ก ประกาศโรงเรียนเทศบาลบ0านหนองบัว เร่ือง การใช0หลักสูตรโรงเรยี นเทศบาลบ0านหนองบวั พุทธศกั ราช ๒๕๖4 ฉบับปรับปรุงตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียน เทศบาลบ้านหนองบัว ได้จัดรูปแบบการเรียนการสอนทางไกลในกรณีท่ีสถานศึกษาไม่สามารถเปิดเรียนได้ ตามปกติขึ้น เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จึงกําหนดการจัดการ เรยี นรู้ 3 รูปแบบ ดงั นี้ ๑. รูปแบบ On – demand : การจัดการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์โดยใช้แอปพลิเคชัน Google Classroom ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ และ Facebook Group ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ และมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑-๓ ๒. รูปแบบ Online : การจัดการเรียนการสอนแบบถ่ายทอดสด เรียนกับครูแบบถ่ายทอดสด นักเรียน สามารถถาม-ตอบได้ โดยใช้แอปพลิเคชัน Google Meet ในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔- ๖ และมัธยมศึกษา ปีที่ ๑-๓ ๓. รูปแบบ On-hand : การจัดการเรียนการสอนด้วยการนำส่งเอกสารท่ีบ้าน เรียนและทำด้วยตนเอง มีผปู้ กครองช่วยดูแล ในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓ ดังนั้น หลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัวฉบับนี้ จึงเป็นหลักสูตรท่ีมีมีการปรับ ตัวชี้วัดในแต่ละวิชาเป็นตัวช้ีวัดต้องรู้และควรรู้เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สาระท้องถิ่นและความต้องการของชุมชน ผนวกกับอัตลักษณ์ของโรงเรียน เป็นแนวทางในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพในการแข่งขัน และดำรงชวี ติ อย่างสรา้ งสรรค์ในประชาคมโลกตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บัดนี้โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัวได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเรียบร้อยแล้วและได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เมื่อวันที่ 27 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2564 จงึ ประกาศใหใ้ ชห้ ลักสูตรโรงเรยี นตง้ั แตบ่ ดั นี้เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 28 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2564 (นางกณิศนันท์ ดดี วง) ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว
1 ความนำ นับตั้งแต่ท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ให้ เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เม่ือวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้ดำเนินการติดตามผลการนำหลักสูตรไปสู่ การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ พบว่า มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนยังไม่เพียงพอต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์ โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ซึ่งเป็นหัวใจของการวางรากฐานขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาศักยภาพคน ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ให้สามารถพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ก้าวทันและทัดเทียมนานาชาติ ดังน้ันในปี พ.ศ.๒๕๕๙ กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้ดำเนินการให้มีการทบทวนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนำข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี คุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ และทัดเทียมกับ นานาชาติ โดยกำหนดให้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เฉพาะสาระภูมิศาสตร์ เป็นนโยบายสำคัญ เร่งด่วน โดยมีเงื่อนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังกล่าว ตามกำหนดเวลาดังนี้ ๑. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ใหใ้ ช้ในช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ และชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ ๒. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ให้ใชใ้ นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๒ ๔ และ ๕ และชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๒ ๔ และ ๕ ๓. ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ใหใ้ ช้ในทกุ ช้ันเรยี น ประกอบกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน กำหนดให้สถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินนำ หลักสูตรต้านทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) นำไปใช้จัดการเรียนการสอนเพ่ือปลูกฝัง จิตสำนึกให้แก่นักเรียนทุกระดับช้ัน โดยโรงเรียนเททศบาลบ้านหนองบัวกำหนดให้นำไปบูรณาการกับการ จัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (สาระหน้าที่พลเมือง สาระ ศานา จรยิ ธรรม) สถานศึกษาจึงได้ดำเนินการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัดฯ ที่ได้ประกาศให้ใช้มาจัดทำในส่วนท่ีเป็น คำอธิบายรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังกล่าวโดยได้รับความร่วมมือจากคณะครูผู้สอนจากกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม) เข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณาเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ และวิธีการจัดการเรียนการสอนใน คำอธิบายรายวิชาทั้งน้ีในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ใช้แนวทางการกำหนดเน้ือหาแต่ละ
2 ภาคเรียนสอดคล้องกับหนังสือเรียนของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท) ส่วนใน วิชาสังคมศึกษาได้นำกิจกรรมในหลักสูตรโตไปไม่โกงมาบูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกับ หลกั สูตรต้านทจุ รติ ศกึ ษาตามระดับชนั้ ท่จี ดั การเรยี นการสอน งานวชิ าการ โรงเรียนเทศบาลบา้ นหนองบัว มถิ นุ ายน 2563
3 สารบญั ประกาศโรงเรยี นเทศบาลบา้ นหนองบัว............................................................................ ก ความนำ............................................................................................................................ 1 วิสยั ทัศนห์ ลกั สูตรโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบวั พ.ศ.2561 4 จุดหมาย............................................................................................................................ 6 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค.์ ............................................ 6 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน............................................................................... 6 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์................................................................................ 7 โครงสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา......................................................................................... 12 คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย............................................................. 26 คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร.์ ......................................................... 41 คำอธบิ ายรายวชิ ากล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร.์ ........................................................ 60 คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา........................................................... 82 คำอธบิ ายรายวิชากลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษาฯ (วิชาประวัตศิ าสตร)์ ........................ 104 คำอธบิ ายรายวชิ ากลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษาฯ (วิชาเศรษฐกจิ พอเพียง).................. 117 คำอธิบายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาฯ (วชิ าหนา้ ท่ีพลเมือง)....................... 124 คำอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา.......................................... 143 คำอธบิ ายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรียนร้สู ุขศกึ ษาและพลศึกษา(วชิ าความเป็นเลิศฯ)......... 165 คำอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ.................................................................... 176 คำอธิบายรายวชิ ากลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ(วชิ าความเป็นเลศิ ฯ)................................... 197 คำอธบิ ายรายวิชากลุม่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชีพ ฯ (ความเป็นเลิศฯ)........................ 240 คำอธบิ ายรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ............................................... 259 กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น....................................................................................................... 278 การวดั และประเมินผลการเรียนรู้...................................................................................... 282 ภาคผนวก......................................................................................................................... 287
4 วิสยั ทศั น์ของโรงเรยี น “โรงเรียนแหง่ การเรยี นรู้ ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะ ทักษะพนื้ ฐานของพลเมืองไทย ร่วมใจบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานในการพฒั นา ยดึ ม่นั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” เปา้ หมาย 1. ผู้เรียนมีวินัย มีจิตสาธารณะ มีคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และมีทักษะการเรียนรู้ที่จำเป็น ในศตวรรษที่ 21 2. ผู้เรียนมีความภูมิใจในการสืบสาน วัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน มีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยดึ มัน่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข 3. หลกั สตู รการเรียนการสอนสอดคลอ้ งกบั ความต้องการ ศักยภาพ และวยั ของผู้เรยี น 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัด ติดตาม ประเมินผล เน้นพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญทำให้ผู้เรียน บรรลุขีดความสามารถเต็มตามศกั ยภาพ 5. สถานศกึ ษาจัดการดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น อย่างเป็นระบบ มีประสทิ ธิภาพ 6. แหลง่ เรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ สง่ เสรมิ การดำรงชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดลอ้ ม 7. อาคารสถานท่ขี องสถานศกึ ษา สะอาด สะดวก ปลอดภยั และพร้อมใชง้ าน 8. สง่ิ แวดลอ้ มของสถานศกึ ษา มบี รรยากาศทีด่ ี เปน็ ระเบยี บ สะอาด สวยงาม 9. ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาบรรลุขีดความสามารถเต็มตามศักยภาพเป็นไป ตามมาตรฐานวิชาชีพและมขี วญั กำลงั ใจ มคี วามมุง่ มน่ั ในการปฏิบัติงานใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล 10. ผมู้ ีสว่ นได้เสียจากการจดั การศกึ ษา เข้ามามีส่วนรว่ มในการพฒั นาการศึกษาอย่างเขม้ เขง็ 11. สถานศึกษาบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนา และยึดม่ันหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
