38 ปักษา” ขึ้น ตั้งอยู่บริเวณตะเข็บชายแดนไทย-กัมพูชาและอยู่ใกล้เคียงกับปราสาทปกั ษาจ้าจอง หมู่ บ้านเมืองปกั ษาเปน็ ฉากสา้ คัญให้ตวั ละครเอก คือ พทุ ธแิ ละเดือนเตม็ ดวงได้เขา้ มาเรยี นรู้วถิ ีชวี ิตความ เป็นอยู่ โดยคติชนของชาวกูยที่ปรากฏอย่างชัดเจนในนวนิยายเร่ืองนี้ คือ การนับถือผีและการให้ คุณคา่ กับมดหมอผี รวมถึงพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อดงั กลา่ ว ทั้งนี้ “กูย” เป็นชื่อกลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่ง อาศัยอยู่บริเวณตอนเหนือของประเทศกัมพูชา ตอนใต้ของลาวและทางภาคอีสานของประเทศไทย จังหวัดท่ีมีชาวกูยอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุด คือ จังหวัดสุรนิ ทร์และศรสี ะเกษดังที่ปรากฏในภาพที่ 2 ค้าว่า กูย กุย กวย หรือโกย ซ่ึงแตกต่างออกไป ตามชื่อเรียกแต่ละถิ่นนั้นมีความหมาย หมายถึง “คน” เหมือนกัน ส่วนค้าว่า “ส่วย” น้ัน เป็นค้า บัญญัติข้ึนมาโดยคนนอกวัฒนธรรมกูยจากค้าว่า ไพร่ส่วย จนภายหลังกลายเป็นช่ือเรียกชาติพันธ์ุไป (สมทรง บุรุษพัฒน์ 2538, 2-3) นอกจากน้ีคนไทยยังเรียกกลุ่มชาติพันธุ์นี้ว่า “เขมรป่าดง” หรือ “เขมรสว่ ย” ตามท่ปี รากฏในพงศาวดารซึ่งเรียกหัวเมืองทมี่ ีชนชาวกยู อยู่ว่า “หวั เมอื งเขมรปา่ ดง” ที่ เรียกเช่นน้ีอาจมาจากความแตกต่างด้านภาษาและทัศนคติของคนไทยที่เห็นว่าเป็นกลุ่มชนป่าเถอ่ื น ด้อยวัฒนธรรม (ธวัช ปุณโณทก 2527, 39-40) ส้าหรับวิถีชีวิตของชาวกูยมักประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มคี วามชา้ นาญในการหัตถกรรม ช้านาญในการล่าสัตว์ นับถือพทุ ธศาสนาผสมกบั การนบั ถือผี ไสยศาสตรแ์ ละโชคลาง (ไพฑูรย์ มกี ุศล 2540, 19) ภาพที่ 2 แผนทีก่ ารตัง้ ถิน่ ฐานของชาวกูยในบริเวณประเทศไทย กัมพชู าและลาว (ท่มี า joshuaproject, online) ในสร้อยแสงจันทร์ พงศกรได้ถ่ายทอดทัศนคติต่อชาวกูยแตกต่างไปจากทัศนคติเดิมท่ี กลา่ วไว้ข้างต้น โดยเริ่มกลา่ วถึงชาวกูยให้เห็นว่าพวกเขาเป็นกลมุ่ คนที่มี “ตวั ตน”
39 ...คนไทยส่วนมากเขา้ ใจผดิ คิดว่ากวยหรือกยู คือคนเขมร เม่ือมาได้คลุกคลีอยู่กับชาวบ้าน พุทธิจึงรู้ว่า กูยเป็นชนชาติท่ีอาศัยอยู่ในแอ่งที่ราบอีสาน ของไทยมานานหลายร้อยปแี ล้ว และพวกเขาไมไ่ ดเ้ ป็นคนลาวหรือคนเขมรอย่างทีห่ ลายคน เข้าใจ หากแต่เปน็ กยู ท้านองเดียวกันกับคนมอญ...พวกเขาไม่ใช่พม่า และไม่ใช่ไทย หากแต่เป็นมอญ... เป็นชน ชาติท่ีมีภาษา มีวัฒนธรรมและประเพณีเป็นของตนเอง เพียงแต่ไม่มีผืนแผ่นดินที่ปรากฏ เป็นประเทศอยูใ่ นแผนทเ่ี ทา่ นัน้ เอง (พงศกร 2558, 10) ข้อความดังกล่าวถือว่าเป็นส่วนแรกและส่วนส้าคัญในการน้าความคิดผู้อ่านให้เห็นว่า มี กลุ่มชาติพันธ์ุน้ีอยู่และชาวกยู มีลกั ษณะเฉพาะทไ่ี ม่อาจเหมารวมกับชาตพิ ันธุ์อ่ืนๆ พงศกรยงั เลือกใช้ คา้ วา่ “กูย” ที่กล่มุ คนนี้ใชเ้ รียกแทนตนเอง มิใชก่ ารใชค้ า้ อ่นื ท่คี นนอกเป็นผมู้ อบให้ จากนน้ั พงศกรได้ นา้ เสนอคติความเชือ่ และขนบธรรมเนยี มของชาวกยู อยใู่ นหมู่บ้านเมอื งปกั ษาโดยน้าเอาความเชือ่ เร่ือง ผแี ละพิธกี รรมท่สี ัมพนั ธก์ บั ผมี านา้ เสนอ ตลอดจนการสอดแทรกภาษาถ่ินของชาวกยู ไว้ในบทสนทนา ดว้ ย ตัวอย่างเชน่ ตอนท่ีพทุ ธิมีโอกาสไดเ้ ข้าไปร่วมพิธีบูชา “กะตวมเนียะตา” หรอื ศาลปู่ตา “เพราะ การท่ีพทุ ธิมาคลุกคลตี โี มงกินอยกู่ ับชาวบ้านกยู มานานนับเดอื น มนั ทา้ ให้พวกเขาเหล่าน้ันยอมรบั พทุ ธิ เข้าเป็นสว่ นหนึ่งโดยไม่รตู้ ัว และเมอื่ พทุ ธิเดอื ดรอ้ นมาตามหาเด็กชายท่หี ายตวั ไปในบรเิ วณนี้ ชาวเมือง ปักษาจึงถือเป็นหน้าทหี่ น่ึงที่พวกเขาจะต้องช่วยกัน” (พงศกร 2558, 28) ความเชื่อเร่ืองผีปู่ตาและ พิธีกรรมนไ้ี ดร้ ับการกล่าวถงึ ไว้ในนวนิยาย ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี ทุกหมู่บ้านจะมีศาลเป็นท่ีสถิตของเนียะตาหรอื ปู่ตาอันเป็นเทวดาผู้ปกปักรกั ษาหม่บู า้ น โดยมากแลว้ เนียะตามักสถติ อยู่ตามริมหนองนา้ หรือไม้ใหญ่ในหมูบ่ ้าน ชาวบ้านจึงมักสร้าง ศาลอย่รู มิ หนองน้าหรือบริเวณต้นไมแ้ ละเอาก้อนหินหรือบางแหง่ อาจใช้รูปสลักคนท่ีท้ามา จากไม้ไปวางไว้ในศาลเพอ่ื เป็นตัวแทนของเนียะตา กะตวมเนียะตาของหมู่บ้านเมืองปักษา อย่ทู ่ตี ้นไทรริมหนองนา้ ทป่ี ากทางเขา้ หมบู่ ้าน... ชาวบ้านตระเตรียมข้าวปลาอาหาร สุราอย่างพรักพร้อมและที่ขาดไม่ได้ คือ หน่อกล้วย อ่อนท่ีเพิ่งตกไปได้สามใบ พวกเขาจะขุดมาทั้งรากและล้าต้นจ้านวนสองต้นไปวางบูชาท่ี ศาล โดยเรียกหน่อกลว้ ยนี่ว่า‘สลาเธีอรเดิม’หรือหมากธรรมตน้ เมื่อทุกคนในหม่บู ้านมาพร้อมหน้าจึงเร่มิ พิธี โดยจ้าอยู เปน็ ผกู้ ลา่ วค้าเซ่นพลเี ปน็ ภาษากูยท่ี ฟังเข้าใจยาก หากพุทธิรู้สึกว่าเป็นภาษาที่ไพเราะไม่แพ้กับภาษาใดที่เขาเคยได้ยินมา ค้า บวงสรวงท่ีจ้ากล่าวก่อให้เกิดบรรยากาศท่ีท้าให้ชายหนุ่มรู้สึกขุมขนลุกด้วยความศรัทธา (พงศกร 2558, 28) ท้งั น้ี ไพฑูรย์ มกี ศุ ล (2540, 29-30) กล่าวถงึ พธิ ีบชู าผปี ู่ตาไว้ว่า พิธีดังกลา่ วเป็นการบูชาผี บรรพบุรุษท่ีชาวกูยเช่ือว่าจะเป็นผู้คุ้มครองคนในหมู่บ้านและการประกอบพิธีก็เพ่ือเสีย่ งทายความ
40 เป็นไปเก่ียวกับธรรมชาติ โดยเฉพาะเร่ืองผลผลติ ทางการเกษตร การเส่ียงทายจะใช้ไก่เส่ียงทายว่า น้าท่าจะบริบูรณ์หรือท้านาได้ผลดีหรือไม่ ศาลปู่ตานี้จะเป็นเรือนไม้หลังเล็กๆ ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ทิศ ตะวันออก หรือใกลห้ นองน้าหรอื ใต้ตน้ ไม้ใหญ่ พรรณวดี ศรีขาว (2554, 54) ยงั กลา่ วด้วยว่า นอกจาก การบชู าเพอ่ื เสีย่ งทายตามชว่ งแล้ว การบูชาผีป่ตู ายังสามารถไหวห้ รือบอกกล่าวไดเ้ ปน็ ส่วนตัว แตข่ ้อ สา้ คญั คอื ต้องมีจ้าเปน็ ผูป้ ระกอบพธิ ีกรรมเสมอ ท้งั นี้ ‘จ้า’ หมอจา้ หรือเฒ่าจา้ เป็นบคุ คลท่ีมีหนา้ ท่ีทา้ พิธเี ซน่ สรวงป่ตู าและมหี นา้ ท่ีตดิ ต่อกบั วญิ ญาณ จา้ เปน็ บุคคลท่ีชาวบา้ นเคารพและนบั ถอื อยา่ งสูง ตอ้ ง เป็นผู้มีคุณธรรมท่ไี ด้รับการคัดเลือกขึ้นมาทา้ หน้าทอ่ี ันศักดิ์สทิ ธ์ิน้ีโดยสืบสายตระกูลหรือมาจากการ คัดเลอื กกไ็ ด้ เหน็ ไดช้ ัดว่า พงศกรน้าเอาคตคิ วามเชอ่ื เร่อื งการนับถือผปี ตู่ ามาใช้ และพิธกี รรมดงั กลา่ ว ในนวนิยายยงั เป็นการประกอบพิธใี นกรณีพิเศษ มใิ ช่การเสีย่ งทายทัว่ ไป ลักษณะเช่นนี้ก็ปรากฏผา่ นตัวละครเอกหญิงอย่างเดือนเตม็ ดวงเช่นกัน หล่อนมีโอกาสได้ เข้าร่วม “พิธีฟ้อนผีมด” ซง่ึ เปน็ พธิ กี รรมท่สี งวนไว้ส้าหรบั ผหู้ ญงิ เท่าน้นั ปกตฟิ อ้ นกนั คนื วันเพญ็ เดือน สาม มี ‘แมะเทา’ ที่เหมือน ‘จ้า’ ของฝ่ายชายเป็นผู้ทา้ พิธีกรรม โดยพงศกรได้บรรยายผ่านสายตา ของเดือนเต็มดวง ดังนี้ เดือนเต็มดวงเหลือบมองเหล่าสตรีน้อยใหญ่ในหมู่บ้านที่มากันจนเต็มลานวัดด้วยความ สนใจ ทกุ คนแตง่ กายสวยงามด้วยเส้ือผ้าชุดใหม่ มีผา้ ขาวพาดเป็นสไบเฉียงไหล่ น่งุ ซิ่นยาว กรอมเท้า สองข้างหูทัดดอกไม้ ในมอื ของทุกคนถือขันใบย่อม ภายในบรรจแุ ป้ง หวี น้ามัน ทาผม กระจก เหลา้ หน่ึงขวด สตางค์แดงหนึง่ เหรยี ญและไข่ไกฟ่ องหนึ่ง สตรีเหล่านั้นนั่งเป็นวงล้อมรอบหอปราสาท ซ่ึงสร้างมาจากไม้ไผ่ท้าจ้าลองให้ดูเหมือน ปราสาทขนาดเล็ก ท่ีตรงก่ึงกลาง แมะเทากายืนหลับตาพึมพ้าคาถาด้วยภาษากูย ท้านอง เสียงสงู ตา้่ ฟังไพเราะราวเสียงดนตรี […] ผู้หญิงทุกคนที่นั่งล้อมกันอยู่ รวมทั้งครูรัชนีและแม่ละมุนยกขันในมือขึ้นสักการบูชาจน เหนือหน้าผาก และพึมพ้าอธิษฐานด้วยถ้อยค้าท่ีแตกต่างกัน เสียงของแมะเทากาสวด ภาวนายังคงใสราวระฆังแก้ว ฟังแล้วช่างแตกต่างจากวัยอันชราภาพของนาง (พงศกร 2558, 75-76) ส้าหรับพิธีฟ้อนผีมดหรือ “แซงมอ” จะกระท้าข้ึนในวันเพ็ญเดือนสามของทุกปี เป็น พธิ ีกรรมของผหู้ ญงิ เทา่ น้ัน หวั หน้าจะเรยี กวา่ “แมะเทา” (แม่เฒ่า) หรือหมายถึงยาย องคป์ ระกอบท่ี ใชใ้ นพธิ กี รรมนี้ เชน่ หอปราสาทท่ที ้าเป็นปราสาทจา้ ลองด้วยไม้ไผ่ ดอกไมป้ ระดบั ขนั 5 ใบ ธูปเทยี น และดอกไม้บชู า 8 ชุด แป้ง หวี นา้ มนั ทาผม กระจก ไขไ่ กฟ่ องหนง่ึ ฯลฯ เมือ่ เริ่มพธิ ีกรรมแมะเทาจะ ท้าพิธบี ชู าใหเ้ ทพลงมาประทับรา่ งแมะเทา ผ้เู ข้ารว่ มพิธีกรรมจะยกขันสกั การบูชาแล้วยกขึ้นอธิษฐาน โดยพธิ นี ้มี ีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อออ้ นวอนหรอื เพื่ออัญเชญิ เทวดาลงมาสงิ สถติ อย่ใู นร่างผ้ฟู อ้ น ผฟู้ อ้ นจะร้อง
41 ร้าออกมาเป็นพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงการปฏิบัติตามจารีตหรือติเตียนคนที่กระท้านอกลู่ นอกทาง (ไพฑูรย์ มีกุศล 2540, 30-31) จะเห็นได้ว่าพงศกรน้าพิธีกรรมฟ้อนผีมดของชาวกูยมาใช้อย่าง ตรงไปตรงมาในนวนิยาย ความเชื่อและพิธีกรรมของชาวกยู ที่น้าเสนอมาเหลา่ น้ีได้น้าเสนอผา่ นสายตาของคนนอก วัฒนธรรม นวนยิ ายถา่ ยทอดวิถีชีวิตของกูยผา่ นสายตาของ “คนนอก” ส่งผลให้หมู่บา้ นชาวกยู มีความ พเิ ศษแปลกออกไปจากความรับรขู้ องคนเมือง หากเป็นความแปลกทมี่ ไิ ด้ดูถูกแตม่ องเห็นความศรัทธา และความเป็นมิตรของชาวกูยมากกว่า และที่น่าสนใจคือ การนา้ เสนอผู้น้าในการประกอบพิธีกรรม อย่าง “จ้า” หรือ “แมะเทา” ที่ปรากฏค่อนข้างชัด โดยเฉพาะจ้าก็ปรากฏเปน็ ตัวละครทมี่ ีบทบาท ตอ่ นวนิยายซึ่งจะไดก้ ลา่ วต่อไป 2.2.2.2 ความเชอ่ื และพิธกี รรมของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์เุ ย้าในฤดูดาว ในฤดดู าว พงศกรน้าข้อมูลเก่ียวกบั เย้าทง้ั ทเ่ี ป็นวิถีชวี ติ ความเช่ือ ภาษา การแตง่ กายและ อ่ืนๆ มาน้าเสนอใหผ้ ู้อ่านเหน็ ทง้ั นี้ เย้าหรอื เม่ยี นเปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธุท์ ม่ี ถี ิน่ ฐานเดมิ ในประเทศจีน ต่อมา มกี ารอพยพไปตง้ั ถิ่นฐานในหลายแหง่ ในประเทศไทยมีชาวเย้าตง้ั ถิ่นฐานกระจายตัวอยใู่ นจงั หวัดทาง ภาคเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงรายและน่านท่ีมีชาวเย้าอาศัยอยู่หนาแน่นกว่าจังหวัดอื่น โดยจะ อาศัยอยู่บนภูเขาหรือท่ีสูงเป็นหลัก ชาวเย้าน้ันจะนับถือผีบรรพบุรุษและผีในธรรมชาติ เรียกว่า “เม้ียน” (ณัฏฐวี ทศรฐและวีระพงศ์ มีสถาน 2540) อน่ึง ชาวเย้ายังได้อิทธิพลทั้งความเชื่อและ พธิ ีกรรมจากจนี มาหลายประการดว้ ย ไม่วา่ จะเปน็ การรับลทั ธเิ ตา๋ ของจนี เขา้ มาเป็นส่วนหน่งึ ในระบบ ความเชื่อผสมกับการนับถือผี อีกท้ังยังได้รบั ขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีนมาหลายอย่าง เช่น โหราศาสตร์ ตัวอกั ษรจีน เป็นตน้ (เจสส์ จี. พูเรต์ 2546, 32-33) พงศกรน้าการนับถือผีมากลา่ วถึงและเน้นย้าคุณค่าของซิบเม่ยี นเม้ียนหรือหมอผปี ระจา้ เผ่าอย่างมากในฤดูดาว นวนิยายแสดงใหเ้ ห็นว่าชาวเย้าไม่ไดน้ ับถอื พทุ ธศาสนาหรอื ศาสนาหลักอื่นๆ หากแต่ยังคงด้ารงชีวิตด้วยความเชื่อด้ังเดิม และการนับถือผีถือเป็นรากฐานในการด้าเนินชีวิตของ สังคมเย้า “คนที่นี่นับถือดวงวิญญาณและภูตผี คนเย้ามีผีที่เคารพอยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็นผีฟ้าหรอื เมย่ี นหงุ่ ผหี ลวงประจ้าหมบู่ า้ นหรอื เจยี หุ่งเมยี้ น ผลี มท่เี รียกขานว่า สะเตย๋ี ผปี า่ หรอื ลมเดยี เมย้ี น สว่ น ผีที่อยู่ในไร่ก็คือเดียเม้ียน” (พงศกร 2555ข, 161) และความเช่ือเร่ืองผีดังกล่าวนีก้ ็เช่ือมโยงไปสูก่ าร นับถือสื่อกลาง (mediator) ระหว่างมนุษย์กับผี คือ หมอผี ซ่ึงชาวเย้าเรียกว่า “ซิบเมี้ยนเมี่ยน” (สมเกียรติ จา้ ลอง 2547, 106) กลา่ วถงึ ซิบเมีย้ นเม่ียนวา่ เปน็ ผูท้ า้ หน้าทีป่ ระกอบพิธีกรรมเพือ่ สอ่ื สาร ระหวา่ งคนเย้ากบั ผีกลุม่ ตา่ งๆ ซบิ เมีย้ นเมยี่ นมีบทบาทส้าคัญมากเพราะวถิ ีชีวิตของชาวเยา้ สมั พันธ์กับ พิธีกรรมตลอดเวลา ต้ังแต่เกิดจนหลังตายไปแล้วและยังมีหน้าท่ีประกอบพิธีกรรมเพ่ือแก้ไขความ
42 เจบ็ ป่วยอันเกดิ จากอ้านาจเหนือธรรมชาติ พงศกรน้าความสา้ คญั ของซิบเมย้ี นเมย่ี นดังกลา่ วมาเสนอ ในนวนยิ ายว่า แม้ไม่ได้เป็นคนเย้า หากดรสาอยู่กับคนเย้ามานานพอท่ีจะรู้ว่า ซิบเมี้ยนเมี่ยนหรือหมอผี ของหมู่บ้านเป็นบุคคลท่ีคนเย้าใหค้ วามเคารพนับถือสูงสุด ดูไปแล้วน่าจะมากกว่าหัวหน้าท่ี ทา้ หนา้ ท่ีปกครองหมู่บ้านเสียด้วยซ้าไป เพราะซบิ เมย้ี นเมย่ี นจะเป็นบคุ คลที่ประพฤติตนอยู่ ในศลี ธรรม มคี วามยุติธรรม และเปน็ ผ้ปู ระกอบพิธีกรรมทุกอย่างของหม่บู ้าน นบั ตั้งแต่มีคน เกิดจนตาย เรยี กไดว้ ่าวถิ ชี วี ติ ของคนทผี่ าช้างร้องนตี้ ้องผ่านมือของนางอ่้าเฟยมาแลว้ ถ้วนทั่ว ทกุ ตัวคน มองอีกมุมหนง่ึ ซบิ เม้ียนเมย่ี นยังมฐี านะเป็นคนกึ่งเทพเจ้าอีกด้วย เนือ่ งจากเป็นผู้มีหน้าท่ี ติดต่อส่ือสารกับภูตผีท้ังหลายท่ีให้ความคุ้มครองหมู่บ้านอยู่ ดังน้ัน เมื่อซิบเม้ียนเม่ียนพูด อะไรออกมาคา้ หน่งึ ทุกคนในหมู่บา้ นตอ้ งหยุดและรบั ฟงั (พงศกร 2555ข, 174) ในนวนิยายมีการสร้างตัวละครซิบเม้ียนเมี่ยนทั้งตัวจริงและตัวปลอม ถือเป็นตัวละคร ส้าคัญต่อปมขัดแย้งในนวนิยาย ท่ีน่าสนใจคือ นวนิยายแสดงให้เห็นอ้านาจของซิบเมย้ี นเมี่ยนที่ทรง พลงั ตอ่ สงั คมเย้าอยา่ งย่ิง ดงั ตอนทนี่ างอ่า้ เฟย ซบิ เมี้ยนเม่ียนตวั ปลอมตอ้ งการใช้สถานะซบิ เมยี้ นเมย่ี น เพื่อขายที่ดินริมป่าต้องห้ามแก่ดร.สนิ ธพโดยประกอบพธิ ีกรรมอ้างผีหลวง เม่ือดรสาทราบเข้าจงึ ไป ขัดขวางพร้อมกระชากหน้ากากของอ่้าเฟยกลางพิธีกรรมของนาง การกระท้าของดรสาแม้จะเป็นการ กระท้าท่ีถูกตอ้ งแต่กลบั สร้างความไม่พอใจและวิกฤตศรทั ธาแกช่ าวบา้ นอย่างกว้างขวาง เนอ่ื งจาก อ่้าเฟยในฐานะซบิ เมี้ยนเมี่ยนเปรียบเสมือนเป็นรูปเคารพท่ีชาวเย้าท้ังหมูบ่ ้านให้ความนับถือ […] ดังน้ัน สิ่งท่ีหล่อนท้าไปในคืนวันเพ็ญท่ีผ่านมา จึงไม่ใช่เพียงแต่การกระชากหน้ากากของ อ้่าเฟย ออกมาให้ประจักษ์เท่านั้น หากยังเป็นการส่ันคลอนความเชื่อถือ ท้าลายศรัทธาและ ความรสู้ ึกภาคภมู ิของคนผาชา้ งรอ้ งลงในช่ัวเวลาเพยี งแคข่ า้ มคืน (พงศกร 2555ข, 254-255) นอกจากน้ี ในฤดูดาว พงศกรยังน้าวถิ ชี ีวติ การแตง่ กาย ทีอ่ ยอู่ าศยั หรือภาษาของชาวเย้า สอดแทรกลงไปเพอ่ื บ่งบอกให้ทราบถึงความเป็นอยู่ของชาวเย้าในหลายมติ ิด้วย ที่น่าสนใจคือ การ น้าเสนอข้อมูลดังกล่าวเป็นไปในด้านบวกให้เห็นว่า ชาวเย้าเป็นชาติพันธุ์ที่มีภูมิปัญญาไม่ต่างจาก ชาตพิ นั ธุอ์ น่ื ๆ ชาวเย้าเป็นชนเผ่าท่ีมีความเฉลียวฉลาดและใช้ภูมิปัญญาน้ันสร้างเคร่ืองอ้านวยความ สะดวกใหก้ บั เผา่ ตนมานานแลว้ เย้ามักจะเลือกต้ังหมู่บ้านอยู่ใกล้กับแหล่งท่ีเป็นตน้ น้าล้าธารซ่ึงไหลแรงหรือบรเิ วณท่ีเป็น ธารน้าตกจากเนินเขาขนาดเล็ก เพื่อท่ีจะสามารถใช้ท่อหรอื ล้าไม้ไผ่ต่อกันเป็นระบบรางน้า
43 นา้ นา้ เข้ามาส้าหรบั ไว้ใช้ภายในหม่บู ้านได้ แทนท่ีจะตอ้ งเสยี เวลา และล้าบากเดินลงไปตักน้า ในแอง่ น้าหรอื ล้าธารอยา่ งกับชาวเขาเผา่ อื่น (พงศกร 2555ข, 43) สรุปได้ว่า พงศกรไดน้ า้ เอาข้อมูลคตชิ นของชาวเย้า โดยเฉพาะการนับถือผแี ละหมอผหี รอื ซบิ เมีย้ นเมย่ี นเพอ่ื บ่งบอกให้เหน็ ถึงความสมั พันธร์ ะหวา่ งคนเย้ากบั ความเชือ่ อยา่ งแนบแนน่ มาเน้นย้า ในฤดดู าว นวนิยายเร่อื งนี้ยงั แสดงให้ถึงพลงั อา้ นาจของข้อมลู คตชิ นท่ีขดั เกลาความคดิ และวิถีชวี ติ ของ คนเยา้ เพอ่ื แสดงถึงคุณค่าภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นของชาวเยา้ ดว้ ยการฉายภาพชาวเย้าทีม่ อี ัตลักษณเ์ ฉพาะ ตน มคี วามเฉลียวฉลาดผ่านขอ้ มลู วถิ ชี ีวติ และความเป็นอยทู่ ส่ี อดแทรกไปพรอ้ มกนั 2.2.2.3 ความเช่ือเร่ืองแถนในฤดูดาว เ ร่ื อ ง เ ล่ า เวี ย ง แ สน เพ็ งที่ พง ศก รสร้ า งข้ึ น ใ น ฤ ดู ด าว ท่ี น อ ก จา กมี ทั้ งอ นุ ภา คหญิ งสาว กลายเป็นดอกไมแ้ ละอนภุ าคเมอื งลม่ แล้วยังมีตวั ละครที่น่าสนใจคือ “แถนเมอื งแมน” ซึ่งสถติ ในเมือง บนหรือสวรรค์เป็นตัวละครหลักของเร่ืองเลา่ เวียงแสนเพ็ง แถนเป็นเทพสูงสดุ ที่สถิตอยู่ในเมืองแถน ปรากฏในความรับรู้รว่ มกันของกลุ่มชาติพันธุ์ไทและลาว แถนปรากฏเปน็ ตัวละครในวรรณกรรมและ พงศาวดารท้ังในชาดกพื้นบ้านล้านนา (สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ 2542, เล่ม 5, 2687- 2688) ในนทิ านขนุ บรมของทางอีสานและพงศาวดารล้านช้างของชาวลาวดว้ ย (สารานกุ รมวัฒนธรรม ไทย ภาคอีสาน 2542, เล่ม 5, 1534-1536) ตัวอยา่ งเชน่ เร่อื ง “พระญาฅางฅาก” แถนบนั ดาลไม่ให้ ฝนตกเนอื่ งจากอิจฉาพระยาฅางฅากที่ปกครองเมืองมนุษย์แล้วไมส่ นใจแถน นา้ มาสกู่ ารสูร้ บระหว่าง แถนและพระยาฅางฅากจนแถนแพ้ในที่สดุ เปน็ ตน้ แถนยังปรากฏในต้านานสร้างโลกของคนไท-ลาวหลายส้านวน ดังที่ศิราพร ณ ถลาง (2545, 68) ยกต้านานของชนชาติไทมาอภิปรายและแสดงให้เห็นว่า แถนเป็นทง้ั ผสู้ รา้ งโลกหรือทรี่ จู้ กั กันในนาม “ปแู่ ถนยา่ แถน” แถนเปน็ ผู้สร้างมนุษยค์ แู่ รกลงมาบนโลก แถนนา้ นา้ เต้าลงมายงั โลกมนุษย์ และในน้าเต้ามีมนุษย์อยู่และแถนเอาเหล็กจ้ีน้าเต้าปุงและผู้คนชาติพันธ์ุต่างๆ ออกมา จากต้านาน ท้ังหลายศิราพรได้อภิปรายไว้อย่างน่าสนใจว่า แถนเป็นความเช่ือด้ังเดิมที่มีอยู่ก่อนรับพุทธศาสนา (pre-Buddhism) ของคนไท สะท้อนให้เห็นความเก่าแก่ของชนชาติไทท่ีมีระบบความคิดความเช่ือ เกย่ี วกบั โลกและมนุษยท์ ีม่ มี าก่อนแล้ว และทส่ี ้าคญั “ปู่แถนย่าแถนหรือปสู่ ังกะสายา่ สงั กะสนี บั ว่าเปน็ ผอู้ ยบู่ นฟ้า มสี ถานภาพสงู สดุ มนุษย์เกิดจากการสร้างของแถน ไมว่ า่ จะเปน็ การสร้างแบบเนรมติ หรอื เอาดนิ มาปั้นแลว้ เสกให้เปน็ มนุษย์กส็ ะท้อนความวา่ คนไทเป็น ‘ลูกฟ้า’ มชี าตกิ า้ เนดิ ทม่ี าจากสวรรค์” (ศริ าพร ณ ถลาง 2545, 76-78) โดยนยั น้ี ความเช่ือเร่อื งแถนแสดงสา้ นึกความเปน็ ใหญ่ของชาติพันธุ์ ทสี่ บื เชอื้ สายมาจากเทพของคนไทในแถบนี้น่ันเอง อนึ่ง แถนอาจมิได้เป็นเทพเจ้า แต่อาจเป็นบรรพชนของกลุ่มชาติพันธ์ุไทในอดีต ดังท่ี สุกัญญา สุจฉายา (2549, 186-187) เสนอว่า แถนอาจเคยเป็นบรรพชนของชนชาติไทยก่อนกลาย
