยงุ่ ยากตา่ งๆ ได้ปรากฏผ่านกล่องแห่งความ เป็นอมตะในภาคนครไอยรา ตอนที่ตัวละครฝ่ายรา้ ยจบั ตัวเอกเป็นตัวประกันเพื่อใหพ้ ระมหาราชครู แห่งเมืองคชาปุระพาไปยังท่ีเก็บกล่องแห่งความเปน็ อมตะซ่งึ มีกฎหา้ มไม่ให้มีผู้ใดเปดิ เด็ดขาด ดังท่ี เหล่าพระมหาราชครูผูเ้ ฝา้ วหิ ารไอยราตา่ งรูว้ า่ ภายในบรรจคุ วามเป็นอมตะอยู่ แต่พวกเขายดึ ถือปฏิบัติ กฎนนั้ อย่างเคร่งครดั ผดิ จากเอ็ดเวริ ์ดกับนายเมษท่ีพยายามจะครอบครองกล่องน้ันมาเป็นของตน “Pandora’s Box กล่องของแพนโดรา่ ” เอด็ เวริ ์ดชะงกั ไปนิดหนึ่ง เขาจอ้ งมองพระมหาราชครู ด้วยสายตาหวั่นเกรงแกมสงสัย “ท่านก้าลงั จะบอกวา่ กล่องแห่งความเปน็ อมตะเหมือนกับกล่องของแพนโดรา่ กระนนั้ หรอื ” “เราไม่ได้บอกเช่นน้ัน” พระมหาราชครูทรงพระสรวลแผ่วเบา “เราเพียงแต่ถามว่าพวกท่าน เคยไดย้ ินเร่ืองกลอ่ งของนางแพนโดร่าหรอื ไม่” […] “กล่องใบน้ันบรรจุความเป็นอมตะ แตเ่ ป็น เวลาหลายพันปีมาแล้วที่พระมหาราชครูทุกพระองค์ได้รับค้าสั่งสืบต่อกันมาว่า ห้ามผู้ใดเปิด กล่องใบน้ันเด็ดขาด” คราวนี้พระสุรเสยี งของพระมหาราชครฟู ังดหู นักแน่นจริงจงั

31 “ไม่น่าเช่ือว่าทุกคนก็เคารพค้าส่ังน้ันเปน็ อย่างดี” เอ็ดเวิร์ดท้าเสียงเยาะหยัน “ไม่มีใครอยาก เป็นอมตะหรอื อย่างไรกนั หนา้ โงส่ ้ินดี” “ความเป็นอมตะส้าคัญมากหรืออย่างไร” พระมหาราชครูยอ้ นถาม “ธรรมชาติได้จัดสรรทุก อย่างมาอย่างลงตัว สิ่งมีชีวิตทุกเผ่าพันธ์ุเมอื่ มีเกิดก็ต้องมีดับไปเป็นของธรรมดา ความไม่ตาย เปน็ สง่ิ ท่ดี จี รงิ ๆหรอื ” (พงศกร 2557ข, 403-404) นา่ สงั เกตด้วยวา่ กลอ่ งแหง่ ความเปน็ อมตะดงั กลา่ วที่ตัง้ อยู่บนเศียรของชา้ งเอราวัณคลา้ ย กบั ความเชอื่ เร่อื ง “นา้ อมฤต” ของอนิ เดีย คือ เมื่อตัวละครฝา่ ยร้ายทัง้ คเู่ ห็นกลอ่ งวางอย่บู นเศียรช้าง เอราวัณ จากตอนแรกท่ีร่วมมือร่วมใจกห็ นั มาสกู้ ันเพื่อแย่งชิงกล่องแหง่ ความเป็นอมตะ จนนายเมษ สามารถยกกล่องแห่งความเป็นอมตะทีว่ างอยูบ่ นเศียรช้างเอราวัณได้ เม่ือกล่องถูกเปิดออกก็มีไอสี ขาวพวยพุ่งออกมาและท้าให้นายเมษเป็นอมตะดังใจปรารถนา แต่ขณะที่เขาเปิดกล่อง เขาได้ถูก ช้างเอราวัณเหยียบจนเป็นอัมพาตและต้องนอนอยู่อย่างนั้นไปตลอดกาล การแย่งชิงของตัวละคร ปฏิปักษ์และลักษณะของไอหมอกทอี่ อกมาจากกลอ่ งความเปน็ อมตะ เมอื่ ประกอบกบั “ลกั ษณะกลอ่ ง งาชา้ ง ไม่ใช่สิคะ ฉันควรจะเรียกวา่ หีบงาชา้ งถึงจะถกู เพราะขนาดของมนั ใหญก่ วา่ กลอ่ งท่ัวไป หบี นน้ั สลักเป็นลวดลายเทพและอสรู กา้ ลังกวนเกษียรสมุทร เพอ่ื ให้ไดน้ า้ อมฤตมา แตค่ วามเปน็ อมตะทอ่ี ยใู่ น หีบกลับไม่ใช่น้าแต่เป็นเหมือนกบั ไอหมอก” (พงศกร 2557ข, 434) ท้าให้ผู้วิจัยสนใจความสัมพันธ์ ระหว่างช้างเอราวัณ น้าอมฤตและกล่องแห่งความเป็นอมตะเพื่อหาความเชื่อมโยงระหว่างกล่อง แพนโดร่ากับน้าอมฤต ท้ังนี้ ละเอียด วสิ ุทธแิ พทย์ (2522, 110-120) กลา่ ววา่ ในวรรณคดสี ันสกฤต ช้างเอราวณั หรอื ไอราวตะถอื เปน็ ต้นเหตใุ ห้เกิดการกวนเกษียรสมทุ รและการกวนเกษียรสมุทรท้าใหเ้ กดิ น้าอมฤตท่ี เทพกับอสรู แย่งชิงกนั เพราะชา้ งเอราวัณซึ่งเป็นพาหนะของพระอินทร์ไดล้ บหลู่ฤๅษีทรุ วาส ฤๅษตี น นนั้ โกรธและสาปแช่งให้เทวดากับสวรรค์เส่อื มถอยลงไป คา้ สาปแช่งเปน็ จรงิ พวกอสรู สามารถยกทัพ มาเพ่ือสู้กับเทพเจ้าและเทพเจ้าสู้อสูรไม่ได้จนพระนารายณ์ต้องลงมาวางกุศโลบายให้เทพกับอสูร ชว่ ยกันกวนเกษียรสมทุ รหรือกวนทะเลนา้ นมเพ่ือใหไ้ ดน้ ้าอมฤตมาแบ่งกนั ดม่ื การกวนเกษียรสมทุ รใช้ เวลานับพันปีและมีส่ิงมีค่าหลายประการจากการกวนเกษียรสมทุ ร รวมถึงช้างเอราวัณได้ขึ้นมาจาก กวนเกษียรสมุทรด้วย จากข้อมูลดังกล่าวผู้วิจัยจึงเสนอการตีความว่า ไอหมอกสีขาวแห่งความเป็น อมตะไม่ต่างจากน้าอมฤตที่เทพเจ้าและอสรู ต่างต้องการได้มาครอบครอง พิจารณาจากการแย่งชิง ระหว่างเอ็ดเวิร์ดกับนายเมษ ซ่งึ เปน็ ตัวละครปฏปิ ักษ์ท่ีตอนแรกพึ่งพากันแลว้ กลบั มาแย่งชงิ กนั น้นั กไ็ ม่ ต่างจากในคติเร่ืองน้าอมฤต เพียงเปลยี่ นจากเทพกับอสรู เป็นอสรู ด้วยกนั เหตุนี้กล่อง แห่งความเป็นอมตะจึงมีอนุ ภา ค คล้ายกล่อง แพ นโ ดร่า ท่ีบรรจุนา ม ธ ร ร ม บางอย่างอยู่ แม้ในกล่องแพนโดร่าเป็นสงิ่ ช่ัวร้ายแต่ท้ายทสี่ ุดมนุษย์ก็พ่ายแพ้แก่ความกระหายใคร่รู้ ส่วนนามธรรมท่ีบรรจุเอาไว้ในกล่องคือ ความเป็นอมตะ สะท้อนความทะเยอทะยานของมนุษย์ที่

32 ต้องการเอาชนะกฎธรรมชาติ ขณะท่กี ล่องแพนโดรา่ เป็นเครอื่ งเตอื นใจให้มนษุ ยไ์ มต่ อ่ กรกับซุส กลอ่ ง แห่งความเป็นอมตะจงึ เปน็ เคร่อื งเตือนใจไมใ่ หม้ นุษย์พยายามฝนื กฎของธรรมชาติ เพราะธรรมชาตไิ ด้ จัดสรรทุกอย่างไว้ดีแล้ว กล่องใบนี้ยังเทียบเคียงได้กับ “น้าอมฤต” ท่ีเกี่ยวกับช้างเอราวัณและการ ต่อสู้ระหว่างอสรู กับอสรู ได้ครอบครองน้าอมฤตนีก้ ็ต้องทนทุกข์จากเคราะหก์ รรมที่ตนก่อไว้จนถูกส่ิง ศักดิส์ ทิ ธอ์ิ ย่างช้างเอราวณั ลงโทษ สรปุ ได้ว่า คชาปุระและนครไอยรา เปน็ นวนิยายเรอื่ งหนึ่งท่ดี ึงเอาต้านานจากหลากหลาย แหลง่ เข้ามาใชไ้ ดอ้ ยา่ งชดั เจน ต้ังแตก่ ลา่ วถงึ ตา้ นานนา้ ทว่ มโลกทเี่ ป็นต้านานสากลในหลายวัฒนธรรม เพื่อบ่งบอกว่าน้าท่วมโลกน่าจะเคยเกิดข้ึนในอดีตจริง น้าท่วมโลกในอดีตไม่ต่างจากภัยจากปัญหา โลกร้อนในปัจจุบัน น้าท่วมโลกอาจย้อนกลับมาอีกจากภัยโลกร้อน และจากต้านานหลายส้านวน พงศกรได้ยกตา้ นานเรือโนอาห์เพือ่ แสดงใหเ้ หน็ การรบั มอื และเตรยี มตัวให้พรอ้ มเมอื่ ตอ้ งประสบภยั จน รอดพ้นจากภัยโดยสรา้ งเมือง คชาปุระเปน็ เมืองในอุดมคติทเี่ ปรียบเหมอื นเรือโนอาหท์ ่ีพาผู้คนและ สรรพสัตว์รอดชีวิต นอกจากนั้นการเดินทางผจญภัยของตัวละครยังใช้อุปสรรคที่เข้ามาทดสอบจาก ตา้ นานปรัมปรากรีกอยา่ งต้านานนางไซเรนและของวิเศษจากกล่องแพนโดร่า ทมี่ าทหี่ ลากหลายน้ียัง เกิดกระบวนการผสมผสานให้เขา้ กนั จากการดงึ อนภุ าครว่ มกนั บางอยา่ งออกมาก่อนผกู โยงถงึ กันอยา่ ง นา่ สนใจ 2.2.1.4 อนภุ าคหญงิ สาวกลายรา่ งเปน็ ดอกไม้ในฤดดู าวและกหุ ลาบรัตตกิ าล อนุภาคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้เป็นอนุภาคเด่นในนวนิยายเร่ือง ฤดูดาวและกุหลาบ รัตติกาล ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลกั ในเรื่องเลา่ สมมติ แต่ไม่สามารถระบุทีม่ าได้อย่างจ้าเพาะต่างจาก ข้อมูลท่ีกล่าวไปก่อนหน้า เหตุน้ีผู้วิจัยจะยกอนุภาคเดียวน้ีมาพิจารณาเทียบเคียงกับดัชนีอนุภาค นิทานพน้ื บา้ นและเรื่องเล่าพน้ื บ้านไทยเรือ่ งอนื่ ๆ ตามลา้ ดับ อนุภาคหญิงสาวกลายเปน็ ดอกไม้ใน ฤดูดาว ปรากฏจากเร่ืองเล่าพ้นื บา้ นเรอ่ื งเวียงแสน เพ็งซ่ึงพงศกรสมมติข้ึนให้เป็นแกนส้าคัญของนวนิยาย เร่ืองเล่าเวียงแสนเพ็งกล่าวถึง “แถนเมือง แมน” ซึง่ สถิตในเมอื งบนหรอื สวรรค์ตกหลมุ รักนางอว้ั แสนเพง็ ธดิ าของเจ้าเมอื งเวยี งแสนเพง็ เมื่อนาง ดารกาประกายผู้เป็นภรรยาของแถนเมืองแมนทราบเร่ือง นางได้ลงจากเมืองบนมาท้าลายเมืองของ นางอวั้ แสนเพ็งจนล่มสลาย กลายเปน็ เวียงรา้ งกลางปา่ สาปผ้คู นในเมอื งกลายเปน็ สตั วป์ ระหลาด และ นางดารกาประกายไดส้ ังหารนางอ้ัวแสนเพง็ ความทราบถึง “แถนเมอื งฟา้ ” บิดาของดารกาประกาย เข้า แถนเมอื งฟ้าจึงลงโทษให้นางดารกาประกายตอ้ งลงมาเกดิ เปน็ มนุษย์ แถนเมอื งฟ้าพยายามหาวิธี บรรเทาความทุกขแ์ ก่แถนเมืองแมนกับนางอวั้ แสนเพ็ง เพราะความอาฆาตทีน่ างดารกาประกายก่อไว้ เกินกว่าทจ่ี ะแก้ไข แถนเมืองฟา้ จึงให้นางอั้วแสนเพ็งกลายเป็นดอกไม้ซง่ึ กลับกลายเป็นคนได้หนึง่ คืน เฉพาะคืนวันเพ็ญในช่วงปรากฏการณ์ฤดูดาว คือ “ฤดูท่ีดวงดาริกาจะสุกสว่างจนกลบแสงจันทรา

33 ฤดูดาวที่จะเวียนมาทุกๆหนึ่งพันพระจันทร์เพ็ญ” (พงศกร 2555ข, 117) ในตอนท้ายของนวนิยาย ดอกเออ้ื งแสนเพ็งหลุดพ้นคา้ สาปและกลับกลายเป็นมนุษย์ไปอยเู่ คยี งคกู่ ับแถนเมืองแมนได้ส้าเรจ็ ส่วนเรื่องกุหลาบรัตติกาล มีดอกไม้ช่ือดอกนิลนวาราอันกลายร่างมาจากหญิงสาว เช่นเดียวกัน ดอกนิลนวาราเป็นดอกไมพ้ ิษทข่ี ้ึนเฉพาะ “ม่อนผาเมงิ ” ฉากสมมติท่ีพงศกรก้าหนดให้ ตง้ั อย่ใู นเชยี งใหม่ในอดีตเป็นทีต่ ง้ั ของ “เวยี งครี ีคา้ ” เมอื งของพวกผเี สื้อหรอื อมนษุ ย์และมีเรือ่ งเล่าวา่ เจ้าอินทร์สุริยาเจ้าชายหนุ่มจากล้านนาที่หลงทางมาจนถึงม่อนผาเมิงและได้เข้าไปในเมือง ลบั แล จนกระท่งั ได้อย่กู นิ กบั นางกุหลาบค้านบั แรมเดือน ในวนั หน่ึงเจ้าชายกร็ ู้ว่าบรรดาผู้คนใน เวียงคีรีค้าท่ีจริงแล้วไม่ใช่มนุษย์ หากเป็นผีเสื้อกุมภัณฑ์ท่ีกินเน้ือหนังมังสาของมนุ ษย์เป็น อาหาร เจ้าอินทรส์ รุ ิยาจึงหลบหนีนางกุหลาบคา้ กลบั ไปยงั เวยี งเชยี งใหม่ แลว้ ไม่กลับมาอีกเลย ...เธอโศกเศร้าเสียใจย่ิงนัก หัวใจแตกสลายจนตัวตาย ร่างของนางกลายเป็นดอกไม้สีด้า เหมอื นกับความมดื มดิ ...