5 วิสยั ทศั นห์ ลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ วิสยั ทัศน์ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นทุกคน ซง่ึ เปน็ กำลังของชาติใหเ้ ปน็ มนุษยท์ มี่ ี ความสมดุลทั้งด้านรา่ งกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมน่ั ในการ ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ มคี วามรแู้ ละทักษะพืน้ ฐาน รวมทั้ง เจต คติ ท่ีจำเปน็ ต่อการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเน้นผเู้ รียนเป็นสำคญั บน พ้ืนฐานความเชอื่ ว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ หลกั การ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน มหี ลักการท่สี ำคญั ดงั น้ี ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย ควบคู่กับความเป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี คุณภาพ ๓. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้ สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถน่ิ ๔. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มโี ครงสรา้ งยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้ ๕. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
6 จุดหมาย ห ลั ก สู ต รแ ก น ก ล างก ารศึ ก ษ าขั้ น พ้ื น ฐาน มุ่ งพั ฒ น าผู้ เรีย น ให้ เป็ น ค น ดี มี ปั ญ ญ า มี ค วาม สุ ข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เม่ือจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังนี้ ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ ๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทีด่ ี มีสขุ นสิ ยั และรักการออกกำลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่ง ทำประโยชนแ์ ละสร้างส่งิ ที่ดีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว ใช้แนวทางในการพัฒนานักเรียนเช่นเดียวกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ ซึ่งมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และจะช่วยให้ ผ้เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการดงั น้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ ลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใชว้ ิธกี ารสอ่ื สาร ทีม่ ีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบทม่ี ีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำ กระบวนการต่างๆ ไปในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม
7 การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรม ไม่พงึ ประสงคท์ ่สี ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ ทำงานการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบวั จงึ กำหนดคณุ ลกั ษณะพึงประสงค์ดงั นี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ตัวชว้ี ดั ๑.๑ เป็นพลเมืองดีของชาติ ๑.๒ ธำรงไวซ้ ึ่งความเป็นชาติไทย ๑.๓ ศรทั ธา ยึดมน่ั และปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทนู สถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. ซอื่ สตั ย์สุจริต ตวั ชี้วดั ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ตอ่ ตนเองทัง้ ทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤติตรงตามความเป็นจรงิ ต่อผอู้ ื่นท้งั ทางกาย วาจา ใจ ๓. มวี นิ ัย ตัวชวี้ ดั ๓.๑ ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบงั คับของครอบครวั โรงเรยี น และสงั คม ๔. ใฝ่เรียนรู้ ตัวชว้ี ดั ๔.๑ ต้ังใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วย การเลือกใชส้ อ่ื อย่างเหมาะสม สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ตวั ชว้ี ัด ๕.๑. ดำเนินชวี ติ อยา่ งพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มีคุณธรรม ๕.๒ มีภมู คิ ุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี ปรับตวั เพอ่ื อยใู่ นสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ตวั ชีว้ ดั ๖.๑ ตั้งใจและรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่การงาน ๖.๒ ทำงานด้วย ความเพยี รพยายามและอดทนเพอื่ ให้งานสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย ๗. รักความเปน็ ไทย ตัวชว้ี ัด ๗.๑ ภาคภูมใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมี ความกตัญญูกตเวที ๗.๒ เห็นคุณค่าและใชภ้ าษาไทยในการสือ่ สารไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม ๗.๓ อนรุ ักษ์ และสบื ทอดภูมิปัญญาไทย
8 ๘. มีจติ สาธารณะ ตวั ชว้ี ัด ๘.๑ ช่วยเหลอื ผู้อ่นื ดว้ ยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน ๘.๒ เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม ๙. คา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดหลักสูตรของโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว กำหนดตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ ๒๕5๑ ดงั น้ี ระดบั การศึกษา หลักสูตรของโรงเรยี นเทศบาลบา้ นหนองบัว จัดระดับการศึกษาเป็น ๒ ระดบั ดงั น้ี ๑. ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษา ภาคบังคับมุ่งเน้นทักษะพ้ืนฐานด้านการอ่านการเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมและพ้ืนฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้ง ในดา้ นรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ สังคมและวฒั นธรรม โดยเน้นการจดั การเรยี นร้แู บบบูรณาการ ๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ ส่วนตน มีทักษะ ในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุล ท้ังด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมคี วามภมู ใิ จในความเป็นไทย ตลอดจนใช้เปน็ พื้นฐานในการประกอบอาชพี หรือการศกึ ษาต่อ การจดั เวลาเรยี น ๑. ระดบั ช้นั ประถมศึกษา (ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๖) จัดเวลาเรยี นเป็นรายปี โดยมีเวลาเรยี นวนั ละ ไมเ่ กิน 6 ชัว่ โมง ๒. ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษา (ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๖) จัดเวลาเรยี นเป็นรายภาค มีเวลาเรยี นวันละ ไมเ่ กนิ ๖ ช่วั โมง คิดนำ้ หนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกติ ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชัว่ โมงต่อภาคเรียน มคี ่าน้ำหนักวิชา เทา่ กับ ๑ หนว่ ยกติ (นก.) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ การกำหนดโครงสรา้ งเวลาเรียนพนื้ ฐานและเพิม่ เติม โรงเรยี นดำเนนิ การ ดงั น้ี ระดบั ประถมศกึ ษา จดั ให้แตล่ ะชั้นปีเรยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรูพ้ น้ื ฐาน ชน้ั ปลี ะ ๘๔๐ ชวั่ โมง โดยมีเวลาเรียนใน กลุ่มสาระการเรียนรพู้ ื้นฐาน รวมท้งั ส้นิ ๕,๐๔๐ ชวั่ โมง จัดเวลาเรยี นในรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ชัน้ ปีละ 120 ชั่วโมง
9 รวมทัง้ ส้ิน 720 ชวั่ โมง และกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน จำนวน 120 ช่ัวโมง รวมท้ังสนิ้ 720 ชั่วโมง ทงั้ น้รี วมเวลา เรียนทัง้ หมด 1,080 ชัว่ โมง / ปี (รวมเวลาเรยี นในระดบั ประถมศกึ ษา 6,480 ชว่ั โมง) ระดับมธั ยมศกึ ษา จดั โครงสร้างเวลาเรยี นพืน้ ฐานเปน็ ไปตามทีห่ ลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดและสอดคลอ้ งกบั เกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร สำหรบั เวลาเรยี นเพ่มิ เตมิ ได้จดั เปน็ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ปลี ะ 2.5 หนว่ ยกิต โดยพจิ ารณาถึงความ สอดคล้องกบั ความพร้อมจดุ เน้นของโรงเรียนและเกณฑก์ ารจบหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น หลักสูตรโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อ สงั คม สามารถจดั การตนเองได้ และอยูร่ ่วมกบั ผู้อน่ื อย่างมคี วามสขุ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น ๓ ลกั ษณะ ดงั นี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ส่ิงแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตน ได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษา แก่ผูป้ กครองในการมีส่วนร่วมพฒั นาผู้เรยี น ๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจท่ีเหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ แบ่งปันกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ ผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกข้ันตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและ ปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บรบิ ทของสถานศกึ ษาและท้องถ่ิน กิจกรรมนกั เรียนประกอบด้วย ๒.๑ กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ๒.๒ กิจกรรมชมุ นมุ ๓. กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมทส่ี ่งเสริมให้ผเู้ รยี นบำเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และทอ้ งถิน่ ตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรบั ผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสยี สละตอ่ สงั คม มีจิตสาธารณะ เช่น กจิ กรรมอาสาพัฒนาตา่ ง ๆ กจิ กรรมสร้างสรรคส์ ังคม
10 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นที่กำหนดไวใ้ นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถึงชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ ปีละ ๑๒๐ ชวั่ โมง เปน็ เวลาสำหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรียนและกิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ โดย โรงเรยี นเทศบาลบ้านหนองบวั จดั สรรเวลาให้ผูเ้ รยี นปฏิบัติกิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ดงั น้ี ระดับประถมศกึ ษา (ป.๑ – ๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ชวั่ โมง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชว่ั โมง ท้งั น้ีโรงเรียนไดใ้ ห้กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมท่ีบรู ณาการรว่ มกับการจัด กิจกรรมการเรียนรูใ้ น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ กจิ กรรมแนะแนวและกิจกรรมนักเรียนด้วยเชน่ กนั