44 สถานภาพเป็นเทพในภายหลงั เพราะการทีบ่ รรพชนจะเปลยี่ นสถานะข้ึนเปน็ เทพในสมัยหลงั เปน็ สิง่ ท่ี พบได้ในต้านานปรัมปราของชนหลายกลุ่ม และกลุ่มชาติพันธุ์ไทเองก็มีประเพณีบูชาผีบรรพชน วีรบุรุษและผู้น้าที่ตายไปแล้ว โดยเช่ือว่าพวกเขาจะกลายเป็นเทวดาคุ้มครองเมือง แถนจึงอาจเป็น บรรพชนคนไทในอดตี ท่ถี กู ยกสถานะก็เปน็ ได้ หากพิจารณาแถนในเรื่องเลา่ เวียงแสนเพ็งทป่ี รากฏในฤดดู าว แถนยังมีลกั ษณะเป็นเทพ สถิตในเมืองบนหรือสวรรค์และมีความคล้ายคลึงกับแถนในความเช่ือ คือ ยังไม่หลุดพ้นจากกิเลส มี พฤติกรรมเหมอื นมนุษย์ จงึ ทา้ ให้ “แถนเมืองแมน” หลงรักนางอั้วแสนเพง็ ทีเ่ ปน็ มนุษย์ ก่อใหเ้ กดิ เรอื่ ง วุ่นวายจากความหึงหวงและความริษยา รวมถึงยงั มตี ัวละครแถนอีกตัวหนึง่ ท่กี ลา่ วถึงคือ “แถนเมือง ฟ้า” ผเู้ ปน็ ใหญเ่ หนือแถนทงั้ ปวงและเปน็ บดิ าของนางดารกาประกายทีไ่ ด้ใชอ้ ทิ ธฤิ ทธชิ์ ว่ ยเหลือนางอว้ั แสนเพ็งคืนชีพเป็นดอกไม้ด้วย น่าสังเกตว่า คติการนับถือแถนไม่ได้อยู่ในคติของชาวเย้าเสียทีเดียว หากพงศกรได้ผูกคตเิ รอ่ื งแถนน้ีเข้ากับชาวเย้า โดยสอดแทรกอยู่ในเรอื่ งเลา่ เกยี่ วกับเวียงแสนเพ็งซ่ึง พงศกรสรา้ งขึน้ โดยแถนกลายเป็นตัวละครในเรอ่ื งเล่าท่บี ่งบอกความเปน็ มาของสถานทีแ่ ละกลุ่มชนท่ี ผาชา้ งร้อง เมื่อชาวเย้าอพยพมาจงึ รับรู้เรอ่ื งเลา่ นใ้ี นภายหลงั เหตุน้ีแมใ้ นความเป็นจริง ความเชอื่ เรือ่ ง แถนไม่อยู่ในความเช่ือของชาวเย้า แต่ในนวนิยายความเช่ือเรื่องแถน ได้ถูกผูกโยงเป็นสว่ นหน่ึงของ ชาวเยา้ ผา่ นเร่อื งเลา่ ดังกล่าว 2.2.2.4 ความเช่ือเร่ืองผพี รายในวงั พญาพราย คชาปรุ ะและนครไอยรา ผีพรายเป็นผีท่ีรู้จักกันทั่วไปในสังคมไทยว่าเกี่ยวพันกับสายน้า ความเชื่อเรื่องผีพราย ปรากฏในนวนิยายเรอ่ื งวังพญาพรายและคชาปุระ-นครไอยรา มีจุดร่วมกันคือ การดึงเอาความเช่อื เรอื่ งผที ่ีผกู พนั กบั สายน้ามาใช้ แต่ลกั ษณะของผพี รายในนวนยิ ายสองเรือ่ งถูกดดั แปลงให้แตกต่างกัน ความเชื่อเรื่องผีพรายปรากฏในหลายท้องถิ่นและมีหลายความหมายดังที่ส.พลายน้อย (2544, 97-100) ไดก้ ล่าวถงึ ขอ้ มลู ทพ่ี ูดถงึ ผพี รายหลายแหลง่ เชน่ อกั ขราภธิ านศรับท์ของหมอบรดั เล กล่าวถึงผีพรายและผีเสื้อว่าเป็นปศิ าจท่ีเกิดอยู่ในทะเลหรือในสระในปา่ ใหญ่ กินมนุษย์และสัตว์เป็น อาหาร ขณะท่ีในหนังสอื แสดงกจิ จานุกิจของเจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ได้กล่าวไปในทศิ ทางเดียวกนั วา่ ผีพรายเปน็ ผีอยู่ในทะเลและมกั จะมาทา้ ใหเ้ รือลม่ ส.พลายนอ้ ยยังกลา่ วด้วยวา่ ผชี นิดน้ีมักปรากฏเป็น แสงสวา่ งขนึ้ ในกลางทะเล ไม่ปรากฏว่ามใี ครเคยเห็นเปน็ ตัวเป็นตน นอกจากน้ีในภาษาไทยยังมีค้าว่า “โหงพราย” อีกค้าหนึง่ ทีใ่ กล้เคยี งกับผีพราย แต่คา้ นี้มคี วามหมายแตกต่างจากผพี ราย กล่าวคือ โหง พรายมกั เป็นผที ีต่ ายรา้ ยอย่างผีตายท้งั กลม หรอื ตายไมด่ ใี นลกั ษณะอ่ืนๆ จากทัง้ หมดผวู้ ิจยั สรปุ ได้ว่า ผีพรายเป็นผีฝา่ ยรา้ ยที่มถี ่ินท่อี ยผู่ ูกพันกับสายน้า และขอเพ่ิมเตมิ ด้วยว่า ผีพรายเปน็ ผที ่ีอยใู่ นนา้ และ รอคอยให้คนท่ผี ่านไปมามาแทนทีต่ นเองหรอื พามาอยดู่ ว้ ย
45 ส้าหรับผีพรายท่ีปรากฏในวังพญาพรายมี 2 ลักษณะ ลักษณะแรก ผีพรายที่อยู่ในน้า คล้ายเงือก และอีกลกั ษณะหนึง่ ผพี รายทอ่ี ย่บู นบกซ่งึ จะแปลงกายเปน็ ผพี รายในคืนวันเพญ็ กลา่ วคอื ผพี รายลักษณะแรกปรากฏผ่านตวั ละครนางเรืองแสงฟ้าท่ีอาศยั อย่ใู นบงึ พราย อนั เกิดจากคา้ สาปของ นางเอง โดยรูปลักษณข์ องนางนัน้ ข้ึนอยู่กับการเนรมิตกายใหค้ นได้เหน็ ดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ ดวงหน้าท่ีสวยงามบิดเบ้ียว ผิวหนังที่เคยเต่งตึงด้วยเลือกฝาดกลับเห่ียวย่นลงไปอย่าง รวดเร็ว ใชเ้ วลาเพยี งชั่วอดึ ใจร่างท้ังร่างกย็ ับยน่ ราวกับคนชราอายหุ ลายรอ้ ยปี ดวงตาท่ีเคยสดใสเร่อื เรอื งเป็นประกาย กลับแดงฉานราวถา่ นไฟก่อนจะหลุดผลัวะออกมา จากเบ้า หอ้ ยตอ่ งแต่งอยูบ่ นใบหน้า สร้างความหวาดกลัวใหก้ ับทุกผู้คนโดยถว้ นหน้า ยายแก่พันปีผู้นั้นยื่นมือท่ีเหี่ยวย่นและตะปุ่มตะป่าออกมาข้างหน้าพร้อมกับแสยะยิ้มจน เห็นเขยี้ วขาววาววะวบั เล็บมือของนางแหลมคมราวกรงเลบ็ สัตว์ป่า เสยี งหวั เราะแหลมเล็ก ราวกับภูตผีปิศาจ กายท่อนล่างของเจ้าหลอ่ นจมลงไปในน้าวนอย่างรวดเร็ว ก่อนท่ีขิมทอง จะแลเห็นว่า ท่อนขาของนางพรายน้าค่อยแปรเปล่ียนเป็นหางปลาสะบัดจนผิวน้าแตก กระจาย ร่างสวยงามอรชรซ่ึงกลับกลายเป็นพรายน้าไปอย่างเต็มตัวแล้วในเวลานยี้ ังคงไม่หยุดกรีด เสยี งหวั เราะ (พงศกร 2557ค, 163-164) นอกจากรปู ลกั ษณน์ า่ สยดสยองของนางเรอื งแสงฟ้าแลว้ นางยังมลี ักษณะครง่ึ คนครึ่งปลา ท่ีเรียกกนั ว่า “เงือก” ทเ่ี ปน็ เช่นนอ้ี าจเป็นเพราะพงศกรต้องการเช่อื มโยงระหว่างถ่ินทีอ่ ยขู่ องผพี รายที่ ผูกพันกับน้า ผีพรายในนวนิยายเรื่องน้ีจึงผูกเอาอมนุษย์อีกจ้าพวกคือ เงือกที่มีถ่ินท่ีอยู่ในน้าและมี ลักษณะคร่ึงคนคร่ึงปลามาผสมเข้าไปด้วย ท้าให้ผีพรายในเร่ืองน้ีเป็นเสมือนอมนุษย์ที่มีรูปลักษณ์ คลา้ ยกับเงอื ก แต่ก็สามารถแปลงกายเป็นหญงิ สาวท่ีงดงามได้เช่นกนั ส่วนผพี รายอกี ลกั ษณะปรากฏผ่านตัวละคร “โรม” ตัวละครเอกของเรอื่ ง โรมเปน็ มนุษย์ แต่เมื่อถึงคืนวันเพญ็ โรมก็จะกลายเป็นผีพรายเน่ืองจากค้าสาปของเรอื งแสงฟา้ ทปี่ ระทบั ไว้ในทายาท ของลอื อนิ ไททุกคนจนมาถงึ โรม ลกั ษณะเชน่ นท้ี า้ ให้โรมมลี ักษณะก้ากง่ึ ระหว่างมนษุ ยก์ บั ผพี ราย ย่งิ เม่อื พิจารณารูปลกั ษณข์ องโรมแล้วกน็ ่าสนใจด้วย ดงั ตวั อยา่ งทพ่ี งศกรบรรยายไว้ดังนี้ ปีศาจร้ายตรงหน้าของขิมทองมีเรือนร่างสูงใหญ่เหมือนกับไอ้ตัวเขียวในหนังอสุรกายที่ หล่อนเคยดู หากตามผวิ ของมันนั้นเป็นเมือกลื่นๆ ราวกบั มตี ะไคร่น้าสีช้าเลือดช้าหนองเกาะ กรัง มือของมันท่ยี น่ื ออกมาข้างหน้าน้ันตะปุ่มตะป่าราวกบั รากไม้ ขิมทองสังเกตเห็นเกลด็ หนาๆ สีขาวขุ่นราวกับเกล็ดของปลากระโห้ขนาดใหญซ่ ้อนอยู่บน ผิวที่ส่งกลิน่ เหม็นคาวคละคลุ้ง (พงศกร 2557ค, 269)
46 ตัวละครโรมถือว่าน่าสนใจเพราะแม้จะเรียกว่าผีพรายเช่นเดียวกัน แต่โรมกลับไม่ได้มี ลักษณะเป็นเงือกเหมือนเรืองแสงฟ้า หากกลายร่างเป็นอสุรกายขนาดใหญ่และมีเพียงเกล็ดปลา เทา่ น้นั ทเี่ ชื่อมโยงระหวา่ งผพี รายที่อยูใ่ นน้า ลกั ษณะการแปลงกายในคนื วนั เพญ็ น้ีก็นบั วา่ เป็นการหยบิ ยมื อนุภาค “มนษุ ยห์ มาปา่ ” (werewolf) มาผสมดว้ ย มนุษย์หมาป่า หมายถึง มนษุ ย์ท่สี ามารถแปลง กายเป็นหมาปา่ อาจดว้ ยเวทมนตรห์ รอื ค้าสาปในคืนพระจันทร์เต็มดวงและต้องปราบด้วยกระสนุ เงนิ มนุษยห์ มาป่าเป็นอสรุ กายท่ีดุรา้ ย บา้ งก็เช่อื ว่าเปน็ วิญญาณทช่ี ว่ั รา้ ยเข้ามาสิงทา้ ให้มนษุ ยผ์ นู้ ั้นกระท้า ความชั่วร้ายต่างๆ ความเช่ือเร่ืองมนุษย์หมาป่าแพร่หลายทั่วโลก รวมถึงได้รับการแต่งเติมเป็น วรรณกรรมหลายเร่ืองดว้ ยกนั (ดานภุ า ไชยพรธรรม 2555, 191-192) อย่างเช่นในวรรณกรรมไทยก็ มนี วนยิ ายเรื่องพระจันทร์แดงของ ชวู งศ์ ฉายะจินดา ท่ีตวั เอกกลายเปน็ สตั ว์ประหลาดในคืนวันเพ็ญ ด้วย เหตุน้ีการสรา้ งตัวละครโรมจงึ มใิ ช่เพียงน้าความเชือ่ เร่อื งผีพรายมาใช้อย่างเดยี วกบั เรอื งแสงฟ้า หากแต่ดัดแปลงให้เข้ากับการแปลงกายในคืนวันเพ็ญ มีเพียงเกล็ดประหลาดที่ส่ือให้เห็นความ เชือ่ มโยงกบั สายน้า ขณะที่ผพี รายในคชาปรุ ะและนครไอยรา ผู้วจิ ัยได้กล่าวถึงไปแล้วในหวั ขอ้ การน้าต้านาน ปรัมปรากรีกมาใช้วา่ แมน้ วนิยายจะเรียกว่าตัวละครนั้นคือผีพรายแต่เป็นผพี รายท่ีเกิดการผสมผสาน เข้ากับตวั ละครจากต้านานปรัมปรากรกี อยา่ งนางไซเรนดว้ ย ซึ่งการผสมผสานก็แสดงให้เห็นว่า ท้ังนาง พรายและนางไซเรนก็มคี วามใกล้เคียงกัน เพราะต่างเป็นผีทีอ่ ยู่ในน้าและรอทา้ ร้ายคนท่ีผา่ นเข้ามา เชน่ เดยี วกนั ลักษณะผีพรายท่ีเกิดการผสมกับลักษณะของความเช่ือหรือตัวละครอื่นๆ เข้ามาด้วยน้ี อาจมีสาเหตุจาก ผีพรายเป็นผีที่ไม่มีผู้ใดเห็นชัดเจนหรือไม่มีรูปลักษณ์ที่ตายตัว เม่ือผู้แต่งน้ามาใช้ ในนวนยิ ายซง่ึ จา้ เป็นต้องท้าใหผ้ อู้ ่านจนิ ตนาการเห็นภาพมากทส่ี ดุ ก็คงสง่ ผลให้นา้ มาผสมกบั ตัวละคร อื่นๆ ท่ีรับรู้กันดีอยา่ งเงือก มนุษย์หมาปา่ หรอื นางไซเรน แม้จะมีลกั ษณะแตกต่างกนั ไป แต่ผีพรายท่ี ปรากฏร่วมกันเห็นได้ชัดว่ายังเป็นผีฝ่ายร้ายที่ให้โทษแก่มนุษย์ รวมถึงมีองค์ประกอบเกี่ยวพันกับ สายน้าน่นั เอง 2.2.2.5 ความเชือ่ เรือ่ งบังบดในสร้อยแสงจันทร์ “บังบด” เปน็ ความเช่ือของคนอีสานทเ่ี ช่อื ว่า บังบดเป็นมนษุ ยพ์ วกหน่ึง อาศยั อยตู่ ามป่า เขาที่ห่างไกล บางท้องถิ่นก็เช่ือว่าบงั บดมอี ทิ ธิฤทธ์ิเหนือมนุษย์ ความเช่ือเร่ืองบังบดน้ีคล้ายกับความ เช่ือเรื่องเมืองลับแลของทางภาคกลางและมีเรือ่ งเลา่ กันว่า พระภิกษุท่ีธุดงค์เดินป่าไมม่ ีผู้ตักบาตรให้ พวกบังบดมกั จะออกมาทา้ บญุ ท้าทานตามป่าเขาทีพ่ ระธุดงคอ์ ยู่ หรือพระเถระทป่ี ฏิบตั ธิ รรมได้ถึงข้ัน สูงสุดกจ็ ะมีบังบดออกมาจัดถวายภัตตาหารเสมอๆ (สารานกุ รมวัฒนธรรมไทย ภาคอสี าน 2542, เลม่ 8, 2243-2244) ความเช่อื เร่อื งบงั บดไดป้ รากฏในสรอ้ ยแสงจนั ทร์ ว่า
47 “เช่ือกันว่า บังบดมักตั้งบ้านเรือนอยกู่ ลางปา่ เขาล้าเนาไพร ประพฤติตนอยู่ในศีลในธรรมและ ไมพ่ ดู โกหก มเี ร่ืองเลา่ วา่ พระอริยสงฆ์ท่อี อกธุดงคไ์ ปปฏิบตั ิธรรมท่ามกลางป่าลึก บางคร้ังจะมี ผคู้ นที่ไมร่ ูว้ า่ มาแตไ่ หน มบี า้ นเรือนอยู่ทใ่ี ด ออกมาใสบ่ าตรหรือไม่ก็น้าอาหารมาถวาย ว่ากันว่า ผู้คนเหล่าน้ันเปน็ พวกบังบดพวกเขาอยู่กันอยา่ งสมถะ ไมส่ งุ สงิ กับมนุษยโ์ ลก...จะใหค้ นเห็นเม่ือ พวกเขาต้องการเท่าน้ัน หากไม่ต้องการให้ใครเห็น ไม่ว่าจะค้นหาอย่างไรก็ไม่มีวันได้พบ” (พงศกร 2558, 154) บงั บดในนวนิยายเรื่องนี้เปน็ สว่ นส้าคัญทเ่ี ขา้ มาช่วยเหลือตวั ละครเอก คือ เมื่อพทุ ธิประสบ วิกฤตขณะก้าลงั หนจี ากการตามล่าของตัวละครฝ่ายรา้ ย บังบดยอมใหพ้ ุทธิก้าวลว่ งเข้าไปในดินแดน ของพวกเขา พุทธิไดห้ ลบซ่อนตัวและไดท้ ีพ่ กั พงิ ช่ัวคราว เห็นไดว้ ่า บังบดท่ีเปน็ ความเช่ือของชาวอสี าน ได้นา้ มาใชใ้ นนวนยิ ายเรอื่ งน้ีในฐานะผชู้ ว่ ยเหลือและมีส่วนชว่ ยแสดงความดขี องตวั ละครเอกด้วย 2.2.3 ขอ้ มูลประเภทวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย 2.2.3.1 วรรณคดเี รื่องผาแดงนางไอ่ฉบบั ลายลกั ษณ์ในเบอื้ งบรรพ์ นอกจากเบ้ืองบรรพ์ใช้นิทานผาแดงนางไอ่ที่รับรู้ผ่านส้านวนมุขปาฐะแล้ว พงศกรยัง สอดแทรกตัวบทจากวรรณคดีลายลักษณ์เรื่องผาแดงนางไอ่มาพร้อมกันด้วย ดังท่ีปรากฏการใช้ อัญพจน์ (quotation) ข้อความบางส่วนท่ีเป็นภาษาโบราณมาและมีการอ้างอิงว่าข้อความเหล่าน้ัน เป็น “โศลกจารอยู่ในสมุดไทโบราณ เพ่ิงค้นพบท่ีวัดแห่งหนึ่งไม่นานมานี้...ภาษาในน้ันจารด้วย ภาษาไทยอีสานโบราณ” (พงศกร 2552, 38) ท้ังน้ี แม้ผาแดงนางไออ่ าจมวี รรณคดีลายลักษณห์ ลาย ส้านวนท่ีบันทึกไว้ในใบลาน แต่ผู้วิจัยได้น้าวรรณคดีที่ผ่านการปริวรรตเป็นอักษรไทยในหนังสือ วรรณคดีอีสาน เรื่อง ผาแดงนางไอ่ จากส้านวนปรวิ รรตของปรีชา พิณทอง มาเปรียบเทียบกับตวั บทนวนิยาย เนื่องจากฉบับของนายปรชี าได้เลือกส้านวนที่เห็นว่าไพเราะที่สุดมาใช้ (ปรีชา พิณทอง 2524, ค้าน้า) พบว่า ข้อความท่ียกมาในนวนิยายสอดคล้องกับข้อความในวรรณคดีผาแดงนางไอ่ที่ ปริวรรตแลว้ รวมถึงการยกขอ้ ความในแตล่ ะชว่ งมาใช้ก็บ่งบอกถงึ นัยยะทซี่ อ่ นอยู่ ตวั อย่างเช่นในช่วง ต้นเรอ่ื ง เมือ่ มีนกบั นวาระ เพ่ือนสนิทและน้องสาวของวรัณมาถึงบ้านพกั ของวรณั ที่กมุ ภวาปี ขณะท่ี ทกุ คนก้าลังพดู คุยกนั อยนู่ นั้ ค้าตาแมบ่ ้านของวรัณมีอาการเหมอื นถูกผีสิงและพดู คา้ โบราณออกมา “มาแลว้ กอ่ เจ้านางมาแล้ว” ค้าตาชไ้ี ปทม่ี ีน ปลายน้ิวสั่นระรกิ ราวคนแก่ “นบั ม้ือไกลกันแล้ว หัวเฮือซิไกลฝ่ัง ดอกสะมั่งลาจากน้อง ฟานเอยซิลาหน่าง” (พงศกร 2552, 36) คา้ พูดของคา้ ตาท้าให้ท้งั สามคนตกใจเป็นอยา่ งมาก วรณั แนใ่ จวา่ ถ้อยค้านั้น มิไดเ้ กิดจาก การท่องจา้ เพราะถ้อยค้าดังกล่าวเปน็ ข้อความจากใบลานที่เพ่ิงค้นพบ เมื่อผู้วิจัยเทยี บเคียงกลับไปท่ี
48 วรรณคดีนิทานเร่ืองผาแดงนางไอ่ ข้อความน้ีปรากฏในตอนท่ีผาแดงลานางไอ่กลบั เมืองผาโพงเป็น สว่ นหนง่ึ ของคา้ ลาของทา้ วแดง ดงั ที่จะตัดมาตอนหนงึ่ ใหเ้ หน็ ดังนี้ บดั นพี่ ี่ซไิ ดพ้ รากน้อง เหนิ ห่างกัลยาก่อนแล้ว ชไิ ด้ฮามแพงขวัญ ดุ่มทางเดนิ ผ้าย ................................................................................. นบั มอ้ื ไกลกนั แล้ว หัวมันแกวซิไดเ้ อ้ินสั่งไฮ่ นางไอน่ ้อง อวนอ้ายซิจากไป ก่อนแล้ว นับม้ือไกลกันแลว้ หวั เฮือซิไกลฝัง่ ดอกสะมั่งจะลาจากก้าน ฟานเอยซิลาหนา่ ง (ปรีชา พณิ ทอง 2524, 38-39) เนื้อความตอนนี้เปรียบเทียบการจ้าจากนางอันเป็นที่รักเหมือนกับส่ิงที่เคยต้องอยู่ค่กู นั ตอ้ งพรากจากกนั ในตวั บทฉบบั เต็มมีคา้ พรรณนาทีก่ ลา่ วถงึ การพลัดพรากจากคู่คล้ายขนบนิราศ เชน่ ปลาจากน้า บัวทองจากบงึ ฯลฯ พงศกรได้ยกข้อความแสดงถึงอาการของการพลัดพรากจากนางอนั เป็นท่ีรักเพอื่ เปน็ จุดเริม่ ต้นให้เห็นว่า มีนคือนางไอ่ค้า เพราะเสียงของค้าตาเป็นเหมือนกับเสียงเรียก จากอดตี ให้มีนเรม่ิ ระลึกถงึ ความรกั ระหว่างไอค่ ้าและผาแดง และฉากนน้ี างไอ่ค้ากบั ท้าวผาแดงซึง่ เคย จากกนั ก็ได้กลับมาพบกันอีกครง้ั ตวั อย่างอีกตอนหน่ึง เมือ่ วรณั ตดิ อยู่ใต้ดนิ และเขาก้าลงั หมดหวงั วา่ คงจะไม่มีชีวติ อยตู่ ่อไป ขณะน้นั เองเขาไดย้ นิ เสยี งใครขบั กล่อมขอ้ ความท่ีมคี วามไพเราะใหเ้ ขาฟัง ดังนี้ ...สงั ซไิ ลลาน้อง ปรางค์ทองหนีจากเฮยี มเด อ้ายซิพรากน้องไว้ ไกลข้างจากไป... วรณั พยายามปรือตาขึ้นมองไปรอบคูหา เสยี งของใคร… ใครกนั หนอ มานั่งขับล้าน้าด้วยเสียงท่ีเศร้าโศกอาดรู ได้ถงึ เพยี งนี้ โศลกโบราณทบี่ รรยายถงึ การจากพราก ...อย่าไดไ้ ลเสยี ถม้ิ ภายเฮยี มตรอมโศก อยา่ ได้วโิ ยคฮ้าง วางน้องแคป่ รางค์ (พงศกร 2552, 167-168) เน้ือความท่ผี ู้แต่งยกมาน้ีมาจากตอนทา้ วผาแดงร่า้ ลานางไอค่ ้ากลบั เมืองหลงั จากลกั ลอบ ไดเ้ สียกันแล้ว (ปรชี า พิณทอง 2524, 141) เนือ้ ความขา้ งต้นแปลวา่ ตอนน้ีพต่ี อ้ งจา้ จากน้องไป นอ้ ง อย่าได้ทิ้งใหพ้ ีต่ ้องตรอมตรม อันแสดงความเศร้าโศกระหว่างคนรักท่ตี ้องพลัดพรากจากกันมาใช้ ท่นี า่ สังเกตคือ ข้อความนี้มีความโดดเด่นด้านการสรรค้าที่มีความหมายถึง “เศร้า” ถึงส่ีค้า ได้แก่ ตรอม
49 โศก วโิ ยคและฮ้าง มาใช้เพอ่ื ขับเน้นความโศกจากการต้องพลัดพราก การยกข้อความดังกล่าวมาใช้ก็ สอดคล้องกับเหตุการณ์ในนวนยิ ายทว่ี รณั ก้าลงั อยู่ก้าก่งึ ระหว่างความเปน็ และความตาย การไดย้ นิ ล้า น้าดังกล่าวก็เพ่ือบ่งบอกให้วรัณมีก้าลงั ใจสตู้ ่อไป เพ่ือมิให้ต้องพลดั พรากจากมีนเหมือนดังการพลัด พรากของผาแดงกบั นางไอ่น่ันเอง อนงึ่ แมใ้ นตวั บทนวนยิ ายจะเรยี กข้อความท่ียกมาจากตัวบทวรรณคดวี ่า “โศลก” หากใน วัฒนธรรมอีสานเรียกข้อความเหล่าน้ีว่า “ผะหยา” หมายถึง ค้าพูดท่ีหลักแหลม แสดงให้เห็น สติปญั ญาของผพู้ ดู ในเร่ืองใดเรื่องหนง่ึ ใชภ้ าษาได้งดงามเหมาะสม มีคณุ คา่ ทางวรรณศลิ ปผ์ ่านการใช้ ภาษาภาพพจน์ เช่น การอุปมาอุปลักษณ์ การกล่าวเกินจริง บุคคลวัต ฯลฯ หรอื ค้าพูดทีเ่ ป็นสญั ลกั ษณ์ ในการส่ือความหมาย (จารุวรรณ ธรรมวัตร 2522, 40) ผะหยามหี ลายรูปแบบเชน่ ผะหยาภาษติ เพ่ือ มุ่งส่ังสอน ผะหยาใหพ้ รเพือ่ เป็นค้าพูดอวยพรในโอกาสต่างๆ รวมถึงผะหยาเกยี้ วพาราสีที่ใช้เก้ียวพา ราสใี นโอกาสพเิ ศษ ที่น่าสนใจคือ ผะหยาเกีย้ วพาราสมี กั น้ามาใชใ้ นวรรณคดที ่ีมขี นบคลา้ ยนิราศอย่าง ตอนที่กล่าวถึงความรัก การพลัดพรากจากสิ่งท่ตี นรักด้วยความอาลัย (จารุวรรณ ธรรมวัตร 2522, 46-49) ทั้งน้ี ข้อความสื่ออารมณ์โศกจากการต้องพรากจากระหว่างผาแดงกับนางไอ่ที่ปรากฏในนว นิยายจัดเป็น “ผะหยา” แบบเกี้ยวพาราสี เพราะเห็นได้ว่าข้อความดังกล่าวเป็นข้อความท่ีแสดง ความรู้สึกท่ีลึกซ้ึงผ่านการเปรียบเทียบและใช้ถ้อยค้าอย่างมีวรรณศิลป์เพื่อสื่อความโศกเศร้าคล้าย ขนบนริ าศนัน่ เอง กล่าวได้ว่า พงศกรมิไดเ้ พียงน้านิทานผาแดงนางไอ่ที่เปน็ มุขปาฐะทรี่ ับรู้กันท่ัวไปด้วยกนั มาใช้นวนิยายเท่านน้ั พงศกรยังไดน้ า้ ข้อความทีป่ รากฏในวรรณคดีฉบับลายลกั ษณม์ าสอดแทรก โดย ข้อความเหล่าน้ันเป็นข้อความที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่างนิทานกับตัวละครในเรื่องให้ชัดมากขึ้น โดยเฉพาะฉากการพลัดพรากเพื่อให้สอดคล้องกับเหตุการณ์ท่ีตัวละครในปัจจุบันก้าลังเผชิญอยู่ ขอ้ ความดังกลา่ วอาจจัดเป็นข้อมูลคติชนอีกกลุ่มหนงึ่ ท่ีเรียกวา่ ค้าผะหยากลุ่มเก้ียวพาราสีท่ีแทรกอยู่ ในวรรณคดอี ีกชั้นหน่ึง 2.2.3.2 นกจโกระจากนทิ านเวตาลในสรอ้ ยแสงจันทร์ ตวั ละครนกจโกระท่ีดมื่ แสงจันทร์เปน็ อาหารไดป้ รากฏบทบาทอยา่ งโดดเด่นใน สร้อยแสง จันทร์ โดยตัวละครตัวน้ีพงศกรไดร้ ับแรงบันดาลใจจากนกจโกระ นกท่ีด่มื กนิ แสงจนั ทร์เปน็ อาหารใน นิทานอินเดียเร่ืองเวตาล (จณิ ณะ รุจิเสนีย์ 2554, 161) ก่อนน้ามาดัดแปลงใหม้ ีลักษณะทมี่ ีมติ ิมาก ยิง่ ขนึ้ เพ่ือให้สอดรับกับเรือ่ งทีอ่ งคป์ ระกอบแทบทุกส่วนมุ่งไปที่ “แสงจนั ทร์” นิทานเวตาลเป็นนิทานที่มีทม่ี าจากอินเดีย นิทานเรื่องนี้เป็น “นิทานซ้อนนิทาน” คือใน นิทานเวตาลจะมนี ทิ านเรื่องย่อยๆแทรกอยู่ มปี ิศาจเวตาล เป็นผ้เู ล่า เนอื้ หาภายในนทิ านย่อยแตกตา่ ง กัน แต่ต่างน้าไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวคือการให้ผู้ฟังนิทานตอบค้าถามให้ได้ ในสังคมไทยรู้จักนิทาน
50 เวตาลผ่านวรรณคดีลายลกั ษณ์อย่างน้อย 4 ส้านวน ดังท่ีนิยะดา เหล่าสุนทร (2545, 143-163) ได้ ศึกษาไว้วา่ มีนทิ านเวตาลปกรณมั ไม่ปรากฏนามผ้แู ตง่ ลลิ ิตเพชรมงกุฎ ของเจ้าพระยาพระคลัง(หน) นิทานเวตาล ฉบบั พระนพิ นธน์ .ม.ส. และเวตาลปญั จวิงศติ ของศักดิศ์ รี แยม้ นดั ดา โดยรายละเอยี ด ของนิทานเวตาลแต่ละส้านวนแตกต่างกันไป นิทานที่ซ้อนอยู่ในนิทานเรื่องใหญ่ก็จะพบเฉพาะบาง ส้านวน และมีรายละเอียดไมต่ รงกันในบางเรือ่ ง ผู้วิจัยพบว่า นกจโกระปรากฏในนิทานเวตาล 2 ส้านวน คือ นิทานเรื่องท่ี 6 ใน นิทานเวตาล ฉบับพระนิพนธน์ .ม.ส. และนทิ านเรอ่ื งท่ี 2 ในเวตาลปญั จวิงศติ ของศกั ดิ์ศรี แย้มนัดดา เนื้อหาท้ังสองส้านวนมีเรือ่ งตรงกันคือ ครอบครัวพราหมณ์เกศวะมลี ูกสาวงดงามคนหนึ่งช่ือว่า นาง มธมุ าลตี (ในส้านวนเวตาลปัญจวิงศติช่อื ว่า นางมนั ทารวดี) จนพราหมณ์หนมุ่ สามคนเข้าตดิ พันและ พยายามสขู่ อนางจากบิดา แต่บิดาไม่สามารถยกให้ได้สักคนจนกระทั่งนางตายไป ทั้งสามพราหมณ์ก็ พยายามหาทางฟื้นคืนชพี นางข้นึ มาใหม่และยงั แยง่ ชงิ นางอีก เรอ่ื งราวของนทิ านเรื่องน้กี ็เปน็ เร่ืองการ แยง่ ความชอบธรรมในการสู่ขอและครอบครองนางเพื่อให้ท้ายทสี่ ดุ เวตาลจะถามพระเจา้ วกิ รมาทิตยท์ ี่ ฟังนิทานเร่ืองนี้ว่า พราหมณ์คนใดท่ีสมควรได้นางไป โดยมีข้อความท่ีกล่าวถึงนกจโกระกล่าวถึง พฤตกิ รรมของสามพราหมณ์ดงั น้ี นทิ านเวตาล พระนพิ นธ์น.ม.ส. เวตาลปญั จวิงศติ ส่วนชายหนุ่มทัง้ 3 คนนั้น เมื่อบิดานางยังไม่ตดั สินว่ากระไร ก็ แตบ่ ดิ าของนางกม็ ิได้ยกนางใหแ้ กใ่ คร เพราะเกรงวา่ ถา้ ยกให้คน พากันน่ังน่ิงดูเดือนเพ็ญ คือหน้าแห่งนางจนไม่กระพริบตา ดู หนึ่ง อีกสองคนก็จะฆ่าตัวตายเสีย ดังนั้นนางจึงยังคงเป็นโสด ประหนึง่ จะประพฤตติ วั เป็นจโกระ คือ นกซ่ึงกลา่ วกนั ว่ากินแสง เร่ือยมามิได้คิดแตง่ งานกับใคร และพราหมณ์ทง้ั สามก็ยังคงพกั จันทร์เปน็ อาหาร (พิทยาลงกรณ 2552, 157) อยู่ท่ีน่ันเร่ือยมา ทั้งกลางวันและกลางคืนก็เฝ้าแต่มองดูพักตร์ ของนางอันงามเปล่งปลั่งราวกับสมบูรณจันทร์ [พระจันทร์เตม็ ดวง—เชงิ อรรถจากต้นฉบับ] ต่างก็ไม่ไดก้ ินไมไ่ ด้นอน ทา้ ตนราว กับนกจโกระ [นกเขาไฟ ตามนิยายโบราณกล่าวว่า “ยังชีพได้ ด้วยแสงจันทร์” —เชิงอรรถจากต้นฉบับ] ซ่ึงอาศัยแสงจันทร์ เปน็ อาหารฉะน้นั (ศักด์ศิ รี แย้มนดั ดา 2550, 31) เห็นได้ว่า นกจโกระเป็นเพียงค้าเปรยี บเปรยพฤติกรรมของชายหนุ่มทห่ี ลงใหลในความ งามของสตรีเช่นเดียวกับนกจโรกะท่ียังชีพได้ด้วยการดื่มแสงจนั ทร์เป็นอาหาร นกจโกระจึงไม่ใช่ตัว ละครหลกั หรอื มลี กั ษณะทเี่ ดน่ ชัดนกั หากนกจโกระในสรอ้ ยแสงจันทร์มีมติ มิ ากยิ่งขนึ้ กว่าท่ีบรรยายไว้ ในวรรณคดี ท่ามกลางเว้ิงฟ้าท่ีอาบด้วยแสงจันทรค์ ืนวนั เพญ็ มีนกตัวหนึ่งบนิ วนเวียนอยเู่ หนือเทวาลัย แสงสีเงินยวงของพระจันทร์เต็มดวงอาบไล้ร่างของนกตัวน้ันท้าให้ขนสีขาวส้มของมันเปลง่ ประกายเรอื งรอง ราวสามารถเรอื งแสงไดใ้ นตวั เอง นกรูปรา่ งแปลกตาอย่างทเ่ี ขาไม่เคยเห็นมาก่อน บินว่ายอยู่ในเวิ้งฟ้าพร้อมกับสง่ เสยี งร้อง หวานใส อันเปน็ ทม่ี าของเสยี งทีเ่ ขาไดย้ นิ น่ันเอง
51 ย่ิงบินวนเวียนมากรอบเพียงใด ขนของมนั กย็ ิ่งเปล่งประกายเรอื งรอง ราวไดร้ ับการประจุ เอาพลงั เข้าไว้ในกาย ท่บี นศรี ษะของนกนัน้ มหี งอนสีทองสุกสกาวส่องลอ้ แสงจันทรน์ วลเป็น ประกายระยบิ ระยับคล้ายมมี งกุฎเลก็ สวมครอบอย่บู นสว่ นหัว (พงศกร 2558, 46-47) เม่ือตัวละครน้ีปรากฏตัว พงศกรได้ให้ข้อมูลต่อไปว่า “ต้านานเก่าแก่และวรรณคดี สันสกฤตหลายเรอ่ื งกล่าวถึงนกชนิดน้ี นกจโกระหรอื นกเขาไฟ ผู้ยังชีพได้ด้วยแสงจนั ทร์ แต่นั่นเป็น เพยี งตา้ นาน และนกจโกระก็เปน็ เพยี งสัตวใ์ นจนิ ตนาการ ไมม่ ที างท่จี ะมีอยจู่ ริง” (พงศกร 2558, 48) เพื่อบอกผอู้ ่านวา่ นกตัวน้ีคอื นกจโกระท่ีมีอยใู่ นนทิ านอินเดยี ท่นี า่ สนใจคือ นกจโกระในเร่อื งน้ีมีช่อื วา่ “กีรณะ” แปลว่า แสงจันทร์ ถูกสร้างขึ้นให้สอดคลอ้ งกับแสงจนั ทร์มากยิ่งขึ้น กล่าวคือ ในนวนิยาย เรอื่ งน้ีมีฉากเวลากลางคนื ทแี่ สงจนั ทร์มีบทบาทต่อเหตุการณ์ในเรอื่ งแตกตา่ งกนั ออกไป หากเป็นคืนที่ มีแสงจันทรเ์ ตม็ ดวงมกั มเี หตุการณ์ทด่ี ีเกดิ ขึ้นซึ่งตรงข้ามกับฉากเวลาทเ่ี ป็นคืนเดือนมืด ตัวละครแทบ ทุกตัวล้วนมีความสัมพันธ์กับแสงจันทรแ์ ทบทง้ั สนิ้ ไม่ว่าจะเปน็ “กีรณะ” ท่ีต้องพึง่ พาแสงจนั ทร์เพ่อื เรียกพลังใหเ้ ตม็ เปี่ยม ขณะทีค่ ืนเดือนมดื กีรณะจะมพี ลังน้อยลง กลา่ วได้ว่า ตัวละครนกจโกระตามทป่ี รากฏใน นิทานเวตาล ฉบบั พระนพิ นธ์น.ม.ส. และ เวตาลปัญจิศติของศักดิ์ศรี แย้มนัดดา เพียงแค่ถูกกลา่ วถึงในลักษณะการเปรยี บเทียบ ส่วนในสร้อย แสงจันทร์นกจโกระได้รับการใหม้ มี ิติมากย่ิงขน้ึ ตามจนิ ตนาการ เพื่อให้สอดรบั กับ “แสงจันทร์” ที่เป็น แกนหลักของเรอ่ื ง 2.2.3.3 อิทธิพลจากมทั นะพาธาในฤดูดาวและกหุ ลาบรตั ตกิ าล อิทธิพลจากเรื่องมัทนะพาธา พระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี 6 ซ่ึงเล่าถึงความเจ็บปวดจาก ความรักจนเป็นที่มาของต้านานดอกกุหลาบ วรรณคดีเรื่องน้ีมีอนุภาคเด่นคือ การกลายรา่ งจากหญิง สาวเป็นดอกไม้ด้วยค้าสาปและมีการกลายร่างกลับคืนเป็นคนได้ อนุภาคดังกล่าวน้ีสอดคล้องกับ อนุภาคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้ใน ฤดูดาวและกุหลาบรัตติกาล และในนวนิยายยังได้อ้างอิงถึง วรรณคดเี รือ่ งนีด้ ้วย สา้ หรบั เหตุการณ์ในฤดูดาว พงศกรไดแ้ รงบนั ดาลใจสว่ นหน่งึ มาจากมทั นะพาธา (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มิถุนายน 2558) ตอนท่ีนางมัทนาถูกสาปให้กลายเป็นดอกกุหลาบก่อนกลบั กลายเป็น มนุษย์ชั่วคราวได้ก็ต่อเมื่อถึงคืนวันเพ็ญและจะเป็นมนุษย์โดยถาวรได้เม่ือพบรักแท้ ส่วนกรณีนาง อั้วแสนเพ็งถูกสาปให้กลายเป็นดอกเอ้ือง นางจะคืนร่างได้เป็นมนุษย์ได้เพราะปรากฏการณ์ฤดูดาว เราจะเห็นความใกล้เคียงของวรรณคดีกับนวนิยายเรื่องน้ีค่อนข้างชัดไม่ว่าจะเป็นการถูกสาปให้ กลายเป็นดอกไม้ การกลับกลายเป็นมนษุ ยไ์ ด้ในคืนวันสา้ คญั และจะกลบั เปน็ มนษุ ย์ได้ถาวรเม่ือพบรัก แท้ ส่วนจุดท่ีต่างคือ ตอนจบมัทนาต้องกลายเป็นดอกกุหลาบตลอดกาล ขณะที่นางอ้ัวแสนเพ็งได้ กลับไปอยู่กับแถนเมืองแมนอย่างมคี วามสขุ
52 สว่ น กหุ ลาบรัตตกิ าล กไ็ ด้รับอทิ ธิพลจากมัทนะพาธาเชน่ เดียวกนั พงศกรใช้ดอกกหุ ลาบ เป็นส่วนสา้ คัญของนวนิยายเหมือนกับมัทนะพาธา และดอกกุหลาบรัตตกิ าลกม็ าจากหญงิ สาวท่ีทน ทุกข์จากความรัก ในนวนิยายเร่ืองน้ีผู้แต่งได้ยกตัวบทจากวรรณคดีมาใช้เพื่อเปิดตัวดอกกุหลาบ รตั ติกาล “ท่วั โลกพยายามจะผสมพันธุ์กุหลาบสีนา้ เงินออกมาให้ได้ แต่ไมเ่ คยมีใครทา้ ได้สา้ เรจ็ เลย ตา่ งหาก...แต่ใครจะเชือ่ ว่า กุหลาบสีน้าเงนิ มาอย่ทู ่ีค้มุ คีรคี ้านแ่ี ล้ว” “สวยเหลือเกินนนท์” สีหน้าของภาวรยี ังไม่คลายความต่ืนเต้น “หอมดว้ ย กล่ินหอมแรงจรงิ ” อันบุษปะประหลาด บมิเหน็ ณ แหง่ ใด งามสรรพะวไิ ล ยะวิเศษะมาลี มานนทท์ อ่ งฉนั ท์บทหนึ่งจากมัทนะพาธาดเู หมือนพระราชนพิ นธใ์ นตอนนจ้ี ะบรรยายความ งดงามของดอกกหุ ลาบตรงหนา้ ใหเ้ หน็ เป็นภาพได้อยา่ งชัดเจน กลนิ่ หอมกร็ ะรวย รสะลมร้าเพยพา ถึงไหนฤก็นา่ จะระรนื่ พิรมหวล (พงศกร 2555ก, 48-49) นอกจากน้าตวั บทจากมัทนะพาธามาเปิดตัวดอกกหุ ลาบดอกนแี้ ล้วยังนา้ มาใชเ้ พื่อเปิดตัว ละครนิลนวารา หากท่ีท้าให้มานนท์ถึงกับตื่นตะลึงนั้นมิใช่การแย้มบานของกุหลาบสีน้าเงิน หากเป็นเรือน รา่ งระหงท่ีแลดเู ลอื นรางอยู่ข้างหลังกหุ ลาบสเี ข้มน่ันต่างหาก รศั มีสนี า้ เงินท่ีเรอื งระยับอยู่รอบกายของเธอผู้นั้น ดรู าวกับภาพฝันมากกวา่ ความจริง แม้แต่งศิระเกล้า วนดิ าละอองนวล เหน็ แนจ่ ะประมวญ วรลกั ษะณานาง […] สตรีที่ดูเลือนรางอยู่ในกลุ่มหมอกสีน้าเงินทอดถอนใจ ดวงตาด้าขลับเปล่งประกายระยับ ราวนลิ น้างาม จบั จอ้ งมายงั มานนทแ์ นว่ น่งิ ผิวขาวของเธอผู้น้ันบอบบางน่าทะนุถนอม ยามเมือ่ อยูท่ ่ามกลางละไอหมอกสนี ้าเงิน ผวิ ของ หลอ่ นยิ่งเรอื งรองผ่องประภสั ร์ ดวงหน้าเรยี วรปู ไข่สวยงามหากทว่าหม่นเศร้า ริมฝีปากอิ่มเต็ม เผยอน้อยๆ เหมือนกุหลาบแรกแย้มกลีบ ทรวงอกเต่งตูมในพัสตราภรณ์สีน้าเงินเข้มจนเกือบ ดา้ พลิว้ ไหวแนบกาย (พงศกร 2555ก, 70-71) ผู้วิจัยพบว่าข้อความดังกล่าวข้างต้นมาจากตอนท่ีโสมะทัต คนสนิทของพระชัยเสนพบ ดอกกหุ ลาบเปน็ คร้ังแรกและได้เปรยี บความงามของดอกกุหลาบไว้ ดงั นี้ โสมะทัต. อนั บุษปะประหลาด บมเิ ห็น ณ แหง่ ใด งามสรรพะวไิ ล- ยะวิเศษะมาลี;
53 สแี ดงกม็ จิ ้า ดุจะดอกชบาส,ี งามดงั ดรณุ ี ยละเพลินเจริญตา. กล่ินหอมก็ระรวย รสะลมรา้ เพยพา ถงึ ไหนฤก็นา่ จะระรน่ื ภริ มยห์ วน. แมแ้ ตง่ ศริ ะเกล้า วนิดาละอองนวล เห็นแนจ่ ะประมวล วรลกั ษะณานาง (มงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั 2554, 46) เห็นได้ว่า การน้าตัวบทวรรณคดีตอนเปิดตัวดอกกุหลาบท่ีเป็นนางมัทนากลายร่างมา สอดคล้องกับการนา้ มาใช้เพ่ือเปิดตัวดอกกุหลาบรัตติกาลและการปรากฏตัวนางนิลนวาราใหเ้ ห็นถงึ ความงามและความหอมหวานใหผ้ ้คู นตา่ งๆ หลงใหลน่ันเอง ทก่ี ล่าวมาน้ีท้าใหเ้ ห็นว่า นวนิยายทงั้ สอง เร่ืองคือ ฤดูดาวและกุหลาบรัตติกาลท่ีแม้มีอนุภาคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้ท่ีปรากฏในเร่ืองเล่า พน้ื บา้ นอยูแ่ ล้ว หากก็ยงั มอี นภุ าคจากวรรณคดีเร่ืองมทั นะพาธาเขา้ มาร่วมด้วย 2.2.3.4 การอ้างองิ วรรณคดหี ลายเรื่องในคชาปรุ ะและนครไอยรา นวนิยายเรื่องคชาปุระและนครไอยรา เป็นเร่ืองที่พบท้ังการอ้างอิงวรรณคดีและน้าเอา อนุภาคในวรรณคดีหลายเร่ืองมาผสมรวมกัน อย่างไตรภูมิกถา พระอภัยมณีและอ่ืนๆ โดยปรากฏ ผ่านอนภุ าคของวเิ ศษ ได้แก่ ประการแรก นวนยิ ายนา้ “ชา้ งเอราวณั ” จากไตรภูมิกถามาใชเ้ พือ่ เปน็ จุดเช่อื มโยงระหวา่ งของวเิ ศษต่างๆ ในเร่ือง ชา้ งเอราวัณปรากฏในรูปปน้ั ขนาดใหญ่ตอนทา้ ยเรอ่ื งและ เปน็ ท่เี กบ็ กลอ่ งแหง่ ความเปน็ อมตะ เปน็ จุดตดั สนิ เรื่องราวต่างๆ ให้ยตุ ิลงด้วย โดยนวนยิ ายได้น้าเสนอ ภาพของชา้ งเอราวณั ไว้ดงั นี้ ช้างรูปป้ันสูงใหญ่ ชะลูดข้ึนไปในหมู่เมฆขาว สูงเสียจนอัยย์มองแทบไม่เห็นช่วงหลัง เหนือ ศรี ษะกลางของช้างมปี ราสาทไพชยนตแ์ ละแท่นท่ีประทบั ต้ังอยู่ ชายคาของปราสาทมีกังสดาล ทองคา้ ยามเมื่อต้องสายลมกเ็ กิดเสยี งเสนาะใสราวท่วงท้านองดนตรีอันแปลกหู รปู ชา้ งนน้ั สูงสง่า มสี ามเศยี รหกงา ทา้ ดว้ ยไม้สลักแลดเู หมือนจริง...แวบหน่ึงน้ันค้าบรรยาย ในหนังสอื ไตรภูมทิ ่พี ่อเคยหยิบให้อ่าน กอ่ นออกเดินทางตามหาคชาปรุ ะไดย้ อ้ นกลับมาสู่ความ ทรงจ้าของอัยย์อีกครั้งหนึ่ง ...ส่วนหัวใหญ่อันท่ีอยู่ท่ามกลางทั้งหลายช่ือสุทัศน์ เป็นพระท่ีนั่ง แหง่ พระอนิ ทร์ เหนือหวั ชา้ งน้ันแล มีแท่นแกว้ อันหนงึ่ กว้างได้ 96,000 วาและมปี ราสาท กลาง แท่นแก้วนั้นมีธง แลมีพรวนทองค้าห้อยลงทุกแห่ง แกว่งไปมา และมีเสียงไพเราะนักหนาดั่ง เสียงพิณพาทย์ในเมอื งฟา้ (พงศกร 2557ข, 407-408) พงศกรได้นา้ ข้อความบางส่วนมาจากไตรภูมกิ ถา ฉบับพญาลิไท ช่วงบรรยายภาพปราสาท ไพชยนต์ในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่ออ้างอิงการสร้างช้างเอราวัณ หากจะสังเกตว่า ตัวบทนวนิยาย
54 บรรยายถึงช้างเอราวัณมเี พยี งสามเศียรหกงา ก็อาจพบว่า ไม่ตรงกบั ในไตรภูมิกถา ทบ่ี รรยายวา่ “อัน วา่ หัวช้างทง้ั 33 หัว แลหัวมีงา 7 อนั แลงาละอันยาวได้ 400,000 วา แลงานั้นมสี ระได้ 7 สระ แลสระ น้นั มีบวั ได้ 7 กอ... ชา้ ง 33 หวั นั้นได้ 231 งา สระน้ันได้ 1,617 สระ” (พจนานุกรมศพั ท์วรรณคดีไทย สมยั สโุ ขทัย ไตรภูมิกถา ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน 2544, 175) หมายความวา่ หัวช้างเอราวณั มี 33 หัว แตล่ ะหัวมี 7 งา และในแตล่ ะงากม็ สี ระ มีกอบัวและอื่นๆ แยกยอ่ ยลงไปเพอ่ื ใหเ้ ศยี รทง้ั 33 เศียรเป็น ท่ีประทับของพระอินทร์หรอื ทา้ วสกั กะและเทพบตุ รผ้เู ป็นสหายรว่ มบา้ เพ็ญกุศลกนั มาแต่สมัยท่ีเปน็ มนษุ ยร์ วม 33 องค์ (ละเอยี ด วสิ ทุ ธิแพทย์ 2522, 149) หากภาพท่ปี รากฏในนวนิยายเพยี งสามหวั หก งาอาจเปน็ ไปไดว้ า่ มาจาก ภาพทพี่ งศกรบรรยายช้างเอราวณั สามเศยี รนี้คาดวา่ นา่ จะได้รบั อทิ ธิพลจาก ความรบั รโู้ ดยทั่วไปในสงั คมไทยและทป่ี รากฏในศลิ ปกรรมไทยทม่ี กั วาดภาพช้างเอราวณั เปน็ สามเศยี ร อีกประการหน่ึง ของวิเศษ “กุญชรวารี” หน่ึงในปริศนา “อุบลมาลี กุญชรวารี มณีนาค สวาท อากาศไอยรา” คามินและอัยย์พบกุญชรวารีท่ลี ้าธารในแก่งกระจาน การคน้ พบกุญชรวารีเป็น เสมือนกุญแจดอกส้าคัญเพ่ือบอกว่า หนทางไปเมืองคชาปุระต้องอยู่ในบริเวณแก่งกระจานเป็นแน่ สา้ หรบั รปู รา่ งของกญุ ชรวารที ่ีปรากฏ “มีลักษณะเหมือนช้างบกทุกประการ เพยี งแต่มีหางเหมอื นปลา มีขนาดตัวเล็กกวา่ และอาศยั อยู่ในน้า เขาถงึ เรียกว่าชา้ งน้า” (พงศกร 2557ก, 230) โดยพงศกรอ้างอิง กญุ ชรวารีว่ามีขอ้ มลู จากหลายแหล่งเร่ิมจากพระอภัยมณีว่า “สา้ เภาน้อยลอยลา้ ครรไลลอ่ ง ข้นึ ฟฟู อ่ งระลอกกระฉอกฉาน พระชมหมมู่ ัจฉากุมภาพาล ขึ้นผุดพลา่ นตามหลงั มาพรง่ั พรู ฉนากฉลามตามคลื่นอยคู่ ลาคลา่้ ท้ังช้างนา้ โลมาแลราหู มงั กรเกย่ี วเลยี้ วล่องท้องสินธู เป็นคู่ค่เู คยี งมาในวารี” “พระอภัยมณีใชไ่ หมคะ” อัยยท้าตาโตรู้สกึ คนุ้ หกู บั กลอนท่ีบดิ าอ่านใหฟ้ ัง “จา้ เกง่ มากลูก เปน็ ตอนทีศ่ รสี วุ รรณนงั่ ส้าเภายนตไ์ ปกบั สามพราหมณ์ไงล่ะ” ดร.เศวตวา่ พลาง พลิกหนังสือต่อ “ยังมีอีกนะอัยย์ ตอนท่ีสหัสไชยเดินทางไปเมืองผลึก ก็มีบันทึกถึงช้างน้า เอาไว้” เหลา่ กระโห้โลผ่ ดุ ไล่วดุ วาด ฉนากฟาดงวงฟดั อยฉู่ ดั ฉาน เสอื สมทุ รผุดโผนโจนทะยาน คชสารสนิ ธขู ึ้นชงู า “คชสารสินธู” หญิงสาวครางเสยี งแผว่ “คชสารสินธู กุญชรวารี ช้างน้า” ดร.เศวตจ้องมองช้างแคระในขวดแก้วตาไม่กระพริบ “ทงั้ หมดนีก้ ค็ ือตวั ประหลาดในขวดแก้ว ท่หี นูจบั มาไดน้ ลี่ ะ” (พงศกร 2557ก, 231) พรอ้ มกนั น้นั นวนยิ ายยังแสดงให้เหน็ ว่า “คนกะเหรีย่ งยังมเี รื่องเลา่ เกยี่ วกบั ชา้ งนา้ กันมาก ในพระเวสสนั ดรชาดกกณั ฑ์หมิ พานต์กพ็ ูดถึงช้างน้า ยังจะนิราศตังเก๋ียของหลวงนรเนติบัญชากิจอกี การท่ีวรรณคดหี ลายเร่อื งมผี ู้เอาช้างน้าไปบรรยายไว้นา่ จะพอนมุ านไดว้ า่ สมัยอดตี เคยมชี ้างน้าอยูจ่ รงิ
55 เพียงแต่ปัจจบุ นั ได้สูญพนั ธุ์ไปหมดแล้ว” (พงศกร 2557ก, 232-233) กล่าวได้ว่า กุญชรวารีท่พี งศกร สร้างขนึ้ เปน็ หนงึ่ ในปรศิ นาน้ัน พงศกรได้สร้างข้นึ จากการอ้างองิ ทั้งในตัวบทวรรณคดแี ละบนั ทกึ ตา่ งๆ เพื่อยืนยันว่าปริศนาที่เขาผูกไว้น่าจะมีอยู่จริง เห็นได้ว่า ของวิเศษที่ปรากฏในนวนิยายมาจากการ อา้ งองิ วรรณคดีหลายเรื่องเพอื่ สรา้ งความสมจริง 2.2.3.5 อิทธพิ ลจากนวนิยายของวินทร์ เลียววารณิ ในเคหาสนน์ างคอย เคหาสน์นางคอย เป็นนวนิยายแนวกอธิก (Gothic)8 ที่ตัวละครเอกหญิงต้องเข้าไป ทา้ งานในคฤหาสน์หลังหน่ึง การเขา้ ไปท้างานของตัวละครเอกหญิงท้าใหห้ ลอ่ นพบกับความลบั มืดด้า ในคฤหาสนพ์ ร้อมกบั ค้นพบความลับเก่ียวกบั ท่มี าของตัวเอง นอกจากน้ีในนวนยิ ายยังผกู โยงเร่ืองเล่า พื้นบ้านโดยพงศกรจินตนาการเร่ืองเลา่ ขึ้น (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มิถุนายน 2558) ให้บ้านนางคอย จงั หวดั บ้านเหมอื งฉากหลกั ของเร่ืองเป็นเมืองท่าในอดตี เจา้ หญงิ เดวี ธดิ าของเจ้าเมืองหลงรักกบั โจร สลัดบีบา แต่โดนพระบิดาขัดขวางความรัก จนทั้งสองต้องพลัดพรากจากกัน หากแต่เจ้าหญิงยังคง มั่นคงในความรักและรอคอยชายคนรักกลับมา จนร่างของพระองคก์ ลายเป็นหินและเปน็ ที่มาของบา้ น นางคอย การสร้างเรื่องเล่าเกี่ยวกับโจรสลัดในนวนิยายเรื่องน้ีให้ภาพของชุมชนริมทะเลระหว่าง ชายแดนไทยกับมาเลเซียได้อย่างดี โดยพงศกรได้รับแรงบันดาลใจมาจากงานเขียนร่วมยุค คือ แรง บันดาลใจ จากนวนยิ ายชดุ บุหงาปารีและบุหงาตานี ของวินทร์ เลยี ววาริณ ซึง่ ตพี ิมพ์ในช่วงราวพ.ศ. 2551-2552 (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มิถุนายน 2558) นวนิยายชุดน้ีก็ได้ดัดแปลงเป็นภาพยนตร์เร่ือง “ปนื ใหญ่โจรสลดั ” โดยนนทรยี ์ นมิ ิบุตรเขา้ ฉายเม่อื ปีพ.ศ. 2551 พงศกรเล่าวา่ จากเน้ือหาในงานของ วินทร์ เลียววาริณนั้นมีเนื้อหาเก่ียวกับตา้ นานโจรสลดั โดยเอาประวัตศิ าสตรใ์ นแถบคาบสมทุ รมลายู มาใช้ ดว้ ยเหตนุ ี้ พงศกรจงึ สร้างเรื่องเลา่ ทเ่ี กี่ยวกบั ต้านานโจรสลดั กับเจา้ หญิงแหง่ เมืองในแถบน้ี เพื่อ สอ่ื ใหเ้ ห็นถงึ พน้ื ที่ห่างไกลจากศนู ยก์ ลางและติดแนวชายแดนมาเลเซยี ด้วย ภาพยนตร์ของนนทรีและนวนิยายของวินทร์นับว่าได้แรงบันดาลใจจากประเด็นเรื่อง โจรสลัดในแถบเกาะตะรุเตา จงั หวดั สตลู 9 เปน็ เบ้อื งตน้ กอ่ นท่วี ินทร์ไดส้ บื คน้ ข้อมูลประวัตศิ าสตรแ์ ล้ว 8 นวนยิ ายแนวกอธิก หมายถึง นวนิยายทม่ี เี น้ือเร่อื งเกยี่ วกบั ความลึกลบั และความนา่ สะพรึงกลวั นวนิยายประเภทน้ีมสี ่วนประกอบ ทเี่ ปน็ เรอื่ งเหนอื ธรรมชาตแิ ละมีฉากเป็นบา้ นผีสิง เหตุการณ์ในเร่อื งมกั เกิดขน้ึ ในปราสาทสมัยกลางซงึ่ มที างเดินลบั คุกใตด้ นิ บันไดเวียน บรรยากาศแห่งความหายนะ เคราะห์กรรมและความโศกเศร้าสิ้นหวัง ตลอดจนมีเหตุการณ์สยองขวัญและเสียงปีศาจจากโซ่ ตรวน (พจนานุกรมศพั ทว์ รรณกรรม อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน 2545, 201) 9 เกาะตะรเุ ตา จงั หวัดสตูลเคยเป็นคกุ ของนกั โทษทั้งนกั โทษการเมืองและนักโทษธรรมดาในช่วงปี พ.ศ. 2482-2490 ราวช่วงปพี .ศ. 2486 นักโทษกลุ่มหน่ึงก็ได้ก่อขบวนการโจรสลัด คือ การปล้นเรือสินค้าที่ผ่านไปมาในน่านน้าท่ีสัญจรระหว่างปีนัง สิงคโปร์ ลังกาวี กันตัง ภูเก็ตและพม่า โดยโจรสลดั เหล่านี้จะเข้ายดึ เรือและปล้นเรือสินคา้ ปัญหาโจรสลัดท้าให้พื้นท่ีบริเวณนี้กลายเป็นชุมชนโจรกอ่ น ลุกลามเป็นปัญหาระหว่างประเทศระหวา่ งไทยกับมาเลเซีย(ภายใต้การดูแลของอังกฤษ) จนกระท่ังมีการปราบปรามอย่างจริงจงั ในปี
56 พบว่าโจรสลัดมีอยู่กว่า 400 ปีในแถบคาบสมุทรมลายูนี้แล้ว เขาจึงสร้างเร่ืองราวเกี่ยวกับ ประวัติศาสตร์ช่วงทป่ี าตานีปกครองดว้ ยพระราชนิ ตี ดิ ตอ่ กันสพี่ ระองคซ์ งึ่ ตรงกับชว่ งปลายสมยั อยุธยา ต่อช่วงต้นรัตนโกสินทร์ของสยาม (สตาร์พิกส์ 2551, 58-65) โดยบุหงาปารีและบุหงาตานีเป็น นวนยิ ายแนวอิงประวตั ิศาสตร์และจินตนมิ ิต (fantasy) ทเ่ี ล่าถึงการต่อสูแ้ ละการแย่งชงิ ทางการเมือง ภายในเมืองปตานียคุ ที่ปกครองด้วยราชนิ ีสีพ่ ระองค์ ดว้ ยเหตทุ ีป่ ตานีเป็นเมอื งทา่ สา้ คญั บนคาบสมุทร มลายูท้าให้มีสถานีการค้าและการค้าทางทะเลเปน็ หลกั ความเจริญของปตานีดึงดูดให้คนจากหลาย ชาติเข้ามา รวมถึงโจรสลัดดว้ ย (วนิ ทร์ เลียววาริณ 2551, 2552) เหน็ ได้วา่ นวนยิ ายของนักเขยี นร่วม ยุคกับพงศกรก็เป็นอีกแหล่งข้อมูลหนึ่งที่น้ามาสู่การสร้างข้อมูลเชิงคติชนของพงศกร และหาก พจิ ารณาแลว้ อาจพบวา่ ตน้ ทางของเรื่องเลา่ โจรสลดั ในเคหาสนน์ างคอย มาจากทั้งเหตกุ ารณ์จรงิ อยา่ ง ปญั หาโจรสลัดในภาคใตป้ ระกอบกบั ประวัติศาสตร์ในคาบสมุทร แต่ไดผ้ ่านวรรณกรรมอีกตอ่ หน่ึงจน กลายมาสร้างเปน็ เรอื่ งเล่าโจรสลดั ในเรือ่ งน้ี 2.2.4 ข้อมูลประเภทประวัติศาสตร์ 2.2.4.1 ประวัติศาสตรก์ ารตอ่ ส้ขู องไทใหญใ่ นกหุ ลาบรตั ตกิ าล กุหลาบรัตติกาล น้าเสนอกลุ่มชาติพันธุ์ไทใหญ่ แต่แตกต่างไปจากการน้าเสนอชาวเย้า หรือชาวกูย เพราะพงศกรได้ใช้ประวัติศาสตร์การต่อสู้ของไทใหญ่ช่วงการหลบหนีภัยการเมืองจาก เมยี นมาเขา้ มาและสร้างใหเ้ ปน็ บรรพบรุ ุษของตวั ละครเอกท่ี “มอ่ นผาเมิง” ในจงั หวดั เชียงใหม่ ไทใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอาศัยอยู่หลายพ้ืนที่และแตกแขนงเป็นหลายกลมุ่ ย่อย โดยชื่อ กลุ่มจะแตกต่างกนั ไปตามถิ่นทีอ่ ยู่ เช่น ไทใหญ่ในรฐั ฉานของเมียนมาจะเรยี กว่า ฉาน หรือชาน ส่วน ไทใหญ่ในเขตใต้คง มณฑลยูนนานในจีน เรียกว่า ไทเหนือ ไทเมา หรือไทใต้คง ส่วนกลุ่มย่อยๆท่ีอยู่ ระหว่างเมืองเมากับแคว้นอัสสัมก็มีกลุ่มย่อยๆ เช่น ไทค้าตี่ ไทพาเก่ ไทอ้ายตอน ไทค้ายัง หรือใน ภาคเหนือของไทย คนไทยจะเรียกไทใหญ่ว่า เงี้ยว เป็นต้น (ศิราพร ณ ถลาง 2545, 8-11) ส้าหรับ กลุ่มไทใหญ่ในประเทศไทยจะกระจายในภาคเหนอื ได้แก่ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงรายเปน็ แหล่ง ใหญ่ อพยพมาจากรัฐฉานในเมียนมาและมาอยู่กับคนไทยในประเทศได้ในฐานะ “คนวัฒนธรรม เดยี วกนั ” (วรี ะพงศ์ มีสถาน 2544, 7) นวนิยายเรื่องนี้กล่าวถงึ ชาวไทใหญท่ ่ีอพยพมาจากเมืองยองหว้ ย รัฐฉาน ประเทศเมียนมา ช่วงการเมอื งระหว่างไทใหญ่กับรัฐบาลทหารเมียนมาตึงเครียดราวทศวรรษ 2500 กลา่ วคือ ภายหลงั ได้รับเอกราช รัฐบาลเมียนมาพยายามประนีประนอมกับชนกลมุ่ น้อยใหส้ ิทธิในการปกครองตนเอง บ้าง แต่ในปีพ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) นายพลเนวินท้ารัฐประหารขึ้นครองอ้านาจโดยระบบ พ.ศ. 2490 โจรสลดั เกาะตะรุเตาถือเป็นเร่ืองสะเทือนขวัญและเป็นทีร่ ู้จักอย่างกว้างขวางในยคุ นนั้ (สารานุกรมวฒั นธรรมไทย ภาคใต้ 2542, เล่ม 2, 504-518)
57 เผด็จการทหารปกครองเมียนมา นายพลเนวินได้น้านโยบายแข็งกร้าวมาใช้ปกครองรัฐไทใหญ่ นโยบายดังกล่าวจึงถือเปน็ การส้นิ สดุ ของอาณาจกั รไทใหญ่ในเมยี นมาและท้าใหเ้ กดิ การอพยพย้ายถิ่น เพ่ือลี้ภัย (จิราภรณ์ อัจริยะประสิทธิ์ 2547, 39-48) พงศกรน้าเอาเหตุการณ์ความตึงเครียดทาง การเมอื งดังกล่าวมาใชส้ รา้ งเร่ืองราวทีเ่ กิดกบั บรรพบรุ ษุ ของตัวละครเอก เมือ่ “เมืองยองห้วยเปน็ ส่วน หนึง่ ของรัฐฉาน พวกเราจงึ ไมอ่ าจจะหลกี เลยี่ งความขัดแยง้ ท่ีวา่ มาน้นั ได้ เจา้ พ่อเปน็ ห่วงลูกหลานมาก จึงสั่งให้เจ้าขุนสิงห์เป็นผู้น้าพาพี่น้องลูกหลานบางส่วนอพยพข้ามมาฝ่ังไทย...ตอนแรกพวกเราต้ัง บ้านเรือนกันอยู่ที่เชียงแสน จากนัน้ จึงยา้ ยมาทีเ่ ชียงใหมแ่ ละระหวา่ งการเดินทางลงมาเชียงใหม่นน่ั เอง เราไดห้ ยุดพกั ท่ยี อดเขาแห่งหน่งึ ซึ่งกค็ อื มอ่ นผาเมงิ น่ันเอง” (พงศกร 2555ก, 129-130) ภาพที่ 3 แผนทแ่ี สดงท่ีต้ังเมืองยองหว้ ยและการโยกย้ายถิน่ ฐานเข้าสไู่ ทยของตวั ละครในกหุ ลาบรัตตกิ าล (ทม่ี า เสมอชัย พลู สุวรรณ (2552) และเพิ่มลกู ศรโดยผูว้ จิ ัย) ผูว้ จิ ัยพบวา่ เมอื งยองหว้ ยที่กลา่ วถึงในนวนยิ ายมีอยู่จรงิ ตามภาพที่ 3 และมเี จา้ นายเมือง ยองหว้ ยสามารถหลบหนีเข้ามาต้ังถนิ่ ฐานในเชียงใหม่ ดังที่อมั พร จริ ฐั ติกร (2558, 96-98) กล่าวไว้ว่า รฐั บาลของนายพลเนวินบีบบงั คบั ใหเ้ จ้าฟ้าทป่ี กครองเมืองต่างๆในรัฐฉานสละอ้านาจแล้วโอนอ้านาจ มาให้ส่วนกลางดูแลนายพลเนวินได้สง่ั จับกุมตัวเจ้าฟ้าไทใหญ่และผ้มู ีอา้ นาจรวมกว่า 36 คน ยกเว้น เจ้าฟ้าสององคท์ ่ีหายไป คือ เจ้าฟ้าจ่าแสงแหง่ เมอื งสปี อ้ และเจ้าฟา้ ส่วยไตแห่งเมืองยองหว้ ย โดยเจ้า ฟ้าเมอื งสปี อ้ ไม่มผี ู้ใดทราบขา่ วคราวอกี เลย ขณะทเ่ี จ้าฟา้ เมอื งยองหว้ ยไดร้ บั แจง้ จากรฐั บาลภายหลัง ว่าเสยี ชวี ติ เมอ่ื ทราบว่าเจ้าฟ้ายองห้วยหายตวั ไป เจา้ นางเฮอื นค้า มหาเทวแี หง่ เมอื งยองห้วยตัดสนิ ใจ หลบหนีจากเมืองยองห้วยพร้อมกับบุตรและธิดามายังจังหวัดเชียงใหม่ พร้อมกับประกาศตนเข้า
58 ร่วมกับกองก้าลังกู้ชาติไทใหญ่จนกองก้าลังกู้ชาติไทใหญ่มีขวัญก้าลังใจและมีกองก้าลังเพิ่มขึ้นมาก การต้ังฐานก้าลงั ในประเทศไทยของชาวไทใหญก่ ็ปรากฏในนวนยิ ายเชน่ กัน กลา่ วคอื เมื่อตัวละครเอก ได้เขา้ ไปอยู่ในคมุ้ ครี ีคา้ บ้านของบรรพบรุ ษุ ไทใหญ่ หลอ่ นก็ไดค้ ้นพบเรอื่ งราวมากมายเกยี่ วกบั ไทใหญ่ จุดที่น่าสนใจคือ บรรพบุรษุ ชาวไทใหญ่ของหลอ่ นมไิ ด้อพยพเพื่อหลบหนีแต่ยังช่วยเหลือกองกา้ ลงั กู้ ชาตไิ ทใหญด่ ้วย ดงั น้ี “บันทึกเกือบทั้งหมดในเล่มน้ี เป็นข้อมูลเรื่องการกู้ชาติของไทใหญ่...ใครๆ คิดว่าท่านหนีจาก ยองห้วยมาอย่เู มืองไทย แตท่ ีจ่ ริงแล้วไมใ่ ชก่ ารหนี แตเ่ ปน็ การย้ายมาต้งั หลักมากกว่า จริงอยา่ ง ท่คี ุณเคยสนั นิษฐาน เจ้าขนุ สงิ ห์ คณุ ตาของคุณใช้คมุ้ คีรคี ้าเป็นทม่ี ัน่ คอยสง่ เสบียง อาวธุ และส่ง ข่าวสารให้กับกองก้าลงั กูช้ าตมิ าโดยตลอด” (พงศกร 2555ก, 197) ข้อมลู ดังกลา่ วสะทอ้ นให้เหน็ ว่า พงศกรไดน้ ้าประวตั ิศาสตร์ของไทใหญ่มาใช้สร้างเรอื่ งราว เก่ียวกับบรรพบุรษุ ของตัวละครเอกในกุหลาบรัตติกาล โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่เกิดกับเจา้ นายเมือง ยองห้วยหลบหนีมายังเชียงใหม่ก่อนเข้าร่วมกองก้าลังกู้ชาติ โดยพงศกรน้าประวัติศาสตร์มาใช้ใน ลกั ษณะของเรอ่ื งเลา่ ภายในครอบครัวซ่ึงจะกลา่ วถงึ ในหวั ข้อการสร้างขอ้ มูลเชงิ คติชนต่อไป 2.2.4.2 ประวตั ิศาสตรท์ วารวดใี นวังพญาพราย เรอื่ งเลา่ เมืองลม่ จนกลายเป็นหนองนา้ ในวงั พญาพรายยังมีการใช้ข้อมลู ทางประวัติศาสตร์ เข้ามาประกอบดว้ ย คือ การผูกโยงเมอื งเวียงพรายทลี่ ่มลงไปเข้ากบั ประวัตศิ าสตร์ทวารวดีว่าเป็นเมอื ง ร่วมยคุ กัน โดยในนวนิยายไดน้ า้ หลักฐานทางโบราณคดแี ละข้อสนั นิษฐานทางประวตั ิศาสตรเ์ ข้ามา “ทวารวดี” เป็นช่ือวัฒนธรรมในล่มุ แม่นา้ ภาคกลางของประเทศไทยราวครสิ ต์ศตวรรษท่ี 12-16 โดยมีเมืองสา้ คญั หลายเมืองทอี่ ยู่ในวฒั นธรรมนี้ เช่น เมอื งนครปฐม เมอื งอู่ทอง เมอื งคบู วั เปน็ ต้น โดยเมืองเหล่านี้ไม่ได้รวมเป็นอาณาจักร (Kingdom) หากรวมเป็นระบบมณฑลหรือมัณฑละ (Mandala) โดยมีคติจักรพรรดิราชเป็นจุดเช่ือมโยง ดังท่ีศรีศักร วัลลิโภดม (2558, 23-36) เรียก ระบบการปกครองทวารวดีเทียบเคียงกับปจั จบุ ันว่า “สหพันธรัฐทวารวดี” หากพิจารณาในแง่ของ วัฒนธรรม ธิดา สาระยา (2545, 16) ได้เรียกประวัติศาสตร์ช่วงน้ีว่า “วัฒนธรรมทวารวดี” อัน หมายถึง วฒั นธรรมทีห่ ลอมรวมดว้ ยสา้ นึกทางวฒั นธรรมพระพทุ ธศาสนารว่ มกนั ทา้ ใหเ้ มอื งตา่ งๆ ยดึ โยงเป็นเครือข่ายทางวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน ก่อใหเ้ กิดศิลปกรรมทีค่ ล้ายคลึงกันหลายอย่างที่เรียกว่า ศิลปะแบบทวารวดี อย่างเช่น การสร้างสถูป เจดีย์เป็นศูนย์กลางของชุมชน การสร้างธรรมจักรกบั กวางหมอบทถ่ี ือเป็นจดุ เด่นของวัฒนธรรมทวารวดี ฯลฯ ในวังพญาพรายมีฉากหลักของเรื่องตั้งอยทู่ ่จี ังหวัดราชบุรี นวนิยายได้เสนอว่าเมอื งเวยี ง พรายในเรอื่ งเล่าเปน็ เมอื งหนึ่งทร่ี ว่ มยุคกบั วัฒนธรรมทวารวดีหาก แต่ “ต่อมาแม่น้าแม่กลองเปลีย่ น
59 เส้นทางเดิน เมืองจึงล่มลงไปเป็นบึงน้า” (พงศกร 2557ค, 68) ทั้งน้ี เมื่อย้อนกลับไปพิจารณาตาม หลักฐานทางประวัติศาสตร์ก็พบว่า พื้นที่จังหวัดราชบรุ ีก็เป็นท่ีตั้งของ“เมอื งคูบัว” เมืองส้าคัญเมือง หน่ึงในวัฒนธรรมทวารวดีอยู่จริง ศรีศักร วัลลิโภดม (2538, 448-489)อธิบายไว้ว่า เมืองคูบัวเป็น เมืองทา่ สา้ คัญช่วงต้งั แต่พุทธศตวรรษท่ี 13 จนถึงราวชว่ งพทุ ธศตวรรษที่ 17 มที ่ตี งั้ ทางภูมศิ าสตร์ท่ีดี เพราะอยู่ใกล้แม่น้าแม่กลอง และใกล้กับทางออกทางทะเล ความเจริญของเมืองคูบัวพบได้จาก รอ่ งรอยอารยธรรมทัง้ ภาพลวดลายปูนปนั้ บนผนงั ภเู ขาที่ถา้ เขางู ตลอดจนศลิ ปะสมยั ทวารวดจี ้านวน มาก หากแตใ่ นเวลาต่อมากม็ ีการยา้ ยศนู ยก์ ลางจากเมอื งคูบวั มายังตัวเมอื งราชบุรใี นปัจจุบนั ประเด็น นี้ศรีศักรสันนิษฐานว่า น่าจะมาจากสภาพภูมิศาสตร์ทเี่ ปลยี่ นแปลงไป ล้าน้าที่เคยเป็นเส้นทางสัญจร ส้าคัญได้แคบลงไปน่ันเอง เห็นได้ว่า การสร้างเมืองเวียงพรายก็ได้อ้างอิงประวัติศาสตร์ของเมือง ราชบุรีที่รว่ มยคุ กบั วัฒนธรรมทวารวดี พงศกรยังใช้หลักฐานทางโบราณคดีประกอบเพื่อบ่งบอกว่าเมืองเวียงพรายเป็นเมือง ร่วมกับวัฒนธรรมทวารวดี โดยให้ตัวละครค้นพบศิลปะแบบทวารวดที ่ีจมอยู่ใต้น้า ตัวอย่างเช่น การ ค้นพบพระพทุ ธรปู ในบงึ พรายซ่ึงมีลักษณะคล้ายกบั พระคันธารราฐ พระศิลาน่ังห้อยพระบาทสองข้าง ประดิษฐานอยู่ในวิหารน้อยในวัดหน้าพระเมรุท่ีพระนครศรีอยุธยาอันเป็นศิลปกรรมสมัยทวารวดี เพราะ “ถ้าพระทล่ี ุงสมนึกแกด้านา้ ลงไปเหน็ เป็นพระแบบเดียวกันกับองค์ท่ีอยุธยา ก็หมายความวา่ พระในบึงพรายเป็นพระท่ีสร้างข้ึนในสมัยทวารวดีน่ะสิ […] ต้านานบึงพรายท่ีว่าเป็นเมืองเก่าสมัย ทวารวดีแล้วลม่ ลงไปกลายเป็นบงึ น้าเป็นเรอ่ื งจริงส”ิ (พงศกร 2557ค, 78) หรอื ในตอนท้ายเร่อื งเม่ือ ขมิ ทอง ตัวละครเอกตัดสินใจไปที่บงึ พรายหลังเกิดแผ่นดินไหวคร้ังใหญ่ หล่อนกพ็ บวา่ พ้นื ทที่ ่ีเคยเปน็ บึงพรายไดก้ ลายเป็นแผน่ ดิน “เพราะเปลอื กโลกทอ่ี ยู่ใตบ้ งึ พรายยกตัวสูงขึ้น ขณะทผี่ นื แผ่นดนิ ช่วงที่ อยใู่ ต้หมู่บ้านทรุดต้า่ ลงเหมือนกบั ไมก้ ระดกนน่ั เอง ทกุ อย่างกลับตาลปัตรกนั เช่นน้ี หมู่บ้านกลายเป็น บงึ น้า สว่ นบงึ น้ากลายมาเปน็ ผืนดนิ ” (พงศกร 2557ค, 333) หล่อนพบกับซากเมอื งโบราณที่จมลงใต้ น้าที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมเนื่องในวัฒนธรรมทวารวดีอันเปน็ “หลักฐานอยา่ งที่บอกให้รูว้ า่ ราชบรุ ี เพชรบุรี กาญจนบุรี นครปฐม สุพรรณบุรีล้วนเป็นเมอื งเก่า เจริญมาตั้งแต่สมัยทวารวดีโน่น เหล่าน้ี บอกให้คนไทยรู้และภาคภูมิใจว่า แท้จริงแล้วคนไทยไม่ได้มาจากไหน ไม่ได้อพยพมาจากเทือกเขา อัลไตอยา่ งทีเ่ คยเรียนมาในสมยั หนง่ึ หากพวกเราอยทู่ ี่นี่ อยบู่ นผืนแผ่นดนิ แหลมทองอันอดุ มสมบูรณ์ มาเน่นิ นานนับพนั ปีแลว้ ” (พงศกร 2557ค, 336) การสร้างเรือ่ งเล่าเมอื งลม่ อย่างเวยี งพราย นอกจากพงศกรใชอ้ นุภาคเมอื งล่มแลว้ ยงั ได้น้า ประวัติศาสตร์ของพื้นที่มาใช้เป็นช่องทางหนึ่งเพ่ือท้าให้เร่ืองเล่ามีความน่าเชื่อถือ รวมถึงเป็นการ ถา่ ยทอดประวตั ศิ าสตร์ทอ้ งถน่ิ ไปในตัว การแสดงว่าเมอื งเวยี งพรายรว่ มยคุ กบั วัฒนธรรมทวารวดีเพ่ือ บ่งบอกความเจรญิ ของวัฒนธรรมแหง่ นี้ต้ังแตอ่ ดีตนนั่ เอง
60 2.2.5 ขอ้ มลู ประเภทเบ็ดเตล็ด 2.2.5.1 บันทึกเกีย่ วกบั ดอกไมใ้ นป่าแอมะซอนในฤดดู าว ลักษณะของดอกเอื้องแสนเพ็งที่ต้องใช้เวลายาวนานถึงจะบานสกั คร้ังหนึ่ง จนหลายต่อ หลายคนต้องพยายามทุ่มเทชีวิตเพื่อเดินทางไปหา ดังเช่นที่ตัวละครหลายตัวในเร่ืองจากหลายทม่ี า ต้องการเดินทางไปยังเวียงแสนเพ็งน้ันได้แรงบันดาลใจมาจากหนังสือเร่ือง In search of flowers of the Amazon forests โดยมาร์กาเรต็ มี (Margaret Mee) มาใช้ในฤดูดาว (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มถิ ุนายน 2558) ภาพที่ 4 ดอกแสงเดือนในบนั ทกึ การเดนิ ทางของมาร์กาเร็ต มี (ทมี่ า มารก์ าเร็ต มี 2544, 598) หนังสือของมาร์กาเร็ต มี เป็นบันทึกการเดินทางของหล่อนไปยังป่าแอมะซอนในช่วงปี ค.ศ. 1956-1988 ร่วม 30 ปี การเดินทางของมไี ด้บนั ทกึ เรื่องราวท่ีพบเห็นทง้ั สตั ว์ปา่ และดอกไม้ ใน หนังสือเล่มนี้มีภาพวาดจากฝีมือของมีตลอดทงั้ เล่ม (มาร์กาเร็ต มี 2544) ท้ังนี้ การเดินทางของมที ่ี น้ามาสู่แรงบันดาลใจให้แกพ่ งศกร คือ มีตั้งใจเดินทางไปเพ่อื คน้ หาดอกแสงเดือน (moon flower) ซึง่ ดอกไม้ชนดิ น้จี ะบานเพียงแค่ครงั้ เดยี วในคืนเดียวและหบุ ภายในคนื นัน้ เอง หลอ่ นตัง้ ใจเพอื่ ตามหาและ ในท่ีสุดหล่อนกส็ ามารถท้าได้สา้ เรจ็ ได้เห็นดอกแสงเดือนบานในคืนหน่งึ และสามารถวาดภาพเก็บไว้ ส้าเร็จ พงศกรได้น้าลกั ษณะของดอกแสงเดอื นดังกล่าวน้ีมาใช้ในลักษณะดอกไมท้ ่ีจะบานได้ในรอบ หลายปีเพียงคร้ังเดียวและบานภายในคืนเดียวมาใช้สร้างดอกเอ้ืองแสนเพ็ง ท่ีจะบานในทุก ปรากฏการณฤ์ ดูดาวเวียนมาบรรจบ ดอกเอ้อื งแสนเพ็งจงึ บานและกลับกลายเปน็ คน 2.2.5.2 ตา้ ราคชศาสตร์และของวเิ ศษเกยี่ วกับชา้ งในคชาปุระและนครไอยรา คชาปุระและนครไอยราประมวลข้อมูลเก่ียวกับช้างจากหลายแหล่ง โดยน้าข้อมูลจาก ต้าราคชศาสตร์มาสร้างเป็นตัวละครช้างเชือกเอกในเร่ืองและของวิเศษในเรื่องหลายประการก็ เกี่ยวข้องกับช้าง ส้าหรับ“ตา้ ราคชศาสตร์” เป็นต้าราท่ีเชื่อว่าได้รับมาจากอนิ เดยี มี 2 คัมภีร์ย่อยคือ ตา้ ราคชลักษณ์ บรรยายลกั ษณะของช้าง และตา้ ราคชกรรม บอกวธิ ีการคล้องชา้ ง ตา้ ราได้อธิบายการ
61 กา้ เนิดช้างและลกั ษณะช้างแตล่ ะตระกูลไวต้ ามความเช่ือเน่อื งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู กลา่ วคอื เม่อื คร้ังท่ีพระวิษณุหรือพระนารายณ์บรรทมหลับบนอนันตนาคราชในทะเลน้านม (เกษียรสมุทร) ได้มี ดอกบัวผุดจากพระนาภีของพระองค์ บนดอกบัวนั้นมีพระพรหมประทบั อยู่ จากน้ันพระองค์ได้เด็ด กลีบและเกสรดอกบัวเพือ่ แบง่ ประทานแกเ่ ทพท้ังส่ี ไดแ้ ก่ พระพรหม พระอิศวร พระอคั นี รวมถงึ เก็บ ไว้กับพระองค์เอง จนเกสรดอกบัวนั้นกลายเป็นช้างสี่ตระกูลต่อมา คือ พรหมพงศ์ อิศวรพงศ์ วิษณุพงศ์ และอคั นิพงศ์ (ละเอยี ด วสิ ทุ ธแิ พทย์ 2522, 216-251) การอธิบายการก้าเนิดช้างดังกล่าวปรากฏใน คชาปุระ ตอนท่ีคามิน ตัวละครเอกไปท้า สารคดีเกี่ยวกับเพนียดคล้องช้างที่อยุธยาและมีนิทรรศการต้าราคชศาสตร์จัดแสดงอยู่ พงศกรน้า เรื่องราวท่ีปรากฏในต้าราคชศาสตร์นั้นมาใส่ไว้ในนวนิยายเพื่อปใู ห้ผู้อ่านรจู้ ักต้ารานี้และปูเร่ืองไปสู่ การแกป้ ริศนาเพ่อื เดินทางไปยงั เมืองคชาปรุ ะ กลา่ วคอื การเดนิ ทางไปเมืองดงั กล่าวได้ต้องมขี องวเิ ศษ สี่ประการน่ันคือ อุบลมาลี กุญชรวารี มณีนาคสวาทและอากาศไอยรา ซ่ึงตัวละครในเรื่องต่างต้อง ตีความเพ่ือค้นหาค้าตอบของปริศนาว่าหมายถึงอะไร โดยแรกทีเดียว ตัวละครเอกตีความไม่ออกว่า อบุ ลมาลีหมายถงึ ของวเิ ศษชนิดใด กระทั่งพบวา่ “อบุ ลมาลี” หนงึ่ ในปริศนาที่น้าทางไปเมืองคชาปุระ น้ันเป็นชื่อหน่ึงของช้างศุภลักษณ์ในต้าราคชศาสตร์ หลังจากพวกเขาได้ชมนิทรรศการต้าราช้าง คา้ บรรยายของชา้ งอบุ ลมาลีไมต่ า่ งจากช้างจัมโบ้ ซึง่ มาอยู่ทบ่ี ้านของตวั ละครเอกเป็นระยะเวลาหนึ่ง “อุบลมาลี จมั โบ้คอื ช้างอุบลมาลี” “อะไรนะ” ชอ่ื ทคี่ ามินตะโกนออกมาท้าให้อัยยถ์ ึงกบั หูอื้อไปช่ัวขณะ “คุณว่าอะไรนะนิ้งโหน้ง” แทนทจ่ี ะตอบค้าถามของอยั ย์ ดาราหนมุ่ กลบั อา่ นโคลงท่ีอธิบายภาพช้างซ่ึงมีสีผิวเปน็ สีแดงอม ชมพูสวยราวกับหม้อดนิ ทเ่ี พ่ิงป้ันเสรจ็ ใหมๆ่ ออกมาดงั ๆ ให้หญงิ สาวฟงั “อา้ นวยโคมุทตระการ ช่ืออุบลมาลีสาร สมบูรรณพรอ้ มลกั ขณา ศรตี วั ตจสตั รบตุ รปรา กฏกิ ้าน ดวงผกา ก็แม่นกแม้นเหมือนกัน ตัวยาวกระชับสัพสรรพ เนื้อหนังราบบรรพ เสมอบมีราคี กา้ ลังหา้ วหารฤทธี มงคลภูมี พระเดชครองนคั รา” (พงศกร 2557ก, 315) ในตา้ ราคชศาสตรก์ ลา่ วถงึ ช้างอุบลมาลีว่าเป็นช้างในตระกลู “อา้ นวยพงศ์” ทีเ่ กดิ จากการ ประสมข้ามหมรู่ ะหวา่ งช้างสองหมยู่ อ่ ยในตระกลู พรหมพงศ์ คือ ช้างปงึ คัลและช้างกุมทุ มลี ักษณะดงั น้ี
62 ภาพที่ 5 ชา้ งอุบลมาลใี นตาราคชศาสตร์ (ที่มา ณัฏฐภทั ร จันทวิช 2542, 468) ในนวนิยายยังมีช้างส้าคัญอีกเชือกช่ือว่า “ดอกคูนหรือทองม้วน” ซ่ึงจัดเป็น “ช้าง สังขทันต์” ในตระกูลวิษณุพงศ์ ผู้วิจัยพบว่า มีช่ือช้างสังขทันต์ปรากฏซ้าอยู่ในตระกูลวิษณุพงศ์สอง กลมุ่ สงั ขทันต์กลุ่มหน่งึ มีผิวดังทอง งาขนาดเล็กเทา่ กันทัง้ สองงา เสียงรอ้ งในเวลาเชา้ จะมีเสียงรอ้ งดัง เสือ หากเวลาเย็นเสยี งร้องเหมือนไก่ ส่วนช้างสังขทันต์อีกกลุม่ ผวิ ด้าบรสิ ทุ ธิ์ มีงาสีขาวเหมอื นสสี งั ข์ หากเมื่อพจิ ารณาลกั ษณะของทองมว้ นหรอื ดอกคูนแลว้ พบว่าสอดคลอ้ งกบั ชา้ งสังขทันตก์ ลุ่มแรก ดังน้ี “ต้าราคชศาสตร์บอกให้เรารู้ว่าช้างมีหลายลักษณะ” ดร.เศวตหันมาอธิบายให้ธนัทฟังด้วย ตัวเอง “ช้างดี ช้างร้าย ดอกคูนเป็นช้างดีในตระกูลวิษณุพงศ์ มีช่ือว่า สังขทันต์”แล้วมอง ภาพวาดช้างท่ี คามินถา่ ยมาจากต้าราโบราณด้วยความประหลาดใจ ลกั ษณะของชา้ งสีน้าตาล อมทองในภาพนนั้ เหมือนกบั พังดอกคูนจรงิ ดังว่า“จกล่าวอทั ธิคชยรรยง ศุภลักษณอลง กฏกิ าย กอ่ งงาม ช้างช่ือสังขทนั ตมีนาม ศรตี ัวเหลอื งวาม ดั่งนพมาศอา้ ไภย งางอนขนึ้ ขวาขาวใส เสียง สีบททเกียงไกร ดั่งอึ้งกกุฏเวสัน แสดงนามบอกเบ้ืองส้าคัญ ชื่อว่าสังขทันต สถิตยอยู่กลางพง ไพร” (พงศกร 2557ก, 365-366)
63 ภาพท่ี 6 ช้างสังขทันตใ์ นตาราคชศาสตร์ (ท่ีมา ณัฏฐภัทร จันทวิช 2542, 403) เหน็ ไดว้ ่า ชา้ งศุภลกั ษณ์ที่มีอยู่จริงในต้าราชา้ งกลายมาเปน็ ช้างเชอื กเอกในนวนยิ ายอย่าง เด่นชัด นอกจากนนั้ ชา้ งตระกูลอ่ืนๆ ยงั รบั การกล่าวถงึ ในนวนิยาย เชน่ เมื่อตัวละครเอกเดนิ ทางไปถงึ เมืองคชาปรุ ะ มคี นรา้ ยแอบสลบั ตวั ช้างอุบลมาลีและช้างสงั ขทันต์โดยน้าช้างตระกลู ใกลเ้ คียงมาแทน “ชา้ งตรงหน้ามีขนาดและรูปร่างใกลเ้ คียงกนั กับดอกคนู หากสผี ิวเป็นสีนา้ ตาลอมแดง อย่างไรก็ไม่ใช่ สังขทันตอ์ ยา่ งแน่นอน...ชา้ งเชือกนี้คือช้างในตระกลู สุประดิษฐ์ เวลากลางวันมสี กี ายดุจเมฆา ในยาม อาทิตยอ์ สั ดง สกี ายจะเปล่ียนเป็นสแี ดงดงั ดอกบวั ปัทมราช” (พงศกร 2557ข, 163) ชือ่ ตวั ละครในนว นิยายเรื่องน้ียังสัมพันธ์กับช่ือช้างจากต้าราช้างดังท่ีเจา้ คุณวิษณุพงศ์และพรหมพงศ์ ซึ่งเป็นตัวละคร ปฏิปกั ษ์ไดน้ ้าชื่อมาจากตระกลู ใหญส่ ต่ี ระกลู นอกจากน้ีชอ่ื ของเจา้ ชายฉทั ทันตย์ งั เป็นช่ือที่ปรากฏท้ัง ในต้าราคชลักษณ์ รวมถึงปรากฏในชาดกทางพุทธศาสนาเร่ือง “พญาช้างฉัททันต์” ท้ังยังมีช่ือตัว ละครอ่ืนๆ ได้แฝงความหมายที่เก่ียวพันกับช้าง เช่น เจ้าหญิงอัยชาดารี พระมหาเทวีราช คชรินทร์ พระมหาราชครูกริ นิ ทราเทพ เปน็ ตน้ สว่ นของวิเศษอกี สามประการ ไดแ้ ก่ กญุ ชรวารี มณนี าคสวาทและอากาศไอยรา นับวา่ มี ท่ีมาท่ีน่าสนใจ ซึ่งได้อธิบายกุญชรวารีไปแล้วว่าน้ามาจากพระอภัยมณีและวรรณกรรมหลายเร่ือง
