1
จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม ผู้เขยี น ฐติ กิ าญจน์ อัศตรกุล / กานน คุมพป์ ระพันธ์ / ชลดิ า จงู พนั ธ์ / กติ ติ คงตกุ / วาสนา ศรปี รชั ญาอนนั ต์ / ไอยเรศ บญุ ฤทธ์ิ ทปี่ รกึ ษา รศ.ดร. อนชุ าติ พวงสำ�ลี / ดร. อดิศร จนั ทรสุข บรรณาธิการวิชาการ ปัณฑติ า จันทร์อร่าม บรรณาธิการเลม่ และพิสูจนอ์ กั ษร ไอยเรศ บุญฤทธ์ิ ออกแบบรปู เลม่ ศรดุ า สวนสะอาด ออกแบบปก สทุ ธิภัทร อนิ ถติ ิ ประสานงานการผลิต ปัณฑติ า จนั ทร์อร่าม พมิ พท์ :่ี บริษทั ภาพพมิ พ์ จำ�กดั พิมพ์คร้ังที่ 1: กรกฎาคม 2561 1,000 เล่ม ราคา 250 บาท ข้อมลู ทางบรรณานกุ รม ฐติ ิกาญจน์ อศั ตรกลุ / กานน คมุ พ์ประพนั ธ์ / ชลิดา จูงพันธ์ / กิตติ คงตกุ / วาสนา ศรีปรชั ญาอนันต์ / ไอยเรศ บุญฤทธ.์ิ จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม. --นครปฐม: โครงการผ้นู าํ แห่งอนาคต คณะวิทยาการเรียนร้แู ละศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ 2561. 388 หนา้ 1. การศกึ ษา--วิจยั --รวมเรื่อง. 2. ผนู้ ำ�ชุมชน. 3. การพัฒนาชมุ ชน I. ชอื่ เร่ือง. 370.72 2ISBN 9จ7ดุ8น-6ดั 1พ6-บ8บ13น9เส-7น้ 4ข-5นาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม
จดั พิมพโ์ ดย โครงการผ้นู ำ�แห่งอนาคต คณะวทิ ยาการเรียนรู้และศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 999 อาคารประชาสังคมอุดมพัฒน์ ชน้ั 4 ศาลายา พุทธมณฑล นครปฐม 73170 โทรศพั ท:์ 0-2441-5222 โทรสาร: 0-2441-5223 อเี มล: [email protected] เว็บไซต:์ http://leadershipforfuture.com เฟซบุ๊ก: โครงการผนู้ �ำ แห่งอนาคต Leadership for the Future สงวนลขิ สทิ ธโ์ ดยโครงการผ้นู ำ�แห่งอนาคต หนังสอื เลม่ น้ใี ชห้ มกึ พมิ พถ์ วั่ เหลืองแทนการใช้หมึกทมี่ ีสว่ นผสมของปโิ ตรเลียม เพอ่ื ลดผลกระทบตอ่ สขุ ภาพและส่ิงแวดล้อม 3
-
เฉพาะกับโครงการ/พื้นที่ ซึ่งก�ำลังขับเคล่ือนการเปล่ียนแปลงกับปัญหายากๆ ท้ังสี่ประสบการณ์ แล้วถอดเป็นบทเรียน เพื่อหาค�ำตอบว่า สภาวะการน�ำใน การเผชิญกับปัญหายากๆ ในโลกกระแสหลักท่ีเน้นก�ำไร และการเติบโตทาง วตั ถแุ บบสดุ โตง่ นน้ั อดุ มคตแิ ละจนิ ตนาการเพอื่ สงั คมยงั คงอยรู่ อดไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ได้อยา่ งไร ... ส่งิ นน้ี บั เป็นคณุ คา่ ส�ำคญั ของงานเขียนชน้ิ นี้ สภาวะการน�ำร่วมเพื่อขับเคลื่อนสู่สังคมอารยะ (คุณค่า) จะสามารถ มีพ้ืนที่ และความอยู่รอดได้อย่างย่ังยืนในสังคมทุนเข้มข้น (มูลค่า) ได้หรือไม่ ดุลยภาพของท้ังสองสิ่งอยู่ตรงไหน แนวคิดการประกอบการสังคม จะเป็นค�ำ ตอบได้มากน้อยเพียงใด ฯลฯ ค�ำถามเหลา่ นี้ ไม่ง่ายที่จะหาค�ำตอบ แต่งานชิ้นนี้ พยายามท�ำ สอง งานช้ินนี้ เขียนข้ึนโดยนักวิชาการรุ่นใหม่ การท�ำงานวิชาการที่ พยายามค้นหาค�ำตอบให้กับสังคมอนาคต ที่ไม่หลุดลอยจากฐานรากของต้น เอง เป็นส่ิงท่ีวงวิชาการไทยขาดแคลน วิชาการโดยเฉพาะทางสังคมศาสตร์ ท่ี เกดิ จากการเรยี นรรู้ ากเหงา้ ของตนเอง พยายามไปใหพ้ น้ จากการเปน็ อาณานคิ ม ทางปญั ญาของวชิ าการตะวนั ตก ก�ำลงั เปน็ เรอ่ื งทท่ี า้ ทายคณุ คา่ ของมหาวทิ ยาลยั และวงวชิ าการของประเทศอย่างยงิ่ ขอแสดงความชนื่ ชมกบั โครงการผนู้ �ำแหง่ อนาคต และคณะผเู้ ขยี นทผี่ ม เช่อื วา่ จะเป็นนักวิชาการรนุ่ ใหม่ให้กับวงวิชาการของประเทศเรา ลือชัย ศรีเงนิ ยวง มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 5
คำ�นำ�ผู้จัดพิมพ์ โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต เป็นโครงการภายใต้การด�ำเนนิ งานของคณะ วิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยได้รับการ สนบั สนนุ จาก ส�ำนกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ไดพ้ ฒั นา และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านภาวะการน�ำกระบวนทัศน์ใหม่ทั้งในเชิงทฤษฏีและ เชงิ ปฏบิ ตั มิ าอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ใหส้ งั คมไทยเขา้ ใจและเหน็ คณุ คา่ ของภาวะการน�ำ กระบวนทศั นใ์ หม่ อนั จะน�ำไปสู่จินตนาการและคา่ นยิ มใหม่ในการเปล่ียนแปลง ประเทศ สามารถรบั มอื กบั วกิ ฤตการณเ์ ปลยี่ นแปลงและความขดั แยง้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ใน ประเทศไทยอยา่ งตอ่ เนอื่ ง และเปน็ พลงั น�ำพาสงั คมใหฟ้ น้ื ตวั กลบั สคู่ วามปกตสิ ขุ อยา่ งรวดเร็วและมน่ั คง หนังสือ จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสงั คม เป็นผลผลิตจากโครงการวิจัย “ถอดบทเรียนกระบวนการยกระดับการพัฒนา ศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงของพื้นท่ี” อันเป็นส่วนหนึ่งในพันธกิจของ โครงการ ในการเช่ือมโยงองค์ความรู้ทางวิชาการเข้ากับการท�ำงานและสร้าง ความเข้มแข็ง ทั้งยังเป็นกัลยาณมิตร ร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้กับชุมชนในการ ด�ำเนนิ งานและกิจกรรมต่างๆ โดยพนื้ ท่ที เ่ี ข้าร่วมโครงการ ประกอบดว้ ย มูลนธิ ิ บ้านครูน้�ำ จังหวัดเชียงราย ซ่ึงท�ำงานช่วยเหลือกลุ่มคนที่มีความเปราะบาง สูงในพ้ืนท่ีชายแดน (เขตรอยต่อระหว่างประเทศพม่ากับประเทศลาว) ชุมชน วัฒนธรรมไทยเบิง้ โคกสลงุ จังหวดั ลพบรุ ี ชมุ ชนทม่ี ุ่งรักษาวัฒนธรรมภมู ิปัญญา ท้องถิ่นให้ด�ำรงอยู่พร้อมกับการคืนถ่ินของคนรุ่นใหม่ท่ีสามารถพ่ึงพาตนเองได้ อย่างยงั่ ยนื เครอื ข่ายขอนแก่นนวิ สปิรติ จังหวัดขอนแก่น พนื้ ที่การแลกเปลยี่ น เรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของกลุ่มคนท่ีมีใจพร้อมท�ำงานเพื่อสังคมในจังหวัด ขอนแก่นและพ้ืนท่ีใกล้เคียง และเครือข่ายสภาพลเมืองพังงาแห่งความสุข 6 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
กลุ่มพลังชุมชนที่เข้มแข็งจนสามารถผนกึ ก�ำลังแปรพังงาไปส่พู งั งาแหง่ ความสุข ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรม การน�ำเสนอเนอ้ื หาในหนงั สอื เลม่ น้ี ประกอบดว้ ยการทบทวนองคค์ วาม รูด้ า้ นแนวคดิ และทฤษฏีเกี่ยวกบั “การประกอบการสงั คม” การถอดบทเรียนท่ี สะทอ้ นถงึ ผลของการประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอ่ื งมอื หนนุ เสรมิ การท�ำงานของผนู้ �ำเครอื ขา่ ย ท้ังสี่พื้นท่ี กอปรกับภาวะการน�ำร่วมในการท�ำงานสร้างความเปล่ียนแปลงให้ แก่ชุมชน โดยกลา่ วถึงภูมหิ ลงั การท�ำงานในแต่ละพ้ืนท่ี ท่าทีในการต้ังรบั เครื่อง มือนวัตกรรมทางสังคมอันเป็นแนวคิดคู่ขนานกับการท�ำงานเพื่อสังคม รวมถึง การเติบโตและความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนกับผู้น�ำและชุมชน ผู้เขียนถ่ายทอด เรื่องราวด้วยการเล่าเรื่องเชิงพรรณนา สะท้อนให้เห็นมุมมอง การเรียนรู้ และ ความเปลยี่ นแปลงของนกั วจิ ยั ตลอดระยะเวลาในการเขา้ รว่ มเรยี นรกู้ บั ทงั้ สพี่ น้ื ที่ โครงการฯ หวังว่าบทเรียนการผสานแนวความคิดการท�ำงานท่ีสร้างมุมตัดให้ เส้นขนานสองเส้นมาบรรจบกันในหนังสือเล่มนี้ จะท�ำให้ผู้อ่านได้มุมมองใหม่ที่ สามารถน�ำไปปรบั ใชก้ บั การสรา้ งสรรคร์ ปู แบบการท�ำงานของตนเองใหเ้ กดิ ความ ย่ังยนื สืบไป โครงการผู้น�ำแหง่ อนาคต คณะวิทยาการเรยี นรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 7
8
ชมุ ชนทเ่ี ลอื กปรบั ตวั กบั ความเปลยี่ นแปลงโดยธ�ำรงตวั ตนเอาไวม้ ากกวา่ ต่อต้านความเปลยี่ นแปลงในบางครงั้ ชุมชนที่เห็นเคร่ืองมือและวิธีคิดใหม่ๆ เป็นความหวังในการสร้างทาง กลบั บ้านแก่ลูกหลาน กลุ่มคนท่ียอมวางวิธีคิดแบบเดิมท่ีเคยใช้ เปิดใจต่อวิธีการท�ำงานแบบ ใหมท่ ่ีไมค่ ุ้นเคย เพื่อเดินสเู่ ป้าหมายเดมิ ทีต่ ้ังใจไวอ้ ย่างมัน่ คงมากขน้ึ การตระหนักว่าการเปิดใจเรียนรู้และการให้โอกาสเรียนรู้แก่คนอาจ ส�ำคญั กว่าการบรรลเุ ปา้ หมายตามตวั ชี้วดั การไดเ้ รยี นรวู้ า่ คณุ คา่ ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งขดั แยง้ กบั มลู คา่ และคนทไ่ี ดท้ บทวน เรียนรูแ้ ละเปล่ียนแปลงของตัวเอง พวกเราได้กล่ันกรองเร่ืองราวและการเรียนรู้ท่ีเกิดขึ้นท้ังหมดน้ีออกมา เปน็ หนงั สอื “จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม” และ หวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ จดุ นดั พบแหง่ การเรยี นรรู้ ะหวา่ งพวกเรา กับท่านผูอ้ ่านทนี่ �ำพาให้เราเตบิ โตไปพรอ้ มๆ กนั คณะผวู้ จิ ัย 31 กรกฎาคม 2561 9
10 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
สารบัญ 12 บทน�ำ 44 มลู นธิ บิ า้ นครนู ำ�้ บนกา้ วตอ่ ไป วาสนา ศรีปรัชญาอนันต์ ฐติ กิ าญจน์ อศั ตรกุล 112 การเรยี นรูร้ ว่ มกนั และ 182 การเดินทางคร้ังใหม่ของ การปะทะสงั สันทน์ทาง ชาวไทยเบิ้ง บ้านโคกสลงุ ความคดิ บนพนื้ ท่ีขอนแก่น ชลิดา จงู พนั ธ์ นวิ สปริ ติ กานน คุมพป์ ระพันธ์ 252 สู่พังงาแห่งความสุข 328 บทสังเคราะห์: จดุ นดั พบบน เพราะจดุ หมายไปถงึ เส้นขนาน ผ้คู น ชมุ ชน ได้หลายเสน้ ทาง การประกอบการสังคม กิตติ คงตกุ ไอยเรศ บุญฤทธิ์ 358 ทำ�ไมเราทำ�ส่ิงท่ีเราทำ�: 370 จากจุดนัดพบ สู่การก้าวเดนิ : ตแี ผ่ระเบียบวิธีวจิ ยั นกั วจิ ยั วาสนา ศรปี รชั ญาอนันต์ 11
12 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
บทนำ� วาสนา ศรปี รชั ญาอนันต์ 13