11 โครงสร้างเวลาเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี น ดงั น้ี กลุม่ สาระการ ระดบั ประถมศกึ ษา เวลาเรียน ระดบั มัธยมศกึ ษา เรยี นรู้/ กจิ กรรม ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ตอนปลาย กลุ่มสาระการ จัดสรรเวลาไดต้ ามความ จัดสรรเวลาได้ตามความ จดั สรรเวลาได้ เรียนรู้ เหมาะสม เหมาะสม ตามความเหมาะสม ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม สขุ ศึกษาและพล ศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ และ เทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ 840 ชั่วโมง/ปี ๘8๐ รวม 3 ปี 1,640 120 ชว่ั โมง/ปี (๒2 นก.) ช่ัวโมง (41 นก.) รวมเวลาเรยี น 120 ชั่วโมง/ปี (พนื้ ฐาน) สถานศึกษากำหนด รวม 3 ปี 360 ชัว่ โมง กิจกรรมพฒั นา ผูเ้ รยี น สถานศกึ ษากำหนด สถานศึกษากำหนด รายวิชา / กจิ กรรมท่ี สถานศึกษาจดั เพ่ิมเติม ตามความพรอ้ ม และจุดเน้น รวมเวลาเรยี น สถานศกึ ษากำหนด สถานศึกษากำหนด สถานศึกษากำหนด ทั้งหมด หมายเหตุ คำส่งั สพฐ.ท่ี 922/2561 เรอ่ื ง การปรบั ปรุงโครงสร้างเวลาเรียนตามหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ส่งั ณ วนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2561
12 โครงสรางหลก้สตรสถัานูศกษา โรึงเรยนเทศีบาลบานหนองบ้ ว ั ปการศกษาี 25ึ 63 กลมสาระกุ่ ารเรยนร ี ู้ เวลาเรยน (ชี ม./ป) ี ระดบประถมั ศกษา ึ ระดบมธยมศั กษั าตอนึ ตน ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ้ 200 200 160 160 160 120 120 120 ภาษาไทย ป.1 200 200 160 160 160 120 120 120 คณตศาสตร ิ ์ 200 80 80 80 80 80 120 120 120 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย 200 40 40 40 40 40 40 40 40 ประวตศาสตัร ิ ์ ี 80 40 40 80 80 80 120 120 120 40 40 40 80 80 80 80 80 80 สงคมศกัษาศาสึ นาและวฒนธรัรม* 40 40 40 80 80 80 80 80 80 40 40 40 80 80 80 80 80 80 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 40 160 160 80 80 80 120 120 120 ศลปะ ิ 40 การงานอาชพ ี 160 ภาษาตางประเท่ ศ รวมเวลาเรยน (พี นฐาน) ื้ 840 840 840 840 840 840 880 880 880 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ่ิ ิ 120 120 120 120 120 120 200 200 200 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 120 120 120 120 120 120 120 120 120 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 2. แนะแนว 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแล่ื ะั สาธารณประโยชน** ์ รวมเวลาเรยนทงหี มด ั้ 1,080 1,080 1,080 1,080 1,080 1,080 1,200 1,200 1,200 * รวมวชาหนาิ ทพลเมอ้ งแี่ ละบืรณาการหู ลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ ี ** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ-เนู ตรืนาร ไดตามควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปทึ 1-6 รีวมี่ 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ระ่ั ดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 ี ี่ รวม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ่ั
13 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนประั ถมั้ ศกษา ึ ชนประถม้ั ศกษาปทึ 1 ปกี า่ี รศกษาี 25ึ 63 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน (ชี วโมง/ป)ั่ ี ท11101 ภาษาไทย 200 ค11101 คณตศาสตร ิ ์ 200 อ11101 ภาษาองกฤษ ั 160 ว11101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย ี 80 ส11101 สงคมศกษั า ึ 40 ส11102 ประวตศาสตัร ิ ์ 40 พ11101 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 40 ศ11101 ศลปะ ิ 40 ง11101 การงานอาชพ ี 40 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ิ่ ิ อ11201 ภาษาองกฤษเพัอการสอส่ื าร ื่ 40 ง11261 ความเปนเลศ 1็ ิ 80 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 40 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแลื่ ะั สาธารณประโยชน ์ รวมเวลาเรยน ี 1,080 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ ู ื เนตรนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปทึ 1-6 รีวมี่ 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ่ั *** วชาสงคมิ ศกษั าบรณึ าการหู นาทพลเมอ้ งแี่ ละหืลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ
14 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนประั ถมั้ ศกษา ึ ชนประถม้ั ศกษาปท ึ 2 ปกี า่ี รศกษาี 25ึ 63 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน (ชี วโมง/ป)ั่ ี ท12101 ภาษาไทย 200 ค12101 คณตศาสตร ิ ์ 200 อ12101 ภาษาองกฤษ ั 160 ว12101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย ี 80 ส12101 สงคมศกษั า ึ 40 ส12102 ประวตศาสตัร ิ ์ 40 พ12101 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 40 ศ12101 ศลปะ ิ 40 ง12101 การงานอาชพ ี 40 อ12201 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ิ่ ิ 40 ง12262 ภาษาองกฤษเพัอการสอส่ื าร ื่ 80 ความเปนเลศ 2็ ิ กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 40 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแลื่ ะั สาธารณประโยชน ์ รวมเวลาเรยน ี 1,080 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ ู ื เนตรนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปท ึ 1-6 รี วมี่ 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ั่ *** วชาสงคมิ ศกษั าบรณึ าการหู นาทพลเมอ้ งแี่ ละหืลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ
15 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนประั ถมั้ ศกษา ึ ชนประถม้ั ศกษาปทึ 3 ปกี า่ี รศกษาี 25ึ 63 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน (ชี วโมง/ป)่ั ี ท13101 ภาษาไทย 200 ค13101 คณตศาสตร ิ ์ 200 อ13101 ภาษาองกฤษ ั 160 ว13101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย ี 80 ส13101 สงคมศกษั า ึ 40 ส13102 ประวตศาสตัร ิ ์ 40 พ13101 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 40 ส13101 ศลปะ ิ 40 ง13101 การงานอาชพ ี 40 อ13201 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ิ่ ิ 40 ง13263 ภาษาองกฤษเพัอการสอส่ื าร ื่ 80 ความเปนเลศ 3็ ิ กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี ์ 40 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแลื่ ะั สาธารณประโยชน 1,080 รวมเวลาเรยน ี *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ ู ื เนตรนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปทึ 1-6 รีวมี่ 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ่ั *** วชาสงคมิ ศกษั าบรณึ าการหู นาทพลเมอ้ งแี่ ละหืลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ
16 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนประั ถมั้ ศกษา ึ ชนประถม้ั ศกษาปท ึ 4 ปกี า่ีรศกษาี 25ึ 63 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน (ชี วโมง/ป)่ั ี ท14101 ภาษาไทย 160 ค14101 คณตศาสตร ิ ์ 160 ว14101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย ี 80 ส14101 สงคมศกษั า ึ 80 ส14102 ประวตศาสตัร ิ ์ 40 พ14101 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 80 ศ14101 ศลปะ ิ 80 ง14101 การงานอาชพ ี 80 อ14101 ภาษาองกฤษ ั 80 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ่ิ ิ ว14201 คอมพวเตอร ิ ์ 40 ง10264 ความเปนเลศดาน็ วชิ าก้าริ 1 (80) พ10201 ความเปนเลศดาน็ กฬิ า ้ 1 ี (80) ศ10201 ความเปนเลศดาน็ ศลิ ปะ้ 1ิ (80) ศ10204 ความเปนเลศดาน็ ดนิ ตร้ สากล ี1 (80) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 40 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแล่ื ะั สาธารณประโยชน ์ รวมเวลาเรยน ี 1080 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ ู ื เนตรนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปท ึ 1-6 รี วมี่ 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชา่ิ ควิ ามิ เปนเลศ 4 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา ิ จ านวน ํ80 ชม./ป ี *** วชาสงคมิ ศกษั าบรณึ าการหู นาทพลเมอ้ งแี่ ละหืลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ
17 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนประั ถม้ั ศกษา ึ ชนประถม้ั ศกษาปท ึ 5 ปกี า่ีรศกษาี 25ึ 63 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน (ชี วโมง/ป)่ั ี ท15101 ภาษาไทย 160 ค15101 คณตศาสตร ิ ์ 160 ว15101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย ี 80 ส15101 สงคมศกษั า ึ 80 ส15102 ประวตศาสตัร ิ ์ 40 พ15101 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 80 ศ15101 ศลปะ ิ 80 ง15101 การงานอาชพ ี 80 อ15101 ภาษาองกฤษ ั 80 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ่ิ ิ ว15201 คอมพวเตอร ิ ์ 40 ง10265 ความเปนเลศดาน็ วชิ าก้าริ 2 (80) พ10202 ความเปนเลศดาน็ กฬิ า ้ 2 ี (80) ศ10202 ความเปนเลศดาน็ ศลิ ปะ้ 2ิ (80) ศ10205 ความเปนเลศดาน็ ดนิ ตร้ สากล ี2 (80) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 40 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแลื่ ะั สาธารณประโยชน ์ รวมเวลาเรยน ี 1080 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ ู ื เนตรนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปท ึ 1-6 รี วมี่ 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชาิ่ ควิ ามิ เปนเลศ 4 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา ิ จ านวน ํ80 ชม./ป ี *** วชาสงคมิ ศกษั าบรณึ าการหู นาทพลเมอ้ งแี่ ละหืลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ
18 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนประั ถม้ั ศกษา ึ ชนประถมั้ ศกษาปท ึ 6 ปกี าี่รศกษาี 25ึ 63 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน (ชี วโมง/ป)่ั ี ท16101 ภาษาไทย 160 ค16101 คณตศาสตร ิ ์ 160 ว16101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย ี 80 ส16101 สงคมศกษั า ึ 80 ส16102 ประวตศาสตัร ิ ์ 40 พ16101 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 80 ศ16101 ศลปะ ิ 80 ง16101 การงานอาชพ ี 80 อ16101 ภาษาองกฤษ ั 80 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ่ิ ิ ว16201 คอมพวเตอร ิ ์ 40 ง10265 ความเปนเลศดาน็ วชิ าก้าริ 2 (80) พ10202 ความเปนเลศดาน็ กฬิ า ้ 2 ี (80) ศ10202 ความเปนเลศดาน็ ศลิ ปะ้ 2ิ (80) ศ10205 ความเปนเลศดาน็ ดนิ ตร้ สากล ี2 (80) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 40 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแล่ื ะั สาธารณประโยชน ์ รวมเวลาเรยน ี 1080 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ ู ื เนตรนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปท ึ 1-6 รี วม่ี 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชาิ่ ควิ ามิ เปนเลศ 4 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา ิ จ านวน ํ80 ชม./ป ี *** วชาสงคมิ ศกษั าบรณึ าการหู นาทพลเมอ้ งแี่ ละหืลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ
19 ภาคเรยนท ี1 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนมธยั มศั้ กษั า ึ ี่ ชนมธยมศ้ั กษั าปทึ 1 ปกี าี่ รศกษาี 25ึ 63 ี่ ภาคเรยนท ี2 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รายวชาพนฐิ าน ื้ หนวยกต ชว่ โมงิ ั่ หนวยกต ช่ วโมิ ง ่ั รายวชาพนฐิ าน ้ื ท21101 ภาษาไทย 1 1.5 60 1.5 60 ค21101 คณตศาสตร 1ิ ์ 1.5 60 ท21102 ภาษาไทย 2 1.5 60 ว21101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย 1 ี 1.5 60 1.5 60 ส21101 สงคมศกษั า 1ึ 1.5 60 ค21102 คณตศาสตร 2ิ ์ 1.5 60 ส21102 ประวตศาสตัร ิ 1 ์ 0.5 20 0.5 20 พ21101 สขศกษา ุ 1 ึ 0.5 20 ว21102 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย 2 ี 0.5 20 พ21102 พลศกษา 1ึ 0.5 20 0.5 20 ศ21101 ศลปะ 1ิ 1.0 40 ส21103 สงคมศกษั า 2ึ 1.0 40 ง21101 การงานอาชพ 1 ี 1.0 40 1.0 40 อ21101 ภาษาองกฤษ 1ั 1.5 60 ส21104 ประวตศาสตัร ิ 2 ์ 1.5 60 พ21103 สขศกษา2ุ ึ พ21104 พลศกษา 2ึ ศ21102 ศลปะ 2ิ ง21102 การงานอาชพ 2 ี อ21102 ภาษาองกฤษ 2ั รายวชาเพมเิ ตม ิ่ ิ รายวชาเพมเิ ตม ่ิ ิ ส21241 ค20201 เศรษฐกจพอเพยิ ง 1 ี 0.5 20 ส21242 เศรษฐกจพอเพยิ ง 2 ี 0.5 20 ว21210 20 ง20261 คณตศาสตรเสริ ม 1์ ิ 0.5 20 ค20202 คณตศาสตรเสริ ม 2์ ิ 0.5 20 ง20267 (40) ศ20201 เทคโนโลยกบชวตี 1ั ีิ 0.5 (40) ว21211 เทคโนโลยกบชวตี 2ั ีิ 0.5 20 ศ20207 (40) พ 20201 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 1 ิ ์ (1.0) (40) ง20262 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 2 ิ ์ (1.0) (40) (40) ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 1 (1.0) ง20268 ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 2 (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 1ี (1.0) ศ20202 ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 2ี (1.0) (40) ความเปนเลศดา็นดินต้รสากลี(กตาร) 1ี ์ (1.0) ศ20208 ความเปนเลศดา็นดินต้รสากลี(กตาร) 2ี ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดา็นกิฬา้วอลีเลยบอล 1์ (1.0) พ 20202 ความเปนเลศดา็นกิฬา้วอลีเลยบอล 2์ (1.0) (40) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 2. แนะแนว 20 2. แนะแนว 20 3. ชมนม ุ ุ 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ - ูเนตื รนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 รี ว่ี ม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชา่ิ ควิ ามิ เปนเลศ 5 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา จ าิ นวน ํ40 ชม./ภาคเรยน ี
20 โครงสรางหลก้สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนมธยั มศ้ั กษั า ึ ชนมธยมศ้ั กษั าปทึ 2 ปกี าี่ รศกษาี 25ึ 63 ภาคเรยนท ี1 ี่ ภาคเรยนท ี2 ่ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รายวชาพนฐิาน ื้ หนวยกต ชว่ โมงิ ั่ หนวยกต ช่ วโมิ ง ่ั รายวชาพนฐิาน ้ื ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 60 1.5 60 ค22101 คณตศาสตร 3ิ ์ 1.5 60 ท22102 ภาษาไทย 4 1.5 60 ว22101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย 3 ี 1.5 60 1.5 60 ส22101 สงคมศกษั า 3ึ 1.5 60 ค22102 คณตศาสตร 4ิ ์ 1.5 60 ส22102 ประวตศาสตัร ิ 3 ์ 0.5 20 0.5 20 พ22101 สขศกษา ุ 3 ึ 0.5 20 ว22102 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย 4 ี 0.5 20 พ22102 พลศกษา 3ึ 0.5 20 0.5 20 ศ22101 ศลปะ 3ิ 1.0 40 ส22103 สงคมศกษั า 4ึ 1.0 40 ง22101 การงานอาชพ 3 ี 1.0 40 1.0 40 อ22101 ภาษาองกฤษ 3ั 1.5 60 ส22104 ประวตศาสตัร ิ 4 ์ 1.5 60 พ22103 สขศกษา ุ 4 ึ พ22104 พลศกษา 4 ึ ศ22102 ศลปะ 4ิ ง22102 การงานอาชพ 4 ี อ22102 ภาษาองกฤษ 4ั รายวชาเพมเิ ตม ิ่ ิ รายวชาเพมเิตม ิ่ ิ ว20201 ส22243 วทยาศาิสตรเสรม (์โคริงงงาน) 1 1.0 40 ว20202 วทยาศาิสตรเสรม ์(โคริ งงงาน) 2 1.0 40 ง20263 20 ง20269 เศรษฐกจพอเพยิ ง 3 ี 0.5 (40) ส22244 เศรษฐกจพอเพยิ ง 4 ี 0.5 20 ศ20203 (40) ศ20209 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 3 ิ ์ (1.0) (40) ง20264 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 4 ิ ์ (1.0) (40) (40) ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 3 (1.0) ง20270 ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 4 (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 3ี (1.0) ศ20204 ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 4ี (1.0) (40) ความเปนเลศดา็นดินต้รสากลี(กตาร) 3ี ์ (1.0) ศ20210 ความเปนเลศด็ านิดน้ตรสากลี (กตาร) 4ี ์ (1.0) (40) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 2. แนะแนว 20 2. แนะแนว 20 3. ชมนม ุ ุ 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ - ูเนตื รนาร ไดตาีมควา้มเหมาะสม ระดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 รี วี่ ม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ั่ *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชาิ่ ควิ ามิ เปนเลศ 5 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา จ าิ นวน ํ40 ชม./ภาคเรยน ี
21 โครงสรางหลก้สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนมธยั มศ้ั กษั า ึ ชนมธยมศ้ั กษั าปทึ 3 ปกี าี่ รศกษาี 25ึ 63 ภาคเรยนท ี1 ี่ ภาคเรยนท ี2 ่ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รายวชาพนฐิาน ื้ หนวยกต ชว่ โมงิ ั่ หนวยกต ช่ วโมิ ง ่ั รายวชาพนฐิาน ื้ ท23101 ภาษาไทย 5 1.5 60 1.5 60 ค23101 คณตศาสตร 5ิ ์ 1.5 60 ท23102 ภาษาไทย 6 1.5 60 ว23101 วทยาศาิสตรและเท์คโนโลย 5 ี 1.5 60 1.5 60 ส23101 สงคมศกษั า 5ึ 1.5 60 ค23102 คณตศาสตร 6ิ ์ 1.5 60 ส23102 ประวตศาสตัร ิ 5 ์ 0.5 20 0.5 20 พ23101 สขศกษา ุ 5 ึ 0.5 20 ว23102 วทยาศาิสตร 6 ์ 0.5 20 พ23102 พลศกษา 5 ึ 0.5 20 0.5 20 ศ23101 ศลปะ 5ิ 1.0 40 ส23103 สงคมศกษั า 6ึ 1.0 40 ง23101 การงานอาชพ 5 ี 1.0 40 1.0 40 อ23101 ภาษาองกฤษ 5ั 1.5 60 ส23104 ประวตศาสตัร ิ 6 ์ 1.5 60 พ23103 สขศกษา ุ 6 ึ พ23104 พลศกษา 6 ึ ศ23102 ศลปะ 6ิ ง23102 การงานอาชพ 6 ี อ23102 ภาษาองกฤษ 6ั รายวชาเพมเิ ตม ิ่ ิ รายวชาเพมเิตม ิ่ ิ ว20203 ส23245 วทยาศาิสตรเสรม (์โคริงงาน) 3 1.0 40 ว20204 วทยาศาิสตรเสรม (์โคริงงาน) 4 1.0 40 ง20265 20 ง20271 เศรษฐกจพอเพยิ ง 5 ี 0.5 (40) ส23246 เศรษฐกจพอเพยิ ง 6 ี 0.5 20 ศ20205 (40) ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 5 ิ ์ (1.0) (40) ง20266 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 6 ิ ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 5 (1.0) ง20272 ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 6 (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ ดนิ ตร้ ไทย 5ี (1.0) ศ20206 ความเปนเลศดาน็ ดนิ ตร้ ไทย 6ี (1.0) (40) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 2. แนะแนว 20 2. แนะแนว 20 3. ชมนม ุ ุ 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ ั 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ - ูเนตื รนาร ไดตาีมควา้มเหมาะสม ระดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 รี ว่ี ม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชาิ่ ควิ ามิ เปนเลศ 4 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา จ าิ นวน ํ40 ชม./ภาคเรยน ี *** วชาสงคมิ ศกษั าบรณึ าการหู นาทพลเมอ้ งแ่ี ละหืลกสตรตาั นทู จรต้ ุ ิ
22 การจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผูเ้ รยี น เป็นเปา้ หมายสำหรับพัฒนาผ้เู รยี นทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางร่างกายหรือสขุ ภาพ ใน ก ารพั ฒ น าผู้ เรีย น ให้ มี คุ ณ ส ม บั ติ ต าม เป้ าห ม าย ห ลั ก สู ต ร ผู้ ส อ น พ ย าย าม คั ด ส รร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสำคัญให้ผู้เรียนบรรลุ ตามเป้าหมาย จงึ ไดด้ ำเนินการจัดการเรียนรู้ ดังน้ี ๑. หลักการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ท่ีเกิดกับ ผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ คำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสมอง เน้นใหค้ วามสำคญั ทั้งความรู้ และคุณธรรม ๒. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็นเคร่ืองมือท่ีจะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ัย กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะ จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจำเป็นต้องศึกษาทำ ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณา ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรยี นได้พฒั นาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายท่ีกำหนด
23 ๔. จดั ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการเรยี นรู้ / กระบวนการเรยี นรู้ / แหล่งเรียนรู้ ๔.๑ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ท้ังในและนอกห้องเรียน รวมทง้ั นอกสถานศกึ ษาด้วยเช่น ในชมุ ชนใกล้ๆ บรเิ วณโรงเรยี น เช่น ตลาด วัด หรือสถานทส่ี ำคัญๆ ในชมุ ชน ๔.๒ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ูเ้ รียนเปน็ ผู้แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง โดยจดั ใหม้ แี หล่งการเรียนรู้ ห้องสมุด เพ่อื ให้ผเู้ รียนไดศ้ กึ ษาคน้ คว้าหาความรู้อย่างเพียงพอ ๔.๓ ส่งเสริมสนับสนุนให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่สองในทุกระดับช้ัน ๔.๔ ส่งเสริมสนับสนุนและมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนทางด้านการงานพ้ืนฐานอาชีพเพ่ือเป็น พ้นื ฐานในการประกอบอาชพี ๔.๕ สง่ เสรมิ สนับสนุนใหผ้ เู้ รยี นได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ เรียนรู้ให้ทันวทิ ยาการต่าง ๆ ๔.๖ สง่ เสริมสนับสนนุ ใหม้ ีบริการ ตามความตอ้ งการจำเป็นพิเศษหรือตามความสนใจ และ ความถนัดของผู้เรียนเช่น การฟ้ืนฟูสมรรถภาพของนักเรียน เช่น กายภาพบำบัด อรรถบำบัด กิจกรรมบำบัด ธาราบำบัดเป็นต้น นอกจากน้ี โรงเรียนจัดให้มีผู้ให้คำปรึกษา คำแนะนำ และให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียนทุก คนอยา่ งทั่วถึง ๕. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน การจดั การเรียนรเู้ พ่อื ใหผ้ เู้ รียนมคี ุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ท้งั ผสู้ อนและผ้เู รียนควรมีบทบาท ดังน้ี ๕.๑ บทบาทของผูส้ อน ๑) ศึกษาวิเคราะหผ์ เู้ รยี นเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมลู มาใช้ในการวางแผนการ จัดการเรียนรู้ ทที่ ้าทายความสามารถของผู้เรียน ๒) กำหนดเปา้ หมายทต่ี ้องการใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผ้เู รยี น ดา้ นความรู้และทกั ษะ กระบวนการ ที่เป็นความคดิ รวบยอด หลักการ และความสมั พนั ธ์ รวมทง้ั คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพอ่ื นำผู้เรยี นไปสเู่ ปา้ หมาย ๔) จดั บรรยากาศทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้ และดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี นให้เกิดการเรียนรู้ ๕) จดั เตรยี มและเลือกใช้สอื่ ให้เหมาะสมกบั กจิ กรรม นำภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เทคโนโลยที เี่ หมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจัดการเรยี นการสอน ๖) ประเมนิ ความก้าวหน้าของผู้เรยี นด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาติของวชิ าและระดับพัฒนาการของผ้เู รยี น ๗) วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ มาใชใ้ นการซอ่ มเสรมิ และพัฒนาผูเ้ รียน รวมท้ัง ปรับปรุงการจดั การเรียนการสอนของตนเอง