64 ส่วน “มณนี าคสวาท” เปน็ อญั มณีสเี ขยี วมีลวดลายสลบั กันราวกบั งเู ขยี ว พงศกรไดอ้ ้างถงึ ว่า มณนี าค สวาทมาจากต้านานครุฑและนาค รวมถงึ พฤติกรรมที่ท้าให้เกดิ มณนี าคสวาทขน้ึ ดงั น้ี พ่อเลา่ ให้อัยย์ฟงั ว่านาคสวาท เกิดมาแต่พญานาค ตามตา้ นานกล่าวเอาไว้ว่า เม่อื คร้งั ท่ีพาสุ กินนาคราชถูกพญาครฑุ จับกินนั้น ในคร้ังแรกได้กระอักเลือดออกมาเป็นมณนี าคสวาท ในครงั้ ท่สี องจึงกระอกั เลอื ดออกมาเป็นมรกต ส่วนน้าลายของพาสุกินนาคราชนน้ั ได้กลายเป็นอัญมณี ทีเ่ รยี กวา่ ครฑุ ธิการ มณีนาคสวาทนนั้ ไมไ่ ด้มเี พียงเมด็ เดียว แต่เมด็ ที่ ดร.เศวตเปน็ เจา้ ของนน้ั แปลกประหลาดกว่า อัญมณีเม็ดอ่ืนๆ มีครั้งหน่ึงที่อัยย์แอบเอานาคสวาทของพ่อมาส่องไฟเล่นแล้วก็ต้องตกใจจน แทบจะโยนท้ิงไป เพราะตรงก่ึงกลางของมณีเม็ดนั้น อัยย์เห็นมีริ้วยาวๆ เป็นสีเขียวมรกต เหมอื นกบั งูตัวเลก็ ๆ ถูกขงั อยขู่ า้ งในแถมริ้วสีเขียวมรกตนั้นยงั เคลื่อนไหวได้ ประดุจดั่งงทู ี่ก้าลัง เล้อื ยเวียนวนกลับไปกลบั มาอีกดว้ ย เย็นวันนั้น หล่อนรู้สึกแสบร้อนตามล้าตัว เหมือนมีใครเอาไฟมาสุม อัยย์นอนซมเป็นไข้อยู่ หลายวัน หมอพยายามตรวจหาสาเหตุก็ไม่พบ กนิ ยาหลายขนานก็ไม่หาย จนกระทงั่ พ่อเชื่อค้า ของคนโบราณ เอามณีนาคสวาทแช่น้าให้อัยย์ดื่มไม่เช่ือก็ต้องเชื่อ เพราะทันทีท่ีดื่มน้าแช่ นาคสวาทจนหมดแล้ว ไขท้ ี่เป็นมาหลายวนั ของอยั ย์กลบั หายเป็นปลดิ ท้งิ (พงศกร 2557ก, 39) ผู้วิจัยพบว่า การบรรยายลักษณะของมณีนาคสวาทสอดคล้องกับนาคสวาทใน ตารา นพรัตน์ ซง่ึ เปน็ ต้าราทรี่ วบรวมลักษณะของรัตนชาติ 9 ประการ ชว่ งท่กี ล่าวถึง “มรกฎ” หรอื มรกต องคตฤๅษีกล่าวก้าเนิดมรกฎ นาคสวาท และครุทธิการว่า แต่ก่อนยังมีพระยานาคตัวหน่ึง ชื่อพาสุกินนาคราช พระยาครุธพาเอาไปกินณเมืองตรุดตาด เมื่อพาสุกินนาคราชจะตาย จึง คายโลหิตเปนประถมเกิดเปนนาคสวาท คายโลหิตออกภายหลังเปนมรกฎ น้าลาย พระนาคราชอันตกลงเปนครุทธกิ าร อนั ว่านาคสวาทมี 4 ประการ ประการหนงึ่ สีผลดัง่ เห็ดตบั เต่า ประการหนงึ่ สีผลเขยี วเหลือง ด่ังงูเขียวปากปลาหลด ประการหน่ึงสีผลเขียวดังสีไม้ไผ่เกิดได้หน่ึงหรือสองเดือน อนึ่ง เขียว เจือด้า 4 ประการดังกลา่ วมาน้ี ชื่อนาคสวาท มีคุณอันวิเศษนัก ถ้าเป็นฝีอันมีพิษก็ดี ตะขาบ แมลงป่อง และงูอันมีพิษ สารพัดพิษขบตอดเอาก็ดี ให้เอานาคสวาทกล้ันใจชบุ ลงในน้านั้นมา ทามากิน หายปวดพิษทั้งปวง ถ้าถือรบศึกจะมีชัยชนะแก่ข้าศึกด้วยอานุภาพแห่งนาคสวาท อันมีคณุ วิเศษ ทา่ นให้ลองดเู ม่อื เดือน 3 เดอื น 4 ใหท้ ้าบัดพลเี คร่ืองกระยาบวงสรวงนาคสวาทตั้งไวใ้ นท่ีอัน สมควร ถ้าเห็นคลับคล้ายดุจดังงูในที่บัดพลีนั้นจึงจะเป็นนาคสวาทแท้ (บรมมหาประยูรวงศ์ 2464, 20-21)
65 มณีนาคสวาทในนวนิยายเรื่องนี้เป็นของวิเศษใช้ปราบนางพราย มณีนาคสวาทแตกออก และกลายเปน็ พญานาคเพ่ือท้าลายนางพราย “เสน้ สีแดงซึ่งครงั้ หน่ึงมขี นาดเล็กราวกบั เส้นด้าย บัดน้ี ขยายขนาดใหญ่ข้ึนเรื่อยๆ จนกระท่ังโตเต็มที่ราวกับงูยักษ์ ตรงส่วนท่ีเป็นศีรษะน้ันมีหงอนสีเขียว มรกตเช่นเดียวกับบริเวณท่ีเป็นต้าแหน่งของดวงตา อัยย์ยังเห็นอีกด้วยว่าบนท่อนสีแดงน้ันมีเกล็ด ละเอียดยิบราวกับล้าตัวของพญานาค ! พญานาคที่มีล้าตัวสีแดงฉานราวกับกองเพลิง พุ่งตรงเข้าใส่ นางพรายที่กรีดนิ้วดดี พิณอยู่บนโขดหินตรงหน้าอยา่ งรวดเร็ว ก่อนที่นางปศี าจจะระวังตัว” (พงศกร 2557ก, 566) การสร้างพญานาคน้ีมีส่วนสอดคล้องกับลกั ษณะและท่ีมาจากนาคสวาท เมื่อมณีนาค สวาทแสดงอทิ ธิฤทธ์ิจึงกลายเปน็ พญานาคได้อย่างสมเหตุสมผล ส่วน “อากาศไอยรา” หมายถึง หินดาวตกจากกลุ่มดาวช้างใหญ่ ท่ีคามินครอบครองมา ตั้งแต่เด็ก “เน่ืองจาก มีแฟนละครจากทางภาคอีสานของหนูนอ้ ยน้ิงโหน้งใหเ้ ครอ่ื งรางเธอมาชิน้ หนึง่ บอกว่าเป็นหินดาวตกที่มาจากท้องฟ้า มีฤทธ์ิสามารถป้องกันภูตผีปีศาจได้...หลงั จากเธอให้ลกู ชาย ห้อยจที้ ่ีทา้ มาจากหนิ สขี าว มีลวดลายสีดา้ หน้าตาดปู ระหลาดๆ ชนิ้ น้นั กป็ รากฏว่าหนูคามนิ นอนหลบั ฝันดี ไมเ่ คยตืน่ ขนึ้ มารอ้ งไห้กลางดกึ อกี เลย” (พงศกร 2557ก, 61-62) แตค่ ามินไม่เคยร้วู ่าหนิ ดงั กลา่ ว เปน็ อากาศไอยรา จนเม่ือคามนิ เผชิญกบั เหตุอศั จรรย์ของหินดาวตก เมอ่ื คามนิ และอัยย์ตกจากต้นไม้ ใหญ่ด้วยกัน หากแตก่ ลบั ตกลงมาอยา่ งเบาหวิวไมไ่ ด้รบั บาดเจบ็ แตป่ ระการใด และอีกตอนหนง่ึ สรอ้ ย หินเส้นน้ีก็ได้เรอื งแสงแสดงความอัศจรรย์ข้ึนมาอีกครั้งช่วยใหต้ ัวละครทง้ั หมดทีเ่ ดินทางตามหาเมอื ง คชาปุระซ่ึงก้าลงั ตกจากหน้าผารอดอย่างปลอดภัย พวกเขามารู้ว่าหนิ ของคามินเปน็ อากาศไอยราก็ ต่อเมื่อชาวเมืองคชาปุระเป็นผู้ให้ค้าตอบ ว่า “อากาศไอยราเป็นของหายากมาก คนมักนึกว่าเป็น อะไรบางอย่างทเี่ กี่ยวกบั ชา้ ง แตท่ ี่จรงิ อากาศไอยรากค็ ือสะเก็ดดาวทห่ี ล่นมาจากกลุ่มดาวช้างใหญ.่ ...มี คุณสมบัติท้าให้ผู้สวมใส่เบาไรน้ ้าหนักในบางสภาวะ เหมือนกับมนุษย์อวกาศ เพราะอย่างนี้น่ันเอง คามินอ้าปากค้าง ตอนที่อยู่ในป่าแล้วตกลงจากต้นอโศกน้าพรอ้ มกับอยั ย์ เขาและหล่อนถึงไมไ่ ดร้ ับ บาดเจ็บอะไรเลย และยังจะตอนที่หล่นลงจากน้าตกน่ันด้วย เขาและคนอื่นๆ รอดชีวิตมาได้เพราะ อากาศไอยรา ทเี่ ขาคดิ วา่ เป็นเพียงแคห่ นิ ดาวตกมาโดยตลอด!” (พงศกร 2557ข, 22-23) เพราะ “หนิ ดาวตกบางชนิดมีคุณสมบัติท้าให้ผู้คนอยู่สภาวะไร้น้าหนักได้...อากาศไอยราก็เช่นกัน น่าจะมี คุณสมบัตพิ ิเศษเช่นน้นั ผมว่าที่เรยี กว่าอากาศไอยรา คงเพราะว่าเปน็ หินดาวตกจากกลมุ่ ดาวบนทาง ช้างเผือก” (พงศกร 2557ข, 57) กล่าวได้ว่า อากาศไอยราจึงไมใ่ ช่ช้างทีล่ อยได้ในอากาศเหมอื นกบั กุญชรวารีเป็นช้างน้า หากแต่คือ สะเก็ดหินจากกลุ่มดาวช้างใหญ่ในอวกาศ ท่ีช่วยให้คนสามารถ ลอยตวั ในสภาพไร้น้าหนักได้ เหน็ ไดว้ า่ ข้อมูลทีเ่ ป็นท่ีมาของของวิเศษในคชาปรุ ะและนครไอยรากม็ า จากหลายแหลง่ ต้งั แตต่ ้าราคชศาสตร์ นาคสวาทท่กี ล่าวไวใ้ นตา้ รานพรัตน์ อากาศไอยราเกี่ยวข้องกับ ดาวชา้ งใหญ่ ของวิเศษแทบทกุ ชน้ิ ลว้ นเกี่ยวข้องกับช้างแทบทงั้ สิน้
66 ทง้ั หมดทกี่ ลา่ วไปในเกย่ี วกับประเภททพ่ี งศกรน้ามาประกอบสรา้ งขอ้ มลู เชงิ คติชนในนวนิยาย แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรมีท่ีมาหลากหลายดังเป็นสรุป ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 สรุปประเภทขอ้ มูลทพ่ี งศกรนามาประกอบสร้างข้อมูลเชิงคติชนในนวนยิ าย ประเภทขอ้ มลู นวนิยาย เรอ่ื งเลา่ พน้ื บา้ น ความเชอื่ และ วรรณคดแี ละ ประวตั ศิ าสตร์ ขอ้ มลู และอนภุ าคจาก ขนบธรรมเนยี ม วรรณกรรมไทย เบด็ เตลด็ เรือ่ งเลา่ พน้ื บา้ น พน้ื บ้าน เบอื้ งบรรพ์ - -- สรอ้ ยแสงจนั ทร์ -- ฤดดู าว - วงั พญาพราย - - กหุ ลาบรตั ตกิ าล - - คชาปุระและ นครไอยรา - เคหาสนน์ างคอย - - -- หากพิจารณาจากตารางข้างต้นตามแนวดิ่งจะพบว่า ข้อมลู เชงิ คตชิ นมาจากเร่ืองเล่าพื้นบ้าน กับวรรณคดีอย่างละเท่ากัน รองลงมาคือ ขนบธรรมเนียมพ้ืนบ้าน ส่วนประวัติศาสตร์และข้อมูล เบด็ เตล็ดพบไดเ้ ฉพาะบางเรอื่ งเทา่ นนั้ หรอื กล่าวอีกนัยหนง่ึ ได้ว่า ขอ้ มลู เชงิ คตชิ นมีที่มาจากเร่ืองเล่า พืน้ บ้านและวรรณคดเี ป็นขอ้ มูลหลัก และเมอื่ พิจารณาตารางตามแนวระนาบก็ท้าให้เห็นว่า นวนยิ าย ของพงศกรส่วนใหญม่ คี วามหลากหลายของขอ้ มูลในนวนยิ ายแต่ละเรอื่ ง หมายถงึ แต่ละเรื่องประกอบ ขึ้นด้วยท้ังข้อมูลคติชนและข้อมลู อ่ืนๆเข้าด้วยกัน โดยฤดูดาวและคชาปุระ-นครไอยรา มีข้อมลู แทบ ทกุ ประเภท อนั แสดงใหเ้ หน็ วา่ นวนิยายท้งั สองเร่อื งนม้ี คี วามหลากหลายของขอ้ มูลมากทสี่ ดุ แตก่ ต็ ้อง ยกเวน้ เคหาสน์นางคอย ทถ่ี อื วา่ มเี พยี งอยา่ งเดยี ว สรุปได้ว่า ข้อมูลเชิงคติชนทปี่ รากฏในนวนยิ ายมิได้มาจากขอ้ มลู จากคตชิ นเทา่ นน้ั แตม่ ีขอ้ มูล จากหลายแขนงเข้ามาเช่ือมโยงหรือผสมรวมกนั นา่ สังเกตด้วยวา่ สา้ หรบั ขอ้ มลู ทมี่ าจากกลมุ่ คติชนมี ความโดดเด่นเพราะมาจาก “คติชนจากหลายชนและคตชิ นจากหลายชาติ” หมายถงึ คติชนดงั กลา่ วมี ทั้ง “หลายชน” หลายชาติพันธุ์ท้ังชาวกูย ชาวเย้า รวมถึงคติชนจากหลายชาติที่มาจากทั้งความเชอ่ื เรื่องเล่าจากสังคมไทยผสมผสานเข้ากบั คตชิ นจากต่างชาติอย่างต้านานน้าท่วมโลก ต้านานปรัมปรา กรีกจนเกดิ เปน็ ลักษณะใหม่ข้นึ ในนวนยิ าย ซ่งึ นอกจากขอ้ มูลเหลา่ น้แี ล้วจนิ ตนาการในการสร้างสรรค์ กเ็ ป็นสิ่งท่ีสา้ คญั ในการเช่อื มโยงข้อมลู ตา่ งๆ เขา้ ด้วยกนั ดงั จะกลา่ วต่อไป
67 2.3 การประกอบสรา้ งและการนาเสนอขอ้ มูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกร ในหวั ข้อนจี้ ะมงุ่ พจิ ารณากลวิธีการประกอบสรา้ งว่า พงศกรได้นา้ ข้อมลู หลายประเภทที่กลา่ ว ไปข้างตน้ มาประกอบสรา้ งอยา่ งไร และเมอื่ น้ามาประกอบสร้างเปน็ ข้อมลู เชงิ คตชิ นแลว้ “ผลลัพธ์” ท่ี น้าเสนอในนวนิยายมลี ักษณะเช่นใด 2.3.1 กลวธิ กี ารประกอบสรา้ งขอ้ มลู เชิงคตชิ น กลวิธีการประกอบสร้างตัวข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรมีท้ังการใช้ข้อมูลเดิม โดยตรงมาเป็นแกนหลักของนวนิยาย การใช้ข้อมูลเดิมมาแทรกเป็นองค์ประกอบในนวนิยาย การ จินตนาการต่อยอดจากข้อมลู เดิม และการสรา้ งความเป็นไปได้ให้แก่ขอ้ มูลใหส้ มจริง 2.3.1.1 การใชข้ อ้ มูลเดมิ โดยตรงมาเป็นแกนหลกั ของนวนิยาย การใชข้ ้อมูลเดมิ โดยตรง หมายถึง การใช้ขอ้ มูลท่ีเปน็ ขอ้ มูลคตชิ นและขอ้ มลู กลุม่ อ่ืนๆ10 ท่ี ปรากฏในวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหน่ึงมาน้าเสนอ โดยยังต้องคงลักษณะส้าคัญของข้อมูลนี้ไว้ ไม่ได้ ดัดแปลงหรอื ปรบั เปลยี่ นจากข้อมูลเดิม การประกอบสรา้ งวิธีการนพ้ี บในนวนิยายเพยี งเรอ่ื งเดยี วคือ เบื้องบรรพ์ พงศกรยกนทิ านผาแดงนางไอม่ าใชแ้ บบตรงไปตรงมาโดยไมไ่ ด้แตง่ เติมให้นิทานเปลีย่ นไป และยังใช้เป็นแกนหลักของนวนิยาย ได้แก่ มีตัวละครในโลกปัจจุบนั ทม่ี าจากตวั ละครในนิทาน การใช้ ปมขัดแย้งจากนิทานมาเป็นปมขัดแย้งในนวนิยายและมีฉากของเรื่องตามท่ีนิทานอ้างถึงด้วย นอกจากน้ี ในเบ้ืองบรรพ์ ยังมกี ารยกตัวบทวรรณคดีลายลกั ษณเ์ ข้ามาใชแ้ บบตรงไปตรงมา เพอ่ื ทา้ ให้ นิทานมีมิติมากย่ิงขึ้น เพราะแม้ข้อความค้าผะหยาท่ียกมาอาจไม่ใช่แกนหลักของเรื่อง แต่เป็น องค์ประกอบหนึ่งที่ชว่ ยเรา้ อารมณ์ความรสู้ กึ ของตวั ละคร สาเหตุของการน้าข้อมลู เดมิ มาใช้โดยตรงในเรื่องเบื้องบรรพ์เพียงเร่ืองเดียวเท่าน้ัน เป็น เพราะพงศกรพบข้อจา้ กัดของการนา้ นิทานผาแดงนางไอ่มาใชใ้ นเรอ่ื ง ท่ีตอ้ งอิงทั้งฉากสถานที่จรงิ และ องคป์ ระกอบอ่นื ๆ ใหส้ อดรบั กับนทิ านเร่ืองนี้ค่อนขา้ งมาก ความยืดหยนุ่ ตอ่ การสรา้ งสรรค์นวนิยายจงึ ลดลงไป เหตุนี้พงศกรจึงได้เปลี่ยนมาใช้กลวิธีน้าเอาคติชนเดิมมาดัดแปลงให้สอดรับกับเนื้อเร่อื งใน นวนยิ ายเรอ่ื งอื่นๆ แทน (พงศกร สัมภาษณ์ 9 มถิ นุ ายน 2558) 2.3.1.2 การใช้ขอ้ มลู เดมิ บางสว่ นแทรกในองคป์ ระกอบของนวนิยาย ส้าหรบั กลวธิ กี ารประกอบสรา้ งรปู แบบน้ี พงศกรไดน้ า้ ข้อมูลเดิมมาใช้โดยตรงเชน่ เดียวกนั แต่มิใช่แกนหลักของนวนิยาย หากเป็น “ส่วนหนึ่ง” ขององค์ประกอบต่างๆในนวนิยาย โดยพบว่า นวนิยายของพงศกรน้าเสนอขอ้ มลู เดมิ ที่เล่าถึงวิถีชวี ิตหรอื ประวตั ิศาสตร์ของกลมุ่ ชาติพันธุ์ ไดแ้ ก่ กยู 10 ในหัวขอ้ นี้ผู้วิจยั จะเรียกรวมกลุ่มข้อมลู ท้งั ห้าประเภททีพ่ งศกรนา้ มาประกอบสร้างวา่ “ขอ้ มูลเดมิ ” เพอ่ื แยกใหเ้ ห็นวา่ สว่ นใดมา จากข้อมูลเดมิ และสว่ นใดที่พงศกรจินตนาการขึ้น
68 ในสร้อยแสงจันทร์ เยา้ ในฤดดู าว มาใชโ้ ดยไมไ่ ดเ้ ปล่ียนแปลงขอ้ เท็จจรงิ (fact) แตเ่ ลือกน้าเสนอทใ่ี ห้ ความส้าคัญเฉพาะความเชื่อและพิธีกรรม ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อเรื่องผี การนับถือหมอผีอย่างซิบ เม้ียนเมยี่ นของเยา้ พธิ ีกรรมบชู าผีปตู่ าหรือฟอ้ นผีมดของชาวกูย ส่วนการนา้ เสนอชาตพิ ันธุ์ไทใหญ่ใน กุหลาบรัตติกาล ได้เน้นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตรข์ องไทใหญท่ อ่ี พยพล้ภี ัยการเมืองเข้ามาในไทย การน้าข้อมูลเดิมมาใช้ในลักษณะน้ีเพื่อให้ผู้อ่านได้รู้จักและเข้าใจความเป็นอยู่ของคนกลุ่มน้ันๆ ตลอดจนแสดงถงึ คณุ คา่ และเชดิ ชภู มู ปิ ญั ญาของคนเหล่าน้ัน เหตุนี้จงึ จ้าเปน็ ตอ้ งคงข้อมูลเดิมไว้ ในคชาปรุ ะและนครไอยรา พงศกรน้าเอาต้านานหลายชาติมาน้าเสนอ ได้แก่ ต้านานน้า ท่วมโลก และเลือกเน้นย้าต้านานเรือโนอาห์ในพระคัมภีร์ของศาสนาคริสต์ อีกด้านหน่ึง พงศกรน้า ต้าราคชศาสตรม์ าสร้างตัวละครช้างเชอื กเอก คือ ช้างอุบลมาลีกับชา้ งสงั ขทันต์ และบรรยายคตคิ วาม เช่ือเรอ่ื งการก้าเนิดช้างจากเกสรดอกบัวในศาสนาพราหมณ์-ฮินดใู นต้าราในนวนิยาย ตลอดจนต้ังชื่อ ตวั ละครหลายตวั จากตา้ ราคชศาสตร์ด้วย การใช้ข้อมูลเดิมบางส่วนมาเป็นองค์ประกอบของนวนิยายเหล่านี้ยังเช่ือมโยงไปสู่การ สรา้ งจินตนาการท่พี งศกรนา้ มาแต่งเติมเขา้ ไป เพราะนวนิยายของพงศกรแตล่ ะเรื่องมิได้หยดุ เพียงแค่ การน้าเสนอภาพของกลุม่ ชนชาติพนั ธ์ุนัน้ ๆ แบบตรงไปตรงมาอยา่ งเดียว พงศกรยังผูกข้อมูลเดิมเข้า กับเร่ืองเล่าที่พงศกรสรา้ งขึ้น ดังท่ีชาวกูยผูกโยงกับเรื่องเล่าปราสาทปักษาจา้ จอง ชาวเย้าผูกโยงกบั เวยี งแสนเพ็ง ชาวไทใหญ่ทอี่ พยพมาอยู่ในม่อนผาเมิงกผ็ ูกกบั เรอื่ งเลา่ เวยี งคีรีคา้ ต้านานเรือโนอาห์ถกู น้ามาผูกโยงเข้ากบั เหตุการณ์ในเมืองคชาปรุ ะและนา้ เมืองคชาปุระมาเทยี บเคียงกบั เมืองเรือโนอาห์ กล่าวได้ว่า แม้พงศกรมิได้เปลี่ยนข้อมูลเดิมท่ีเป็นข้อเท็จจริงก็ตาม แต่พงศกรได้ใช้ข้อมูลเดิมเป็น องคป์ ระกอบท่ผี กู โยงเข้ากับจนิ ตนาการอน่ื ๆและเปน็ ฐานให้เกิดการจนิ ตนาการต่อ 2.3.1.3 การสร้างข้อมลู เชิงคติชนจากจินตนาการท่ีต่อยอดขอ้ มลู เดมิ จนิ ตนาการทตี่ อ่ ยอดจากขอ้ มลู เดิม คือ การประกอบสรา้ งด้วยการน้าขอ้ มูลเดมิ หลายสว่ น มาประกอบกัน แล้วผสมกับจินตนาการของพงศกรจนกลายเป็นข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของ พงศกร ข้อมูลเชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรจึงแสดงให้เห็นถึงลักษณะการ “ประกอบ” และ “สร้าง” และเมื่อเกิดเป็นข้อมูลเชิงคติชนแลว้ หลายข้อมูลดูสมจริงจนเกิดความสับสนระหว่างข้อมลู จริงและขอ้ มลู ท่สี มจรงิ เม่ือสืบค้นขอ้ มลู เชิงคติชนที่น้าเสนอในลกั ษณะเร่ืองเลา่ ในนวนิยายของพงศกรจะพบวา่ เรอ่ื งเลา่ ทง้ั เรื่องไม่มีอยู่จริง แต่ส่งิ ทผ่ี ู้วิจยั พบคอื อนภุ าคของเร่ืองเล่าในนวนิยายของพงศกรคล้ายคลึง กับเรื่องเล่าพ้ืนบา้ นทไี่ หลวนในสงั คม ดังเชน่ ในเรือ่ งฤดดู าว แมเ้ รื่องเลา่ เกย่ี วกับเวียงแสนเพ็งไม่มจี ริง แตส่ ่งิ ท่พี บวา่ มอี ยู่ในเรือ่ งเลา่ นี้ ได้แก่ การใช้ความเชื่อเรือ่ งแถนมาเป็นตวั ละคร การสร้างเรือ่ งเลา่ จาก อนุภาคหญิงสาวกลายเป็นดอกไม้และอนุภาคเมืองล่มจนเกิดเป็นดอกไม้ประจ้าถ่ินท่ีจะบานทุกช่วง
69 ปรากฏการณ์ฤดูดาว ลักษณะของดอกไม้ทีก่ ลายเป็นคนในคืนสา้ คัญนมี้ อี ิทธิพลจากมัทนะพาธาและ บนั ทึกการเดนิ ทางของมารก์ าเรต็ มี สว่ น สร้อยแสงจันทร์ พงศกรน้าเอาตวั ละครนกจโกระในนิทาน เวตาลมาผูกโยงกับเรื่องเล่าปราสาทปักษาจ้าจองที่มีเค้ามาจากต้านานของกัมพูชา เป็นต้น การ ประกอบสรา้ งข้อมลู เชิงคตชิ นตามวธิ กี ารขา้ งต้นพบไดใ้ นนวนิยายแทบทุกเรื่อง ผลลัพธท์ ไ่ี ด้จงึ เกิดเปน็ ข้อมูลเชิงคติชนที่อาจไม่เหมอื นข้อมูลเดิมที่ไหลวนในสังคมเสียทีเดียว และในบางเรอื่ งก็แตกต่างไป จากข้อมูลเดมิ ที่ไหลวนในสงั คมอยา่ งชดั เจน ดงั จะแสดงให้เหน็ ในตารางที่ 2 ดังนี้ ตารางที่ 2 ขอ้ มูลเชงิ คตชิ นทพ่ี งศกรสร้างจากการต่อยอดขอ้ มลู เดิมกับจินตนาการ นวนิยาย ขอ้ มูลเชิงคตชิ น การประกอบสร้างตัวขอ้ มลู สรอ้ ยแสงจันทร์ เรื่องเล่าเกี่ยวปราสาท ดัดแปลงต้านานปราสาทปักษีจ้ากรงมาจากกัมพูชาผสานกับการต่อ ปักษาจ้าจอง ยอดตวั ละครนกจโกระจากนทิ านเวตาลใหม้ ีมติ มิ ากข้ึนแล้วมาผูกเป็น ปราสาทปกั ษาจา้ จองทถ่ี กู จองจ้าไวร้ อวนั ปลดปล่อย ชาวบงั บด ต่อยอดความเชอื่ เรอื่ งชาวบังบดใหม้ มี ติ มิ ากยิง่ ขน้ึ ฤดูดาว เร่อื งเล่าเกี่ยวกบั เวียงแสนเพ็ง ดัดแปลงความเช่ือเร่ืองแถน สร้างเหตุการณ์หญิงสาวโดนสาปเป็น ดอกไม้จากวรรณคดรี วมถงึ ลักษณะจากดอกไม้ทมี่ อี ยู่จริงในบนั ทึกการ เดินทางของชาวต่างชาติ และสร้างเหตุการณ์เมืองล่มคลา้ ยเร่ืองเล่า พน้ื บา้ นหลายเร่ือง เรื่องเลา่ ดงั กล่าวมีสว่ นอธิบายเหตตุ ่างๆ ที่เกิดข้นึ ในพ้นื ทน่ี นั้ ด้วย วังพญาพราย เรื่องเลา่ เกี่ยวกับเวียงพราย ดดั แปลงเรือ่ งเลา่ ท้องถิ่นทีพ่ งศกรเคยอยู่ โดยสรา้ งเรื่องเลา่ ใหเ้ กีย่ วกับ เมอื งล่มจนกลายเป็นบึงนา้ ตั้งอยู่ในจังหวัดราชบุรี พร้อมกับเชื่อมโยง เมืองดงั กล่าวกบั ประวัตศิ าสตร์ทวารวดี ตวั ละครผพี ราย ดัดแปลงความเช่อื เร่ืองผพี รายเป็นท้ังเงือกและอสุรกายในคืนวันเพ็ญ โดยยงั มีลักษณะคล้ายปลาเพือ่ โยงกับสายนา้ กุหลาบรตั ตกิ าล เรื่องเล่าเวยี งคีรคี ้า ดัดแปลงเรื่องเลา่ หญงิ สาวกลายเป็นดอกไม้จากตา้ นานเมืองลับแลจน กลายเปน็ ดอกไมน้ ลิ นวารา ก่อนผูกโยงเขา้ กับพน้ื ทีม่ อ่ นผาเมิง จงั หวัด เชียงใหม่ซ่งึ สมมติวา่ ชาวไทใหญ่อพยพเข้าไปอยู่ คชาปุระ-นคร ตวั ละครผพี ราย ดัดแปลงผีพรายในความเชื่อของไทยเข้ากับนางไซเรนในต้านาน ไอยรา ปรัมปรากรกี โดยเชอ่ื มโยงจากผีทม่ี ถี ิ่นทีอ่ ยู่ในนา้ และเอาคนที่พลดั หลง เขา้ มาไปฆา่ หรือไปอยูด่ ว้ ย กล่องแห่งความเปน็ อมตะ ดดั แปลงกลอ่ งแพนโดรา่ ในต้านานปรัมปรากรีกเขา้ กับความเช่ือเร่ือง น้าอมฤตในความเชอื่ ของอนิ เดยี เ ค ห า ส น์ น า ง เรอ่ื งเลา่ ทมี่ าของชอื่ ดดั แปลงเรอ่ื งเล่าเกย่ี วกบั โจรสลัดและเจา้ หญิงที่มาจากนวนิยายของวิ คอย บ้านนางคอย นทร์ เลียววาริณโดยอาศัยจากเค้าความรักที่ผิดหวังระหว่างรักต่าง สถานะ และตวั ละครโจรสลัดกบั เจ้าหญงิ แห่งรฐั ปาตานี จากตารางข้างต้นแสดงให้เหน็ อย่างชัดเจนว่า นวนิยายของพงศกรท่ีเลอื กมาศึกษาแทบ ทุกเรื่องพบลักษณะการประกอบสร้างข้อมูลเชิงคติชนจากจินตนาการท่ีต่อยอดจากข้อมูลเดิม โดย อาจจะเป็นการน้าข้อมูลเดียวมาต่อยอดให้มีมิติมากย่ิงขึ้น เช่น นกจโกระ ชาวบังบด เป็นต้น หรือ ดัดแปลงเข้ากับข้อมลู อ่ืนๆอย่างในเรื่องเลา่ เวยี งแสนเพ็งท่อี งคป์ ระกอบยอ่ ยต่างๆ มาจากหลายแหล่ง
