Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SO2015 รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์

SO2015 รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์

Description: แนวคิดทางการเมือง การบริหาร และการปกครองของพระพุทธศาสนาจากพระไตรปิฎก เอกสาร ตำราทางพระพุทธศาสนา และจากผลงานของนักวิชาการสมัยใหม่ หลักธรรมสำหรับการปกครอง และเปรียบเทียบหลักการปกครองพระพุทธศาสนากับรัฐศาสตร์กระแสหลัก
The political concepts, administration and administration of Buddhism from Tripitaka, Buddhist texts and from the academic works of modern scholars, the Buddhist principles for administration and compare the principles of Buddhist principles with mainstream political science.

Keywords: พุทธศาสตร์

Search

Read the Text Version

201 1. ภกิ ษุไมร่ แู้ ต่ทําใหม้ นษุ ย์ตายโดยไม่เจตนา (อจินตกะ) 2. ภกิ ษไุ ม่รมู้ ีความประสงคจ์ ะทาํ ใหม้ นุษย์ตาย (อจินตกะ) 3. ภกิ ษุทีเ่ ป็นบ้า (เสยี สติ) 4. ภกิ ษุทจี่ ิตฟุง้ ซา่ น (เป็นบา้ ไปชัว่ ขณะ) 5. ภกิ ษกุ ระสับกระส่ายเพราะเวทนากลา้ (ไม่รู้สกึ ตวั ) 6. ภกิ ษุเป็นตน้ บัญญัติ (อาทิกมั มิกภกิ ษ)ุ (2) องคป์ ระกอบของการฆา่ มนษุ ย์ อาบัติปาราชิกบทท่ี 3 เร่ืองภิกษุฆ่ามนุษย์หรือใช้บุคคลอ่ืนฆ่ามนุษย์ให้ตายนั้นต้องมี องค์ประกอบทีก่ ลา่ วไว้ในกถาว่าด้วยวินยั ในมงคลสตู ร ถึง 5 ประการคอื 1. มนษุ ย์น้ันยงั มีชวี ติ อยู่ 2. รูว้ ่ามนษุ ยน์ น้ั ยงั มีชวี ิตอยู่ 3. มเี จตนาฆา่ (วธกเจตนา) 4. ใชค้ วามพยายามในการฆ่า 5. มนษุ ยผ์ ู้นัน้ ตายเพราะความพยายามนัน้ ในกฎหมายอาญาของบ้านเมืองมาตรา 59 ประกอบมาตรา 288 บัญญตั หิ า้ มบุคคลฆ่ามนุษย์ มอี งค์ประกอบ 3 ประการคอื 1. มคี วามคิดในการฆ่า (มีเจตนา) 2. มีการตกลงใจในการฆา่ 3. ใหท้ ําการฆา่ มนษุ ย์ตามท่ีตกลงใจนั้น จะเห็นได้ว่า องค์ประกอบในการฆ่ามนุษย์ท้ังตามหลักพระพุทธศาสนากฎหมายของ บา้ นเมอื ง กม็ ีลักษณะและองค์ประกอบใกลเ้ คยี งกนั (3) ขอ้ ยกเว้นของกฎหมายบา้ นเมอื ง มีกฎหมายหลายมาตราเป็นข้อยกเว้นสําหรับผู้ไม่ต้องได้รับโทษตามกฎหมายอาญาใน มาตรานี้ (ม. 59 ประกอบมาตรา 288) ท่ีผู้กระทําผิดไมต่ ้องรบั โทษ มีดังนี้ 1. เปน็ คนวกิ ลจรติ (ม. 654ป.อ.) 2. ทําดว้ ยความจําเป็นเพราะถกู บังคับ (ม. 67 ป.อ.) 3. ทาํ เพ่อื ปอ้ งกันสิทธขิ องตนหรือของผู้อ่ืนพอสมควรแก่เหตุผล (ม. 68 ป.อ.) 4. ทําตามคําสง่ั อนั ชอบดว้ ยกฎหมาย (ม. 70 ป.อ.) 5. มึนเมาเพราะเสพสุรา หรือสิ่งมึนเมาอย่างอื่น โดยไม่รู้ว่าส่ิงน้ันเป็นส่ิงมึนเมาหรือถูกขนื ใจใหเ้ สพ (ม. 66 ป.อ.) (คณะกรรมการตาํ ราแหง่ ชาติ, 2526)

202 (4) เจตนารมณข์ องการบญั ญตั พิ ระวนิ ยั (ศีล) พระวินัย (ศีล) กําหนดหรือข้อบังคับสําหรับใช้กับพระภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร อุบาสก อุบาสกิ า เช่นเดียวกับการบญั ญตั กิ ฎหมายของบ้านเมือง พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติพระวินัยข้ึน โดยอาศัยอํานาจสงฆ์เป็นใหญ่ สําหรับป้องกันความ เสียหายและชกั จงู ให้ประพฤตใิ นทางดงี ามเหมือนกันหมด การบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้าน้ัน แตกต่างจากการบัญญัติกฎหมายของทาง บา้ นเมือง กล่าวคอื เมอ่ื เหตเุ กดิ ข้นึ แล้วพระองค์จงึ ทรงบญั ญัตพิ ระวินัยในทา่ มกลางสงฆ์ การบัญญตั ิพระวินัยของพระพทุ ธเจา้ นน้ั ประกอบดว้ ย 1. พรอ้ มหนา้ สงฆ์ 2. พรอ้ มหนา้ วัตถุ 3. พร้อมหน้าธรรม 4. พร้อมหนา้ บุคคล วธิ ีระงบั อธิกรณท์ เ่ี รียกวา่ สมั มขุ าวนิ ยั กล่าวโดยสรุปแล้วเจตนารมณ์ของการบัญญัติ พระวินัย ก็ไม่แตกต่างไปจากบัญญัติ กฎหมายของทางบา้ นเมอื งแตอ่ ย่างใด (5) วัตถปุ ระสงค์ของการบัญญตั กิ ฎหมายและการบัญญตั พิ ระวนิ ยั วัตถุประสงค์ของการบัญญัติกฎหมายและพระวินัย ก็เพื่อให้มีเสรีภาพให้มีอิสรภาพให้มี ภราดรภาพ โดยสรุปก็คือให้อยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกัน จัดเป็นแผนภูมิแล้ว เจตนารมณ์ของการ บญั ญตั กิ ฎหมายจะได้ดงั นี้

203 กฎหมาย เสรีภาพ สมภาพ อสิ รภาพ ภราดรภาพ เสถียรภาพ สนั ติภาพ สทิ ธิ หนา้ ท่ี กฎหมายของบ้านเมอื งบัญญตั ขิ ึน้ เพอื่ ควบคมุ พฤตกิ รรมไดเ้ พียงกาย วาจา เทา่ นนั้ สําหรับพระพุทธศาสนา มีพระธรรมวินัยที่ควบคุมพฤติกรรมทางใจ ได้ลึกซ้ึงกว่ากฎหมาย บ้านเมืองนอกจากนั้นทรงบัญญัติศีลธรรม (พระธรรมวินัย) ข้ึนเพ่ือเป็นเครื่องรักษากาย วาจา ให้ เปน็ กฎเกณฑ์เดียวกัน และภายใตพ้ ระธรรมวินยั และธรรมบัญญัตินี้ พระภิกษุสงฆ์จะมีเสรีภาพ สม ภาพ อิสรภาพ เสถียรภาพ และสันติภาพได้บทบัญญัติ แห่งศีลธรรมเดียวกันท้ังสิ้น หากจะเป็น แผนภมู ิก็น่าจะเปน็ ดังนี้ (คณะกรรมการตาํ ราแหง่ ชาติ, 2526)

204 พระวนิ ยั บญั ญตั ิ (ศลี ) เสรีภาพ สมภาพ อิสรภาพ ภราดรภาพ เสถียรภาพ สันตภิ าพ สีลสามญั ญตา ความสงบสุขขัน้ (ความเสมอกันใน โลกตุ ตรโลก) ศลี วรรณะ 4 อนจิ จงั ทุกขัง อนัตตา (ไม่ใช่ตวั ตน) กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร (ไม่เทีย่ ง) (ทนอยู่ใน ในสภาพเดิมไม่ได)้ ทิฏฐสิ ามญั ญตา ภิกษสุ มณศากยบุตร (ความเสมอภาคกันในความเห็น)

205 สภาพทางพระพุทธศาสนาในทางธรรมะ มีความลึกซ้ึงกว่ากฎหมายบ้านเมืองลงไปอีก กล่าวคือ สรรพส่ิงไม่ว่าจะเป็นสิ่งมีชีวิต มีความเสอมภาคกันตามหลักไตรลักษณ์ (ลักสามัญ ลกั ษณะ)หมดท้งั สน้ิ และหลักพระพุทธศาสนาน้ัน หากจดั ใหเ้ ป็นแผนภูมอิ ีกชัน้ หนึ่งเพือ่ ความเข้าใจ งา่ ยก็จะจดั ได้ดงั นี้ พระพุทธศาสนา พระวินัยหรือศลี ข้อบงั คับกาย วาจา ธรรม คือ ข้อปฏบิ ัตทิ างจติ ใจ จฬู ศลี มชั ฌิมศีล มหาศีล ปริยัติ ปฏบิ ตั ิ ปฏิเวธ (การศกึ ษาเลา่ เรยี น (การปฏบิ ัตทิ าง (การรู้แจง้ พระธรรมวินัย สมถ วปิ ัสสนา แทงตลอด ศลี สมาธิ ปญั ญา) ในปรยิ ตั ิ และในขอ้ ปฏิบตั ิจนบรรลุ มรรคผลนพิ พาน ศีล 5 ศีล 8 ศลี 10 ศลี 227 (นติ ยศีลสําหรับ (อโุ บสถศีล (สาํ หรบั สามเณร) (สาํ หรับพระภิกษุ) ชาวบ้านทัว่ ไป) สําหรบั อบุ าสถ อุบาสกิ า ศีล 311 (สําหรับพระภกิ ษุณ)ี

206 อยา่ งไรก็ตาม สาํ หรับความมุง่ หมาย เน้นหนกั ไปทางกฎหมายสาธารณะแนวพทุ ธศาสตร์ ในดา้ นพทุ ธศาสตร์ ซ่งึ มีพระภกิ ษุทีม่ าจากพื้นเพที่แตกต่างกันในด้านวินยั การศกึ ษา สภาพ สังคม และเศรษฐกจิ จําเป็นจะตอ้ งมีพระวินัยเป็นเคร่ืองมือในการปกครองใหป้ ระพฤติปฏบัติอยู่ใน กรอบเดยี วกนั พระอุบาลีได้รับยกย่องวา่ เอตทัคคะ คอื ถือว่าเป็นยอดแห่งพระภกิ ษสุ งฆ์ ผทู้ รงพระวินัยไม่ มพี ระภิกษสุ งฆร์ ูปอ่นื เทยี บได้ แบบแผนของพระวินัยดังเดิมท่ีพระสงฆ์ทําสังคยนานั้นเรียกว่า พระบาลี ถือเป็นหลักฐาน ช้ัน 1 ปกรณท์ พ่ี ระอาจารย์ภายหลงั รจนาแก้อรรถแหง่ พระบาลีน้ันเรยี กวา่ อรรถกาจัดเป็นหลักฐาน ชน้ั 2 ปรณ์ ทพี่ ระอาจารยท์ ั้งหลายแต่งแกห้ รืออธิบาย เพิ่มอรรถกถาเรียกว่าฎกี า ท่ีเพม่ิ เรยี กว่า อนุ ฎกี า จัดเปน็ หลักฐานชนั้ 3 และชนั้ 4 ตามลําดบั (6) พระวนิ ัย แบ่งออกเป็น 2 สว่ น ไดแ้ ก่ 1. อาทพิ รหมจรยิ กาสิกขา 2. อภสิ มาจาริกาสิกขา พุทธบัญญัติท่ีต้ังไว้เรียกว่า พุทธอาณา จัดเป็นกฎหมายเป็นส่วนสําคัญที่พระสงฆ์ต้องสวด ทุกก่งึ เดือน เรียกวา่ พระปาฏโิ มกข์ พระพุทธเจา้ ทรงอยู่ในฐานะเป็นพระธรรมราชา ผปู้ กครองพระภิกษุสงฆเ์ ป็นพระสังฆบิดร ผู้ดูแลพระสงฆ์และทรงเป็นสังฆปริณายก คือ ผู้นําในหมู่พระภิกษุสงฆ์ และทรงเป็นสังฆปริณายก คอื ผ้นู าํ ในหมู่พระภิกษสุ งฆ์ (7) สภาพบงั คับทางอนาคารยิ วินยั สภาพบังคบั ของทางพทุ ธศาสตร์ ในเม่ือภกิ ษุตอ้ งอาบตั แิ บง่ เปน็ 3 ประเภท 1. ขาดจากความเปน็ พระภกิ ษเุ ปน็ โทษอยา่ งหนักเปรียบเหมอื นต้องประหารชีวิต 2. อยปู่ รวิ าสกรรม เป็นการลงโทษตน 3. ประจานตอ่ หน้าภกิ ษุรูปอืน่ สําหรบั สิกขาบทที่เรียกว่าพระวินยั น้ัน แบง่ ออกเป็นมูลบัญญัติ หากมกี ารแกไ้ ขในภายหลัง เรียกว่า อนุบัญญัติ ไม่มีผลย้อนแก่ภิกษุต้นบัญญัติ คือ พระภิกษุท่ีเป็นต้นเหตุให้บัญญัติดพระวินัย เหมือนกฎหมายก็ไม่มีผลย้อนหลังในทางเปน็ โทษแก่ผกู้ ระทําผิด ซึ่งจดั เป็นแผนภูมิได้ดังน้ี

207 สิกขาบท มลู บญั ญตั ิ อนุบัญญตั ิ สภาพบังคับทางพุทธศาสนาน้ัน เม่ือต้องรับโทษอย่างกลางแล้ว ต้องถูกดําเนินคดีตาม กฎหมายสาธารณะ ของบ้านเมืองอีก เช่น ฆ่ามนุษย์ นอกจากนั้นยังต้องรับผลของกรรมตามหลัก ทาํ ชว่ั ไดช้ ว่ั สรุป ได้ว่า สภาพบังคับตามพระพุทธศาสนา พระภิกษุกระทําผิดน้ัน ได้รับโทษหนักกว่า ทางนิติศาสตรก์ ล่าวคอื 1. ตอ้ งไดร้ ับโทษทางศาสนา 2. ตอ้ งได้รับโทษทางกฎหมาย 3. ตอ้ งได้รบั โทษตามหลักกรรม สภาพบังคับทางกฎหมายสาธารณะเป็นแบบรูปธรรม คือ เห็นได้ด้วยตา ส่วนสภาพบังคับ ทางพระพทุ ธศาสนา ส่วนใหญ่จะเปน็ แบบนามธรรม มักจะไม่เห็นด้วยตา แตจ่ ะเหน็ ดว้ ยใจท่เี รยี กว่า ปฏสิ าร คอื ความเดือดร้อนใจ วิธีญัติสิกขาบทหรือบัญญัติพระวินัยของพระพุทธเจ้า พระองค์ทรงใช้วิธีประชุมสงฆ์โดย ตรัสถามภกิ ษผุ กู้ อ่ เหตุให้ทลู รบั แล้วทรงชโ้ี ทษในการประพฤตเิ ช่นน้ัน (8) ประเภทของอาบตั ิ อาบตั ินน้ั มี 2 ประการคอื 1. อเตกิจฉา เช่น อาบตั ิปาราชกิ ภกิ ษตุ ้องเขา้ แล้ว 2. สเตกิจฉา (9) อาบตั ิน้ันมชี อ่ื 7 ชนดิ 1. ปาราชกิ มีโทษอย่างหนัก 2. สงั ฆาทเิ สส มโี ทษอย่างกลาง 3. ถลุ ลัจจยั ปาจิตตยิ ะ ปาฏเิ ทสนียะ ทกุ กฎ ทพุ ภาษิต มโี ทษอย่างเบา

208 (10) อาบัตทิ ้งั 7 นัน้ จดั เป็นแผนภมู ไิ ดด้ งั น้ี อาบตั ิ ปาราชิก สังฆาทเิ สส ถุลลจั จัย ปาจติ ติยะ ปาฏิเทสนยี ะทุกกฎ ทพุ ภาษิต (11) อาการต้องอาบัติ อาการต้องอาบัติหรือลักษณะการกระทําความผิด ข้อห้าม คือ พระวินัยบัญญัติน้ัน ทาง พระพทุ ธศาสนาชใี้ หเ้ หน็ วา่ มลี ักษณะตา่ งๆกนั ถึง 6 ลักษณะ เขียนเปน็ แผนภูมิไดด้ งั รูปนี้

209 อาการต้องอาบัติ 6 อย่าง ตอ้ งดว้ ยไม่ ตอ้ งดว้ ยไมร่ ู้ ตอ้ งดว้ ยสงสยั ต้องดว้ ยสําคญั ต้องดว้ ยสําคญั ตอ้ งดว้ ย ละอาย แล้วขืนทําลง ว่าควรมอง ไมค่ วร ว่าไมค่ วร ลมื สติ ของที่ควร รอู้ ยวู่ า่ ผดิ มพี ทุ ธบัญญัติ สงสยั วา่ ทาํ อยา่ ง เน้ือสัตวท์ ีไ่ ม่ เนอ้ื สตั ว์ท่ีใช้ น้ําผ้งึ เมือ่ รับ พุทธบญั ญัติ หา้ มแตไ่ มร่ ู้ นน้ั ๆ ผิดพระพทุ ธ ใชเ้ ป็นอาหาร เป็นอาหารได้ ประเคนเกบ็ ไว้ แต่ก็ยังทาํ จึงทําผดิ พระ บญั ญัตหิ รอื ไม่ เปน็ เนื้อต้อง ไม่เป็นเน้ือตอ้ ง ฉันได้ 7 วนั พทุ ธบญั ญัติ แตข่ ืนทําลงไป ห้ามไม่ใหฉ้ ัน แล้วหา้ ม แต่ แต่ลมื ไป จน หากการกระทาํ แตส่ าํ คญั ว่าเป็น สําคัญวา่ เนื้อ พน้ 7 วัน แลว้ นั้นผดิ พระพทุ ธ เน้อื ที่ฉนั เป็น ตอ้ งห้ามไม่ นาํ มาฉนั บญั ญัติกต็ ้อง อาหารได้ ให้ฉัน แล้วฉัน อาบตั ติ ามวัตถุ แลว้ กัน นัน้ ๆ หากไมผ่ ิด ก็ต้องอาบัตทิ กุ กฎ เพราะสงสยั แลว้ ขืนทาํ ลงไป ตามหลักพระพุทธศาสนา ท่ีได้นํามาชี้ให้เห็นนี้แสดงว่า พระพุทธเจ้าได้ทรงป้องกัน ไม่ให้ สาวกของพระองค์อ้างเอาอุบาย หรือเสแสร้งในการต้องอาบัติไว้อย่างรอบคอบ เช่น จะอ้างว่าไม่รู้ ไม่ไดท้ ้ังสนิ้ กฎหมายบ้านเมืองก็เช่นเดียวกัน ไม่ยกเว้นโทษให้แก่บุคคลผู้อ้างว่าไม่รู้ว่ามีกฎหมาย บัญญัติไว้ว่า เป็นความผิด กฎหมายถือว่า ทุกคนต้องรู้กฎหมาย กฎหมายตามมาตรา 64 บัญญัติว่า

210 บคุ คลจะแกต้ วั วา่ ไม่ร้กู ฎหมายเพื่อพ้นจากความผิดในทางอาญาไม่ได้ มิฉะนนั กจ็ ะอ้างเอาความไม่รู้ กฎหมายมาเป็นข้อแกต้ วั ในเม่อื กระทาํ ผดิ ท้งั ๆที่มกี ฎหมายระบุไวแ้ จง้ ชัดแลว้ (12) สมฏุ ฐาน คอื ทางให้เกดิ อาบตั ิ ในทางพทุ ธศาสนา ไดก้ ลา่ วถึง สมุฏฐาน คอื ทางใหเ้ กิดอาบตั ไิ ว้ในสมฏุ ฐาน 6 ประการ 1. เกดิ ลาํ พงั กาย 2. เกดิ ลําพงั วาจา 3. เกิดจากกายกับจติ 4. เกดิ จากวาจากบั จิต 5. เกิดจากกายกบั วาจา 6. เกดิ จากวาจาและจิต จะเห็นได้วา่ ทางพระพุทธศาสนา ไดเ้ จาะลึกเขา้ ไปถึงสมุฏฐานที่ทําให้เกดิ ความผดิ เกดิ การ ทําชัว่ ไว้อยา่ งละเอยี ดวา่ มีสมุฏฐานเกดิ ข้นึ อย่างไร (13) อธิกรณ์ ตามหลกั พระพุทธศาสนามี 4 ประเภท 1. วิวาทาธกิ รณ์ 2. อนวุ าทาธิกรณ์ 3. อาปัตตาธิกรณ์ 4. กจิ จาธกิ รณ์ พุทธศาสนา อธกิ รณ์ หรือกรณีทเ่ี กิดขน้ึ จะไม่นอกเหนือไปจากกรณีท้ัง 45 ประเภท (14) วิธรี ะงบั คดี พระพุทธเจ้าได้ทรงประทานวิธีระงับอธิกรณ์ หรือคดีท่ีเกิดข้ึนเรียกว่า อธิกรณสมถะไว้ 7 ประการ ดังน้ี 1. วธิ สี ัมมุขาวินัย 5. เยภุยยสิกา 2. วิธสี ติวินยั 6. ตัสสปาปียสกิ า 3. อมูฬหวนิ ัย 7. ติณวัตถารกะ 4. ปฏญิ าตกรณะ