24 ๕.๒ บทบาทของผู้เรยี น ๑) กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหลง่ การเรยี นรู้ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ ความรู้ ต้ังคำถาม คดิ หาคำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปญั หาด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ๓) ลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง สรุปส่งิ ท่ไี ด้เรยี นร้ดู ้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณต์ ่าง ๆ ๔)มปี ฏิสมั พนั ธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู ๕) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรูข้ องตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง สอ่ื การเรยี นรู้ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยกระบวนการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งใน โรงเรียนและนอกโรงเรียน ตลอดจนเลือกใช้ ส่ิงอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศกึ ษาทเี่ หมาะสม ตลอดจนสอดคล้องกบั ความต้องการของชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ สื่อการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มี หลากหลายประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีในท้องถ่ิน สื่อส่ิงพิมพ์เป็นส่ิงท่ีต้องจัดให้เพียงพอ เนื้อหาครอบคลุมทุกสาระการเรียนรู้และทุกช่วงช้ัน รวมท้ังส่งเสริม การเรียนรู้จากเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง การเลือกใช้ส่ือควรเลือก ใหม้ ีความเหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการ และลีลาการเรยี นรู้ทีห่ ลากหลายของผ้เู รยี น การจัดหาส่ือการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้ อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริมและ สื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ อย่างแทจ้ ริง สถานศึกษา ควรดำเนินการดงั นี้ ๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปล่ียน ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา ทอ้ งถนิ่ ชุมชน สังคมโลก ๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมท้ัง จัดหาส่ิงท่ีมีอยใู่ นทอ้ งถน่ิ มาประยุกตใ์ ช้เป็นส่อื การเรยี นรู้
25 ๓. เลือกและใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวธิ กี ารเรยี นรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผเู้ รยี น ๔. ประเมนิ คุณภาพของสือ่ การเรียนร้ทู ่เี ลอื กใชอ้ ยา่ งเป็นระบบ ๕. ศึกษาคน้ คว้า วิจยั เพื่อพัฒนาสือ่ การเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น ๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับส่ือและการใช้สื่อ การเรยี นรเู้ ปน็ ระยะๆ และสมำ่ เสมอ ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณ ภาพส่ือการเรียนรู้ท่ีใช้ในสถานศึกษา ควรคำนึงถึงหลักการสำคัญของส่ือการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบ ความมนั่ คงของชาติ ไมข่ ดั ตอ่ ศีลธรรม มกี ารใช้ภาษาท่ีถกู ต้อง รูปแบบการนำเสนอท่ีเขา้ ใจงา่ ย และน่าสนใจ
117 กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวชิ าเพม่ิ เติม ระดับมธั ยมศึกษา วิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ส21241 เศรษฐกจิ พอเพยี ง 1 ส21242 เศรษฐกิจพอเพยี ง 2 ส22243 เศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ส22244 เศรษฐกิจพอเพยี ง 4 ส23245 เศรษฐกิจพอเพยี ง 5 ส23246 เศรษฐกิจพอเพยี ง 6
118 คำอธิบายรายวชิ า ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น รหัสวิชา ส21241 รายวิชา เศรษฐกิจพอเพยี ง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 0.5 หน่วยกิต เวลา 1 ช่วั โมง/สปั ดาห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์เก่ียวกับความหมาย แนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การปฏิบัติ กิจกรรมการปลูกผักอากาศ หลักการใช้จ่ายเงินอย่างประหยัด วิธีการหารายได้พิเศษ การจัดทำบัญชีรายรับ – รายจา่ ย การสรุปและการประเมนิ ผล โดยใช้ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการทำงาน กระบวนการฝึกทักษะการ ปฏิบัติ กระบวนการบริหารจัดการ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน และกระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะท่ี พึงประสงค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความตระหนักในคุณคา่ ของการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพ ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมาย แนวคดิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้ 2. อธิบายขน้ั ตอนการปลูกผักอากาศได้ 3. นำวสั ดเุ หลือใชม้ าสร้างอาชีพได้ 4. อธบิ ายการจัดทำบญั ชีรายรบั – รายจา่ ย
119 คำอธบิ ายรายวชิ า ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 เวลา 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น รหัสวิชา ส21242 รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ เวลา 1 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิธีการจัดการทรัพยากรของตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยการนำแนวคิดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ วิธีการรักษ์โลก การจัดกิจกรรมการรักษ์โลก การเกิดภาวะโลกร้อน การจัด กิจกรรมการลดโลกรอ้ น การสรุปและการประเมนิ ผล โดยใช้ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการทำงาน กระบวนการฝึกทักษะการ ปฏิบัติ กระบวนการบริหารจัดการ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน และกระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะท่ี พงึ ประสงค์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการทรัพยากร โดยการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใชใ้ น การดำเนนิ ชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสมและเกิดประสทิ ธภิ าพ ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายวิธกี ารจดั การทรพั ยากรโดยการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ได้ 2. อธิบายวิธีการรักษ์โลก อยา่ งถกู ตอ้ งได้ 3. อธิบายสาเหตุการเกิดภาวะโลกรอ้ นได้ อยา่ งถูกตอ้ ง
120 คำอธบิ ายรายวิชา ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 เวลา 20 ชัว่ โมง/ภาคเรียน รหสั วิชา ส22243 รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต เวลา 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา สภาพปัญหาชุมชน ด้านสังคม และแนวทางแก้ไขตามแนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การปฏิบัติ การจัดการสภาพปัญหาชุมชน ด้านสังคม ตามแนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สภาพปัญหาชุมชน ด้านเศรษฐกิจ ตามแนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การปฏิบัติ การ จัดการสภาพปัญหาชุมชน ด้านเศรษฐกิจ ตามแนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสรุปและการ ประเมินผล โดยใช้ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการทำงาน กระบวนการฝึกทักษะการ ปฏิบัติ กระบวนการบริหารจัดการ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน และกระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ในสภาพปัญหาชุมชน ด้านสังคม เศรษฐกิจ และการประยุกต์ใช้ การดำเนินชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไดอ้ ย่างเหมาะสมและเกิดประสิทธภิ าพ ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายถงึ ลกั ษณะ สภาพปัญหาชมุ ชนด้าน สงั คม ในชุมชนของตนเองได้ 2. อธิบายวธิ กี ารแก้ไขสภาพปัญหาชมุ ชน ด้านสงั คม ตามแนวคดิ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามสภาพปญั หาได้ 3. อธิบายถงึ ลกั ษณะสภาพปัญหาชุมชน ดา้ นเศรษฐกิจ ในชมุ ชนของตนเองได้ 4. อธิบายวธิ ีการแกไ้ ขสภาพปญั หาด้านเศรษฐกิจ ตามแนวคดิ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามสภาพปัญหาได้
121 คำอธิบายรายวิชา ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน รหัสวิชา ส22244 รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 0.5 หน่วยกิต เวลา 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา สภาพปัญหาชุมชน ด้านส่ิงแวดล้อม และแนวทางแก้ไขตามแนวคิด หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การปฏิบัติ การจัดการสภาพปัญหาชุมชน ด้านวัฒนธรรมตามแนวคิด หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง การสรปุ และการประเมนิ ผล โดยใช้ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการทำงาน กระบวนการฝึกทักษะการ ปฏิบัติ กระบวนการบริหารจัดการ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน และกระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ในสภาพปัญหาชุมชน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านวัฒนธรรม และการ ประยุกต์ใช้การดำเนินชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้อย่างเหมาะสมและเกิด ประสิทธิภาพ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายถงึ ลักษณะ สภาพปัญหาชมุ ชน ด้านสงิ่ แวดล้อม ในชมุ ชนของตนเองได้ 2. อธิบายวธิ กี ารแกไ้ ขสภาพปัญหาชุมชน ดา้ นส่ิงแวดล้อม ตามแนวคิด หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ตามสภาพปัญหาได้ 3. อธิบายถึงลักษณะสภาพปญั หาชุมชน ดา้ นวัฒนธรรม ในชมุ ชนของตนเองได้ 4. อธบิ ายวธิ กี ารแกไ้ ขสภาพปญั หา ด้านวฒั นธรรม ตามแนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตาม สภาพปญั หาได้