บทนำ� วาสนา ศรีปรชั ญาอนันต์ งานวิจัยชิ้นน้ีเป็นงานวิจัยต่อยอดการถอดบทเรียนการท�ำงานของ เครือข่ายของโครงการผู้น�ำแห่งอนาคตภายใต้โครงการ “การถอดบทเรียน กระบวนการพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของพื้นที่ผ่านภาวะการน�ำร่วม” ซึ่ง เสรจ็ สนิ้ ในเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2560 (กติ ติ คงตกุ , ชลดิ า เหลา่ จมุ พล1, วาสนา ศรปี รชั ญาอนันต,์ และ ฐติ ิกาญจน์ อศั ตรกุล, 2560) สามเดือนถัดมา ทีมนักวิจัยกลุ่มเดิม ซ่ึงประกอบไปด้วย อ.ดร.กิตติ คงตุก อ. ดร. ชลดิ า จงู พนั ธ์ อ. ดร. ฐติ ิกาญจน์ อัศตรกลุ และผ้เู ขยี น รวมถงึ การ ท�ำงานวิจัยคร้ังนี้มีนักวิจัยที่สนใจการท�ำงานชุมชนกับการเปล่ียนแปลงมาร่วม งานเพ่ิมเตมิ อีก 2 ทา่ นคอื อ. ดร. ไอยเรศ บญุ ฤทธิ์ และคณุ กานน คมุ พป์ ระพนั ธ์ ซงึ่ ไดร้ บั มอบหมายใหด้ �ำเนนิ การรว่ มถอดบทเรยี นการท�ำงานตอ่ ยอดของเครอื ขา่ ย ผนู้ �ำภาคประชาสงั คมในพน้ื ที่ 4 แหง่ ทไี่ ดร้ บั การหนนุ เสรมิ จากโครงการผนู้ �ำแหง่ อนาคต ซง่ึ รปู แบบของเครอื่ งมอื การหนนุ เสรมิ ในปนี มี้ ลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งไปจาก ปีที่ผ่านมา โดยปีน้ีเน้นไปท่ีการยกระดับการขับเคล่ือนสังคมด้วยการประยุกต์ ใช้แนวคดิ การประกอบการสังคม (social entrepreneurship) และการใช้สอื่ ดจิ ิตอลและเทคโนโลยีในการสอ่ื สารการท�ำงานของพืน้ ทก่ี บั คนภายนอก การท�ำงานร่วมกับเครือข่ายเป็นเวลา 3 ปีท�ำให้โครงการผู้น�ำแห่ง อนาคตเลง็ เหน็ ประเดน็ ปญั หาส�ำคญั ในการหาแหลง่ ทนุ สนบั สนนุ การด�ำเนนิ งาน ขบั เคลอ่ื นสงั คมของภาคประชาสงั คม ซง่ึ สว่ นใหญเ่ ปน็ ทนุ สนบั สนนุ รายปจี งึ ท�ำให้ 1 อ. ดร. ชลดิ า เหลา่ จมุ พล เปลยี่ นนามสกลุ เปน็ จูงพันธ์ 14 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
การท�ำงานอาจขาดความตอ่ เนอ่ื งในการวางแผนด�ำเนนิ งานระยะยาว นอกจากนนั้ ทนุ สนบั สนนุ ทม่ี อี ยใู่ นลกั ษณะของทนุ ใหเ้ ปลา่ (grant) ยงั มจี �ำนวนนอ้ ยลง ในขณะ ทก่ี ารลงทนุ เพอ่ื สงั คมมกี ารขยายตวั เพมิ่ ขน้ึ ดงั นนั้ การน�ำแนวคดิ การประกอบการ สงั คมและนวตั กรรมสงั คมเขา้ มาใชอ้ าจเออื้ ใหก้ ารท�ำงานขบั เคลอื่ นทางสงั คมของ กลมุ่ แกนน�ำภาคประชาสังคมเปน็ ไปอย่างย่ังยืน จากโจทยท์ ไี่ ดร้ บั มา โครงการวจิ ยั “ถอดบทเรยี นกระบวนการยกระดบั การพฒั นาศกั ยภาพและการเปลยี่ นแปลงของพนื้ ท”่ี จงึ ไดเ้ รมิ่ ตน้ ขนึ้ โดยมเี ปา้ หมาย เพ่ือศึกษาการท�ำงานของเครือข่ายผู้น�ำในพ้ืนที่ที่มีสภาวการณ์และปัญหาท่ี ซับซ้อน และถอดบทเรียนกระบวนการพัฒนาศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงท่ี เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ซ่ึงเกิดจากการหนุนเสริมการท�ำงานของโครงการ ผู้น�ำแห่งอนาคตผ่านการเช่ือมโยงเครือข่ายผู้น�ำในพื้นท่ีกับผู้เช่ียวชาญด้านการ ประกอบการสังคมและผู้เช่ียวชาญการใช้สื่อเพ่ือการส่ือสาร นอกจากกลุ่ม เครือข่ายของโครงการผู้น�ำแหง่ อนาคต นักวจิ ยั ในทมี ได้เข้าไปเปน็ สว่ นหน่งึ ของ การแลกเปลยี่ นเรยี นรคู้ รง้ั นด้ี ว้ ย โดยน�ำเอาองคค์ วามรทู้ างวชิ าการและความคนุ้ เคย กับผู้น�ำและบรบิ ทในแตล่ ะพนื้ ทเ่ี ขา้ ไปเพอื่ เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจทล่ี กึ ซงึ้ เกยี่ วกบั การต่อยอดการขับเคล่ือนสังคมของผู้น�ำในแต่ละพื้นท่ี เพื่อให้เกิดการจัดการ องค์ความรู้เก่ียวกับการพัฒนาศักยภาพของผู้น�ำภาคประชาสังคมผ่านการ น�ำเอาแนวคดิ และเครอื่ งมอื การประกอบการสังคมไปประยุกต์ใช้ในการท�ำงาน ขบั เคลือ่ นสงั คม หนังสือเล่มนี้แบ่งออกเป็น 8 บท โดยบทแรกเริ่มจากการอธิบายที่มา ของโครงการวิจัยน้ี ตามด้วยการทบทวนองค์ความรู้ที่ผ่านมาเก่ียวกับแนวคิด การประกอบการสงั คม โดยแนะน�ำแนวคดิ และเครอ่ื งมอื การประกอบการสงั คม ทีใ่ ชใ้ นการหนุนเสรมิ การท�ำงานส�ำหรับองค์กรภาคประชาสังคมใน 4 พืน้ ท่ีเพื่อ เป็นฐานในการท�ำความเข้าใจการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนในแต่ละพื้นที่ซึ่งจะถูก อภิปรายในบทที่ 2 ถึงบทท่ี 5 บทน�ำ 15
บทที่ 2 อ. ดร. ฐติ ิกาญจน์ อศั ตรกุล น�ำพาผู้อ่านไปท�ำความรจู้ กั กบั นุชนารถ บุญคง (ครูน�้ำ) หญิงแกร่งท่ีผันชีวิตจากการเป็นนักออกแบบเคร่ือง ประดับสู่การก่อตั้งมูลนิธิครูน้�ำเพื่อท�ำงานขับเคล่ือนประเด็นเด็กไร้สัญชาติที่ ชายแดนจังหวัดเชียงรายซึ่งเป็นปัญหาที่ซับซ้อนและเรื้อรังมานาน ปีนี้ครูน้�ำมุ่ง ไปท่ีการสร้างเครือข่ายและท�ำงานเชิงพื้นท่ีกับองค์กรอื่นท่ีท�ำงานเร่ืองเด็ก กับ คณุ แววรงุ้ สบุ งกฎ (ครอู ว้ น) ผทู้ �ำงานดา้ นสขุ ภาวะของคนท�ำงาน และกลมุ่ คณุ คา่ เชียงแสนที่สนใจการฟื้นฟูและสืบสานภูมิปัญญาล้านนา ทั้งนี้เพื่อช่วยยกระดับ การขับเคลอื่ นสงั คมในจงั หวัดเชยี งรายอยา่ งเป็นองค์รวมมากย่งิ ข้นึ บทท่ี 3 อ. ดร. ชลิดา จูงพันธ์ จะพาไปสัมผัสกับชุมชนวัฒนธรรม ไทยเบ้ิงท่ีโคกสลุง นอกจากการท�ำงานด้านวัฒนธรรมของกลุ่มสถาบันไทยเบ้ิง โคกสลงุ เพอ่ื การพฒั นา กลมุ่ แกนน�ำจติ สาธารณะยงั มงุ่ เนน้ ไปทก่ี ระบวนการเรยี น รู้และพฒั นาคนในชมุ ชน ปีน้เี นน้ ไปทกี่ ารน�ำวธิ บี ริหารจัดการแบบภาคธรุ กิจมา ประยกุ ตใ์ ชก้ บั กลมุ่ แกนน�ำจติ สาธารณะและกลมุ่ อาชพี เพอื่ ใหก้ ารท�ำงานเปน็ ไป อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ และน�ำไปสกู่ ารพงึ่ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ของชมุ ชน ในระยะยาว บทท่ี 4 คุณกานน คุมพ์ประพันธ์ พาผู้อ่านเข้าไปเป็นส่วนหน่ึงใน กระบวนการเรียนรู้ของเขา กลุ่มขอนแก่นนิวสปิริตและอาสาสมัครจากภาค ธรุ กจิ ในการน�ำแนวคดิ การประกอบการสงั คมไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการเสรมิ ศกั ยภาพ เครอื ข่ายของขอนแก่นนวิ สปิรติ และสร้างพืน้ ท่เี รียนรู้ในเมอื งขอนแก่น ตามมาดว้ ยบทที่ 5 ของอ. ดร. กติ ติ คงตุก ซ่งึ พาผอู้ ่านเดินทางไปพังงา เพอื่ เรยี นรกู้ ารท�ำงานของเครอื ขา่ ยสภาพลเมอื งพงั งาแหง่ ความสขุ ซง่ึ มเี ปา้ หมาย ปลายทางในการพัฒนาให้จังหวัดพังงาเป็นพื้นที่แห่งความสุขโดยท�ำงานอยู่บน ฐานยทุ ธศาสตร์ 10 ประการ ปนี เ้ี ครอื ขา่ ยสภาพลเมอื งใชก้ ลยทุ ธแ์ บบผปู้ ระกอบการ ในการพฒั นาคนและพฒั นาโปรแกรมการทอ่ งเทย่ี วเพอ่ื การเรยี นรู้ ซงึ่ มเี ปา้ หมาย ในการกระจายรายไดส้ ู่ชมุ ชน 16 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
บทที่ 6 อ. ดร. ไอยเรศ บุญฤทธิ์ สังเคราะห์องค์ความรู้เก่ียวกับการ เปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนในพื้นท่ี 4 แห่งหลังจากท่ีกลุ่มผู้น�ำในแต่ละพ้ืนที่ได้ผ่าน กระบวนการหนุนเสริมและเรียนรู้เคร่ืองมือจากแนวคิดการประกอบการสังคม และน�ำเครื่องมอื ทีไ่ ดไ้ ปประยุกต์ใชใ้ นบริบทจรงิ บทที่ 7 อธบิ ายระเบยี บวธิ วี จิ ยั ของงานวจิ ยั ชน้ิ น้ี ผเู้ขยี นไดต้ แี ผก่ ระบวนทศั น์ ในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลที่ทีมวิจัยเห็นร่วมกันและวิธีการน�ำเสนอข้อมูล วจิ ัยออกมาส�ำหรับผทู้ ีส่ นใจมิตกิ ารท�ำวิจยั ของงานชนิ้ น้ี และบทสุดท้ายเป็นบท ทน่ี กั วจิ ยั แตล่ ะคนในทมี สะทอ้ นการเปลย่ี นแปลงภายในทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการท�ำงาน ร่วมกัน การลงพื้นท่ีและได้เห็นการท�ำงานของกลุ่มผู้น�ำขับเคล่ือนสังคม และ การร่วมเวทีเรยี นรู้กบั คณุ พรจรรย์ ไกรวตั นสุ สรณ์ (พนี่ ้ยุ ) และทีม School of Changemakers (SoC) รวมถงึ อาสาสมคั รจากภาคธรุ กจิ ทเี่ ขา้ มาเปน็ ผปู้ ระกอบ การภายใน ทีมงานโครงการผู้น�ำแห่งอนาคต และทีมคิดค้นคว้า ซ่ึงท�ำเรื่องส่ือ เพ่ือการเปลี่ยนแปลง ในส่วนถัดไปจะเป็นการทบทวนองค์ความรู้เก่ียวกับการ ประกอบการสงั คม บทนำ� 17
น�ำร่วมบนฐานของ การประกอบการสังคม ท่ีผ่านมา แนวคิดท่ีมีต่อภาวะการน�ำในประเทศไทยยังคงยึดติดอยู่กับ กระบวนทัศน์เก่า ซ่ึงตัดสินความเป็นผู้น�ำบนฐานของความเป็นปัจเจกชน โดย ดูจากคุณลักษณะที่เอื้อให้การท�ำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หรือในบาง กรณีพิจารณาจากพฤติกรรมของผู้น�ำในการจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ แต่ จดุ ออ่ นของกระบวนทศั นเ์ กา่ อยทู่ คี่ วามไมค่ งเสน้ คงวาของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง คณุ ลกั ษณะและพฤตกิ รรมของผนู้ �ำกบั ประสทิ ธภิ าพของการท�ำงาน อกี ทง้ั ปญั หา สงั คมจ�ำนวนมากในยคุ ปจั จบุ นั ไมส่ ามารถแกไ้ ขไดด้ ว้ ยภาวะการน�ำเชงิ เดย่ี ว นนั่ จงึ น�ำไปสกู่ ระบวนทศั นใ์ หมข่ องภาวะการน�ำในการขบั เคลอ่ื นสงั คม ซงึ่ ประกอบ ไปดว้ ย 3 แกนหลกั ไดแ้ ก่ ภาวะการน�ำเชงิ จรยิ ธรรม ภาวะการน�ำรว่ ม และภาวะ การน�ำเพอ่ื การเปลย่ี นแปลง (ฐติ กิ าญจน์ อศั ตรกลุ , 2560ก; 2560ข) ซงึ่ สอดคลอ้ ง กบั แนวคดิ เกี่ยวกบั ความเปน็ ผนู้ �ำของ Brookes (2016) ทม่ี องว่า ผู้น�ำแบบน�ำ ร่วมตอ้ งมีคณุ ธรรมจริยธรรม และมปี ญั ญาซึ่งเกดิ จากความรู้ (episteme) และ การน�ำความรู้นั้นไปปฏิบัติ หรือที่เรียกว่า “ปัญญาแห่งการปฏิบัติอันลุ่มลึก” (phronesis) แตท่ ส่ี �ำคญั กวา่ นนั้ ผนู้ �ำตอ้ งมงุ่ ไปทคี่ ณุ คา่ รว่ ม (collective values) หรอื ประโยชนส์ ว่ นรวมของคนในสงั คม ซงึ่ หนงึ่ ในทางเลอื กทก่ี ลายเปน็ ทน่ี ยิ มใน ยคุ ปจั จบุ นั คอื การน�ำแนวคดิ การประกอบการสงั คมไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการท�ำงาน ทั้งในภาคธรุ กิจและภาคประชาสงั คม หรือแมก้ ระทัง่ การรเิ ร่มิ กิจการเพ่อื สังคม 18 จุดนดั พบบนเสน้ ขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสังคม
จุดเริ่มต้นของแนวคิดการประกอบการสังคม การประกอบการสงั คม (social entrepreneurship) เปน็ กระบวนการ ทซ่ี บั ซอ้ นและมหี ลายแงม่ มุ จงึ มนี ยิ ามทไ่ี มต่ ายตวั ขนึ้ อยกู่ บั บรบิ ทและการตคี วาม ของแต่ละบุคคล แนวคิดเก่ียวกับการประกอบการสังคมมีจุดเริ่มต้นจากการ ประกอบการทางธุรกิจ (entrepreneurship) โดยค�ำว่า“ผู้ประกอบการ” (entrepreneur) ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ ถูกใช้คร้ังแรกในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 โดยนักเศรษฐศาสตร์ชาวฝร่ังเศส Jean-Baptiste Say ซ่ึงให้ความหมายไว้ในเชิงการเพิ่มมูลค่า โดยเฉพาะการ เพม่ิ ความสามารถในการผลติ และผลตอบแทนทางธุรกิจ ต่อมาในศตวรรษที่ 20 นกั เศรษฐศาสตร์ Joseph Schumpeter ใช้ค�ำน้ีในการกล่าวถึงผทู้ สี่ รา้ งสรรค์ นวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการท่ีเขาเรียกว่า “การ ท�ำลายลา้ งอยา่ งสรา้ งสรรค”์ (creative destruction) ทจี่ ะชว่ ยขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ไปขา้ งหนา้ ดงั น้ัน ผู้ประกอบการในความหมายของ Say และ Schumpeter จึงเป็นนวัตกรและนักขับเคลื่อนการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ (Dees, 1998) ในทางเดียวกัน การประกอบการจึงเปน็ กระบวนการหรอื สภาวะทางพฤตกิ รรม ของระดบั บคุ คลหรอื องคก์ รทน่ี �ำไปสกู่ ารอบุ ตั ขิ องบางสง่ิ บางอยา่ ง เชน่ การกอ่ ตง้ั องค์กรหรอื การสรา้ งนวตั กรรมเพือ่ พฒั นาเศรษฐกจิ ใหเ้ ตบิ โตข้ึน (Antoncic & Hisrich, 2003) ถึงแม้ “ผู้ประกอบการหลายคน...คิดริเริ่มธุรกิจแสวงหาก�ำไร ใหม่ แตก่ ารกอ่ ตง้ั ธรุ กจิ ใหมไ่ มใ่ ชแ่ กน่ ของการประกอบการ” (Dees, 1998, p. 2) เพราะการตงั้ ธรุ กจิ ใหมไ่ มใ่ ชก่ ารเพมิ่ มลู คา่ เสมอไป นอกจากนน้ั Peter Drucker ยงั ขยายความหมายของการประกอบการไปทกี่ ารแสวงหาการเปลยี่ นแปลง ไมว่ า่ จะเปน็ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ปทัสฐานทางสังคม หรอื กระแสสงั คม และ ใช้การเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ข้นึ เปน็ โอกาสในการเพิม่ มูลคา่ (Dees, 1998) จากจดุ เรม่ิ ตน้ ของการประกอบการทางธรุ กจิ การประกอบการสงั คมจงึ บทนำ� 19
เป็นการผสมผสานระหว่างกระบวนทัศน์เชิงธุรกิจและกระบวนทัศน์ขององค์กร ภาคสังคมท่ีมีเป้าหมายในการขับเคล่ือนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมซึ่งอาจเกิด จากความลม้ เหลวของกลไกตลาดท่ีไมส่ ามารถสร้างประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม หรือ ตอบสนองความตอ้ งการของคนจ�ำนวนมากในสงั คม โดยเฉพาะคนชายขอบหรอื คนทไี่ มม่ คี วามสามารถในการจา่ ยได้ (Keohane, 2013) ซง่ึ ในระบบทนุ นยิ ม การ ดูแลและรองรับความต้องการของคนเหล่านี้มักถูกมองว่าเป็นภาระหน้าท่ีของ องค์กรของภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหา ผลก�ำไร แต่สภาวะเศรษฐกิจถดถอยท�ำให้งบประมาณของภาครัฐท่ีใช้ในการ สนับสนุนการด�ำเนินงานของภาคประชาสังคมมีจ�ำนวนลดน้อยลง ในขณะท่ี NGOs มจี �ำนวนเพ่ิมขนึ้ เรอ่ื ยๆ ในช่วง 20 - 30 ปีทผี่ า่ นมา สง่ ผลให้ NGOs ต้อง แข่งขันกันในการขอทุนสนับสนุนจากทางรัฐ นอกจากน้ัน คนที่ต้องการความ ช่วยเหลอื ยงั มีจ�ำนวนเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว ดงั น้นั NGOs จงึ ไม่สามารถพึ่งพาเงิน สนับสนุนจากภาครัฐเพยี งอย่างเดยี ว แตต่ ้องสามารถสร้างรายได้ใหเ้ พียงพอตอ่ การอยรู่ อดขององคก์ ร (Boschee & McClurg, 2003) และควรแสวงหาโอกาส ในการดึงองค์กรภาคธุรกิจท่ีสนใจในการสร้างมูลค่าร่วมทางสังคมและมีความ พร้อมในการพัฒนานวตั กรรมเข้ามาร่วมแก้ไขปญั หาสงั คม (Bates, 2012) หรือ อาจน�ำวิธีคิดและเคร่ืองมือทางธุรกิจมาปรับใช้ในองค์กรภาคประชาสังคมเพื่อ ใหก้ ารด�ำเนินงานเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพมากขน้ึ ตามที่ Keohane (2013) ได้กล่าวไว้ว่า “การท�ำงานในด้านท่ีเป็นความล้มเหลวของตลาดไม่ได้หมายถึง การเมนิ เฉยตอ่ เครอื่ งมอื ของตลาดหรอื การด�ำเนนิ งานในเชิงธรุ กจิ ” (p. 13) ใน ทางกลบั กนั การประกอบการสังคมอาจใช้แนวทางการด�ำเนนิ งานทางธรุ กจิ ซงึ่ ระดับในการน�ำไปใช้อาจแตกต่างกันไป ตั้งแต่การเลือกแหล่งทุนท่ีเป็นเอกชน เชน่ ทนุ จากองคก์ รธรุ กจิ มากกวา่ แหลง่ ทนุ ของรฐั บาล ไปจนถงึ การใชโ้ ครงสรา้ ง การบรหิ ารแบบบรษิ ทั ทง้ั นี้ การเลอื กใชข้ น้ึ อยกู่ บั วธิ คี ดิ ของผปู้ ระกอบการสงั คม แตล่ ะคน (Keohane, 2013) 20 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม
คุณลักษณะเฉพาะของการประกอบการสังคม ความไม่นิ่งของนิยามการประกอบการสังคมและความหลากหลายใน การน�ำแนวคิดการประกอบการสังคมไปใช้น�ำไปสู่ค�ำถามที่ว่า การด�ำเนินการ แบบใดทเี่ รยี กวา่ การประกอบการสงั คม “ถา้ องคก์ รแหง่ หนงึ่ ทมุ่ เทสว่ นหนงึ่ ของ รายได้ให้กับประเด็นทางสังคม เราก�ำลังกล่าวถึงการประกอบการสังคมหรือไม่ องค์กรไม่แสวงหาก�ำไรทุกแห่งที่รับวิธีการจัดการแบบธุรกิจมาใช้คงจะถูกถาม ด้วยค�ำถามเดยี วกนั น”้ี (Bacq and Janssen, 2011, p. 374) ดังนั้น หากเรา จะกล่าวถึงการประกอบการสังคม การอภิปรายนิยามเป็นส่ิงท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้ นยิ ามของการประกอบการสงั คมซงึ่ เปน็ ทยี่ อมรบั อยา่ งแพรห่ ลายเปน็ นยิ ามของ ศาสตราจารย์ Dees (1998) ซึ่งอธิบายคุณลักษณะไว้ 5 ประการ ดังน้ี ผู้ประกอบการสังคมสวมบทบาทของผู้ขับเคล่ือนการเปล่ียนแปลงใน ภาคสังคม โดย • รับพันธกิจมาใช้เพ่ือสร้างมูลค่าทางสังคมและรักษามูลค่าเหล่านั้นไว้ อย่างยั่งยืน (ไมใ่ ช่เพียงมลู คา่ ส่วนบคุ คล) • เห็นและพยายามไขวค่ ว้าโอกาสใหม่ๆ อย่างไม่หยดุ ย้งั เพอื่ สอดรบั กับ วิสยั ทัศน์ • พัวพันกับกระบวนการสร้างนวัตกรรม การปรับตัว และการเรียนรู้ อย่างตอ่ เนอื่ ง • ประพฤตติ นอยา่ งอาจหาญโดยไม่ถูกจ�ำกัดดว้ ยทรัพยากรทีม่ อี ยู่ • แสดงความรับผิดชอบอย่างสูงต่อทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องและส�ำหรับ ผลลัพธ์ท่ีจะเกิด (p. 4) จากคุณลักษณะข้างตน้ Boschee and McClurg (2003) เห็นวา่ หาก ความย่ังยืนหรือการพึ่งพาตนเอง (self-sufficient) เป็นหนึ่งในเป้าหมายของ องค์กรนั้น นิยามที่กล่าวมายังขาดองค์ประกอบที่ส�ำคัญของการประกอบการ อกี ข้อหน่ึง นั่นคอื การสร้างรายได้ (earned income) บทนำ� 21
แม้กระนั้น ค�ำอธิบายของ Dees (1998) ในข้อแรกยังช้ีให้เห็นความ แตกต่างระหว่างการประกอบการสังคมและการประกอบการทางธุรกิจว่า การ ที่องค์กรมุ่งเน้นไปที่การสร้างผลกระทบทางสังคมไม่ได้หมายความว่าองค์กรไม่ สามารถสรา้ งก�ำไร แตก่ �ำไรเปน็ เพยี งเครอ่ื งมอื ทจ่ี ะน�ำไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายทาง สงั คม Boschee and McClurg (2003) อธบิ ายเพมิ่ เติมวา่ ผปู้ ระกอบการทาง ธรุ กจิ อาจแสดงความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมดว้ ยการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ในทางปฏบิ ตั ิ หรือทางทุนทรัพย์ในรูปแบบของ CSR (Corporate Social Responsibility) แต่มันเป็นการช่วยเหลือทางอ้อม ในขณะท่ีการแก้ปัญหาสังคมของผู้ประกอบ การสังคมถูกระบุชัดอยู่ในพันธกิจขององค์กรและเป็นแก่นของการท�ำงานเพ่ือ หารายได้ขององค์กร เช่น การให้ความดูแลผู้สูงอายุท่ีบ้านเพ่ือช่วยให้ผู้สูงอายุ ไม่ต้องอยู่ท่ีบ้านพักคนชรา หรือการช่วยเหลือนักเรียนที่สุ่มเสี่ยงต่อการหลุด ออกจากระบบเพ่อื ให้พวกเขาสามารถอยใู่ นโรงเรียนต่อไปได้ เปน็ ตน้ นอกจาก นั้น ผูป้ ระกอบการสงั คมยงั ขบั เคลือ่ นดว้ ยเป้าหมายหลกั สองประการ (double bottom line) ประการทหี่ น่ึงคอื การสร้างผลกระทบทางสงั คม และประการที่ สองคือ การสรา้ งก�ำไร ซง่ึ ถูกน�ำไปลงทุนตอ่ เพอ่ื ให้เกิดผลกระทบทางสงั คมตาม ท่ีระบุไว้ในพันธกิจ ส่วนค�ำอธิบายในข้อสุดท้ายแสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างการ ประกอบการสงั คมและองคก์ รพฒั นาเอกชน เนอื่ งจากผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งของการ ประกอบการสงั คมมที งั้ ผรู้ บั บรกิ าร ชมุ ชนทอี่ งคก์ รด�ำเนนิ งานอยู่ และ “ผลู้ งทนุ ” ซึ่งหมายรวมถึงผู้ที่ลงทุนด้วยเงินและผู้เช่ียวชาญที่ให้ความช่วยเหลือด้านต่างๆ ดังน้ัน ผู้ประกอบการสังคมจะต้องท�ำความเข้าใจความต้องการของคนแต่ละ กลุ่มอย่างชัดเจน และรักษาสมดุลในการสร้างมูลค่าให้กับคนแต่ละกลุ่ม ไม่ว่า จะเป็นการสร้างมูลค่าทางสังคม มูลค่าทางเศรษฐกิจ และการจัดการ (Dees, 1998) ในขณะท่ีองค์กรพัฒนาเอกชนอาจมุ่งความสนใจไปท่ีการสร้างมูลค่าเพิ่ม ทางสังคมใหก้ ับกล่มุ เปา้ หมายท่ใี ห้บรกิ ารเพยี งกลุ่มเดียว 22 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
นอกจากนั้น การประกอบการสังคมมักถูกกล่าวถึงควบคู่กับค�ำว่า “ความยงั่ ยนื ” แต่ Boschee and McClurg (2003) เสนออีกค�ำหนงึ่ คอื “การ พง่ึ พาตนเอง” หรอื “การเลย้ี งตนเอง” (self-sufficiency) ซง่ึ ควรเปน็ เปา้ หมาย ปลายทางของผู้ประกอบการสังคม เนื่องจากความย่ังยืนอาจเกิดจากการได้รับ เงนิ บรจิ าค อาสาสมคั ร เงนิ อดุ หนนุ จากภาครฐั และรายไดจ้ ากการประกอบการ รวมกนั แตก่ ารเลี้ยงตนเองต้องอาศยั รายได้จากการประกอบการเท่านั้น ซง่ึ การ ประกอบการไม่จ�ำเป็นตอ้ งเปน็ การริเรม่ิ ธุรกจิ ใหม่ แตอ่ าจใช้กลยทุ ธใ์ นการสร้าง รายไดท้ เี่ หมาะสมกับพนั ธกจิ ทางสังคมขององคก์ รนนั้ ความหลากหลายของแนวคิดการประกอบการสังคม แนวคดิ เกย่ี วกบั การประกอบการสงั คมเกดิ ขนึ้ ตง้ั แตช่ ว่ งครสิ ตท์ ศวรรษ 1980 ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยผู้บุกเบิกงานสายน้ีคือ บิลล์ เดรตัน (Bill Drayton) ผู้ก่อตั้งมูลนิธิอโชก้า (Ashoka) ซึ่งสร้างเครือข่ายและสนับสนุนทั้ง ดา้ นการเงนิ องคค์ วามรู้ และเครอื่ งมอื ท�ำงานของนกั ขบั เคลอ่ื นการเปลยี่ นแปลง สังคม หรือที่เขาเรียกว่า “ผู้ประกอบการสังคม” เพ่ือน�ำไปใช้ในการแก้ปัญหา สังคม วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อม ต่อมาองค์กรที่ท�ำงานในลักษณะเดียวกันก็ เกิดข้ึนตามมาเร่ือยๆ ถึงแม้อโชก้าจะเป็นต้นแบบการประกอบการสังคมที่เป็น ท่ียอมรับอย่างแพร่หลาย แต่แนวคิดแบบเดรตันเป็นเพียงแนวคิดหนึ่งเท่านั้น แนวคดิ การประกอบการสงั คมสามารถแบง่ ออกเปน็ 2 แขนงหลกั โดยแขนงหนง่ึ เปน็ แนวคดิ ทางฝ่งั สหรฐั อเมรกิ าและอกี แขนงหนงึ่ เป็นแนวคดิ ทางฝ่งั ยโุ รป Bacq and Janssen (2011) ตง้ั สมมติฐานว่า มติ ิความแตกตา่ งของ แนวคิดเร่ืองผู้ประกอบการสังคมแต่ละสายน่าจะเกิดจากการตีความระบบ ทุนนิยมและบทบาทของรัฐบาลที่แตกต่างกัน โดยอเมริกันโมเดลมุ่งไปที่ผล ประโยชน์ระยะสั้นและความส�ำเร็จของปัจเจกบุคคล ในขณะที่ไรน์ลันด์โมเดล บทนำ� 23