เจ้าหลวงผเู้ ป็นบิดาของนางกหุ ลาบค้า ขนานนามดอกไม้สดี า้ ดอกน้ันว่า ‘นิลนวารา’ (พงศกร 2555ก, 436-437) ดอกนิลนวาราเป็นส่วนส้าคัญตอ่ นวนิยาย เพราะดอกนิลนวาราเป็นสว่ นผสมที่ทา้ ใหเ้ กดิ “ดอกกหุ ลาบรตั ติกาล” หรอื ดอกกหุ ลาบสนี า้ เงนิ ดอกแรกของโลก และดอกกหุ ลาบรตั ติกาลก็เปน็ ปม ขดั แยง้ สา้ คญั ของนวนิยาย ท่นี า่ สังเกตคอื คนที่โดนหนามกุหลาบรัตตกิ าลทิ่มต้ามือแล้วจะเห็น “นาง นลิ นวารา” ทีง่ ดงามในภูษาสีน้าเงนิ เขม้ รปู โฉมงดงามจนสะกดให้ผคู้ นหลงรปู ของนาง และกระตนุ้ ให้ ตัวละครอยากครอบครองดอกกหุ ลาบรัตตกิ าลอยา่ งย่ิง ดอกไมส้ มมตทิ ั้งสองดอกมลี ักษณะร่วมกัน คือ เป็นดอกไม้ประจ้าถิ่น มีจดุ ก้าเนิดจากหญงิ สาวที่ถูกลงโทษและทนทกุ ขจ์ ากความรกั ท่ีไม่สมหวัง และยังกลับกลายร่างเป็นคน (หรืออมนุษย์) ได้ หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงได้ว่า อนุภาคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้ในนวนิยายเป็นส่วนช่วยอธิบายการ ก้าเนิดของดอกไม้ ลักษณะเช่นน้ีพบได้ในอนุภาคเร่ืองเล่าพ้ืนบ้านอยู่หลากหลาย ดังท่ีพบใน ดัชนีอนุภาคนิทานพื้นบ้าน อนุภาคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้ปรากฏอยู่ในหมวด D ความวิเศษ (Magic) ระหว่างหมวด D200-299 การแปลงกายจากคนเป็นส่ิงของ (Transformation: man to object) และพบในหมวดย่อย D212. การแปลงกายจากมนุษยเ์ ป็นดอกไม้ (Transformation: man (woman) to flower) พบได้ 3 รูปแบบ คือ D212.1 การแปลงกายจากมนุษย์เป็นดอกคาร์เนชั่น (Transformation: man (woman) to carnation) D212.2 การแปลงกายจากมนุษย์เป็นดอก กหุ ลาบ (Transformation: man (woman) to rose.) และ D212.3 การแปลงกายจากหญงิ สาวเปน็ ดอกบวั (Transformation: woman to lotus) (Thompson 1989, Vol.2, 27) นา่ สังเกตว่า อนุภาคดงั กล่าวพบเฉพาะในเร่อื งเล่าพ้นื บ้านของอินเดยี และหมู่เกาะฮาวาย หากไม่พบการแปลงกายในลักษณะเช่นนใ้ี นภาคพื้นยโุ รป ยงิ่ เม่ือผู้วิจยั พิจารณาลกั ษณะการแปลงกาย

34 เป็นพืชรูปแบบอนื่ ทีใ่ กลเ้ คยี งกนั ในหมวด D210 การแปลงกายจากคนเป็นพืช จะพบว่า การแปลงกาย จากมนุษยเ์ ปน็ พชื โดยมากจะปรากฏในเรื่องเลา่ พน้ื บา้ นจากอินเดียเสยี มากกวา่ และมีอัตราสว่ นจากฝง่ั ยโุ รปกับภูมิภาคอืน่ น้อยมาก (Thompson 1989, Vol.2, 27) ยิง่ หากค้นหาอนุภาคดงั กล่าวในหมวด A อนุภาคเก่ียวกับต้านานปรัมปรา (Mythological Motifs) จะพบในหมวด A2610 การก้าเนิดพืช จากการแปลงกาย (Creation of plants by transformation) ด้วย โดยพบว่ามีอนุภาคในหมวด A2611.0.4. ส่วนหน่ึงของเทวดากลายร่างเป็นพืช (Parts of body of god transformed into plants) ซง่ึ นา่ สนใจวา่ พบได้เฉพาะอนุภาคจากนทิ านอนิ เดยี และฮาวายเชน่ กนั นอกจากนย้ี งั มีหมวด ยอ่ ยคือ A2611.0.4.1 หญิงสาวกลายเปน็ ดอกไม้ (Women transformed into flowers) พบเฉพาะ ในหมู่เกาะมาร์เคซัส (Marquesas) ซ่ึงอยู่ทางตอนใต้ของมหาสมุทรแปซิฟิก (Thompson 1989, Vol.1, 330) อนภุ าคหญงิ สาวกลายรา่ งเป็นดอกไม้ยังอาจมองว่าเป็นสว่ นหนึ่งในอนภุ าคการลงโทษกไ็ ด้ ดังเช่นในฤดูดาว นางอั้วแสนเพ็งกลายเป็นดอกไม้เพราะถูกดารกาประกายลงโทษ เม่ือย้อนกลบั ไป