211 (15) วธิ รี ะงับอธิกรณ์ คอื มลู กรณีทเ่ี กดิ ขึ้น 7 ประการหรือวิธีระงับคดีท้งั 4 ประการ อธกิ รณ์ วิวาทาธิกรณ์ อนวุ าทาธกิ รณ์ อาปัตตาธิกรณ์ กิจจาธิกรณ์ ระงับด้วย ระงบั ดว้ ย ระงับด้วย ระงับด้วย สัมมุขาวนิ ัย เยภุยยสิกา สัมมขุ าวินัย สติวนิ ัย อมูฬหวนิ ยั ตัสสปาฯ สัมมขุ าวินัย สัมมุขาวินัย ปฏญิ ญาตกรณะ ติณวตั ถารกะ พร้อมหนา้ พรอ้ มหน้า พร้อมหน้า พรอ้ มหน้า สงฆ์ บุคคล วตั ถุ ธรรมวนิ ัย สงฆ์ บุคคล วตั ถุ ธรรมวนิ ยั สงฆ์ บุคคล วัตถุ ธรรมวินยั สงฆ์ บคุ คล วัตถุ ธรรมวนิ ัย ตามแผนภูมิจะเห็นได้ว่า การสอบสวนหรือการพิจารณาพิพากษาคดี (อธิกรณ์) ที่เกิดน้ัน ตอ้ งทําทา่ มกลางสงฆ์ สาํ หรบั กฎหมายบา้ นเมืองนนั้ ไม่ไดจ้ ัดคดี ที่เกิดขึ้นเป็นหมวดหมู่ กฎหมายและวินยั ศาสนาจึงควรจะใชค้ วบคกู่ นั ไปในสงั คม เพื่อใหส้ งั คมเกดิ สนั ติสุข

212 การแก้ปัญหาสังคมเพ่ือไม่ให้เกิดความยุ่งยากเดือดร้อน ทางท่ีดีที่สุด คือ บุคคลต้อง ชว่ ยกันปฏิบัตติ ามกฎหมายของบ้านเมอื งตามวนิ ัยของศาสนา (16) โทษทางพระพุทธศาสนา 2 ประเภท 1. โทษทางโลก (โลกวัชชะ) 2. โทษทางธรรม (ปณั ณตั ิวชั ชะ) ในกรณพี ระภกิ ษุทาํ ผดิ วินัยกเ็ ป็นผดิ แต่เฉพาะทางธรรมวินยั เท่านน้ั ไมผ่ ิดทางโลก ในกรณีเป็นความผิดในทางโลก (โลกวัชชะ) เช่น ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 208 บัญญัติว่า ผู้ใดแต่งกายหรือใช้เครื่องหมายที่แสดงว่าเป็นภิกษุสามเณร นักพรตหรือนักบวชใน ศาสนาใดโดยมิชอบ เพ่ือบุคคลอ่ืนเชอื่ ว่าตนเป็นบคุ คลเช่นว่านั้น ตอ้ งระวางโทษจําคกุ ไม่เกินหน่ึงปี หรือทัง้ จําทง้ั ปรบั (17) กระบวนการตดั สินลงโทษทางพระวินัย พระพุทธศาสนาน้ันนอกจากจะมีการยกย่องผู้ควรยกย่อง (ปัคคัยหะ) แล้วยังมีวิธีการ ลงโทษ 1. ตชั ชนียกรรม 2. นิยกรรม 3. ปพั พาชนียกรรม 4. ปฏสิ ารณียกรรม 5. อุเขปนยี กรรม (18) การลงโทษ(นิคคหะ) อีกประการหนึ่ง สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดท้ รงนิพนธ์ไว้ในวนิ ัยมุขเล่มท่ี 3 วา่ นอกจากวธิ ีการลงโทษภกิ ษุ 5 ประการแลว้ ยังลงโทษวธิ อี ื่นอี 3 ประการ คือ 1. วธิ นี าสนา 2. วิธีลงทัณฑกรรม 3. วิธปี ระณาม การกระทาํ ผิดพระวินยั เป็นไดท้ ้งั มเี จตนา และไม่มเี จตนา ในทางพระพุทธศาสนากล่าวว่า การจะต้องอาบัติหรือการทําผิดวินัยน้ันไปได้ทั้งมีเจตนา และไม่มเี จตนา ซงึ่ เรียกตามศพั ทพ์ ระพุทธศาสนาวา่ สจิตตกะ (มีเจตนา ) และอจิตตกะ(ไม่มเี จตนา) มเี จตนา เชน่ เจตนาลักทรพั ย์ เจตนาฆา่ มนษุ ย์ ไมม่ เี จตนา เช่น รบั ประเคนนา้ํ ผ้งึ ไวแ้ ลว้ พน้ 7 วัน นํามาฉันอกี ต้องอาบตั ิปาจิตตยี ์ พระไตรปิฎก แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น

213 ในพระไตรปิฎก 45 เลม่ น้ัน ตัง้ แต่เลม่ ท่ี 1 ถงึ เลม่ ที่ 8 จัดเป็นพระวนิ ยั ปิฎก ได้แก่ ศีล ต้ังแต่เล่มท่ี 9 ไปจนถึงเล่มท่ี 33 รวม 25 เล่ม จัดเป็นพระสุตตันตปิฏก ว่าด้วยพระสูตรหรือ ชาดก ตัง้ แตเ่ ลม่ ท่ี 34 ไปจนถงึ เลม่ ที่ 45 รวม 12 เลม่ จดั เปน็ พระอภธิ มั มปฎิ ก พระวินัยตามหลักพระพุทธศาสนาก็มีลักษณะกว้าง คล้ายคลึงกับนําเอากฎหมาย รฐั ธรรมนญู กฎหมายปกครองมารวมกันไว้ กฎหมายรัฐธรรมนูญ ถอื เป็นกฎหมายสูงสดุ ของประเทศ กฎหมายปกครองมีลักษณะเข้าได้กับลักษณะการจัดระเบียบการปกครองในหลัก พระพทุ ธศาสนาทีจ่ ดั แบ่งเปน็ ฝ่าย (19) หลกั เกณฑ์ของการยกเลิกหรือแกไ้ ขพระวินัยบัญญัติ พระพุทธเจ้าทรงประทานหลกั เกณฑไ์ ว้ท่ีเรียกวา่ มหาประเทศ 4 คือ 1. สิ่งใดไมไ่ ดท้ รงห้ามไว้วา่ ไม่ควร แตเ่ ขา้ กนั ไดก้ บั ส่งิ ทไี่ ม่ควร 2. สิ่งใดทไี่ ม่ไดท้ รงหา้ มไว้วา่ ไมค่ วร แต่เขา้ กันได้กับสงิ่ ท่คี วร 3. สง่ิ ใดไมไ่ ด้ทรงอนญุ าตไวว้ ่าควร แต่เขา้ กนั ไดก้ บั สงิ่ ที่ไมค่ วร 4. สิง่ ใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เขา้ กันกับส่ิงทีค่ วร ข้อเสนอที่ประชุมสงฆ์พจิ ารณา (พุทธานุญาต) ข้อเสนอน้ีได้แก่ข้อเสนอขึ้นโดยอานนทใ์ น การทําสังคายนาครั้งที่ 1 โดยพระมหากัสสปะประกาศบัญญัติในท่ามกลางสงฆ์ว่าให้งดถอน สิกขาบทเล็กน้อยเสีย เพื่อป้องกันการกล่าวอา้ ง พระพทุ ธานุญาตน้แี ล้ว ถอื เอาเป็นเหตกุ อ่ นสิกขาบท เพราะมเี หตุผลว่าเม่อื พระพุทธเจ้านิพพานแล้ว พระธรรมวินัยน้ันจะเป็นศาสดาแทน (คณะกรรมการ ตาํ ราแห่งชาต,ิ 2526)

214 9. สรปุ บทท่ี 7 การเสนอกฎหมายสาธารณะในส่วนที่เข้ากันได้หรือใกล้เคียงกับหลักพระพุทธศาสนานี้มี วัตถุประสงค์เพ่ือเสนอหลักการที่เป็นคุณประโยชน์แก่มนุษย์ชาติไม่เฉพาะกฎหมารยไม่ว่าจะเป็น กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หรือกฎหมายจารีตประเพณี (Unawritten Law or Customary Law) หรอื ลายลักษณ์อกั ษร (Written Law) ย่อมมีความประสงคเ์ พื่อประโยชน์สขุ ของมวลมนุษย์ ข้อสรุปพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตอนหนึ่งในโอกาสเปิดประชุม ใหญ่ ลอว์ เอเซีย ณ โรงแรงดุสิตธานี เม่ือวันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม 2524 ซึ่งมีค่าอย่างมหาศาลต่อ ขบวนการยตุ ธิ รรมดังนี้ จุดประสงค์ใหญ่ของนิติศาสตร์น้ัน คือ การอํานวยความยตุ ิธรรมถกู ต้องอย่างเสมอหน้าแก่ ประชาชนใหท้ ุกคนได้อยรู่ ่วมกนั โดยสงบ เสมอภาค และเป็นระเบยี บเรยี บร้อย การแก้ไขพระวินัยบัญญัติน้ันในการทําสังคายนาคร้ังที่ 1 ซ่ึงมีพระมหากัสสปะเป็น ประธานสงฆม์ ีพระอบุ าลเี ป็นผู้ตอบ (วสิ ัชชนา) พระวนิ ยั พระอานนทเ์ ป็นผู้ตอบพระธรรม โดยพระ มหากัสสปเป็นผู้ถามทั้ง 2 ประเด็น ท่ามกลางพระอรหันต์สงฆ์500 รูปที่เมืองราชคฤห์ หลังจากท่ี พระพุทธเจา้ ปรินพิ พานแล้วได้ 3 เดือน มูลเหตุของการทําสังคายนา เน่ืองจากพระสุภัททะ ผู้บวชเม่อื แก่ กลา่ วจาบจ้วงพระพุทธเจ้า และพระธรรมวินัยภายหลงั พระพุทธเจ้าปรินิพพาน ต่อไปนี้จะไม่มผี ู้ใดห้ามไม่ให้ทําส่ิงนั้นสิง่ น้ีอีก ตอ่ ไปแลว้ ใครอยากทาํ อะไรก็ทาํ ตามใจชอบ จงึ รวบรวมทาํ สงั คายนาดังกล่าว ในการทําสังคายนาครั้งน้ี ได้มีการยกปัญหาท่ีพระพุทธเจ้าทรงประทานอนุญาตไว้ว่า หาก ภิกษุประสงค์จะถอนสิกขาบทเล็กน้อยก็ให้ทําได้ พระมหากัสสปจึงประชุมสงฆ์ทําสังคายนา หาก ไม่ใช้อํานาจสงฆ์งดการถอดสิกขาบทเล็กน้อยแล้ว ต่อมาภายหลังก็อ้างกันว่า สิกขาบทน้ันก็เป็น สิกขาบทเล็กน้อยเสียเถิด พระธรรมวินัยก็จะพลันสูญหายไปจากโลก ความประพฤติของสงฆ์ก็จะ นอกธรรมนอกวินัยกันไปใหญ่ ประชาชนก็จะเส่ือมความเล่ือมใสศรัทธา ความอ่อนตัวในมหา ประเทศ4ทก่ี ล่าวแล้ว อีกประการหน่ึงผู้บัญญัติกฎหมายกับผู้บัญญัติพระวินัยก็มีความแตกต่างกัน กล่าวคือ วินัย บัญญัติพระผู้ทรงบัญญัติให้เป็นผู้หมดกิเลส เป็นพระอรหันต์ เป็นผู้บริสุทธิ์ จิตใจสูงส่งแล้ว ผู้ บัญญตั ยิ งั มีโลภา โกธร หลง ยังมีกิเลสอยา่ งหนาแน่น ฉะนน้ั กฎหมายจึงต้องมกี ารแกไ้ ขขอ้ กฎหมายอย่เู สมอ เพ่ือให้เหมาะสมกับกรณที เี่ กดิ ข้นึ ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายสาธารณะกับพระพุทธศาสนา จากท่ีมาของกฎหมายตาม แนวคิดของสํานักอังกฤษ ถือว่าศาสนาเป็นท่ีมาของกฎหมายประการหนึ่ง ในบทความนี้จะเน้น เฉพาะหลักการในพระพุทธศาสนาทเี่ รียกวา่ พทุ ธศาสตรเ์ ทา่ น้ัน

215 ทั้งกฎหมายสาธารณะและหลักพระพุทธศาสนา ต่างก็เป็นข้อกําหนดที่ต้องการให้ ประชาชนและพระภิกษสุ งฆ์ประพฤติปฏิบัตใิ นส่ิงท่ีควรประพฤตปิ ฏิบัติ พรอ้ มกับมขี ้อกาํ หนดหรือ มีสภาพบงั คบั ไวด้ ้วย หากผูใ้ ดฝ่าฝืนก็จะได้รับโทษและผลร้ายเป็นเครื่องตอบแทน กฎหมายสาธารณะ กับพระพทุ ธศาสนาก็มคี วามสัมพันธเ์ ก่ียวข้องกัน คือ 1. กฎหมายสาธารณะกบั พระพทุ ธศาสนาตา่ งมีอทิ ธพิ ลต่อกนั 2. กฎหมายสาธารณะกับพระพุทธศาสนา ย่อมคํานึงถึงกัน กฎหมายสาธารณะก็คุ้มครอง พระพุทธศาสนา เช่นให้หลักประกันเสรีภาพในการนับถือและเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตาม ความเชอ่ื ของตน เก่ียวกับสถาบันตุลาการ ตามแนวพุทธศาสตร์ดังกล่าวมาแล้วทั้งหมดจะเห็นได้ว่า มี บางอยา่ งท่มี ลี กั ษณะคล้ายกับสถาบันตุลาการของฝา่ ยอาณาจักร แตก่ ม็ ีหลายอยา่ งท่มี ีลักษณะเฉพาะ ตามพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา ลักษณะที่เหมือนกันหรือคล้ายกันก็คือ การมีกฎหรือ ระเบียบของสังคมท่ีวางไว้ เพ่ือเป็นบรรทัดฐานแห่งการกระทําหรือความประพฤติของบุคคลใน สังคมป้องกันไม่ให้มีการกระทําหรือความประพฤติท่ีเป็นปฏิปักษ์ต่อความสงบสุขของสังคม ฝ่าย อาณาจักรมีกฎหมายเป็นหลักของการปกครอง ส่วนทางฝ่ายพุทธจักรก็มีพระธรรมวินัยเป็นหลัก แหง่ ความประพฤตขิ องผู้อยู่ในสังคมบรรพชิต แต่กเ็ ปน็ ธรรมดาของสังคมใหญท่ ม่ี ีบุคคลอยรู่ วมกัน เป็นจํานวนมาก ย่อมมีท้ังคนดีและคนไม่ดี เม่ือมีกฎหรือระเบยี บของสังคมก็ยอ่ มมีบุคคลไม่ดีฝ่าฝนื หรือละเมิดกฎของสังคม ทางฝ่ายอาณาจักรก็ก่อให้เกิดคดีขึ้น ทางฝ่ายพระพุทธจักรก็เกิดมีอธิกรณ์ ข้ึน ฝ่ายอาณาจักรเมื่อเกิดมีคดีขึ้นก็ย่อมมีกระบวนการในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี และมี วิธีการลงโทษผู้กระทําความผิดตามควรแก่โทษานุโทษ ทางฝ่ายพุทธจักรเม่ือเกิดมีอธิกรณ์ข้ึนก็มี กระบวนการในการระงับอธิกรณ์และมีวิธีการลงโทษตามควรแก่โทษานุโทษเช่นกัน แต่ลักษณะ ของโทษท่ีภิกษุกระทําผิดได้รับตามพระวินัย กับโทษที่บุคคลผู้กระทําผิดกฎหมายของบ้านเมือง ได้รับนั้น แตกต่างกันและเปรียบเทียบกันยาก เพราะสังคมบรรพชิตหรือนักบวชเป็นสังคมที่มี รูปร่างแตกต่างไปจากสังคมของฆราวาส มีกฎระเบียบของสังคมแตกต่างกนั การกระทําบางอยา่ งที่ บรรพชติ ทําแล้วมีความผดิ อยา่ งร้ายแรง ฆราวาสทําอย่างน้ันอาจจะไม่ผิดเลย เชน่ ความสัมพันธ์ทาง เพศกับเพศตรงข้าม สําหรับฆราวาสเป็นเร่ืองธรรมดาและธรรมชาติหากเป็นการปฏิบัติที่ไม่ผิด ทํานองครองธรรมก็ไม่เป็นความผิดหรือความเสียหายแต่อย่างใด แต่ถ้าภิกษุปฏิบัติในทํานอง เดียวกันก็เป็นความผิดร้ายแรง ถึงกับขาดจากความเป็นภิกษุและกลับบวชใหม่ไม่ได้อีกตลอดไป อน่ึง สงั คมบรรพชิตนอกจากจะต้องปฏบิ ัติตามกฎระเบียบของสงั คมของตนแล้ว ยังต้องปฏิบัติตาม กฎหมายของบ้านเมืองด้วย การกระทําบางอย่างของผู้เป็นภิกษนุ อกจากจะผิดพระวินัยพุทธบัญญัติ แล้ว ยงั ผดิ และตอ้ งรับโทษตามกฎหมายของบา้ นเมืองดว้ ย เช่น การฆ่าคน และการลักขโมยเปน็ ตน้

216 สถาบนั ทางการเมอื งตามแนวพุทธศาสตร์ ดังได้กล่าวมาแลว้ ไดแ้ บง่ ออกเปน็ 3 สถาบนั คอื สถาบันนิติบัญญัติ สถาบันบริหาร และสถาบันตุลาการ การแบ่งเช่นน้ีได้อนุโลมตามการแบ่ง สถาบันทางการเมืองท่ีสําคญั ออกเป็น 3 สถาบันตามหลักวิชารัฐศาสตร์ แต่ผู้อ่านคงจะเห็นแล้วว่ามี บางเรอื่ งหรือบางอย่างเท่าน้ันทม่ี ลี ักษณะคล้ายกัน บางเร่อื งเพยี งพอจะเทียบเคียงกันได้โดยนัย แต่ก็ มีหลายเรือ่ งทมี่ ีลักษณะเฉพาะของพระพุทธศาสนา ซึง่ ไม่อาจเทียบเคียงกบั หลกั การและวิธกี ารของ วิชารัฐศาสตร์ท่ีเกี่ยวกับระบอบการปกครองทางโลกได้ การพิจารณาเรื่องสถาบันทางการเมืองตาม แนวพทุ ธศาสตรเ์ ชอ่ื มโยงกับสถาบนั ทางการเมอื งตามแนวรฐั ศาสตร์ จงึ ทาํ ได้ในขอบเขตจาํ กัด

217 แบบฝึกหดั ตอบคําถามประจาํ บทที่ 7 1. จงช้ีแจงรายละเอียดความเป็นมาของกฎหมายและความหมาย 2. กฎหมายแบง่ เปน็ กี่ประเภทแต่ละประเภทมคี วามหมายว่าอย่างไร ? จงอธบิ าย 3. จงอธบิ ายขอบข่ายของกฎหมายมหาชนมาดูโดยสังเขป 4. กฎหมายมคี วามสมั พันธ์กับวชิ ารฐั ศาสตร์อยา่ งไร จงชแ้ี จง 5. อะไรคือ เจตนารมณ์ในการบัญญตั ิกฎหมาย 6. คําว่า สภาพบงั คบั ของกฎหมายสาธารณะมคี วามหมายอยา่ งไร? จงช้ีแจง 7. จงอธิบายความหมายและเหตผุ ลของคําว่า กฎหมายมหาชนตามแนวพุทธศาสตร์ 8. จงอธบิ ายกระบวนการบญั ญตั ิพระวนิ ัย โดยสงั เขป 9. จงเปรียบเทียบผู้กระทาํ ผดิ ไมต่ อ้ งรบั โทษทางกฎหมายบ้านเมืองและทางพระวินัย มกี ่ปี ระเภท 10.จงชแี้ จงวตั ถุประสงคก์ ารบัญญตั ิกฎหมายทางฝา่ ยอาณาจกั รและการบัญญตั พิ ระวนิ ัยทางฝ่าย ศาสนจกั รมาดูโดยสังเขป

218 การอ้างองิ วารี นาสกลุ , และ อคั รเดช มณภี าค. (2545). หลกั กฎหมายมหาชน. กรงุ เทพฯ: สาํ นักพิมพ์ฟิลสไตล์. พระไตรปฎิ กฉบับสยามรฐั เลม่ ท่ี 1. (2523). มหามกุฏราชวิทยาลยั , พระไตรปิฎกฉบบั สยามรฐั เลม่ ที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกฏุ ราชวิทยาลัย. สง่า ลีนะสมติ . (2554). กฎหมายอาญา. กรงุ เทพฯ: สํานักพิมฑ์โอเดยี้ นสโตร์. วารี นาสกุลและคณะฯ. (2545). ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั กฎหมายท่วั ไป. กรงุ เทพฯ: เอส.พ.ี วี.การ พิมพ.์ สภาวิจัยแหง่ ชาต.ิ (2545). ความร้ใู นทางนิตศิ าสตร.์ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ฟลิ สไตล์. สกุ ิจ ชัยมสุ ิก. (2553). พระพทุ ธศาสนาในมิติประชาธปิ ไตย. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พม์ หามกุฏราช วทิ ยาลัย. สุขสําราญ สมบูรณ์. (2527). พทุ ธศาสนากบั การเปลี่ยนแปลงทางการเมอื งและสงั คม. กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . เสถยี ร โพธนิ นั ทะ. (2512). เมธีตะวนั ออก, . กรงุ เทพฯ: ธนบุรี : โพธส์ิ ามตน้ . อานนท์ อาภาภิรมย์. (2528). รัฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น. กรงุ เทพฯ: สํานกั พมิ พ์ โอเดียนสโตร์,. คณะกรรมการตาํ ราแหง่ ชาต.ิ (2526). รัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั พิมพก์ ราฟคิ อาร์ต.