(Rhineland model) ท่ีใช้ในฝั่งยุโรปตะวันตกและประเทศญ่ีปุ่นเน้นไปท่ี เป้าหมายระยะยาว ความส�ำเร็จร่วม และการให้คุณค่ากับมติเอกฉันท์ แม้ กระทั่งระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง มุมมองเหล่าน้ีสะท้อนอยู่ในการด�ำเนินงาน ขององค์กรและสวัสดิการของรัฐ เช่น คนว่างงานในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ รับสวัสดกิ ารต�ำ่ มาก เนื่องจากถกู ตดั สนิ ว่าเปน็ คนเกยี จครา้ นและไรค้ วามรบั ผิด ชอบ ในขณะทีค่ นว่างงานในประเทศแถปยโุ รป เชน่ ประเทศเยอรมนี ไดร้ ับเงิน สนับสนนุ ในชว่ งแรกกว่า 60 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องเงนิ เดือนกอ่ นวา่ งงาน ดงั นนั้ การ ประกอบการสงั คมทางสายอเมรกิ นั โดยเฉพาะทาง American Social Innova- tion School จึงให้ความส�ำคัญกบั ตัวบคุ คล น่ันคอื “ผปู้ ระกอบการ” ในฐานะ ผขู้ บั เคลอ่ื นการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมซงึ่ ตรงกบั มมุ มองของ Schumpeter สว่ น ฝั่งยุโรปให้ความส�ำคัญกับแนวคิดกิจการเพ่ือสังคม หรือท่ีเรียกว่า “ภาคส่วนที่ 3” (the Third Sector) ซง่ึ เกดิ จากความคดิ รเิ ร่ิมของกลุม่ พลเมอื งท่มี ีความรบั ผิดชอบต่อประโยชนส์ ว่ นรวมของสงั คม การประกอบการสังคมแบบฝงั่ ยุโรปไม่ ไดป้ ฏิเสธความส�ำคญั ของผู้ประกอบการในฐานะปจั เจกบคุ คล เพียงแตใ่ หค้ วาม ส�ำคัญกบั การ กระท�ำรว่ ม (collective action) ของคนในสังคมมากกวา่ ถึงแม้จะมีความแตกต่างหลากหลายในการล�ำดับความส�ำคัญและการ ตคี วามการประกอบการสงั คม สงิ่ หนงึ่ ทย่ี งั คงเปน็ แกน่ รว่ มของการประกอบการ สังคมคือ พันธกิจทางสังคมท่ีต้องการสร้างผลกระทบทางสังคม อีกท้ังยังเป็น ตัวก�ำหนดกิจกรรมขององค์กรท่ีต้องสามารถสร้างรายไดใ้ ห้กับองคก์ รเพื่อความ ยง่ั ยนื ในการพึง่ พาตนเองขององค์กรอีกดว้ ย ในส่วนถัดไปจะเป็นการแนะน�ำพื้นที่ 4 แห่งที่เข้าร่วมกิจกรรมของ โครงการผู้น�ำในปีน้ี และน�ำเสนอแนวคิดและเคร่ืองมือการประกอบการสังคม ท่ีคณุ พรจรรย์ ไกรวตั นุสสรณแ์ ละทมี School of Changemakers เลือกสรร มาเพื่อหนุนเสริมศักยภาพของผู้น�ำในพื้นท่ีให้สามารถท�ำงานขับเคลื่อนการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมได้อยา่ งยง่ั ยนื 24 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชุมชน การประกอบการสังคม
เครื่องมือหนุนเสริมการท�ำงาน ส�ำหรับเครือข่ายผู้น�ำในสี่พื้นที่ เนื่องจากงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยต่อยอดการถอดบทเรียนการท�ำงาน ของเครือข่ายโครงการผู้น�ำแหง่ อนาคต เครอื ขา่ ยผูน้ �ำท่ไี ดร้ บั การคัดเลอื กใหเ้ ขา้ ร่วมเวทีพฒั นาศกั ยภาพครงั้ นี้จงึ มีท้ัง “พน้ื ทเ่ี ก่า” และ “พน้ื ที่ใหม่” โดยค�ำวา่ “เกา่ ” และ “ใหม”่ ในทนี่ ไี้ มไ่ ดห้ มายถงึ ระยะเวลาในการท�ำงานขบั เคลอื่ นสงั คม แต่ “เกา่ ” ในเชงิ ความคนุ้ เคยในการท�ำงานรว่ มกนั ระหวา่ งทมี นกั วจิ ยั และทมี ผนู้ �ำ ขบั เคล่ือนสงั คม ซึ่งส่งผลต่อระดบั ความไวว้ างใจในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ โดยมี พน้ื ท่ี 2 แหง่ เปน็ พนื้ ทเ่ี กา่ และพนื้ ทอี่ กี 2 แหง่ เปน็ พนื้ ทใี่ หม่ พน้ื ทที่ ง้ั 4 แหง่ ไดร้ บั การคดั เลอื กเนอื่ งจากโครงการผนู้ �ำแหง่ อนาคตดว้ ยเลง็ เหน็ ศกั ยภาพและความมงุ่ มั่นในการท�ำงานเพ่อื สังคมของผู้น�ำกลุม่ นี้จากเวทีการเรยี นรู้ “เครือขา่ ยภาวะ การน�ำเพ่อื การขับเคลอื่ นสงั คม (social facilitator) รุน่ ที่ 1” และการติดตาม การท�ำงานของแกนน�ำเรอ่ื ยมา นอกจากนนั้ หากเรามอง “ผปู้ ระกอบการสงั คม” ในบทบาทหนึง่ ของผูน้ �ำ จะเหน็ ไดว้ า่ ผปู้ ระกอบการสงั คมมักปรากฏภาพของผู้ มีความมุ่งมัน่ ชัดเจน ไมห่ ยดุ น่งิ ท้ังทางด้านอารมณ์ ความคิด ความร้สู กึ และการ แสวงหาความรู้ สอดคลอ้ งกับค�ำกล่าวของ Bornstein (2007, pp. 1-2) ท่ีวา่ ในฐานะแรงขับเคล่ือนการเปล่ียนแปลง (transformative forces) เป็นคนที่มีแนวคิดใหม่ๆ ในการต่อกรกับปัญหาใหญ่ๆ และไม่ยอมอ่อนข้อเพ่ือไปให้ถึงวิสัยทัศน์ของพวกเขา เป็นคน ท่ีไม่ยอมรับค�ำว่า “ไม่” เป็นค�ำตอบ และเป็นคนท่ีไม่ยอมแพ้ จนกว่าจะเผยแพรแ่ นวคิดของพวกเขาให้ไกลทส่ี ุดเทา่ ท่จี ะท�ำได้ ดังน้ัน ผู้เขียนมองเห็นว่า แกนน�ำพื้นที่ทั้งสี่แห่งนี้มีคุณลักษณะเหล่านี้ ครบถ้วน โดยพืน้ ท่ี 4 แห่งประกอบไปดว้ ย บทนำ� 25
พื้นที่เรียนรู้ที่ 1: มูลนิธิบ้านครูน้�ำ จังหวัดเชียงราย มูลนิธิบ้านครนู ้�ำเปน็ องคก์ รพัฒนาเอกชนทีท่ �ำงานชว่ ยเหลอื เดก็ เรร่ ่อน ในเขตชายแดนจังหวัดเชียงราย ให้เข้าถึงการศึกษาและได้รับสิทธิประโยชน์ ตามหลักสิทธิเด็กและสิทธิมนุษยชน การถอดบทเรียนภาวะการน�ำร่วมในปีที่ แล้วมุ่งไปที่การด�ำเนินงานของมูลนิธิและตัวครูน้�ำซ่ึงเป็นผู้ก่อตั้ง ปีนี้ครูน�้ำยัง ให้ความส�ำคัญกับการท�ำงานขับเคลื่อนเชิงพื้นท่ี จึงเร่งพัฒนาเครือข่ายองค์กร พัฒนาเอกชนในเขตพื้นท่ีเชียงราย ทั้งองค์กรท่ีท�ำงานด้านเด็ก องค์กรที่ดูแล สุขภาวะของคนท�ำงานภาคสังคม และกลุ่มคุณค่าเชียงแสนที่สร้างพ้ืนที่เรียน รู้และสร้างอาชีพให้เด็กและเยาวชนในพื้นท่ีเพ่ือให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็น องคร์ วม นอกจากนน้ั การสง่ เสรมิ อาชพี และสรา้ งสภาพแวดลอ้ มใหเ้ ดก็ สามารถ หาเล้ียงชีพได้อย่างสุจริตยังเป็นการส่งเสริมให้เด็กเห็นคุณค่าในตนเองเพื่อยุติ การกลับสวู่ งจรการคา้ มนษุ ยแ์ ละยาเสพตดิ พื้นที่เรียนรู้ที่ 2: ชุมชนวัฒนธรรมไทยเบิ้ง โคกสลุง ชุมชนวัฒนธรรมไทยเบ้ิง ต�ำบลโคกสลุง ต้ังอยู่ในอ�ำเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ชุมชนแห่งนี้เป็น ชุมชนไทยเบิ้งที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และ สมาชกิ ในชมุ ชนยงั คงไวซ้ งึ่ วถิ กี ารด�ำรงชวี ติ แบบไทยเบงิ้ ความโดดเดน่ ของชมุ ชน แหง่ นีค้ ือ ความเขม้ แข็งของชมุ ชนในการใชเ้ อกลกั ษณข์ องวฒั นธรรมไทยเบิง้ ใน การรบั มอื กบั วกิ ฤตจิ ากการวางผงั เมอื ง ท�ำใหต้ �ำบลโคกสลงุ รอดพน้ จากการเปน็ พนื้ ทเ่ี ขตอตุ สาหกรรม สถาบนั ไทยเบงิ้ โคก สลงุ เพอื่ การพฒั นาจงึ ถกู จดั ตง้ั ขนึ้ เพอ่ื อนุรกั ษ์ ฟ้นื ฟู สบื สาน และพฒั นาภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยเบ้ิงต่อไป นอกจากนนั้ กลมุ่ แกนน�ำยงั ใหค้ วามส�ำคญั กบั การพฒั นาคน จงึ มกี ารน�ำ เครอ่ื งมือในการท�ำงานชมุ ชนเขา้ มาใชเ้ พ่ือสร้างเสรมิ ทกั ษะใหก้ บั กลุ่มต่างๆ ปีนี้ 26 จุดนดั พบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสังคม
กลุ่มแกนน�ำมุ่งไปท่ีการพัฒนากลุ่มอาชีพในชุมชน ได้แก่ กลุ่มทอผ้า โฮมสเตย์ กลมุ่ แปรรปู ผา้ ทอ และกลมุ่ ขา้ วซอ้ มมอื เพอ่ื ใหโ้ คกสลงุ กลายเปน็ ชมุ ชนตวั อยา่ ง ทส่ี ามารถพงึ่ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื อกี ทงั้ การสรา้ งอาชพี ทมี่ น่ั คงยงั เปน็ การสง่ เสริมให้ครอบครัวได้อยู่กันพร้อมหน้าเนื่องจากเด็กและคนวัยท�ำงานไม่จ�ำเป็น ตอ้ งออกไปหางานในเมือง พื้นที่เรียนรู้ที่ 3: ขอนแก่นนิวสปิริต กลุ่มขอนแก่นนิวสปิริตก่อตั้งขึ้นเม่ือเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560 มี เป้าหมายในการสร้างพ้ืนที่การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองร่วมกันส�ำหรับคน รนุ่ ใหมท่ ต่ี อ้ งการสรา้ งการเปลยี่ นแปลงทางสงั คมและสง่ เสรมิ การสรา้ งเครอื ขา่ ย ส�ำหรบั คนท�ำงานภาคประชาสงั คมในจงั หวดั ขอนแกน่ โดยมกี ารแนะน�ำเครอื่ งมอื และสนับสนุนทางด้านองค์ความรู้เพ่ือน�ำไปใช้ในการบริหารจัดการองค์กรและ การปฏบิ ตั ิการทางสงั คม นอกจากนั้น พน้ื ทน่ี ย้ี งั เปน็ พนื้ ที่ปลอดภยั ในการพดู คยุ และดแู ลกนั และกนั ส�ำหรบั คนท�ำงานเพอ่ื สงั คม โดยยดึ ถอื เอาคณุ คา่ รว่ มเปน็ หลกั พื้นที่เรียนรู้ที่ 4: เครือข่ายสภาพลเมืองพังงาแห่งความสุข เหตกุ ารณ์ภยั พิบตั ิสนึ ามเิ มือ่ พ.ศ. 2547 ท�ำให้แกนน�ำขบวนการภาค ประชาชนกลุ่มตา่ งๆ ในจงั หวดั พงั งาจบั มอื กันจนเกดิ เปน็ เครือข่ายสภาพลเมอื ง พังงาแห่งความสุข การรวมตัวกันช่วยสร้างอ�ำนาจการต่อรองกับภาครัฐให้กับ กลุ่มเครือข่าย ถึงแม้แต่ละกลุ่มยังคงเดินหน้าจัดการเร่ืองที่ตนเองถนัด แต่มี การวางเป้าหมายร่วมกันโดยก�ำหนดยุทธศาสตร์ 10 ประการในการพัฒนาให้ พังงากลายเป็นพ้ืนที่แห่งความสุขมากยิ่งข้ึนส�ำหรับชาวพังงาและนักเดินทางทั้ง หลาย การท�ำงานอย่างทุ่มเทของแต่ละกลุ่มท�ำให้หลายพื้นท่ีในพังงากลายเป็น บทน�ำ 27
พื้นท่ีต้นแบบในการศึกษาดูงาน เช่น การจัดการภัยพิบัติอย่างเป็นระบบ การ พฒั นาโรงเรยี นผสู้ งู อายุ และการบรหิ ารจดั การขยะ แมก้ ระนน้ั เครอื ขา่ ยในหลาย พนื้ ทขี่ องจงั หวดั พงั งายงั เผชญิ กบั สภาวะทวั รศ์ นู ยเ์ หรยี ญ โจทยส์ �ำคญั ในการเขา้ รว่ มโครงการนจ้ี งึ เปน็ การสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั พนื้ ทศี่ กึ ษาดงู านเพอื่ ใหพ้ น้ื ทเ่ี หลา่ นนั้ สามารถเดินหนา้ ท�ำงานต่อได้อยา่ งย่งั ยนื เครื่องมือและวิธีคิดการประกอบการสังคมส�ำหรับองค์กร ภาคประชาสังคม ในการสร้างความยั่งยืนให้กับองค์กรภาคประชาสังคม โครงการผู้น�ำ แห่งอนาคตได้เชิญคุณพรจรรย์ ไกรวัตนุสสรณ์ (พ่ีนุ้ย) ผู้ก่อตั้ง School of Changemakers (SoC) ให้เข้ามาเป็นที่ปรึกษาด้านการประกอบการสังคม และทดลองเครื่องมือจากแนวคิดการประกอบการสังคมที่สามารถน�ำไปปรับ ใช้กับองค์กรภาคประชาสังคมเพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการด�ำเนินงานของกลุ่ม แกนน�ำในพนื้ ทแี่ ละขยายผลกระทบทางสงั คม (scaling impact) ตอ่ ไป เครอ่ื งมอื ที่คุณพรจรรย์และทีม SoC เลือกสรรมาให้ผู้น�ำองค์กรทั้ง 4 กลุ่มแบ่งออกเป็น 2 ส่วน สว่ นที่หนึ่งเปน็ เคร่อื งมอื และวิธีคดิ แบบการประกอบการสงั คม อีกส่วน หนง่ึ คอื ผปู้ ระกอบการภายในเพอื่ การเปลย่ี นแปลง (intrapreneur for change) ซงึ่ เปน็ อาสาสมคั รจากภาคธรุ กจิ ทเี่ ขา้ ไปท�ำงานรว่ มกบั ผนู้ �ำองคก์ รภาคประชาสงั คม ในการน�ำเคร่อื งมือการประกอบการสังคมไปใชใ้ นบริบทพนื้ ทจ่ี ริง ในส่วนถดั ไป เป็นการอธิบายเก่ียวกับเครื่องมือและวิธีคิดแบบการประกอบการสังคมเพ่ือใช้ เป็นฐานในการท�ำความเข้าใจความเปลีย่ นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ ในพื้นท่ที ัง้ สใี่ นบทที่ 2 ถงึ บทที่ 6 28 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสังคม
โครงการผู้น�ำแห่งอนาคตร่วมกับ SoC จัด “เวทีพัฒนาศักยภาพ เครือข่ายด้วยเคร่ืองมือสนับสนุนความย่ังยืนการขับเคล่ือนทางสังคม” ท้ังหมด 3 คร้ัง โดยเร่ิมจากการก�ำหนดกลยุทธ์ในการท�ำงาน การวางแผนด้านการเงิน และการพฒั นาทมี ใหพ้ รอ้ มส�ำหรบั การเปลยี่ นผา่ นจากการท�ำงานในกระบวนทศั น์ เดมิ สกู่ ารเป็นองคก์ รท่สี ามารถพ่ึงพาตนเองไดอ้ ย่างยง่ั ยืน เวทีแรกเน้นไปท่ีการพัฒนากลยุทธ์เพ่ือการท�ำงานอย่างย่ังยืน คุณพรจรรย์เรม่ิ จากการใหส้ มาชกิ ของทกุ กลมุ่ ทบทวนการท�ำงานทผ่ี า่ นมาดว้ ย การเขยี นแผนผงั ล�ำดบั เหตกุ ารณ์ (timeline) เนอ่ื งจากสมาชกิ ของแตล่ ะองคก์ ร อาจเข้าร่วมองค์กรในช่วงเวลาท่ีแตกต่างกัน ท�ำให้ไม่ทราบถึงกิจกรรมทุกอย่าง ทอี่ งค์กรเคยท�ำมา อกี ท้งั หลายองค์กรมหี น้างานท่ีตอ้ งจดั การอยูต่ ลอดเวลา จึง อาจไมม่ ีเวลาร่วมพดู คุยทบทวนสิ่งท่ีเคยท�ำมาว่า กิจกรรมเหลา่ น้ันยงั ตอบโจทย์ พนั ธกจิ ขององค์กรหรือไม่ การเข้าร่วมเวทีคร้ังนี้จึงเป็นการเปิดพ้ืนที่ให้สมาชิก ของแต่ละองค์กรได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนและท�ำความเข้าใจความคาดหวังและ ความต้ังใจของแตล่ ะคน นอกจากการทบทวนการท�ำงาน แตล่ ะกลมุ่ ยงั ต้องระบุ ความจ�ำเปน็ เร่งดว่ นขององค์กร อกี ทง้ั สมาชิกยังตอ้ งแสดงจดุ ยนื ของตนเองว่า อยากให้องค์กรอยู่ต่อไปอีกก่ีปี และตนเองจะท�ำงานอยู่ในองค์กรอีกนานเท่าไร เพ่ือให้สามารถวางแผนการด�ำเนินงานต่อไปได้ เช่น หากผู้น�ำองค์กรจะวางมือ ในอีก 5 ปีขา้ งหนา้ แตต่ อ้ งการให้องค์กรคงอยู่ต่อไปเรื่อยๆ ผู้น�ำองค์กรต้องเรม่ิ วางแผนพัฒนาแกนน�ำรนุ่ ต่อไป เป็นต้น เมอ่ื ทบทวนการท�ำงานทผ่ี า่ นมาทงั้ หมดแลว้ จงึ เขา้ สเู่ ครอื่ งมอื ทเ่ี รยี กวา่ ทฤษฎสี รา้ งความเปลยี่ นแปลง (Theory of Change หรอื ToC) และ หว่ งโซ่ ผลลพั ธ์ (Impact Value Chain หรอื IVC) เครื่องมือทง้ั สองชนิ้ น้ชี ว่ ยในการ ทบทวนการท�ำงานให้เห็นว่า วิธีการท�ำงานท่ีผ่านมาจะน�ำองค์กรไปสู่การสร้าง ผลกระทบทางสงั คมทอี่ งคก์ รตงั้ ใจไวไ้ ดห้ รอื ไม่ หรอื องคก์ รยงั ตอ้ งปรบั เปลย่ี นวธิ ี การท�ำงานอยา่ งไร โดย ToC เป็นการแสดงตรรกะความสมั พันธ์ระหว่างผลลัพธ์ บทนำ� 29
ท่ีองค์กรต้องการให้เกิดเพื่อไปให้ถึงเป้าหมายระยะยาว คุณลักษณะท่ีส�ำคัญใน การสร้าง ToC คอื การคิดย้อนหลงั โดยมีผลลัพธ์ปลายทางเปน็ จดุ เร่ิมตน้ แล้ว คิดถอยหลังว่าองค์กรจ�ำเป็นต้องสร้างผลลัพธ์ระยะกลางและระยะสั้นแบบไหน และกิจกรรมใดท่ีจะน�ำไปสู่ผลลัพธ์เหล่านนั้ อกี นยั หนงึ่ คอื “มนั ตอ้ งเรมิ่ จากการ ถามว่า ‘เงอื่ นไขเบ้อื งตน้ แบบใดตอ้ งมเี พ่ือที่เราจะไปถงึ ผลลพั ธ์ระยะยาวทตี่ ั้งใจ ไว้’ มากกว่าเร่ิมที่ ‘เราควรจะท�ำกิจกรรมอะไรเพ่ือไปถึงเป้าหมาย’” (Taplin, 2012 , p.4) การสร้าง ToC เป็นกระบวนการทีล่ ะเอยี ดมาก เน่อื งจากตอ้ งทบทวน เป้าหมายปลายทาง ระบุเง่ือนไขเบื้องต้นและความจ�ำเป็นต่างๆ บนฐานของ การสนั นษิ ฐานเพอ่ื ไปใหถ้ งึ เปา้ หมาย ระบบุ รบิ ทแวดลอ้ ม กจิ กรรมทอี่ งคก์ รจะท�ำ และแนวทางการวดั ผลเพอ่ื ประเมนิ ความส�ำเรจ็ ของกจิ กรรมทท่ี �ำไป แตด่ ว้ ยเวลา ทจ่ี �ำกดั ในเวริ ค์ ช็อป คุณพรจรรยจ์ ึงใช้ ToC ฉบบั ประยกุ ตข์ อง SoC ในชว่ งภาค ปฏบิ ตั ิ โดยเรมิ่ จากการใหแ้ ตล่ ะพนื้ ทใี่ สก่ จิ กรรมทก่ี �ำลงั ท�ำอยใู่ นปจั จบุ นั หลงั จาก นั้น ให้ทบทวนวิสัยทัศน์และเป้าหมายในการท�ำงานของกลุ่ม พร้อมทั้งอธิบาย สถานการณป์ ญั หาทแ่ี ต่ละกลุ่มก�ำลงั ขับเคลือ่ นการเปลยี่ นแปลง ซึง่ ประกอบไป ด้วยการระบุปญั หา พนื้ ทที่ เี่ กดิ ปญั หา ระยะเวลาทเ่ี กดิ ปญั หา สาเหตขุ องปัญหา ผลกระทบท่ีตามมา ผู้ท่ีได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาน้ี ภาคส่วนอื่นท่ีก�ำลัง แกไ้ ขปญั หาเดียวกัน และผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียอ่นื ทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับปัญหานี้ ทั้งหมด นี้เป็นการถามย�้ำว่าองค์กรของเราก�ำลังแก้ไขปัญหาสังคมใดอยู่ และกิจกรรมท่ี ก�ำลงั ท�ำแกไ้ ขปญั หาเหล่านน้ั และน�ำไปสู่เปา้ หมายปลายทางทต่ี ง้ั ไว้หรอื ไม่ เม่ือเสร็จส้ินกระบวนการสร้าง ToC คุณพรจรรย์จึงน�ำเสนอเครื่องมือ ถัดไป นน่ั คอื หว่ งโซผ่ ลลัพธ์ (IVC) โดยใช้เปา้ หมายและวิสยั ทศั น์ในแผนภาพ 30 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
รูปท่ี 1. แผนภาพ Theory of Change (ท่ีมาของภาพ: Change Makers’ Toolkit. School of Changemakers. https://www. schoolofchangemakers.com/sites/default/files/module1-worksheet.pdf ) บทนำ� 31
ToC เป็นจุดเริ่มต้นในช่องของผลลัพธ์หรือผลกระทบทางสังคม แล้วจึงระบุว่า จากวิสัยทัศน์นั้นองค์กรต้องสร้างผลผลิตใดบ้าง ใช้กิจกรรมลักษณะใดในการ สรา้ งผลผลติ เหล่านนั้ และจ�ำเปน็ ต้องมปี จั จัยน�ำเข้าอะไรบ้าง เชน่ เงิน สถานท่ี เครือข่าย เป็นต้น เม่ือน�ำข้อมูลที่มีอยู่มาจัดเป็นระบบแล้ว จึงกลับมาประเมิน การท�ำงานอีกคร้ังว่า กิจกรรมท่ีก�ำลังท�ำอยู่สามารถน�ำไปสู่ผลลัพธ์ทางสังคมที่ ต้องการหรือไม่ ถ้าไม่ องค์กรควรจะหยุดท�ำหรือปรับเปล่ียนอย่างไร นอกจาก การท�ำ ToC และ IVC จะมปี ระโยชนใ์ นการใชป้ ระเมนิ วธิ กี ารท�ำงานทผ่ี า่ นมาของ องค์กรแล้ว เคร่ืองมือท้ังสองชิ้นยังช่วยให้องค์กรสามารถอธิบายให้ผู้สนับสนุน ตระหนกั ถงึ ความส�ำคญั ของการมอี ยขู่ ององคก์ รในการสรา้ งผลกระทบทางสงั คม ใหเ้ กดิ ขึน้ ทง้ั ในระยะสนั้ และระยะยาว องค์ประกอบที่ส�ำคัญอีกอย่างในการพัฒนากลยุทธ์ในการท�ำงานคือ ความสามารถในการสกดั 1) ข้อมูลวงใน (insight) เกยี่ วกับปัญหา ซึง่ จะน�ำไป สู่การออกแบบวิธีแก้ไขปัญหาที่ตรงจุด 2) ส่ิงท่ีเป็นความเช่ียวชาญขององค์กร (expertise) และ 3) ทนุ หรอื ทรพั ย์สิน (asset) ท่ีองคก์ รมีอยแู่ ล้ว ซึง่ อาจไมใ่ ช่ เรื่องที่โดดเด่นขององค์กร แต่สามารถน�ำมาใช้ได้เมื่อโอกาสมาถึง เมื่อสกัด องค์ความรู้ท้ังหมดออกมาแล้ว สุดท้ายคือการน�ำข้อมูลเหล่าน้ันมาประมวลผล โดยค�ำนงึ ถงึ บรบิ ทขององคก์ ร โอกาสทม่ี อี ยู่ และแนวโนม้ ในปจั จบุ นั แลว้ จงึ กลนั่ ออกมาเป็นกลยุทธแ์ ละสร้างแผนการด�ำเนนิ งานขององคก์ รต่อไป หากพดู ถงึ ความยงั่ ยนื ในการท�ำงานขององคก์ รภาคประชาสงั คมคงตอ้ ง กลบั มาทเี่ รอ่ื งของเงนิ ซงึ่ เปน็ ทนุ ทส่ี �ำคญั ในการท�ำงานขบั เคลอ่ื นสงั คม เวทพี ฒั นา ศกั ยภาพครงั้ ท่ี 2 จงึ มงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารคดิ ค�ำนวณและวางแผนการเงนิ ขององคก์ ร โดยใช้ การค�ำนวณตน้ ทนุ ในการสรา้ งผลกระทบทางสงั คมตอ่ หนว่ ย (impact unit cost) ซง่ึ ตอ้ งเรมิ่ จากการกลบั ไปทบทวน IVC ทท่ี �ำไปในเวทแี รกวา่ องคก์ ร ของเราก�ำลังสร้างผลกระทบทางสังคมอะไรอยู่ และประเมินผลกระทบเหล่า นั้นออกมาเป็นตัวเลขไดอ้ ย่างไร โดยดจู ากชอ่ งผลผลติ เชน่ จ�ำนวนเด็กทีเ่ ขา้ ถึง 32 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม
โอกาสทางการศกึ ษา จ�ำนวนชมุ ชนทน่ี �ำโมเดลไปปรบั ใช้ จ�ำนวนพนื้ ทศ่ี กึ ษาดงู าน เป็นต้น เมอื่ แตล่ ะองคก์ รระบุหนว่ ยผลกระทบทางสังคม (impact unit) ของ ตนเองชัดเจนแล้ว จึงเข้าสู่กระบวนการค�ำนวณต้นทุนในการสร้างผลกระทบ ต่อหน่วย โดยเร่ิมจากการค�ำนวณต้นทุน ซึ่งต้องรวมค่าบริหารจัดการและค่า ตอบแทนคนท�ำงานด้วยจึงจะสามารถสะท้อนต้นทุนจริงของการท�ำงานภาค สังคมได้ หลังจากนั้น น�ำต้นทุนทั้งหมดที่ใช้หารด้วยจ�ำนวนของผลกระทบทาง สังคมท่ีองค์กรสร้าง ตัวเลขท่ีได้จะเป็นต้นทุนในการสร้างผลกระทบทางสังคม ตอ่ หนว่ ย นอกจากการค�ำนวณตน้ ทนุ ตอ่ หนว่ ยผลกระทบจะชว่ ยในการประเมนิ การท�ำงานขององค์กรในเชงิ การใชเ้ งนิ แลว้ ยังชว่ ยในการวางแผนการท�ำงานใน อนาคต เชน่ หากตอ้ งการขยายผลกระทบทางสงั คม องคก์ รตอ้ งปรบั เปลย่ี นแผน งานทจี่ ุดใด อีกทัง้ ยงั ชว่ ยใหอ้ งคก์ รเอกชนที่ต้องการลงทุนทางสงั คมเห็นภาพที่ เปน็ รปู ธรรมมากขนึ้ วา่ การลงทนุ ของเขาสรา้ งการเปลย่ี นแปลงไดม้ ากแคไ่ หนและ ตอ้ งใช้ต้นทุนจรงิ เทา่ ไหร่ เวทีพัฒนาศักยภาพครั้งสุดท้ายค่อยๆ เคลื่อนมุมมองการท�ำงานจาก เรื่องการเงินเข้าสู่มิติของคนในด้านการเติมเต็มศักยภาพของสมาชิกในทีมโดย ใช้เครื่องมือการบริหารจัดการและพัฒนาทีมในช่วงเปลี่ยนผ่าน เครื่องมือแรก คอื การคดิ ชว่ั โมงการท�ำงาน (man-hour) หลายองคก์ รทมุ่ เทเวลาการท�ำงาน ไปกับการประชมุ การเตรยี มงาน และหน้างานทีย่ ุ่งเหยงิ แต่ไมเ่ คยน�ำเวลาทใี่ ช้ เหล่าน้ันมาคิดค�ำนวณว่าเราใช้เวลาไปกับงานแต่ละเร่ืองมากน้อยเพียงใด และ ต้นทุนการท�ำงานของเราต่อชวั่ โมงคอื เท่าไหร่ ซงึ่ เมื่อค�ำนวณออกมาแลว้ ผูเ้ ข้า ร่วมเกือบทุกคนตกใจกับค่าตอบแทนท่ีน้อยนิดเมื่อเทียบกับจ�ำนวนช่ัวโมงที่ท�ำ ไป หรอื พบวา่ การท�ำงานหลายครั้งขาดทนุ ค่าตัวด้วยซ้ำ� แต่ในทางกลับกัน หาก น�ำผลกระทบทางสงั คมมาเปน็ ตวั ตงั้ แลว้ ค�ำนวณตน้ ทนุ ทใ่ี ชใ้ นการสรา้ งหนงึ่ หนว่ ย ผลกระทบ ผเู้ ขา้ รว่ มหลายคนประหลาดใจกบั ต้นทนุ ทีส่ งู มาก ซง่ึ น�ำไปสู่การตั้ง บทนำ� 33
ค�ำถามเก่ียวกับประสิทธิภาพในการท�ำงานของสมาชิก อย่างไรก็ตาม ประเด็น นี้ยังน�ำไปสู่การแลกเปล่ียนมุมมองด้านคุณค่าและมูลค่า ซ่ึงเป็นการต้ังค�ำถาม และข้อสงสัยที่ชวนให้ถกเถียงระหว่างประเด็นด้านคุณค่าของการอาสาท�ำงาน ด้วยใจกับการคิดมูลค่าท่ีเป็นผลประโยชน์ด้านตัวเงิน ดังน้ัน การคิดชั่วโมงการ ท�ำงานจึงกลายเป็นประเด็นร้อนท่ีชวนให้คนท�ำงานภาคประชาสังคมได้ขบคิด อย่างลึกซึง้ ถึงมติ ิของค�ำว่า “คณุ คา่ ” ท้ังมมุ มองดา้ นปรัชญาการท�ำงานและวธิ ี คิดในการท�ำงานทกุ วันน้ี ประสิทธภิ าพในการท�ำงานเช่ือมเข้าสู่วธิ คี ิดทางธุรกจิ ถดั ไป นน่ั คอื การ บรหิ ารจัดการเวลา (time management) คณุ เกศทิพย์ หาญณรงค์ อดีตผใู้ ห้ ค�ำปรกึ ษาฝา่ ยทรพั ยากรบคุ คล กลา่ วไวว้ า่ การบรหิ ารเวลาไมม่ อี ยจู่ รงิ เนอ่ื งจาก หนงึ่ วนั มีเพียง 24 ชวั่ โมงซ่ึงไม่สามารถเปล่ียนแปลง แตส่ ิง่ ที่ท�ำไดค้ อื การบริหาร ตนเองและสอื่ สารกบั ผอู้ น่ื เพอื่ ใหก้ ารใชเ้ วลาเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพทส่ี ดุ คณุ เกศทพิ ย์ แนะน�ำเครอ่ื งมอื ในการจัดการเวลาทีเ่ รียกว่า CPR Framework ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยการจบั ไอเดยี (capturing) เกลย่ี ความส�ำคญั (processing) แลว้ น�ำมาปรบั ปรงุ ใหด้ ขี นึ้ (review) ขน้ั ตอนแรกคอื การจดบนั ทกึ ไอเดยี ทกุ อยา่ งและ สง่ิ ทตี่ อ้ งท�ำทกุ อยา่ งไวใ้ นทเี่ ดยี ว เชน่ สมดุ โนต้ เลก็ ส�ำหรบั พกตดิ ตวั หรอื แทป็ เลต็ แลว้ ใชส้ ญั ลกั ษณ์และสเี พ่อื จัดกลุม่ ให้เป็นระบบ ขั้นตอนทสี่ องเปน็ กระบวนการ ล�ำดับความส�ำคัญและเร่งด่วน โดยใส่งานและกิจกรรมทุกอย่างลงในตาราง Eisenhower Matrix ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ 4 ชอ่ งและขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยคอื การทบทวน การจัดสรรเวลาของสปั ดาห์ทผี่ า่ นมาและปรับรูปแบบการใช้ชีวิตให้ดีข้ึน 34 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม
กลอ่ ง Eisenhower Matrix ปรับจาก https://www.developgoodhabits.com/eisenhower-matrix/ เคร่ืองมือสุดท้ายของเวทีเน้นไปท่ีการพัฒนาศักยภาพของคณะท�ำงาน ให้พร้อมรับมือกับการเปลี่ยนผ่าน น่ันคือ องค์กรแห่งการเรียนรู้ (learning organization) ของปีเตอร์ เซงเก (Senge, 2006) ซ่ึงมองว่า ทุกส่ิงในโลก เช่ือมโยงกันและมีความซับซ้อนมากข้ึน ดังน้ัน ธุรกิจที่ประสบความส�ำเร็จไม่ สามารถพงึ่ ความรคู้ วามสามารถของคนเพยี งคนเดยี วอกี ตอ่ ไป แตอ่ งคก์ รจะตอ้ ง ส่งเสริมให้คนทุกระดับในองค์กรเรียนรู้ไปด้วยกันเพื่อเป็นการเติมเต็มศักยภาพ ของทกุ คนและองคก์ ร การสรา้ งองคก์ รแหง่ การเรยี นรอู้ าศยั สว่ นประกอบทสี่ �ำคญั 5 อยา่ ง ได้แก่ บทนำ� 35
1) การคิดเชิงระบบ (systems thinking) เป็นกรอบความคิดและ เคร่ืองมือที่ส�ำคัญในการท�ำความเข้าใจปรากฏการณ์หรือส่ิงท่ีเกิดข้ึน ท้ังหลาย ท่ีผ่านมาเรามักถูกสอนให้เรียนเรื่องต่างๆ อย่างแยกส่วน จนท�ำให้มองไม่เห็นความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ที่ส่งผลกระทบ ตอ่ กนั และกนั การคดิ เชงิ ระบบจะท�ำให้เราคิดอยา่ งเปน็ องคร์ วมและ ตระหนกั ถึงปัจจยั ท่ีซ่อนอยู่ ซง่ึ เครื่องมือ ToC และ IVC สะท้อนการ คิดเชงิ ระบบขององคก์ ร 2) ความช�ำนาญสว่ นบคุ คล (personal mastery) เปน็ เสมอื นเสาหลกั ขององคก์ ร เพราะหากทกุ คนในองคก์ รหาเปา้ หมายชวี ติ และแรงจงู ใจ ในการท�ำงานของตนเองเจอและทุ่มเทก�ำลังในการพัฒนาตนเองเพ่ือ ไปใหถ้ ึงเป้าหมายนน้ั องค์กรจะก้าวไปข้างหน้าอยา่ งตอ่ เน่อื ง 3) แบบจ�ำลองความคิด (mental models) เป็นวิธีการมองและ ท�ำความเข้าใจโลกซึ่งฝังลึกอยู่ในตัวเรา เราสามารถฝึกด้วยการย้อน กลับมามองและตรวจสอบวิธีคิดของเราอย่างแข็งขัน ซ่ึงอาจรวมถึง การแลกเปลยี่ นวธิ คี ดิ กบั ผอู้ น่ื และพรอ้ มทจ่ี ะปรบั เปลย่ี นวธิ คี ดิ ของเรา ในมมุ ขององคก์ ร เราอาจจะตอ้ งกลบั มาตรวจสอบวฒั นธรรมองคก์ รท่ี ผา่ นมา แลว้ ก�ำหนดวฒั นธรรมและคณุ คา่ ขององคก์ รรว่ มกนั เพอื่ สรา้ ง แนวทางปฏิบัตใิ ห้ทุกคนเขา้ ใจตรงกนั 4) การสรา้ งวสิ ยั ทศั นร์ ว่ ม หมายถงึ การทส่ี มาชกิ ในองคก์ รพฒั นาวสิ ยั ทศั น์ ร่วมกัน โดยแลกเปลี่ยนภาพอนาคตที่แต่ละคนมีท้ังในระยะส้ันและ ระยะยาว เพื่อใหก้ ารท�ำงานเปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน วิสยั ทศั น์เป็น สง่ิ ทกี่ �ำหนดรว่ มกัน จงึ ไมต่ ายตัวและสามารถปรับเปลย่ี นได้ 5) การเรยี นรรู้ ว่ มกนั เปน็ ทมี ตอ้ งเรมิ่ จากการสนทนาและคดิ รว่ มกนั โดย ปราศจากอคติ นอกจากนั้น องคก์ รควรต้องสรา้ งสภาพแวดล้อมท่ีส่ง เสรมิ ใหท้ มี เกดิ การเรยี นรรู้ ว่ มกนั เพราะ “ทมี ไมใ่ ชป่ จั เจกบคุ คล เปน็ หน่วยการเรียนรูพ้ ื้นฐานขององค์กรรุน่ ใหม่” (Senge, 2006, p. 10) 36 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม
ส่วนประกอบท้ังห้าข้อน้ีอาจส่งเสริมอย่างแยกส่วนได้ แต่หากพัฒนา รว่ มกนั จะเออื้ ใหอ้ งคก์ รเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ และไปถงึ ศกั ยภาพทส่ี งู ขนึ้ กวา่ เดมิ นอกนนั้ หวั ใจส�ำคญั ของแนวคดิ องคก์ รแหง่ การเรยี นรคู้ อื การเปลยี่ นมมุ มอง จาก การมองอยา่ งแยกสว่ นไปสกู่ ารเหน็ ความเชอ่ื มโยงระหวา่ งสรรพสงิ่ จากการมอง หาต้นเหตุของปัญหาจากภายในไปสูก่ ารมองวา่ การกระท�ำของเราเป็นสว่ นหนง่ึ ในการสร้างปัญหา และเราจะลุกขึ้นมาเปล่ียนแปลงการกระท�ำของเราอย่างไร (Senge, 2006) นอกจากเครอ่ื งมอื ทค่ี ณุ พรจรรยน์ �ำเสนอในเวทพี ฒั นาศกั ยภาพของผนู้ �ำ ในพืน้ ท่ีแล้ว เครอื่ งมอื ทีส่ �ำคัญอีกชน้ิ คือ ผ้ปู ระกอบการภายใน (intrapreneur) โดยผปู้ ระกอบการภายในเปน็ สว่ นส�ำคญั ในการปรบั เปลย่ี นเครอ่ื งมอื และแนวคดิ ทางธุรกิจให้เข้ากับบริบทชุมชนของแต่ละพื้นที่ ในส่วนถัดไปเป็นการอธิบาย แนวคิดเก่ียวกับผู้ประกอบการภายในและการท�ำงานของผู้ประกอบการภายใน ในโครงการน้ี ผู้ประกอบการภายใน (intrapreneur) ในฐานะผู้ร่วมเรียน รู้กับองค์กรภาคประชาสังคม หน่ึงในส่วนประกอบที่ส�ำคัญของการหนุนเสริมการท�ำงานของผู้น�ำ องค์กรภาคประชาสังคมในโครงการวิจัยนี้ คือ ผู้ประกอบการภายใน ท่ีเข้ามา ร่วมท�ำงานและแนะน�ำการใช้เครื่องมือตามแนวคิดการประกอบการสังคมและ เครื่องมือทางธรุ กจิ ใหก้ ับผูน้ �ำในพนื้ ที่ คนส่วนใหญ่มกั ค้นุ เคยกบั ค�ำว่า “ผปู้ ระกอบการ” ในความหมายของ ผู้ท่ีคิดรเิ ริ่มหรือก่อต้ังบรษิ ทั ใหม่ แตค่ �ำวา่ “ผูป้ ระกอบการภายใน” (intrapre- neur) ยงั ไมเ่ ปน็ ทร่ี จู้ กั อยา่ งแพรห่ ลาย โดยเฉพาะส�ำหรบั ผทู้ ไ่ี มอ่ ยใู่ นแวดวงธรุ กจิ บทนำ� 37
งานวิจัยท่ีผ่านมามีการให้ค�ำนิยามการประกอบการภายในอย่างหลากหลาย โดยแตล่ ะงานมจี ดุ ม่งุ เน้นที่แตกตา่ งกัน เช่น กระบวนการทบ่ี คุ คลภายในองค์กร พยายามแสวงหาโอกาสโดยไมข่ ึ้นอยู่กบั ทรัพยากรที่มอี ยู่ การกระตนุ้ ให้เกิดการ สร้างนวัตกรรมภายในองค์กร หรือการสร้างองค์กรใหม่ เป็นต้น แต่โดยรวม ผู้ประกอบการภายในเป็นค�ำที่ใช้เรียกผู้ประกอบการท่ีท�ำงานอยู่ภายในองค์กร ที่มีอยู่แลว้ บางคร้ังจึงเรียกอกี ชอ่ื วา่ “ผปู้ ระกอบการของบริษทั ” (corporate entrepreneur) ซ่ึงเป็นคนที่มีความต้ังใจหรือมีพฤติกรรมเชิงการประกอบการ ท่ีพยายามหลดุ ออกจากธรรมเนียมปฏบิ ัตเิ ดมิ แตย่ ังคงตอ้ งอยู่ภายใต้โครงสร้าง เดมิ ขององคก์ ร (Antoncic & Hisrich, 2003; Deloitte Digital, 2015) การ ประกอบการภายในมักเป็นการทดลองแนวคิดใหม่ๆ หรือสร้างนวัตกรรมที่ไม่ เกย่ี วข้องกบั แกน่ การด�ำเนินงานหลักขององค์กร (organizational core) และ บางครง้ั เปน็ การตอบโจทยท์ ไี่ ดร้ บั มาจากองคก์ ร ซง่ึ ในโครงการนอี้ าสาสมคั รทเ่ี ขา้ มากไ็ ดร้ บั โจทยจ์ ากทาง SoC ในการน�ำเอาความรทู้ างธรุ กจิ เขา้ ไปรว่ มท�ำงานกบั องคก์ รภาคประชาสังคมเพอ่ื สรา้ งความยัง่ ยืนในการท�ำงานขององคก์ รเหล่าน้นั นอกจากเป้าหมายหลักในการหาเครื่องมือในการสร้างความยั่งยืน ในการท�ำงานขององค์กรภาคประชาสังคม โครงการผู้น�ำแห่งอนาคตและ คุณพรจรรย์ยังต้องการใช้โอกาสน้ีในการเปิดประสบการณ์การเรียนรู้เกี่ยวกับ การท�ำงานของภาคประชาสังคมให้กับผู้ท่ีมีประสบการณ์การท�ำงานในภาค ธุรกิจ เพื่อขยายโอกาสให้เกิดการสร้างผลกระทบทางสังคมเพ่ิมขึ้น ด้วยเหตุนี้ SoC จงึ ไดเ้ ปดิ รบั สมคั รบคุ คลภายนอกทม่ี พี นื้ ฐานหรอื ประสบการณก์ ารท�ำธรุ กจิ หรอื ท�ำงานในภาคธรุ กจิ ใหเ้ ขา้ มาเปน็ ผปู้ ระกอบการภายในเพอื่ การเปลย่ี นแปลง (intrapreneur for change) และคัดเลือกจนได้ 4 คนท่ีมีประสบการณ์การ ท�ำงานที่หลากหลายเข้ามาร่วมท�ำงานกับผู้น�ำในพื้นที่ 4 แห่ง โดยแต่ละคนให้ เหตผุ ลในการเขา้ รว่ มทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป แตส่ ง่ิ ทพ่ี วกเขามรี ว่ มกนั คอื ความตงั้ ใจใน การน�ำประสบการณแ์ ละความสามารถที่มอี ยูไ่ ปชว่ ยแก้ปญั หาและพัฒนาสงั คม 38 จดุ นัดพบบนเส้นขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
ให้ดีข้ึน เพราะจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นการเป็นที่ปรึกษาให้กับ กิจการเพื่อสังคมหรือการท�ำงานเป็นจิตอาสา พวกเขาพบว่าการท�ำเพื่อสังคม ตอบโจทย์การใชช้ วี ติ มากกวา่ การเพม่ิ ยอดขายหรือการสรา้ งก�ำไรในบรษิ ทั คุณพรจรรยแ์ ละคณุ กอปรทิพย์ อัจฉรยิ โสภณ ผปู้ ระสานงานจาก SoC ได้พูดคุยกับอาสาสมัครท้ัง 4 คนเพื่อจับคู่อาสาสมัครกับพื้นที่ โดยดูจากความ สนใจเกย่ี วกบั ประเดน็ ทางสงั คมทแ่ี ตล่ ะพนื้ ทก่ี �ำลงั ขบั เคลอื่ นอยู่ หลงั จากนน้ั พวก เขาไดพ้ บกบั กลมุ่ ผนู้ �ำในพน้ื ทคี่ รง้ั แรกในเวทพี ฒั นาศกั ยภาพ โดยแตล่ ะคนเขา้ ไป ท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ กระบวนกรของพน้ื ทท่ี ต่ี นเองไดร้ บั มอบหมาย กจิ กรรมทบทวนการ ท�ำงานในเวทีแรกช่วยให้พวกเขาได้ข้อมูลเบ้ืองต้นเกี่ยวกับการท�ำงานของกลุ่ม ผู้น�ำในพื้นท่ี และหลังจากนั้นอาสาสมัครแต่ละคนได้ลงพื้นที่อีกหลายครั้งเพ่ือ ไปท�ำความเขา้ ใจบรบิ ทของพนื้ ที่ ศกึ ษาดูการท�ำงานของกล่มุ ผนู้ �ำและเครอื ข่าย และรว่ มหาแนวคดิ และเครอ่ื งมอื การประกอบการสงั คมทเี่ หมาะสมในการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพการท�ำงานของกลมุ่ ผนู้ �ำภาคประชาสงั คมใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งยง่ั ยนื ซงึ่ รายละเอยี ดการท�ำงานเหลา่ นีจ้ ะถกู อภิปรายในบทถดั ๆ ไป แตส่ งิ่ หนง่ึ ทผี่ เู้ ขยี นสงั เกตจากการเขา้ รว่ มเวทแี ละลงพนื้ ทคี่ อื อาสาสมคั ร จากภาคธรุ กจิ เหลา่ นมี้ าพรอ้ ม “ใจ” ทจ่ี ะเขา้ ไปชว่ ยผนู้ �ำองคก์ รภาคประชาสงั คม อยา่ งเตม็ ความสามารถ แตค่ นทที่ �ำงานดว้ ยฐานคดิ แบบธรุ กจิ ซงึ่ มงุ่ เปา้ ไปทกี่ ารมี วสิ ัยทศั นท์ ชี่ ัดเจน การท�ำงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และความค้มุ ค่าของทุนทลี่ ง ไปอาจมมี มุ มองและการใชภ้ าษาทตี่ า่ งจากคนท�ำงานภาคสงั คมทขี่ บั เคลอ่ื นดว้ ย ฐานใจ ผซู้ งึ่ คลกุ คลกี บั ปญั หาและพรอ้ มจะตอ่ สกู้ บั ปญั หาเหลา่ นนั้ โดยไมค่ �ำนงึ ถงึ ผลตอบแทนหรือผลกระทบทีพ่ วกเขาจะไดร้ บั บทนำ� 39
มูลค่าทางเศรษฐกิจและมูลค่าทาง สังคม: การปะทะกันระหว่างสอง กระบวนทัศน์ ในเวทพี ฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยครง้ั ที่ 2 และ 3 ซง่ึ เปน็ เรอื่ งเกย่ี วกบั การ เงินและการคิดค�ำนวณช่ัวโมงการท�ำงาน ประเด็นท่ีถูกหยิบยกขึ้นมาพูดหลาย ครั้งเป็นเรื่องของความไม่สอดคล้องกันระหว่างแนวคิดเก่ียวกับคุณค่าท่ีองค์กร ภาคสงั คมใหค้ วามส�ำคญั และมลู คา่ ทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบหนงึ่ ทจี่ ะชว่ ยใหเ้ กดิ ความ ยงั่ ยนื ในการท�ำงานขององคก์ รดงั ทมี่ เี สยี งสะทอ้ นจากสมาชกิ ในเครอื ขา่ ยผนู้ �ำในพนื้ ท่ี การใชเ้ รอ่ื งของคณุ คา่ กบั มลู คา่ ทางวฒั นธรรม กบั รายไดท้ างเศรษฐกจิ ทำ� อยา่ งไรถงึ จะสมดลุ กนั ถา้ จะมรี ายไดเ้ ขา้ มาในชมุ ชน เขาจะตอ้ งเหน็ คุณค่าวิถวี ัฒนธรรม ภมู ปิ ัญญาของเราดว้ ย (ประทีป อ่อนสลงุ , เวทีพัฒนาศกั ยภาพครงั้ ที่ 2, 15 มกราคม 2561) ค� ำว่า “คณุ ค่า” ในมุมมองของคณุ ประทปี ออ่ นสลุง หนึง่ ในกล่มุ ผู้น�ำ ของชุมชนไทยเบิ้ง โคกสลุง หมายถึง วิถีชีวิตแบบไทยเบ้ิงและวัฒนธรรมท้อง ถ่ินที่คนในชุมชนยังรู้จักรากเหง้าของตนเอง แต่ความหมายโดยกว้าง หมายถึง มูลคา่ ทางสังคม (social value) หรอื ผลกระทบทางสังคม (social impact) ซึ่ง เกดิ จากการใชท้ รพั ยากร การใหบ้ รกิ าร หรอื การใชน้ โยบายในการพฒั นาคณุ ภาพ ชวี ติ ของคนจ�ำนวนหนง่ึ หรอื สงั คมโดยรวม ในขณะที่ “มลู คา่ ” หมายถงึ มลู คา่ ทาง เศรษฐกจิ ซง่ึ เปน็ การตคี ณุ คา่ ออกมาเปน็ ตวั เงนิ การสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ สามารถท�ำได้ ด้วยการลดต้นทุนหรือเพ่ิมประสิทธิภาพการท�ำงานในแต่ละขั้นตอนของห่วงโซ่ คุณคา่ (value chain) (Brookes, 2016) บ่อยคร้งั ทีก่ ลมุ่ ผนู้ �ำภาคประชาสังคม และแม้กระท่งั ทีมนักวจิ ัยเองต้ังค�ำถามเกย่ี วกบั ความคมุ้ ค่า หรือ “คุ้มราคา” ที่ 40 จุดนัดพบบนเส้นขนาน: ผูค้ น ชุมชน การประกอบการสังคม
คนในภาคธรุ กจิ ตงั้ เปา้ ไว้ เพราะหากคดิ ออกมาเปน็ ตวั เลข องคก์ รภาคสงั คมเกอื บ ทั้งหมดคงอยู่ในสภาวะติดลบ หากเป็นเช่นนั้น เหตุใดคนเหล่านั้นยังคงท�ำงาน ขับเคล่ือนสงั คมอยู่ ค�ำพูดของคุณวรนุช จันทะบูรณ์ หนึ่งในทีมท�ำงานของกลุ่มขอนแก่น นวิ สปริ ติ ทวี่ า่ “เรายงั ตที กุ อยา่ งออกมาเปน็ มลู คา่ เพอื่ มองความคมุ้ คา่ แตใ่ นการ ท�ำงานจรงิ ๆ แลว้ ไม่ใชท่ กุ อยา่ งตอี อกมา [เปน็ ตวั เลข] ได้” น่าจะตอบค�ำถามนี้ ได้เปน็ อยา่ งดี เพราะทผ่ี า่ นมา องคก์ รภาคสงั คมม่งุ เปา้ ไปที่การสรา้ งผลกระทบ หรอื มลู คา่ ทางสังคมแต่เพียงอยา่ งเดียว โดยไม่คาดหวงั ผลตอบแทนทางการเงิน แตว่ ธิ คี ดิ แบบนอี้ าจกดั กนิ แรงกายและแรงใจของคนท�ำงานไปเรอื่ ยๆ จนหมดแรง ในการท�ำงาน หรือหากไม่สามารถหาทุนสนับสนุนได้ งานท่ีท�ำมาก็อาจต้อง สิ้นสุดลง ในขณะท่ีแนวคิดการประกอบการเพ่ือสังคมท่ีหน่ึงในเป้าหมายปลาย ทางคือ การเลี้ยงองคก์ รของตนเองให้ได้ อาจน�ำไปสู่ความสุขและความยัง่ ยนื ใน การท�ำงานมากกว่า ดงั ที่คณุ พรจรรยก์ ลา่ ว เรามตี น้ ทนุ เทา่ ไหร่ จรงิ ๆ แลว้ เราจะไปหาเงนิ เทา่ ไหร่ นเ่ี รยี กวา่ ฐาน กรณุ า เพราะถา้ เปน็ นยุ้ จะไมห่ าเงนิ จากตน้ ทนุ นยุ้ ตง้ั ราคาดว้ ยซำ้� เพราะ ไมเ่ ชอ่ื วา่ องคก์ รทด่ี ำ� เนนิ งานอยคู่ วรจะคดิ เงนิ ตามตน้ ทนุ ทแี่ ทจ้ รงิ แต่ ควรจะบวกนดิ หนง่ึ ใหเ้ ราสามารถเกบ็ เงนิ มาพฒั นาการทำ� งานได้ (พรจรรย์ ไกรวัตนสุ สรณ,์ เวทพี ัฒนาศักยภาพครั้งที่ 2, 16 มกราคม 2561) วธิ คี ดิ ฐานหวั แบบธรุ กจิ และการท�ำงานฐานใจของภาคสงั คมมกั ถกู มอง วา่ เปน็ ขวั้ ตรงขา้ ม จงึ ยากทจ่ี ะรบั ฟงั ความเหน็ ของอกี ฝา่ ย แตห่ ากเรามองวา่ ภาค ธรุ กจิ และภาคสงั คมเปน็ ขว้ั ตรงขา้ มทอ่ี ยบู่ นแถบของความตอ่ เนอื่ ง โดยมแี นวคดิ การประกอบการเพอื่ สงั คมตงั้ อยทู่ จี่ ดุ ใดจดุ หนง่ึ ระหวา่ งสองขว้ั นนั้ เราอาจเปดิ ใจ รับฟังและน�ำแนวคิดท้ังสองแบบมาผสมผสานกันมากขึ้นเพื่อให้องค์กรสามารถ สรา้ งผลกระทบทางสังคมได้อย่างยั่งยนื บทนำ� 41
เอกสารอ้างอิง กติ ติ คงตกุ , ชลดิ า เหลา่ จมุ พล, วาสนา ศรปี รชั ญาอนนั ต,์ และ ฐติ กิ าญจน์ อศั ตรกลุ . (2560). ใจคน ชมุ ชน การเปลย่ี นแปลง: บทเรยี นการนำ� รว่ มจากผขู้ บั เคลอื่ นสงั คม. นครปฐม : โครงการผนู้ �ำแห่งอนาคต คณะวทิ ยาการเรยี นรแู้ ละศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. ฐิตกิ าญจน์ อศั ตรกลุ . (2560ก). ปฐมบทแหง่ เส้นทางการน�ำ. ใน กิตติ คงตุก, ชลิดา เหลา่ จมุ พล, วาสนา ศรปี รชั ญาอนนั ต,์ และ ฐติ กิ าญจน์ อศั ตรกลุ (ผเู้ ขยี น), ใจคน ชมุ ชน การเปลย่ี นแปลง: บทเรยี นการนำ� รว่ มจากผขู้ บั เคลอ่ื นสงั คม. (น. 12-37). นครปฐม: โครงการผู้น�ำแห่งอนาคต คณะวทิ ยาการเรยี นร้แู ละศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ธรรมศาสตร์. ฐติ กิ าญจน์ อศั ตรกุล. (2560ข). บทสังเคราะห์. ใน กติ ติ คงตุก, ชลิดา เหลา่ จมุ พล, วาสนา ศรีปรชั ญาอนันต,์ และ ฐิตกิ าญจน์ อศั ตรกลุ (ผเู้ ขียน), ใจคน ชมุ ชน การ เปลยี่ นแปลง: บทเรยี นการนำ� รว่ มจากผขู้ บั เคลอ่ื นสงั คม. (น. 230-281). นครปฐม: โครงการผนู้ �ำแหง่ อนาคต คณะวทิ ยาการเรยี นรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ธรรมศาสตร์. Antoncic, B., & Hisrich, R. D. (2003). Clarifying the intrapreneurship concept. Journal of Small Business and Enterprise Development, 10(1), 7-24. https://doi.org/10.1108/14626000310461187 Alter, S. K. (2006). Social enterprise models and their mission and money relationships. In A. Nicholls (Ed.), Social entrepreneurship: New models of sustainable social change (pp. 205-232). Oxford, UK: Oxford University Press. Bacq, S., & Janssen, F. (2011). The multiple faces of social entrepreneurship: A review of definitional issues based on geographical and thematic criteria. Entrepreneurship & Regional Development, 23(5-6), 373-403. 42 จุดนัดพบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการสังคม
Bates, S. M. (2012). The social innovation imperative: Create winning products, services, and programs that solve society’s most pressing challenges. New York, NY: McGraw-Hill. Bornstein, D. (2007). How to change the world: Social entrepreneurs and the power of new ideas. New York, NY: Oxford University Press. Boschee, J., & McClurg, J. (2003). Towards a better understanding of social entrepreneurship: Some important distinctions. Retrieved from https:// www.law.berkeley.edu/php-programs/courses/fileDL.php?fID=7289 Brookes, S. (2016). The selfless leader: A compass for collective leadership. New York, NY: Palgrave Macmillan. Dees, J.G. (1998). The meaning of social entrepreneurship. Retrieved from http://www.redalmarza.cl/ing/pdf/TheMeaningofsocialEntrepreneur ship.pdf Deloitte Digital. (2015). Five insights into intrapreneurship: A guide to acceler ating innovation within corporations. Retrieved from https://www2. deloitte.com/content/dam/Deloitte/de/Documents/technology/ Intrapreneurship_Whitepaper_English.pdf Keohane, G. L. (2013). Social entrepreneurship for the 21st century: Innovation across the nonprofit, private, and public sectors. New York, NY: Mc Graw-Hill. Richardson, T. (2015). The responsible leader: Developing a culture of respon sibility in an uncertain world. London, UK: Kogan Page. Senge, P. M. (2006). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization. New York, NY: Currency. Taplin, D. H., & Rasic, M. (2012). Facilitators’ source book: Source book for facilitators leading Theory of Change development sessions. New York, NY: Act Knowledge. Retrieved from http://www.theoryofchange. org/wp-content/uploads/toco_library/pdf/ToCFacilitatorSourcebook.pdf บทนำ� 43
44 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสงั คม
มูลนธิ ิบา้ นครูน้�ำ บนก้าวต่อไป ฐติ กิ าญจน์ อศั ตรกลุ 45
มูลนิธิบ้านครูน้�ำบนก้าวต่อไป ฐติ ิกาญจน์ อศั ตรกุล ข้อความของ Victor Hugo กวี นักประพันธ์ และนักเคล่ือนไหวทาง สังคมชาวฝรั่งเศส ทีป่ รากฏอยู่ในหนังสอื “The History of a Crime” ตพี ิมพ์ ใน ค.ศ. 1877 วา่ “One resists the invasion of armies; one does not resist the invasion of ideas.” หรอื อาจแปลความว่า คนเราสามารถตอ่ ต้าน การรกุ รานของกองทพั แตไ่ มอ่ าจตอ่ ตา้ นการรกุ รานของความคดิ ได้ ซงึ่ ภายหลงั ขอ้ ความดงั กลา่ วไดถ้ กู หยบิ ยกไปอา้ งถงึ และปรบั เปลย่ี นความหมายเปน็ ขอ้ ความ ที่ใช้สนับสนุนพลังของความคิดต่อการสร้างการเปลี่ยนแปลงสังคมอย่างแพร่ หลายบนสงั คมออนไลน์ นน่ั คอื “There is nothing more powerful than an idea whose time has come.” หรือ “More powerful than the mighty armies is an idea whose time has come.” ซ่งึ อาจตีความความหมายโดย รวมวา่ “ไมม่ สี งิ่ ใดในโลกนที้ มี่ พี ลงั มากไปกวา่ ความคดิ ทม่ี าไดถ้ กู ชว่ งถกู เวลา แม้ กระท่ังกองทัพนักรบก็มิอาจเปรียบได”้ แม้ว่าความคิดจะมีความย่ิงใหญ่ทางพลังอ�ำนาจมากเพียงใด แต่การ ท�ำใหค้ วามคดิ นน้ั แปลงเปลยี่ นเปน็ พลงั จนไดร้ บั ชยั ชนะ หรอื กลายเปน็ กลไกทน่ี �ำ ไปขบั เคลอื่ นงานตามเปา้ ประสงคข์ องมนั ได้ มไิ ดข้ น้ึ อยกู่ บั แคเ่ พยี งตวั คณุ คา่ ของ ความคิดเทา่ นั้น ทวา่ มันจ�ำเปน็ ต้องมผี ้สู นับสนุนและส่งเสรมิ ใหค้ วามคดิ ท�ำงาน ต่อไปได้ เช่น ความคิดว่ามนุษย์ทุกคนควรมีสิทธิในฐานะเป็นมนุษย์ ทั้งสิทธิใน การด�ำรงชีวิตอยู่สว่ นบุคคลและสทิ ธิในการอยู่รว่ มกันในสงั คม อนั เป็นความคิด พื้นฐานที่น�ำไปสู่การปฏิบัติต่อเพื่อนมนุษย์อย่างเท่าเทียม โดยมิได้จ�ำกัดอยู่แค่ เอกสารแสดงตัวตนว่าเป็นคนสัญชาติใด ดังกรณีของการท�ำงานเพ่ือสร้างพ้ืนท่ี 46 จดุ นัดพบบนเสน้ ขนาน: ผู้คน ชมุ ชน การประกอบการสังคม
ทางสงั คมใหแ้ ก่เดก็ ไร้สญั ชาตแิ ละเดก็ เรร่ อ่ นใน อ. แมส่ าย จ. เชียงราย บทนจ้ี ะพาผอู้ า่ นไปสมั ผสั เรอ่ื งราวของบคุ คลทพี่ ยายามตอ่ สเู้ พอื่ ปกปอ้ ง ความคดิ นัน้ ผู้ท่ีอดทนและทมุ่ เทในการท�ำงาน มแี รงจูงใจและพลงั ท่จี ะยนื หยัด ผลกั ดนั ความคิดนน้ั ไปข้างหนา้ เพ่อื ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคม คณุ ลกั ษณะขา้ งตน้ ถกู นบั รวมอยใู่ นแนวคดิ ของส�ำนกั คดิ นวตั กรรมทาง สังคม ทอี่ ธิบายเก่ยี วกบั ผู้ประกอบการทางสังคม โดยใหค้ ุณคา่ และความส�ำคัญ ต่อคุณภาพของตัวบุคคล มุมมองของส�ำนักคิดน้ีเป็นเพียงหนึ่งในชุดแนวคิดที่ อธิบายเก่ียวกับการประกอบการสังคม แม้ในแต่ละส�ำนักคิดจะมีมิติทางสังคม เปน็ แกนกลางของการด�ำเนนิ กจิ กรรมตา่ งๆ แตค่ �ำนยิ ามและกระบวนการในการ ท�ำงานของการประกอบการสังคมในแต่ละส�ำนักคิดก็มีความหลากหลายและ ซอ้ นทบั กนั ของกระบวนทศั นใ์ นการมองโลก อีกส�ำนกั หนึ่ง คือ ส�ำนักคิดธรุ กจิ เพอ่ื สงั คม ท่ีใหค้ วามส�ำคัญตอ่ การวางแผน สร้างกลยทุ ธ์ สร้างกจิ กรรมการหา ก�ำไรเพอ่ื ความอยรู่ อดทางการเงนิ เพอื่ ใหอ้ งคก์ รหรอื กลมุ่ คนของตนสามารถหลดุ พน้ จากวงจรการขอบรจิ าคหรอื ตงั้ มน่ั ตอ่ การขอเงนิ จากแหลง่ ทนุ ภายนอก ซง่ึ เปน็ สงิ่ ที่ควบคมุ ได้ยาก (บอรน์ สตีน, 2005/2551; วรี บูรณ์ วสิ ารทสกุล, 2553) ท้งั น้ี บนฐานคดิ ของโครงการผ้นู �ำแห่งอนาคต ซ่ึงมีความม่งุ ม่นั จะหนนุ เสริมบุคคลหรือกลุ่มคนที่พร้อมจะปกป้องแนวคิดท่ีจะน�ำไปสู่การเปลี่ยนแปลง สังคมในด้านต่างๆ เพ่ิมศักยภาพในการท�ำงานขับเคลื่อนการเปล่ียนแปลงท้ัง ในระดับองค์กร ชุมชน และสังคมอย่างยง่ั ยืน หากจะท�ำให้ความคิดน้นั หยงั่ ราก และแผ่ขยายออกไปเพื่อสร้างแรงสั่นสะเทือนต่อวิธีคิดหรือทัศนคติของคนวง กว้าง จนกระท่ังน�ำไปสู่การเปล่ียนแบบแผนพฤติกรรมได้ อีกทั้งยังผลักดันให้ ความคิดกระแสรองแปรเปล่ียนไปสู่ความคิดกระแสหลักของสังคม อาจจ�ำเป็น ต้องมี “กลยุทธ์หรือการตลาด” ที่จะท�ำให้คนปรับเปล่ียนวิธีคิด มุมมอง และ พฤติกรรมของผู้คนได้อย่างแท้จริง ความท้าทายของงานเขียนบทน้ี จึงเป็นมิติ การพบกนั ของตวั แทนบคุ คลทเ่ี หมอื นจะเปน็ ภาพสะทอ้ นของวธิ คี ดิ การประกอบ มลู นธิ บิ า้ นครูน�้ำบนกา้ วต่อไป 47
การสังคม 2 ส�ำนักหลกั ดงั ทก่ี ลา่ วไวข้ า้ งตน้ “อดึ ทน ควาย อารต์ ” เป็นค�ำที่ผู้หญงิ หัวใจศลิ ปะคนหนึ่งใหน้ ยิ ามกับ ตวั เองไวเ้ มอ่ื ตอ้ งมาชว่ ยกนั ระดมหาตน้ ทนุ ทก่ี ลมุ่ ของตนเองมอี ยใู่ นเวทอี บรมการ สรา้ งกลยทุ ธเ์ พอ่ื การขบั เคล่ือนสงั คม (strategy for change) หากเธอเป็นเพยี ง ตวั แทนของศิลปินสาว แลว้ ค�ำอน่ื ๆ กอ่ นหนา้ ซ่ึงสื่อความถงึ การอดทนและการ ต่อสนู้ ้ัน มที มี่ าอย่างไร ครง้ั นไี้ มใ่ ชค่ ราวแรกทผ่ี เู้ ขยี นไดพ้ บและพดู คยุ กบั หญงิ แกรง่ เจา้ ของเรอ่ื ง ราวคนน้ี แตใ่ นช่วง ปี 2559 (ประมาณ 1-2 ปี ก่อนเขียนหนังสอื เลม่ น้ี) ผเู้ ขยี น เคยเปน็ สว่ นหนง่ึ ในทมี วจิ ยั ถอดบทเรยี นการท�ำงานของเธอบนฐานคดิ ของการน�ำ รว่ มมาแลว้ (สามารถอ่านเพม่ิ เติมไดใ้ นหนังสือ “ใจคน ชมุ ชน การเปล่ียนแปลง: บทเรียนการน�ำร่วมจากผู้ขับเคลอื่ นสังคม”)1 ดว้ ยจดุ เรม่ิ ตน้ ของเสยี งปนื ในเดอื นพฤษภาคม 2535 หรอื ทค่ี นไทยเรยี ก วา่ “พฤษภาทมิฬ” ช่วงเวลาท่บี า้ นเมืองเกิดความระส่�ำระสายทางการเมืองการ ปกครอง น�ำไปสูเ่ รอ่ื งราว ชีวิต อปุ สรรค ปัญหา และการหาทางออกในวถิ กี าร ท�ำงานเพ่ือหาทยี่ นื ให้เด็กไร้สัญชาติในสงั คมไทยจนถงึ ปจั จบุ นั นี้ จากการเข้าร่วมเวทีพัฒนาศักยภาพเครือข่ายด้วยเครื่องมือสนับสนุน ความย่งั ยนื การขบั เคล่ือนทางสงั คมทง้ั หมด 3 ครงั้ ดว้ ยการจัดวางรปู แบบแบ่ง โต๊ะย่อยให้สมาชกิ ในทมี พ้ืนทีแ่ ต่ละพน้ื ท่อี ยดู่ ้วยกันและมนี ักวจิ ัยกบั อาสาสมคั ร จากภาคธุรกิจ (intrapreneur) ร่วมอยู่ในโต๊ะด้วย โดยมีบทบาทเป็นเหมือน ผู้อ�ำนวยให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในวง คอยต้ังค�ำถาม และเอ้ือให้ตัวแทน จากพื้นที่สะท้อนคิดถึงเรื่องราวการท�ำงานที่ผ่านมาของตนเองและทีม การท�ำ เช่นนต้ี ลอด 3 วัน 3 รอบ เปรยี บเสมอื นการสนทนากลมุ่ ยอ่ ย (focus group) 1 กติ ติ คงตุก, ชลดิ า เหลา่ จมุ พล, วาสนา ศรีปรัชญาอนันต,์ และ ฐิตกิ าญจน์ อัศตรกุล. (2560). ใจคน ชุมชน การเปลย่ี นแปลง: บทเรียนการนำ� รว่ มจากผ้ขู ับเคลอื่ นสังคม. นครปฐม: โครงการผูน้ �ำแหง่ อนาคต คณะวทิ ยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ 48 จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน: ผ้คู น ชุมชน การประกอบการสงั คม
ที่เป็นการน�ำเอาองค์ประกอบของการสัมภาษณ์และการสังเกตจากการเป็นผู้ท่ี มีสว่ นร่วมในวงสนทนา เป็นการสร้างพ้นื ทป่ี ลอดภยั ใหแ้ ก่ผรู้ ่วมวงสนทนา และ เปดิ โอกาสให้มีการถกประเดน็ ต่อยอดจากประเดน็ เดิมทต่ี ง้ั ต้นไว้ แมว้ า่ เปา้ หมายการจดั อบรมเวทพี ฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยดว้ ยเครอื่ งมอื สนบั สนนุ ความยง่ั ยนื การขบั เคลอ่ื นทางสงั คม คอื ความพยายามทจ่ี ะพาผเู้ ขา้ รว่ ม ไปพบกบั วธิ คี ดิ และเครอ่ื งมอื ส�ำหรบั น�ำไปใชเ้ ปน็ ทางเลอื กในการท�ำงานของพน้ื ท่ี ตนเอง อย่างไรกต็ าม ผทู้ �ำงานภาคประชาสังคมมายาวนาน คงมีโอกาสพบเจอ วธิ ีคิดและเคร่ืองมอื ต่างๆ ของภาคธุรกจิ มาบา้ งแลว้ ไมม่ ากกน็ ้อย อีกวาระที่แฝง ไวใ้ นการอบรมจงึ เปน็ ความตงั้ ใจทจ่ี ะใหท้ มี งานไดพ้ ดู คยุ กนั ใหจ้ บและตกลงเลอื ก กลยุทธ์ท่ีจะท�ำงานของกลุ่มตนเองออกมาให้ได้ ซ่ึงเปรียบเสมือนการจัดสภาพ แวดล้อมที่แตกต่างไปจากท่ีต้องเจอหน้างานอยู่ตลอดเวลา จนขาดโอกาสร่วม พูดคยุ หรือวางแผนเมื่ออย่ใู นสถานการณต์ อนท�ำงานจรงิ มูลนธิ ิบา้ นครูนำ�้ บนก้าวตอ่ ไป 49
สายธารชีวิต จากเสียงปืนสู่แสงเทียน “เราถกู พาไปอยคู่ า่ ยทหารทนี่ ครสวรรค์ และทน่ี น่ั เองทท่ี ำ� ใหเ้ รา ไดฟ้ งั เรอ่ื งราวการขบั เคลอ่ื นสงั คมจากคนกลมุ่ นี้ ซงึ่ มนั มพี ลงั มาก ตอ่ เรา จากทไ่ี มเ่ คยรเู้ รอ่ื งรรู้ าวเกย่ี วกบั สงั คมเลย แตส่ ง่ิ ทพี่ วกเขา ทำ� มันยิ่งใหญม่ าก” (นชุ นารถ บุญคง. สัมภาษณ,์ 10 พฤศจกิ ายน 2560) 50 จดุ นดั พบบนเส้นขนาน: ผคู้ น ชุมชน การประกอบการสงั คม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392