พิจารณาในดัชนีอนุภาคนิทานพ้ืนบ้าน ในหมวด Q รางวัลและการลงโทษ (Rewards and Punishment) ผู้วจิ ัยไม่พบการลงโทษในลกั ษณะทสี่ าปใหม้ นษุ ย์กลายเปน็ ดอกไมโ้ ดยตรง พบเพียงแต่ การสาปใหค้ นกลายเป็นต้นไม้ คือ หมวด Q338.1 การร้องขอความเป็นอมตะจนเป็นเหตุใหถ้ ูกสาป เป็นต้นไม้ (Request for immortality punished by transformation into tree) และหมวด Q551.3.5.2 การลงโทษ: กลายร่างเป็นต้นไม้ (Punishment: transformation into tree) ซ่งึ ทง้ั สอง หมวดพบเฉพาะนิทานอนิ เดียอีกเช่นกัน (Thompson 1989, Vol.5, 248) ผู้วิจัยจึงเห็นว่า อนุภาคหญงิ สาวกลายเป็นดอกไมน้ ่าจะเปน็ อนุภาคเด่นที่พบไดใ้ นนทิ าน จากอินเดียเสียส่วนใหญ่ ขณะที่อนุภาคนี้กลับไม่โดดเด่นในนิทานจากฝ่ังยุโรปหรือภูมิภาคอื่นๆ อิ ท ธิ พ ล จ าก อิ น เ ดีย ที่ เข้ าม าใน ไท ย ท้ัง ศาสน าแล ะ ระ บบ ความ เช่ื อ อ าจ พ่วง เ อ านิท าน เ ข้ ามาได้ อย่างไรก็ดี ที่กล่าวเช่นน้ีมิได้หมายความว่าในนิทานไทยด้ังเดิมหรือนิทานเอเชียเร่ืองอื่นๆ จะไม่มี อนุภาคนีอ้ ยู่ เพราะแม้ดัชนีอนุภาคนทิ านพื้นบา้ นได้รวบรวมนิทานจากทั่วโลก แต่หากสังเกตแลว้ จะ พบว่า หนงั สือชดุ น้ียังขาดนิทานจากแถบเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตเ้ กือบทุกชาติ ยกเว้นเพียงนิทานจาก ฟลิ ปิ ปินสเ์ ทา่ น้นั ที่ปรากฏในหนงั สือชดุ นี้ (ศิราพร ณ ถลาง 2552, 41-47) ในกรณนี ทิ านพ้นื บ้านไทย มีอนภุ าคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้อยูห่ ลายส้านวน ดงั เช่นนทิ าน “ขลู ูนางอวั้ ” เร่ืองเลา่ พื้นบา้ นอสี าน ทเ่ี ปน็ เรอื่ งรักสามเสา้ ระหว่างชายสองหญิงหนึ่ง นางอัว้ เคี่ยมกบั ทา้ วขลู ูรกั กันแตถ่ กู ขัดขวาง จนนางขลู ู เสยี ชีวติ ไปและขี้เถา้ ของนางกลายเปน็ ดอกกล้วยไม้ป่าข้ึนมาน่นั เอง ส่วนทา้ วขลู ูกลายรา่ งเปน็ ดอกขูลู เพือ่ อย่กู ับดอกนางอ้วั โดยในฤดดู าว ไดก้ ลา่ วถงึ นิทานเร่อื งขูลูนางอ้วั ไว้ และที่นา่ สนใจคอื ในเรื่องเล่า เวียงแสนเพ็งตัวละครเอกมีชื่อว่า “นางอ้ัว” อันเป็นต้าแหน่งหมายถึงธิดาล้าดับที่ห้า ดอกเอ้ืองแสน เพ็งนี้เปน็ ดอกเอื้อง ซ่ึงเป็นดอกกล้วยไมต้ ระกลู หน่ึงซง่ึ คลา้ ยคลงึ กบั ดอกนางอ้ัวจากขูลนู างอ้ัว อีกทง้ั

35 ปมขัดแยง้ ในเร่ืองซ่งึ เกดิ จากความรักท่ไี มส่ มหวงั การพลดั พรากและการกลบั มาครองรกั กันอีกคร้ัง จะ เหน็ วา่ มโี ครงเร่ืองทใ่ี กล้เคียงกัน แม้ผู้วิจัยอาจไมส่ ามารถระบไุ ด้ว่า นวนิยายทั้งสองเร่อื งยกเอาอนภุ าคหญงิ สาวกลายเป็น ดอกไม้มาจากแหล่งใดไดโ้ ดยเฉพาะ หากจากการเทยี บเคยี งกบั ดัชนีอนุภาคนิทานพน้ื บ้านรวมถึงการ ยกตัวอย่างจากอนุภาคนี้ในนิทานไทยข้ึนมาประกอบเพื่อช้ีให้เห็นว่า นวนิยายท้ังสองเรื่องน้าเอา อนภุ าคดังกลา่ วท่ีมอี ย่เู ดิมในวฒั นธรรมมาใช้เป็นสว่ นส้าคญั ของเรื่องเลา่ ในนวนยิ ายและเรื่องเหล่าน้ัน เป็นส่วนสา้ คัญต่อนวนิยายอกี ด้วย การน้าเอาอนภุ าคท่ีมอี ยู่ในเรื่องเล่าพ้ืนบ้านเช่นน้ีทา้ ให้เรือ่ งเลา่ ที่ เปน็ เรอ่ื งเลา่ สมมตคิ ล้ายคลึงกบั ข้อมลู คติชนเดิมเพ่มิ ความสมจรงิ ให้แกเ่ รอื่ งเล่า 2.2.1.5 อนภุ าคเมอื งลม่ ในฤดูดาวและวังพญาพราย ขณะที่พงศกรได้น้าเอานิทานผาแดงนางไอ่ที่อธิบายสาเหตกุ ารเกิดหนองหานเพราะเมือง ท่ีล่มลงไปมาใช้ในเบื้องบรรพ์ ในนวนิยายเรื่อง ฤดูดาวและวังพญาพราย พงศกรยังสร้างเรอื่ งเล่า อธบิ ายความเปน็ มาของสถานทจ่ี ากเหตุการณ์เมืองลม่ เชน่ กัน โดยนวนยิ ายท้ังสองเร่ืองนี้มีสาเหตุและ ลักษณะของเมืองล่มทแี่ ตกต่างกนั ไป สาเหตุ เมืองล่มในฤดูดาวเกดิ จากความรักสามเส้าของหน่ึงชาย สองหญิง ขณะที่ วงั พญาพราย เมอื งลม่ เพราะเจา้ เมอื งทา้ ผดิ ค้าสญั ญา โดยพงศกรไมไ่ ด้ระบชุ ัดว่า น้ามาจากเร่ืองเลา่ พืน้ บา้ นส้านวนใดโดยเฉพาะซ่งึ ต่างกับเบอ้ื งบรรพ์ ท่ีรับรู้แน่ชัดว่ามาจากนิทานผา แดงนางไอ่ ผู้วิจัยจึงได้เทียบเคียงกับอนุภาคที่คล้ายคลึงกันในเร่ืองเล่าพื้นบ้านไทยและเทียบเคียง กลบั ไปที่ดัชนีอนภุ าคนิทานพน้ื บา้ น ดงั นี้ ผวู้ ิจัยได้กล่าวถึงเร่อื งเล่าสมมตเิ รือ่ ง “เวยี งแสนเพ็ง” ในฤดูดาว ไปในหวั ข้อท่ผี ่านมาแล้ว ในหวั ข้อนี้จะมาพจิ ารณาอนภุ าคเมอื งลม่ ตอ่ จากอนภุ าคหญงิ สาวกลายเป็นดอกไม้ กล่าวคอื พงศกรได้ แรงบันดาลใจจากนิทานพ้ืนบา้ นหลายเรอ่ื งท่ีมีเรือ่ งเลา่ เกี่ยวกบั “เมอื งล่ม” โดยมองวา่ เปน็ เรอ่ื งท่ีพบ ได้ทั่วไปในสังคมไทย มิได้มีต้นแบบจากนิทานหรือต้านานส้านวนใดเฉพาะ (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มิถุนายน 2558) เวียงแสนเพ็งเป็นเมืองของนางอ้ัวแสนเพ็ง เมื่อดารกาประกายท้าลายเมืองน้ีจน ล่มสลายลงไป เมืองน้ีก็ได้กลายเป็นเมอื งรา้ งซุกซอ่ นอยู่ในป่าโหง สถานท่ีต้องห้ามไม่ให้ใครย่างกราย เข้าไป และยังคงมีเรื่องเล่าสืบต่อมาในสังคมชาวเย้าที่อาศัยในบริเวณนั้น “ต้านาน ความเชื่อและ ข้อห้ามต่างๆ ของผาช้างร้องลว้ นอ้างอิงเก่ียวพันสบื เนื่องไปถึงเวียงแสนเพ็งทั้งส้นิ ” (พงศกร 2555ข, 262) ดังที่ปรากฏในฤดูดาวว่า ชาวเย้าได้ลงหลักปักฐานด้วยค้าอธิบายผ่านเรื่องเล่าเวียงแสนเพ็ง “พวกเขาถูกกัลปนาจากขนุ ค้าต้ี พอ่ เมืององค์สุดทา้ ยของเวียงใหต้ ง้ั หม่บู า้ นอย่ทู ่ีเชิงดอย เปน็ ขา้ วดั ข้า เวียง คอยเฝ้าอารกั ขาคุม้ กนั ปกปอ้ งเวยี งแสนเพง็ เอาไว้จากความโลภของผู้คน แมเ้ วยี งแสนเพง็ จะล่ม สลายไปนานแสนนานแลว้ หากหนา้ ท่ีซึ่งได้รบั มอบหมายนั้นดูเหมอื นจะไม่มวี นั จบสน้ิ ” (พงศกร 2555 ข, 15) เหตุการณ์เมืองล่มในฤดูดาวจึงมีสาเหตุจากความหึงหวงของหญิงสาวท่ีเป็นภรรยาหลวง