219 บทท่ี 8 พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์ (Political Party and Interesting Groups) 8.1 แนวคิด (Concept) เป็นการศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดการรวมกลุ่ม อุดมการณ์ วตั ถุประสงค์ ความเหมอื นความ ต่างการรวมกลุ่มเพื่อผลประโยชน์ทางการเมือง กับการรวมกลุ่มเพ่ือผลประโยชน์ทางศาสนาเป็น ความพยายามนําแนวคิดทฤษฎีทางการเมืองมาอธิบายแนวคิด ถึงปรากฏการณ์และเหตุผลเชิง ประจกั ษ์ 8.2 เนื้อหาประจาํ บทเรียน 8.2.1 ความเป็นมาและความหมาย 8.2.2 ประเภทของพรรคการเมืองหรือการรวมกลมุ่ 8.2.3 อุดมการณแ์ ละวัตถุประสงคข์ องกลุ่ม 8.2.4 พรรคการเมอื งตามทศั นะพทุ ธศาสนา 8.2.5 ความหมายและประเภทของกล่มุ ผลประโยชน์ 8.3 วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 8.3.1 อธบิ ายและวิเคราะห์แนวคดิ การรวมกลุม่ ทางการเมืองหรือพรรคการเมืองได้ 8.3.2 อธิบายและวคิ ราะห์แนวคิดเกยี่ วกบั กลมุ่ ผลประโยชน์ทางการเมอื งได้ 8.3.3 อธิบายและวิคราะห์บทบาท แนวคิด การรวมกลุ่มทางการเมืองและการรวมกลุ่มผล ประโยชน์ตามทศั นะพุทธศาสนาได้ 8.4 กจิ กรรมการเรียนการสอน 8.4.1 บรรยาย/อภปิ ราย 8.4.2 ตงั้ ประเด็นปัญหาและแสวงหาคําตอบรว่ มกัน 8.4.3 สรุปเอกสารประกอบคาํ บรรยายแตล่ ะคาบ 8.4.4 นาํ เสนอผลการคน้ อิสระประจาํ กลมุ่ ท่ผี ู้สอนกําหนดให้

220 8.5 ส่ือการเรยี นการสอน 8.5.1 เอกสารประกอบการสอน 8.5.2 คอมพวิ เตอร์ (Power Point) 8.5.3 วีดิทศั น์และภาพยนต์ทเี่ ก่ียวข้องกบั กิจกรรมทางการเมอื ง 8.5.4 ทศั นศกึ ษานอกสถานท่ี 8.6 สารตั ถะวิชาพรรคการเมอื งและกล่มุ ผลประโยชน์ตามแนวพทุ ธศาสตร์ 1) ความเป็นมาและความหมายเกี่ยวกับพรรคการเมือง 2) หน้าท่แี ละบทบาทของพรรคการเมือง 3) การจดั องค์กรพรรคการเมอื ง 4) ชนดิ ของพรรคการเมือง 5) พรรคการเมอื งตามทศั นะของพุทธศาสนา 6) ความหมายของกลมุ่ ผลประโยชน์ 7) กลมุ่ ผลประโยชน์ตามแนวพทุ ธศาสนา 8) สรปุ บทที่ 6 8.7 แบบฝกึ หัดตอบคาํ ถามประจาํ บทท่ี 8

221 1. พรรคการเมอื ง (Political Party) พรรคการเมอื ง (Political Party)เปน็ สถาบนั ทางการเมืองท่มี คี วามสําคัญอยา่ งยงิ่ สําหรับการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตย ท้ังนเ้ี พราะพรรคการเมืองเป็นเสมือนสะพานที่เชื่อมระหว่างภาค ประชาชนกับภาครัฐบาลท่ีทําหน้าที่บริหารปกครอง พรรคการเมืองเป็นสถาบันทางการเมืองท่ีมี ความชอบธรรม ในการคัดเลอื กตวั แทนในรูปแบบการเลือกต้งั (Election) เพือ่ ให้ได้บคุ คลหรือกลุ่ม บุคคลเข้าไปทําหน้าท่ีในการจัดสรรทรัพยากรและผลประโยชน์ของสังคม แต่ทั้งน้ีมิได้หมายความ ว่า เฉพาะการปกครอ งระบอบประชาธปิ ไตยเท่าน้ันทจ่ี ะมีพรรคการเมอื งได้เพราะในความเป็นจริง พรรคการเมืองเป็นสถาบันทางการเมืองท่ีมีอยู่ในการปกครองระบอบอื่นด้วยเช่นกัน เพียงแต่ วัตถุประสงค์ บทบาท และหน้าที่ของพรรคการเมืองของแต่ละระบอบการเมืองอาจมีความแตกต่าง หลากหลายกันไป 2. ความเป็นมาและความหมายของพรรคการเมือง คําว่า “พรรคการเมือง” (Political Paity) มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน จากคําว่า “Pars” แปลว่า “ส่วน” (Part) จากความหมายของคําว่าส่วน “ส่วน” (Part) นั้นทําให้เราทราบว่า พรรค การเมอื งหมายถึง “สว่ นของประชาชน” นั่นเอง ดงั นน้ั พรรคการเมืองจงึ มีความหมายว่า ประชาชน ของรัฐมีสิทธิอันชอบธรรมที่จะได้รับการแบ่งออกเป็น “ส่วน” (Part) ความคิดเห็นของเขาในด้าน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ก็เพ่ือท่ีจะต้องการให้เกดิ ประโยชน์กับเขาในฐานะทเี่ ป็นเจ้าของ ประเทศอย่างแทจ้ ริง แม้ว่าจะเป็นพรรคการเมืองในประเทศที่มีระบบการเมืองแบบเบ็ดเสร็จ (Totalita-rianiem) เช่น พรรคคอมมิวนิสต,์ พรรคนาซี, พรรคฟาสซสิ ตเ์ ป็นต้น ซ่ึงพรรคการเมืองเหล่านี้มแี นวนโยบาย สรา้ งความเข้มแขง็ และความเปน็ อันหน่งึ อันเดียวกันของคนในชาติ ตลอดจนตอบสนองเจตนารมณ์ ของรฐั มตี ามพรรคการเมอื งกย็ งั คงมีรากฐานในแนวความคิดของ “ส่วนของประชาชน” นัน่ เอง แจ็ค ซี ปลาโน (Jack C. Plano) และมิลตัน กรีนเบิร์ก (Miton GreenBerg) ได้ให้คําจํากัด ความของพรรคการเมืองไว้ว่า พรรคการเมือง คือ กลุ่มของบุคคล ซ่ึงมีการตกลงกันในการกําหนด มาตรการทางอุดมการณ์บางประการ และได้จัดต้ังขึ้นเป็นองค์การ เพื่อชนะการเลือกต้ังและจัดต้ัง รัฐบาล และเพื่อดําเนินนโยบายสาธารณะ นิวแมนน์ (Neumann, 1956: 395-397) นิยามพรรคการเมืองว่า เป็นองค์การของกลุ่ม ตัวแทนทางการเมืองท่ีเข้าแข่งขันกับกลุ่มหรือพรรคการเมืองอื่นๆ ท่ีมีแนวความคิดท่ีแตกต่างไป จากตนเพ่ือให้ได้มาซ่ึงการสนับสนุนจากประชาชนโดยท่ัวไป โดยมีจุดประสงค์ควบคุมอํานาจ รฐั บาล

222 กูดแมน (Goodman, 1956: 6-8) อธิบายพรรคการเมืองว่าเป็นองค์การท่ีมีสมาชิกท่ีมี ลกั ษณะคล้ายคลงึ กันมาอยู่รว่ มกนั โดยมีเจตนาเปิดเผยในการท่ีจะลงแขง่ ขันทางการเมืองด้วยวิธีการ เลือกตงั้ เพอื่ ให้ได้ชยั ชนะ และสามารถท่จี ะเขา้ ไปใช้อํานาจรัฐบาล อนั จะทําให้มสี ทิ ธิใ์ นการบรหิ าร ปกครอง เพื่อผลประโยชน์จากการได้มาซ่ึงอํานาจทางการเมืองนนั้ ลา พาลอมบารา และวายเนอร์ (La Palimbara and Weiner, 1966: 28-30) ชี้ว่า พรรค การเมืองเป็นองค์การท่ีจัดต้ังข้ึนเพื่อแสวงหาการสนับสนุนจากประชานโดยส่วนรวม เพ่ือให้ได้มา ซง่ึ อํานาจในรัฐบาลไมว่ ่าจะเป็นการได้มาซงึ่ อํานาจ ในรฐั บาลทง้ั หมดหรือเพยี งบางสว่ นกต็ าม จากคําจํากัดความนี้จะเห็นได้ว่า การรวมกลุ่มเป็นพรรคการเมืองของบุคคลนั้นจะต้องมี มาตรการ “ข้อตกลงทางอุดมการณ์” (Political Measurement) เช่น ต้องมีความเชื่อม่ันในลัทธิ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ในแนวทางอย่างกว้างๆ คล้ายคลึงกัน เพ่ือท่ีจะชนะการเลือกต้ังและ เป็นรัฐบาล เพอ่ื ทจ่ี ะไดน้ าํ เอาเจตจํานงอันเป็นนโยบายของพรรคการเมอื งของตนไปบริหารประเทศ ตอ่ ไป โมริช ดูแวร์แยร์ (Maurice Duverger) นักรัฐศาสตร์ชาวฝร่ังมีความเห็นว่าพรรคการเมือง เกิดจากการรวมกันของกลุ่มต่างๆ ของประชาชน เช่น กลุ่มกรรมกร กลุ่มชาวนา กลุ่มนายทุน ฯลฯ ซึ่งเป็นกลุ่มผลประโยชน์ กลุ่มเหล่าน้ีไม่มีความประสงค์ท่ีเข้าไปเป็นรัฐบาล หากแต่สนับสนุน พรรคการเมืองเพ่ือจะให้พรรคการเมืองรับผลประโยชน์และความต้องการของกลุ่มตนไปเป็น นโยบายของพรรคการเมืองท่ีจะเป็นรัฐบาลต่อไป ดังน้ันกลุ่มต่างๆเหล่าน้ีจึงมีส่วนทําให้เกิดพรรค การเมืองอยา่ งมาก เชน่ กลุม่ กรรมกรในอังกฤษไดเ้ ปน็ สว่ นสําคัญท่กี ่อกําเนิดพรรคแรงงาน (Labour Party) ในตน้ ศตวรรษท่ี 20 เปน็ ตน้ แม็กซ์ เวเบอร์ (Max Weder) นักรัฐศาสตร์ชาวเยอรมันทม่ี ีชื่อเสียงกลา่ วว่า พรรคการเมือง เป็นการรวมตัวกันเป็นสมาคมภายในชุมชนทางการเมืองซ่ึงมีการเปิดรับสมัครอย่างเป็นทางการ และทั่วไป โดยมีความมุ่งหมายเพื่อท่ีจะเข้าไปบริหารประเทศ จากแนวความคิดของแม็กซ์ เวเบอร์ น้ีเอง ทําให้เราทราบว่าพรรคการเมืองมาจากกลุ่มผลประโยชน์ภายในสังคมดังน้ันกลุ่มต่างๆล้วน เป็นต้นกําเนิดของพรรคการเมืองท้ังสิ้น จากคําจํากัดความต่างๆของนักรัฐศาสตร์กล่าวมาข้างต้น เราอาจให้คําจํากดั ความโดยสรุปได้ว่า “พรรคการเมือง หมายถึงกลมุ่ ของบคุ คลท่ีรวบรวมกนั ข้ึนมา เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มหรือคณะบุคคลมีความคิดเห็นในแนวทางกว้างๆ ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม คล้ายคลึงกันและมุ่งหมายที่จะเป็นรัฐบาลเพ่ือนําเอานโยบายของพรรค การเมอื งของตนเขา้ ไปบรหิ ารประเทศ จากความหมายของพรรคการเมืองตามทีไ่ ด้กล่าวมาขา้ งต้นนส้ี ามารถแยกองคป์ ระกอบของ พรรคการเมอื งออกได้ 5 ประการ ดังตอ่ ไปน้ี คอื

223 1) ต้องเป็นกลุ่มหรือคณะบุคคล หมายความว่า บุคคลเพียงคนเดียวก่อตั้งพรรคการเมือง ขึ้นมาไม่ได้ จะต้องเป็นกลุ่มของบุคคลเสมอไป ส่วนจํานวนสมาชิกกลุ่มจะมีมากน้อยเพียงใดนั้น ไม่มีกฎเกณฑ์กําหนดจํานวนไว้แต่อย่างใด แต่โดยท่ัวไปกลุ่มจะต้องมีจํานวนมากเพียงพอที่จะ กลายเป็นพรรคการเมืองที่เขม้ แข็ง ซึ่งจะทาํ หน้าทข่ี องพรรคการเมอื งไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2) สมาชิกกลุ่มมีความคิดเห็นคล้ายคลึงกัน หมายความว่า สมาชิกของกลุ่มหรือคณะ บุคคลทมี่ ารวมกนั เกดิ จากทีพ่ วกเขามคี วามคิดเหน็ ทางการเมือง เศรษฐกจิ และสังคมในแนวกว้างๆ คล้ายคลึงกัน เช่น ความต้องการท่ีจะมีนโยบายแบบเสรีนิยมหรือสังคมนิยมเหมือนๆกนั อย่างไรก็ดี สมาชิกกลุ่มอาจมรี ายละเอียดแตกต่างกันได้ เช่น การมีความเข้มข้น ของการมีระบบเศรษฐกิจแบบ เสรนี ยิ ม หรือสงั คมนิยม เป็นต้น ซึ่งสมาชิกตอ้ งไปถกเถยี งแก้ไขกนั เพื่อแก้ไขนโยบายภายในพรรค การเมืองของเขาเอง 3) สมาชิกรวมตัวกันโดยสมัครใจ หมายความว่า การท่ีมารวมกันเป็นพรรคการเมืองของ บุคคลก็เพราะว่าเขามองเห็นความสําคัญของการรวมตัวของการเป็นพรรคการเมือง กล่าวคือ พรรค การเมืองเกิดจาก “การรวมตัว” มิใช่ “ก่อต้ัง” ดังน้ัน การท่ีจะมีการบังคับให้รวมตัวเป็นพรรค การเมืองย่อมจะไม่ถือว่าเป็นพรรคการเมืองตามความหมายนี้ จากแนวคิดนี้เอง ที่ทําให้หลาย ประเทศไม่มีกฎหมายพรรคการเมือง เช่นสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝร่ังเศส สวิสเซอร์แลนด์ ฯลฯ เพราะเขาถือว่าในการปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญซ่ึงเป็นกฎหมายสูงสุดได้บัญญัติ ถึงสิทธิและเสรีภาพของประชาชนท่ีจะรวมตัวกันเป็นพรรคการเมืองได้อย่แู ล้ว จึงไม่จําเป็นต้องไป ออกกฎหมายเพื่อ “จัดตั้ง” พรรคการเมอื งข้นึ มาอีก อันจะมีลกั ษณะของการ “บบี บังคบั ” 4) สมาชิกต้องการใช้พรรคการเมืองในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน หมายความว่า สมาชิกมา รวมกันเป็นพรรคการเมืองเพราะต้องการให้พรรคการเมืองแก้ไขปัญหาให้เขาได้ ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ไม่ใช่มารวมกันเป็นพรรคการเมืองเพราะเหตุผลอื่น เช่น ต้องการใกล้ชิดกับหัวหน้าพรรคการเมือง ต้องการค้าขายกับพรรคการเมือง ฯลฯ เป็นต้น ดังนี้ พรรคการเมืองจึงเกิดข้ึนจากความต้องการในการรวมตัวของบุคคลต่างๆ เพราะบุคคลเหล่าน้ี ต้องการทจ่ี ะเข้ามาแก้ไขปัญหาต่างๆ และการนาํ ข้อกําหนดนโยบายปกครองประเทศรว่ มกัน 5) ต้องการเป็นรัฐบาล หมายความว่า สมาชิกดังกล่าวต้องการท่ีจะนําเอานโยบายของ พรรคการเมืองของตนไปเป็นนโยบายของรัฐบาลเพอ่ื บริหารประเทศ แต่ถ้ายังมิได้มจี ํานวนสมาชิก ของพรรคการเมืองได้รับการเลือกต้ังเข้าไปในสภามากเพียงพอ ที่จะเป็นรัฐบาลได้ ก็จะทําหน้าท่ี เป็นพรรคฝ่ายค้านไปก่อน เพื่อรอโอกาสเป็นรัฐบาลต่อไป ในขณะเดียวกันเป็นพรรคฝ่ายค้านก็จะ ทําหน้าที่ชี้แนะข้อบกพร่องในการบริหารรัฐบาลให้ไปดําเนินการแก้ไข ผลประโยชน์ท่ีได้รับก็จะ ตกอย่กู ับประชาชน

224 3. หนา้ ทแี่ ละบทบาทของพรรคการเมือง พรรคการเมืองมีหน้าท่ีและบทบาทสําคัญยิ่งในระบอบประชาธิปไตย ผู้เขียนของแบ่ง หนา้ ท่แี ละบทบาทของพรรคการเมืองออกได้เปน็ 3 ประการคอื 1) หน้าท่แี ละบทบาทท่วั ไป 2) หน้าทีแ่ ละบทบาทในฐานะองค์การสาธารณะ 3) หน้าที่และบทบาทในฐานะฝ่ายค้าน 1. หนา้ ทแี่ ละบทบาททัว่ ไป หน้าท่แี ละบทบาทของพรรคการเมืองอาจแยกกล่าวได้ดังต่อไปน้ี คอื 1) หน้าท่ีให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน สถาบันแต่ละสถาบันย่อมมีความ เหมาะสมในการทําหน้าที่แตกต่างกัน เช่น โรงเรียนและมหาวิทยาลัยมีความเหมาะสมในการให้ ความรู้ในสาขาวิชาการต่างๆทั่วไป วัดเป็นสถานที่เหมาะสมในการส่ังสอนอบรมศีลธรรมของ ประชาชนท่ัวไป สถาบนั ราชการเหมาะสมในการสรา้ งนักปฏิบัติงานท่ีดี ฯลฯ อย่างไรก็ดี สถาบันที่ เหมาะสมในการทําหน้าที่ให้ความรู้ทางการเมืองมากท่ีสุด ก็คือ พรรคการเมืองน่ันเอง พรรค การเมืองจะอธิบายให้ประชาชนเห็นว่าการแก้ปัญหาของประเทศชาติควรทําอย่างไร โดยนําเอาข้อ เท็จจริงมาเผยแพร่ให้ทราบในการหาเสียงเลือกตั้ง พรรคการเมืองจะนําเอาปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมที่กําลังอยู่ในความสนใจของประชาชน ท้ังนี้ เพราะพรรคการเมืองมีประสบ การณ์ในปัญหาของบ้านเมืองมากมาย จึงเป็นสถาบนั ที่เหมาะสมท่ีจะทําหน้าที่ให้การศึกษาทางการ เมอื งกบั ประชาชนมากกว่าสถาบนั อ่นื 2) หน้าท่ีสรรหาบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการเป็นตัวแทนของประชาชนในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย พรรคการเมืองจะทําหน้าท่ีในการคัดเลือกบุคคลผู้มีความรู้ความ สามารถในการเป็นตัวแทนของประชาชน โดยการตรวจสอบประวัติ ผลงานที่เคยอุทิศต่อสังคม ส่วนรวมในอดีตความรู้ความสามารถฯลฯ ซ่ึงจะทําให้ประชาชนไม่ต้องมาเสียเวลาศึกษาผล งาน ของ ผู้สมัครรับเลือกต้ังแต่ละคน ซึ่งจําทําให้เสียเวลาเป็นอันมาก และบางครั้งก็อาจจะไม่ได้ความ จริง เพราะผสู้ มัครมักจะโฆษณาโอ้อวดเกินความจริงไปก็ได้ เพราะเป็นการหาเสยี งทางการเมืองใน กรณีเช่นน้ี พรรคการเมือง จะทําหน้าท่ีในการสรรหาบุคคลผู้ที่มีความรู้ความสามารถเป็นตัวแทน ของพรรคท่ีจะไปให้ประชาชนเลือกต้ัง ประชาชนคงคํานึงถึงแต่เพียงว่า ตนจะศรัทธานโยบายของ พรรคการเมืองใดเท่านั้น โดยไม่ต้องกังวลถึงคุณสมบัติของผู้สมัครเพราะพรรคการเมืองจะทํา หนา้ ท่แี ทนอยูแ่ ล้ว