70 เข้าด้วยกนั และจากกลุม่ ข้อมูลทเ่ี ลือกศึกษามเี พยี งเบือ้ งบรรพ์ เรอ่ื งเดียวเทา่ นั้นทไ่ี มป่ รากฏลักษณะ การสรา้ งข้อมูลเชงิ คตชิ นแบบน้ี การสร้างข้อมูลเชิงคติชนในรูปแบบดังกล่าวน้ีย่อมท้าให้ผู้อ่านคล้อยตามและเช่ือได้ว่า ข้อมูลดังกลา่ วอาจเกิดขนึ้ จริง ลักษณะของการจนิ ตนาการทตี่ ่อยอดดังกลา่ วยังทา้ ใหข้ ้อมลู เดมิ มีการ เชื่อมโยงกันอย่างแปลกใหม่ ดังท่ีจะเห็นว่าข้อมูลแต่ละส่วนอาจไม่สัมพันธ์กันโดยตรงนัก อย่าง ต้าราคชศาสตร์ ต้านานน้าท่วมโลก ตา้ นานปรัมปรากรีกหรือของวิเศษตา่ งๆ ในเรอ่ื ง หากเม่อื เกิดการ สร้างข้อมลู เชิงคตชิ นในลกั ษณะนี้แล้วก็ท้าให้ข้อมลู เกิดความสัมพันธ์รูปแบบใหม่ขึ้นมา หรอื กลา่ วอีก นัยหน่ึงได้ว่า หากเราพิจารณาข้อมลู เชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรอย่างผิวเผนิ แลว้ อาจเข้าใจว่า ข้อมูลเชิงคติชนส่วนใหญ่ลว้ นมาจากจินตนาการของพงศกรแทบทั้งส้นิ แต่หากมองเพียงเท่าน้ันอาจ ท้าให้มองข้ามองค์ประกอบย่อยที่พงศกรน้ามาผูกโยงกันจนสร้างเป็นข้อมูลเชิงคติชน พงศกรไช้ จินตนาการเป็นช่องทางให้ข้อมูลที่ดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องได้เข้ามาผูกโยงกันและมีความหมายใหม่ เกิดขน้ึ จดุ น้ีนับเป็นลักษณะเดน่ ประการหน่งึ ในการสร้างข้อมลู เชิงคตชิ นในนวนิยายของพงศกร 2.3.1.4 การสรา้ งความเป็นไปได้ใหแ้ กข่ อ้ มลู เชงิ คตชิ น จุดเด่นประการอกี หนึ่งของการประกอบสรา้ งข้อมูลเชิงคตชิ นในนวนิยายของพงศกร คือ การสร้างความเปน็ ไปได้ให้ข้อมูลเชงิ คติชนน่าเช่ือถือ ดงั ที่ในนวนยิ ายบางเรื่องมคี วามสมจรงิ จนผู้อ่าน เกิดความเข้าใจผดิ ว่าข้อมูลเชงิ คติชนในนวนิยายเคยเกิดขึ้นจรงิ ดังทผ่ี ้อู า่ นเข้าใจวา่ เร่อื งเลา่ เวยี งแสน เพ็งในฤดูดาวเป็นเรอื่ งจริง เพราะขณะที่นวนิยายเรื่องนี้ตีพมิ พเ์ ป็นตอนในนติ ยสารน้ันมีผู้อ่านหลาย คนส่งจดหมายถามถึงเวยี งแสนเพ็ง ผาช้างร้องและปรากฏการณ์ฤดดู าวดว้ ยคดิ วา่ เกิดข้ึนจริงในจังหวดั น่าน (พงศกร สัมภาษณ์, 9 มถิ ุนายน 2558) เหตุการณ์นบ้ี ่งบอกให้เหน็ ถงึ “ความสมจริง” ของข้อมูล เชิงคติชนในนวนิยายของพงศรได้ดีระดับหนึ่งซ่ึงท้าให้ผู้อ่านแยกได้ยากระหว่าง “ความจริง” กับ “ความสมจริง” การอ้างอิงหลักฐานหลายอย่างมาแวดล้อมเป็นวิธีการท่ีพงศกรใช้เสมอเพื่อสร้างความ เป็นไปได้ใหแ้ ก่ข้อมูล ต้ังแต่การสรา้ งเรอ่ื งเลา่ ให้ผกู พันกบั สถานทจ่ี ริง และน้าข้อเท็จจริงจากสถานท่ี น้ันมาสร้างองค์ประกอบต่างๆ ในเร่ือง ได้แก่ ฉากผาช้างร้องที่สมมติให้อยู่ในจังหวัดน่านในฤดูดาว ฉากหมูบ่ ้านเมอื งปักษาที่อยู่ชายแดนไทยกบั กมั พชู าในสร้อยแสงจนั ทร์ ซึ่งจะพบวา่ ในความจรงิ มีชาว เย้าและชาวกูยต้ังอยู่ในพ้ืนท่ีบริเวณใกล้เคียงกับท่ีนวนิยายบรรยายไว้ ในวังพญาพราย พงศกรใช้ ประวัติศาสตร์ทวารวดีมาประยุกต์ว่าเวียงพรายท่ีล่มไปเป็นเมอื งร่วมยุคกันกับเมืองคูบวั หรืออย่าง กุหลาบรัตติกาลใช้การอพยพเข้ามาของเจ้านายเมืองยองห้วยจากรัฐฉานแล้วมาตั้งฐานท่ีมั่นใน เชียงใหม่เปน็ ส่วนเทียบเคยี งกบั เหตุการณใ์ นเรอื่ ง เห็นไดช้ ัดวา่ การสรา้ งขอ้ มูลเชิงคตชิ นโดยมีการอิง กับสถานท่ีจรงิ มสี ่วนช่วยใหเ้ กิดความเปน็ ไปได้วา่ ข้อมูลดงั กล่าวเกิดข้ึนจริงและทา้ ใหผ้ อู้ ่านคล้อยตาม
71 การพยายามเชื่อมโยงข้อมูลเชิงคติชนกบั หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์หรือโบราณคดีเปน็ อีกส่วนท่ีพงศกรมักใช้สร้างความเป็นไปได้แกข่ ้อมลู เชิงคติชนในนวนิยาย ดังเช่นในเรื่องเบอ้ื งบรรพ์ วรัณขุดค้นพบฆอ้ งโบราณในห้วยน้าฆอ้ งเพอื่ เป็นหลักฐานยืนยันว่า เหตุการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ ในนิทานน่าจะ เป็นเรื่องจริงเพราะพบหลักฐานที่ตรงกับเรื่องเล่าในนิทาน นอกจากนี้ในตอนท้ายของเรื่องขณะท่ี เจ้าหนา้ ท่ีก้าลงั ขุดค้นหาวรณั ท่ีติดอยู่ในอุโมงค์ใต้ดิน เจ้าหน้าท่ีได้ใหข้ ้อมูลดว้ ยว่า เหตุการณ์เมอื งลม่ ในนิทานอาจเคยเกิดข้ึนจริงแตไ่ ม่ได้ถล่มดว้ ยพญานาคหากเกิดขน้ึ เพราะแผ่นดินทรุดตัว “ผมคิดว่า พื้นดินแถวน้ีเป็นพื้นดินที่อ่อนและไม่เซ็ตตวั ครบั เพราะเป็นดินที่เกิดจากการ ทบั ถมกนั ของตะกอนและโคลน กบั อกี อย่าง พ้ืนทีแ่ ถวนี้ข้างใตด้ ินยงั มีช้ันของหินเหลือซ้อน กนั อย่หู ลายชัน้ ทช่ี าวบา้ นเขาท้าเกลือสินเธาว์กันไงครับ” “เมื่อมีการระเบิดเกิดขน้ึ แรงสน่ั สะเทอื นนน้ั กเ็ ลยทา้ ใหพ้ ื้นดนิ ยบุ ตัวลงเหมือนเร่ืองท้าวผา แดงกับนางไอน่ ัน่ ไง” “นักวิทยาศาสตร์หลายคนเช่ือว่า ไม่ได้ถล่มลงไปด้วยพญานาคเหมือนอย่างในต้านาน หรอกครับ เช่ือกันว่า เป็นเพราะแรงระเบิดหรือแรงส่ันสะเทือนของการจุดบั้งไฟจ้านวน มากๆ พรอ้ มๆกันต่างหาก ทท่ี า้ ใหช้ ั้นหนิ เกลือที่อยู่ข้างใตเ้ มืองเกดิ การส่ันสะเทือนและทรุด ตวั ยบุ ลงไปและน้ากไ็ หลบา่ เข้าทว่ มเมอื ง” (พงศกร 2552, 161) นอกจากนี้ พงศกรยังได้เชื่อมโยงความพยายามขุดค้นเมืองเอกทะชิตาเข้ากับการขุด ค้นพบเมืองโบราณในมหากาพยอ์ เิ ลียตของโฮเมอร์ทเ่ี ก่ยี วกับสงครามกรุงทรอย เมอื งโบราณทีส่ าบสญู ที่เช่ือกันว่าเป็นเพียงต้านาน-นิทานน้ันอาจมีอยู่จริงนั่นเอง นอกจากนี้ในอีกตอนหน่ึงผู้แต่งได้เล่า ถงึ วรณั ทล่ี งมาส้ารวจใตด้ ินจนพบกับทางเข้าเมอื งเอกทะชิตาและเห็นซากเมอื งทยี่ งั สมบรู ณอ์ ยู่ พงศกร ไดเ้ ช่ือมโยงซากเมอื งที่วรณั พบกับเมืองปอมเปอใี นอิตาลีทถี่ ูกลาวาจากภเู ขาไฟระเบิดดว้ ยเพอ่ื แสดงให้ เห็นว่า นิทานพ้ืนบ้านท่ีดูเหมือนเป็นเพียงเร่ืองเล่าของชุมชนท้องถิ่นของไทย แท้จริงก็มีความเป็น สากลจากลักษณะรว่ มทป่ี รากฏร่วมกันของมนุษย์ ลักษณะการอ้างอิงดังกล่าวยังพบในเคหาสน์นางคอย นวนิยายน้าเสนอให้เห็นว่า ตอน แรกเรอ่ื งเลา่ เก่ยี วกบั โจรสลดั บบี ากบั เจา้ หญงิ เดวีที่ไม่สมหวังเปน็ เพียงเรือ่ งเล่าเท่านั้น หากขณะทตี่ วั ละครเอกได้ท้าภารกิจแล้วลงไปยงั ห้องใตด้ ินใต้คฤหาสน์นางคอยได้พบกบั ท่บี รรจุพระศพโจรสลัดบบี า กับเจ้าหญงิ เดวีคู่กัน แสดงให้เหน็ ว่าเรอ่ื งเล่าไม่ได้จบลงด้วยการพลัดพรากของคนทัง้ คู่อย่างที่เข้าใจ แต่เหนือส่ิงอ่นื ใด “เราได้พบหลักฐานสา้ คัญที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์ท้องถ่ินแล้ว เจ้าหญิงเดวีและ โจรสลัดบีบามอี ยู่จริงๆ ไมใ่ ชต่ า้ นานอยา่ งทใี่ ครๆเชื่อกนั ” (พงศกร 2556, 178) อกี ทง้ั ในฤดดู าว เร่ือง เลา่ เวียงแสนเพง็ ทีส่ มมตขิ ้นึ นี้ยงั ได้ทา้ ใหส้ มจริงโดยตัวละครเอกได้ตามหาข้อมูลท่บี นั ทกึ เก่ียวกบั เมือง นี้แล้วได้เอกสารชุดหนึ่งชื่อว่า “พื้นเมืองน่าน” ท่ีข้อความตอนหนึ่งได้ระบุถึงเวียงแสนเพ็ง สิ่งที่ ตัวละครเอกค้นพบบ่งบอกว่า “เดิมฉันไมเ่ คยเช่ือว่ามีเวียงแสนเพง็ อยู่จรงิ คิดแต่ว่าเป็นเพียงเมืองใน
72 ต้านานเรือ่ งเล่าของชาวเยา้ เท่าน้ัน...แต่คุณก็เหน็ แลว้ วา่ มีบนั ทกึ ช่ือของเวยี งแสนเพง็ อยูใ่ นสมุดเล่มน้ี อย่างชัดเจน” (พงศกร 2555b, 460) การเช่ือมโยงดังกล่าวนี้เองท้าใหข้ ้อมูลเชิงคติชนดูเป็นไปไดว้ า่ เคยมีเหตุการณ์ ผู้คนหรอื เมอื งดังกลา่ วอยจู่ รงิ ในอดตี น่าสังเกตว่า ข้อมลู เชิงคตชิ นที่สร้างขนึ้ ใหม่อยา่ ง เรื่องเล่าโจรสลดั หรือเร่อื งเลา่ เวียงแสนเพ็ง ตลอดจนเร่ืองเล่าอื่นๆท่ีสมมติขึ้นแลว้ มีการยกหลกั ฐาน ประกอบให้ข้อมลู เชิงคตชิ นนา่ เชอ่ื ถือนย้ี อ่ มท้าให้ผ้อู า่ นคล้อยตามได้อยา่ งมาก แม้หลกั ฐานทย่ี กขึน้ มา ประกอบต่างๆนี้พงศกรอาจจะสรา้ งขน้ึ ในนวนิยายก็ตาม การสรา้ งข้อมูลเชิงคติชนโดยการพยายามเชื่อมโยงหลักฐานเหลา่ น้ยี ังเป็นกลวิธหี นึ่งทท่ี ้า ให้ตัวละครในนวนิยายเกิดความสับสนว่าข้อมลู เชิงคติชนท่ีพวกเขาเคยคิดว่าเป็นเรื่องเล่าหรอื ความ เช่ือสืบมามีเป็นเรื่องจริงหรือไม่ จนเกิดการค้นหาและน้ามาสู่การค้นพบบางอย่างในตอนจบซึ่งจะ กล่าวถงึ ในประเดน็ น้ีโดยละเอยี ดถัดไป กล่าวได้ว่า ข้อมูลเชิงคตชิ นในนวนิยายของพงศกรมีลกั ษณะการสรา้ งตัวข้อมูลทโ่ี ดดเดน่ จากจินตนาการของพงศกร แต่จินตนาการดังกล่าวมไิ ด้เกิดจากความว่างเปลา่ แต่ตั้งอยู่บนฐานของ ข้อมูลท่ีหลากหลายแหลง่ และการเชื่อมโยงกับหลกั ฐานอย่างแนบเนียนน้ีจึงท้าให้ข้อมูลเชิงคติชนใน นวนิยายของพงศกรดูเป็นไปได้จนเกิด “ความสมจริง” จนท้าใหผ้ ู้อา่ นคลอ้ ยตามว่าเปน็ “ความจรงิ ” ที่ไหลเวยี นอยู่ในสงั คม 2.3.2 การนาเสนอขอ้ มลู เชงิ คตชิ นในนวนิยายของพงศกร ภายหลังการพจิ ารณากระบวนการประกอบสรา้ งขอ้ มูลเชงิ คตชิ นแล้ว ส่วนสุดทา้ ยทจ่ี ะแสดง ใหเ้ หน็ คือผลลพั ธไ์ ด้จากการประกอบสรา้ ง ข้อมูลเชงิ คติชนสว่ นใหญ่ในนวนิยายของพงศกรมีลักษณะ เปน็ เรอ่ื งเลา่ ทแ่ี ทรกอยู่ในนวนยิ ายของพงศกร ซ่ึงผู้วิจยั จะเรียกว่า “เร่ืองเล่าเชิงคติชน” เพ่อื ใหล้ อ้ กบั ค้าว่าข้อมูลเชิงคติชน เร่ืองเล่าเชิงคติชนท่ีแทรกอยใู่ นนวนิยายของพงศกรสามารถแบ่งออกเปน็ สาม กลมุ่ ตามเนอ้ื หา คือ เร่ืองเล่าเชงิ คติชนทีอ่ ธบิ ายความเปน็ มาของสถานท่ี เรือ่ งเล่าเชิงคติชนที่สัมพันธ์ กับตา้ นาน ความเชอื่ และสิ่งศกั ดสิ์ ิทธ์ิ และเร่อื งเลา่ เชงิ คติชนทส่ี มั พันธ์ครอบครัวของตัวละคร 2.3.2.1 การน้าเสนอเปน็ เรอ่ื งเล่าเชงิ คตชิ นท่ีอธิบายความเปน็ มาของสถานที่ เร่ืองเล่าเชิงคติชนกลุ่มแรกเป็นเร่ืองเล่าที่แทรกการอธิบายความเป็นมาของสถานท่ีใน นวนยิ าย เร่อื งเล่าเชิงคติชนกล่มุ นคี้ ล้ายคลึงกบั “นิทานประจา้ ถ่ิน” ทไี่ หลเวยี นในสังคม นทิ านประจา้ ถ่ิน หมายถึง นิทานท่ีอธิบายความเปน็ มาของบคุ คลและสถานทใ่ี นท้องถิน่ มักเปน็ เรอ่ื งแปลกพิสดาร ซ่ึงเช่ือว่าเคยเกิดข้ึนจริง นิทานมักมีเหตุการณ์ท่ีน่าจดจ้า โดยเฉพาะเหตุการณท์ เี่ ป็นจุดส้าคัญมกั เปน็ เหตุการณ์สะเทือนใจ เชน่ นิทานตาม่องล่ายท่ีอธบิ ายทีม่ าของภูเขาและเกาะริมฝ่งั ทะเลอ่าวไทยแถบ จงั หวดั ประจวบคีรขี ันธ์และเพชรบุรี นิทานพระยากงพระยาพานซ่ึงอธบิ ายการทา้ ปิตฆุ าตอนั น้าไปสู่ การสร้างพระปฐมเจดยี ์และเจดีย์พระประโทน เป็นตน้ (ประคอง นมิ มานเหมินท์ 2551, 122-129)
73 เรื่องเลา่ เชิงคตชิ นท่ีอธิบายความเป็นมาของสถานที่พบได้ในนวนิยายของพงศกรแทบทุก เรื่อง ได้แก่ เบื้องบรรพ์ มีนิทานผาแดงนางไอ่อธิบายความเป็นมาของหนองหานและกลายเป็นชื่อ เรียกสถานทีต่ ่างๆ สร้อยแสงจนั ทร์ มคี ้าอธิบายความเปน็ มาของปราสาทปักษาจ้าจองจากเรื่องเลา่ ซงึ่ พงศกรสรา้ งให้นกจโกระตอ้ งเฝา้ ปราสาทหลังนเ้ี น่อื งจากความรักต้องหา้ มของตวั ละครเอก ฤดดู าว มี เรื่องเลา่ เร่ืองเวยี งแสนเพง็ ที่ลม่ สลายไปจนอธิบายความเปน็ มาของชาวเย้าในผาช้างร้อง รวมถงึ อธบิ าย ปรากฏการณ์ฤดดู าว วังพญาพราย มีเรอื่ งเล่าเวียงพรายที่ล่มลงไปจนกลายเป็นบึงพราย บงึ น้าขนาด ใหญ่ และน้ามาสู่ความเชื่อเกยี่ วกบั ท่ีมาของผพี รายทเ่ี ฝา้ บึงน้าแหง่ น้ัน กุหลาบรัตตกิ าล ท่ีมีเร่อื งเล่า เก่ียวกับเวียงคีรคี ้าในม่อนผาเมงิ ซ่งึ กลายเปน็ ค้าอธิบายดอกนิลนวารา และเคหาสนน์ างคอย มีเรอื่ ง เลา่ เก่ยี วกบั ความรกั ท่ีไมส่ มหวังระหวา่ งโจรสลัดกบั เจา้ หญงิ จนกลายเป็นช่อื บา้ นนางคอย ท้งั น้ี หากพิจารณาเนื้อหาในเรอื่ งเล่าเชิงคติชนกลมุ่ นจ้ี ะพบว่า เรื่องเล่ากลุ่มนม้ี อี นุภาคที่ ปรากฏซ้าอยา่ งมีนัยส้าคญั 3 อนุภาค ได้แก่ อนุภาคเมืองลม่ จากการความผดิ ของผู้มีอ้านาจ อนุภาค การลงโทษจากความรกั ต้องหา้ มและอนภุ าคการกลายรา่ งอันเปน็ ผลจากการลงโทษ ดังน้ี ตารางท่ี 3 อนภุ าคทป่ี รากฏซ้าในเรือ่ งเล่าเชิงคติชนทอ่ี ธบิ ายความเป็นมาของสถานที่ในนวนิยายของพงศกร นวนยิ าย เรื่องเล่า อนุภาคเมอื งลม่ จากการ อนภุ าคการลงโทษจาก อนภุ าคการกลายร่างอนั เชงิ คตชิ น กระทาผดิ ของผ้มู อี านาจ ความรักต้องหา้ ม เป็นผลจากการลงโทษ นิทานผาแดง เมืองเอกทะชิตาลม่ ลงเพราะ ไม่ปรากฏ ไม่ปรากฏ นางไอ่ นางไอ่คา้ ฆ่ากระรอกเผือก เบอ้ื งบรรพ์ และแบง่ เน้อื ให้ชาวเมืองกิน สรอ้ ยแสง เรื่องเลา่ ไมป่ รากฏ นกจโกระถูกจองจา้ ปราสาท ไมป่ รากฏ จนั ทร์ ปราสาท เพราะช่วยเหลอื พทุ ธิกุมาร ปักษาจา้ จอง กับโสมรศั ม์หิ ลบหนี เวยี งแสนเพง็ ล่มสลายลง เมอื งเวียงแสนเพง็ ล่ม นาง นางอัว้ แสนเพ็งกลายเป็น เรอ่ื งเลา่ เพราะความรกั ต้องห้าม อวั้ แสนเพ็งกลายเป็นดอกไม้ ดอกไม้ จะกลายเป็นคนทุก เวียงแสนเพง็ ฤดดู าว ระหวา่ งแถนเมอื งแมนกับ สว่ นดารกาประกายถกู สง่ มา ครง้ั ที่มปี รากฏการณฤ์ ดูดาว อวั้ แสนเพ็ง โดยมีนางดารกา เกิดเปน็ มนุษย์ รวมถงึ พลเมอื งในเมือง ประกายเป็นผสู้ าปแชง่ กลายเปน็ สตั วป์ ระหลาด เวยี งพรายล่มสลายดว้ ยคา้ ไมป่ รากฏ นางเรอื งแสงฟา้ และพลเมือง วงั พญา เรื่องเล่า สาปแชง่ ของนางเรืองแสงฟ้า กลายเป็นผพี รายเฝ้าบึง พราย เวียงพราย เพราะลอื อินเจา้ เมือง ผดิ คา้ พราย และลืออินไทกับ สญั ญาแกน่ าง ทายาทตอ้ งกลายเปน็ ผีพราย ทุกวนั เพ็ญ กหุ ลาบ เรื่องเล่า ไม่ปรากฏ ชายหนุม่ หลงเข้าไปในเมอื ง นางกุหลาบค้ากลายเปน็ ดอก รัตตกิ าล เวยี งครี คี า้ ผีเส้ือตอ่ มาพบความจรงิ จงึ นลิ นวาราท่เี ต็มไปดว้ ยความ ทง้ิ นางกุหลาบคา้ ใป เศร้าและความแคน้ เคหาสน์ เรื่องเล่า ไม่ปรากฏ เจ้าหญิงถูกกีดกันจากโจร หญงิ สาวรอคนรักและร้องไห้ นางคอย เกย่ี วกับท่ีมา สลดั โดยพระบดิ า จนกลายเป็นหิน ของนางคอย
74 แม้อนุภาคท้ังสามไม่ได้พบในทุกเร่ืองและอนุภาคหน่ึงอาจเหล่ือมซ้อนกับอีกอนุภาคบ้าง ในนวนิยายบางเรื่อง หากจากตารางท่ี 3 สังเกตเห็นได้ว่า อนุภาคท่ีปรากฏมากที่สุดพอกนั คือ การ ลงโทษจากความรกั ต้องห้ามกบั การกลายรา่ งอันเปน็ ผลจากการลงโทษ และหากพิจารณาโดยละเอียด จะสามารถมองเห็นว่า การลงโทษจากความรกั ต้องหา้ มมักเกิดข้ึนจากความรกั ระหว่างหญงิ สาวและ ชายหนุม่ ต่างสถานะ เช่น เจา้ เมือง เจ้าชาย เทพ เจา้ หญิง ฯลฯ มคี ู่ครองอยู่แล้วหรือมเี หตทุ ไ่ี มส่ ามารถ รักกันได้ เช่น ต่างเผ่าพันธ์ุ ฯลฯ สาเหตุดังกล่าวท้าให้เกิดเภทภัยจากค้าสาปแกต่ ัวละครฝ่ายใดฝา่ ย หน่ึง ท้งั สองฝา่ ยหรอื สง่ ผลสู่ตัวละครผูช้ ว่ ยด้วย อนภุ าคการลงโทษจากรกั ตอ้ งหา้ มส่วนหนึ่งจึงสัมพันธ์ กับการกลายรา่ ง ดงั ทพ่ี บว่าผ้ไู ดร้ ับโทษจากความรกั ต้องห้ามกก็ ลายเป็นดอกไมด้ งั ท่ปี รากฏในเรือ่ งฤดู ดาวหรือกุหลาบรตั ติกาล หรือกลายเป็นหินในเรือ่ งเคหาสน์นางคอยด้วย อย่างไรกด็ ี การกลายร่าง บางสว่ นท่ีมิไดเ้ กิดจากการความรักต้องห้ามเสมอไป แตอ่ าจเกิดจากการกระทา้ ผดิ ของผู้ปกครองดังที่ พบในวังพญาพราย ตัวละครที่เกี่ยวข้องได้กลายเป็นผพี รายเฝ้าวังน้าแหง่ นั้น ส่วนเจ้าเมอื งที่กระทา้ ผิดก็ต้องทนทุกข์จากค้าสาปที่ตกทอดมาแก่ทายาทด้วย อนุภาคเมืองล่มจากการกระท้าผิดของ ผปู้ กครองกอ็ าจเป็นรปู แบบการลงโทษอย่างหนึ่งดว้ ยเช่นกัน จากอนุภาคท้ังสามสามารถสกัดหาอนุภาคหลักในเรื่องเล่าเชิงคติชนท่ีอธิบายความ เป็นมาของสถานท่ีได้ว่า เรื่องเล่าเชิงคติชนเหล่าน้ีล้วนแล้วมีเน้ือหาเก่ยี วพันกับ “การลงโทษ” จาก “การกระท้าผดิ ของผู้มีอา้ นาจ” หรือ “ความรกั ต้องหา้ ม” การลงโทษส่งผลตามมา คือ ความอาฆาต การยึดติด การรอคอย รวมไปถึงการรอให้อีกฝ่ายยกโทษให้อีก หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงว่า เร่ืองเล่าเชงิ คติชนที่อธิบายความเปน็ มาของสถานทมี่ เี น้อื หาร่วมกันท่อี ธบิ ายความเป็นมาของสถานทใี่ นเร่ือง โดย เนื้อหาหลกั แสดงกระทา้ ผิดของผอู้ า้ นาจหรือความรักตอ้ งห้ามจนน้ามาสกู่ ารลงโทษ และเรอื่ งเล่าจบ ด้วยความอาฆาตหรอื การรอคอยเพื่อการแก้ไข และรอใหอ้ ีกฝ่ายยกโทษ 2.3.2.2 การนา้ เสนอเป็นเร่อื งเลา่ เชิงคติชนท่สี มั พนั ธ์กับตา้ นานและความเชอ่ื ขณะท่ีเรื่องเลา่ เชิงคติชนกล่มุ แรกสัมพันธ์กับการอธบิ ายสถานทีใ่ นทอ้ งถิ่นหน่ึงๆ เรือ่ งเล่า เชิงคตชิ นกลุ่มทสี่ องมเี น้อื หาสมั พนั ธก์ ับตา้ นานทอี่ ธบิ ายสรรพสงิ่ ต่างๆ โดยมคี วามเชอื่ และสง่ิ ศักด์สิ ิทธ์ิ เข้ามาอธิบาย เช่ือมโยงกับศาสนากับความศักดิ์สิทธิ์ เรื่องเล่าเชิงคติชนกลุ่มนี้พบในคชาปุระและ นครไอยรา ดังท่ีนวนิยายเรื่องน้ีกล่าวถงึ ตา้ นานน้าทว่ มโลกท่อี า้ งอิงตา้ นานเรือโนอาห์ในความเชื่อของ ครสิ ตศาสนิกชน และอ้างถึงต้านานเก่ยี วกับการก้าเนดิ ช้างในต้าราคชศาสตรท์ ีเ่ กยี่ วพนั กับความเชื่อใน ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู รวมไปถงึ การนา้ ตวั ละครในต้านานปรัมปรากรีกมาผสมผสานกับความเชือ่ ไทย เร่อื งเล่าเชงิ คตชิ นที่สัมพันธ์ต้านานเหล่านี้ทั้งตา้ นานน้าท่วมโลก ตา้ นานปรัมปรากรกี และ ต้านานปรัมปราท่ีบ่งบอกที่มาของการก้าเนิดช้างสี่ตระกูลน้ันบ่งบอกแสดงเน้ือหาร่วมกัน คือ การ อธบิ ายสรรพส่ิงที่ล้วนสัมพนั ธก์ ับพระเจ้าท้งั สนิ้ ดังที่พระเจา้ มีพลังอ้านาจในการบนั ดาลสรรพสงิ่ ต่างๆ
75 โดยอ้านาจของพระเจา้ ที่ได้รับการเน้นย้าในนวนยิ ายเรือ่ งน้ี คือ อา้ นาจ “การลงโทษ” แกม่ นุษย์ ดังที่ พบในต้านานเรอื โนอาห์ซึ่งเปน็ สว่ นส้าคญั ของนวนิยาย พงศกรได้ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ พระเจา้ ต้องการลงโทษ มนุษย์ท่มี ัวเมาและหา่ งเหนิ จากศีลธรรม หรอื ในตา้ นานปรมั ปรากรีกเกย่ี วกับกล่องแพนโดรา่ ยงั แสดง ถึงอ้านาจการลงโทษที่พระเจ้าสง่ ความช่ัวรา้ ยมาสู่โลกมนุษย์ เพราะการไม่ยอมเชื่อฟังหรือ ท้าทาย พระเจา้ ลกั ษณะดงั กล่าวนแ้ี สดงใหเ้ ห็นชัดว่า เร่อื งเล่าท่ีเกยี่ วกับต้านานในคชาปุระและนครไอยรามี เนื้อหารว่ มกนั คือ “การลงโทษแก่มนุษย์ทกี่ ระท้าผิด” ขณะเดียวกัน เร่ืองเลา่ ไดแ้ สดง “ความหวงั ” แก่มนุษย์ให้แก่ไขตนเอง ดังท่ีปรากฏในเร่ืองเรอื โนอาหท์ ่ีเรอื โนอาหเ์ ป็นทางรอดเดยี วของมนุษยชาติ หรือสง่ิ เดียวท่ยี ังเหลืออยูใ่ นกลอ่ งแพนโดร่าคือความหวงั ในแง่นี้ เรือ่ งเลา่ เชงิ คติชนทีส่ มั พันธ์กับตา้ นานจงึ มีเนอ้ื หาสอดคล้องกับเร่อื งเล่าเชงิ คติชน ท่ีอธิบายความเป็นมาของสถานท่ี เพราะเร่ืองเลา่ เชิงคติชนทั้งสองลว้ นเกี่ยวข้องกับการลงโทษอย่าง เด่นชัด และสาเหตุการลงโทษดังกล่าวนี้ก็มาจากการกระท้าผิดของมนุษย์ด้วยกันท้ังส้ิน แต่ส่ิงท่ี แตกต่างกัน คอื การลงโทษในเรอื่ งเล่าเชงิ คติชนที่อธบิ ายความเป็นมาของสถานที่แสดงถงึ การลงโทษ ระหวา่ งมนุษยด์ ้วยกนั อันสร้างความอาฆาตและการรอคอยให้เกดิ การยกโทษ ส่วนเรอื่ งเลา่ เชงิ คติชน ที่สัมพันธ์กับต้านานเป็นการลงโทษที่เกิดจากพระเจ้าท่กี ระท้าต่อมนุษย์ และจบลงด้วยความหวงั ให้ มนุษยแ์ กไ้ ขตน นอกจากเร่ืองเล่าท่ีสัมพันธ์กับต้านานแล้ว นวนิยายของพงศกรยังสอดแทรกความเช่ือ อ่ืนๆ ท่ีสัมพันธ์กับผี เสฐียรโกเศศ (2515, 307-308) อธิบายไว้ว่า ผีเป็นส่ิงท่ีมนุษย์เกรงกลัวและ บางครั้งต้องนับถือ เน่ืองจากมนุษย์ไม่สามารถอธิบายด้วยปัญญาหรอื เหตุผล เม่ือเป็นเช่นนี้จงึ ท้าให้ มนุษยเ์ ขา้ ใจวา่ ส่ิงนั้นเปน็ ผีหรอื เปน็ การกระทา้ ของผี ความเชอื่ และการนบั ถือผีมปี รากฏแทบทกุ สงั คม ดั้งเดิมก่อนที่ความเช่ือทางศาสนาจะเข้ามา การนับถือผีในบางครั้งจึงเรียกว่าความเชื่อด้ังเดิม (animism) โดยปรชี า ชา้ งขวัญยนื และสมภาร พรมทา (2556, 59) สรุปสาระรว่ มกนั ของความเช่ือนี้ ว่าความเช่ือเร่ืองผี วิญญาณ หรือส่ิงศักด์ิสิทธ์ิเหล่าน้ีล้วนสมั พนั ธ์กับอ้านาจของธรรมชาติซึง่ เกินกวา่ ความรับรขู้ องมนุษย์ มนษุ ย์จึงต้องสร้างความเชอ่ื มาอธบิ ายสง่ิ ต่างๆทเ่ี ราไมร่ ้นู ่ันเอง ความเช่ือด้ังเดิมปรากฏชัดในนวนิยายเร่ืองสร้อยแสงจันทร์ ฤดูดาว วังพญาพราย คชาปุระ-นครไอยรา ในนวนิยายสองเร่ืองแรกน้าเอาผีในความเช่ือของชาติพันธุ์กูยและเย้ามาใช้ ตามล้าดบั สังเกตได้วา่ ผขี องกล่มุ ชาตพิ ันธ์ุเหล่านีล้ ้วนสัมพนั ธ์กับธรรมชาติรอบตวั อยา่ งใกลช้ ิด ดงั เชน่ ใน ฤดูดาว ชาวเยา้ ไมไ่ ดน้ บั ถอื พุทธศาสนาหรอื ศาสนาหลกั อื่นๆ หากแต่ยงั คงด้ารงชีวิตด้วยการนบั ถอื ผีและมีความผูกพันกับความเชื่อเรื่องผี “คนที่นี่นับถือดวงวิญญาณและภูตผี คนเย้ามีผีท่ีเคารพอยู่ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นผีฟ้าหรือเมี่ยนหุ่ง ผีหลวงประจ้าหมู่บ้านหรือเจียหุ่งเมี้ยน ผีลมที่เรียกขานว่า สะเต๋ีย ผีป่าหรือลมเดียเมี้ยน ส่วนผีที่อยู่ในไร่ก็คือ เดียเม้ียน” (พงศกร 2555b, 161) ส่วนใน สร้อยแสงจันทร์ พงศกรถ่ายทอดให้เห็นว่าชาวกูยมีความเช่อื เกี่ยวกับผีปตู่ าท่ีคุม้ ครองและให้คุณโทษ
76 ได้ชัดเจน นวนิยายสองเรื่องนี้ยังน้าเอาความเช่ือเรื่องผีหรือความเชื่อด้ังเดิมมาอธิบายถึงบ่อเกิดของ พิธีกรรมต่างๆ ท่ีปรากฏในเรื่อง หรือเป็นการน้าความเช่ือมาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมผ่านระบบ สัญลักษณ์ต่างๆ เช่น ภาษา ท่าทาง การแสดง เป็นต้น ดังท่ีเห็นว่ามีพิธีกรรมเกี่ยวกับการบูชาผีที่ ปรากฏในนวนิยายท้งั สองเร่ืองนเ้ี กีย่ วขอ้ งโดยมีความเชอ่ื เรอ่ื งผีเป็นหลัก ในสรอ้ ยแสงจนั ทร์และฤดดู าวยังมคี วามเช่ือเรอ่ื งเทพหรอื สงิ่ เหนือธรรมชาตอิ ื่นๆ อย่างใน สร้อยแสงจนั ทร์มคี วามเชือ่ เรอ่ื งบังบดที่แม้ไม่ใชค่ วามเช่อื เหนือธรรมชาติของชาวกยู โดยตรง แต่เป็นผี ท่ีมีอยู่รว่ มกันของชาวอสี าน ประกอบกบั ตัวละครเรอ่ื งน้ียังมี “สางไพร” ซึ่งพงศกรจินตนาการขึ้นให้ เป็นผีที่เป็นฝ่ายร้าย ในฤดูดาว พงศกรยังนา้ ความเชื่อเรอ่ื งแถน ซึ่งมีสถานะเปน็ เทพเจ้าในความเชอื่ ร่วมกนั ของชาวเหนอื และชาวอสี านมาดัดแปลง เห็นได้ชดั วา่ ในนวนิยายสองเร่ืองน้มี คี วามเชื่อเรื่องผี ท่ีใกล้เคียงกันคือ มีทั้งผีในความเชื่อของกลุ่มชาติพันธุ์หน่ึงๆ และผีท่ีอยู่ในความรับรู้ร่วมกันของคน เหนอื และคนอสี านมาผสานกนั ก่อนมกี ารดัดแปลงข้นึ มาใหม่ ส่วนในวังพญาพรายและคชาปุระ-นครไอยรา พงศกรได้หยิบยกเอาความเช่ือเร่ืองผี พรายมาใช้เหมือนกัน แต่รายละเอียดแตกต่างกัน ผีท่ีอยู่ในการรับร้ขู องคนไทยโดยทั่วไปซ่ึงเป็นผที ่ี ผูกพันกับสายน้า จุดเด่นของการน้าความเช่ือเร่ืองผีพรายมาใช้ก็ถือว่าปรากฏในรูปของตัวละครผี พรายในเรื่องท่ีมีการผสมผสานให้มีลักษณะใหม่โดยยังคงเค้าผีท่ีอาศัยอยู่ในน้าด้วย อันแสดงถึง ความสมั พันธ์ระหวา่ งความเช่อื หรอื ความหวาดกลัวภยั ท่มี าจากสายน้าน่ันเอง เมื่อพิจารณาเนื้อหาร่วมในเรื่องเล่าเชิงคติชนท่ีสัมพันธ์ กับต้านานและความเชื่อพบว่า เนื้อหาเรื่องเลา่ กลุ่มนี้ปรากฏในนวนยิ ายเพ่อื แสดงกศุ โลบายต่อการอยรู่ ว่ มกบั ธรรมชาติรอบตัว ดังที่ ความเช่ือเรื่องผี เทวดาหรือพิธีกรรมที่สอดแทรกอยู่ในนวนิยายของพงศกรเป็นชุดค้าอธิบาย ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตริ อบตัว อธบิ ายความไมร่ หู้ รือยังไมร่ ู้ในเวลานน้ั ๆ รวมไปถงึ ความเชอ่ื มีสว่ น ก้าหนดวถิ ปี ฏบิ ัติของตวั ละครในเร่อื ง ดงั เชน่ ในฤดดู าว ไดแ้ สดงลกั ษณะของความเชื่อเรอื่ งผไี วว้ ่า คนสมัยใหม่ส่วนมากมักกล่าวหาว่า การนับถือผีเป็นเรอ่ื งงมงายไรส้ าระ หากดรสากลับมี ความคดิ ท่ีตรงกนั ขา้ ม หญงิ สาวเชื่อวา่ การนับถอื ผเี ปน็ ภมู ปิ ญั ญาอันแยบยลของชาวบ้านใน สมัยก่อนมากกว่า การนับถือผี เคารพผีเป็นจารีต เป็นความเชื่อ เป็นเครื่องมือส้าคัญของ มนุษย์ที่ใช้จัดระเบียบในสังคม โดยไม่ต้องอาศัยต้ารวจหรือกฎหมายอย่างกับทุกวันน้ี (พงศกร 2555ข, 161) ข้อความขา้ งต้นสะทอ้ นลกั ษณะส้าคัญของความเชือ่ ด้งั เดิมประการหนึ่ง คือ “การเคารพ ธรรมชาติ” กล่าวคือ มนษุ ย์ในอดตี ไม่สามารถอธิบายถงึ สภาพแวดล้อมทงั้ ความร้อน ความมดื ความ หนาว ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติตา่ งๆ ได้ พวกเขาจงึ เกดิ ความสงสัยและหวาดกลัวภยั อันตรายจาก ธรรมชาติ สา้ นึกในอ้านาจของธรรมชาตกิ ่อให้เกดิ ความเคารพอา้ นาจธรรมชาตทิ ่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ตน และ
77 อาจน้ามาสพู่ ธิ ีกรรมเพือ่ บูชาธรรมชาติ เพราะธรรมชาตอิ าจส่งผลดแี ละผลร้ายแกม่ นุษยก์ ็ยอ่ มได้ เหตุ น้ี สิ่งเหนือธรรมชาติอย่างเชน่ ผจี งึ มที ัง้ ผีฝ่ายดีทใ่ี หค้ ณุ และผฝี า่ ยร้ายท่ีใหโ้ ทษ (ปรีชา ชา้ งขวญั ยนื และ สมภาร พรมทา 2556, 68) โดยนัยนี้ ความเชือ่ และพิธกี รรมสว่ นทีเ่ กย่ี วพนั กบั ความเชื่อด้งั เดิมใน นว นิยายของพงศกรจึงมีบทบาทอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและแสดงกลไกหลักในการควบคมุ สังคม โดยเฉพาะสงั คมชนบททีม่ ีทั้งใหเ้ คารพและเตือนภยั รวมถงึ แสดงคติธรรมเพอ่ื ชแ้ี นะการด้าเนิน ชวี ติ ของผคู้ นให้ควรประพฤตหิ รอื ละเวน้ ส่วนเร่ืองเล่าที่เก่ียวเน่ืองกับพระเจ้าท้ังความเช่ือเร่ืองการก้าเนิดโลกและน้าท่วมโลก ตลอดจนความเช่ือเร่ืองการก้าเนิดช้างและคติเก่ียวช้างที่เก่ียวเนื่องต่างๆ ถือว่ามีแก่นหลักในการ อธบิ ายธรรมชาติรอบตัวไมต่ ่างกนั เพยี งแตผ่ หี รอื วิญญาณท่ีอยใู่ นธรรมชาตไิ ดเ้ ปลย่ี นสถานะและเพ่ิม ความศักดส์ิ ิทธ์เิ ป็นเทพเจ้าวา่ เปน็ ผู้ใหถ้ อื ก้าเนิดและผทู้ ้าลาย กลา่ วคือ หากมองวา่ ความเชื่อเรอื่ ง พระ เจ้าไดพ้ ัฒนามาจากความเช่ือดัง้ เดมิ ก็จะทา้ ให้เราเข้าใจว่า ความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กับพระเจ้าไม่ ต่างจากความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั ธรรมชาตใิ นความเชื่อดง้ั เดิม เพราะมนุษย์ในอดีตอธิบายวา่ ส่งิ ท่ีพวกเขาไม่รู้เปน็ การกระทา้ ของผีหรอื เทพในธรรมชาติ จนสงิ่ เหนอื ธรรมชาตไิ ด้พฒั นาข้นึ เป็นศาสนา หลักและกลายเปน็ เทพเจ้าต่างๆ มีการอธิบายอยา่ งเป็นระบบดว้ ยแล้ว ความเชื่อดั้งเดิมกบั ความเชอ่ื เน่อื งในศาสนาจึงอาจไม่ต่างกัน หากมองในแนวทางนี้ พระเจ้าจงึ อาจเปน็ บุคคลวัต (personification) ของธรรมชาตทิ ี่มีอา้ นาจในการสร้าง ท้าลายและส่งผลกระทบตอ่ มนษุ ย์ การสะท้อนความย่ิงใหญข่ อง พระเจ้าจึงสะทอ้ นถึงความยิ่งใหญข่ องธรรมชาติรอบตัวท่ีมนุษย์ควรเอาใจใส่ ให้ความส้าคัญและให้ การเคารพ โดยนยั น้ยี อ่ มเข้าใจได้วา่ น้าท่วมโลกจากอ้านาจของพระเจา้ เพื่อลงโทษมนษุ ย์ทีก่ ระท้าผิด จึงไม่ต่างไปจากการลงโทษของธรรมชาติเมื่อมนุษยล์ ะเลยจากศีลธรรมหรอื ไม่ใส่ใจธรรมชาติ ก้าเนดิ ช้างและคติเกี่ยวกับช้างยังแสดงให้เหน็ ถึงความศักด์ิสทิ ธิ์ของสัตว์ชนดิ นี้ท่ีมาจากเทพเจา้ และชีใ้ ห้เห็น ความสา้ คัญของช้างด้วย กล่าวไดว้ ่า เรือ่ งเลา่ เชิงคติชนที่สัมพันธ์กบั ต้านานและความเชอ่ื ล้วนแลว้ แต่สะท้อนการอยู่ ร่วมกันกับธรรมชาติอย่างกลมกลนื ช้ีให้เห็นแก่นของความเช่ือที่บ่งบอกถึงส่ิงทคี่ วรทา้ เพอื่ ใหม้ นษุ ย์ และสังคมด้าเนินไปได้อย่างเป็นสุข โดยความเช่ือเร่ืองด้ังเดิมได้สะท้อนกุศโลบายเพื่ออธิบาย ปรากฏการณ์ต่างๆท่ีมนุษยไ์ ม่สามารถอธบิ ายได้ เป็นกลไกในการควบคมุ สังคม บง่ บอกวา่ สงิ่ ใดควรทา้ หรอื สิ่งใดควรหลีกเลยี่ ง สอดคลอ้ งกบั เรื่องเล่าทเี่ กี่ยวกบั ตา้ นานท่เี น้นให้เหน็ ความส้าคญั ของพระเจา้ ที่ ให้ก้าเนิดและการท้าลายสรรพส่งิ บนโลกมนุษย์ได้ เพ่ือบอกว่าหากขาดจิตส้านึก ขาดคุณธรรมหรือ ละเลยความส้าคญั ตอ่ ธรรมชาติรอบตัวที่ทรงประทานมาอาจก่อใหเ้ กิดการลงโทษได้
78 2.3.2.3 การนา้ เสนอเป็นเรื่องเลา่ เชิงคติชนทสี่ ัมพันธ์กบั ครอบครวั ของตัวละคร เรอ่ื งเลา่ เชิงคติชนกลุม่ ทีส่ ามพบในกุหลาบรตั ติกาล พงศกรเล่าถึงกลุ่มคนไทใหญ่ผา่ นการ ยกขอ้ มูลจากประวัตศิ าสตร์มาใช้ หากประวตั ิศาสตรด์ งั กล่าวน้ันได้รับการถ่ายทอดออกมาในรูปแบบ ของเรื่องเล่าแบบมุขปาฐะผา่ นส้านวนการเล่าของเจา้ นวลตอง พ่ีสาวของเจา้ แหวนแกว้ ทยี่ ังมชี วี ติ อยู่ ประกอบกบั บนั ทกึ ท่ภี าวรีและดร.ชุษณะค้นพบในห้องท้างานของเจ้าแหวนแก้วทบี่ ันทึกเรอื่ งราวการ กู้ชาติของไทใหญ่ เหตุน้ีแม้พงศกรน้าประวัติศาสตร์มาเป็นข้อมูล แต่พงศกรได้ท้าให้ประวัติศาสตร์ กลายเป็นเรื่องเล่าที่สืบต่อกันมา มิได้น้าประวัติศาสตร์เป็นฉากหลักหรือใช้ประวัติศาสตร์เป็นส่วน ส้าคัญของโครงเรอื่ ง ท้าให้เร่อื งเล่าทางประวัติศาสตรเ์ ป็นเรอื่ งส่วนตัวภายในครอบครัวของตัวละคร เอก ผวู้ ิจยั จะเรียกเรอื่ งเลา่ นี้ว่า “เร่ืองเล่าในครอบครวั ” ต่อไป เรื่องเล่าในครอบครัวอาจเทียบเคียงได้กับข้อมูลคติชนท่ีไหลเวียนในสังคมซ่ึงเรียกว่า “คติชนในครอบครัว” (family folklore) กล่าวคือ ถ้ามองว่า folk หมายถึงกลุ่มคนใดๆ ก็ได้ที่มี ลักษณะร่วมกันบางประการท่ีท้าให้กลุ่มคนนั้นมีอัตลักษณ์เฉพาะกลุ่ม เรื่องเล่า เพลงร้องเล่นหรือ ประเพณีบางอย่างทีถ่ า่ ยทอดในแต่ละครอบครัวจงึ นับเป็นคตชิ นไดอ้ ยา่ งหนึง่ (ศริ าพร ณ ถลาง 2552, 422) เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะ ครอบครัวเป็นกลุ่มคนพ้ืนฐานของมนุษย์ท่ีมิได้มีหน้าท่ีเพียงสืบทอด ทายาทเท่าน้ัน หากภายในครอบครัวยังมีการขัดเกลาภายในท่ีส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่นด้วย คติชนใน ครอบครัวจึงแสดงอัตลักษณร์ ว่ มกันจากการแสดงออกหรือผลผลิตท่สี ง่ ต่อกันภายในสมาชกิ ครอบครัว อาจเป็นเรื่องเลา่ การละเล่น เทศกาล งานศพ งานแต่งงาน ฯลฯ (McCormick and White 2011, Vol.2, 476-482) เรื่องเล่าภายในครอบครัวของภาวรีในกุหลาบรัตติกาลถอื ว่ามีความส้าคัญต่อตัวละครเอก เพราะเรื่องเล่านี้เล่าถึงความเป็นมาของตระกูลและวีรกรรมต่างๆที่สะท้อนถึง “ราก” ของภาวรี รากของภาวรีมีส่วนส้าคัญต่อพัฒนาการของเรื่อง ดังท่ีนวนิยายเปิดเร่ืองด้วยสภาวะของภาวรีท่เี พง่ิ สูญเสยี พ่อแม่ไปพรอ้ มกัน แล้ววันหน่ึงหล่อนพบวา่ หล่อนมสี ายเลอื ดไทใหญ่ เพราะเจา้ ยายของหล่อน ได้มอบมรดกคมุ้ คีรีคา้ ใหห้ ลอ่ น หล่อนมิได้ใส่ใจในความเป็นไทใหญ่ของตนและตอ้ งการขายคมุ้ เสีย แต่ เม่ือเดินทางไปถึงคุ้มคีรีค้า ความย่ิงใหญ่ของคุ้มท้าให้หลอ่ นเร่มิ มองเหน็ ถึงความยิ่งใหญ่ในอดีตของ บรรพบุรุษตน ยิ่งทราบความเป็นมาของคุ้มท่ีสรา้ งข้ึนด้วยความรักและความยากล้าบากของเจา้ ตา และเจ้ายายของหล่อนจากเจ้านวลตองยิ่งท้าให้ภาวรีเริ่มซาบซึ้งในความเปน็ มาของตนเองมายิง่ ขึ้น รวมถึงคุ้มคีรีค้านี้ “เจ้าขุนสิงห์รักแหวนแก้วมาก เลยจ้าลองแบบหอค้าเมืองยองห้วยมาสร้างเป็น คฤหาสน์ใหญบ่ นม่อนผาเมงิ แล้วต้ังช่ือว่าคุ้มคีรีค้า … เขาสามารถจ้าลองเอาหอค้ามาไว้ทีน่ ั่นได้แทบ จะไม่มีอะไรผิดเพ้ียน ฉันไปเหน็ เข้ายังต้องตกตะลึง เพราะนึกว่าได้กลับไปบ้านของตัวเองท่ียองห้วย คุ้มคีรีค้าเหมือนกับหอค้าทุกกระเบียดน้ิว ถ้าจะมีอะไรท่ีแตกต่างออกไป ก็เห็นจะเป็นสวนกหุ ลาบท่ี
79 แหวนแกว้ หลงใหลน่ันละกระมัง...” (พงศกร 2555ก, 130-131) สังเกตไดว้ า่ การจ้าลองหอค้าที่เมอื ง ยองหว้ ยมาเปน็ คมุ้ คีรคี ้าแสดงให้เห็นถึงความพยายามรกั ษาสถานะความเป็นเจ้านายของตระกลู ภาวรี แม้พวกเขาพลัดถิน่ ฐานบา้ นเกิดมาอยู่ในดินแดนใหม่ก็ตาม คุ้มคีรีค้าจงึ เปรียบเสมอื นการจ้าลองและ รักษาอัตลักษณ์ความเป็นเจ้านายไทใหญ่ การเดินทางมายังคุ้มคีรีค้าของภาวรีจึงเหมือนกับการ เดนิ ทางมาสัมผัสอัตลักษณ์เจา้ นายไทใหญจ่ ากเมอื งยองห้วยท่ีถกู จ้าลองมา ความภาคภูมิใจในประวัติความเป็นมาของหล่อนน้ันยังปรากฏผ่านการพบบนั ทกึ สว่ นตัว ตลอดจนเอกสารตา่ งๆที่หลอ่ นพบ “เป็นข้อมูลเรอ่ื งการกชู้ าติของไทใหญ่...ใครๆคิดว่าทา่ นหนีจากยอง ห้วยมาอยเู่ มืองไทย แต่ท่ีจริงแลว้ ไมใ่ ช่การหนี แต่เป็นการย้ายมาตง้ั หลกั มากกว่า จริงอย่างท่คี ุณเคย สันนิษฐาน เจ้าขุนสิงห์ คุณตาของคุณใช้คมุ้ คีรคี ้าเปน็ ทมี่ ่ัน คอยส่งเสบียง อาวุธและสง่ ข่าวสารใหก้ ับ กองก้าลังกู้ชาติมาโดยตลอด” (พงศกร 2555ก, 197) การค้นพบดังกลา่ วย่ิงเป็นการตอกยา้ ใหภ้ าวรี ภาคภูมิในบรรพบุรุษมากย่ิงข้ึน ด้วยเหตุนี้เม่ือภาวรี“ได้เรียนรเู้ ร่ืองราวเบ้ืองหลังความพยายามของ เจา้ แหวนแก้วและเจา้ ขุนสงิ ห์ ทีอ่ ุตสา่ หม์ านะสร้างคฤหาสน์ขนาดใหญข่ นึ้ ท่ามกลางป่าเขาพงไพร เพื่อ เป็นฐานส่งเสบียงและข่าวสารให้กองก้าลังกู้ชาติไทใหญ่ ภาวรีจึงเพ่ิงตระหนักถึงความผูกพันใน สายเลือดของชาวยองห้วย ซึ่งไหลวนเป็นส่วนหนึ่งในกายของเธอ” (พงศกร 2555ก, 363) การ นา้ เสนอรากของภาวรียังมีส่วนต่อการนา้ เสนอภาพด้านบวกของไทใหญอ่ อกมาสูผ่ ู้อา่ น การเลา่ ถึงชาว ไทใหญใ่ หภ้ าวรเี รยี นร้กู ็เปน็ กลวิธหี น่ึงที่จะถ่ายทอดประวตั ศิ าสตร์การต่อสู้ของไทใหญ่สู่ผอู้ ่านนนั่ เอง เรอ่ื งเลา่ ภายในครอบครวั นับว่าสอดคลอ้ งกบั เร่ืองเลา่ เชงิ คติชนท่ีอธบิ ายความเปน็ มาของ สถานที่ เพราะเร่ืองเล่าเชิงคติชนทั้งสองกลุม่ น้ีบ่งบอกถึงรากของคนและชุมชนท่ีสืบทอดต่อมาจาก อดีตไมต่ า่ งกนั ขณะท่ีเรือ่ งเลา่ ทอ่ี ธบิ ายความเปน็ มาของสถานท่ีจะใหร้ ายละเอียดของเหตุการณ์ที่เคย เกิดขึ้นในอดีตจนเป็นที่มาของชื่อสถานที่ในท้องถิ่น ส่วนเรื่องเล่าภายในครอบครัวของภาวรีมีส่วน อธิบายความมาของสถานทค่ี ือค้มุ คีรีคา้ ในเรอื่ งและยังบ่งบอกความเปน็ มาของตัวละครเอกทมี่ ีรากสืบ มาจากอดตี นนั่ เอง โดยสรุปแล้ว การนา้ เสนอเรื่องเลา่ เชงิ คตชิ นทีแ่ ทรกอยู่ในนวนิยายของพงศกรแบ่งไดส้ ามกลมุ่ ไดแ้ ก่ เรื่องเลา่ ที่อธิบายความเปน็ มาของสถานท่ี เรื่องเลา่ ท่ีสมั พนั ธก์ ับตา้ นานและความเชื่อ และเรื่อง เล่าภายในครอบครัวตัวละครเอก เร่ืองเลา่ ทง้ั สามกลมุ่ ล้วนมีจุดรว่ มกัน คือ การให้คา้ ตอบถึง “ความ เป็นมาของผู้คนและสังคม” ว่าสถานที่เกิดในท้องถิ่นเกิดมาได้อย่างไร ตัวละครมีท่ีมาจากไหน ค้าอธิบายส่วนใหญ่แสดงถึง “การลงโทษจากการกระท้าผิดของมนุษย์” ดังที่เรื่องเล่าเชิงคติชนท่ี อธิบายความเป็นมาของสถานที่กล่าวถึงการลงโทษระหว่างมนุษย์ด้วยกันท่ีสร้างความทุกข์ ความ พยาบาท การรอคอยและความหวังเพ่ือการแก้ไขตอ่ มา สว่ นเรื่องเล่าเชงิ คติชนกลุ่มต้านานและความ เชื่อแสดงถึงอ้านาจของส่ิงเหนือธรรมชาติที่อาจลงโทษมนุษย์เม่ือกระท้าผิด ท้ายที่สุด เร่ืองเล่าเชงิ
80 คติชนยังเป็นกุศโลบายให้เห็นว่า หากป้องกันไม่เกิดการลงโทษ “การอยู่ร่วมกันกับธรรมชาติอย่าง กลมกลนื ” เป็นทางออก เร่อื งเลา่ เชงิ คติชนมหี น้าทบ่ี ่งบอกว่าสิ่งใดควรหลกี เลยี่ งหรอื ควรกระทา้ เม่อื เปน็ เช่นนขี้ ้อมลู เชงิ คตชิ นในนวนิยายของพงศกรจงึ นา้ เสนอบทบาทของขอ้ มูลเชิงคติชนทีใ่ หท้ ั้งคา้ ตอบ วา่ “เราเป็นใคร” และ “เราจะอย่รู ว่ มกนั อย่างไร” นนั่ เอง จากการศึกษาขอ้ มูลเชิงคตชิ นในนวนิยายในบทที่ 2 ทง้ั หมดน้สี ามารถสรปุ ลักษณะสา้ คญั ของ ข้อมลู เชิงคตชิ นในนวนิยายของพงศกรได้วา่ ข้อมูลเชิงคติชนในนวนยิ ายของพงศกรประกอบสรา้ งจาก ข้อมูลหลายประเภท ท้ังข้อมูลคติชนประเภทเร่ืองเล่าพ้ืนบ้าน ความเช่ือและขนบธรรมพื้นบ้านจาก หลายกลุ่มชาติพันธุ์ หลายชาติทั้งไทยและต่างชาติ เรียกได้ว่าข้อมูลเชิงคติชนมีท่ีมาจาก “คติจาก หลายชน” และ “คติชนจากหลายชาติ” นอกจากนี้ พงศกรยังน้าข้อมูลประเภทวรรณคดีและ วรรณกรรมไทย ประวตั ิศาสตร์และขอ้ มลู เบ็ดเตลด็ อ่นื ๆ เขา้ มาผสมผสานจนกลายเปน็ ข้อมลู เชิงคตชิ น โดยพงศกรประกอบสรา้ งข้อมูลเชิงคตชิ นนนั้ ส่วนใหญม่ าจากจนิ ตนาการที่ต่อยอดจากข้อมูลเดิมและ ท้าใหเ้ กดิ ความเปน็ ไปได้จนเกิดความสมจริงให้ผู้อา่ นคลอ้ ยตาม การสรา้ งขอ้ มลู เชงิ คติชนจงึ ไม่เกิดจาก ความว่างเปลา่ เพราะเกดิ การผนวกขอ้ มลู เดมิ แลว้ ต่อยอดจากจินตนาการเข้าไปทา้ ใหข้ อ้ มลู ดังกล่าวมี ลักษณะคล้ายคลึงกบั ข้อมูลคติชนที่ไหลเวียนในสงั คม พงศกรน้าเสนอข้อมูลเชิงคติชนทีเ่ ปน็ เร่ืองเล่า เชิงคติชนที่แทรกอยู่ในนวนิยาย ท้ังเป็นเรอ่ื งเล่าที่อธิบายความเป็นมาของสถานท่ีในเรอื่ ง เรื่องเล่าที่ สัมพนั ธ์กับต้านานและความเช่ือ และเร่ืองภายในครอบครวั ของตวั ละครเอก ข้อมลู เชงิ คติชนเหลา่ นี้มี เน้ือหาร่วมกันที่สะท้อนความเป็นมาของคนหรือชุมชน สะท้อนการลงโทษจากการกระท้าผิดของ มนุษย์ และเสนอแนะการอยรู่ ่วมกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน โดย “สาร” ดังกล่าวท่ปี รากฏในข้อมูล เชิงคติชนในนวนิยายของพงศกรมีผลต่อการประกอบสรา้ งของนวนิยายตั้งแต่โครงเรือ่ ง การสร้างตัว ละครและฉากไปจนถึงการน้าเสนอแนวคิดของนวนิยายดงั ท่ีกลา่ วถึงในบทถัดไป
บทท่ี 3 การนาข้อมลู เชงิ คตชิ นมาประกอบสร้างเปน็ นวนิยายของพงศกร ในบทน้ีผู้วิจัยจะอภิปรายบทบาทของข้อมูลเชิงคติชนต่อการประกอบสร้างนวนิยายของ พงศกรซึ่งพบว่า ข้อมูลเชิงคติชนมีบทบาทส้าคัญทั้งการประกอบสร้างโครงเร่ือง ตัวละครและฉาก ดงั นี้ 3.1 การนาขอ้ มลู เชงิ คติชนมาประกอบสรา้ งโครงเรือ่ ง โครงเร่ือง (Plot) คือ ล้าดับเหตุการณ์ที่น้าเสนอสู่ผู้อ่าน (order of presentation) ล้าดับ ของเหตุการณ์อาจเล่าอย่างตรงไปตรงมา สลับไปมา ย้อนอดีต สลับผู้เล่าหรอื วิธีอื่นๆ ก็ได้ จุดส้าคญั คือ โครงเรื่องต้องมีความเปน็ เหตุเปน็ ผล (sense of causality) ที่ท้าให้เหตกุ ารณ์แตล่ ะสว่ นสัมพันธ์ กัน โดยโครงเรื่องแตกต่างจากเน้ือเรื่อง (story) ตรงที่เนื้อเร่ืองเปรียบเหมือนเรื่องย่อ (summary) ท่ีเล่าตามล้าดับเวลาซึ่งผู้อ่านเรียบเรียงได้ภายหลังอ่านเรื่องท้ังหมด (อิราวดี ไตลังคะ 2543, 5-6, Peck and Coyle 2002, 122-123) การจัดเรียงเหตุการณ์ในโครงเร่ืองมีผลต่อการเสนอเรื่องท่ีแตกต่างกันออกไป ดังเช่น วรรณกรรมแนวสืบสวนสอบสวน มักเปดิ เรอื่ งจากคดอี าชญากรรม ก่อนท่เี รื่องจะเล่ายอ้ นให้เกดิ ความ น่าสงสัยเพื่อหาร่องรอยของผ้กู อ่ อาชญากรรม ผ่านการสลับเวลากลับไปมาบา้ ง การพบรอ่ งรอย พบ ผู้ต้องสงสยั จนค้นพบตัวผู้กระท้าผดิ ในตอนท้าย เป็นต้น การจัดเรยี งล้าดับเหตุการณใ์ นโครงเรือ่ งมี ส่วนเร้าความรู้สึกของผู้อ่านให้อยากติดตามและมีผลต่อการน้าเสนอแนวคิดในตอนจบ โดยการ วิเคราะห์กลวิธีการประกอบสรา้ งโครงเรือ่ งจ้าเป็นต้องพิจารณา “การจดั เรียงล้าดับเหตกุ ารณ์” และ “เหตุผลทเ่ี ช่ือมโยง” ลา้ ดบั เหตุการณ์เป็นหลกั 3.1.1 โครงเรื่องหลกั ในนวนิยายของพงศกร เมื่อวิเคราะห์การจดั เรยี งลา้ ดับเหตุการณ์และเหตผุ ลท่ีใช้เช่ือมโยงเหตุการณ์ในนวนิยายของ พงศกรแลว้ พบวา่ นวนิยายของพงศกรมีโครงเรอื่ งไปในทิศทางเดียวกัน นวนิยายของพงศกรทุกเรอ่ื ง ประกอบด้วยชุดเหตกุ ารณ์หลักร่วมกัน ได้แก่ การเปดิ เรื่องดว้ ย “เหตกุ ารณ์การเดนิ ทาง” การเดินทาง ท้าให้ตวั ละครเอกเจอเหตุการณป์ ระหลาดที่ยงั หาคา้ อธิบายไมไ่ ดแ้ ละกลายเปน็ แรงกระตุ้นน้าตัวละคร เอกไปสู่ “เหตุการณ์การค้นหา” การค้นหาถือเป็นจดุ เริม่ ต้นของความขัดแย้ง (conflicts) และการ ค้นหาก็น้ามาสู่ “เหตุการณ์การค้นพบ” จากการค้นหาและค้นพบก็น้ามาสู่ “จุดสูงสุดของความ ขัดแย้ง” (climax) ที่ตัวละครต้องเผชิญเพื่อแก้ไขความขัดแย้งให้ยุติลง การยุติความขัดแย้งน้ามาสู่ “เหตุการณ์การพบค้าตอบ” ท้ังชีวิตส่วนตัว คือ การค้นพบสัจธรรมในชีวิต และค้าตอบเพื่อสังคม