36 ลกั ษณะของเมอื งทลี่ ม่ คอื กลายเปน็ ซากเมืองท่ซี ่อนตัวอย่ใู นป่ารกร้างอันเปน็ คา้ อธิบายทเี่ ก่ยี วข้องกับ กลุ่มคนเยา้ ในบริเวณนน้ั ส่วนอนุภาคเมืองลม่ ในวงั พญาพราย เกิดขึน้ จากประสบการณ์ส่วนตัวของพงศกร เพราะ พงศกรมพี ืน้ เพเป็นคนราชบรุ ี เขาเติบโตขนึ้ ในชุมชนเล็กๆ ที่มีเร่ืองเล่ากนั ว่าบงึ น้าขนาดใหญใ่ นหมูบ่ า้ น นั้นมีผพี รายอาศัยอยู่ เขาได้เอาเร่อื งเล่าดังกล่าวมาสมมตเิ ปน็ นวนยิ าย (พงศกร สมั ภาษณ์ 9 มถิ นุ ายน 2558) ท่มี ีบึงนา้ ขนาดใหญ่เรียกวา่ “บงึ พราย” มีเรื่องเลา่ วา่ เดิมพน้ื ทใี่ นบงึ แหง่ นเี้ คยเป็นเมอื งมากอ่ น ช่ือว่า “เวียงพราย” เจ้าเมืองคอื ลืออินไท ผิดค้าสาบานแก่นางเรอื งแสงฟา้ ผู้เป็นมเหสีทจ่ี ะไม่ยกทพั ไปรบกับเมืองของพระบิดานาง นางเรืองแสงฟ้าจึงฆ่าตัวตายและสาปให้เมืองล่มลงไปพร้อมนาง ประชาชนของเมอื งก็กลายเป็นผีพรายอยู่ใต้บึงน้าแหง่ น้ี เหตุการณเ์ มืองล่มในเรือ่ งเลา่ เวียงพรายจงึ มี สาเหตมุ าจากการกระท้าผดิ ของผู้ปกครอง ลกั ษณะของเมืองลม่ คอื การล่มลงเป็นหนองน้าอนั เปน็ การ อธบิ ายกา้ เนิดของหนองน้าขนาดใหญ่กลางเมอื งนี้เอง กล่าวได้ว่า อนุภาคเมืองล่มในนวนิยายท้ังสองเรื่องมีลกั ษณะร่วมกัน คือ บทบาทตอ่ การ อธิบายความเป็นมาของสถานท่ี บอกความเปน็ มาของกลมุ่ ชนและชุมชน โดยสาเหตุของเมืองลม่ ก็มี จุดร่วมกันคือ การกระทา้ ผิดบางอย่างของผมู้ ีอ้านาจของเมือง ดังเช่นกรณีนางอ้ัวแสนเพง็ ที่เป็นชู้กบั แถนเมืองแมนที่มีภรรยาอยู่แล้ว หรือลืออินไทเป็นกษัตริย์ท่ีคืนค้าท่ีให้ไว้แก่นางเรืองแสงฟ้า จน ท้ายท่ีสุดทั้งเมืองก็ถูกสาปหรือถูกท้าลายลงด้วยอ้านาจเหนือธรรมชาติ อนุภาคเช่นนี้ถือได้ว่าเป็น เนื้อหาที่ปรากฏซ้าอย่บู ่อยคร้ังในต้านานปรัมปราไทย ดังท่ีปรมินท์ จารวุ ร (2549, 153) ได้กล่าวถึง อนภุ าคเหลา่ นวี้ า่ เป็นสว่ นหนงึ่ ของ “ต้านานเมอื ง” (myth of places) อันหมายถึง ตา้ นานท่ีมเี น้อื หา มุ่งน้าเสนอประวัติของเมืองโบราณ มักกล่าวถึงก้าเนิดและการล่มสลายของเมืองซ่ึงมีอ้านาจเหนือ ธรรมชาติมาเกยี่ วขอ้ ง ตัวอย่างเชน่ นาคสร้างหรอื ทา้ ลายเมือง ฤๅษหี ยัง่ รู้ว่าทีใ่ ดเหมาะสมจะสรา้ งเมอื ง หรือเมื่อใดจะเกดิ เมืองล่ม เป็นต้น ในงานของปรมนิ ทย์ ังวิเคราะห์ถึงเหตุการณ์เมืองล่มด้วยว่า แม้มี สาเหตุหลายประการทท่ี ้าใหเ้ มืองลม่ หากเม่ือพจิ ารณาแล้วก็มักมาจากการกระท้าผดิ ของมนุษย์ดว้ ย เหตตุ ่างๆ ท้งั มนุษย์ในระดับทเี่ ปน็ ผปู้ กครองและผูใ้ ตป้ กครองเชน่ “ต้านานสงิ หนวตั กิ ุมาร” ตอนหนึ่ง ท่ีเลา่ วา่ สมัยทีพ่ ระองค์มหาชยั ชนะครองเมอื งโยนกนครราชธานีศรีช้างแสน ชาวเมืองจับปลาตะเพียน เผอื กยกั ษ์ (บ้างก็วา่ ปลาไหลเผือกยกั ษ์) แลว้ แบง่ กินกนั ทงั้ เมืองและในคนื นน้ั เองเมอื งโยนกนครจึงล่ม ลงเปน็ หนองน้าใหญ่ (ปรมนิ ท์ จารุวร 2549, 167) ต้านานนกี้ ็คลา้ ยคลงึ กบั นทิ านเร่อื งผาแดงนางไอ่ท่ี อธิบายความเป็นมาจากการกินกระรอกเผือกจนเมืองล่มสลายกลายเป็นหนองหาน เป็นต้น จากที่ กล่าวมาย่อมเห็นได้ชัดว่า เมืองล่มในวังพญาพรายคล้ายคลึงกับอนุภาคเมืองล่มในสงั คมไทยทเ่ี มือง ลม่ กลายเป็นหนองน้าอยา่ งชดั เจน ดังทมี่ ีการกลา่ วถึงความคล้ายคลึงดังกลา่ วไว้ในเรื่องว่า