122 คำอธบิ ายรายวิชา ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 20 ชว่ั โมง/ภาคเรยี น รหัสวิชา ส23245 รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพยี ง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ เวลา 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์เก่ียวกับ สินค้าและบริการ การรู้จักค่าของเงินทองของมีค่า การใช้ทรัพยากร อย่างประหยัดแล้วคุ้มค่า การเข้าใจความหมายของครอบครัวพอเพียง การจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย ซ้ือ ดีมีสุขการการปฏิบตั ิกิจกรรมใชจ้ า่ ยอยา่ งมคี า่ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สรุปและการประเมินผล โดยใช้ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการทำงาน กระบวนการฝึกทักษะการ ปฏิบัติ กระบวนการบริหารจัดการ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน และกระบวนการสร้างเสรมิ คุณลักษณะท่ี พงึ ประสงค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการเลือกใช้สินค้า และบริการ การจัดทำบัญชีรายรับ – รายจ่าย ในครัวเรือน และการประยุกต์ใช้การดำเนินชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้ อยา่ งเหมาะสมและเกดิ ประสิทธิภาพ ผลการเรยี นรู้ 1. วิเคราะห์ลกั ษณะการเลอื กใช้สนิ คา้ และบรกิ าร ได้ 2. อธบิ ายถึงคุณคา่ ของเงินทองได้ 3. อธบิ ายความหมาย และลักษณะของครอบครวั พอเพยี งได้ 4. อธบิ ายข้ันตอนการจัดทำบัญชีรายรบั – รายจา่ ย ในครวั เรอื นได้
123 คำอธบิ ายรายวชิ า ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน รหสั วชิ า ส23246 รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพยี ง กล่มุ สาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม จำนวน 0.5 หน่วยกติ เวลา 1 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับ สิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง การใช้ชีวิตท่ี พอเพียงไมเ่ ส่ียงความยากจน วิธีลดรายจ่าย เพ่มิ รายได้ รจู้ ักหลักการของสหกรณ์ สรปุ และการประเมินผล โดยใช้ กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการทำงาน กระบวนการฝึกทักษะการ ปฏิบัติ กระบวนการบริหารจัดการ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน และกระบวนการสร้างเสริมคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสิทธิพื้นฐานของผู้บริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง วิธีลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ในครัวเรือน และการประยุกต์ใช้การดำเนินชีวิตประจำวันตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ได้อย่างเหมาะสมและเกดิ ประสทิ ธภิ าพ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกบั สิทธพิ ืน้ ฐานของผบู้ รโิ ภค ได้ 2. อธิบายถึงหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง ได้ 3. อธบิ ายถงึ วิธีการใช้ชีวติ ทีพ่ อเพียงไม่เสี่ยงความยากจน ได้ 4. อธบิ ายถงึ วิธีลดรายจา่ ย เพิม่ รายได้ ในครัวเรือนได้
26 กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
27 คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาไทยเปน็ เอกลักษณ์ของชาตเิ ป็นสมบตั ทิ างวฒั นธรรมอันก่อให้เกิดความเปน็ เอกภาพและ เสริมสรา้ งบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเปน็ ไทย เปน็ เครือ่ งมือในการติดต่อส่ือสารเพอื่ สร้างความเข้าใจและ ความสัมพันธ์ที่ดตี ่อกนั ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธปิ ไตยไดอ้ ยา่ ง สันตสิ ุข และเปน็ เครื่องมอื ในการแสวงหาความรูป้ ระสบการณ์จากแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศต่างๆ เพือ่ พัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และสร้างสรรคใ์ หท้ ันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และความก้าวหนา้ ทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพัฒนาอาชพี ใหม้ ีความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ นอกจากนยี้ งั เป็นส่ือ แสดงภูมิปัญญาของบรรพบรุ ษุ ด้านวฒั นธรรม ประเพณี และสนุ ทรยี ภาพ เปน็ สมบัตลิ ำ้ คา่ ควรแกก่ ารเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และสืบสานให้คงอยคู่ ู่ชาติไทยตลอดไป สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหา ในการดำเนินชีวติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราวใน รปู แบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสทิ ธภิ าพ สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรสู้ กึ ในโอกาสต่างๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิ ปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ คา่ และนำมา ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จริง
28 รายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา จำนวน 200 ช่ัวโมง รายวิชาพ้ืนฐาน ท 11101 ภาษาไทย จำนวน 200 ช่ัวโมง จำนวน 200 ชั่วโมง ท 12101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชั่วโมง ท 13101 ภาษาไทย ท 14101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชั่วโมง จำนวน 160 ชั่วโมง ท 15101 ภาษาไทย ท 16101 ภาษาไทย ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 60 ชัว่ โมง รายวิชาพน้ื ฐาน ท 21101 ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 60 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 60 ชั่วโมง ท 21102 ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 60 ชว่ั โมง ท 22101 ภาษาไทย ท 22102 ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 60 ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 60 ช่ัวโมง ท 23101 ภาษาไทย ท 23102 ภาษาไทย
29 คำอธิบายรายวิชา รหสั วชิ า ท ๑๑๑๐๑ กลม6ุ สาระการเรยี นรู= ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปทF ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง จำนวน ๕ หน6วยกิต คำอธบิ ายรายวิชา ศกึ ษาหลกั การอา, นออกเสียง ความหมายของคำ คำคล8องจอง และข8อความ ทป่ี ระกอบ ดว8 ยคำท่มี รี ูป วรรณยกุ ตแE ละไม,มรี ปู วรรณยกุ ตE ตวั สะกดตรงตามมาตราและไม,ตรงตามมาตรา พยัญชนะควบกล้ำ คำท่มี อี ักษรนำ การอา, นจบั ใจความ ตอบคำถาม และเล,าเรอ่ื งยอ, จากนิทาน เร่อื งสั้น รอ8 งแก8ว รอ8 ยกรอง บทอาขยาน วรรณกรรม และ เรื่องเลา, ในทอ8 งถน่ิ ของจังหวดั ประจวบคีรีขนั ธE การอา, นหนังสือตามความสนใจ ความหมายของเครื่องหมายหรือ สญั ลกั ษณEตา, งๆ การคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั การเขยี นสอ่ื สารด8วยคำ และประโยคงา, ยๆ การฟงT และปฏบิ ัติ ตามคำแนะนำ คำสงั่ งา, ยๆ การพดู แสดงความคิดเหน็ และความรู8สกึ จากเรือ่ งท่ฟี งT และดทู ัง้ ท่เี ปนV ความร8ูและความ บันเทงิ ศกึ ษา หลกั ภาษาไทย พยญั ชนะ สระ วรรณยุกตE เลขไทย การสะกดคำ การแจกลูก การอ,านเปVนคำ มาตรา ตวั สะกด การผนั คำ การแต,งประโยค คำคลอ8 งจอง รวมท้ังมารยาทในการอ,าน การเขียน การฟงT การดู และการพดู โดยใชท8 กั ษะและกระบวนการทางภาษาไทย ทัง้ การอา, น การเขียน การพูด การฟTง และดู สามารถใช8 ภาษาไทยไดอ8 ยา, งถูกตอ8 ง และมมี ารยาท เพ่ือใหเ8 กิดความร8ู ความคดิ ความเข8าใจ สามารถนำเสนอสอื่ สารสงิ่ ทีเ่ รยี นร8ู มมี ารยาทในการอา, น การเขยี น การฟTง การดู และการพูด มีความสามารถในการตดั สินใจ แก8ปTญหาในการดำเนนิ ชวี ติ เหน็ คุณค,าของการนำความรูไ8 ป ใชใ8 นชวี ติ ประจำวัน รหสั ตวั ช้วี ดั ท ๑.๑ ป.๑/๑ - ป.๑/๘, ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑ - ป.๑/๕, ท ๔.๑ ป.๑/๑ - ป.๑/๔, ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม ๒๒ ตวั ชว้ี ัด
30 คำอธิบายรายวิชา รหัสวชิ า ท ๑2๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง จำนวน ๕ หน่วยกติ อ่านออกเสียง และอธิบายความหมายของคำ คำคล้องจอง บทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ อา่ นจบั ใจความ ตงั้ คำถาม และตอบคำถามจากเรอ่ื งท่อี ่าน นิทาน เรอ่ื งเลา่ สัน้ ๆ บทเพลงและบทรอ้ ยกองงา่ ยๆ เร่ืองราว ในบทเรยี น ข่าวและเหตกุ ารณ์ประจำวัน แสดงความคิดเห็น คาดคะเน เหตกุ ารณจ์ ากเร่อื งท่อี า่ น อา่ นหนงั สือตาม ความสนใจ อ่านขอ้ เขยี นเชิงอธิบายและปฏบิ ัตติ ามคำสง่ั หรอื ขอ้ เสนอแนะ และมมี ารยาทในการอ่าน คดั ลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการเขยี นอักษรไทย เขียนเรื่องส้ันเกยี่ วกับ ประสบการณ์ เขียนตามจินตนาการและมารยาทในการเขยี น ฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำคำส่ังทซ่ี ับซ้อน เล่าเร่อื งทฟี่ งั และดูพูดแสดงความคดิ เหน็ บอก สาระสำคญั ของเร่อื งทีฟ่ ังและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเกยี่ วกบั เรือ่ งทฟ่ี งั และดู พูดแสดงความคดิ เห็นและ ความรู้สกึ จากเรอ่ื งทฟี่ งั และดู จากเรื่องเลา่ สารคดี นิทาน การ์ตูน เรื่องขบขัน เพลง พดู สอื่ สารแนะนำตนเอง พูดขอความชว่ ยเหลอื กลา่ วคำขอบคณุ คำขอโทษ พดู ขอร้องในโอกาสต่างๆ เลา่ ประสบการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั และมมี ารยาทในการฟัง การดู การพดู บอกและเขยี นพยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย เขยี นสะกดคำการแจกลูก การอ่านเช่นคำ มาตราตวั สะกดทตี่ รงและไมต่ รงตามมาตรการผนั อักษรกลาง อกั ษรสูง และอกั ษรต่ำ คำทม่ี ตี วั -การันต์ คำที่มี พยญั ชนะควบกล้ำ คำที่มีอักษรนำ คำที่มคี วามหมายตรงขา้ มกนั คำท่ีมี รร ความหมายของคำ การแต่งประโยค เรยี บเรียงประโยคเปน็ ขอ้ ความสัน้ ๆ บอกลักษณะคำคลอ้ งจอง เลอื กใช้ภาษาไทยมารฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสม ระบุ ข้อคดิ จากการอา่ นนทิ าน เรอ่ื งสั้นงา่ ยๆ ปริศนาคำทาย บทอาขยาน บทร้อยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น ร้องบทรอ้ งเล่นในทอ้ งถิ่น ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรอง ตามความสนใจ โดยใช้การฟัง พดู อ่านและเขียนเป็นกระบวนการคดิ มที ักษะทางภาษา ทักษะการสื่อสาร ใช้ ภาษาเป็นเครอ่ื งมือในการถา่ ยทอดวัฒนธรรม รกั ชาติ ศาสนา กษัตริย์ พฒั นาผูเ้ รียนให้เปน็ คนมเี หตผุ ล สรุป เรอื่ งราวอยา่ งมีกฎเกณฑ์ มีความซอ่ื สัตยส์ ุจริตมีวนิ ยั ใชภ้ าษาในการแสดงหาความรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง มุ่งมนั่ ในการ ทำงาน มคี ุณคา่ ทางจริยธรรม รักความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ เหน็ คุณคา่ ของการอนรุ กั ษ์ภาษาไทย และตวั เลข ไทย สามารถนำความรไู้ ปใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม รหสั ตวั ชี้วดั ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7 ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 รวม 27 ตวั ชว้ี ดั