225 3) หนา้ ทีป่ ระสานประโยชนข์ องกลุ่มอิทธพิ ล และกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆโดยท่ัวไปกลุ่ม อิทธิพลและกลุ่มผลประโยชน์ จะมีบทบาทในการสร้างอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะของรัฐบาล เช่น การนัดหยุดงานของสหภาพแรงงาน การเดินขบวนประท้วงของกลุ่มนิสิตนักศึกษาฯลฯ เพื่อ เรียกร้องให้รัฐบาลหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐบาลปฏิบัติการในผลประโยชน์ของตนท่ีต้องการ ในกรณี เช่นน้ี พรรคการเมืองจําทําหน้าที่ประสานผลประโยชน์ของกลุ่มอิทธิพลและกลุ่มผลประโยชน์ ต่างๆได้เปน็ อย่างดี 4) หน้าที่ในการระดมสรรพกําลังทางการเมือง พรรคการเมืองจะทําหน้าท่ีเป็นศูนย์กลาง พลังทางการเมือง เพราะพรรคการเมืองเป็นท่ีรวมของกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ และประชาชนที่มี ความคิดเห็นทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในแนวทางกว้างๆ คล้ายคลึงกันเพื่อมุ่งหวังที่จะ เป็นรัฐบาลพรรคการเมืองจึงเป็นที่รวมในการระดมสรรพกําลังต่างๆ เพื่อให้เกิดอํานาจต่อรอง เรยี กรอ้ ง และรวบรวมความคิดเหน็ จากประชาชนและกลุม่ ประโยชนต์ า่ งๆ 5) หน้าที่ในฐานะฝ่ายค้าน ในระบอบประชาธิปไตย พรรคการเมืองที่มีสมาชิกของพรรค ได้รับเลือกต้ังน้อยและไม่สามารถจัดตั้งรัฐบาลได้ ก็จะทําหน้าที่เป็นฝ่ายค้าน หน้าที่ของฝ่ายค้านน้ี ถือว่าเป็นสิ่งสําคัญสําหรับระบอบประชาธิปไตย เพราะจะทําหน้าท่ีเสมือน “กระจกเงา” ให้รัฐบาล ได้ทราบว่ามีสิ่งใดที่รัฐบาลบริหารงานขาดตกบกพร่องไปบ้าง หรือมีสิ่งใดท่ีรัฐบาลควรทําเพิ่มเติม เพ่อื ให้บงั เกดิ ผลดีกับประชาชนผเู้ ปน็ เจา้ ของประเทศ 6) หน้าที่ในการเป็นศูนย์กลางของกลุ่มผลประโยชน์และสมาชิกพรรคการเมือง พรรค การเมืองจะทําหน้าที่เสมือน “เวที” (Stage) ของสมาชิกต่างๆของพรรคการเมืองทั้งท่ีเป็นกลุ่ม ผลประโยชน์ที่สนับสนุน และสมาชิกบุคคลธรรมดาของพรรคการเมืองในการระบายความอัดอั้น ตนั ใจของตน นาํ ไปสกู่ ารตกลงกนั ด้วยสนั ติวิธกี ่อนที่จะนาํ ปัญหาต่างๆ ไปอภปิ รายกันในสภาพรรค การเมืองจึงเป็นศูนย์กลางในการประสานงานและสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างสมาชิกกับพรรค การเมือง 7) หน้าท่สี ร้างผูน้ าํ ทางการเมือง พรรคการเมืองเปน็ สถาบันทีส่ รา้ งและฝึกฝนผ้นู ําทางการ เมืองที่ เพ่ือผลิตออกไปเป็นนักการเมืองอาชีพ (Professional Politicians) ท่ีมีความสามารถและ พร้อมที่จะกําดงตําแหน่งผู้นําทางการเมืองในระดับต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น นายก รัฐมนตรี รัฐมนตรี ประธานาธิบดี ผู้ว่าการมลรัฐ นายกเทศมนตรี เทศมนตรี ฯลฯ สถาบันที่มีความเหมาะสม ในการสร้างผู้นําทางการเมือง มากที่สุด ก็คือ “สถาบันพรรคการเมือง” นั่นเอง เพราะสถาบันอื่นใด เช่น สถาบันราชการ กลุ่มผลประโยชน์ สถาบันการศึกษาฯลฯล้วนแต่มีความเหมาะสมไม่เท่ากับ พรรคการเมืองในการสร้างผู้นาํ ทางการเมืองเราจะเห็นวา่ ในประเทศประชาธปิ ไตย บรรดาผนู้ ําทาง

226 การเมอื งคนสําคัญๆ ลว้ นผ่านการฝึกฝนความเป็นผู้นาํ ทางการเมืองจากําพรรคการเมอื งของเขาแทบ ทง้ั สิ้น 2. หนา้ ท่แี ละบทบาทในฐานะองคก์ รสาธารณะ ในฐานะองค์กรสาธารณะ พรรคการเมืองทําหน้าท่ีรวบรวมและทําให้ความคิดเห็นของ ประชาชนเกีย่ วกับปัญหาสาธารณะต่างๆมนี าํ้ หนักน่ารบั ฟังมากขึ้น เชน่ ปัญาหาการทาํ มาหากินของ ราษฎร ปัญหาอาชญากรรมท่ีคุกคามความสงบเรียบร้อย ฯลฯ เพราะพรรคการเมืองจะเสนอแนว นโยบายท่ีดีที่สุดสําหรับเขา จึงทําให้ประชาชนสามารถมองเห็นประโยชน์และความสําคัญของ พรรคการเมอื งได้มากข้ึน ดงั นน้ั ถ้าปราศจากการมีพรรคการเมืองแล้ว ประชาชนย่อมมองเห็นลู่ทาง ในการแก้ปัญหาสาธารณะซึ่งมีผลกระทบต่อเขาได้ยากลําบากขึ้น เพราะไม่มีพรรคการเมืองซง่ึ เปน็ สถาบนั ของประชาชนมาช่วยชีแ้ นะแนวทางแกไ้ ขปญั าหาสาธารณะดงั กลา่ ว อาจกล่าวได้ว่า พรรคการเมืองในสายตาประชาชนเป็นเสมือน “ตัวรวม” ในการกําหนด นโยบายของพรรคการเมือง ข่าวสารทางการเมืองจะผ่านสู่ประชาชนโดยทางพรรคการเมือง และ ประชาชนสามารถที่จะใช้พรรคการเมืองเพื่อประโยชนท์ ่ีตนจะต้องทุกข์หรือเรยี กร้องข้อเสนอไปสู่ รฐั บาล ดงั น้นั พรรคการเมืองจึงเป็นเคร่งื มือเชื่อมระหวา่ งราษฎรกับรัฐบาล จึงอาจกลา่ วได้ว่า พรรค การเมืองเป็นเสมือนสื่อประสานระหว่างประชาชนท่ีมีแนวความคิดคล้ายคลึงกันในด้านต่างๆ เข้า ด้วยกนั นน่ั เอง 3. หนา้ ทแี่ ละบทบาทในฐานะฝ่ายคา้ น นอกจากพรรครัฐบาล พรรคฝ่ายค้านก็มีความสําคัญในการทําหน้าท่ีตามระบบประชาธปิ ต ยกล่าวคือ พรรคฝ่ายค้านจะทําหน้าท่ีท้วงติงและคัดค้านมิให้รัฐบาลใช้อํานาจเกินขอบเขตของ กฎหมาย และแนวนโยบายท่ีได้แถลงไว้กับสภา อีกท้ังยังเป็นการป้องกันมิให้เกิด “ลัทธิเผด็จการ ทางรัฐสภา” ข้ึนได้อีกด้วย พรรคฝ่ายค้านจึงเป็น “ตัวแทน” ของประชาชนในการสะท้อนความคิด เห็นของประชาชนฝ่ายเสียงข้างน้อย ในระบบประชาธิปไตย ถือว่าเสียงข้างน้อยของประชาชน ย่อมจะต้องได้รับการคุ้มครองอย่างเท่าเทียมกันกับฝ่ายเสียงข้างมาก นอกจากน้ี คะแนนนิยมของ ประชาชนย่อมเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ดังน้ัน พรรคฝ่ายค้านก็อาจกลายเป็นพรรครัฐบาลก็ได้ ถ้าหาก ประชาชนสนับสนุนออกเสียงเลือกตั้งเพ่ิมมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากการเมืองในอังกฤษ และ สหรัฐอเมริกา ปรากฏว่าพรรคการเมืองต่างๆผลัดเปลี่ยนกันมาเป็นพรรครัฐบาลและพรรคฝ่ายค้าน อยู่สเมอ เช่น ในอังกฤษ พรรคแรงงานและพรรคอนุรักษ์นิยม และในสหรัฐอเมริกา พรรคครีพับลิ กนั และพรรคเดโมแครท เปน็ ตน้

227 การทําหน้าท่ี “ค้าน” ของพรรคการเมืองมีอยู่ 2 วิธี คือ การค้านโดยตรงและการค้านโดย อ้อม การค้านโดยตรง หมายถึง การโจมตีร่างกฎหมายที่รัฐบาลเสนอเข้าสู่สภา โดยแสดงให้เห็นว่า ถ้าพรรคการเมืองของตนป็นรัฐบาลแล้ว ตนจะมีวิธีการบริหารประเทศตามแนวนโยบายของตนได้ ดกี ว่าพรรครัฐบาล สว่ นการคา้ นโดยอ้อม หมายถึง การเสนอรา่ งกฎหมายซ่ึงขัดแย้งกับนโยบายของ รัฐบาลทไ่ี ด้แถลงไวก้ บั สภา เป็นที่น่าสังเกตว่า พรรคฝ่ายค้านน้ันมิใช่ต้านรัฐบาลในทุกๆ เรื่อง ในกรณีท่ีเห็นรัฐบาล กระทําถูกต้องแล้ว พรรคฝ่ายค้านอาจสนับสนุนรัฐบาลได้ในประเทศประชาธิปไตย เรามักจะพบ เห็นอยู่เสมอฝ่ายค้านสนับสนุนรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาสําคัญๆซ่ึงพรรคฝ่ายค้านเห็นด้วยและ มิใช่ ว่าจะนิ่งเงียบเฉยรอให้รัฐบาลกระทําผิดพลาดเสียก่อน ดังท่ีมักจะเกิดข้ึนในประเทศกําลัง พัฒนา 4. การจดั องค์กรของพรรคการเมือง ปัจจัยสําคัญท่ีทําใหพ้ รรคการเมืองมีความเข้มแข็งหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับการจัดองค์การของ พรรคการเมืองกล่าวคอื ถา้ การจดั องคก์ ารของพรรคการเมอื งมีประสิทธภิ าพ พรรคการเมอื งนน้ั ย่อม มีความเข้มแข็งและสามารถได้รับชยั ชนะในการเลือกต้งั ได้โดยง่าย องคป์ ระกอบทส่ี ําคัญของพรรค การเมือง ไดแ้ ก่ 1) นโยบายของพรรคการเมือง 2) การจัดองคก์ ารของพรรคการเมือง 3) กลไกของพรรคการเมือง 4) ทป่ี ระชมุ ใหญ่ของพรรคการเมอื ง 1. นโยบายของพรรคการเมือง นโยบายของพรรคการเมืองย่อมมีความสําคัญต่อความสําเร็จหรือความล้มเหลวของพรรค การเมืองเพราะเป็นแนวทางในการตัดสินใจเบ้ืองต้นในการดําเนินงานของพรรคการเมือง ในการ บริหารประเทศ นโยบายของพรรคการเมืองท่ีดีจะต้องกําหนดไว้อย่างกว้างๆ ซ่ึงจะทําให้สามารถ ปรับปรุงแก้ไขได้ง่าย ในภายหลัง และสามารถเรียกคะแนนเสียงมาให้กับพรรคการเมืองได้ในภาย หลัง นโยบายของพรรคการเมืองจะต้องชี้วิธีการเข้าถึงจุดหมายที่แตกต่างกันของพรรคการเมือง กล่าวคือ พรรคการเมืองที่เน้นลัทธิสังคมนิยมหรือเสรีนิยมต่างก็ต้องการที่จะให้ประชาชนมีความ สขุ สมบรู ณ์ เชน่ เดียวกัน แตว่ ิธีการ “เขา้ ถงึ ” น้นั ย่อมแตกตา่ งกนั

228 2. การจัดองคก์ ารของพรรคการเมือง พรรคการเมืองที่ดีจะต้องมีการจัดองค์การของตนให้ครอบคลุมไปท่วั ประเทศ มิใช่จะมีแต่ เฉพาะในเมืองหลวง หรือเมืองใหญ่ๆ เท่าน้ัน หากแต่ควรมีสาขาพรรคท่ีมีสํานักงานใหญ่ในเมือง หลวง และมีสาขาในภาค จังหวัด อําเภอ ตําบล หมู่บ้าน รวมตลอดถึงกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ด้วย เชน่ กลมุ่ ชาวนา กล่มุ กรรมกร กลมุ่ นสิ ิต นักศกึ ษา กลุม่ เจ้าของกจิ การ ฯลฯ 3. กลไกของพรรคการเมือง กลไกของพรรคการเมืองมีความสําคัญอย่างย่ิงท่ีจะทําให้พรรคสามารถดําเนินงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพถ ในองค์การกลางจะต้องมีการจัดองค์การบริหารพรรคการเมืองโดยแบ่งออกเป็น หน่วยต่างๆ เช่น (1) สาํ นักงานเลขาธิการ (2) กองคลงั (3) ประชาสัมพันธ์ (4) กองวชิ าการและวางแผน (5) กองกฎหมาย (6) กองนโยบาย ฯลฯ โดยท่ีหน่วยต่างๆดังกล่าวมาน้ี ข้ึนตรงต่อคณะกรรมการกลางของพรรคการเมือง โดยแต่ ละหน่วยจะมีหัวหน้าโดยเฉพาะ แต่จะต้องมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ต่อคณะกรรมการกลาง ของพรรคการเมือง อนงึ่ ในดา้ นการเงนิ ของพรรค พรรคการเมอื งจะต้องกําหนดวธิ กี ารหารายได้ไว้ ใหพ้ ร้อม เพอ่ื ความอยรู่ อด และความเจรญิ กา้ วหน้าของพรรคการเมอื ง 4. ทปี่ ระชมุ ใหญข่ องพรรคการเมอื ง โดยปกติ พรรคการเมืองจะมีการประชุมใหญ่ระดับชาติทุกๆครั้งก่อนมีการเลือกตั้งทั่วไป หรือมิฉะน้ัน ก็มีการกําหนดเวลาไว้แน่นอน เช่นสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ กําหนดไว้ 4 ปีต่อครั้ง การประชุมใหญ่ย่อมจะเป็นการสร้างความรู้สึกความผูกพัน ระหว่างสมาชิกของพรรคการเมืองเข้า กับพรรคการเมืองของเขาให้แน่นแฟ้นยิ่งข้ึน ดังน้ัน พรรคการเมืองที่ดีจึงควรต้องมีการปรชุมใหญ่ เป็นประจําปี หรอื กาํ หนดเวลาทีแ่ นน่ อน 5. ชนดิ ของพรรคการเมอื ง การแบ่งชนิดหรือประเภทของพรรคการเมืองน้ันมีหลายวิธี สุดแล้วแต่นักวิชาการจะ พิจารณาอย่างไรก็ดี เราอาจประมวลการแบง่ ชนิดของพรรคการเมอื งได้ดังต่อไปนคี้ อื

229 1. แบง่ ตามลกั ษณะของพรรคการเมือง อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดคอื 1) พรรคการเมืองที่ยึดมั่นในอุดมการณ์ พรรคการเมืองประเภทน้ีจะยึดในอุดมการณ์ อย่างเหนียวแน่น ไม่มีการอะลุ้มอะล่วยให้กับพรรคอื่นโดยเด็ดขาด มีหลักการที่แน่นอนสมาชิกมี ระเบียบวินัยแม้ว่าจะมีการขอร้องให้ร่วมเป็นรัฐบาลกับพรรคการเมืองอ่ืนที่มีนโยบายแต่แตกต่าง กันไปบ้าง ก็ไม่ยินยอม เพราะถือว่า พรรคการเมืองของตนจะเสียอุดมการณ์ของพรรคของตนไป เช่น พรรคอมมวิ นสิ ต์ในบางประเทศในยโุ รป เปน็ ต้น 2) พรรคการเมืองท่ีไม่ยึดม่ันในอุดมการณ์ พรรคการเมืองประเภทนถ้ี ือว่าผลประโยชน์ อยูเ่ หนอื อุดมการณ์ ฉะนน้ั นโยบายของพรรคการเมืองของตนอาจมีการยืดหยุ่นได้เสมอในเมื่อต้อง ปรบั ให้เขา้ กบั ภาวะเหตกุ ารณ์ ลกั ษณะของพรรคการเมอื งประเภทน้ี มักจะรวมตัวกนั ค่อนขา้ งหลวม (Loosely Structured) มีระเบียบท่ีหย่อนยาน และสมาชิกมักยึดถือบุคคลมากกว่าหลักการ ฉะนั้น ส่วนใหญ่พรรคการเมืองประเภทนี้จึงเป็นที่รวมของนักการเมืองท่ีฉวยโอกาสสร้างความเป็นใหญ่ ให้กับตนเอง โดยอาศัยช่ือของพรรคการเมืองบางครั้งพรรคการเมืองประเทศดังกล่าวได้รับการจัด ต้งั ขึน้ เพื่อสนับสนนุ อํานาจของพรรคการเมืองอ่นื หรือผนู้ าํ ทางการเมอื งทมี่ ีอาํ นาจ 2. แบ่งตามบทบาทของพรรคการเมือง อาจแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ชนิด ไดแ้ ก่ 1) พรรคการเมืองท่ีสนับสนุนผู้ท่ีอยู่ในอํานาจ พรรคการเมืองประเภทน้ีมักขาดอุดม การณโ์ ดยทัว่ ไปจะเปน็ ท่ีรวมของนักแสวงโชคทางการเมอื ง กลา่ วคอื พรรคการเมอื งน้ีจะสนับสนุน ฝ่ายใดก็ตามท่ีเป็นรัฐบาลเสมอ และพร้อมท่ีจะให้การสนับสนุนพรรคการเมืองท่ีเป็นรัฐบาลทุก พรรคการเมือง ไม่วา่ พรรคการเมืองนนั้ จะมีนโยบายที่สอดคล้องกับพรรคการเมืองของตนหรือไม่ก็ ตาม ผลประโยชน์ของกลุ่มคนที่มีอํานาจในพรรคย่อมอยู่เหนืออุดมการณ์ และหลักการของพรรค เสมอ 2) พรรคการเมืองท่ีค้านผู้ที่อยู่ในอํานาจ ส่วนใหญ่มักเป็นพรรคการเมือง ที่ยึดมั่นใน อุดมการณ์ของพรรคและตั้งม่ันอยู่กับผลประโยชน์ของมวลสมาชิกและประชาชน อย่างไรก็ตาม ยังมีพรรคการเมืองฝ่ายค้านบางพรรคที่มุ่งแต่จะค้านแบบ “หัวชนฝา” โดยไม่สังเกตเหตุผลท่ีควร จะเป็น 3. แบง่ ตามโครงสร้างและพ้นื ฐานของสงั คม อาจแบ่งออกได้เปน็ 2 ชนดิ คือ 1) พรรคการเมืองแห่งชนชั้น (Cadre Party) เป็นพรรคการเมืองท่ีเน้นผลประโยชน์ของ กลุ่มของตน การต่อสู้ทางการเมอื งทีจ่ ะปกป้องผลประโยชน์ของกลมุ่ ของตนเป็นหลัก เช่น กลุ่มนัก ธรุ กจิ กลมุ่ พ่อคา้ นายธนาคาร นายทุน นายหนา้ เจา้ ของทดี่ ิน กล่มุ ผู้ใชแ้ รงงาน กรรมกร ขา้ ราชการ ชาวนา ฯลฯ