82 สว่ นรวม ค้าตอบเหล่านเี้ ป็นการคลคี่ ลายความขัดแยง้ ลง โดยชุดเหตุการณ์หลกั ในนวนิยายของพงศกร สามารถแสดงเป็นแผนภาพดังภาพท่ี 7 ดงั น้ี จุดสูงสดุ ของความขดั แยง้ การเดินทาง เดินทางกลับ/ย้ายมาอาศยั ในพ้ืนที่ ภาพท่ี 7 แผนภาพแสดงทิศทางในโครงเรือ่ งหลกั ของนวนิยายพงศกร จากแผนภาพขา้ งตน้ อธบิ ายได้ว่า โครงเรอื่ งหลกั ของนวนิยายทกุ เรอื่ งเรม่ิ ตน้ ด้วยการเดินทาง และมักเป็นการเดินทางกลับ “บ้าน” ท่ีเคยจากไปนาน ท้ังบ้านท่ีเคยอยู่เมื่อสมัยเด็ก บ้านของ บรรพบุรุษท่ีไม่เคยรู้จกั หรอื บา้ นในอดีตชาติ โดยตัวละครเอกบางตวั ไมท่ ราบมาก่อนว่าตนเองมคี วาม ผกู พนั กบั สถานที่แห่งนีเ้ พียงใด สาเหตุของการเดนิ ทางของตวั ละครแตกตา่ งกนั แตอ่ าจสรปุ ได้ว่าเป็น การเดินทางเพื่อท้าภารกิจบางอย่าง เช่น ในสร้อยแสงจันทร์ พุทธิและเดือนเต็มดวงเดินทางมายัง หมู่บ้านเมืองปักษาเพ่ือตามหาเด็กท่ีหายไป ในฤดูดาว ดรสาเดินทางมายังผาช้างร้องเพื่อท้าไร่เชิง อนุรักษ์ต่อจากแม่ ในคชาปรุ ะและนครไอยรา คามิน อัยย์และพวกต่างต้องการเดินทางตามหาเมอื ง คชาปรุ ะเพอ่ื หาทางออกแกโ่ ลกทป่ี ระสบภัยธรรมชาติ เปน็ ตน้ การเดนิ ทางของตวั ละครไมไ่ ด้ราบร่นื เพราะตัวละครตา่ งตอ้ งเขา้ ไปเกีย่ วพนั กับปญั หาในพน้ื ท่ี นั้น และต้องเผชิญเหตุการณ์แปลกประหลาดเหนือธรรมชาติไปพร้อมกัน ช่วงเวลานี้เองท่ีท้าให้ ตัวละครเอกเร่ิมค้นหาและคน้ พบเรอ่ื งราวตา่ งๆ ได้แก่ ในเบื้องบรรพ์ มนี เดินทางไปเจอวรัณซึ่งก้าลัง ค้นหาเมืองเอกทะชิตา การขุดค้นของวรัณได้รับความช่วยเหลือจากสุกิจ ผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่น เร่ืองค่อยๆ เผยใหเ้ ห็นว่าสกุ ิจหวังผลประโยชน์จากสมบัติท่ีวรณั พบแลว้ จะครอบครองมาเปน็ ของตน ขณะเดียวกันการเดินทางของมีนยังท้าใหห้ ล่อนเร่ิมฝันประหลาดเก่ียวกับเร่อื งผาแดงนางไอ่อันเป็น จุดเร่ิมต้นให้มีนค้นหาอดีตชาติของตน ในสร้อยแสงจันทร์ พุทธิพบเด็กชายท่ีตามหา พร้อมกับพบ นกกีรณะซ่ึงเฝ้าปราสาทปักษาจ้าจอง การพบนกกีรณะท้าให้เขาต้องเข้ามาเก่ียวข้องกับการตามหา อญั มณสี รอ้ ยแสงจันทรท์ ่ีหายไปจากปราสาท ช่วงเวลาแหง่ การค้นหาและคน้ พบในเรือ่ งนี้จึงด้าเนินไป โดยค่อยๆ ปล่อยใหเ้ ห็นคนรา้ ยทีโ่ จรกรรมอัญมณี และได้รับการช่วยเหลอื จากนกกรี ณะ การพบเจอ
83 สางไพร การช่วยเหลอื ของสิ่งเหนือธรรมชาติต่างๆ ในคชาปุระและนครไอยรา ตัวละครต้องฝ่าด่าน ต่างๆ เพื่อเดินทางไปยังเมอื งคชาปุระใหไ้ ดส้ ้าเรจ็ เม่ือไปถึงเมืองคชาปรุ ะแล้วกพ็ บว่าเมืองน้ีก้าลังอยู่ ในช่วงการผลัดแผน่ ดนิ ซึ่งตัวละครจากโลกปัจจบุ นั ได้เข้าไปมสี ว่ นต่อปัญหาการครองราชย์ในเมืองนี้ ในเคหาสน์นางคอย กุ้งเดนิ ทางไปสมัครงานดแู ลประพมิ พรรณซง่ึ มอี าการทางจติ ที่คฤหาสนน์ างคอย หากการเดินทางคร้ังน้ีท้าให้หล่อนได้พบความลับของคนในคฤหาสน์ และยิ่งค้นหาก็พบว่ายังมี ประพิมพรรณอีกคนหน่ึงถูกขังอยู่ในบ้าน การเดินทางของกุ้งจึงต้องตามหาความจริงเก่ียวกับ ประพิมพรรณทง้ั สองคน ตัวละครในนวนิยายของพงศกรบางเร่ืองไม่เพียงเข้าไปเก่ียวข้องกับความขัดแย้งในพื้นท่ี แต่ได้กลายเป็นผู้ผกู ปมขัดแยง้ ในพ้นื ท่ีนนั้ เสยี เอง ดังท่ีฤดูดาว ดรสาต้องการกลบั มาท้าไร่เชิงอนรุ ักษ์ สานตอ่ จากมารดาท่ผี าช้างรอ้ ง การเดินทางของหล่อนกลบั สร้างความไม่ลงรอยกบั สวนส้มของสนิ ธพ ความไมล่ งรอยนีไ้ ด้ท้าใหด้ รสาเข้าไปขัดขวางพิธีกรรมของชาวเย้าในพ้ืนท่ีจนกลายเป็นเร่ืองวนุ่ วายใน ชุมชน และในชว่ งเวลาเดียวกนั น้ไี ด้เกดิ ปรากฏการณ์ฤดูดาวขึน้ ซึ่งทา้ ให้เกดิ เหตุการณ์ประหลาด ทั้งมี สตั วป์ ระหลาดออกอาละวาด สัตว์ลม้ ตายจ้านวนมาก เหตกุ ารณน์ ้จี งึ ทา้ ใหด้ รสาต้องหาทางแก้ปัญหา ให้แก่คนในชุมชน ในวังพญาพราย โรมเดินทางกลบั มาเปิดห้างสรรพสินค้าในหมบู่ ้านวังพรายทา้ ให้ เกิดการต่อต้านจากฝ่ายชาวบ้าน โดยเฉพาะจากขิมทอง ลูกสาวก้านัน ในเวลาเดียวกันน้ัน ขิมทอง กลับน้ากองถ่ายรายการพิสูจน์ผมี าถ่ายทา้ ที่บึงพรายเพื่อหวังจะกระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน การกระท้า ดังกล่าวก็เป็นจุดเร่ิมต้นให้วิญญาณของเรืองแสงฟ้า นางพรายในบึงน้าออกอาละวาด จนขิมทองกับ โรมตอ้ งชว่ ยกนั คน้ หาทางแกไ้ ข ส่วนในกหุ ลาบรตั ตกิ าล ภาวรเี ดนิ ทางไปยงั คมุ้ คีรีค้าเพือ่ รับมรดกจาก เจ้ายายไทใหญซ่ ึ่งหล่อนไมร่ จู้ กั การเดนิ ทางท้าให้หลอ่ นพบดอกกหุ ลาบสนี ้าเงินซึ่งได้กลายเป็นชนวน เหตแุ หง่ การแยง่ ชิงจากคนหลายกลมุ่ ดอกกุหลาบดอกนี้ยังท้าให้ใครกต็ ามท่ถี ูกหนามกุหลาบต้าเขา้ ได้ พบเหน็ หญงิ สาวช่อื นลิ นวารา เหตุการณ์ประหลาดเร้าใหต้ วั ละครเอกต้องคน้ หาความเป็นมาของดอก กุหลาบรตั ติกาล พร้อมกบั ต้องตามรอยดอกกหุ ลาบท่ีถูกแย่งชิงกันไปหลายทอด ระหว่างการค้นหาก็ ท้าใหภ้ าวรไี ดเ้ รียนรคู้ วามเปน็ มาของตระกูลไทใหญ่ของหล่อนไปพรอ้ มกัน จนอาจกล่าวได้วา่ ช่วงการ คน้ หาและการค้นพบนบั เป็นเนื้อหาสว่ นสา้ คญั ทีเ่ รา้ ความขดั แย้งในนวนยิ าย เพราะตวั ละครต้องคน้ หา ความจรงิ ไปพร้อมกับหาทางออกของความขัดแย้งในพ้นื ทีน่ น้ั การค้นหาและค้นพบทีละน้อยเร้าความขัดแย้งของเรื่องให้มาถึงจุดสูงสดุ ของความขัดแย้ง จุดสูงสุดของความขัดแย้งหรอื climax เปน็ จุดวกิ ฤต (crisis) ของเรอื่ ง ความขัดแยง้ ที่ผกู ไว้ตลอดเร่อื ง เกดิ การปะทะกนั และเป็นจุดที่ดงึ ความสนใจและเรา้ อารมณ์ผูอ้ า่ นมากท่สี ุด (Harmon and Holman 2009, 106,132) จุดสูงสุดของความขัดแย้งในนวนิยายของพงศกรเป็นช่วงเวลาที่ความจริงท้ังหมด ไดร้ บั การเปิดเผย ตัวละครท่ีเกี่ยวขอ้ งไดม้ าพบกันเพอ่ื ตัดสินความขดั แย้งต่างๆ และตวั ละครเอกต้อง ต่อส้กู บั ความกลวั ของตนแลว้ ดึงความกลา้ มาใช้เพ่อื ท้าภารกิจให้สา้ เร็จ เช่น สรอ้ ยแสงจันทร์ ท้งั พทุ ธิ
84 และเดือนเต็มดวงรูแ้ ล้วว่า บุญทาเป็นโจรขโมยอัญมณีสรอ้ ยแสงจนั ทร์ หากในเวลานั้น บุญทาจบั ตวั พวกเขาเข้ามาในปราสาทปกั ษาจา้ จอง ช่วงเวลานี้พทุ ธิและเดือนเต็มดวงต้องชงิ ไหวชงิ พรบิ กบั บุญทา และได้รับความช่วยเหลอื จากกีรณะ พวกเขาจึงรักษาอัญมณีสร้อยแสงจนั ทรไ์ ว้ได้ ในฤดูดาว ดรสา ตัดสินใจเดินทางไปยังเวียงแสนเพง็ เมืองรา้ งตามเรอื่ งเลา่ เวียงแสนเพ็งเพอ่ื หาทางยุตคิ วามวนุ่ วายใน หมู่บ้าน การเดินทางทา้ ให้หล่อนพบว่าโคลิน เพื่อนชาวต่างชาติของหลอ่ นเป็นนักโจรกรรมพนั ธุ์พืชท่ี ต้องการขโมยดอกเอ้ืองแสนเพ็ง ดรสาจึงต้องอาศัยความกล้าลุกข้ึนมาปกป้องดอกเอ้ืองแสนเพ็ง แมห้ ล่อนจะโดนท้าร้ายบาดเจ็บ แตห่ ล่อนก็สามารถปกปอ้ งดอกเอื้องแสนเพง็ ไวไ้ ด้ เหตกุ ารณส์ ามารถ ท้าให้ดอกเอื้องแสนเพ็งกลับกลายเป็นนางอั้วแสนเพ็งได้ส้าเร็จและกลับไปอยู่กับแถนเมืองแมน เป็นต้น จดุ สูงสดุ ของความขัดแย้งจึงเปน็ จดุ ตัดสนิ ให้ตวั ละครเลือกแก้ไขความขัดแยง้ ด้วยตัวของพวก เขาเอง จดุ สงู สุดของความขัดแย้งน้ามาสกู่ ารพบค้าตอบทส่ี า้ คญั คือ การคน้ พบค้าตอบของการใชช้ ีวิต ค้าตอบนี้เกิดข้นึ ไดจ้ ากการค้นพบ “อดตี ทยี่ ังไมส่ ะสาง” ของตัวเอง เพราะอดีตของพวกเขาเตม็ ไปดว้ ย ความแค้น ความอาฆาต ความยึดติดรวมถึงเวรกรรมที่ผูกพันกัน การเดินทางของตัวละครจึงเทา่ กบั เป็นการเดินทางเพื่อสะสางเรื่องท่ีติดพนั จากอดีตใหเ้ รอ่ื งราวจบลงอย่างมีความสุขในภพชาติปัจจบุ ัน ดังทพ่ี บไดใ้ นเบือ้ งบรรพ์ มีนพบว่าตนเปน็ นางไอค่ ้า บาปกรรมทต่ี นเคยก่อได้ส่งผลมาส่หู ล่อนกับวรัณ ในพบชาตปิ ัจจุบนั หล่อนจงึ ขออโหสกิ รรมจากทา้ วภงั คีเพือ่ ยตุ ิความขัดแย้งทั้งหมดใหจ้ บเพียงภพชาติ น้ี ส่วนในสรอ้ ยแสงจันทร์ พุทธิกับเดือนเตม็ ดวงต้องเดนิ ทางไปยังปราสาทปกั ษาจ้าจอง สาเหตหุ นึง่ เพราะพวกเขาตอ้ งปกป้องอัญมณีสร้อยแสงจันทร์ให้สา้ เรจ็ และสาเหตุอีกส่วนได้รบั การเฉลยในตอน จบว่า ปราสาทแห่งนี้เป็นบ้านเก่าของพุทธิในอดีตชาติ การเดินทางกลับมาคราวนี้เพ่ือปลดปล่อย พันธนาการของกีรณะที่ถูกจองจ้าในปราสาท เช่นเดียวกับในวังพญาพราย การเดินทางกลับไปยงั หมู่บ้านวังพรายทเี่ ป็นบา้ นบรรพบุรษุ ของโรม ท้าให้โรมล่วงรวู้ ่าอดีตชาติตนคือ ลืออินไท และเขาได้ ชี้แจงกับเรืองแสงฟ้าให้เห็นว่า นางเข้าใจลืออินไทผิดมาตลอด การปรับความเข้าใจในจุดสูงสุด ของความขัดแย้งท้าใหเ้ รืองแสงฟ้าใหอ้ ภัยลอื อนิ ไท ความอาฆาตท่ีคั่งคา้ งจึงได้รบั การสะสาง ในเรือ่ ง ฤดดู าว ดรสาเปน็ เพยี งผู้เดยี วท่ีจะแกไ้ ขปญั หาท่เี กิดขน้ึ ในหมู่บ้านได้ เพราะหลอ่ นคือ ดารกาประกาย ผู้ผูกปมขัดแย้งไว้ในอดีตชาติ ในภพชาตินี้หล่อนจึงต้องเปน็ ผู้คลายปมขัดแย้งนั้น นอกจากน้ีในเรอ่ื ง กุหลาบรตั ติกาลกับเคหาสน์นางคอย แมก้ ารเดินทางของตวั ละครเอกอาจไม่เก่ยี วกบั การข้ามภพชาติ แต่การเดนิ ทางของตวั ละครเอกทา้ ให้พวกเขาค้นพบ “ชาตกิ า้ เนิด” ของตนเอง ดงั ท่ีการเดินทางมาคุม้ คีรีค้าของภาวรีในกุหลาบรัตตกิ าลท้าใหห้ ล่อนค้นพบว่าตนเองเปน็ ไทใหญ่และเกิดภาคภูมิใจในชาติ ก้าเนดิ ของตนผา่ นการเรยี นรตู้ า่ งๆ ขณะที่เคหาสน์นางคอย กงุ้ ได้ค้นพบประพิมพรรณ ก่อนพบว่าเธอ คือมารดาท่พี ลัดพรากและไดร้ ู้ถงึ ชาติกา้ เนิดทแ่ี ท้จริง
85 ส่วนในเรื่องคชาปุระและนครไอยรา การเดินทางของตัวละครเอกไม่ได้เป็นไปเพื่อค้นหา อดตี ชาตหิ รอื ชาตกิ ้าเนิดของตนเอง แตเ่ ปน็ การเดินทางเพ่อื หาทางรอดแกม่ วลมนษุ ยชาตทิ ีก่ า้ ลงั เผชญิ ภัยจากปัญหาโลกร้อนเป็นหลกั เพราะการเดินทางไปยังเมืองคชาปรุ ะทา้ ใหต้ ัวละครไดม้ องเหน็ เมอื ง คชาปุระเปน็ ตน้ แบบของการอนุรักษ์และอยู่รว่ มกันกบั ธรรมชาตอิ ย่างกลมกลนื หากนวนิยายเรอ่ื งนี้ยงั แฝงการน้าเสนอ การค้นพบตัวเองของ “ฮีน” เด็กชายจากภาคอสี านที่มาพรอ้ มกบั ช้างจัมโบ้ ชา้ งอุบล มาลี ท้ังฮีนกับจัมโบ้เป็นตัวละครส้าคัญท่ีท้าให้เกิดการเดินทางและเป็นผู้น้าทางตัวละครเอกไปสู่ เมืองคชาปุระ จนท้ายท่ีสุดการเดินทางไปเมืองคชาปุระท้าให้ฮีนพบชาติก้าเนิดที่แท้จรงิ ของตนเอง และได้กลบั ไปอยเู่ มืองคชาปุระในตอนจบ เหน็ ได้ว่า นวนิยายของพงศกรทกุ เรอื่ งจงึ แฝงการคน้ หาและ การคน้ พบชาตกิ ้าเนิดไว้ตลอด ท้ายท่ีสุด การพบค้าตอบของชีวิตทั้งการรจู้ ักปล่อยวาง การให้อภัยหรือการรูจ้ ักตนเองมาก ขึน้ นบั เปน็ การคลายปมขดั แย้งลงและยงั ท้าให้ตัวละครส่วนใหญ่ร้สู กึ ผูกพนั กบั สถานท่ีทเี่ ดนิ ทางเขา้ ไป ตัวละครส่วนหนึ่งจึงตัดสินใจย้ายเข้ามาอาศัยในพ้ืนท่ีที่พวกเขาเดินทางมาตอนแรกอันแสดงถึงความ ผูกพันและพันธะที่พวกเขามีต่อพ้ืนที่แห่งน้ี ดังเช่น พุทธิกับเดือนเต็มดวงเลือกอาศัยและสร้าง ครอบครัวด้วยกันในหมู่บ้านเมืองปักษา โรมกับขิมทองเลือกจะอาศัยและพัฒนาหมู่บ้านวังพราย รวมถึงภาวรีได้เปล่ียนความคิด จากตอนแรกต้องการขายคุ้มคีรีค้าก็เปลี่ยนมารักษาคุ้มไว้อย่างดี เป็นต้น หากในเร่ืองคชาปุระและนครไอยราต่างออกไป เพราะหลังจากตัวละครได้ค้าตอบต่อการ แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมแล้ว พวกเขาตัดสินใจน้าค้าตอบเหล่าน้ันมาสานต่อ พวกเขาจึงเลือกเดินทาง กลับมายังโลกปัจจุบนั น่ันเอง สรุปได้ว่า โครงเรื่องหลักในนวนิยายของพงศกรเน้นการเดินทางของ ตัวละครเอกที่ต้องพบเจออุปสรรคและเหตุการณ์เหนือธรรมชาติหลายอย่าง ท้ายที่สุดเมื่อพวกเขา คน้ พบค้าตอบของชีวติ ว่าตนเปน็ ใครและรหู้ นา้ ที่ของตนท่ีตอ้ งแกไ้ ขความขัดแย้งในอดีตใหจ้ บลง หรือ กระทงั่ รูค้ ้าตอบทตี่ อ้ งการชว่ ยเหลอื สงั คมในวงกวา้ งแลว้ เรอื่ งราวในนวนยิ ายจึงจบลงน่นั เอง 3.1.2 การใช้เหตุการณก์ ารลงโทษในเรอื่ งเลา่ เชงิ คติชนสรา้ งความขดั แย้งในโครงเร่อื งหลัก เม่ือพิจารณาบทบาท (function) ของข้อมูลเชิงคติชนต่อกลวิธีการประกอบสร้างโครงเรือ่ ง แลว้ พบวา่ เหตุการณ์การลงโทษในเรอื่ งเล่าเชงิ คตชิ นสมั พันธ์กับเหตุการณ์ในโครงเรือ่ งหลกั กล่าวคือ เหตุการณก์ ารลงโทษในเรอ่ื งเล่าเชงิ คติชนเปน็ ส่วนอธิบาย “สาเหตุ” ความขดั แย้งในโครงเรอ่ื งที่มกี าร กลับชาติมาเกิด โดยผู้ผูกปมขัดแย้งในอดีตได้กลับชาติมาเกิดเพ่ือแก้ไขความผิดพลาดของตน ส่วน นวนิยายท่ไี ม่มกี ารกลบั ชาตมิ าเกิด การลงโทษในเรือ่ งเลา่ เชงิ คติชนเป็น “การเกร่ินการณ์” ว่าจะเกิด ความขัดแย้งรูปแบบเดียวกันในช่วงเวลาปัจจุบันของนวนิยาย และน่าสังเกตอีกว่า ในจุดสูงสุดของ ความขดั แยง้ ในโครงเรือ่ งหลัก พงศกรไดน้ ้าจุดสงู สดุ ในเรอื่ งเล่าเชงิ คติชนให้วนกลับมาเกิดซา้ เพอื่ ฉาย ภาพความขดั แย้งในอดีตใหเ้ ดน่ ชดั ขน้ึ และน้ามาสู่การตัดสนิ ใจของตัวละครในการคลายปมขัดแย้งลง
86 3.1.2.1 การลงโทษเปน็ สาเหตขุ องความขัดแย้งในโครงเรอื่ งหลัก ในนวนิยายเรอ่ื งเบ้ืองบรรพ์ ฤดูดาว วังพญาพรายและสรอ้ ยแสงจันทร์ พงศกรไดเ้ ช่ือม ความขัดแย้งในเรือ่ งเล่าเชงิ คติชนกับความขดั แยง้ ในโครงเรือ่ งหลักด้วยการข้ามภพชาติ โดยตอนจบใน เรือ่ งเล่าเชงิ คตชิ นมกั ลงเอยด้วยการลงโทษจากผมู้ ีอ้านาจ ผลท้าให้เกดิ ความทุกขแ์ ละเกิดการรอคอย เพ่ือยตุ กิ ารลงโทษนน้ั ลง จากน้ัน เม่อื ผ้ผู ูกปมขัดแย้งได้กลบั ชาติมาเกิดในภพชาตปิ จั จบุ ัน พวกเขาต้อง เดินทางกลับมายังพื้นที่ที่พวกเขาเคยกระท้าผิดไว้ในอดีต เพ่ือแก้ไขเปล่ียนจากการลงโทษไปสู่ “การยกโทษ” ดังเช่นในเร่ืองเบื้องบรรพ์ มีนเดินทางกลับมายังหนองหานกมุ ภวาปี และมีความฝัน ของมีนเปน็ ส่วนเชอ่ื มโยงระหวา่ งความขัดแยง้ ในอดตี กบั เร่ืองราวในปัจจบุ นั ใหช้ ดั เจน ระยะหลังมานี้ หญิงสาวรู้สึกราวกับว่าตนเองเป็นคนสองโลก...มีชีวิตอยู่ระหว่างโลก ปัจจบุ ันและโลกแห่งความฝนั สา้ หรบั มีน การนอนหลับมิใช่การพักผ่อนแต่อย่างใด หากกลับ เป็นการเดินทางไปผจญภัยในอีกโลกหน่ึง ได้ร่วมอยู่ในเหตุการณ์แปลกประหลาดที่หล่อน เคยได้ยินแตเ่ พยี งในต้านาน และท่ีส้าคัญ ในโลกของความฝันน้นั หลอ่ นเปน็ บุคคลผ้หู นึ่งในต้านานนั้นเสยี ด้วย !! ความฝนั ทตี่ ่อเนอื่ งชว่ ยปะติดปะต่อเรือ่ งราวต่างๆ เข้าดว้ ยกนั และสร้างความกระจ่างบาง ประการให้กับมีน ทีละน้อยราวกับภาพต่อจ๊ิกซอว์ที่ค่อยๆ ปรากฏรูปและเรื่องราว เม่ือวางตัวต่อแต่ละชน้ิ ลงไปในชอ่ งว่างทเี่ หมาะสม ความฝันเร่ืองเดิมที่เกิดซ้ากันแทบจะทุกคืนก้าลังย้อนกลับมาสู่หล่อนอีกวาระหนึ่ง มีน กา้ ลังมีความรสู้ กึ ท่ีกา้ กง่ึ ระหว่างความหวาดกลัวและความไม่แนใ่ จ (พงศกร 2552, 76-77) ความฝันประหลาดค่อยๆ เปิดเผยเร่ืองราวให้มีนค้นพบว่า อดีตชาติของตนคือ นางไอ่ค้า และนางเป็นผู้ลงโทษกระรอกเผือก ส่งผลให้ทั้งเมืองต้องล่มลงเป็นหนองน้า ส่วนฝ่าย กระรอกเผือกได้ส่งแรงอาฆาตวนกลับมายังมีนและวรัณในภพชาติปัจจุบัน โดยในตอนท้ายของ นวนิยาย เรือ่ งมิได้เฉลยเพยี งแค่ว่ามีนเป็นใครในอดตี แตก่ ารค้นพบอดีตชาติของมีนไดน้ ้ามาสู่การพบ ค้าตอบของชวี ติ นัน่ คือ การปลอ่ ยวางอดีตและการขออโหสิกรรมเพ่ือยตุ เิ รื่องราวให้จบลงในชาตนิ ้ี มนี สมั ผัสถึงความอาฆาตพยาบาทท่ียงั คงวนเวยี นอยู่ในท่ีแห่งน้ี หล่อนเช่ือว่าน่ที ้าให้วรัณ ต้องมาประสบเคราะหร์ ้าย มีนรู้สึกว่าเรื่องราวทั้งหมดนั้น มันเกี่ยวพันและคาราคาซังมานานนักหนา ท้ังหมดนี้ อาจจะมที ม่ี าจากตัวของหล่อนเอง และบัดน้ี ถงึ เวลาแล้วที่หลอ่ นจะตดั บ่วงกรรมนนั้ ลง ไมส่ ้าคญั อีกแลว้ วา่ หล่อน “เคย” เปน็ ใครมาก่อน ไม่ส้าคัญอีกแล้วว่า บุตรสาวเศรษฐจี ะโกรธแค้นชายใบ้ผ้สู ามีจนถึงกับอธิษฐานเพ่ือทจ่ี ะ ตามไปฆ่าเขาในชาตภิ พใหม่
87 และไม่ส้าคัญอีกแล้วว่า ไอ่ค้าจะฆ่ากระรอกเผือกและเหล่านาคโกรธแค้นจนถึงกับต้อง ตามมาล่มเมือง ฆา่ ผคู้ นให้ลม้ ตายมากมาย ส่ิงส้าคญั ท่ีสดุ ในเวลานคี้ ือ การใหอ้ ภัย […] หญิงสาวก้าหนดจิตแน่วแน่และอธิษฐานถึงส่งิ ศักดิ์สิทธทิ์ ้ังหลาย ยึดเอาคุณพระรัตนตรัย เป็นท่ีพึ่ง ก่อนท่ีจะเปล่งวาจาก้องกังวานออกมา ท่ามกลางท้องฟ้ายามราตรีที่หมู่ดาว สุกสวา่ งสอ่ งประกายราวจะเป็นพยาน “ไมว่ า่ ดฉิ ันจะเคยมอี ดตี ชาติเป็นผูใ้ ดก็ตาม.... ไมว่ ่าอดีตชาตินั้น ดฉิ นั ไดเ้ คยทา้ ร้ายผใู้ ดกต็ ามที ไม่ว่าจะด้วยจิตเจตนาหรอื ไม่ และไม่ว่า ดฉิ นั เคยอาฆาตพยาบาทจองเวรต่อผู้ใด ดฉิ ันขออโหสิกรรมทั้งปวงลง ณ ท่แี หง่ น้ี ขอใหท้ ่าน ท้ังหลายผู้มเี วรกรรมผกู พนั กนั มากับดิฉัน โปรดจงอโหสิกรรมแก่ดิฉนั ด้วยเถิด... […] จะด้วยความบังเอิญหรือด้วยเหตุอันใด สุดท่ีหญิงสาวจะล่วงรู้ได้ ที่ขอบฟ้าด้านทิศ ตะวันออกน้ัน มีนมองเห็นฟ้าแลบเปน็ สาย เสียงฟ้าร้องสะเทือนเลื่อนลั่น ปราศจากแม้เงา ของเมฆฝน ฟ้าดินรับรู้ ! (พงศกร 2552, 170-171) การพบค้าตอบของมีนเหมือนกบั ดรสาในเรือ่ งฤดูดาว เพราะเมื่อดรสาสร้างความขัดแยง้ ไว้ในหมู่บ้านผาช้างร้อง หล่อนจึงต้องมีส่วนรับผิดชอบ โดยอู๋ตาบ้าหรือซิบเมี้ยนเม่ียนตัวจริงได้ช้ี ทางออกวา่ หลอ่ นเป็นผู้เดียวจะแกไ้ ขสถานการณ์ทงั้ หมดได้ ดรสาจะตอ้ งเดนิ ทางไปเวยี งแสนเพ็ง และ “รอจนกว่าทุกคนจะมาพร้อมหน้ากัน และเร่อื งราวทั้งหมดได้ช้าระสะสางใหเ้ สรจ็ ส้ินเสยี ที เรื่องราว ท้ังหลาย ค้างคามานานนับร้อยนับพันฤดูดาวแล้ว ถึงเวลาจะต้องสะสางทุกอย่างให้จบสิ้นไป อวั้ แสนเพง็ แถนเมอื งแมนและดารกาประกาย” (พงศกร 2555ข, 490) แมด้ รสาไมเ่ ขา้ ใจในตอนแรก จนหลอ่ นและคณะเดนิ ทางไปเวยี งแสนเพ็ง หล่อนไดค้ ้นพบวา่ หลอ่ นคือดารกาประกาย สัญชาตญาณบางประการในจิตส่วนลึกของหล่อนบอกกับตัวเองว่า อีกไม่นานเรื่องราว ทั้งหลายแหลจ่ ะจบส้ินลง ในเมื่อหล่อน หรือคนที่หล่อนเคยเป็น ผูกมันข้ึนมา หล่อนก็จะต้องเป็นคนคลายปมน้ัน ด้วยตนเองเพ่อื ใหเ้ ร่อื งท้ังหมดจบลง […] หล่อนนึกรู้ในเร่ืองที่เคยสงสัยภายในใจมาเนิ่นนาน พร้อมกับการนึกรู้น้ัน ภาพมากมาย หลายหลากก็ปรากฏข้ึนในห้วงมโนความคิด ภาพความวุ่นวายโกลาหลของผู้คน ภาพของ เมืองที่ล่มสลาย ภาพของอัคนีและเปลวเพลิงสีส้มท่ีแลบเลียและสุดทา้ ยคือ ภาพของสตรี ผู้หนึง่ ซ่ึงงดงามอยา่ งทไี่ ม่เคยเห็นมาก่อน สตรที ่นี งั่ โหยไหอ้ าลยั ในคนรัก ปม่ิ วา่ จะขาดใจ ภาพท้งั หลายเหลา่ น้นั ล้วนเปน็ ภาพทห่ี ล่อนไมไ่ ดเ้ ห็นด้วยดวงตา หากสัมผัสได้ดว้ ยดวงใจ และไม่สามารถอธิบายกบั ใครออกมาเป็นค้าพดู ได้ แม้ไม่มคี า้ ตอบชัดเจนหรือหลักฐานทาง วทิ ยาศาสตรท์ สี่ ามารถพิสจู น์ได้ หากดรสาม่นั ใจมากเหลือเกิน วา่ เรื่องราวท้งั หมดเก่ยี วข้อง กับหลอ่ นโดยตรง อกี เพียงไมก่ ีช่ วั่ โมงเท่าน้นั ก็จะไดร้ กู้ นั (พงศกร 2555ข, 522-523)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271