37 “ดูเหมือนจะมีเมืองแบบน้ีอยู่ในเมืองไทยไม่ใช่น้อยนะครับ” โรมไล่เรียง “เวียงกุมกามที่ เชยี งใหม่ เอกทะชีตา เมืองของนางไอ่ค้าทล่ี ่มลงกลายเป็นหนองหาน อดุ รธานี” “ถ้าจะอธิบายด้วยหลักการทางภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ก็สามารถอธิบายได้ไม่ยากนัก ” พระภิกษุผู้ทรงศีลหันมามองชายหนุ่มดว้ ยดวงตาปรานี แล้วเลา่ ต่อไป “แต่ผคู้ นสว่ นมากมกั จะผูกเอาเร่อื งของความเชื่อเขา้ มาด้วยเสมอ จนเกดิ เป็นต้านาน อยา่ งเช่น เมอื งเอกทะชีตาทลี่ ่มลงไปด้วยแรงอาฆาตแค้นของพญานาค ทบี่ งึ พรายกเ็ หมือนกัน เล่ากันว่า ท่ีเมอื งลม่ ลงไปกเ็ พราะราชาผู้ปกครองเมืองไมอ่ ยู่ในศลี ในธรรม ทสี่ ้าคญั ทส่ี ดุ คอื ราชาของเมอื ง นีผ้ ิดคา้ สาบาน” (พงศกร 2557ค, 69) นอกจากเรอื่ งเล่าพื้นบา้ นไทย อนุภาคเมืองลม่ ก็ยังปรากฏในเรือ่ งเล่าพนื้ บ้านในอกี หลาย วัฒนธรรม ดังที่ผู้วิจัยพบว่าอนุภาคเมืองล่มปรากฏในดัชนีอนุภาคนิทานพื้นบ้านในหมวด F 944 อนุภาคเมอื งล่มลงในทะเล (City sinks in the sea) ปรากฏในเรือ่ งเลา่ ขององั กฤษ ลิทัวเนยี อีกทั้งยงั มีหมวดย่อยลงไปอีกหน่ึงหมวดคือ F944.1 อนุภาคการลงโทษให้เมืองล่มลงในทะเลหรือทะเลสาบ (City sinks in sea or lake as punishment) พบในเร่ืองเล่าของอังกฤษ สกอตแลนด์และ สหรฐั อเมริกา (Thompson 1989, Vol.3, 240) แม้ไม่อาจสรปุ ได้ว่าอนุภาคเมอื งล่มท่ปี รากฏในฤดูดาวและวังพญาพรายมีท่มี าจากเรอื่ ง เล่าพน้ื บ้านเร่ืองใดอย่างจ้าเพาะเจาะจง หากอนุภาคเมอื งล่มเหลา่ นีม้ ีลักษณะรว่ มทส่ี อดคล้องกับเรอื่ ง เลา่ พืน้ บ้านทีม่ อี ยู่เดิม โดยเฉพาะอย่างยง่ิ สาเหตุเมืองล่มทมี่ าจากการกระทา้ ผิดของคน ในนวนิยายทั้ง สองเร่อื งได้ยกให้เห็นการกระท้าผิดของผปู้ กครองท้ังทีอ่ าจมาจากความรักรวมถึงการผดิ คา้ สตั ยข์ อง ผู้ปกครองมาใช้ นอกจากน้ีการลม่ ลงกลายเปน็ หนองน้าท่ีปรากฏในวังพญาพรายถือว่าพ้องกบั เร่ือง เลา่ พื้นบา้ นไทยอย่างเดน่ ชดั ด้วย เหตุนเ้ี องจึงท้าให้ข้อมูลเชิงคติชนทป่ี รากฏในนวนิยายแตล่ ะเร่อื งเม่อื มีอนุภาคนี้รว่ มอยไู่ ด้ทา้ ให้เรอ่ื งเล่าดูคล้ายคลึงกับข้อมูลคติชนและมีผลต่อความสมจรงิ ของขอ้ มลู เชงิ คตชิ นต่อไป 2.2.2 ข้อมลู ประเภทความเช่ือและขนบธรรมเนยี มพน้ื บา้ น ความเช่ือและขนบธรรมเนียมพ้ืนบ้านในนวนิยายของพงศกรมีทั้งที่มาจากความเช่ือและ พธิ กี รรมของกลมุ่ ชนชาติพันธ์ุ รวมถึงความเชอ่ื ท่ีมรี ่วมกันในสงั คมไทย ดงั นี้ 2.2.2.1 ความเช่อื และพิธกี รรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์กูยในสร้อยแสงจนั ทร์ พงศกรน้าวิถีชีวิตของชาติพันธ์ุกูยมาเสนอไว้ในสร้อยแสงจันทร์ เพราะความประทับใจ จากประสบการณ์ขณะที่เป็นนักศึกษาแพทย์ไปท้าค่ายอาสาชนบท เขามีโอกาสได้เข้าไปคลุกคลีใน หมบู่ ้านชาวกูยและไดเ้ ห็นวัฒนธรรมท่แี ตกต่างของชนเหลา่ นั้นจนน้ามาใช้ในนวนิยายเรอื่ งน้ี (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มิถุนายน 2558) ในสร้อยแสงจันทร์ พงศกรสร้างหมู่บ้านชาวกูยช่ือว่า “หมู่บ้านเมือง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook