Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Smart City มิติใหม่ของการจัดการท้องถิ่นยุคไอที

Description: Smart City เป็นแนวคิดการพัฒนาเมืองที่เกิดขึ้นในปลายศตวรรษที่ 20 โดยมาจากการนำเอาเทคโนโลยีด้านข้อมูลและโทรคมนาคมมาใช้ร่วมกับการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิผลที่ได้รับแนวคิดดังกล่าวได้ถูกพัฒนาต่อจนในปัจจุบันกลายเป็นแนวคิดในการพัฒนาและวางแผนเมืองอย่างชาญฉลาดในบริบทของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพื่อให้ประชาชนของเมืองมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น.

Search

Read the Text Version

วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถ่ิน สถาบันพระปกเกล้า

Smart City: การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง เอกชัย สมุ าลี ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แหง่ ชาต ิ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data. เอกชัย สมุ าล.ี Smart City: การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง.-- กรงุ เทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2558. 290 หน้า. ISBN = วปท.58-XX-1000.0 พิมพค์ รั้งที่ 1 กันยายน 2558 จำนวนพิมพ์ 1000 เล่ม บรรณาธกิ าร ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย กก๊ ผล, ธรี พรรณ ใจม่ัน และอติพร แกว้ เปีย ลิขสิทธขิ์ องสถาบันพระปกเกล้า พิมพท์ ี่ จดั พิมพ์โดย สถาบนั พระปกเกล้า ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ อาคารบี ชน้ั 5 เลขที่ 120 หมู่ 3 ถนนแจง้ วัฒนะ แขวงท่งุ สองหอ้ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศัพท์ 02 - 1419563-77 โทรสาร 02-1438175 เว็บไซต์ www.kpi.ac.th

คำนำ ปัจจุบันการพัฒนาและบริหารจัดการเมืองมีความซับซ้อน และต้องการข้อมูลในการตัดสินใจเพิ่มข้ึนตามการเติบโตของ ประชากร และขนาดเมือง ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือระบบ (IT) ได้มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและสามารถนำมา ปรับใช้ในการช่วยพัฒนาและบริหารจัดการเมืองได้อย่างม ี ประสิทธิภาพและยั่งยืนมากข้ึน การบริหารจัดการและพัฒนา เมืองในรูปแบบ Smart City มีหัวใจหลักคือ การปรับใช้ระบบ IT เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการและพัฒนาเมืองเพ่ือให้สามารถ เก็บรวบรวมข้อมูลด้านพ้ืนท่ี ประชากรศาสตร์ การใช้ทรัพยากร ในด้านต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและทัลกาล ข้อมูลดังกล่าวจะ สามารถบ่งชี้ถึงทิศทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงเมืองในระดับ นโยบายและปฏิบัติได้ นอกจากนั้นระบบ IT ยังถูกนำเข้ามาใช้ เพ่ือบริหารจัดการโครงสร้างพื้นฐานของเมือง และการบริการ สาธารณะต่างๆ ของเมืองเพื่อสร้างความสะดวกในการใช้งานของ III

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง ประชาชน และความมีประสิทธภิ าพในการบริหารบา้ นเมืองเพิม่ มากขึ้น ผู้เขียนต้องขอขอบคุณทีมงานซ่ึงประกอบไปด้วย ดร.ธีรพจน์ จันทรศุภแสง นางสาวไพลิน เปลี่ยนไพร นายสุหฤท มาศเมฆ และ นายชติ พงศ์ อมรกุล ท่ีมีส่วนรว่ มอย่างมากในการจัดเตรียมหนังสอื เลม่ น ้ี รศ. ดร.เอกชยั สุมาลี ผอู้ ำนวยการศนู ยว์ ิจัยนครอัจฉริยะ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบงั IV

สารบัญ คำนำ บทท่ี 1 การศึกษาและทบทวนการพฒั นาและบรหิ ารจดั การเมอื งแบบ Smart City 1.1 คำนิยามของ Smart City 1.2 การพฒั นาเมอื งตามแนวคิดเมอื งอัจฉรยิ ะ (Smart City) 1.3 การบรหิ ารจดั การเมอื งแบบ Smart City 1.3.1 ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ บริหารจัดการเมอื ง 1.3.2 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื ส่ือสารกับประชาชน ในเมอื ง 1.4 การพฒั นาเมืองท่ยี ่ังยืน (Green cities or sustainable cities) 1.5 กรณศี กึ ษาการพฒั นาและบริหารจัดการเมืองแบบ Smart City ทง้ั ในและต่างประเทศ 1.6 กรณีศึกษาของเมืองท่จี ะยกระดับให้เป็นเมืองอจั ฉรยิ ะ ในประเทศไทย 1.6.1 นครนายก – จงั หวดั นำร่องสมารท์ ซติ ้ ี 1.6.2 ภเู กต็ – ไอทซี ิต้ี จดุ เรมิ่ ตน้ ของสมาร์ทซติ ้ี

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง สารบญั หนา้ 1.6.3 เชยี งใหม่ ขอนแกน่ และ จังหวัดอนื่ ๆ – สมารท์ ซติ ท้ี ีต่ า่ งกันออกไปและนยิ ามใหม่ “ไมซ์ซิต”้ี 1.7 กรณศี ึกษาเมอื งอจั ฉริยะในตา่ งประเทศ 1.7.1 Amsterdam Smart City – เนเธอแลนด ์ 1.7.2 SMART CITY VIENNA – ออสเตรยี บทที่ 2 องค์ประกอบและสถาปตั ยกรรมของระบบ Smart City 2.1 องค์ประกอบของระบบ Smart City 2.1.1 องคป์ ระกอบของระบบ Smart City ตามแนวคิดของ IBM 2.1.2 องคป์ ระกอบของระบบ Smart City ตามแนวคดิ ของ Schneider Electric 2.2 สถาปัตยกรรมของระบบ Smart City 2.2.1 ชนั้ โครงสรา้ งพ้ืนฐานแหง่ ชาต ิ 2.2.2 พ้ืนฐานในชั้นเมือง 2.2.3 บรกิ ารโครงสร้างชนั้ การบริการ 2.2.4 การจดั การโครงสร้างพน้ื ฐานในเขตเมอื ง 2.2.5 สว่ นวิถกี ารดำเนนิ ชวี ติ 2.3 รปู แบบสถาปตั ยกรรมของระบบ Smart City บทท่ี 3 ความรเู้ บอ้ื งต้นในระบบสารสนเทศท่เี กี่ยวข้อง 3.1 ความรทู้ ว่ั ไปเก่ียวกับการสื่อสารข้อมลู 3.1.1 ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสอ่ื สาร 3.1.2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 3.1.3 การทำงานพ้ืนฐานของระบบสื่อสารข้อมูล 3.1.4 การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์สำหรบั สอื่ สารข้อมลู VI

สารบัญ Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง หน้า 3.1.5 การส่งสัญญาณขอ้ มูล (Transmission Definition) 3.1.6 อปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการสอื่ สารขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ 3.1.7 เครือข่าย (Networks) 3.1.8 Network Topology 3.2 การจดั ทำสารสนเทศจากข้อมูล 3.3 ความปลอดภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3.1 จุดประสงค์ของการรักษาความมนั่ คงปลอดภัย ด้านระบบสารสนเทศ 3.3.2 การบรหิ ารจดั การขอ้ มลู 3.3.3 การควบคมุ การกาํ หนดสทิ ธใิ หแ้ ก่ผ้ใู ช้งาน (User Privilege) 3.3.4 การควบคมุ การใชง้ านบญั ชีรายชอื่ ผ้ใู ช้งาน (User Account) 3.3.5 การรักษาความปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) 3.3.6 การบริหารจดั การและการตรวจสอบระบบเครอื ข่าย (network) 3.3.7 การสาํ รองข้อมูล 3.3.8 การทดสอบและการเก็บรักษาข้อมูล บทท่ี 4 การวเิ คราะห์ความต้องการและวางแผนการพฒั นาระบบ Smart City 4.1 ภาพรวมความตอ้ งการของเทคโนโลย ี 4.1.1 การคาดการณค์ วามตอ้ งการของเทคโนโลยีในเอเชยี 4.1.2 ผ้นู ำทางดา้ นโครงข่ายและเทคโนโลย ี 4.1.3 โอกาสทางการตลาด (The Market Opportunity) VII

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง สารบญั หน้า 4.2 ความต้องการพฒั นาเทคโนโลยีในประเทศไทย 4.2.1 การสง่ เสริมดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี ของประเทศไทย 4.2.2 ประเทศไทยส่กู ารเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart Thailand) 4.2.3 การเปดิ ยทุ ธศาสตร์ดา้ นเทคโนโลยีในประเทศไทย บทที่ 5 ระบบบรหิ ารจัดการระบบขนสง่ และจราจร 5.1 บทนำ 5.2 ระบบขนส่งอัจฉริยะ (Intelligent Transportation System) 5.2.1 นยิ ามพื้นฐาน 5.2.2 ประเภทของระบบขนสง่ อจั ฉรยิ ะ หรือ ITS 5.3 ประโยชนข์ องการใชร้ ะบบขนส่งอัจฉรยิ ะ 5.4 ตัวอย่างการประยุกต์ใชร้ ะบบขนสง่ อัจฉริยะในประเทศไทย 5.4.1 การพฒั นาระบบขนส่งและจราจรอจั ฉริยะ ของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย 5.4.2 การพัฒนาระบบขนส่งและจราจรอัจฉรยิ ะ ของกรมทางหลวง 5.4.3 การพฒั นาระบบการให้บรกิ ารของรถแท็กซ่ีอัจฉริยะ (Smart Taxi) บทที่ 6 ระบบบรหิ ารจัดการพลงั งานไฟฟ้า 6.1 ความสำคัญของพลงั งานไฟฟ้าต่อเมอื ง 6.2 ระบบพลงั งานไฟฟา้ ในประเทศไทย 6.3 วิวัฒนาการของระบบไฟฟา้ 6.4 Application ที่ใกลต้ ัว และรปู แบบการใช้ชวี ิตท่ีเปลยี่ นไป VIII

สารบัญ Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง หน้า 6.4.1 เมอื งทีไ่ ม่เปน็ พิษตอ่ ส่ิงแวดล้อม (Zero Carbon, Zero Waste) 6.4.2 เมืองทพี่ งึ่ พาตนเอง (Micro Grid and Islanding) 6.4.3 การตอบสนองการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า (Demand Response) 6.4.4 บ้านและอาคารอจั ฉรยิ ะ (Smart Home/Building) 6.5 ตัวอยา่ งเมอื งท่มี กี ารจัดการพลังงานทดี่ ดี ้วย Technology 6.5.1 โครงการ Masdar City - Abu Dhabi, United Arab Emirates 6.5.2 โครงการ Kashiwa-no-ha Smart City - Chiba, Japan 6.5.3 โครงการ Japan-U.S. Island Grid Project- เกาะ Maui, Hawaii บทที่ 7 ระบบควบคมุ ดา้ นความปลอดภยั และความมนั่ คง 7.1 บทนำ 7.2 องค์ประกอบดา้ นความมัง่ คงและปลอดภัยของ เทคโนโลยีสารสนเทศ 7.3 การพัฒนาเทคโนโลยเี พือ่ ใช้ควบคมุ ความปลอดภัย และความมัน่ คงในประเทศไทย 7.4 ตัวอยา่ งการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการควบคุม ดา้ นม่ันคงและความปลอดภัย 7.4.1 โครงการจัดทำระบบเฝา้ ระวังและรักษา ความปลอดภยั ด้วยระบบกล้องวงจรปิด (สำนกั งานปลดั กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพาณิชย)์ IX

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง สารบัญ หนา้ 7.4.2 โครงการรักษาความปลอดภยั และแกไ้ ขปญั หาอุบตั ภิ ยั ทางถนนในเขตเทศบาลเมืองเกาะสมยุ พร้อมระบบจัดการและบำรุงรกั ษา CCTV 7.4.3 โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน การติดต้ังกลอ้ งทวี ีวงจรปดิ (CCTV) ในเขตเทศบาลนครขอนแกน่ 7.4.4 โครงการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาอาชญากรรม ดว้ ยระบบกลอ้ งโทรทศั น์วงจรปดิ CCTV System แบบเคลอื่ นทขี่ องตำรวจภธู รจังหวัดสุพรรณบรุ ี บทที่ 8 ระบบตรวจสอบสถานะและจดั การโครงสร้างพ้นื ฐานเมือง 8.1 การศกึ ษาเทคโนโลยีท่เี กย่ี วขอ้ งกับระบบตรวจสอบ สถานะและจัดการโครงสรา้ งพ้นื ฐานเมือง 8.2 การตรวจสอบระบบสารสนเทศ 8.3 ระบบตรวจสอบสถานะและจัดการโครงสรา้ งพนื้ ฐาน เมืองในประเทศไทย 8.4 เทคโนโลยกี ารรับขอ้ มูลขา่ วสารโดยใช้ Smart Application 8.5 การพัฒนาระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจในการจัดสรร งบประมาณระดับท้องถิน่ บทท่ี 9 ระบบบรหิ ารจัดการขยะ 9.1 เทคโนโลยีการรวบรวมและขนสง่ ขยะ (Waste Collection and Transport System) 9.1.1 การจัดการขยะดว้ ยเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ 9.1.2 การจดั การขยะดว้ ยระบบท่อสญู ญากาศ 9.2 เทคโนโลยีการแปรรปู ขยะ 9.2.1 โรงจดั การแปรรูปขยะ (Material recovery facilities, MRF)

สารบัญ Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง หนา้ 9.2.2 โรงงานแปรรปู ขยะชุมชนอยา่ งครบวงจรในเชงิ บูรณาการดว้ ยเทคโนโลยีชวี ภาพ (Mechanical and Biological Waste Treatment, MBT) 9.3 เทคโนโลยกี ารกำจัดขยะมูลฝอย 9.3.1 ระบบหมกั ทำปุ๋ย (Biological Conversion Technology) 9.3.2 ระบบการเผาในเตาเผา (Thermal Conversion Technology) 9.3.3 ระบบฝังกลบอยา่ งถูกสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) บทท่ี 10 ระบบบริหารการใหบ้ ริการของหนว่ ยงานราชการ 10.1 ระบบบรหิ ารงานแบบ Smart Government 10.1.1 ประเภทการใหบ้ รกิ ารของรฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ์ 10.1.2 ระดบั การให้บริการของรฐั บาลอเิ ล็กทรอนกิ ส ์ 10.1.3 ประโยชนข์ องรัฐบาลอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 10.2 การพฒั นาการใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานราชการไทย 10.2.1 รัฐบาลอเิ ล็กทรอนิกสก์ ับการพัฒนา ระบบราชการไทย 10.2.2 ปจั จัยส่งเสรมิ สคู่ วามสำเร็จของ รฐั บาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 10.3 ตวั อย่างโครงการ Smart Government 10.3.1 การจดั ซอ้ื จดั จ้างของภาครฐั ด้วยระบบ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Procurement) 10.3.2 ระบบการบริหารงานการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Government Fiscal Management Information System – GFMIS) XI

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง สารบัญ หนา้ 10.3.3 การชำระภาษผี ่านอนิ เทอรเ์ นต็ (e-Revenue) 10.3.4 ระบบการทำหนงั สือเดนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส ์ (Electronic Passport หรือ E-passport) 10.3.5 ระบบบตั รประชาชนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื บตั รสมาร์ทการ์ด (Smart Card) 10.3.6 ระบบทะเบยี นราษฎรอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Registration) ประวตั ผิ ูเ้ ขียน XII

สารบญั ภาพ Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง หนา้ รปู ท่ี 1.21 แสดงองคป์ ระกอบของการพฒั นาเมืองตามแนวคิด Smart City รปู ท่ี 1.22 แนวคดิ ในการพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในดา้ นพลังงาน และขนส่ง รูปท่ี 1.31 ศูนยค์ วบคุมเมอื งอัจฉริยะ (Smart City Control Center) รูปที่ 1.32 ตัวอย่างสารสนเทศทใี่ ชใ้ นศูนยบ์ ญั ชาการเมืองอัจฉรยิ ะ รปู ท่ี 1.33 ผงั การเชอ่ื มโยงระบบสารสนเทศเพื่อการบรหิ ารจดั การ เมืองอัจฉริยะ รูปท่ี 1.34 แผงหนา้ ปทั ม์ของเมือง (City Dashboard) รูปที่ 1.41 Indicstor of Green cities or sustainable cities รูปที่ 1.51 ทางหลวงอจั ฉริยะ (Smart highway) รปู ท่ี 1.52 แสดงเวบ็ ไซดแ์ ละแอพลิเคช่นั สำหรับรายงานสภาพจราจร ของระบบจราจรอัจฉรยิ ะของการทางพเิ ศษแห่งประเทศไทย รปู ท่ี 2.11 องค์ประกอบของระบบ Smart City ตามแนวคิดของ IBM รปู ที่ 2.12 องคป์ ระกอบของระบบ Smart City ตามแนวคิดของ Schneider Electric รูปที่ 2.21 โครงสร้างของเมอื งอัฉรยิ ะ รูปท่ี 2.22 Smart City Infrastructure รปู ท่ี 2.31 รปู แบบสถาปัตยกรรมของระบบ Smart City รูปท่ี 3.11 อปุ กรณ์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) รปู ที่ 3.12 ภาพรวมองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ รปู ท่ี 3.13 ภาพรวมการทำงานพ้ืนฐานของระบบสือ่ สารขอ้ มูล รูปท่ี 3.14 การเชอ่ื มต่อของระบบรูปแบบดาว (Star) รปู ที่ 3.15 การเช่ือมต่อของระบบรปู แบบบัส (BUS) รปู ที่ 3.16 การเชือ่ มตอ่ ของระบบรูปแบบวงแหวน (Ring) รูปท่ี 3.17 การเช่ือมตอ่ ของระบบรูปแบบผสม (Hybrid) XIII

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง สารบญั ภาพ หนา้ รปู ท่ี 4.11 การลงทุนทางดา้ นเทคโนโลยใี นเขตเอเชยี แปซฟิ กิ ในปี 2014 ถงึ ปี 2023 รูปท่ี 4.12 อนั ดบั ของซพั พลายเออร์ทางดา้ นเทคโนโลยี รูปท่ี 4.13 รายได้ทางด้านเทคโนโลยีของพืน้ ท่ตี ่างๆ ทว่ั โลก รูปท่ี 4.21 ความเชื่อมโยงแผนการพฒั นากำลังคนดา้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยแี หง่ ชาตกิ ับยุทธศาสตร์การพัฒนากำลงั คน ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ของกระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 รูปท่ี 4.22 การพัฒนาแห่งเมืองอจั ฉรยิ ะ “Smart City” ของจงั หวัดนครนายกเปน็ ต้นแบบ รูปที่ 4.23 Cloud Computing รูปที่ 5.21 องค์ประกอบของระบบ ITS รปู ท่ี 5.41 ภาพรวมโครงการศึกษาภายใต้แผนแม่บทระบบจราจรอจั ฉริยะ รปู ที่ 5.42 โครงสรา้ งการเชอื่ มต่อและสถาปตั ยกรรมโดยรวม ของระบบขนจราจรอัจฉริยะ (ITS) รปู ที่ 5.43 แสดงการตดิ ตง้ั อปุ กรณ์ตรวจวดั สภาพจราจร (Sensor) บนทางพิเศษเพื่อนำมาพฒั นาระบบจราจรอจั ฉรยิ ะ (ITS) รปู ที่ 5.44 การรายงานสภาพจราจรบนเสน้ ทางพิเศษผ่านกลอ้ ง CCTV รูปท่ี 5.45 การรายงานสภาพจราจรเปน็ เสน้ สีของระบบ จราจรอจั ฉรยิ ะบน Web application รูปท่ี 5.46 การรายงานสภาพจราจรของระบบจราจรอัจฉริยะบนมอื ถือ Smart Phone รปู ท่ี 5.47 การแสดงผลของระบบ ITS ในหอ้ งศนู ย์ควบคุมระบบ จราจรอจั ฉริยะ (ITS Center) ของ กทพ. รปู ที่ 5.48 การตดิ ตั้งปา้ ยรายงานสภาพจราจรอจั ฉริยะของการทางพิเศษ XIV

สารบัญภาพ Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง หนา้ รปู ท่ี 5.49 สภาพปัญหาจราจรตดิ ขดั บริเวณดา่ นเก็บคา่ ผา่ นทาง รปู ท่ี 5.410 การตดิ ตั้งอุปกรณต์ รวจวดั สภาพจราจร (Sensor) ปา้ ยควบคุมชอ่ งจราจรและปา้ ยใหข้ อ้ มูลหน้าด่าน รปู ท่ี 5.411 การออกแบบโครงสร้างของระบบบรหิ ารจดั การชอ่ งจราจร ของด่านเกบ็ เงนิ ทับช้าง รปู ท่ี 5.412 ระบบบรหิ ารจัดการช่องจราจรบริเวณดา่ นเก็บคา่ ผา่ นทาง รปู ท่ี 5.413 การแสดงผลของป้ายควบคมุ ชอ่ งจราจรเพ่อื แนะนำผใู้ ช้ทาง บริเวณด่านเกบ็ คา่ ผ่านทาง รูปท่ี 5.414 การให้บรกิ ารแท็กซีอ่ จั ฉริยะรูปแบบใหม่ (All Thai Taxi) รปู ท่ี 5.415 Smart Taxi Control System ของ All Thai Taxi รูปท่ี 5.416 การออกแบบรถแทก็ ซ่ีอัจฉรยิ ะ (Smart taxi) ของ All Thai Taxi รูปท่ี 6.11 ตวั อยา่ งแหล่งพลงั งานหมุนเวียน (Renewable Resources) รปู ท่ี 6.21 ระบบพลังงานไฟฟา้ หรอื อตุ สาหกรรมจัดส่งพลงั งานไฟฟา้ (Electricity Supply Industry) ในปจั จุบัน รูปที่ 6.31 ระบบพลังงานไฟฟ้าท่มี โี รงไฟฟา้ พลังงานหมนุ เวียน ขนาดเลก็ เชื่อมตอ่ รปู ท่ี 6.32 โรงไฟฟ้าพลงั งานหมนุ เวยี นขนาดเล็ก รปู ท่ี 6.33 ระบบพลงั งานไฟฟ้าแบบ Smart Grid รปู ที่ 6.34 เทคโนโลยแี ละความสามารถของระบบพลงั งานไฟฟ้า Smart Grid รปู ท่ี 6.51 โครงการ Masdar City รูปท่ี 6.52 สถาบันวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ มาสดาร์ รปู ท่ี 6.53 รถพลงั งานไฟฟา้ รปู ที่ 6.54 โครงการ Kashiwa-no- ha Smart City รูปที่ 6.55 กรอบการดำเนนิ โครงการ Kashiwa-no- ha Smart City XV

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง สารบญั ภาพ หนา้ รูปท่ี 6.56 เขตระบบการจัดการพลงั งาน รปู ที่ 6.57 ภาพรวมเครอื ข่าย Smart Grid รูปท่ี 6.58 ระบบพลงั งานในช่วงภยั พบิ ัต ิ รูปท่ี 6.59 ระบบแสดงผลและการจัดการพลงั งานในบา้ น รูปท่ี 6.510 ภาพรวมการออกแบบอาคารประหยดั พลงั งาน รูปที่ 6.511 สงิ่ อำนวยความสะดวกการผลติ ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทติ ย ์ บนชน้ั ดาดฟา้ รูปที่ 6.512 ยานพาหนะไฟฟ้าทใ่ี ชพ้ ลงั งานจากแบตเตอรีใ่ นชว่ งภยั พบิ ัติ รปู ท่ี 6.513 บรกิ ารใหเ้ ชา่ จกั รยาน รปู ที่ 6.514 การผลิตพลังงานไฟฟา้ จากพลังงานลมบนเกาะ Maui รปู ที่ 6.515 กรอบการดำเนนิ งานของโครงการ Japan U.S. Island Grid Project รปู ท่ี 6.516 แสดง 6 มาตรการสำหรบั โครงการ Japan U.S. Island Grid Project รปู ท่ี 7.41 ศนู ยค์ วบคุมระบบ CCTV และการตดิ ตั้ง CCTV รปู ท่ี 7.42 ระบบกลอ้ งโทรทัศนว์ งจรปดิ CCTV เคลื่อนที่ รปู ท่ี 8.31 ตวั อยา่ งระบบการตรวจสอบสถานะของสง่ิ ของฝากไปรษณยี ไ์ ทย รปู ท่ี 8.32 ตวั อยา่ งระบบการตรวจสอบสถานะของสถาบันการศกึ ษาไทย รูปท่ี 8.33 ตวั อยา่ งระบบพยากรณอ์ ากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา รูปท่ี 8.41 ระบบการจัดเก็บข้อมูลจากฝูงชน (Crowd Sourcing) ผ่านโทรศัพทม์ อื ถอื รปู ท่ี 8.42 แสดงตวั อยา่ งสัญลักษณ์ของ Emometer เพ่ือวัดระดับความรู้สึกของประชาชน รปู ที่ 8.43 ตวั อย่างหน้าแอพพลิเคชน่ั Urban Forecast สำหรบั รบั แจง้ ขอ้ มลู รปู ท่ี 8.51 การพฒั นาระบบสนับสนนุ การตัดสนิ ใจและกระบวนการ จดั สรรงบประมาณ XVI

สารบญั ภาพ Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง หนา้ รปู ที่ 8.52 โครงสรา้ งของผู้ทมี่ ีอำนาจจดั สรรงบประมาณของ อบจ. รูปท่ี 8.53 ภาพรวมการพฒั นาระบบสนับสนุนการตัดสนิ ใจในการ จดั สรรงบประมาณ รูปท่ี 8.54 การทำงานรว่ มกันขององคป์ ระกอบต่างๆ ในระบบสนับสนนุ การตดิ สนิ ใจจดั สรรงบประมาณ รูปท่ี 9.11 ตัวอย่างถังขยะอจั ฉรยิ ะในเมอื งตา่ งๆ รูปท่ี 9.12 กระบวนการทำงานของถงั ขยะอัฉริยะ รปู ท่ี 9.13 ระบบแสดงผลการจัดการขยะทนี่ ครบาร์เซโลนา่ ประเทศสเปน รูปที่ 9.14 การจดั การขยะด้วยระบบท่อสญู ญากาศ รปู ที่ 9.15 โครงข่ายระบบท่อขนส่งขยะท่ีเมือง Vuores, Tampere ประเทศฟนิ แลนด ์ รปู ที่ 9.16 ทใี่ สข่ ยะในเมอื ง Vuores, Tampere ประเทศฟินแลนด์ รปู ที่ 9.21 ตวั อย่างโรงงานคัดแยกขยะท่แี คลิฟอร์เนยี สหรัฐอเมรกิ า รปู ที่ 9.22 กระบวนการคัดแยกขยะแบบ MRF รปู ท่ี 9.23 ตัวอยา่ งระบบคัดแยกขยะแบบ MBT ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี รูปท่ี 9.24 กระบวนการคัดแยกขยะแบบ MBT รปู ที่ 9.31 กระบวนการหมกั ย่อยแบบใช้อากาศ รปู ที่ 9.32 องค์ประกอบของบอ่ ฝงั กลบ (Landfill) รูปที่ 10.21 Smart Governance supply chain รปู ท่ี 10.31 ตวั อย่างเวปไซตร์ ะบบการจดั ซอื้ จดั จ้างภาครัฐ รปู ที่ 10.32 ตัวอยา่ งเวปไซต์ระบบบริหารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเล็กทรอนกิ ส์ รูปท่ี 10.33 ตวั อย่างเวปไซตร์ ะบบการชำระภาษผี า่ นอนิ เทอร์เนต็ รปู ที่ 10.34 ตัวอยา่ งหนงั สอื เดนิ ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ รูปที่ 10.35 ตวั อยา่ งหนังสอื เดินทางอเิ ล็กทรอนิกส ์ XVII

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 2.31 Main Functions of Smart City Platform ตารางท่ี 4.21 เป้าหมายการใหบ้ รกิ ารและยุทธศาสตรข์ อง กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตารางท่ี 5.31 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการใชร้ ะบบ ITS ในประเทศไทย ตารางที่ 5.32 ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากการใช้ระบบ ITS ในตา่ งประเทศ ตารางที่ 9.31 ตารางแสดงสรุปข้อเปรยี บเทียบวิธีการกำจัดขยะมลู ฝอย XVIII

1 การศึกษาและทบทวน การพฒั นาและบริหารจดั การเมือง แบบ Smart City

คำนิยามของ Smart City การพัฒนาเมอื งตามแนวคิดเมืองอจั ฉรยิ ะ (Smart City) การบริหารจัดการเมอื งแบบ Smart City การพัฒนาเมืองทีย่ ง่ั ยนื (Green cities or sustainable cities) กรณศี กึ ษาการพฒั นาและบรหิ ารจดั การเมืองแบบ Smart City ทง้ั ในและต่างประเทศ กรณศี ึกษาของเมืองท่ีจะยกระดบั ให้เป็นเมอื งอจั ฉรยิ ะในประเทศไทย กรณศี ึกษาเมืองอจั ฉริยะในต่างประเทศ

Smart City เป็นแนวคิดการพัฒนาเมืองท่ีเกิดขึ้นในปลาย ศตวรรษที่ 20 โดยมาจากการนำเอาเทคโนโลยีด้านข้อมูลและ โทรคมนาคมมาใช้ร่วมกับการวางโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือเพ่ิม ศักยภาพและประสิทธิผลท่ีได้รับ แนวคิดดังกล่าวได้ถูกพัฒนาต่อ จนในปัจจุบันกลายเป็นแนวคิดในการพัฒนาและวางแผนเมือง อย่างชาญฉลาด ในบริบทของโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด เพ่ือให้ประชาชนของเมือง มคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ขี ึ้น 1.1 คำนิยามของ Smart City คำจำกัดความของ Smart City ถูกใช้อย่างหลากหลาย ทั่วโลก มักจะให้ความหมายท่ีหลากหลายและสอดคล้องกัน Smart City เป็นคำเรียกเมืองที่มีระบบส่ือสารด้วยเทคโนโลยี ที่ทำให้คุณภาพในการใช้ชีวิตในเมืองๆ นั้นดีขึ้น ลดผลกระทบท่ีมี

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง ต่อส่ิงแวดล้อม และลดการใช้พลังงานของเมืองลง ดังแสดงตัวอย่างคำจัด กดั ความ เช่น C Smart City คือ เมืองที่มีเทคโนโลยีดิจิตอลท่ีฝังอยู่ในทุก ฟงั ก์ชน่ั เมอื ง1 C Smart City คือ เมืองท่ีมีการเชื่อมโยงเครือข่ายของโครงสร้าง พ้ืนฐานทางกายภาพ, โครงสร้างพื้นฐานด้าน IT, โครงสร้าง พ้ืนฐานทางสังคมและโครงสร้างพื้นฐานทางธุรกิจ เพ่ือทำให้ เกดิ การยกระดบั ความอจั ฉริยะของเมอื ง2 C Smart City คือ เมืองท่ีเป็นการรวมกันระหว่างเทคโนโลย ี สารสนเทศ (ICT) และโครงสร้างการวางแผนและออกแบบ เพื่อท่ีจะทำให้เป็นรูปร่างและเพ่ิมความเร็วในกระบวนการของ ระบบราชการ และสื่อถึงนวัตกรรมใหม่ๆ ในการแก้ปัญหา การจัดการความซับซ้อนของเมือง เพื่อคววามน่าอยู่และ การพัฒนาอย่างยงั่ ยนื 3 C Smart City หรือ เมืองอัจฉริยะ เป็นรูปแบบการประยุกต์ เทคโนโลยีดิจิตัล หรือข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยี การส่ือสาร (ICT) ในการเพิ่มประสิทธิและคุณภาพของบริการ ชุมชน เพื่อช่วยในการลดต้นทุน และลดการบริโภคของ 1 http://smartcitiescouncil.com/smart-cities-information-center/definitions- and-overviews 2 Foundations for Smarter Cities. IBM Journal of Research and Development, (2010) 3 Toppeta, D. (2010), The Smart City Vision: How Innovation and ICT Can Build Smart, “Livable”, Sustainable Cities.

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง ประชากร โดยยังคงเพ่ิมประสิทธิภาพให้ประชาชนสามารถ อยู่อาศัยไดใ้ นคุณภาพชวี ิตทดี่ ขี ึ้น4 C Smart City คือ เมืองที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสาร และโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก มีระบบสนับสนุนแข็งแกร่ง และมีสภาพเศรษฐกิจสังคมการ พัฒนาทางวัฒนธรรมที่สามารถเรียนรู้ปรับตัวพัฒนาและ สามารถตอบสนองได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกับ สถานการณ์ที่เปล่ียนแปลงไป โดยเน้นให้วางอยู่บนการมีส่วน รว่ มของประชาชน จากคำจำกัดความของ Smart City รูปแบบของเมืองอัจฉริยะจึงควร “เป็นเมืองที่มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีทำให้คุณภาพในการใช้ชีวิต ในเมืองๆ น้ันดีขึ้น ลดผลกระทบที่มีต่อส่ิงแวดล้อม และลดการใช้ พลังงานของเมืองลงอย่างย่ังยืน” สรุปแล้ว Smart City จะต้องประกอบ ดว้ ย 3 ปจั จัยสำคญั คือ C Efficient การใช้ทรพั ยากรใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากทส่ี ดุ C Sustainable มีความยั่งยืน ทั้งในแง่ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และต้นทนุ C Live able คุณภาพชวี ติ ของคนอยอู่ าศยั ตอ้ งดี 4 https://en.wikipedia.org/wiki/Smart_city

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง 1.2 การพัฒนาเมืองตามแนวคิดเมืองอัจฉริยะ (Smart City) แนวคิด Smart City เพ่ือให้เกิดชุมชนเมืองท่ีอำนวยความสะดวก แก่ผู้อยู่อาศัยและได้รับคุณภาพในการใช้ชีวิตที่สูง เป็นเมืองท่ีน่าอยู่อาศัย และมีการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่น้อยท่ีสุดอย่างมีประสิทธิภาพ โดยทำการ เช่ือมโยงระบบโครงสร้างพื้นฐานของเมืองเข้าด้วยกันแบบบูรณาการเพื่อ ให้การบริหารจัดการเมืองเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เหตุผลที่ต้องมีการ เชื่อมโครงสร้างพ้ืนฐานเข้าด้วยกันเน่ืองจากในอดีตนั้นระบบโครงสร้าง พ้ืนฐานทั้งประปา ไฟฟ้า ก๊าซ คมนาคมขนส่ง บริการสาธารณะของเมือง มักจะแยกกันและดำเนินการแบบต่างคนต่างทำ ดังนั้นนอกจากจะต้อง ทำให้แต่ละระบบทำงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดแล้วน้ัน ยังต้องทำให้ แต่ละระบบทำงานร่วมกันแบบบูรณาการในบริบทของเมืองเพื่อสามารถจัด ล ำ ดั บ ค ว า ม ส ำ คั ญ ใ น แ ง่ ข อ ง ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด มู ล ค่ า สู ง ท่ี สุ ด ทำให้บรรลุเป้าประสงค์ของการเป็นเมือง Smart City อยู่ที่คำสำคัญ ได้แก่ ประสิทธิภาพ (Efficient) น่าอยู่อาศัย (Liveable) และยั่งยืน (Sustainable) ดังแสดงในรูปที่ 1.2-1

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง รูปที่ 1 .2-1 แ ส ด ง อ ง ค์ ปบทรทะี่ 1กกาอรศบึกษขาแอละงทกบทาวนรกพารัพฒฒั นนาแาลเะบมริหือารงจตดั กาารมเมือแงแนบบวSคmิดart C ity Smart City จราปู กที่ร1ูป.2ท-1ี่ แ1ส.2ดง-อ1งคแป สระดกงอบอขงอคง์กปารรพะัฒกนอาบเมกอื างตราพมแัฒนวนคาิดเSมmือaงrตt Cาiมtyแนวคิด ดแนานวโพแSอคลรmยนงั งจงขู่บวaาาานกrโนยtครค(โูปSมรCคmทนงiร่ี taา1ขyงคr.t2่าสม-Eจแย1รnละค้าแeะเสงrกมหgดาyน็นงรS)อเนmไากงด้ันิดคคaขจป้วมr้นึะร่าtอะขแกยกอGลาบูองชรบะrนiุมจกโกdคชาัดารนรแงกพเรสมัฒลาเรอื กรานะงงใดิาดหเSS้ามขมmนอืmึ้นซงaพต่งึarขtราลrะอมGtังบแrงงiบMdนชานวุแมนeเ้ีคพลtิดชะ่ิมe(นSขSrSmีดimเnmคมaagวrarือtาtrมCทtงMสiใtี่ขeEาyหtมยneจมาาreะรi่nยเrถหggซขต็นyอทึ่งัวไ)ง่ีขรดไรยวะปะนาาบบยกต้ันบตาบาจไรัวฟมนจไะปฟัด ้ี ตกาาใาหมร สแใผหลาูใชญมะไาสไฟเร2รดาพสถวเมอาสาิ่มทดมงื่อรอาิขเศถสตัรรแาีดทถโ็รวยนตคแกาแมอลสวงตัลบะวาิสคนะนสมนวขอสบาอสอกาคงมงจาตรมุมามาอะไกาดบเรานหทรบถ้ันรตั้งถเรถุกตพ2ะแา่ือขอบรทยบอณบบศิรกมงตทิหสิเราสาาตนงงะร่อวๆจบอสรไนัดดทางบกขมอ่ีดตาไายอีขรรฟ่าอ้ึนถงง(สจฟถตรIsะูกอถะl้าชaบตใบาnวอสหยdนบงนใi้เสnอหกหเgงาพผมาต/มูใMาื่ออรชะาสiไณบcสฟถรrมรoาเ์ถฉขนิหนGสาุกกอถrาา่ือiเกึงdรรฉขสจณ)จอาินราฉัดกมวรุกขนูลมกเแั้อฉนแทาลินบร้ังงระขเบะรชบอคื่อะRง(บมรวบeIไะตaฟบsบบlอฟlคบatกไาiไุmมลดnยดับัdง้ไeออ จเดยiขยแะnา้าทลส่างgสะราั้งงู/รวมทะดาํา บเรใรบหถ็ว รทเ(EนอดV่อื งแ)งรทจนทนMแับนาลกำั้นอกขiะสcใาเอกรปหาํรrPงหะoเนจlป้ผชuรบการ่ือgับู้ใGาะ-กบชมกรiเnrทตปา้ไนมidรศฟอHร้ัิเนจับข)yต2สัดbอเร5กปอารrง%ะiามลโdวรรบรี่ยม์ทาใดงEนนบรไาlท่ีดกeฟนถ1ไcา้ังีขฟค0ฟตtรเึ้นาrมพชปiอฟพcนจึง)่ือบลา้พVาแะมคังeสยาลชงมhนตะนาังน่วiํ้าจนc่อจอ้ันมยะlทeกะันเงใปด(เตสลS(หPแนชmับ่อาHื้้อผทแaมเหEเนเู้ใพrหขVลชทtาล)้งาตี่Mม้ไริงพใสฟีมุกปหถoลู่รามรbาังเรเิะมงาขiรปlอากาบi้าณนtนขณงyถบกทึน้)ร์ตเรีส่ึงเใพเับพะน่าหาํข่ิมแอ่ืคนงก้อญขสลญัๆก้ึนามไดาข่ไไฟอรมรดอดูลฟยใเลงช้้อเแชาาชพอปเงยบมุื่อิษปมงรช่าบนแมะอานงลกหโัตเตยถะมลRช(โผ่อูกือักตนนeลงาขตขทกaมมออ้อํารlแัตใงะงงผหtทิเโEนiจหmนบรlพําeตมงอเcัeฒปอไtากrนนสฟiะแcจ่ิงตาสฟแลพาอVวมงกลeะ้าดมัhงลีกงicอาาlนมรe พัฒนพาลโคังรงงาสนรทางดพแื้นทฐนานทที่มี่เชีป่ือรมิมโยาณงกัเบพริ่มะบขบึ้นไอฟยฟ่าางเมชานก ส(ถตาานมีปแระผจนุกพระัฒแนสไาฟพฟลาัง(งCาhนarging ลกStดาaรปtเiญฝoขทา ญnอดร/าะงIแnควชfังวทrมุเาaพนมsชอ่ืtหขrนคนuอวเcาามงtแมuนปือปrนeรงลข)อะอก ดเงาภทรรัยถบศขทรอหี่ิห2งนาผร5าูอจด%ยัดา อูกนาาศสรใยัจาํนหใรชารป1จบั 0รรรทะะโด่ีบปยีขบชี)นึ้ นบจรรแาะิกลกบาระบCสเจCกาTะ็บธVาเคปราณผ็นทาะาํ แนนใหทหั้นกาล(งลS่งา(mยTพoเaปลrltlนังinPชงguุมา)bชนทlนi่ีคcทเลมSี่สอือeงำงrตvทคiัว่ีcนัญมeาา)อกเยนขู ึ้นนมี ระบบการศึกษาของผูอ ยูอ าศยั ท่ีดขี น้ึ (Education) โดยใชประโยชนจากเทคโนโลยีตางๆ เชน Internet และ Tablet และมีการบริการไฟฟาสาธารณะท่ีครอบคลุมและดีขึ้น (Public Street Lighting management) สาํ หรบั การจดั การอาคารและท่ีอยอู าศยั นัน้ (Smart Building/Home) เนนใหมีสมรรธณะและประสิทธิภาพ สูง โดยเฉพาะการใชพลังงาน ซ่ึงการพัฒนา Home/Building Energy management สามารถเชื่อมโยงเขา

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง สำหรับการจัดการด้านคมนาคมนั้น (Smart Mobility) เน้นการใช้ ประโยชน์ของ Electric Vehicle (EV) และ Plug-in Hybrid Electric Vehicle (PHEV) ให้มากขึ้นเพื่อลดมลพิษและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เน่ืองจากเป็นการปรับเปลี่ยนการพึงพาน้ำมันเชื้อเพลิงมาเป็นกระแสไฟฟ้า เป็นหลัก ทำให้จำเป็นต้องมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานท่ีเช่ือมโยงกับ ระบบไฟฟ้า เช่น สถานีประจุกระแสไฟฟ้า (Charging Station/ Infrastructure) การบริหารจัดการจราจรท่ีดีขึ้น ระบบเก็บค่าผ่านทาง (Tolling) ท่ีคล่องตัวมากข้ึนลดปัญญาความหนาแน่นของรถท่ีหน้าด่าน สำหรับระบบบริการสาธารณะน้ัน (Smart Public Service) เน้นการ เฝ้าระวังเพ่ือความปลอดภัยของผู้อยู่อาศัยใช้ประโยชน์จาก CCTV ทำให้ กลายเป็นชุมชนเมืองท่ีน่าอยู่ มีระบบการศึกษาของผู้อยู่อาศัยท่ีดีขึ้น (Education) โดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีต่างๆ เช่น Internet และ Tablet และมีการบริการไฟฟ้าสาธารณะที่ครอบคลุมและดีขึ้น (Public Street Lighting management) สำหรับการจัดการอาคารและที่อยู่อาศัย น้ัน (Smart Building/Home) เน้นให้มีสมรรธณะและประสิทธิภาพสูง โดยเฉพาะการใช้พลังงาน ซึ่งการพัฒนา Home/Building Energy management สามารถเช่ือมโยงเข้ากับระบบ Smart Grid และตอบสนอง ในภาพรวมได้ จากกรอบแนวคิดข้างต้น ทำให้ในเบื้องต้นการพัฒนาเมืองจะมุ่งเน้น ระบบโครงสร้างพลังงาน (Energy) โครงสร้างคมนาคม (Transport) และ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) ในบริบทการบริหารจัดการ ของชุมชนเมือง และจะขยายขีดความสามารถและพัฒนาในการนำเอา ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT) มาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการด้านพลังงานและด้านคมนาคม ของเมือง ครอบคลุมตั้งแต่การวางแผนพลังงานและคมนาคมของเมือง (Urban Energy and Transport Planning) การวางโครงข่ายพลังงาน

บทที่ 1SกmารaศึกrtษาCแลitะyทบทกวารนพกาฒั รพนัฒาแนลาะแปลระับบใรชหิ ้ราะรบจบดั กITารเในมอืกงาแรบบบรหิSmารaจrดัt กCาitรyเมือง บ(Eรnิหeาrgรส(yจIำ)จัnดหาโกtคกรeารกรับrงรขaสเออcมรบงtาือชiแงvุมงคนeชมว(นนคBEเาิดมคunขือมeiาlงงdr(ตgTแinrนลyagะnทจNssําะp)eใขoหtยrกwtใา)นายoเแรขบrลใีดk้ือะชคงเ้พว-ทตาคนลeมโกlัสงนeางาโcรลมาพtยานrัีฒสรicทถานiรแดtาสลyเแนะม, เทพือทtัฒงhนศจeแนะลrา(มmใะRุงนกaเeกานlnรา)นสรeรนื่ออwะําสาบเาaอคบรbาาโ(คlคIรeCวรอTางSม)ัจสกuฉใรนาpาะวบงpรหพรlิยนิบyลาะทัง)แงกลาานะร นวตั กรเรปม็นดาแนหเทลค่งโนพโลลยังสี งาารนสนหเทลศักแขละอกงาชรุสม่ือชสนารเม(ICือTง) มแาลใชะปเรทะคโยโชนนโในลกยาีกรบารริหคามรจนัดากคารมดขานนพสล่งังงาน Tแrลaะnดsา(pนMoคrมtoนbPาlialคintมynขiอnaงgเn)มdกือางรTควrราaองnโบคsครpลงoมุขrตาtยงั้ )แพตลดกังังางรแาวนสาสงดํแาหงผในรนับพเรลมังปู ืองทางน่ี(แE1ลn.2ะeคr-g2มyน Nาคeมtwขอoงrkเม-อื งel(eUcrtbriacnityE,ntehregyrmanald) หอาลคกั าขรอรองูปัจชฉทุมะช่ีรนิย1เะ.ม2ือ(I-งn2tแeลrแaะcนเทtiวคveโคนBิดโลuใยilนีกdาiกnรgคาsมร)นพกาาัฒครมใชนขพ นาลสแังงงลา(Mนะทoปดbรแiliทับtyนใaช(Rn้รedะnTeบrwaบnasbpIleoTrSt)uใpดนงัpแดlyส้า)ดนเงปใพนนแรลูปหังทลงง่ี 1พา.2ลน-ัง2งาน และขนส่ง ทม่ี า: MaEทrtnี่iมneาHrag:uyรsMูปkeaท,an\"่ีrS1dtm.i2anUr-t2etHrilแEiatnนiueeวrssgคykิดIfeonใr,นdSกm“uาSsaรrtmtrพeyraัฒ,Critน2tieeา0sแ\"r,0ลIB9EะM ปnGรeloับrbgใaชlyรEnะfeบorgบry aISnTdmใUนatirดlittาieeนsrพInCdลuังistงtirาye,นs2แ0”0ล,9ะIขBนMสง Global จากรูปท่ี 1.2-2 แสดงแนวคิดในการพัฒนาเมืองในเบ้ืองต้น สำหรับ โครงสร้างพื้นฐานทางด้านพลังงานและคมนาคมขนส่งจะต้องมีการปรับใช้

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเข้าด้วยกัน ซึ่งจากมุมมองด้านการ จัดการพลังงานแล้วน้ัน จะครอบคลุมต้ังแต่ระบบจัดหาและผลิตไฟฟ้า ระบบส่งไฟฟ้า ระบบจำหน่ายไฟฟ้าเพื่อให้ถึงผู้ใช้ไฟฟ้าซ่ึงในท่ีนี้ก็คือผู้ท่ีอยู่ อาศยั ในเขตชุมชนเมืองนั้นเอง ตรงจดุ น้เี องมคี วามสำคัญมาก ย่ิงถ้ามองมา จากมุมมองด้านพลังงาน เน่ืองจากเป็นที่คาดกันว่าในอนาคตประเทศไทย จะประสบกับปัญหาด้านพลังงานท่ีรุนแรงและถ่ีข้ึนเร่ือย เน่ืองจากประเทศ ไทยยังคงพ่ึงพาพลังงานจากภายนอกประเทศ เช่น ก๊าซจากประเทศพม่า ท่ีมักจะประสบปัญหาการหยุดจ่ายก๊าซเน่ืองจากการหยุดซ่อมบำรุงหรือ อุบัติเหตุ นอกจากนั้นการสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ขึ้นภายในประเทศเร่ิมเป็นไป ได้อย่างยากลำบาก เพราะมีประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมแและการต่อต้านจาก ภาคประชาชนเป็นจำนวนมาก (เป็นปัญหาด้านมุมมองของประชาชน NIMBY - Not in My Backyard หรือ BANANA - Build Absolutely Nothing Anywhere Near Anyone) ซ่ึงจะทำให้การหาไฟฟ้าให้เพียงพอ ต่อการใช้ของประชากรโดยเฉพาะในเขตเมืองที่มีประชากรกระจุกตัวอาศัย อยู่เป็นเรื่องท่ียากลำบากมากขึ้น ถ้ายังไม่มีแนวทางหรือวิธีการบริหาร จัดการพลังงานแบบใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพและบูรณาการเข้ากับระบบโครง สร้างอืน่ ๆ ของเมอื ง C Energy Supply Chain Management เป็นการมองในภาพ รวมของเมืองโดยเน้นการวางแผนพลังงานและคมนาคมสำหรับ ชุมชนเมือง การพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือ รองรับการเกิดขึ้น ปรับตัว และเติบโตของชุมชนเมืองท่ีน่าอยู่ ในอนาคต (Smart Cities and Communities) เร่ิมตั้งแต ่ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนหรือวัสดุเหลือใช้และ ส้ินเปลืองภายในเมืองเพ่ือเป็นแหล่งพลังงานหลักของเมือง การพัฒนาปรับปรุงระบบโครงข่ายไฟฟ้า คมนาคม และ เทคโนโลยีและการสื่อสารให้ทันสมัย การพัฒนาปรับปรุง 10

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง การบริการสาธารณะที่ตอบสนองต่อการใช้ชีวิตของชุมชนเมือง และใชท้ รัพยากรอยา่ งคมุ้ คา่ C Connected House/Building เป็นการทำให้อุปกรณ์ท่ีอยู่ใน อาคารและบ้านอยู่อาศัยสามารถส่ือสารกันเองภายในได้ โดยเฉพาะข้อมูลการใช้พลังงาน สถานะการทำงาน สอดคล้อง กับแนวคิด Internet of Things ที่อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคาร และบ้านเรือนมี IP ของตัวเองทำให้สามารถเฝ้าดูและควบคุม อุปกรณ์ต่างๆได้ นอกจากจะสื่อสารกันเองภายในแล้ว ยังสามารถเชื่อมโยงส่ือสารกับภายนอกในระดับกลุ่มอาคาร และระบบบริหารจัดการพลังงานของอาคารและบ้านท่ีอยู่อาศัย เพ่ือรักษาสมดุลระหว่างความสามารถในการผลิตไฟฟ้าและ ความต้องการใช้ไฟฟ้า ทำให้ผู้ใช้ไฟ (ผู้อาศัยในเขตชุมชน เมือง) มสี ว่ นรว่ มในการบริหารจดั การใชไ้ ฟฟ้าได้ดียิ่งข้ึน C Connected Vehicle เป็นการเช่ือมต่อดา้ นการคมนาคมขนสง่ ภายในเมืองเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพครอบคลุมทั้งพาหนะที่ใช้ใน การเดินทางและการเคล่ือนท่ีของคนภายในเขตเมือง เน้น การนำเทคโนโลยี Sensor และ CCTV เข้ามาใช้เพ่ือเข้าถึง ขอ้ มลู Real Time ในรูปแบบตา่ งๆทห่ี ลากหลาย 1.3 การบริหารจัดการเมอื งแบบ Smart City การบริหารจัดการเมืองอัจฉริยะ เป็นการใช้ระบบเทคโนโลย ี สารสนเทศที่พัฒนาขึ้นตามแนวคิดข้างต้น เพ่ือการบริหารจัดการกับเมือง ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดและต้องมีการสื่อสารกับประชาชนของเมืองให้ได ้ รับรู้ข้อมูลกันอย่างทั่วถึงในการจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างยั่งยืน ดังน้ัน 11

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง จึงต้องมีระบบสารสนเทศที่เหมาะสมบริหารจัดการเมือง ในการนี้อาจแบ่ง ได้เปน็ สองกลุม่ ใหญ่ ๆ ได้แก่ C ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื บรหิ ารจัดการเมอื ง C ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สอ่ื สารกับประชาชนในเมือง 1.3.1 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื บริหารจัดการเมอื ง ในปัจจุบันระบบอัจฉริยะอันซับซ้อนของเมืองส่วนใหญ่ยังอยู่ ระหว่างการพัฒนา ดังน้ันจึงยังคงมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการ บริหารจัดการท่ีแยกกระจายกันอยู่ เช่น ระบบบริหารจัดการพลังงานของ โรงงานหรอื ของชมุ ชน ระบบจัดการจราจร ระบบตรวจสอบและจดั การขยะ และมลภาวะ ระบบขนส่งมวลชน ระบบอุตุนิยมวิทยา เหล่าน้ีโดยปกติจะ ซับซ้อนมากในตัวเองอยู่แล้ว การที่จะผนวกรวมระบบย่อยเหล่าน้ีเข้าเป็น ระบบเดียวเพ่ือบริหารจัดการเมืองในภาพรวมจึงเป็นเรื่องที่ไม่ง่ายนัก และต้องอาศัยความเข้าใจในความสำคัญและพัฒนาการทางเทคโนโลย ี สารสนเทศอกี ระยะหน่ึง ตัวอย่างความพยายามในด้านนี้ได้แก่ บริษัทซีเมนส์ ซึ่งพัฒนา ระบบท่ีจะผนวกข้อมูลสารสนเทศจากระบบย่อยต่าง ๆ เข้ามาเป็นหน่ึง เดียว ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลจากอาคารท่ีพักอาศัย โรงไฟฟ้า การจราจร ประปา โครงข่ายจ่ายกระแสไฟฟ้า เป็นต้น5 และเริ่มการทดสอบในนคร หลายแห่ง เช่น เบอร์ลินในเยอรมัน มิลานในอิตาลี และ ทิมิโซร่าใน โรมาเนีย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารเมืองในลักษณะท่ี เป็นการผนวกรวมข้อมูลและสารสนเทศจากระบบต่าง ๆ เข้าด้วยกันเช่นน้ี 5 Siemens, Pictures of the Future, http://www.siemens.com/innovation/ en/home/picturesof-the-future/digitalization-and-software/from-big-data-to-smart- data-city-intelligenceplatform.html, October 1st, 2014. 12