230 2) พรรคการเมืองแห่งมวลชน (Mass Party) เป็นพรรคการเมืองที่รวบรวมบุคคลหลาย อาชีพสมาชิกของพรรคการเมืองจึงมาจากกลายกลุ่มหลายอาชีพ แต่มีอุดมการณ์ทางการเมือง คล้ายคลงึ กัน พรรคการเมืองประเภทนไ้ี ม่มีการแบง่ ชน้ั วรรณะทางเศรษฐกจิ และสงั คมแตอ่ ย่างใด 4. แบง่ ตามประเภทของลัทธทิ างการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม อาจแบ่งออกได้ดงั น้ี 1) พรรคการเมืองประเภทอนุรักษ์นิยม (Consevatism) พรรคการเมืองประเภทนี้ยึดม่ัน อยู่กับขนบธรรมเนียมประเพณีอย่างเหนียวแน่น และไม่นิยมให้มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขใดๆ หรือ หากจะมีการเปลี่ยนแปลงบ้างก็แต่เพียงเล็กน้อย และค่อยเป็นค่อยไป (piece-meal) พรรการเมือง ประเภทน้ีจะต่อต้านการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและด้วยเหตุผลนี้พวกนิยมเปลี่ยนแปลงมัก เรียกพรรคการเมืองประเภทน้ีว่า “พรรคปฏิกิริยาหัวโบราณ” และเรียกสมาชิกของพรรคนี้ว่า “ไดโนเสาร-์ เตา่ ล้านปี” เปน็ ต้น 2) พรรคการเมืองประเภทเสรีนิยม (Libersalism) พรรคการเมืองประเภทนี้ให้ความ สาํ คัญในเร่ืองสทิ ธิ และเสรภี าพของมนษุ ย์เปน็ อยา่ งมาก และถอื วา่ เป็นความต้องการขั้นมูลฐานของ มนุษย์ชาติการสูญเสียสิทธิและเสรีภาพก็เท่ากับการสูญเสียความเป็นมนุษยชาติไป พรรคการเมือง ประเภทนสี้ ว่ นใหญ่จะเนน้ ถงึ สิทธเิ สรภี าพของมนษุ ย์เป็นอย่างมาก 5 แบ่งตามจํานวนของพรรคการเมอื ง อาจแบ่งออกเป็น 3 ชนดิ คือ 1. ระบบพรรคเดียว (One – Party System) หมายถึง การท่ีพรรคการเมืองที่มีอยู่ใน ประเทศใดได้รับเสียงสนับสนุนมากเพียงพรรคเดียว เป็นพรรคการเมืองที่จัดต้ังรัฐบาลติดต่อกัน เป็นระยะเวลานาน โดยไม่มีพรรคการเมืองอื่นสามารถเอาชนะการเลอื กตั้ง หรือเข้าร่วมเป็นรัฐบาล ผสม (Coalition Government) โดยรวมพรรคการเมืองหลายๆพรรคเข้าเป็นรัฐบาลได้ เช่น พรรค คองเกรส (the Congress Party) ในอินเดียระหว่างวปีค.ศ. 1952-1975 และพรรคกิจประชาชน (People’s Action Party) ในสิงคโปร์ เป็นต้น อย่างไรก็ดี พรรคคมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต (The Communist Party of the Soviet Union) เป็นต้น และรัฐธรรมนูญของประเทศในกลุ่มลัทธิคอมมิว นิสต์ได้ห้ามการจัดต้ังพรรคการเมืองอื่นใดข้ึนมาอีก จึงทําให้เกิดระบบพรรคเดียว (One – Party System)ขนึ้ มา 2. ระบบสองพรรค (Two-Party System) หมายถึง พรรคการเมืองที่อยู่ในประเทศมี พรรคการเมืองใหญ่ๆเพียง 2 พรรคเท่าน้ัน โดยถึงแม้ว่าจะมีพรรคการเมืองได้รับจัดตั้งขึ้นมาอีกก็ ไม่ได้ความสนใจจากประชาชน พรรคการเมืองท่ีสําคัญ2 พรรค ได้แก่ พรรคครีพับลิกัน (Republican Party) และพรรคเดโมแครท (Democrat Party) ในประเทศอังกฤษมพี รรคอนุรกั ษ์นิยม (Conservative Party) และพรรคแรงงาน (Labour Party) เป็นต้น

231 3. ระบบหลายพรรค (Multi-Party System) หมายถึง พรรคการเมืองหลายพรรคท่ีมา รวมกันเพือ่ จดั ต้ังรัฐบาลผสม (Coalitior Government) ขึน้ เน่ืองจากในการเลือกต้ังทั่วไป ไม่มีพรรค การเมืองใดพรรคการเมืองหน่ึงได้รับคะแนนเสียงข้างมากอย่างเด็ดขาดในสภาทําให้ไม่สามารถจดั ตั้งรัฐบาลได้ จึงจําเป็นท่ีจะต้องมารวมกันเพื่อจัดต้ังรัฐบาลผสมขึ้นมาและจะต้องมีการประสาน นโยบายของพรรคทั้งหลายที่มาร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล เช่น ในออสเตรเลียก็มีรัฐบาลพรรคเสรีนิยม (Liberal Party) และพรรคชนบท (Country Party) ในประเทศไทยก็เคยมีรัฐบาลผสมมาแล้ว เช่น รัฐบาลชดุ ม.ร.ว. คกึ ฤทธป์ิ ราโมชในปีพ.ศ. 2518-2519ประกอบดว้ ยพรรคการเมืองถึง 18 พรรคเป็น ต้น จุดอ่อนของระบบหลายพรรคก็คือ การขาดเสถียรภาพของรัฐบาล (Instability) และอาจทําให้ การบริหารประเทศของรัฐบาลกระทําได้อย่างไม่มีประสิทธิภาพดีเท่าท่ีควร ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดก็ คือ ระบบพรรคการเมืองของฝรั่งเศส สมัยก่อนนายพลชาร์ลส์ เดอ โกลล์ (Charles De Gaulle) ซ่ึง รัฐบาลประกอบด้วยพรรคการเมืองหลายพรรค ทําให้รัฐบาลต้องคอยเอาใจบรรดาพรรคการเมือง ต่างๆท่ีคอยให้การสนับสนุนทําให้รัฐบาลของเสถียรภาพและต้องล้มลุกคลุกคลานตลอดมา ใน ประเทศไทยก็เคยประสบปญั หาเชน่ นี้มาหลายคร้ังหลายหน กลุม่ ผลประโยชนแ์ ละพรรคการเมืองเป็นสิ่งท่ีแยกไมอ่ อกจากกัน ในระบอบประชาธปิ ไตย พรรคการเมืองจะต้องเป็นที่รวมของกล่มุ ผลประโยชน์เช่นพรรคแรงงาน จะตอ้ งเปน็ ที่รวมของกลุ่ม ชาวนา กลุ่มข้าราชการ และกลุ่มผู้ใช้แรงงานอ่ืนๆในขณะเดียวกันพรรคการเมือง ก็จะทําหน้าที่ประสานประโยชน์ให้กับกลุ่มผลประโยชน์และกับประชาชนทั่วไป ในประเทศ ประชาธิปไตย รัฐบาลจะต้องสนับสนุนให้มีการรวมตัวกันอย่างเหนียวแน่นของกลุ่มผลประโยชน์ และพัฒนาให้เกิดผลดีกับประชาชนโดยส่วนรวม พรรคการเมืองเป็นสิ่งจําเป็นจะขาดเสียมิได้ ใน การปกครองระบบประชาธิปไตยเพราะจะทําหน้าที่เป็นาสถาบันทางการเมืองอย่างแท้จริงของ ประชาชนท่ีจะทําให้เป็นการปกครองของประชาชนโดยประชาชนและเพื่อประชาชนตามท่ีอับรา ฮัม ลินคอล์น ประธานาธบิ ดีแหง่ สหรฐั อเมรกิ าไดก้ ลา่ วไว้ ด้วยเหตุนี้ พรรคการเมืองจึงเป็น”สถาบันทางการเมือง” เพราะการเป็นสถาบันนั้นมิได้ยึด ตัวบุคคล ซึ่งอาจจะล้มหายตายจากไปเม่ือใดก็ได้ แต่พรรคการเมืองจะต้องคงอยู่ตลอดไป และ จะตอ้ งมีความเจริญกา้ วหนา้ อยู่เรอื่ ยๆ ในเม่ือพรรคการเมืองกลายเป็นสถาบนั ทางการเมอื งท่เี ข้มแข็ง ก็เป็นท่ีเช่ือแน่ได้ว่าการปกครองระบบประชาธิปไตยจะต้องคงอยกู่ ับประเทศชาติต่อไปอย่างม่ันคง มปี ระสทิ ธิภาพ

232 6. พรรคการเมืองตามทรรศนะทางพทุ ธศาสตร์ เมื่อพิจารณาลักษณะของพรรคการเมืองอย่างกว้างๆจะเห็นได้ว่า พระพุทธศาสนาไม่มี ทรรศนะทางการเมือง เพราะไม่สนับสนุนการแข่งขัน แก่งแย่งกันเป็นใหญ่ แต่ถ้าพิจารณาถึงการ ปกครองสังฆมณธฑลหรือการบริหารพระศาสนาแล้ว ก็จะเห็นว่า พระพุทธศาสนาก็มีโครงสร้าง คล้ายกับพรรคการเมืองในลักษณะหน่ึง กล่าวคือ พรรคการเมืองจะต้องมีอุดมการณ์สูงสุดคือ เพื่อ ความเจริญก้าวหน้าและความผาสุขของมนุษย์ในโลกนี้เป็นท่ีตั้ง พระพุทธศาสนาก็มีอุดมการณ์ สูงสุดเช่นเดียวกันแต่ไม่เหมือนอุดมการณ์สูงสุดทางการเมือง เพราะอุดมการณ์สูงสุดซ่ึงเป็นจุด หมายปลายทางน้นั อยู่ที่ต้องการทาํ ใหม้ วลมนุษยพ์ ้นจากทกุ ข์ ซ่งึ มีเกิดแกเ่ จบ็ ตายเป็นทกุ ข์โดยทําให้ แจ้งซ่ึงพระนิพพาน ฯลฯ อํานาจทางการเมืองสูงสุดน้ันคือ การเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ แต่พระพุทธ องค์ทรงเมินต่ออํานาจนั้นทรงมุ่งหาส่ิงใหม่ คือ ทางหลุดพ้น หรือโมกษะ หรือนิพพานนั่นเอง ซึ่ง โดยเน้ือแท้แอล้ว ไม่ใช่เร่ืองการเมือง แต่ส่วนประกอบอ่ืนๆของพระพุทธศาสนายังสัมพันธ์อยู่กับ การเมือง ฉะนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า อุดมการณ์ของพระพุทธศาสนา (โลกุตรธรรม) ขัดแย้งกับ การเมือง ประโยชน์สูงสุดในทางงพระพุทธศาสนาเรียกว่า ปรมัตถะ คือ พระนิพพานก็ข้ดแย้งกับ การเมือง อยา่ งไรกด็ สี ว่ นประกอบอน่ื ๆ ทสี่ มั พนั ธ์กบั การเมือง (โลกยี ธรรม) ก็ยังสนบั สนุนการเมือง นอกจากน้ียังแสดงถึงประโยชน์ท่ีตํ่าลงมาคือ ทิฏฐิธัมมิกัตถะ คือ ประโยชน์หรือลาภในปัจจุบัน และสมั ปรายกิ ัตถะ คือ ประโยชน์ในอนาคตซ่ึงพออนโุ ลมได้ว่าหมายถึงประโยชนท์ างการเมือง อนึ่ง หากจะพิจารณาให้กว้างออกไปก็จะเห็นไดว้ ่า โดยหลักการทางรัฐศาสตร์แล้ว ศาสนา กบั การเมือง มกั จะเกี่ยวขอ้ งกันอยู่คลา้ ยๆกบั รางรถไฟที่ต้องขนานกันไป เพราะการเมืองยงั ต้องการ คุณธรรม แต่โดยเนื้อแท้แล้วการเมืองเน้นหน้าท่ีทางอํานาจและผลประโยชน์ๆไม่เน้นเรื่อง คุณธรรมแต่คุณธรรมก็จะขาดเสียจากการเมืองมิได้ เพราะการเมืองท่ีขาดคุณธรรมก็จะกลายเป็น ทรราชย์ คุณธรรมดังกล่าวน้ันจะหาได้จากหลักการทางศาสนาเท่านั้น จะเห็นได้จากระบการเมือง อังกฤษท่ีแบ่งผู้นําทางการเมืองออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายโลกหรือฝ่ายฆราวาส เรียกว่า Temporal ฝ่าย ศาสนา เรยี กวา่ Lord Spiritual สมาชิกสภาขุนนางของอังกฤษ จึงประกอบไปดว้ ยผู้ทรงคุณวุฒทิ ้ังสองประเภทนี้ หากย้อน อดตี ไปถงึ สมัยพุทธกาลก็จะเห็นว่า ระบบการเมืองการปกครองของอินเดียยุคนั้นมีตําแหน่งปุโรหิต เป็นตําแหน่งท่ีปรึกษาพระมหากษัตริย์ ซึ่งพราหมณาจารย์เป็นผู้ดํารงตําแหน่งน้ี ถึงแม้ประเทศๆทย ก็เช่นเดียกัน พระพุทธศาสนาได้มีส่วนส่งเสริมการเมืองการปกครองของไทยตลอดมาต้ังแต่สมัย สโุ ขทยั จวบจนปจั จบุ ัน

233 6.1 กลไกการบริหาร พระพุทธศาสนาในลกั ษณะที่เปน็ พรรคการเมือง ต้องพิจารณาต่อไปว่า พุทธศาสนามกี ลไก การบรหิ ารอย่างไร ในกรณนี ี้ ควรมองแคบเข้ามมาพจารณาเรอื่ งพทุ ธวธิ ีปกครอง โดยอาศัยหลักการ ปกครองของรัฐเป็นหลักซึ่งในการปกครองของรัฐจะแบ่งคนออกไปเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายปกครอง และฝ่ายท่ีถูกปกครอง ฝ่ายปกครองในพระพุทธศาสนา ได้แก่สงฆ์ ส่วนผู้ถูกปกครองอาจเรียกตาม วชิ าการวา่ คอื สมาชกิ สถาบนั พระพทุ ธศาสนา ซงึ่ แบง่ ออกเป็น4 ประเภทเรยี กวา่ พุทธบรษิ ทั คอื 1. ภกิ ษุ (รวมสามเณร) 2. ภิกษณุ ี (รวมสามเณรี และสิกขมานา) 3. อบุ าสก 4. อบุ าสกิ า 6.2 พทุ ธวธิ ีปกครอง แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ พุทธวิธีปกครองสงฆ์ และพุทธวิธีปกครองอุบาสกอุบาสิการ ซึ่งมี รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี 1) พุทธวธิ ีปกครองสงฆ์ คําว่า สงฆใ์ นท่ีนีจ้ ะแบง่ เปน็ 2 ฝา่ ย อนโุ ลมตามหลกั การปกครองของรฐั ดังกลา่ วแลว้ คือ 1. สงฆ์ที่เป็นฝ่ายปกครอง ซ่ึงได้แก่สงฆ์ท่ีครบองค์คณะ คือ จตุวรรค ปัญจวรรค ทสวรรค วิสติวรรค ตามท่ีกล่าวมาแล้ว ในเรื่องระบอบการปกครองตามแนวพุทธศาสตร์ หรือกล่าวอีกนัย หนึง่ ว่า หมายถึงสงฆใ์ นลกั ษณะท่ีเป็นสถาบัน 2. สงฆท์ เี่ ปน็ ฝ่ายถกู ปกครอง หมายถงึ พระภกิ ษุ รวมทงั้ สามเณร แตไ่ ม่หมายถงึ นางภิกษณุ ี นางสิกขมานา และสามเณรี ซ่งึ ไมม่ ีในฝ่ายเถรวาทแล้ว พทุ ธวิธีปกครองมคี วามมงุ่ หมายอยู่ 2 ประการ คอื 1. เพื่อใหร้ ู้จกั ปกครองตวั เอง 2. เพอื่ ความเรียบร้อยของหมู่คณะ เพื่อให้บรรลุความมุ่งหมายท้ัง 2 ประการนี้ พระพุทธองค์จึงทรงวางหลักปฏิบัติเป็นข้ัน ตอนดงั นี้ 1. การรบั เปน็ สมาชกิ ในคณะสงฆ์ 2. บัญญัติพระวนิ ยั 3. วางระเบยี บปฏบตั กิ ารปกครอง 4. วิธีลงโทษ 5. การลาออกโดยสมัครใน (ลาสกิ ขา)

234 1. การรับเป็นสมาชกิ ในคณะสงฆ์ หมายถึงวิธีบรรพชาอุปสมบทนั่นเอง หลักการในเร่ืองน้ีก็คือ จะต้องคัดเลือกบุคคลท่ี เหมาะสมจริงๆ เข้ามาเป็นสมาชิกในคณะสงฆ์ ฉะนั้น จึงมีบทบัญัติห้ามอุปสมบท บุคคลบาง ประเภทท่ีขาดคุณสมบัติแม้บุคคลท่ีมีคุณสมบัติครบถ้วน และได้รับอนุญาตให้บวชได้แล้ว ก่อน ที่จะได้รับรองฐานะ ก็ต้องสืบสวนสอบสวนภูมิหลังกันอย่างละเอียดละออ โดยมีพระผู้อาวุโสโดย พรรษารูปหน่ึงเป็นผู้รับรอง คือ พระอุปัชฌาย์มีหน้าทีสอบสวน เรียกว่า พระอนุสาวนาจารย์ (มีลักษณะคล้ายๆ กับ Accredential Committe) ในบางสถาบัน ท้ังน้ีต้องทํากันในที่ลับตาสงฆ์ใน ท่ามกลางสงฆ์โดยอย่างน้อยต้องมีพระสงฆ์มาประชุมพิจารณารับรองรองตั้งแต่ 10 รูปข้ึนไป เมื่อ สบื สวนสอบสวนกันจนแนใ่ จจรงิ ๆแล้ว จึงจะรบั รองเป็นทางการ 2. บญั ญัติพระวินยั พระวินัยในแง่พระพุทธศาสนามีค่าเท่ากับกฎหมาย เพราะใช้บังคับพระภิกษุได้อย่าง สมบรู ณ์ อาจแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. อาทิพรหมจริยา สิกขา เป็นพุทธบัญญัติมีลักษณะบังคับเด็ดขาด เป็นพุทธบัญญัติสําคญั เรยี กว่า “พุทธอาณา” มอี ยู่ 227 ข้อ ซ่ึงพระสงฆ์ต้องประกาศทบทวนใหพ้ ระสงฆ์ทั่วๆกันทุกๆ15 วนั เรียกว่า สวดพระปาฏโิ มกข์ ถือเป็นกิจสงฆ์ หรือสงั ฆกรรมที่สาํ คัญไมท่ าํ ไม่ได้ 2. อภิสมาจาริกา สิกขา เป็นพุทธบัญญัติเนื่องด้วยอภิสมาจารย์ ถือมรรยาทอันดีงามหรือ ขนบธรรมเนียมอันดีงามของพระสงฆ์ ถ้าเทียบกับกฎหมายบ้านเมืองก็คล้ายกับกฎหมายปกครอง อภิสมาจาริกา สกิ ขานม้ี อี ยมู่ าก แตไ่ ม่ไดร้ วมอยู่ในพระปาฏิโมกข์ จงึ ไม่ตอ้ งสวดทุกๆ 15 วนั เหมือน อาทิพรหมจรยิ กา สิกขา 3. วางระเบียบปฏบัตกิ ารปกครอง เมื่อคณะสงฆ์ยอมรับเข้าหมู่แล้ว เร่ืองท่ีจะดําเนินต่อไป ก็คือ จะต้องให้ผู้นั้นต้ังอยู่ใน ระเบียบปฏบิ ัตขิ องคณะสงฆ์ ซงึ่ มีเร่อื งตา่ งๆ ดังน้ี 1. ปฏิบัติตามพระวินัย ท้ังท่ีเป็นอาทิพรหมจริยกา สิกขา และอภิสมาจาริกาสิกขา ดังกล่าว แลว้ 2. ปฏิบตั ติ ามระเบยี บบการปกครองภายใน ก. ระเบยี บปฏิบตั เิ พือ่ ความเรียบรอ้ ย โดยท่พี ระอุปสมบทแล้วต้องมสี ังกัด พระบวชใหม่จงึ ต้องถือนิสสยั คือ มีอปุ ชั ฌาย์ เปน็ หลัก ในการปกครอง และมีอาจารย์เป็นผู้ดูแลใกล้ชิดเป็นเวลา 5 ปี และยังจะต้องปฏิบัติตามธรรม เนียมประเพณีสงฆ์ท่ีเรยี กว่า วตั ร ซ่ึงแยกเปน็ 3 ลกั ษณะ คือ กจิ วัตร จรยิ าวตั ร และวิธีวตั ร

235 ข. ระเบียบปฏบิ ตั ิเพื่อสรา้ งและรกั ษาสังฆสามัคคี สังฆสามัคคีเป็นร่ืองสําคัญที่สุดพระพุทธองค์จึงทรงวางหลักปฏิบัติไว้หลายประการ เพือ่ สร้างและรักษาสังฆสามัคคใี นคณะสงฆ์ หลกั ปฏบิ ัติดงั กล่าวพอจะแยกไดด้ ังน้ี 1. การบรรพชา และอุปสมบท 2. การสวดปาฏโิ มกข์ ทุกกงึ่ เดอื นเรียกว่า สังฆอุโบสถ 3. การจําพรรษา 4. การออกพรรษาเรยี กว่า ปวารณา 5. กฐนิ 6. การแตง่ ตง้ั เจ้าหน้าทท่ี าํ การสงฆ์ แบง่ เป็น ก. เจ้าหนา้ ทเ่ี กี่ยวกบั จีวร ข. เจ้าหน้าที่เก่ยี วกบั อาหาร ค. เจา้ หน้าทเ่ี กยี่ วกบั อาคารสถานที่ ง. เจ้าหนา้ ทเ่ี กีย่ วกบั อาราม จ. เจ้าหน้าทเ่ี กย่ี วกบั การคลังและวสั ดุ 4. วิธลี งโทษ ไดก้ ล่าวแล้วว่า วนิ ัยมคี ่าเทา่ กับกฎหมายบ้านเมือง และลักษณะของกฎหมายท่ีใชบ้ ังคับนั้น แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื กฎหมายสารบัญญัติ คือ กฎหมายที่กาํ หนลกษณะความผิด และกําหนด โทษไว้กบั กฎหมายวธิ ีสบญั ญตั ิ คอื กฎหมายท่ีกําหนดวธิ กี ารลงโทษเอาไว้ พระวินัยก็มีลกั ษณะเช่นเดยี วกัน ไดแ้ กพ่ ระวินัยที่เป็นสารบัญญัติ และพระวินัยทมี่ ีลักษณะ เป็นวิธีสบัญญัติ คือ กําหนดหลักเกณฑ์การลงโทษขึ้นไว้ เรียกว่า อธิกรณสมถะ แปลว่า วิธีรังับ อธกิ รณ์ ทั้งน้ีโดยแยกอธิกรณ์หรอื คดีทเี่ กดิ ข้ึนเป็น 4 ประเภท คือ 1. ววิ าทาธกิ รณ์ 2. อนวุ าทาธกิ รณ์ 3. อาปัตตาธกิ รณ์ 4. กิจจาธกิ รณ์ การระงบั อธกิ รณ์ ตามพระวนิ ัยทเี่ ปน็ อาทิพรหมจริยกาสิกขามี 7 วธิ ี คอื 1. สมั มุขาวนิ ยั (ระงบั ต่อหนา้ ) 2. สตวิ ินัย (ยกเอาสตเิ ปห็ ลักวนิ ิจฉยั ) 3. อมูฬหวินัย (กรณที าํ ผดิ ขณะวิกลจรติ 4. ปฏิญญาตกรณะ (ปรบั อาบัตติ ามท่ีรบั ผิด)

236 5. เยภุยยสกิ า (ถอื เอาเสยี งข้างมาก) 6. ตัสสปาปิยสกิ า (วิธเี พ่มิ โทษ) 7. ตณิ วัตถารกวนิ ยั (วธิ ปี ระนปี ระนอม) ยังมีวิธีลงโทษพระภิกษุท่ีด้ือรั้นอีกแบบหนึ่งซ่ึงมีลักษณะคล้ายๆกับการลงโทษทางวินัย ตามกฎหมายปกครอง วธิ ีเชน่ น้เี รียกวา่ นคิ คหกรรม มอี ยู่ 7 วธิ ี คือ 1. ตัชชนียกรรม (การตําหนโิ ทษ) 2. นิยสกรรม (การถอดยศลดตําแหนง่ 3. ปัพพาชนยี กรรม (ไลอ่ อก) 4. ปฏสิ ารณยี กรรม (การขอโทษระหว่างพระกับฆราวาส) 5. อุกเขปนียกรรม (เรียกอกี อย่างหนง่ึ ว่า พรหมทณฑ์ คอื ห้ามไมใ่ หใ้ ครคบคา้ สมาคมดว้ ย) 6. ตสั สปาปิยสกิ ากรรม (การตําหนิโทอกี วิธีหนึง่ ) 7. ควา่ํ บาตร (ลงโทษคฤหสั ถ์ทหี่ ม่ินประมาทพระสงฆ)์ โทษทางวนิ ัยดังกล่าวมพี ระบญั ญตั วิ ิธีการจะลงโทษ และวิธรี ะงับหรือยกเลกิ โทษไวด้ ว้ ย 5. การลาออกโดยสมัครใจ ได้แก่การลาสิกขา คือเลิกจากความเป็นพระนั่นเอง แต่ท่ีเรียกว่า การลาออกโดยสมัครใจ นัน้ กเ็ นือ่ งจากในปจั จบุ นั มวี ธิ กี ารบังคับ ใหพ้ ระภิกษทุ ี่ทําผดิ กฎหมายบ้านเมอื งลาออกจากความเป็น พระ เรียกว่า การสละสมณเพศ ฉะน้ัน การลาสิกขา จึงถือว่า เป็นการลาออกจากความเป็นพระโดย สมัครใจ ท้ังน้ีก็เพื่อเปิดทางให้พระภิกษุผู้ไม่สามารถประพฤติพรหมจรรย์ต่อไปได้ ไม่ว่าด้วยเหตุ ใดๆ ให้สละความเป็นพระเข้าส่เู พศฆราวาสได้ การปกครองตวั เอง ได้กล่าวมาแล้วว่า พุทธวิธีปกครองสงฆ์มีความมุ่งหมายท่ีจะให้พระภิกษุแต่ละรูปปกครอง ตนเองได้ ดังน้ันพระพุทธองค์จึงทรงวางวิธีการให้พระภิกษุท่ีล่วงละเมิดพระวินัย ขั้นมัชฉิมโทษ และลหุโทษ ได้รับโทษด้วยตนเอง โดยการรับสารภาพต่อหน้าสงฆ์ หรือต่อหน้าพระภิกษุด้วยกัน ซ่ึงความจริงก็คือ อาปัตตาธิกรณ์นั่นเอง แต่ขอแยกออกมาอธิบายให้เห็นเด่นชัดว่า เป็นหลักการให้ พระภิกษรุ ูจ้ ักปกครองตนเองวิธีการนม้ี อี ยู่ 2 ระดับ คือ 1. ถ้าต้องอาบัติสังฆาทิเสส ต้องรับผิดโดยการอยู่ปริวาส หรือที่คนท่ัวไปเรียกว่า อยู่กรรม วธิ ีนเี้ ปน็ การระงับโดยสงฆ์ 2. ถ้าต้องอาบัติตั้งแต่ถุลลัจจัย ลงมาก็ให้สารภาพต่อหน้าพระภิกษุด้วยกันเรียการแสดง อาบตั ิหรือทเ่ี ข้าใจทัว่ ไปว่า ปลงอาบัติ

237 2) พทุ ธวิธปี กครองอบุ าสกอุบาสิกา หากจะแบ่งประเภทพุทธบริษัทออกไปได้อีกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่หน่ึงเป็นศาสน ทายาทได้แก่ พระภิกษุ และภิกษุณี ซ่ึงทําหน้าท่ีสบื ต่ออายพุ ระพุทธศาสนาโดยตรงอีกประการหนึ่ง คอื ฝ่ายศาสนปู ถมั ภ์ ได้แก่ อบุ าสก อบุ าสกิ า ซ่งึ ทําหน้าทใ่ี ห้การสนบั สนนุ การปกครองฝ่ายศาสนูถัมภ์ คือ อุบาสก อุบสิกาน้ันทรงถือหลักให้ปกครองตัวเอง เป็น สาํ คญั ใหม้ ีความสัมพันธก์ ับฝา่ ยศาสนทายาท โดยใกล้ชิดทง้ั นี้โดยทรงบัญญัติศีล 5 และศีล 8 ขึน้ ไว้ ให้อุบาสก อุบาสิกา ถือปฏิบัติตามกําลังความสามารถและการขอศีลหรือสมาทานศีลน้ัน ก็ให้ กระทําต่อพระภิกษุสงฆ์ จะสมาทานจากฆราวาสด้วยกันไม่ได้ แม้จะมีหลักให้สมาทานศีลโดยวิธี สัมปตั ตวริ ัติกเ็ ปน็ เร่อื งของการปกครองตนเอง หากจะเปรียบเทียบลักษณะสมาชิกของสถาบันพระพุทธศาสนากับสมาชิกของพรรค การเมอื งกพ็ อจะเทียบกันได้ดงั น้ี สมาชกิ พรรคการเมือง แบง่ ออกเป็น 2 ระดบั คอื 1. สมาชิกระดับท่ีเป็นกรรมการบริหารพรรค ซึ่งเทียบได้กับภิกษุ ภิกษุณี ในสถาบัน พระพุทธศาสนา 2. สมาชิกทั่วไป ซง่ึ เทีย่ บไดก้ ับอบุ าสก อุบาสิกาซึง่ ทําหนา้ ทใี่ ห้การสนบั สนุน ในเชิงของการเปรียบเทียบเร่ืองพรรคการเมืองน้ัน อุดมคติของพระพุทธศาสนาคือ ความ พ้นทุกข์หรือความสุขตั้งแต่ระดับต่ําจนถึงระดับสูงสุดเป็นหลัก อุดมคติทางการเมืองก็คือ การใช้ อํานาจทางการเมืองเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลักเหมือนกัน วิธีเข้าถึงอุดมคติของทั้ง สองแนวแตกต่างกันบ้าง เช่น การใช้ธรรมเป็นอํานาจและเป็นเคร่ืองมือกับการใช้อํานาจเพื่อก่อให้ เกิดความสขุ ในส่วนที่ตรงกันเพ่ือดําเนินการให้บรรลุเป้าหมายเดยี วกันก็คอื การใชร้ ะเบยี บวนิ ัยหรือ กฎหมายเป็นเครือ่ งมอื ตามท่ีกล่าวมานี้ พอสรุปได้ว่า โครงสร้างของสถาบันพระพุทธศาสนากับโครงสร้างของ พรรคการเมืองโดยการเปรียบเทียบในลกั ษณะกว้างๆย่อมมีลกั ษณะคล้ายคลงึ กนั โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในเร่ืองอุดมการณืท้ังฝ่ายสถาบันพระพุทธศาสนา กับพรรคการเมืองต่างก็มีอุดมการณ์เป็นหลักแต่ อาจแตกตา่ งกันในเนื้อหา และตา่ งก็มธี รรมนูญ (กฎหมายและระเบยี บวินัย) เปน็ เครอ่ื งมือยึดเหนี่ยว ให้มีเสรีภาพท้ังน้ัน และการท่ีพระพุทธศาสนาแยกออกเป็นนิกายต่างๆเพราะความคิดเห็นขัดแย้ง กนั นั้นก็มีลักษณะคลา้ ยกบั พรรคการเมืองเชน่ กัน อย่างไรกต็ าม พระพทุ ธศาสนาก็มอี ุดมคตแิ ละวิธดี ําเนนิ การท่ีแตกต่างจาการเมืองอยนู่ ่ันเอง เพราะการเมืองเป็นเร่ืองโลก พระพุทธศาสนาเป็นเร่ืองธรรม ก็อาจช่วยเรื่องของโลกได้ คือเม่ือใช้ ธรรมเปน็ แนวปฏบิ ตั แิ ลว้ ยอ่ มช่วยใหโ้ ลกเปน็ ไปโดยราบร่นื เรียบร้อยละมคี วามสวัสดี

238 อน่ึงในการปกครองระบอบประชาธิปไตย มติมหาชน (Public Opinion) เป็นส่ิงจําเป็นซึ่ง จะขาดเสียมิได้ที่จะต้องให้สิทธิและเสรีภาพต่อประชาชน เพราะจะเป็นเคร่ืองช้ีแสดงความเป็น เจ้าของอํานาจอธิปไตยของประชาชน แม้ว่าจะมีผู้แทนราษฎรซ่ึงได้รับเลือกต้ังให้เป็นตัวแทนของ ประชาชนไปใช้อํานาจนิติบัญญัติ และบริหารตามเง่ือนไขแห่งการให้ความยินยอมในการใช้อํานาจ อธิปไตยแล้วก็ตาม แต่มติมหาชนก็จะเป็นส่วนสําคัญในการเป็นเจ้าของอํานาจอธิปไตยของ ประชาชนที่จะแสดงความรู้สึกนึกคิดของเขาออกมาว่า พอใจหรือไม่พอใจการบริหารงานของ รัฐบาลอย่างไร รวมทั้งความคิดเห็นของประชาชนท่ีต้องการท่ีจะให้รัฐบาลดําเนินนโยบานในด้าน ใดเพ่ิมขนึ้ หรืองดเว้นนโยบายบางอยา่ งทเ่ี ป็นผลเสียต่อประชาชนโดยสว่ นรวม มติมหาชน ทสี่ าํ คญั ประกอบดว้ ยการร้องเรียนและการประท้วง (Petition and Donotration) การเข้าช่ือร่วมกันของประชาชนเพื่อให้รัฐสภาออกกฎหมาย (Knitistive) การแสดงการประชามติ โดยการกาํ หนดให้รัฐนําร่างกฎหมายสําคัญที่ผ่านการพิจารณาของรัฐสภามาให้ประชาชนออกเสียง รับรอง (Referendum) การกําหนดให้ประชาชนออกเสียงในการตัดสินปัญหาสําคัญๆ (Plebiscite) การให้ประชาชนถอดถอนเจ้าหน้าท่ีที่มาจากการเลือกตั้งในเม่ือประพฤติปฏิบัติไม่เหมาะสมหรือ ขาดประสทิ ธภิ าพ (Recall) ในทางพุทธศาสนาก็ให้ความสาํ คญั ของมติมหาชนว่า ผู้ปกครองจะต้องรับฟัง พุทธศาสนา เช่ือว่า “การเมืองคือธรรมะ” เพราะธรรมก็คือ กฎเกณฑ์ของธรรมชาติท่ีเกิดข้ึนและเป็นหน้าที่ของ พลเมืองในประเทศจะต้องปฏิบัติในชีวิตประจําวันปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนจะต้องช่วยกันแก้ไขไม่ใช่ ปล่อยให้เป็นภาระหน้าที่ของรัฐบาลอย่างเดียวเท่าน้ัน หากแต่ประชาชนจะต้องช่วยกันแก้ไขด้วย ดังน้นั การเมอื งจึงเปน็ เรือ่ งของธรรมะโดยแท้ การแสดงออกในมติมหาชน (Public Opinion) จึงเป็นความสําคัญ และเป็นธรรมะด้วยใน ทางพุทธศาสนากล่าวว่า “ธมฺมกาโม ภวํ โหติ” ผู้ใคร่ธรรมะเป็นผู้เจริญ และ “ธมฺมเทสสี ปราภโว” (ผู้ชังธรรมะเป็นผู้เสื่อม) แสดงให้เห็นว่าในสังคมประชาธิปไตยโดยการเมืองเป็นเร่ืองของ ประชาชนทุกคนไม่แต่เฉพาะผู้ปกครองรัฐเท่านั้น เพราะปัญหาปกครองบ้านเมือง ปัญหาเศรษฐกิจ ปญั หาสงั คม ฯลฯ ลว้ นเปน็ ภาระหนา้ ที่ของพลเมืองทกุ คนท่จี ะแกไ้ ขรว่ มกัน พระพุทธศาสนากย็ อมรบั อิทธิพลของมตมิ หาชนเช่นเดียวกัน จะเหน็ ไดจ้ ากการบญั ญตั ิพระ วินัย ซึ่งพระพุทธองค์ไม่ทรงถือหลักการบัญญัติพระวินัยล่วงหน้า ต่อเมื่อมีเหตุการณ์เกิดข้ึน และ ประชาชนท่ัวไปตเิ ตียนเทา่ นน้ั จงึ ทรงบญั ญตั ิพระวินยั ห้ามภิกษทุ ง้ั หลายกระทาํ ผิดเรือ่ งน้ันต่อไป มี ตัวอย่างการบัญญัติตัณหาปฐมปาราชิกสิกขาบท ซึ่งมีพระสุทินเป็นต้นเหตุ และในเรื่องน้ีมีข้อน่า สังเกตเกี่ยวกับอิทธิพลของมติมหาชน กล่าวคือ เร่ืองท่ีเกิดข้ึนครั้งนั้นไม่ใช่เฉพาะมนุษย์เท่าน้ัน ท่ีรู้ และติเตียนโพนทนา แต่รวมไปถึงเทวดาบนสวรรค์ด้วย ดังที่ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก เล่ม 1

239 (วนิ ัยปฎิ ก) ซึ่งสรุปไดว้ า่ เสยี งตเิ ตียนโพนทะนาซึ่งเป็นมตมิ หาชนไดแ้ พรก่ ระจายไปอยา่ งกว้างขวาง และโดยรวดเร็ว ตัวอย่างที่ชัดเจนอีกเร่ืองหนึ่ง ก็คือ เรื่องพระเวสสันดรถูกเนรเทศออกจากเมือง เพราะ มติมหาชน เรื่องมีว่า เมืองกลิงคราฐเกิดวิบัติ ข้าวยากหมากแพงท้ังฝนก็แล้งมิได้ตกทั่วประเทศ ประชาชนก็ยากแค้นแสนกันดารอดอาหารจนซูบผอม จึงไปชุมนุมที่หน้าพระราชวังพระเจ้ากลิงค ราฐร้องทุกข์ในเรื่องน้ีเป็นเหตุให้พระเจ้ากลิงคราฐต้องทรงรักษาอุโบสถศีลเป็นเวลา 7 วัน ฝนก็ยัง ไม่ตก ความแห้งแล้ว ความยากจนก็ยังมีอยู่ ประชากรก็ไปชุมนุมที่หน้าพระราชวังอีก และขอให้ พระเจ้ากลิงคราฐทรงส่งคนไปขอช้างมงคลพระท่ีนั่งต้นของพระเวสสันดร (ซึ่งเช่ือกันตามข่าวลือ ว่าเป็นช้างบันดาลฝนได้) พระเจ้ากลิงคราฐ จึงทรงพราหมณื8 คนไปขอพระเวสสันดรก็พระราช ทานใหต้ ามประสงค์ การที่พระเวสสันดร พระราชทานช้างสําคัญไปนี้ ประชาชนชาวพระนครสิพี ถือว่าพระ เวสสนั ดรทําผิดอยา่ งร้ายแรง จงึ ไประชมุ ท่ีหนา้ พระราชวงั ของพระเจ้ากรุงสัญชยั ประท้วงว่า “เทว ข้าแต่พระเทพมิตรผู้ผ่านภิภพสิพี ราชปุตโต บัดน้ีพระเวสสนั ดรพระลกู เจ้ากระทาํ ผิด ราชกิจประเพณีบราณ นาค ทชชา ให้พระยาคชสารคชาธารพระท่ีนั่งต้นเป็นมหามงคลอันล้นเลิศ ชาวประเสริฐดังเงิน ยาว พฺราหฺมรณานํ แก่พราหมณ์ท้ังแปวงอันมาขอ ไม่ควรที่จะยกยอประสาท ให้ คชสารน้ีไซร้ ควรจะไว้ประดับสําหรับเมือง เม่ือพระเวสสันดรท้าวเธอกระทําให้แค้นเคืองถึง เพยี งน้ี ถ้าพระองค์เห็นดีจะเอาไว้ ก็เหน็ ว่าภัยจะพงึ มแี กพ่ ระองค์” การประท้วงนี้ เป็นเหตุให้พระเวสสันดรพร้อมด้วยพระนางมัทรี และพระราชโอรสธิกา ต้องเสด็จไปอยูป่ า่ หิมพานต์ ดงั ทีป่ รากฏอยู่ในเวสสนั ดรชาด กณั ฑ์ท่ี 2 (กัณฑ์หมิ พาน) 7. ความหมายของกล่มุ ผลประโยชน์ กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) อาจถูกเรียกในคําอื่น เช่น กลุ่มการเมือง (Political Group) กลุ่มจัดต้ัง (Organzid Group) กลุ่มอิทธิพล (Pressure Group) (Mootton, 1970 : 3) แต่หาก พิจารณาถึงความหมายแล้ว ก็จะมีลักษณะท่ีใกล้เคียงกัน ซ่ึงจะด้วยคําถามใดก็ตาม กลุ่มผล ประโยชน์ก็ถือเป็นสถาบันทางการเมืองที่มีความสําคัญอย่างยิ่งต่อเสถียรภาพและพัฒนาการของ ระบบการเมืองในระบอบประชาธิปไตย เพราะกลุ่มผลประโยชน์เป็นอีกองค์กรหน่ึงที่เปิดโอกาส ให้ประชาชนมีส่วนในการกําหนดนโยบาย (Policy Making) ด้วยวิธีการเรียกร้องผลประโยชน์ (Interest Articulation) นอกรัฐสภา ดังคํากล่างท่ีว่าหากไม่มีกลุ่มผลประโยชน์แล้วก็จะไม่มีรัฐบาล ใดเลยท่ีถือได้ว่าเป็นรัฐบาลประชาธิปไตย (พฤทธิสาณ ชุมพล, 2547: 148) กลุ่มผลประโยชน์ใน ระบอบประชาธิปไตย จะทําน้าที่เป็นเครื่องบ่งชี้อย่างต่อเนื่อง (Contiuous Mandate) แก่รฐั บาล และ

240 ถือเป็นแหล่งข้อมูลที่สําคัญของรัฐบาลในการกําหนดนโยบายให้สอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชน ทรูแมน (Truman, 1951:33-35) กล่าวว่า จากการท่ีมนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องการอยู่ รวมกันเป็นกลุ่ม และมีกิจกรรมต่างๆ เป็นบทบาทร่วมกัน เหตุผลที่บุคคลใดบุคคลหน่ึงตัดสินใจ เข้าร่วมกับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพราะว่า ผลประโยชน์ของกลุ่มสอดคล้องกับผลประโยชน์ของตน เพราะฉะนั้น กล่าวได้ว่า มนุษย์มีการรวมตัวกันเพื่อให้มาซ่ึงส่ิงที่เป็นจุดหมารยหรือผลประโยชน์ ของกลุม่ นัน่ เอง แต่กลุม่ ผลประโยชน์จะมลี ักษณะท่ีแตกตา่ งไปจากกลุ่มโดยทั่วไปตรงท่ีการเข้ารว่ มกันของ สมาชิกภายในกลุ่มไม่ได้เป็นไปเพียงเพื่อให้ได้มาซ่ึงสิ่งที่เป็นจุดหมาย หรือผลประโยชน์ของกลุ่ม เทา่ นัน้ แตต่ ้องมีทศั นคติร่วมกนั ด้วย เพราะฉะนนั้ หากแยกพิจารณาลักษณะของกลุ่มผลประโยชน์ ตามความหมายของทรแู มนจงึ ประกอบดว้ ย 1. Shared Attitude คือ ต้องมีทัศนคติร่วมกันเห็นพ้องต้องกันและมีผลประโยชน์ร่วมกัน อันเป็นผลมาจากการประนีประนอมตอ่ รองภายในกตกิ าทีย่ อมรบั ของกลุม่ 2. Organization ต้องมีการจัดต้ังองค์กรอย่างถาวร เช่น มีกรรมการบริหาร มีระเบียบกฎ เกณฑใ์ นการคัดเลอื กผู้นําและการรบั สมาชกิ เปน็ ตน้ 3. Interaction การมปี ฏสิ มั พันธ์ระหว่างสมาชกิ ในกล่มุ และระหวา่ งกลุ่ม 4. Activities มกี จิ กรรมรว่ มกนั อยา่ งตอ่ เนื่องเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม ดูเวอเจอร์ (Duverger, 1972) กล่าวว่ากลุ่มผลประโยชน์เป็นกลุ่มท่ีมีกิจกรรมเพื่อจุด ประสงคท์ างการเมอื งคอื การมีอทิ ธิพลเหนืออาํ นาจรัฐ เปน็ เป้าหมายหลกั นั่นคอื เปน็ การใชอ้ ทิ ธิพล ในการบีบบังคับผู้มีอํานาจในการบริหารประเทศที่จะกําหนดนโยบายสาธารณะหรือการจัดสรรสงิ่ ทมี่ ีคณุ ค่าของสงั คมใหเ้ ป็นไปในทศิ ทางท่ีกลมุ่ ตนต้องการ ประพันธ์พงศ์ เวชชาชีวะ (2525: 155) กล่าวว่า กลุ่มผลประโยชน์น้ีบางทีอาจเรียกว่า กลุ่ม อทิ ธพิ ลและบางทีอาจเรียกวา่ กลุ่มพลัง ซง่ึ มลี ักษณะดังนี้ 1. เป็นการรวมผลประโยชน์ของบุคคลในสงั คมหนง่ึ ๆ เข้าดว้ ยกัน 2. บุคคลที่เข้ามารวมกันน้ันจะต้องมีทัศนะร่วมกัน โดยไม่ใช่มีทรัพย์สิน รายได้หรือวัตถุ อนื่ ๆร่วมกนั 3. รวมกันเพ่ือจะได้มีอิทธิพลผลักดันให้สังคมยอมรับหรือยอมตามความคิดหรือความ ต้องการของกลมุ่ จนกระทั่งผมู้ อี ํานาจแหง่ รฐั ยอมออกกฏหมาย หรอื ขอ้ บงั คับเพอ่ื ความตอ้ งการของ กล่มุ

241 4. ไมไ่ ดม้ งุ่ หวงั ทจ่ี ะไดต้ าํ แหนง้ หน้าท่ีราชการ แตม่ งุ่ หวงั ทจ่ี ะมอี ทิ ธิพลตอ่ การวางนโยบาย ของทางราชการ และไม่รับผิดชอบตอ่ การวางนโยบายทางกฎหมายโดยตรง 5. บุคคลที่เข้ารวมกัน มีวัตถุประสงค์ร่วมกันในอันที่จะทําให้ความต้องการของตนกลาย เปน็ ความตอ้ งการของสังคม สุขุม นวลสกุล ( 2529: 237)ให้ความหมายว่า กลุ่มผลประโยชน์คือ กลุ่มบุคคลที่ร่วมกัน เพราะมีอาชีพ หรือมีจุดประสงค์อย่างเดียวกันและมีความต้องการท่ีจะให้นโยบายของรัฐบาล สนองตอบความต้องการของกลุ่มตน การรวมกันเป็นกลุ่มผลประโยชน์กับพรรคการเมืองอยู่ตรงที่ พรรคการเมืองต้องการเป็นรัฐบาลเพื่อกําหนดนโยบายเสียเอง ส่วนกลมุ่ ผลประโยชน์ไมไ่ ดต้ ้องการ เปน็ รฐั บาลเอง แต่ต้องการใหร้ ัฐบาลมีนโยบายสอดคลอ้ งกับความต้องการของกลุ่ม โดยสรุป อาจกล่าวได้ว่า กลุ่มผลประโยชน์คือ กลุ่มบุคคลที่มีความสนใจหรือมีผล ประโยชนร์ ่วมกันมามีปฏิสมั พนั ธ์กันโดยความสมัครใจ และพยายามกระทาํ การเพอ่ื ใหผ้ ู้มีอาํ นาจใน การตัดสินใจทางการเมืองกระทําหรือไม่กระทําการอันใดเพ่ือให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของ กลุ่มตน แต่ในขณะเดยี วกันก็ปฏเิ สธที่จะรบั ผดิ ชอบโดยตรงท่ีจะปกครองประเทศ ก่อนท่ีเรารู้จักถึงกลุ่มประโยชน์ (Interest Group) สมควรที่จะทําความเข้าใจคําว่า “กลุ่ม” (Group) เสียก่อน เพราะกลุ่มผลประโยชน์ก็เป็นส่วนของกลุ่ม “กลุ่ม” เช่นกัน การทําความเข้าใจ เก่ียวกับ “กลุ่ม” จึงมีความสําคัญท่ีจะช่วยให้เราได้เข้าใจในความหมายของกลุ่มผลประโยชน์ ดี ย่งิ ข้นึ ดอร์วิน คาร์ทดไรท์ (Dorwin Cart – Wright) และอัลวิน เซนเดอร์ (Alwin Zender) ก็ให้คํา จํากัดความของ “กลุ่ม” ว่า หมายถึง การรวมตัวขององค์กรที่มีอยู่ในความสัมพันธ์เพื่อการ ตอบสนองต้องการพ้ืนฐานของแต่ละบุคคล กลุ่มจึงเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งท่ีจะให้ได้มาซึ่งความ ตอ้ งการพ้ืนฐานของปัจเจกชน จากคําจํากัดความของดอรว์ ิน คารไ์ รท์ และอลั วิน เซนเดอร์นี้จะเห็น ได้ว่าพื้น ฐานของปัจเจกชน (Individual) ก็คือ การวมกลุ่มระหว่างปัจเจกชนต่างๆท่ีตนมปี ระโยชน์ เช่น การรวมกลุ่มผู้ใช้แรงงาน , กลุ่มเกษตรกร, กลุ่มนักธุรกิจ , กลุ่มนิสิตนักศึกษา ฯลฯ ดังน้ัน การ รวมกลุ่มจึงเป็น “เครื่องมือ” (TooL) อย่างหน่ึงที่สําคัญในการท่ีมนุษยจ์ ะแสวงหาการตอบสนองผล ประโยชน์ท่ตี ้องการได้อยา่ งน้อยการวมกลมุ่ ก็เป็นประโยชน์ของตนเอง อาร์เธอร์ เอฟ. เบนท์ลีย์ (Arthur F. Bentley) กล่าวคือ กลุ่มหมายถึง มวลชนท่ีมาร่วมกัน เพราะกิจกรรมที่มีจุดร่วมกัน และปัจเจกชน แต่ละคนใช้กลุ่มเพ่ือให้ซ่ึงผลประโยชน์ในทาง การเมือง สังคม และเศรษฐกิจกลุ่มทุกกลุ่มจะมีประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ด้วยเหตุน้ีกลุ่มกับ ผลประโยชน์จึงเป็นของคู่กัน เป็นส่ิงที่แยกจากกันไม่ออก ด้วยเหตุนี้ สังคมของมนุษย์ จึง ประกอบด้วยกลุ่มชนต่างๆมากมายนับไม่ถ้วนและการจัดกลุ่มโดยสมบูรณ์อย่างเป็นทางการน้ันก็

242 ไม่สามารถกระทําได้เน่ืองจากในแต่ละสังคมมนุษย์มักจะมีกลุ่มต่างๆเป็นจํานวนมากมายและ จํานวนคนทข่ี น้ึ อยกู่ ับการตคี วามหมายของแตล่ ะกลุ่มอกี ดว้ ย จากความหมายของเบนทล์ ีย์ จะเหน็ ได้ว่าเขามองสมาชิกของกลุ่มที่เข้ามารวมกลุ่มกนั ในแง่ ของ “ผลประโยชน์” (Interest) เสมอไป โดยเขาเชอื่ ว่าการท่ีมนุษยจ์ ะเข้ามารวมกลุ่มกเ็ นื่องจากเขามี ผลประโยชนเ์ กยี่ วขอ้ งดว้ ยไม่วา่ จะผลประโยชนท์ างการเมือง เศรษฐกจิ หรือสงั คมก็ตาม ดงั นัน้ ตาม ความคิดของเขา กลุ่มชาวนา กลุ่มกรรมกร กลุ่มพ่อค้า กลุ่มนิสิตนักศึกษา กลุ่มนักร้อง กลุ่มนักการ ศาสนาฯลฯ ก็ล้วนแต่มีผลประโยชน์ เข้ามาเก่ียวข้องอยู่ด้วยเสมอมิฉะน้ัน ก็จะไม่มีกลุ่มเกิดข้ึน ตัวอย่างเช่น กลุ่มกรรมกรท่ีเกิดข้ึนก็เนื่องจากบรรดากรรมกรที่เข้ามาเป็นสมาชิกของกลุ่มมีจุดมุ่ง หมายร่วมกันเพ่ือปกป้องผลประโยชน์ของผู้ใช้แรงงานไม่ว่าจะเป็นค่าจ้างแรงงาน หรือสวัสดิการ อันเกี่ยวกับการใช้แรงงานอ่ืนใดก็ตาม และโดยเหตุนี้บุคคลที่ไม่มีจุดมุ่งหมายในการรวมกลุ่ม รว่ มกนั แต่เข้าไปอยู่ด้วยเหตผุ ลใดๆก็ตาม เราก็ไมถ่ อื วา่ เป็นสมาชิกของกลุ่ม เช่น กลมุ่ กรรมกร อาจ มีบุคคลอ่ืนท่ีไม่ใช่กรรมกรเข้าไปร่วมสังเกตการณ์อยู่เสมอ แต่เราก็ไม่ถือว่าบุคคลท่ีเข้าไป สังเกตการณ์เหล่าน้ันเป็นสมาชิกของกลุ่มกรรมกรด้วยเป็นต้น เพราะเขาไม่มีจุดมุ่งหมายอันเป็น ผลประโยชนร์ ่วมกนั (Primary Group) ดงั เชน่ สมาชิกของกลมุ่ กรรมกรเหลา่ นน้ั อย่างไรก็ตาม การที่สมาชิกของกลุ่มจะมีความผูกพันซึ่งกันและกันน้ัน ไม่จําเป็นท่ีสมาชิก จะต้องอยู่ใกล้ชิดพบเห็นอยู่เป็นประจําซ่ึงกันและกัน แต่อาจจะเกิดความผูกพันขึ้นมาจากการท่ี สมาชิกของกลมุ่ อาจไมเ่ คยพบเห็นกนั มาเลย หรือรจู้ กั กันแตเ่ พยี งชื่อเสียงหรือบางคร้ัง อาจจะพบปะ กันบ้าง เพียง 2-3 ครั้ง แต่ก็อาจเกิดความผูกพันซึ่งกันและกัน ในฐานะสมาชิกของกลุ่มได้ เพราะ สมาชิกของกลุ่มอาจใช้การติดต่อซ่ึงกันและกันโดยทางไปรษณีย์ หรือสื่อมวลชนปรเภทต่างๆ จน ทําให้สมาชิกเกดิ ความรู้สึกใกล้ชิดผูกพนั กันมาก จนกลายเป็นกลมุ่ ปฐมภูมิ (Primary Group)ไป 8. กาํ เนดิ กลุ่มผลประโยชน์ การอธิบายถึงกําเนิดของกลุ่มผลประโยชน์ มักใช้ธรรมชาติของมนุษย์ท่ีเป็นสัตว์สังคมไม่ สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้โดยลําพังเป็นข้อกล่าวอ้าง เม่ือมนุษย์จําเป็นต้องพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน จึงต้องมีการอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มและกลายเป็นสังคม การรวมกลุ่มกันโดยเบื้องต้นเป็นการมา รวมกันโดยอาศัยความผูกพันเกย่ี วดองกันทางสายโลหิต ซ่ึงเป็นลักษณะของกลุ่มปฐมภูมิ (Primary Group) การเกิดข้ึนของกลุ่มปฐมภูมิจึงมีลักษณะท่ีสอดคล้องกับภาวะธรรมชาติของมนุษย์และเป็น การแบ่งงานกันทาํ รวมถึงการแจกจา่ ยผลประโยชน์ให้แกส่ มาชิกในสงั คมอันเป็นลกั ษณะของสังคม บุพกาลและสังคมเกษตรกรรมยุคต้นที่ยังไม่มีความสลับซับซ้อนทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และ การเมืองมากนัก (ดร.จักษ์ พนั ธช์ เู พชร, 2551)

243 เมื่อสังคมมีการพัฒนาสคู่ วามเปน็ สมยั ใหม่ สภาพทางเศรษฐกิจสังคม การเมือง เริ่มมีความ สลับซับซ้อนมากขึ้น ความขัดแย้งและการต่อสู้แข่งขันทวีความเข้มข้นมากขึ้นทําให้มนุษย์เกิดการ รวมตัวกันเพ่ือจัดต้ังกลุ่มในลักษณะท่ีนอกเหนือไปจาเหตุผลตามธรรมชาติ น่ันคือ การจัดตั้งกลุ่ม เพ่ือปกป้อง ตอ่ รอง และแสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการเมืองอันเป็นกลมุ่ ทย่ี กระดับข้ึน จากเดิมเป็นกล่มทุติยภูมิ (Secondary Group) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2534 : 714) จึงอาจ กล่าวได้ว่า กลุ่มทุติยภูมิเกิดข้ึนมาภายใต้เง่ือนไขความสลับซับซ้อนของเศรษฐกิจ สังคม และ การเมอื งท่เี พมิ่ ขึ้น กลุ่มผลประโยชน์ท่ีมีการรวมตัวกนั โดยมีพื้นฐานทางความคิดและอุดมการณ์กันมีให้เหน็ อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรมในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 ภายหลังการแพร่หลายของอุดมการณ์ทาง การเมืองแบบเสรีนิยมได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ทําให้การรวมตัวของประชาชนเพื่อแสดง ความคิดเห็นทางการเมืองจึงมเี พิ่มขึ้น และท้ายท่ีสุดก็มกี ารพัฒนาไปสู่การก่อต้ังพรรคการเมืองเพ่ือ เป็นการแสดงถึงอุดมการณท์ างการเมอื งของกลุ่มตน นอกจากอุดมการณ์ทางการเมืองแบบสมัยใหม่ และระดับพัฒนาการทางเศรษฐกิจของ สังคมจะเป็นปัจจัยท่ีส่งผลให้กลุ่มผลประโยชน์มีการพัฒนาสู่ความเป็นสถาบันทางการเมืองแล้ว พื้นฐานทางวัฒนธรรมทางสังคมก็เป็นอีกปัจจัยหน่ึงที่มีบทบาทสําคัญในการเอื้อหรือเป็นอุปสรรค ต่อกระบวนการเกิดและมีบทบาททางการเมืองของกลุ่มผลประโยชน์ ดังจะเห็นได้ว่าในสังคมท่ีมี วฒั นธรรมพน้ื ฐานเปน็ การยกยอ่ ง ยดึ ถอื เกาะติดอย่กู บั ตัวบุคคลและความสมั พันธ์แบบส่วนตวั สูง ก็ จะมีแนวโน้มการเกิดผลประโยชน์ต่ํา และรวมไปถึงบทบาททางการเมืองที่กลุ่มผลประโยชน์ จะมี โอกาสได้แสดงก็จะตํ่ากว่าในสังคมที่มีวัฒนธรรมพ้ืนฐานยอมรับในอุดมการณ์และผลประโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าการยึดถอื ความสัมพนั ธใ์ นระบบเครอื ญาติ ในความเป็นจริง เราต้องยอมรับว่า เราไม่สามารถช้ีชัดถึงพฒั นาการของกลุ่มผลประโยชน์ โดยภาพรวมได้อย่างถูกต้อง จนสามารถนําไปใช้อธิบายกลุ่มผลประโยชน์โดยภาพรวมได้อย่าง ถูกต้อง จนสามารถนําไปใช้อธิบายกลุ่มผลประโยชน์ของทุกประเทศได้อย่างถูกต้องไม่ผิดเพี้ยน เพราะในแต่ละประเทศมีพัฒนาการของกลุ่มผลประโยชน์ในแต่ละประเทศมีความแ ตกต่างกันไป เช่น การเกิดข้ึนของกลุ่มผลประโยชน์ที่มีพื้นฐานมาจากการประกอบอาชีพก็จะมีความแตกต่างกัน ออกไปตามโครงสร้างทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ อัลมอลด์และโพเวลล์ (Aimond and Powell, 1966: 33) ได้แบ่งประเภทของกลุ่มผล ประโยชน์ออกเป็น 4 ประเภท คอื 1. กลมุ่ ผลประโยชน์ ทเ่ี ปน็ สถาบนั (Institutional Interest Groups) 2. กลุ่มผลประโยชน์ที่มีการจัดตั้ง (Associational Interest Groups)