รหัสวิชา ท ๑3๑๐๑ คำอธิบายรายวิชา 31 เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน ๕ หน่วยกติ ศึกษาหลักการอ่านออกเสียง และความหมายของคำ คำคล้องจอง ข้อความและบทร้อยกรอง ง่าย ๆ อธิบายความหมายของคำและข้อความท่อี า่ น สามารถคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นบรรยายเกย่ี วกบั ลกั ษณะของสิง่ ตา่ ง ๆ เขยี นบันทึกประจำวัน เรื่องตามจนิ ตนาการ จับใจความ และพดู แสดงความคดิ เหน็ ความรู้สกึ จากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดู ทง้ั ที่เป็นความรแู้ ละความบนั เทิง มมี ารยาทในการฟัง ดู พดู เขยี น สะกดคำและ บอกความหมายของคำ ระบุชนดิ หน้าทีข่ องคำในประโยค สามารถใช้พจนานกุ รมคน้ หาความหมาย แต่งประโยค คำคลอ้ งจอง คำขวัญ เลอื กใชภ้ าษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิน่ ได้เหมาะสมกบั กาลเทศะ ระบขุ อ้ คิดทไี่ ด้จากการ อ่านวรรณกรรม รู้จกั เพลงพ้ืนบ้าน เพลงกลอ่ มเดก็ ทอ่ งบทอาขยาน บทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ คา่ และความสนใจ โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางภาษาไทย ท้ังการอ่าน การเขียน การพดู การฟัง และดู สามารถใช้ภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมมี ารยาท เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ นำความรู้จากส่งิ ท่ีได้รับไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน เขา้ ใจ เห็น คุณคา่ และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติไทย รหสั ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๙, ท ๒.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๖, ท ๓.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๖, ท ๔.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๖, ท ๕.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๔ รวม ๓๑ ตวั ชี้วดั
32 คำอธบิ ายรายวิชา รหัสวชิ า ท ๑๔๑๐๑ กล6ุมสาระการเรยี นรู= ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปทF ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔ หนว6 ยกิต คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาหลักการอา, นออกเสียง เขา8 ใจความหมายของบทรอ8 งแก8ว ร8อยกรอง ทอ, งจำบทร8อยกรองเปVนทำนอง เสนาะ อ,านจบั ใจความจากสอื่ ต,างๆ ได8โดยเลอื กหนงั สืออ,านตาม ความสนใจ มีนิสัยรกั การอา, น และมีมารยาทใน การอ,าน คดั ลายมอื ด8วยตัวบรรจงเตม็ บรรทดั คร่งึ บรรทดั ตามรปู แบบของการเขียนตัวอักษรไทย เขียนสอ่ื สาร โดยนำแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคดิ ไปพฒั นาตน เขยี นย,อความ จดหมายถึงเพือ่ น บิดามารดา เขียนบันทกึ รายงานได8เหมาะกับโอกาส เขียนเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ มนี ิสัยรกั การเขยี นและมมี ารยาทในการเขียน จำแนก ขอ8 เทจ็ จรงิ ขอ8 คิดเหน็ จากเรอื่ งทฟี่ งT และดูโดยการสังเกต จับใจความของเรือ่ งทพี่ ดู แสดงความร8ู ความคิดในเรื่องทีฟ่ งT และดูจากส่อื ตา, งๆ ศกึ ษาการพูดรายงานลำดับเหตุการณE ข้ันตอนการปฏิบัตงิ าน มมี ารยาทในการฟTง การดู และการ พดู อา, นและเขียนสะกดคำแม, ก.กา มาตราตัวสะกดต,างๆ การผนั อกั ษร คำเปนV คำตาย คำพ8อง ใช8คำตามชนดิ และ หนา8 ท่ขี องคำ ใชพ8 จนานกุ รมโดยแยกสว, นประกอบของประโยค แต,งบทรอ8 ยกรองประเภทกลอนส่ี คำขวัญ สำนวน คำ พงั เพย สุภาษติ ใช8ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได8อย,างถูกตอ8 ง อา, นวรรณคดี วรรณกรรม นิทานพ้ืนบา8 น นทิ าน คตธิ รรม เพลงพนื้ บา8 น เพอ่ื นำไปใชใ8 นชีวติ ประจำวนั ได8 โดยใชท8 กั ษะและกระบวนการทางภาษาไทย ท้ังการอา, น การเขยี น การพูด การฟTง และดู สามารถใช8 ภาษาไทยได8อยา, งถูกตอ8 ง และมีมารยาท เพ่อื ใหเ8 กิดความร8ู ความเขา8 ใจ นำความรจ8ู ากส่ิงที่ได8รับไปปรับใช8ในชีวติ ประจำวัน เขา8 ใจ และเห็นคุณคา, และ รักษาภาษาไทยไว8เปVนสมบตั ิของชาตไิ ทย รหัสตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๘, ท ๒.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๘, ท ๓.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๖, ท ๔.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๗, ท ๕.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๔ รวม ๓๓ ตัวช้วี ัด
33 รหัสวิชา ท ๑๕๑๐๑ คำอธิบายรายวชิ า ชน้ั ประถมศกึ ษาปFท่ี ๕ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง กลมุ6 สาระการเรียนรู= ภาษาไทย จำนวน ๔ หนว6 ยกติ คำอธบิ ายรายวิชา ศึกษาหลกั การอ,านออกเสียงบทร8องแก8ว และบทรอ8 ยกรอง การจับใจความสำคญั จากสื่อต,างๆ จากงานเขยี น เชงิ อธิบาย คำสงั่ ข8อแนะนำ และการอ,านหนังสือตามความสนใจ การคัดลายมอื การเขยี นส่อื สาร นำแผนภาพ โครงเรือ่ ง แผนภาพความคิด ไปพัฒนางานเขยี น เขียนยอ, ความจากสอื่ ต,างๆ เขียนจดหมายถงึ ผู8ปกครองและญาติ แสดงความรูส8 กึ ความคิดเหน็ กรอกแบบรายการต,างๆ การเขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ จับใจความและการพดู แสดง ความรู8 ความเขา8 ใจ ความคิดในเรอ่ื งทีฟ่ งT ดจู ากสอื่ ต,างๆ วเิ คราะหEความน,าเชอื่ ถือจากเร่ืองทฟ่ี Tง ดู และรายงานจากใน ชีวิตประจำวนั พร8อมทง้ั ศกึ ษาชนดิ หน8าที่ของคำ ประโยค และสว, นประกอบของประโยค ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษา ถิ่น คำราชาศัพทE คำทมี่ าจากภาษาต,างประเทศ กาพยยE านี ๑๑ สำนวนทีเ่ ปนV คำพังเพย และสภุ าษติ ศกึ ษาวรรณคดี และวรรณกรรมในพ้ืนบ8าน วรรณคดีในบทเรียนตามความสนใจ บทอาขยาน และบทร8อยกรอง ตามที่กำหนดได8อย,างมี คณุ คา, โดยใช8ทักษะและกระบวนการอ,าน การอ,านจบั ใจความ อ,านออกเสยี ง บทรอ8 ยแกว8 และบทรอ8 ยกรอง อ,านตาม ความสนใจ ใช8ทกั ษะกระบวนการเขยี น ในการคดั ลายมือดว8 ยตวั บรรจงตามรปู แบบการเขยี นตวั อักษรไทย และเขียน สอื่ สารตา, งๆ ได8ตามความคิดเห็น และแสดงความร8สู ึกตามจินตนาการ ใช8ทกั ษะการฟTง การดู และการพูด วิเคราะหE ความเชอ่ื ถือจากเร่อื งท่ฟี งT ดู ในชีวติ ประจำวัน พรอ8 มทง้ั ใช8ทักษะการเรียนร8ู หลกั การทางภาษา แสวงหาความร8ู และ การทำงานในการอา, นพัฒนา วิเคราะหE วจิ ารณวE รรณคดี วรรณกรรม ไดอ8 ย,างมเี หตผุ ล มี การนำเสนอความ คดิ เห็นในรูปแบบตา, งๆ ได8อยา, งมคี ณุ ค,า เพอ่ื ใหเ8 กิดความร8ู และความเข8าใจ สามารถนำไปใชใ8 นการตดั สนิ ใจ แก8ปTญหาใน การดำเนินชวี ติ มีนสิ ยั มารยาทในการสอ่ื สาร สามารถฟTง ดู พูด ได8อย,างมวี จิ ารณญาณ ใชเ8 ปนV เครื่องมอื ในการแสวงหาความรู8 ความคดิ ความรู8สกึ ในโอกาสตา, งๆ ไดอ8 ย,างสร8างสรรคE พรอ8 มท้งั เขา8 ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย ภมู ปิ Tญญาทาง ภาษา รกั ษาภาษาไทยไวเ8 ปVนสมบัตขิ องชาติ พรอ8 มทงั้ เห็นคณุ ค,าของวรรณคดี และวรรณกรรมทอ่ี ,าน นำข8อคิดเห็นจาก เร่อื งทีอ่ ,านไปประยกุ ตEใชใ8 นชีวิตจรงิ รหัสตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๘, ท ๒.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๙, ท ๓.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๕, ท ๔.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๗, ท ๕.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๔ รวม ๓๓ ตวั ชว้ี ัด
34 คำอธิบายรายวิชา รหสั วชิ า ท ๑๖๑๐๑ กล6มุ สาระการเรยี นร=ู ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปFที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๔ หนว6 ยกิต คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาหลักการอ,านออกเสยี งบทร8องแก8ว และบทร8อยกรอง การอา, นจับใจความ อ,านงานเขียน อ,านข8อมลู จาก แผนผงั แผนท่ี แผนภมู ิ และกราฟ การอ,านหนังสอื ตามความสนใจ การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทดั การเขียนสอื่ สาร เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง และแผนภาพความคิด การเขยี นเรยี งความ เขียนยอ, ความ เขยี น จดหมายส,วนตวั การกรอกแบบรายการ การเขียนเร่อื งตามจินตนาการ การพูดแสดงความร8ู ความเขา8 ใจ วเิ คราะหE เร่อื งจากการฟงT และดสู ื่อโฆษณา การพูดรายงาน การเลา, นิทานพ้นื บา8 นของจังหวดั ประจวบครี ีขันธE มารยาทในการฟงT การดูและการพดู ศึกษาชนิดและหน8าท่ขี องคำ คำราชาศพั ทE ภาษาถนิ่ คำท่ีมาจากภาษา ตา, งประเทศ กลุม, คำ ประโยค กลอนสุภาพ คำพังเพยและสภุ าษิต การศึกษาวรรณคดแี ละวรรณกรรม บทอาขยานและบทรอ8 งกรอง โดยใช8กระบวนการอา, นสร8างความร8ู ความคิด การเขยี นส่อื สารในรปู แบบตา, งๆ การฟงT และการดูอยา, งมี วิจารณญาณ การพูด ตลอดจนมมี ารยาทในการส่ือสาร กระบวนการคิด กระการสบื คน8 ขอ8 มลู กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลมุ, และกระบวนการเผชิญสถานการณEและแกป8 ญT หา เพ่อื ให8เกดิ ทกั ษะในการใช8ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การอา, นและการฟTงเปนV ทักษะของ การรบั ร8เู รือ่ งราว ความร8ู และประสบการณE ส,วนการพดู และการเขียนเปนV ทักษะการแสดงออกดว8 ยการแสดงความคิดเหน็ ความรแู8 ละ ประสบการณE สามารถรบั รู8ข8อมลู ข,าวสารจากการสอ่ื สารได8อยา, งพนิ ิจพิเคราะหE สามารถเลือกใช8คำ เรียบเรียงความคดิ ความรู8 และใช8ภาษาไดถ8 กู ตอ8 งตามกฎเกณฑE ใชภ8 าษาได8ตรงตามความหมายและถูกต8องตามกาลเทศะ บคุ คล และมี ประสทิ ธภิ าพ มคี วามรักและภาคภมู ใิ จในภาษาไทย ร,วมอนุรักษEภาษาไทยอนั เปVนเอกลักษณแE ละสมบตั ชิ าติ รหสั ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๙, ท ๒.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๙, ท ๓.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๖, ท ๔.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๖, ท ๕.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๔ รวม ๓๔ ตัวช้วี ดั
35 คำอธบิ ายรายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ คำอธิบายรายวชิ า ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงร้องแก้ว ร้อยกรอง การจับใจความสำคัญ การอ่านและปฏิบัติตามเอกสารคู่มือ การอ่านหนังสือตามความสนใจ การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด การเขียนส่ือสาร เขียนบรรยายประสบการณ์ เขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อท่ีได้รับ การพูดสรุปความ พูดแสดงความรู้ ความคิด การ พูดประเมินความน่าเช่ือถือของส่ือที่มีเน้ือหาโน้มน้าว การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในชุมชน และในเขตเมืองประจวบคีรีขันธ์ ศึกษาลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร้างคำ ชนิดและหน้าท่ีของคำในประโยค การแต่งบทร้อยกรอง การสรุปเนื้อหา วิเคราะห์ อธิบายคุณค่า ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม การท่องจำบท อาขยานและบทร้อยกรองทม่ี ีคุณค่าตาม ความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ ความคิด การเขียนส่ือสารในรูปแบบต่างๆ การฟังและการดูอย่าง มีวิจารณญาณ การพูด ตลอดจนมีมารยาทในการส่ือสาร กระบวนการคิด กระการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา เพ่ือให้เกิดทักษะในการใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การอ่านและการฟังเป็นทักษะของ การรับรู้เร่ืองราว ความรู้และประสบการณ์ ส่วนการพูดและการเขียนเป็นทักษะการแสดงออกด้วยการแสดงความคิดเห็น ความรู้และ ประสบการณ์ สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากการสื่อสารได้อย่างพินิจพิเคราะห์ สามารถเลือกใช้คำ เรียบเรียงความคิด ความรู้ และใช้ภาษาได้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ ใช้ภาษาได้ตรงตามความหมายและถูกต้องตามกาลเทศะ บุคคล และมี ประสิทธภิ าพ มคี วามรักและภาคภูมิใจในภาษาไทย ร่วมอนรุ ักษ์ภาษาไทยอันเป็นเอกลกั ษณ์และสมบตั ชิ าติ รหัสตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ม.๑/๑- ม.๑/๙, ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙, ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕, ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๕, ท ๕.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕ รวม ๓๓ ตัวชวี้ ดั