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง มีตัวอย่างในระบบที่เรียกว่า “ศูนย์ควบคุมนครอัจฉริยะ” (Smart City Control Center) รูปที่ 1.3-1 ศนู ย์ควบคมุ เมบือททง่ี 1อกัจารฉศกึรษยิ าแะละท(บSทวmนกaารrพtัฒนCาแiลtะyบริหCารoจดัnกtาrรเoมือlงแCบบenSmtaertr)Ci ty ที่มา : http://smartcitiescouncil.com/article/smart-city-control-centers-nice-france-latest-get-city-dashboard ที่มา : httpร:ปู //ทsี่ m1.3a-r1tcศiูนtiยeคsวcบoคuมุ nเมcอืilง.อcัจoฉmริย/aะr(tSicmlea/rstmCiatyrtC-cointytr-ocloCnetnrotel-rc) enters-nice- france-latest-get-city-dashboard นครรีโอเดอจาไนโร (Rio de Janeiro)6 เปนนครท่ีมีปญหาทั้งในดานการจราจร เชนเดียวกับเมือง เใทหคญโทน่ัวโลไปยีขแอ ลงศะูนยังยนมบีปัญคญชราหรกาีโาดอรานเนคดภรอัยอธจัจรฉารรไมิยนชะาโ(ตรsmิ เ(ชaRrนtiนoc้ําitทydวeoมpโคJerลaaนntiถoeลnirมohจ)eึงa6เdปqเนปuนa็นคrtนรeแrคsร)กรมๆทา่ีมใใชนีปโโลดัญกยทรหว่ีนาบําทรเอว้ังมา ขอใมนูลจดาก้าน30กเขาตรโดจยรรอาบจรท้งั ภเาชพ่นจาเกดกีลยอ วงจกรับาจเรมรือะดงับในห้าํ ใญนแ่ทมน่ัวํา้ ไสปถานแภลาะพขยอังรมะีปบบัญสาหธาารดณปู้าโนภคภแัลยะ กกกราารรณเธปบทีทรรร่เีคับิกรกาเดิมโปรภนตลชยั ายี่ โธงานรลๆไตรฟยมโิจชดีขรเายาชตอใจชจิ ่รนงเาเจกพศาน่อืหนูนํ้าแนท้กำยาวปททม์บญ ี่แ่ว7ัหญล0มาะรดชคโถินนคาคถปับกลลรคมะานง่ั จหซรําถึ่งรหนกือลนออค่านบุมจรหตั อนเิอหตจา ัตจรกึงวุาฉแเจรลปกจระาดั็นิกยรตาแั้งนะรลศสะูนคั่ง(สยกรั่งsบากแรัญmาไชรปรaาเยกพกrัง่ืาอหtๆรรนนับcวี้ใสยนiนบtถคyารรโนรเลคเกทoยากาปpรสรทณeาะธตี่นสrาาaบรงำณหtๆเาiภอoยเัยชนใnานนะ ฉเทพบัาื่อhจงพใธาeลหรันกสaรแามdกมลชqลาะารดu้อตถินิaทสงโําคงrจขtใลรหeานาวมrถอจีsผลอูเร)มสกคียอรมรชาัง้ ะกีวใาหิตาดใญศถชับเึงเ ต้พนือ3โีย6น้ำดง0คพใยนรลค้งั รเแนเมดวแมือียลบงว่นไะรดนไ้ำทรวักทันขมส่ีอทาขถวยวเูอง้อาอทางนมศีกรัภยู็มลวกีรมาจวะถพาาบึงรกขบ1าส0อยา,30งงรา0รส0น0ะนกคเบาเทนรขบศแเตนใจสห่ืองโไาเงวดหธจใตนยาาุผกศรราเูนณหอนยตกบบูปุกลัญาับโชรทภเขณา้ังคกานมภาแ้ําราทาลดทววพาะมยง สื่อมวลชน นอกจากนั้นศูนยบัญชาการยังติดตามขาวสารทางส่ือสังคมออนไลน (social media) ซึ่งชวยให ทร าบเบา6ะ แสTกhอ oนmเกaิดsเหJตeุ ตnั้งnแyต,เรSอ่ื งmเลa็กrๆt นCอitยiๆesอ:ยาMงเiชsนsกioาnรลอCบoทnิ้งtขroยะl, ไhปtจtpน:ถ/งึ /กxรlgณrอีoาuคpา.รcทoรmดุ พ/fงั ast- fastforward/articles/smart-cities-solve-urban-challenges, XL Catlin, October 10th, 2014. 13

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง การบริการต่าง ๆ โดยใช้เจ้าหน้าที่ 70 คนประจำหน้าจอตรวจการและ สั่งการเพ่ือรับสถานการณ์ต่างๆ เช่น การปรับเปลี่ยนไฟจราจรเพ่ือ แก้ปัญหารถคับค่ังหรืออุบัติเหตุ และการส่ังการไปยังหน่วยบรรเทา สาธารณภัยในกรณีท่ีเกิดภัยธรรมชาติจากน้ำท่วมและดินถล่ม ซึ่งก่อนหน้า การจัดตั้งศูนย์บัญชาการน้ี นครเคยประสบหายนะทางธรรมชาติทำให้ม ี ผู้เสียชีวิตถึง 360 คนและไร้ที่อยู่อาศัยกว่า 10,000 คนเน่ืองจาก เหตุการณ์น้ำท่วมฉับพลันและดินโคลนถล่มคร้ังใหญ่เพียงคร้ังเดียว นักข่าว เองก็มีระบบสารสนเทศให้ไว้ในศูนย์บัญชาการด้วย เพ่ือให้สามารถส่งข่าว ออกอากาศเตือนพลเมืองได้ทันท่วงที รวมถึงรายงานการแจ้งเหตุผ่านกลับ เข้ามาทางสื่อมวลชน นอกจากน้ันศูนย์บัญชาการยังติดตามข่าวสารทาง ส่ือสังคมออนไลน์ (social media) ซึ่งช่วยให้ทราบเบาะแสก่อนเกิดเหตุ ตั้งแต่เร่ืองเล็กๆ น้อยๆ อย่างเช่นการลอบทิ้งขยะ ไปจนถึงกรณีอาคาร ทรุดพัง รปู ท่ี 1.3-2 ตัวอย่างสารสนบทเทท่ี 1ศกทารี่ใศชึกษใ้ านแลศะทนู บทยวบ์นกัญารพชฒั านกาแาลระบเมริหือารงจัดอกจัารฉเมรืองยิ แบะบ Smart City ที่มา : http://www.siemens.com/innovation/en/home/pictures-of-the-future/digitalization-and-software/from-big-data-to- smarทt-d่ีมatาa-ci:ty-hinttetlplig:e/n/cwe-wplawtfo.rsmi.ehtmmel ns.com/innovation/en/home/pictures-of-the-future/ digitalizatioรnปู -aทn่ี 1d.3-s-2ofตtัวwอaยาreงส/fาrรoสmนเ-ทbศigท-ใ่ี dชใaนtศaนู-tยoบ-ัญsmชาaกrาt-รdเมaือtงaอ-จัcฉitรyิย-ะintelligence- platform.html 14 ระบบบรหิ ารจัดการสารสนเทศ ศนู ยบ ัญชาการดังกลาวนี้ ควรตอ งมีระบบเชื่อมโยงระบบตา งๆใหค ลอบ คลุมมิตทิ กุ ดา นของตัวนคร ดงั แสดงในรูปที่ 1.3-3

Smart City การพฒั นาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง ทม่ี า : http://www.siem ens.coรmะ/iบnnบovบatรioิหn/eาnร/hจoัดmกe/าpiรctสureาsร-oสf-tนheเ-ทfutศureศ/dูนigitยal์บizaัญtioชn-าanกd-าsoรftดwังarกe/ลfro่าmว-bนig้ี -d ata-to- smart-data-citคy-วinรteตll้อigeงnมceีร-pะlบatfบorเmช.ื่อhtมmโl ยงระบบต่าง ๆ ให้คลอบคลุมมิติทุกด้านของตัวนคร ดังแสดงรใูปนทร่ี ปู1.ท3ี่-21.3ตวั-3อ ยางสารสนเทศท่ีใชใ นศนู ยบัญชาการเมืองอจั ฉรยิ ะ คลุมมติ ริทะกุบดบรอา บูปจันรฉทขิหอรี่ าง1ิยรต.จะ3ัวดั -นก3คารรผสดังาังกรแสาสนรดเเงทชใศน่ือรมศูปูนโทยย่ี บง1รั.ญ3ะ-ชบ3าบกาสราดรงั สกลนาเวทนศี้ คเวพร่ือตกอ งามรีรบะรบิหบาเชร่อืจมัดโกยงารระเบมบือตงางๆใหค ลอบ ท่มี า : http://w ทwี่มรwูปา.u ท:r ehี่ n1tito.p3.o:-r/3g/w/2ผw0งั1w1ก/า.0u6รr/เe2ชn9อ่ื/ioibม.moโยr-rgeง/dร2bะ0oบ1o1บk/s0ส-s6mา/รa2สrt9eน/ri-เbcทimtศie-เsrพ-esedื่อrbiกeosา/oรkบsร-sหิ mาaรrจteดั rก-cาitรieเมs-ือsงeอrieจั sฉ/ร ยิ ะ Smart City: การพฒั นาและปรบั ใชระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง 1-8 15

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมอื ง 1.3.2 ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อส่อื สารกับประชาชนในเมอื ง ระบบการให้ข้อมูลหรือสารสนเทศนี้เพื่อให้การดำเนินชีวิตของ ประชาชนพลเมือง เป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสะดวกสบาย มีความสุข ความปลอดภัย โดยมีเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เรียกว่า City Dashboard หรือแผงหน้าปัทม์เมือง7, 8 แบบเดียวกับแผงหน้าปัทม ์ ในรถยนต์หรอื ในห้องนกั บนิ ตามรูปท่ี 1.3-4 เป็นการบริการสารสนเทศแก่ ประชาชน ในลักษณะของหน้าเว็บท่ีรวมข้อมูลสำคัญและจำเป็นต่อการใช้ ชีวิตในเมือง เช่น สภาพอากาศ, ตารางการเดินรถไฟ รถใต้ดิน รถไฟฟ้า รถประจำทาง, สถานภาพการให้เช่าจักรยานสาธารณะ, ดัชนีสภาพ มลภาวะในอากาศ, ดัชนหี นุ้ , หัวข้อข่าวสำคญั เป็นตน้ 7 City Dashboard, London, http://citydashboard.org/london/, accessed May 25th, 2015. 8 Oliver O’Brien, Suprageography: CityDashboard, http://oobrien.com/ citydashboard/, accessed May 25th, 2015. 16

Dashboard หรือแผงหนาปทมเมือง7, 8 แบบเดียวกับแผงหนาปทมในรถยนตหรือในหองนักบิน ตามรูปที่ 1ช.วี 3ติ -4ในเเปมนือกงาเรชบน รสกิ ภาราสพาอราสกนาเศท,ศตแากรปางรกะาชราเชดนนิ รใSถนmไลฟaักrษรtถณCใะตitขดyอนิ งกหราถนรไพา ฟเฒั วฟ็บนาทาแรี่รลถวะปปมรขรบั ะอ ใชจมร้ ําูละบทสบาาํ งคIT,ญั ในสแกลถาะารนจบําภรเิหาปาพรนจกตัดาอกรกาใรหาเมรเือชใชาง  จักรยานสาธารณะ ,ดัชนีสภาพมลภาวะในอากาศ ,ดชั นีหุน ,หวั ขอ ขาวสาํ คญั เปน ตน รูปที่ 1.3-4 แผงหนา้ ปัทม์ของเมือง (City Dashboard) ที่มา : http:/ท /cี่มityาd a: shhtbtopa:rd//.corigtร/yูปldoทnad่ีso1hn.b/3o-4ardแ.ผoงrgห/นloาnปdทoมnข/ องเมือง (City Dashboard) 1.4 กก1 าารร.พ4พัฒฒั น นก(าGาเามเมืrอรeงือพทงe่ียทฒั n่ัง่ียยัง่ืนนcยหาืนiรtเือiม(eกGอื าsrรeงพeoทัฒnr่ียนcาs่งั iใtuยหieเนืsปstนao เมriือnsงuaสsีเbtขaียliวena(Gcbrielteeinecisctii)tei ess) or sustainable cities) ผจขะนังเตสมองืองสงมาแีกธลcราะอรiกtณบiาeกระsาใแชรลกทพoะ่ดีาฒัrกนิรนาsทพราu่ีมใสัฒชsกีาํ พหาtนaรลราจัiงบั nเงูงเมใามaจนือือbตสงlงอสeะทกีเอขาี่ยcารียดั่งiมวtยุงโiมดeเืนนีกยsนาหจ)รกะรตาตจือรรอ ะวพกงจตฒัมาสีตร้อนอัวพางบชรมัฒว้ีกะัดีากบนแรบรลปาขอะลในเหบอปสย้เกางปสหาเา็มนพรรา่ิมเคพยมเาทงัฒรือิน่ีชบงทัดนอสุเนจานีเสนสอขําอีำยหมกหรวกีไับรซา(กรัดบGปาแเรรrลมพัeบะืัอฒปeนรnงน้ําุง เารสรูปียะแบหบบาบ วิธกี ารใชพสลีเงั ขงาียนวแโลดะยนํา้จอะยตา้งอมงีปมรีตะสัวิทชธี้วิภัดาพแลสะงเเสปร้าิมหกามรเาปยลทย่ี นี่ชแัดปเลจงนพฤมตกิีกรารรมปโดรยับกาปรรจุงดั รใหูปมแีกบารบฝก อบรม ใหแ กบ ุคลผากังรเแมลือะงปแรละชะากชานรแใลชะ้ทรฐั่ีดบินาลทค่ีมวีกรมาสี รวจนูงรใว จมตกบั่อปกราะรชมาชุ่งนเแนล้นะกภาาครอพตุ ัฒสานหการรระมบใหบม ขานกขสึ้น่ง เพ่ิมเงินทุนสำหรับการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะและการใช้พลังงาน 7 City Dashbสoaะrdอ, Lาoดndoมn,ีกhttาp:ร//ตcitรydวasจhbสoaอrdบ.oกrg/าloรndปonล/่,อacยceสssาedรMคaาy ร25์บthอ, 2น01อ5. อกไซด์และน้ำเสีย 8 Oliver O’Bหrieาnว, Sิธuีกprาagรeใoชgra้พphลyัง: CงitาyนDaแshลboะaนrd้ำ, hอttยp:่า//งooมbีปrieรn.ะcoสmิท/cธityิภdaาsพhboสard่ง/เ,สacรceิมssกedารMเaปy 2ล5t่ียh,น20แ1ป5.ลง Smart City: การพัฒนาและปรบั ใชระบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 1-9 17

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมือง พฤติกรรมโดยการจัดให้มีการฝึกอบรมให้แก่บุคลากรและประชาชน และ รัฐบาลควรมสี ว่ นรว่ มกบั ปรบะทชที่า1ชกนารแศกึลษะาภแลาะคทบอทุตวนสกาาหรพกัฒรนราแมลใะหบร้มิหาารกจดัขกน้ึ าร เมืองแบบ Smart City รูปที่ 1.4-1 Indicstor of Green cities or sustainable cities http://wwทw่มี .smา:arthctittieps:o/f/twomwowrro.swm.coamrt/cgirteieens-coitfiteos-mgreoernroinwg-t.rceondms//green-cities-greening-trends/ รปู ที่ 1.4-1 Indicstor of Green cities or sustainable cities 1.5 1 ใกนร.ป5ณจ จีศุบกึSกนัษmรมาีกณกาaารรทrีศพtาํ ึใกัฒหCสษนiิ่งtาาขyแอกลงแทะาลบ้งัระรสใพิหนภาาัแฒรพลจแัดะนวดกตาลาอา่แรมงเลมรปออืะบรงบๆแะรบตเทัวบิหขศSอาm งรเรaจาrใัหดt มCกคี itวาyามรทฉเ้งัลมใานดือแใงหลระแจูตบกั า คบงิดป ซร ่ึะงตเทอศไป อตาอจนจนะี้จเละยเปไปนถเรงึ ่ือกใงานขรปสอัมงัจบผจสัาุบนอันาอรัจมมฉีณกริยา คะรวทา(Sมำmรใสูหaกึ r้สtแ่ิงhลขoะmอแลงeกแ) เลรปถะลอ่ยีสัจนภฉเรชาิยิงพอะแา(รวSมmดณลaกr้อับt มมveนรhษุ อiยcบไleดๆ) แฟตลาะัวรกขมรออะัจแงฉสเรรทิยาี่มะ าแ(Sรงmทa่ีสrุดt farm) อใาหค้มารีคอวัจาฉมริยฉะล(าSmดaใrtหb้รuู้จiักldคinิดg) ซท่ึงางตห่อลไวปงออัจาฉจรจิยะ เ(ลSmยไaปrtถhึงigกhาwรaสy)ัมรผะัสบอบาพรลมังงณาน์ อัจฉริยะ (Smart คgrวidา)มไปรจู้สนึกถงึ แเมลอื ะงทแงั้ ลเมกือเงปเลป่ียนเนมเอื ชงอิงจัอฉารริยมะณ(Sm์กับarมt cนitุษy)ยเไปดน ้ตแนละกระแสท่ีมาแรง ทใน่ีสเมุดอื ตงใอหนญนๆ ้ีจละวนเปตา็นงใเฝรฝ ื่อน งทขีจ่ อะเงปบน ้เามนอื องนัจา ฉอยรู ิยมีสะภา(พSแmวดaลrtอมhทoี่ดmี ปeร)ะชรากถรอมัจีสฉุขภราิยพะและสวัสดิ สภะาดพวทกี่ดส(ี บสSา่ิงmยแวaมดrีรtละอบvมบeใกhนาiเรcมศleือกึ )งษมาฟีคทุณา่ีดรีภม์มาีผพองั เัจมกฉือางรรทใิยชีด่ ะพี เลม(ังอื Sงงmามนอี aมัตrีปลt ักรfะษaสณrิทmแธล)ิภะามอพเี าสคกนาาหรร ขเอมนัจือสฉงงอแรัจลิยฉะะรกิยา(ะรSอจmยราาaงจrแรtททจ่ีมรีคิงตวาอมง 18สามารถทําใหปจจยั ทก่ี ลา วมาสว นใหญเปนจรงิ ได ดวการผนวกเขา กับเทคโนโลยสี มัยใหมกับการจัดการขั้นสูง และความรว มมือของภาคสว นท้ังรัฐและเอกชน เราจึงจะสามารถสรา งเมืองอัจฉรยิ ะข้ึนได ยกตัวอยา งงายๆ กอนเราจะเดินทางออกจากบานเพือ่ ไปทีท่ ํางานโดยใชทางดวนหรือทางหลวง เราก็

Smart City การพฒั นาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง building) ทางหลวงอัจฉริยะ (Smart highway) ระบบพลังงานอัจฉริยะ (Smart grid) ไปจนถึงเมืองท้ังเมือง เป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart city) เป็นตน้ ในเมืองใหญ่ๆ ล้วนต่างใฝ่ฝันที่จะเป็นเมืองน่าอยู่ มีสภาพแวดล้อม ท่ีดี ประชากรมีสุขภาพและสวัสดิภาพท่ีดี ส่ิงแวดล้อมในเมืองมีคุณภาพ การใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ การขนส่งและการจราจรที่มีความสะดวก สบาย มีระบบการศึกษาท่ีดี มีผังเมืองท่ีดี เมืองมีอัตลักษณ์และมีเสน่ห์ เมืองอัจฉริยะอย่างแท้จริงต้องสามารถทำให้ปัจจัยที่กล่าวมาส่วนใหญ่เป็น จริงได้ ด้วการผนวกเข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่กับการจัดการขั้นสูง และ ความร่วมมือของภาคส่วนทั้งรัฐและเอกชน เราจึงจะสามารถสร้างเมือง อจั ฉรยิ ะขึ้นได้ ยกตัวอย่างง่ายๆ ก่อนเราจะเดินทางออกจากบ้านเพื่อไปท่ีทำงาน โดยใช้ทางด่วนหรือทางหลวง เราก็สามารถตรวจสอบสภาพจราจรบน เส้นทางแบบเรียลไทม์ (Real Time) สามารถทราบระยะเวลาการเดินทาง (Travel time) บนเส้นทางได้ การแจ้งเตือนอุบัติเหตุ (Incident Detection) โดยเข้าไปเปิดที่เว็ปไซต์หรือแอพลิเคช่ันสำหรับรายงานสภาพ จราจรบนเส้นทางได้ 19

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมือง รูปที่ 1.5-1 ทางหลวงอัจฉบรทยิที่ ะ1 ก(ารSศmกึ ษaาแrลtะทhบiทgวhนwกาaรพyัฒ)น าและบรหิ ารจดั การเมอื งแบบ Smart City บทท่ี 1 การศึกษาและทบทวนการพัฒนาและบริหารจัดการเมืองแบบ Smart City ทีม่ า: http://nano-in-thailand.blogspot.com/2008/01/smart-highway.html ท่ีมา: http://nทa่ีมnoา-i:n-hthtatipla:n/d/n.balongosp-รionูปt-.ทtchoี่ ma1i./l5a20-n10d8./ทb01าlo/งsgหmsลaprวto-งht.iอgchจัowฉmaรy/.ิย2hะt0m0(lS8m/0a1/rstmhaigrth-hwigahyw) ay.html ขรูปองทร่ี ะ1บ.5บ-จ2ราแจสรรปูดอทงจั ี่ เ1ฉว.5ร็บ-ิย1ไะซทขดาอง์แหงลกละวาแงรอทอจั พาฉงรลพยิ ิเะิเคศ(ชSษ่ันmแสaหrำtง่ หปhรiรgับะhรเwทาaยศy)งไทานย สภาพจราจร รูปท่ี 1.5-2 แสดงเวบ็ ไซดและแอพลเิ คช่ันสําหรับรายงานสภาพจราจรของระบบจราจรอัจฉรยิ ะ แสดงเวบ็ ไซดและแขอพองลกเิ คารชทั่นาสงําพหิเรศับษรแาหยงงปานระสเภทาศพไทจยราจรของระบบจราจรอจั ฉรยิ ะ รปู ท่ี 1.5-2 ของการทางพิเศษแหงประเทศไทย 1.6 กรณีศึกษาของเมืองทจี่ ะยกระดับใหเปนเมอื งอจั ฉริยะในประเทศไทย9 1.6 กเรมณืองีศหกึ รษือจาัขงหอวงัดเมในือปงรทะี่จเทะศยไกทรยะทด่ีคับวใรหจเ ะปยนกเรมะอื ดงับอเปัจนฉเรมิยือะงใอนัจปฉระิยเะทนศ้ันไทจะยต9องมีความพรอมดวย 20ไแอมนไแแอลงมในลคงี้จะชใคะปะวทชเปทคนรรีส่เ ร่อืริดะส่ีําํา่ือะงเกแเาํคสมงงกคอลญั านงืออญับะายทอบงนยหททก่สีหหโทลี่จสี่รุดยรลจ่ีาะุดณบือายะคคาจยศีคๆคอืดัยังๆกึือดัเทหอกลษเอกยจี่ลาวือายาราะัือดเกมรางสนกใเงสือมนนําเเมนชงรือับเปชตนืออับงสรนาทงงสนะนงท่ีมน“เนนุโม่ีทๆคีุนสยโจคียวศบมจาทวาบไากาาี่มามทกรายรมกีพทยยรัฐทพาฐัทรทบไีช่ รทรอบช่ี่ีาคดันอยมาลดัเวาํมลจแใเรรนกจในลจอนกานปนะงารคปจดหยรคเวจจม”เกรวาจมัยือือามรใยัอืทงมมนะพททง้ังพดีแกรท้ังหอผัรบาอหองมรอนมเถงมยปดมทดถ่ินดกดดนาีจ่ิ่นดรังานภะเะัมงทนภเนาดททือเี่ไาคําทับด่ีคไคงเรดอคกใอเโอ หอนกกโลัจงนกเลชโสาฉมลชโนาวมรือลยนวมทิยงยแีแมาะซแีแลลๆานนติลละนะ้ี ด้ีั้นะนปะส้ี ปงัปน้ัสจาปตจรจเาธจระปอะธจาุบะชไตนารุบปชันาอรสณันาชนใณงมชนูนปใี้มานูนปทปโีครภทปโอรทวภคอระงาซคะถงเมิตคทถเ่นิ พคี้ทว่นิศซวารดศไึง่ ามดอทงัไใมนทนังตมยนตั้นื่หนยดไั้นื่นดไวัตวจดตขมยัวจึงมอัวีึงี

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง 1.6 กรณีศึกษาของเมืองท่ีจะยกระดับให้เป็นเมืองอัจฉริยะ ในประเทศไทย9 เมืองหรือจังหวัดในประเทศไทยท่ีควรจะยกระดับเป็นเมืองอัจฉริยะ น้ัน จะต้องมีความพร้อมด้วยองค์ประกอบหลายๆ อย่าง เช่น นโยบาย ที่ชัดเจน ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและสาธารณูปโภค ความตื่นตัว และ ท่ีสำคัญท่ีสุด คือ การสนับสนุนจากรัฐบาล การเมืองท้องถ่ิน ภาคเอกชน และประชาชนท้องถ่ิน ดังน้ัน จึงไม่ใช่เร่ืองง่ายท่ีจะคัดเลือกเมืองที่มีความ พร้อมในปัจจัยท้ังหมดดังที่ได้กล่าวมานี้ ปัจจุบันในประเทศไทยได้มีแนวคิด และนโยบายท่ีจะนำร่อง “สมาร์ทไทยแลนด์” ในการยกระดับให้เมือง ๆ นั้นเป็นสมาร์ทซิต้ี ซึ่งในหัวข้อน้ีจะนำเสนอกรณีศึกษาเมืองต่าง ๆ ท่ีมี การนำร่องหรือมแี ผนที่จะนำรอ่ งสมท์ ซติ ้ดี ังต่อไปนี้ 1.6.1 นครนายก – จังหวดั นำรอ่ งสมาร์ทซติ ี้ นโยบายสมาร์ทไทยแลนด์ซ่ึงขับเคลื่อนโดยรัฐบาลโดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารได้เสนอให้จังหวัดนครนายก เป็นจังหวัดแรกในประเทศไทยที่เข้าร่วมโครงการสมาร์ทไทยแลนด์น้ี วัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นข้อดีและข้อเสียของโครงการ และสามารถเป็นต้น แบบสมาร์ทซิตี้แก่จังหวัดอ่ืน ๆ ในอนาคต โดยโครงการนี้ได้วางรูปแบบให้ สมาร์ทซิตี้ต้องประกอบไปด้วยมิติต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้ เช่น เมืองน่าเที่ยวน่าอยู่ ศูนย์สุขภาพ อาหารปลอดภัย สังคม แห่งการเรียนรู้ เกษตร อาหาร สาธารณสุข การศึกษา การพาณิชย์ การบริการประชาชน และเครือข่ายเน็ตเวิร์ก และภาพรวมของโครงการ สมาร์ทไทยแลนด์จะให้ความสำคัญใน 3 เร่ืองหลักได้แก่ สมาร์ทเน็ตเวิร์ก สมาร์ทคลาวด์ และสมาร์ทคอนเทนต์ ซึ่งท้ัง 3 เร่ืองนี้ถือเป็นการให้บริการ แบบอจั ริยะ หรือสมารท์ เซอร์วสิ 9 http://www.pointthai.net/index.php?title=กรณีศึกษาของเมืองที่ควรจะยก ระดับเป็นสมาร์ทซติ ใี้ นประเทศไทย 21

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง สาเหตุที่เลือกจังหวัดนครนายกในการนำร่องน้ัน ส่วนหนึ่ง มาจากการท่ีเป็นจังหวัดท่ีไม่ใหญ่เกินไปและมีเพียง 4 อำเภอแต่ม ี ภูมิประเทศท่ีมีแตกต่างชัดเจนทั้งภูเขาและแม่น้ำ ทำให้สามารถทดสอบใน สภาวะท่ีหลากหลายได้ นอกจากน้ีจังหวัดก็มีความพร้อมด้านไอทีในระดับ ท่ีดีอยู่แล้ว เหลือเพียงแต่การช่วยให้ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้าถึง ทุกครวั เรอื น ปัจจัยหน่ึงท่ีสำคัญในการขับเคลื่อนโครงการสมาร์ทซิต ี้ ในโครงการน้ีคือความพร้อมด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างย่ิงเทคโนโลยี เครือข่ายไร้สายเพื่อที่จะได้เช่ือมโยงสัญญาณอินเตอร์เน็ตแบบไร้สายไปยัง จุดต่าง ๆ ที่สำคัญในจังหวัด ไม่ว่าจะเป็นสถานท่ีราชการ แหล่งท่องเท่ียว และสถานทีสาธารณะต่าง ๆ ประชาชนสามารถใช้บริการออนไลน์จาก ภาครัฐ ด้วยสัญญาณ Wi-Fi ฟรีตามสถานที่ต่าง ๆ เหมือนใน กรุงเทพมหานคร และเม่ือจังหวัดมีโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีท่ีสามารถ เชื่อมโยงกันได้ทั่วจังหวัด ภาคธุรกิจและเอกชนก็จะได้ประโยชน์จากจุดน้ี ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ ยังมีโครงการท่ีจะต่อยอดประโยชน์จาก สมาร์ทการ์ดในบัตรประชาชนด้วยการเพิ่มขีดความสามารถในการ เชื่อมข้อมูลต่าง ๆ ลงในบัตรประชนแบบสมาร์ทการ์ด ซ่ึงถือเป็นส่วนหน่ึง ของสมารท์ เซอร์วิสอีกดว้ ย ในส่วนของการประเมินผลน้ัน รัฐบาลได้กำหนดตัวชี้วัดท ี่ 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ หรือ จีดีพี ของจังหวัดต้องเพิ่มข้ึน และ การลงทุนต้องเพิ่มข้ึน รายได้ประชากร ต่อคนต่อปีต้องเพิ่มขึ้น การกระจายรายได้ของคนต้องลงไปสู่ฐานล่างต้ังแต่ เกษตรกร ดัชนีชี้วัดความผาสุกมวลรวมต้องเพ่ิมขึ้น ขณะท่ีค่าบริหาร จัดการภาครัฐต้องลดลง 22

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง จังหวัดนครนายกซ่ึงได้รับคัดเลือกให้เป็นจังหวัดอัจริยะ (สมาร์ทโพรวินซ์) นั้น ได้เตรียมพร้อมเพื่อท่ีจะเพิ่มขีดความสามารถด้าน การแข่งขันของชุมชนและเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนอีกด้วย จะเห็นได้ว่าจังหวัดนครนายกได้มีความพร้อมใน หลาย ๆ ปจั จยั และได้รับการสนับสนุนทั้งจากภาครัฐและเอกชน 1.6.2 ภเู ก็ต – ไอทีซิตี้ จดุ เริม่ ตน้ ของสมาร์ทซิต้ี แม้ว่ารัฐบาลได้เลือกจังหวัดนครนายกเป็นเมืองนำร่องในการ เป็นสมาร์ทซิต้ี แต่ก่อนหน้าน้ีได้แนวคิดท่ีจะเลือกจังหวัดอ่ืน ๆ ด้วย เช่น ภูเก็ต เชียงใหม่ และ ขอนแก่น ในส่วนของจังหวัดภูเก็ตนั้น รัฐบาลได้เคย วางแผนที่จะให้จังหวัดภูเก็ตเมืองไอทีหรือไอทีซิตี้ (ในสมัยนั้นปี พ.ศ. 2549 ยังไม่นิยมใช้คำว่าสมาร์ทซิตี้) ซ่ึงโครงการน้ีเป็นไปตามนโยบาย รัฐบาลและยุทธศาสตร์การพัฒนาภูเก็ต ตามแผนปฏิบัติการภูเก็ตเมือง นานาชาติโดยเน้นไปท่ีเรื่องของการให้บริการประชาชน เช่น โครงการ ให้บริการประชาชนแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว หรือ วันสตอปเซอร์วิส ซึ่งประชาชนสามารถจ่ายค่าสาธารณูปโภคทั้งค่าน้ำประปา ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ทางไกล ได้ ณ จุดเดียว รวมถึง การจ่ายค่าบริการอื่น ๆ โดย จ่ายผ่านทางเว็บไซต์ ประชาชนจะทราบจำนวนเงินที่ต้องจ่ายและสามารถ เลือกจ่ายด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การหักเงินจากบัญชีธนาคาร ซ่ึงโครงการจะ ต้องได้รับความร่วมมือจากธนาคารด้วย และรวมถึงการจ่ายเงินผ่านบัตร เครดิต ซึง่ ก็จะต้องได้รับความร่วมมอื จากสถาบนั การเงินเช่นกัน ในเร่ืองของการลงทุน ภาครัฐได้วางแผนท่ีจะสนับสนุนในเรื่อง ที่ดินและโครงสร้างพ้ืนฐาน ส่วนภาคเอกชนจะเป็นผู้นำในการลงทุนด้าน ไอที ท้ังนี้สาเหตุสำคัญท่ีเลือกจังหวัดภูเก็ตในการยกระดับเป็นไอทีซิตี้ก็คือ จังหวัดภูเก็ตเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักลงทุนต่างชาติมาลงทุน ด้านไอทีด้วย เนื่องจากจังหวัดเป็นสถานที่เหมาะท่ีจะเป็นท้ังสถานท่ีทำงาน 23

Smart City การพัฒนาและปรับใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง และพักผ่อนไปในตัว ทำให้เอกชนจากหลายประเทศสนใจท่ีจะมาลงทุน ด้านไอทีในจังหวัดภูเก็ต เช่น ญี่ปุ่น อังกฤษ สวีเดน แคนาดา เป็นต้น โดยเฉพาะอังกฤษนั้น เนคเทคได้ร่วมมือกับบริติช เคาน์ซิล เปิดสอนภาษา อังกฤษออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ ซึ่งก็ต้องได้รับความร่วมมือระหว่างท้องถิ่น และบริติช เคาน์ซิล เพราะต่อไปในอนาคต ท้องถ่ินจะต้องเข้ามา รับผิดชอบในโครงการต่าง ๆ เช่นเดียวกับกรณีศึกษาของจังหวัดนครนายก ปัจจัยที่สำคัญนอกจากความพร้อมด้านเทคโนโลยี ยังมีปัจจัยอื่น ๆ อีกอย่างเช่น ปัจจัยด้านการสนับสนุน ความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชน เป็นต้น ซ่ึงโครงการไอทีซีตี้ของจังหวัดภูเก็ต แม้ว่าจะมีความพร้อมในด้าน เทคโนโลยีและการลงทุนในช่วงแรก แต่ก็ยังประสบปัญหาเร่ืองการ ประสานงานระหว่างหน่วยงานแต่ละแห่งและความพร้อมของแต่ละ หนว่ ยงานมคี วามแตกตา่ งกัน 1.6.3 เชียงใหม่ ขอนแก่น และ จังหวัดอื่น ๆ – สมาร์ทซิต้ีที่ต่างกัน ออกไปและนิยามใหม่ “ไมซซ์ ติ ้ี” ที่ผ่านมาได้มีการวางแผนโครงการยกระดับสมาร์ทซิต้ีใน จังหวัดอ่ืน ๆ ในประเทศไทยอีกด้วย ที่จังหวัดเชียงใหม่ ได้เคยมีความร่วม มือกับเมืองเซ่ียงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในการเสนอแนวทางความ เป็นไปได้ในความร่วมมือของทั้งสองฝ่ายทางด้านซอฟต์แวร์การบริหาร ภาครัฐ โดยทางเซี่ยงไฮ้ได้ให้คำแนะนำในการพัฒนาเทคนิคซอฟต์แวร์ “สมาร์ทซิตี้” แก่คณะของจังหวัดเชียงใหม่ด้วย ซ่ึงความร่วมมือน้ีมีที่มา จากการลงนามความตกลงสถาปนาความสัมพันธ์เมืองพ่ีเมืองน้องต่อกัน ระหว่างจังหวดั เชยี งใหม่และมหานครเซ่ยี งไฮใ้ นปี พ.ศ. 2543 ในส่วนของจังหวัดขอนแก่น ได้มีการชูให้จังหวัดขอนแก่นเป็น ไมซซ์ ติ ้ี (MICE city) ซงึ่ มอี งคป์ ระกอบไดแ้ ก่ การประชมุ และการทอ่ งเทย่ี ว เพ่ือเป็นรางวัล (Meeting & Incentives) การประชุมนานาชาติ 24

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง (Conventions) และการแสดงสินค้านานาชาติ (Exhibitions) องค์ประกอบท้ังหมดน้ีของไมซ์ซิตี้น้ีจำเป็นที่จะต้องมีความพร้อมเช่นเดียว กับการยกระดับเป็นสมาร์ทซิต้ี จุดเด่นในการชูโรงจังหวัดขอนแก่น คือ ระบบจราจรอัจริยะ และ ดาต้าอนาไลติกส์ ซึ่งภาคเอกชนคือไอบีเอ็ม จะรว่ มงานกบั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เพอ่ื กำหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนพฒั นา การศึกษาเทคโนโลยีเกี่ยวกับข้อมูลขนาดใหญ่ หรือบ๊ิกดาต้า การวิเคราะห์ อนาไลติกส์ และโมบาย นอกเหนือจากจังหวัดขอนแก่น ไอบีเอ็มได้ร่วม สนับสนุนโครงการสมาร์ทซิต้ีร่วมกับจังหวัดชลบุรี เน้นด้านการท่องเที่ยว เมืองพัทยา และจงั หวัดเชยี งใหม่ เนน้ ด้านสุขอนามยั อีกดว้ ย นอกเหนือจากจังหวัดที่กล่าวมา ท้ังภาครัฐและเอกชนได้มีการ วางแผนสมาร์ทซิตี้ในจังหวัดอ่ืน ๆ บ้างแต่ได้มีวัตถุประสงค์ที่มุ่งเน้น แตกต่างกันออกไป เช่น เพ่ือพัฒนาด้านการศึกษา ด้านการท่องเท่ียว ด้านการประหยดั พลังงาน หรือ ด้านความมัน่ คง เปน็ ต้น 1.7 กรณีศึกษาเมอื งอัจฉรยิ ะในต่างประเทศ 1.7.1 Amsterdam Smart City – เนเธอแลนด1์ 0 ตัวอย่างหน่ึงที่กำลังเป็นท่ีกล่าวขานกันมากในช่วง 2-3 ปีมานี้ และเป็นตัวอย่างท่ีเมืองใหญ่ท่ัวโลกกำลังจับตามองก็ คือ โครงการ Amsterdam Smart City ซึ่งเป็นความร่วมมือร่วมใจของภาครัฐและเอกชน ท่ีจะผลักดันให้เกิดนวัตกรรมใหม่สำหรับใช้ในเมืองใหญ่ โดยโครงการน ี้ มีจุดเน้นท่ีการประหยัดพลังงาน และใช้พลังงานในเมืองให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด เพ่ือเป็นการลดการปล่อยคาร์บอนเข้าสู่ช้ันบรรยากาศ โครงการ Amsterdam Smart City นี้ประกอบด้วยโครงการย่อยๆ มากมาย ที่นำ มาทดลองใช้พร้อมๆ กัน เป็นการทดลองนวัตกรรมต่างๆ ในพ้ืนท่ีจริง 10 http://www.energythai.com/2013/smart-city-schneider-electric-event/ 25

Smart City การพฒั นาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบรหิ ารจดั การเมือง ซ่ึงฉลาดมากเพราะเป็นการทำการวิจัยโดยใช้เมืองทั้งเมืองและเป็นห้อง ทดลอง ตัวอย่างโครงการย่อยต่างๆ ในเมืองอัมสเตอร์ดัมเมื่อโครงการ ตา่ งๆ รวมกันก็จะทำให้เมอื งกลายเปน็ เมืองอัจฉริยะ C การติดต้ังระบบประหยัดพลังงานไฟฟ้าในบ้านหลายพันหลัง เพื่อช่วยลดการใช้กระแสไฟฟ้า ระบบสมาร์ทมิเตอร์ ที่ทำให้ การเก็บข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าและนำไปสู่การประหยัด พลงั งาน C การปล่อยเงินกู้ปลอดดอกเบ้ีย เพ่ือการปรับปรุงอาคารให้มีการ ลดการใช้พลังงาน เช่น การเปล่ียนฉนวนความร้อนให้เป็น ฉนวนความร้อนแบบใหม่ท่ีดีกว่าเดิม การเปล่ียนหลอดไฟ ท้ังหมดให้เป็นหลอดประหยัดพลังงาน C โครงการ Climate Street ในย่านช็อปปิ้งหลักในเมือง อัมสเตอร์ดัม มีการติดต้ังแผงโซลาร์เซลล์ มีการใช้สมาร์ มิเตอร์เพ่ือติดตามการใช้พลังงานในย่านนี้ เปล่ียนหลอดไฟ ท้ังหมดไปใช้หลอดไฟประหยัด เพิ่มประสิทธิภาพการทำความ เย็น การทำความร้อนในห้างสรรพสินค้า และร้านค้าตลอดแนว ถังขยะอัจฉริยะท่ีใช้พลังงานแสงอาทิตย์ รวมถึงมีการนำรถขยะ พลงั งานไฟฟา้ มาใชเ้ ก็บขยะ C การติดตั้งสถานีชาร์จไฟสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าท่ีจะเร่ิมมีการใช้ งานมากข้ึนในอนาคต โดยสถานีชาร์จไฟเหล่านี้เช่ือมต่อเข้ากับ ระบบอินเตอร์เน็ต รถยนต์สามารถที่จะหาสถานีชาร์จที่ใกล้ ท่ีสุดเพ่ือเติมไฟ รวมท้ังสถานภาพการใช้งาน เช่น มีที่จอด ชารจ์ วา่ งอยหู่ รือไม ่ 26

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง C จัดทำระบบรับซื้อพลังงานจากอาคารบ้านเรือนท่ีติดต้ังแผง โซลารเ์ ซลล์ และกงั หันลมผลิตไฟฟ้า นำเข้าสรู่ ะบบจำหน่าย C อาคารของรัฐบาลมีการติดตั้งระบบตรวจวัดการใช้พลังงานแบบ เรียลไทม์ และออนไลน์ เพื่อบอกให้ผู้ที่ทำงานอยู่ทราบตลอด เวลาว่ามีการใช้พลังงานอยู่เท่าไหร่ ทำให้เกิดความตระหนักใน การลดการใช้พลงั งานให้มากทีส่ ุดเท่าทท่ี ำได ้ C พัฒนาเทคโนโลยีอาคารอัจฉริยะ (Smart Building) เมืองใด ก็ตามมีอาคารแบบนี้เยอะๆ เมืองน้ันก็มีสิทธิ์เป็น Smart City ได้ง่ายข้ึน โดยในอาคารเหล่าน้ีจะมีการติดต้ัง Smart Meter, Smart Plug, Smart Lighting C การทดลองผลิตไฟฟ้าใช้เองในอาคาร โดยการใช้เซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cell) เปน็ การลดการใช้ไฟฟ้าจากระบบสง่ ของการไฟฟ้า C การทดลองใช้เรือพลังงานไฟฟ้า โดยจัดทำสถานีชาร์จไฟฟ้า สำหรับเรือจำนวน 200 แห่งตลอดชายฝ่ังของแม่น้ำ เพ่ือให้ เรือขนส่งหันมาใช้ไฟฟ้าทดแทนน้ำมันดีเซล ซ่ึงก็ช่วยทำให้ อากาศในเมอื งอัมสเตอร์ดัมสะอาดขนึ้ C Vertical Farming คือ การทดลองปลูกพืชผักสำหรับบริโภค ในเมือง โดยในอนาคตอาจจะทดแทนพืชผักที่ต้องขนส่งมาจาก ชนบทได้ เป็นการทำให้เมืองอยู่ได้ด้วยตนเอง และไม่ต้อง พึง่ พาภาคเกษตรในชนบทอกี ตอ่ ไป C โรงเรียนอัจฉริยะ (Smart School) เป็นโครงการที่ส่งเสริมให้ โรงเรียนต่างๆ ในอัมสเตอร์ดัมแข่งกันลดการใช้พลังงาน โดย ครูและนักเรียนจะช่วยกันออกความคิด และพัฒนานวัตกรรม ในการใช้พลังงานในโรงเรยี นอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 27

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมือง 1.7.2 SMART CITY VIENNA – ออสเตรยี 11 นอกจากดนตรีคลาสิกและสถาปัตยกรรมท่ีสวยงามหรูหรา ระดับโลกแล้ว กรุงเวียนนายังข้ึนชื่อในเร่ืองของความเป็นเมืองน่าอยู่ การเดินทางที่สะดวกสบาย สภาพเศรษฐกิจ การเมือง และการให้บริการ ในด้านต่างๆ ที่มีคุณภาพสูง ทำให้กรุงเวียนนาได้รับเลือกให้เป็นเมืองที่มี ความน่าอยู่ท่ีสุดในโลก (Most Livable City) โดยบริษัทที่ปรึกษา Mercer แม้ว่ากรุงเวียนนาจะได้รับเลือกให้เป็นเมืองท่ีมีความน่าอยู่ท่ีสุดในโลก แต่ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องก็มิได้หยุดย้ังท่ีจะคิดค้นแนวทางการพัฒนาและ ยกระดับด้านต่างๆ ของเมือง เพราะต่างก็ตระหนักถึงการเพิ่มข้ึนอย่าง ต่อเนื่องของปัจจัยต่างๆ ท่ีคุกคามคุณภาพชีวิตของประชาชนในเมือง เช่น การเพิ่มขึ้นของประชากร หรือการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงเป็น ที่มาของมาตรการการพัฒนาเมืองเวียนนาภายใต้ชื่อ Smart City Vienna ซ่ึงเปน็ แนวทางการดำเนินการ (Initiative) ทมี่ ผี ลบังคับใชใ้ นระยะยาว นายกเทศมนตรปี ระจำกรงุ เวยี นนาไดป้ ระกาศแผนงาน “Smart City Wien” อย่างเป็นทางการในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2001 แผนงาน ดังกล่าวเป็นการมุ่งจัดตั้งเป้าหมายในการปรับปรุงการออกแบบ การพัฒนา และยกระดับภาพลักษณ์ในทุกๆ ด้านของเมืองท่ีเก่ียวกับการ พัฒนา เช่น ด้านโครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน และคมนาคม นอกจากนี้ ยังได้พิจารณาถึงทุกภาคส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของประชากร ท้ังการทำงาน และสันทนาการอย่างเท่าเทียมกัน มีการกำหนดพันธกิจ ในการดำเนินการโครงการภายใต้ Smart City Wien ว่า 1) ต้องใช้ เทคโนโลยีท่ีล้ำสมัยท่ีสุด 2) มีการปฏิบัติตามมาตรฐานด้านระบบนิเวศ ท่ีสูง 3) มีความรับผิดชอบ ต่อสังคม และ 4) เน้นการมีส่วนรวมของ ประชาชนให้มากทสี่ ดุ 11 https://thaiindustrialoffice.wordpress.com/2015/05/30/smart-city-vienna- แนวทางการพัฒนาเมอื งข/ 28

Smart City การพัฒนาและปรับใชร้ ะบบ IT ในการบรหิ ารจัดการเมอื ง องค์ประกอบสำคัญของแผนงาน Smart City Vienna คือ การ มีส่วนร่วมของผู้ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ท้ังท่ีเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐและ จากภาคส่วนอื่นๆ ผู้ที่เก่ียวข้องสามารถเข้าร่วมการประชุมท่ีหารือในเร่ือง ท่ัวไป (general consultation) หรือเข้าร่วมการประชุมท่ีมีหัวข้อเฉพาะ ซ่ึงหัวข้อการหารือเฉพาะมีท้ังหมด 6 หัวข้อด้วยกัน คือ ด้านการพัฒนา ประชากร ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการบริหาร ด้านเศรษฐกิจ ด้านพลังงาน และด้านคมนาคม ซึ่งการหารือและสัมมนาท่ีผ่านมาได้ทำการสรุป วัตถุประสงค์ของแผนงานเป็น 3 ดา้ นดว้ ยกัน 1) เป้าหมายของวัตถุประสงค์ 3 ด้านของ Smart City Vienna C ดา้ นทรัพยากร 4 ดา้ น - พลังงาน – ลดอัตราการใช้พลังงานต่อประชากรลง ร้อยละ 40 และเพ่ิมสัดส่วนพลังงานทดแทนเป็น รอ้ ยละ 50 ภายในปี ค.ศ. 2050 - คมนาคม – ลดสัดส่วนการเดินทางโดยพาหนะส่วน ตัวให้ต่ำกว่าร้อยละ 15 สนับสนุนการเดินเท้าและ การใชจ้ กั รยาน - อาคาร – กำหนดมาตรฐานการใช้พลังงานในตึก สร้างใหม่ ใหเ้ ป็น zero-energy - ด้านโครงสร้างพื้นฐาน – รักษามาตรฐานโครงสร้าง พน้ื ฐานระดบั สูงของเวียนนา C แรงขับเคลอื่ นดา้ นนวัตกรรม 3 ดา้ น - การวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม – ผลักดัน ให้เวียนนาเป็นหนึ่งในห้าศูนย์กลางการวิจัยและ นวตั กรรมของสหภาพยุโรป ภายในปี ค.ศ. 2050 29

Smart City การพัฒนาและปรบั ใช้ระบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง - เศรษฐกิจ – ผลักดันให้เวียนนาเป็นหน่ึงในสิบ ภูมิภาคของสหภาพยุโรปที่มีศักยภาพในการซ้ือสูง (purchasing power based on per-capita GDP) และเป็นเมืองท่ีบริษัทต่างๆ และบริษัทข้ามชาติให้ ความสนใจมาตั้งสำนักงานใหญ่สำหรับเขตยุโรป ตะวนั ออกและยโุ รปตะวันออกเฉียงใต ้ - การศึกษา – มีระบบการศึกษาที่มีคุณภาพสูง มีการ สนับสนุนให้วัยรุ่นศึกษาต่อจากระดับการศึกษาภาค บังคบั C แรงขับเคลื่อนด้านคณุ ภาพชวี ิต 3 ประการ - การมีส่วนร่วมในสังคม – ประชากรในเวียนนา มีสุขภาพจิตและชีวิตที่ดี มีความปลอดภัย โดยไม่ขึ้น อยู่กับปูมหลัง สภาพร่างกาย จิตใจ รสนิยมทางเพศ และอตั ลักษณ์ทางเพศ - ดา้ นสุขภาพ – มีการดูแลด้านการแพทยท์ ่สี งู - ด้านส่ิงแวดล้อม – มีอัตราส่วนของพื้นที่สีเขียวกว่า รอ้ ยละ 50 ของพนื้ ทที่ ้งั หมด 2) โครงการต่างๆ ของ Smart City Vienna โครงการแรกของแผนงาน Smart City Vienna เป็น โครงการสัมมนาหารือวางแผนแนวทางการพัฒนาเพ่ือให้บรรลุผลท่ีตั้งไว ้ ในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว โครงการดังกล่าวเปิดโอกาสให ้ ผู้เช่ียวชาญด้านต่างๆ และ   ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับแผนได้เข้าร่วมประชุม หารือและแสดงความคิดเห็น เพื่อหาแนวทางในการเสริมสร้างและนำเอา จุดแข็งของกรุงเวียนนามาใช้ประโยชน์ โครงการดังกล่าวทำการจัดประชุม สัมมนาในสามหัวข้อ ได้แก่ “Smart Energy Vision 2050” 30

Smart City การพฒั นาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจดั การเมอื ง “Roadmap for 2020 and Beyond” และ “Action Plan for 2012- 2015” หลังจากนั้นภาคส่วนต่างๆ ขององค์กรในกรุงเวียนนาก็ได้ริเริ่ม โครงการภายใตแ้ ผน Smart City Vienna 3) การตง้ั เปา้ หมายทช่ี ดั เจนและมกี ารตดิ ตามผลดำเนนิ การ แผนงาน Smart City Vienna ได้รับการแบ่งช่วงการ ดำเนินการออกเป็นในระยะสั้น (Action Plan for 2012-2015) ระยะ กลาง (Roadmap for 2020 and Beyond) และระยะยาว (Smart Energy Vision 2050) การแบ่งช่วงดำเนินการดังกล่าวทำให้มีเป้าหมาย ท่ีชัดเจนในการขับเคล่ือนและดำเนินการ มีการหารือระหว่างภาคส่วน ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดต้ังเป้าหมายที่ทุกภาคส่วนยอมรับ เป้าหมายที่ได้รับ การจัดต้ังมีข้อผูกมัดกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (binding) ผ่านการลงนาม บันทึกความเข้าใจ (MoU) และมีความพยายามในการติดตามผลลัพธ์ท่ี เกิดขึ้น (monitoring) โดยบริษัทที่ปรึกษา TINA ได้รับมอบหมายให้เป็น ผู้ออกแบบและดำเนินการติดตามผลท่ีได้รับจะถูกนำมาหารือในท่ีประชุม เพื่อเป็นข้อมูลส่งกลับไปให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและนำไปปรับเปล่ียน เป้าหมายในการดำเนนิ การต่อไป 4) ส่ิงท่นี า่ เรียนร้จู ากโครงการ Smart City Vienna การดำเนินแผนงาน Smart City Vienna มีหลากหลาย มิติที่น่าสนใจ ผู้จัดทำรายงานขอนำเสนอหัวข้อที่น่าสนใจและน่าเรียนรู้จาก แผนงานนีใ้ นเวลาท่ีจำกัด แนวทางการรับฟังความคิดเห็นจากภาคส่วนต่างๆ การจัดการหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และการดำเนินการพัฒนาแผนงานให้เป็น รูปธรรม – ดังที่ได้กล่าวไปแล้วเบื้องต้น องค์ประกอบสำคัญของแผนงาน 31

Smart City การพัฒนาและปรบั ใชร้ ะบบ IT ในการบริหารจัดการเมอื ง Smart City Vienna คือ การมีส่วนร่วมของผู้ท่ีเก่ียวข้องกับกระบวนการ ท่ีมีความหลากหลาย วิธีการจัดการและบริหารการมีส่วนร่วมของ ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งอยา่ งมีประสิทธภิ าพเปน็ สิ่งที่นา่ เรียนรจู้ ากกรงุ เวยี นนา การดำเนินการตามกรอบนโยบายให้ประสบความสำเร็จ – ว่ากันว่าการเขียนนโยบายน้ันยากแล้ว การผลักดันให้มีการนำนโยบาย ไปปฏิบัติน้ันยากกว่า กรุงเวียนนาประสบความสำเร็จในการจัดทำกรอบ นโยบาย (Framework Strategy) และการดำเนินการนโยบายดงั กล่าว โครงการต่างๆ ในแผน Smart City ความสำเร็จท่ีเป็นรูปธรรม นั้นมีความหมายมากมายกว่าคำบรรยาย ทางผู้นำคณะอาจจะเลือกเย่ียม ชมโครงการภายใต้แผน Smart City เพ่ือเรียนรู้การดำเนินการต่างๆ เช่น Citybike Wien – ระบบจักรยานสาธารณะ หรือ Citizens’ Solar Power Plants – โรงไฟฟา้ แสงอาทติ ย์ผ่านการลงทุนโดยประชาชน 32