คำอธิบายรายวิชา 36 รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ กล6ุมสาระการเรยี นร=ู ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปFท่ี ๑ คำอธิบายรายวชิ า เวลา ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน6วยกิต ภาคเรียนที่ ๒ ศึกษาหลักการอ่านจับใจความสำคัญจากสื่อต่างๆ การระบุเหตุและผล ข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น คำ เปรียบเทียบ คำที่มีหลายความหมาย การตีความคำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบริบท การอ่านหนังสือ ตามความสนใจ การเขียนย่อความจากเร่ืองท่ีอ่าน การเขียนจดหมายส่วนตัวและจดหมายกิจธุระ การเขียนรายงาน การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินความน่าเชื่อถือของส่ือท่ีมีเน้ือหาโน้มน้าว การพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าจาก แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในชุมชนและท้องถ่ินของตน วิเคราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน จำแนกและใช้ สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต การแต่งบทร้อยกรองเกี่ยวกับเมืองสามอ่าว การสรุปเน้ือหา วิเคราะห์ อธิบาย คุณค่า และข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถ่ิน การท่องจำบทอาขยาน และบทร้องกรองท่ีมี คุณคา่ ตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้ ความคิด การเขียนส่ือสารในรูปแบบต่างๆ การฟังและการดูอย่าง มีวิจารณญาณ การพูด ตลอดจนมีมารยาทในการส่ือสาร กระบวนการคิด กระการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการกลุ่ม และกระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปญั หา เพ่ือให้เกิดทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การอ่านและการฟังเป็นทักษะของ การรับรู้เรื่องราว ความรู้และ ประสบการณ์ ส่วนการพูดและการเขียนเป็นทักษะการแสดงออกด้วยการแสดงความคิดเห็น ความรู้และประสบการณ์ สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารจากการสื่อสารได้อย่างพินิจพิเคราะห์ สามารถเลือกใช้คำ เรียบเรียงความคิด ความรู้ และ ใช้ภาษาได้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ ใช้ภาษาได้ตรงตามความหมายและถูกต้องตามกาลเทศะ บุคคล และมีประสิทธิภาพ มีความรักและภาคภมู ใิ จในภาษาไทย ร่วมอนรุ กั ษ์ภาษาไทยอันเป็นเอกลกั ษณ์และสมบัติชาติ รหัสตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙, ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙, ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖, ท ๔.๑ ม.๑/๔, ม.๑/๖, ท ๕.๑ ม.๑//๑ - ม.๑/๕ รวม ๓๑ ตัวช้วี ัด
37 คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่างๆ ตามความสนใจ มี มารยาทในการอา่ น คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรปู แบบ การเขียน เขยี นบรรยายและพรรณนา เขยี น เรยี งความเก่ยี วกับประสบการณ์ เขยี นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ความคิด หรอื โต้แย้งจากส่อื ต่างๆ และมี มารยาทในการเขียน พดู สรปุ ความ พูดวิเคราะห์ และวิจารณ์จากเรอ่ื งที่ฟังและดู การพดู ในโอกาสตา่ งๆ รวมทงั้ มี มารยาทในการฟงั การดูและการพดู เขา้ ใจการสรา้ งคำสมาส และสามารถบอกลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย แตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนสภุ าพได้ รวมถงึ การวเิ คราะห์คณุ คา่ และข้อคดิ จากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรม ท้องถิ่น และสามารถทอ่ งบทอาขยานและบทร้อยกรองท่มี คี ณุ คา่ ได้ โดยใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิด การเขยี นส่อื สารในรูปแบบตา่ งๆ การฟงั และการดอู ย่าง มวี ิจารณญาณ รวมทงั้ การคดิ วิเคราะห์ การแสดงความคิดเหน็ เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ มคี วามสามารถในการใช้ภาษาเพ่อื การ ส่ือสาร การเรยี นรูอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มคี วามซาบซง้ึ และภมู ใิ จในภาษาไทย เหน็ คณุ ค่าและรักษาภาษาไทยไว้เป็น สมบัตขิ องชาติ รหสั ตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘, ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖, ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ท ๕.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ รวม ๒๗ ตวั ชีว้ ัด
38 คำอธบิ ายรายวชิ า รหสั วิชา ท ๒๒๑๐๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ เวลา ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรียนท่ี ๒ คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลกั การอา่ นออกเสียงร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง การอา่ นจับใจความจากสอ่ื ตา่ งๆ ตามความสนใจ มี มารยาทในการอ่าน คดั ลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทัดตามรูปแบบการเขียน มีทกั ษะในการเขยี นยอ่ ความ เขยี นรายงาน เขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ เขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ แสดงความรู้ความคิดเห็น หรือโต้แยง้ จากส่อื ตา่ งๆ รวมทัง้ มีมารยาทใน การฟัง การดูและการพดู มีความร้คู วามเขา้ ใจในเรอ่ื งการใชค้ ำราชาศพั ท์ และคำท่ีมาจากภาษาตา่ งประเทศ รวมทั้ง สามารถแตง่ กลอนสภุ าพได้ โดยใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิด การเขยี นสื่อสารในรปู แบบต่างๆ การฟัง และการดูอย่าง มวี ิจารณญาณ รวมทงั้ การคดิ วิเคราะห์ การแสดงความคิดเหน็ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิต มคี วามสามารถในการใชภ้ าษาเพอื่ การ สอ่ื สาร การเรยี นรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มีความซาบซง้ึ และภมู ิใจในภาษาไทย เหน็ คณุ คา่ และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘, ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ รวม ๒๘ ตวั ชี้วดั
รหัสวชิ า ท ๒3๑๐๑ คำอธบิ ายรายวิชา 39 เวลา ๖๐ ชัว่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ภาคเรียนที่ ๑ ฝกึ การฟงั ดู พดู อา่ นและเขียน โดยฟังขอ้ ความจากเรื่องราวและสอื่ ต่างๆ ทไี่ ด้เรยี น ฝกึ การคิดวเิ คราะห์ อ่านจบั ใจความสำคญั วเิ คราะห์ วิจารณ์ ตีความและประเมนิ เรอื่ งทีอ่ า่ นจากวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทตา่ งๆ ทอ่ งจำบทอาขยานหรอื บทประพันธท์ ่ีชอบ คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ตามหลกั การเขียนอักษรไทย และเลขไทย เขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บนั ทกึ ย่อความ เขยี นจดหมายกิจธุระ กรอกแบบสมคั รงาน เขียนรายงานการศกึ ษา ค้นควา้ และโครงงาน เขียนแสดงความคิดเห็นและประเมินเรือ่ ง จากการฟงั และการดู พูดรายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ท่ีศกึ ษาคน้ ควา้ ศึกษาหลักภาษาเกยี่ วกับการจำแนกและใชค้ ำภาษาตา่ งประเทศ คำทบั ศัพทแ์ ละศพั ทบ์ ญั ญตั ิ คำศพั ท์ทาง วชิ าการและวิชาชพี หลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรอง คำท่มี ีความหมายโดยตรงและ ความหมายโดยนยั การอ่านจบั ใจความสำคญั จากเรอ่ื งตา่ งๆ การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรือ่ งทอ่ี ่าน การ ตีความและประเมนิ คณุ คา่ หลักการเขียนยอ่ ความ การเขยี นจดหมายกิจธรุ ะ การกรอกแบบสมคั รงาน การรายงาน การศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน การแสดงความคิดเห็นและประเมนิ เรือ่ งจากการฟงั และการดู การวเิ คราะหแ์ ละ วจิ ารณ์เร่ืองท่ีฟังและดู การพูดรายงานเรือ่ งหรอื ประเดน็ ทศ่ี ึกษาคน้ คว้า ทไ่ี ดอ้ า่ น ฟงั ดู พูดและเขยี นไดถ้ ูกต้อง ชดั เจนสละสลวย ตรงตามจดุ ประสงค์ สามารถแสดงออกเชงิ สร้างสรรค์ ทัง้ การพูดและการเขยี น มีมารยาทและมนี ิสัยรักการอา่ น การฟงั การดู การพดู และการเขยี นสามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันได้ รหสั ตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ม ๓/๗ ม ๓/๘ ม ๓/๑๐ ท ๒.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ม ๓/๘ ม ๓/๑๐ ท ๓.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๔.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๕.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ รวม ๓๓ ตัวชวี้ ัด
40 คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วชิ า ท ๒3๑๐๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ ๒ ฝึกการฟงั ดู พูด อา่ นและเขยี น โดยฟงั ขอ้ ความจากเร่อื งราวและส่อื ต่างๆ ฝึกวิเคราะห์ ประเมินค่า วจิ ารณ์ โตแ้ ย้ง ตีความและประเมินคณุ คา่ อา่ นออกเสยี งทัง้ ร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง อา่ นวรรณคดีและวรรณกรรม ประเภทตา่ งๆ ทอ่ งจำบทอาขยานหรือบทประพันธท์ ีช่ อบ คดั ลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบอักษรไทย เขียนข้อความให้ถูกตอ้ งตามระดบั ภาษา เขยี นชวี ประวตั ิหรืออตั ชีวประวตั ิ เขยี นอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น เขียนวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ สามารถพูดในโอกาสตา่ งๆ พูดโน้มน้าว ศึกษาหลกั ภาษาทเ่ี กีย่ วกับโครงสร้างของประโยคซบั ซอ้ น การแต่งโคลงสสี่ ุภาพ หลกั การอ่านออกเสยี งร้อย แก้วและร้อยกรอง คำทีม่ ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั ประเมนิ ความถกู ต้องของขอ้ มูล วจิ ารณ์เรือ่ ง การโต้แยง้ ตคี วามและประเมินคณุ คา่ หลกั การเขยี นตวั อกั ษรไทยและเลขไทย ระดับภาษา การเขยี นชวี ประวตั ิ หรอื อัตชวี ประวตั ิ การเขียนอธิบาย ชแี้ จงแสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความรู้ ความคิดเห็น หลกั การพูดในโอกาสตา่ งๆและการพดู โนม้ น้าว การวิเคราะหค์ ณุ ค่าของวรรณคดแี ละ วรรณกรรม ท่ไี ดอ้ ่าน ฟงั ดู พูดและเขียนได้ถูกต้องชัดเจนสละสลวย ตรงตามจุดประสงค์ สามารถแสดงออกเชงิ สรา้ งสรรค์ ทัง้ การพดู และการเขียน มีมารยาทและมนี ิสัยรกั การอ่าน การฟังการดู การพดู และการเขียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ รหัสตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๗ ม ๓/๘ ม ๓/๑๐ ท ๒.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๔ ม ๓/๖ ม ๓/๗ ม ๓/๑๐ ท ๓.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๔.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๕.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ รวม ๓๐ ตัวชว้ี ัด
41 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292