244 3. กลมุ่ ผลประโยชน์ท่ไี มม่ ีการจัดต้ัง (Non- associational Interest Groups) 4. กลมุ่ ผลประโยชน์ทีไ่ รบ้ รรทัดฐาน (Anomic Interest Groups) 1.กลุ่มผลประโยชน์ทีเ่ ป็นสถาบัน (Institutional Interest Groups) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ที่มีการรวมตัวกันและเกิดข้ึนภายในองค์การที่มีการจัดต้ังอย่างเป็น สถาบัน มีการจัดระเบียบเป็นอย่างดี เช่น บริษัท กลุ่มธุรกิจ กองทัพ ข้าราชการและพรรคการเมือง เป็นต้น ซ่ึงองค์การดังกล่าวจะมีหน้าที่หลักอย่างอื่นในทางสังคม ลักษณะการแสดงบทบาทของ กลุ่มประเภทน้ีมักจะออกมาในรูปของการเป็นตวั แทนเพื่อเรยี กร้องผลประโยชนท์ ้ังเพื่อกล่มุ ของตน และกลุม่ อื่นๆ ในสงั คมดว้ ย ในประเทศกาํ ลังพฒั นากลุ่มผลประโยชน์ประเภทนจ้ี ะมคี วามแขง็ แกร่ง และมีบทบาทสูงมากโดยสรุป กลุ่มผลประโยชน์ในลักษณะน้ีเป็นคนกลุ่มน้อยที่อยู่ในกลุ่มหรือ องค์การท่มี ีความเป็นสถาบันทางการเมืองหรือสังคม 2.กลุ่มผลประโยชนท์ ่ีมกี ารจดั ตงั้ (Associational Interest Groups) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ท่ีมีการรวมตัวกันอย่างเป็นทางการในโครงสร้างที่มีความชําน าญ เฉพาะอย่าง มีการจัดองค์การข้ึนอย่างมีระเบียบ และมักมีการจ้างเจ้าหน้าท่ีมาปฏิบัติงานของกลุ่ม อย่างถาวร กลุ่มประเภทนี้จะมีลักษณะพิเศษเฉพาะกลุ่มต่างกันไป เช่น สหภาพแรงงาน สมาคม พ่อค้า หอการค้าเป็นต้น มีโครงสร้างในการเรียกร้องผลประโยชน์ต่อระบบการเมืองอย่างชัดเจน การเรียกร้องผลประโยชน์จะเป็นการเรียกร้องเพื่อกลุ่มตนโดยเฉพาะ ลักษณะการเรียร้องผล ประโยชนจ์ ะมกี ารกระทาํ อย่างเป็นขั้นตอน 3.กล่มุ ผลประโยชนท์ ี่ไม่มีการจัดตั้ง (Non- associational Interest Groups) จะเป็นลักษณะท่ีไม่มีการรวมตัวกันในรูปแบบท่ีเป็นทางการ คือไม่มีการจัดตั้งองค์กรท่ี ถาวร ไม่มีการดําเนินการหรือกิจกรรมที่เป็นลักษณะต่อเนื่อง ขาดโครงสร้างของกลุ่มในการ ดําเนินการ เช่น กลุ่มชนชั้น กลุ่มเครือญาติ ซ่ึงเป็นกลุ่มที่มุ่งแสดงถึงความต้องการในผลประโยชน์ เป็นคร้ังคราว และมักใช้วิธีในการเรียกร้องผลประโยชน์ท่ีไม่เป็นทางการ ไม่มีกระบวนการท่ีเป็น ระเบียบแบบแผนในการเรียกร้อง เชน่ การเรียกร้องผ่านกลมุ่ เพือ่ น ผ่านกลุ่มญาตขิ องสมาชิกในกลมุ่ หรือผา่ นผ้นู าํ ทางศาสนาเป็นตน้ 4.กลุ่มผลประโยชนท์ ่ไี ร้บรรทัดฐาน (Anomic Interest Groups) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ท่มี ีการรวมตัวกนั เม่อื เกดิ วิกฤติการณ์ทีร่ ้ายแรง จึงมีลักษณะเป็นการรวมตัวที่ ขาดการจัดต้ังเป็นองค์กร หรือแม้จะมีการจัดตั้งเป็นองค์กรก็จะเป็นไปในลักษณะที่ไม่ยั่งยืน เป็น กลุ่มที่ไม่มีค่านิยมหรือแบบแผนในการเข้าร่วมแสดงบทบาททางการเมืองที่แน่นอน และมักใช้วิธี รุนแรงในการเรียกร้องผลประโยชน์ เพ่ือให้ได้มาตามวัตถุประสงค์ของกลุ่ม เช่น กลุ่มก่อความไม่ สงบ กลมุ่ ผู้ประทว้ ง เปน็ ตน้

245 จากการจัดแบ่งประเภทกลมุ่ ผลประโยชน์ตามแนวของอัลมอลด์ และโพเวลล์ แสดงถงึ การ ยอมรับในความสามารถของปัจเจกบุคคลว่า เป็นผู้ท่ีสามารถแสดงซึ่งผลประโยชน์ของตนได้แม้ เพียงตัวคนเดียว (Self Representation) ฉะน้ัน กลุ่มผลประโยชน์ตามนิยามของอัลมอลด์และ โพเวลล์ จงึ อาจเกิดขนึ้ ไดท้ ั้งโดยแนวคิดของปัจเจกบคุ คลที่มีผลประโยชนร์ ่วมกับกลุม่ ผลประโยชน์ ที่เข้าร่วม หรือเกิดมาจากการจัดต้ัง (Organized) ก็ได้ (พฤทธิสาณ ชุมพล, 2547: 128-129) จาก เง่ือนไขดังกล่าว สามารถนํามาพิจารณาการจัดประเภทกลุ่มผลประโยชน์ตามแนวของอลั มอลด์และ โพเวลล์ได้ว่า กลุ่มผลประโยชน์ใน 2 ประเภทแรก มีลักษณะการเกิดขึ้น จากการจัดตั้งในระดับสูง ในขณะที่กลุ่มผลประโยชน์มี 2 ประเภทหลัง มีลักษณะการเกิดข้ึนจากการจัดตั้งในระดับตํ่า นั่นคือ เปน็ การแสดงออกซึง่ ผลประโยชน์ของตนในฐานะปัจเจกบคุ คลในระดับสงู 9. การแบง่ ประเภทของกลุม่ ผลประโยชน์ 1. การแบง่ ตามลกั ษณะของกล่มุ เราอาจแบ่งกลุม่ ออกตามลักษณะของกลุม่ ได้ดังตอ่ นค้ี อื 1.1 กลุ่มทางการเมือง (Political Group) ได้แก่พรรคการเมือง สมาคมทางการเมือง รฐั บาล คณะรฐั มนตรี ชมรมทางการเมอื ง เปน็ ตน้ 1.2 กลุ่มทางเศรษฐกิจ (Economic Group) ได้แก่ สหกรณ์ ห้างหุ้นส่วบริษัท สหพันธ์ กรรมกร สหพนั ธน์ ายจ้ารง สมาคมชาวนาชาวไร่ สหภาพแรงงาน เป็นต้น 1.3 กลุ่มทางสังคม ได้แก่ มูลนิธิ องค์การทางศาสนา สมาคม สโมสร สภากาชาด โรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั โรงพยาบาล เป็นต้น อย่างไรก็ดี บางครั้งเราไม่สามารถแบ่งแยกให้ออกจากกันอย่างเด็ดขาดว่าอะไรเป็นกลุ่ม พรรคการเมือง กลุ่มทางเศรษฐกิจ กลุ่มทางสังคม เพราะกลุ่มมักจะมีวัตถุประสงค์หลายด้านปะปน กันไมม่ ากกน็ อ้ ย เช่นสหกรณ์ ซ่ึงเป็นกลุ่มทางเศรษฐกิจแต่มีวัตถุประสงค์ในทางสังคมด้วยกล่าวคือ ต้องช่วยเหลือทางด้านสวัสดิการทางสังคมของสมาชิก และในขณะเดียวกันก็มีวัตถุประสงค์ทาง การเมืองด้วย กล่าวคือ ต้องการสร้างอิทธิพลต่อรัฐบาลท่ีจะให้รัฐบาลให้ความช่วยเหลือกิจการของ สหกรณ์มากกว่าที่เป็นอยู่ทั้งในด้านการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายสหกรณ์และทางด้านนโยบายการ พัฒนาของรัฐบาลเป็นตน้ 2. การแบ่งตามการรับรองทางกฎหมาย เราอาจแบ่งกลุ่มออกตามฐานะการรับรองในทาง กฎหมายของกลมุ่ คอื 2.1 กลมุ่ ท่เี ป็นทางการ (Formal Group) ไดแ้ ก่ การท่มี ีกฎหมายของรัฐรบั รองฐานะของ กลุ่ม เช่น สหกรณ์ บริษัท รัฐบาล พรรคการเมือง วัดโรงเรียน โรงพยาบาล มหาวิทยาลัย สมาคม

246 สโมสร ฯลฯ ไม่ว่ากลุ่มดังกล่าวจะมีวัตถุทางการเมืองเศรษฐกิจหรือสังคมหรือหลายอย่าง ถ้า กฎหมายยอมรบั ใหจ้ ดทะเบียนถกู ต้องตามกฎหมายเราก็ถือวา่ เป็นกลมุ่ ทเี่ ป็นทางการท้ังส้ิน 2.2 กลมุ่ ท่ีไมเ่ ป็นทางการ (Informal Group) หมายถงึ กลุม่ ท่ีรวมกันข้นึ แต่ไม่มกี ฎหมาย ของรัฐยอมรับฐานะของกลุ่มเช่น การรวมกลุ่มของบุคคลเพ่ือเล่นแชร์ การพบปะสังสรรค์การพัก ผ่อนหย่อนใจ การบันเทิงเริงรมย์ ฯลฯ อย่างไรก็ดี หากกลุ่มเหล่านี้ได้รับการยอมรับให้จดทะเบียน ตามกฎหมายทจี่ ะกลายเปน็ กลมุ่ ที่เปน็ ทางการทันที นอกจานี้ยังมีการแบ่งกลุ่มออกในลักษณะต่างๆกันอีกเช่น การแบ่งออกเป็นกลุ่มที่ใช้ อํานาจ (Authoritative) เช่นรัฐบาล และกลุ่มที่ไม่ได้เก่ียวข้องกับรัฐบาล เช่น กลุ่มเอกชน หรือแบ่ง กลุ่มที่เกี่ยวกับสาธารณะ (Public Polity) เช่น รัฐบาล กระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ และกลุ่มท่ีเกี่ยว กับเอกชน (Private Group) เช่นบรษิ ทั หา้ งหนุ้ ส่วนฯลฯ 10. ความสาํ คญั ของกลุ่มผลประโยชน์ โดยท่ัวไปเรามักจะพบกลุ่มผลประโยชน์หลากหลายในทุกสังคม ส่วนในประเด็นของ ความสําคัญ บทบาท และจํานวนของกลุ่มผลประโยชน์จะมีมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับลักษณะของ สังคมน้ันๆ อันหมายถึง ท้ังในด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง แต่โดยท่ัวไปในสังคมที่มีความ เจริญทางอุตสาหกรรมสูงมักจะมีกลุ่มผลประโยชน์มากท้ังในแง่จํานวนและบทบาทหากเปรียบ เทียบกับสังคมเกษตรกรรม และหากเปรียบเทียบระหว่างระบอบการปกครองของสังคมจะพบว่า ในสังคมท่ีปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย จะมีกลุ่มผลประโยชน์ที่แสดงบทบาทและความ สําคัญเดน่ ชัดกวา่ ในสงั คมเผดจ็ การหรือคอมมวิ นิสต์ (ดร.จักษ์ พนั ธ์ชูเพชร, 2551) การมีกลุ่มผลประโยชน์ท่ีหลากหลายในสังคมทําให้ประชาชนสามารถเลือกที่จะเข้าร่วม เป็นสมาชิกของกลุ่มผลประโยชน์ได้หลายกลุ่มในเวลาเดียวกัน เม่ือมีการแข่งขันต่อรองใน ผลประโยชน์ระหว่างกลุ่มจึงมีลักษณะเป็นการประนีประนอมระหว่างกลุ่ม (non-zero-sum) มาก กว่าเป็นการแข่งขันยื้อแย่งดว้ ยกําลงั เพราะในการแข่งขันต่อรองผลประโยชนม์ ิได้หมายความว่าทุก กลุ่มในสังคมจะลงมาแข่งขันพร้อมๆกัน ในประเด็นเดียวกัน แต่จะเป็นการเข้ามาแข่งขันต่อรอง เฉพาะบางกลุ่มที่มีส่วนเก่ียวข้องกับผลประโยชน์(Issue and Time Bound) จึงไม่เกิดความรุนแรง และวนุ่ วายในสังคม สําหรับบทบาทของกลุ่มผลประโยชน์ที่มตี ่อการปกครอบระบอบประชาธปิ ไตย อาจกล่าว ได้สองบทบาทท่ีเด่นชัด และสําคัญ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2533 :233-23) คือการสร้าง อิทธิพลต่อสมาชิกสภานิติบัญญัติให้ดําเนินการตรากฎหมายไปในทิศทางที่กลุ่มตนต้องการซ่ึงอาจ เป็นไปเพ่ือจะให้ออกกฎหมายหรือระงับการออกกฎหมายก็ได้ วิธีการสร้างอิทธิพลต่อสมาชิก

247 รัฐสภาท่ีเป็นท่ีนิยมมากท่ีสุก็คือการล็อบบี้ (Lobby) ส่วนอีกบทบาทหนึ่งก็คือการสร้างอิทธิพลต่อ การกําหนดนโยบายของรัฐ เช่น การยื่นข้อเรียกร้อง การชุมนุมประท้วง เป็นต้น เพราะการกําหนด นโยบายของรัฐในระบอบประชาธิปไตยจะต้องพิจารณาถึงผลประโยชน์ของประชาชนด้วยเสมอ เพราะฉะนั้นกลุ่มผลประโยชน์จึงมีอิทธิพลต่อการกําหนดนโยบายของรัฐมากกว่าปัจเจกบุคคลแม้ ในสังคมทางการเมือง จะพบการพยายามเข้ามามีอิทธิพลของกลุ่มผลประโยชน์ที่หลากหลาย แต่ก็ มิได้หมายความว่า กลุ่มผลประโยชน์ทุกกลุ่มที่เข้ามาเรียกร้องหรือกดดันจะมีอิทธิพลและสามารถ ประสบความสําเร็จเสมอไป ท้ังน้ีเพราะความสําเร็จในการสร้างอิทธิพลของกลุ่มผลประโยชน์ข้ึน อยูก่ บั ปัจจัยหลายประการ เช่น 1. ขนาดของกลมุ่ (Sixe) โดยกลุ่มที่มีสมาชิกจํานวนมากจะมโี อกาสประความสําเร็จในการสร้างอิทธิพลเพื่อใหเ้ ป็น ไปตามที่กลุ่มของตนต้องการได้มากกว่ากลุ่มที่มีจํานวนสมาชิกน้อย เพราะกลุ่มที่มีจํานวนสมาชิก มากถือเป็นภาพสะท้อนถึงเจตนารมณ์ของคนกลุ่มใหญ่ในสังคม ทําให้การขับเคล่ือนกิจกรรมของ กล่มุ มกั ไดร้ ับการสนองตอบจากผ้มู อี ํานาจทางการเมอื ง 2. สถานภาพทางสังคม (Social Status) ในประเด็นนี้จะพบว่า หากกลุ่มใดสมาชิกมีสถานภาพทางสังคมท่ีสูงกว่า กลุ่มน้ันจะมี อิทธิพลมากกว่ากล่มุ ท่ีมสี ถานภาพทางสังคมต่ํา ทั้งนี้อาจเป็นเพราะบุคคลโดยท่ัวไปมกั มีเจตคติทดี่ ี ต่อผู้มีสถานภาพทางสังคมสูงเป็นพ้ืนฐาน ทําให้การให้ความร่วมมือและมีทัศนคติที่ดีต่อกลุ่ม เกิดข้นึ ไดโ้ ดยง่ายซึง่ สามารถอธิบายได้ด้วยหลกั การทางจติ วิทยา 3. ความสามคั คขี องกลมุ่ (Cohesion) บ่อยคร้ังท่ีกลุ่มขนาดใหญ่ต้องประสบความล้มเหลวเพราะขาดความสามัคคี สาเหตุหนึ่งท่ี ทําให้กลุ่มขนาดใหญ่ขาดความสามัคคีคือการมีจํานวนสมาชิกจํานวนมาก จนทําให้การปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหว่างสมาชิกภายในกล่มุ มีน้อยลง ท้ังในแง่ปริมาณและคุณภาพ จนอาจส่งผลให้เกิดความขัดแยง้ ในเป้าหมายและวิธีการของสมาชิก และขาดสํานึกร่วมในผลประโยชน์ร่วมกัน นอกจากน้ีแล้ว การ มีสมาชิกจํานวนมากอาจทําให้เกิดกลุ่มย่อยขึ้นภายในกลุ่มใหญ่ อันจะส่งผลเสียต่อการควบคุม ทศิ ทางในการปฏิบตั งิ านเพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายของกลมุ่ ได้ 4. ภาวะความเปน็ ผู้นาํ (Leadership) คุณภาพของผู้นํากลุ่มเป็นอีกปัจจัยหนึ่งในการนํามาซ่ึงความสําเร็จลักษณะของผู้นําท่ีมี คุณภาพมีอยู่หลายประการ เช่น ความสามารถในการดําเนินกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ภายนอกกลมุ่ มีความสามารถในการะดมทรพั ยากร และรกั ษาความสามคั คีภายในกลุ่มได้เปน็ อย่างดี

248 เป็นต้น หากผู้นํามีคุณภาพก็จะทําให้กลุ่มมีพลังและวิธีการที่แน่ชัดจนสามารถประสบความสําเร็จ ในการสร้างอทิ ธพิ ลทางการเมอื ง 5. สถานภาพทางการเงินของกลุม่ (Budget) สถานภาพทางการเงินของกลุ่มถือเป็นเง่ือนไขสําคัญอีกประการหน่ึง ต่อความสําเร็จหรือ ล้มเหลวของกลุ่มผลประโยชน์ เพราะการดําเนินการของกลุ่มผลประโยชน์จําเป็นต้องเสียค่าใชจ้ ่าย ในกระบวนการทั้งการประชุมเดินทาง โดยเฉพาะการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ แต่กไ็ ม่ไดห้ มายความ ว่า การมีเงินเป็นงบประมาณจํานวนมากแล้วจะทําให้กลุ่มผลประโยชน์สามารถกระทําการได้เกิด ประสิทธิผลเสมอไป (สนธิ เตชานันท์, 2548: 197) เพราะยังต้องขึ้นอยู่กับเง่ือนไขท่ีสําคัญประการ อนื่ ร่วมดว้ ย โดยเฉพาะความสามารถในการบริหารจัดการ ใชง้ บประมาณใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แก่ เป้าหมายของกลุ่ม 6. ความสามารถในการบริหารจัดการ (Managemen) หมายถึง กระบวนการจัดการเพ่ือทําให้กลุ่มผลประโยชน์มีกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับเป้า หมายของกลุ่ม ทั้งการจัดการด้านการเงิน การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ และการจัดการด้าน กระบวนการ เพราะหากสามารถดึงศักยภาพของบุคคลที่ร่วมอยู่ในกลุ่มของตนออกมาใช้ได้อย่าง เต็มที่ และกลุ่มผลประโยชน์น้ันมีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จในการสร้างอิทธิพลต่อผู้มีอํานาจ ทางการเมืองใหก้ ระทาํ หรืองดเวน้ การกระทาํ ไปในทิศทางที่กลุม่ ต้องการได้ 11. วิธีการดําเนินการของกลุ่มผลประโยชน์ การดําเนินการเพ่ือบรรลุถึงจุดมุ่งหมายของกลุ่มผลประโยชน์จะมีความแตกต่างกันทั้งใน รูปแบบและวิธีการ ซ่ึงแล้วแต่ว่ากลุ่มผลประโยชน์น้ันเปน็ กลุ่มในลักษณะใดและกําลังปฏบิ ัติอยูใ่ น ข้ันตอนใด การพยามยามที่จะเข้าไปมอี ิทธิพลต่อผู้มีอํานาจในการแบง่ สรรสิ่งที่มคี ุณค่าในสงั คมให้ กระทําหรือไม่กระทําตามท่ีกลุ่มตนต้องการ จึงต้องเก่ียวข้องกับเร่ืองของอิทธิพล กําลังและอํานาจ บังคับ (Influence, Power and Authority) อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ เพ่ือให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ตรงตามความ ประสงค์ของกลุ่ม เพราะฉะน้ันกลุ่มผลประโยชน์ส่วนใหญ่จึงต้องดําเนินการเพื่อสร้างในการบีบ บังคับท้ังในทางตรงและทางอ้อมเพ่ือหวังให้การกระทําน้ันส่งผลให้มีอํานาจยอมปฏิบัติตามที่กลุ่ม ตนตอ้ งการ (วิทยา นภาศริ ิกลุ กิจและสรุ พล ราชภณั ฑารักษ,์ 2521:216-218)

249 วธิ ดี ําเนินการของกล่มุ ผลประโยชน์อาจแบ่งออกได้ดงั น้ี 1. การดาํ เนินงานโดยตรงต่อฝ่ายผมู้ อี ํานาจ ซึง่ สามารถกระทําได้ 3 วิธี คอื 1.1 การดําเนินการโดยเปิดเผย หมายถึง การพยายามสร้างอิทธพิ ลที่กระทําโดยเปิดเผย ต่อสาธารณะและเปิดโอกาสให้สาธารณชนเข้ามามีส่าวนร่วม จึงมีลักษณะเป็นการเรียกร้องที่เปิด เผยถงึ ขอ้ เสนอและเงอื่ นไขต่างๆของกลุ่ม 1.2 การดําเนินการโดยปกติ ดําเนินการอย่างลับๆ ขาดพยายหลักฐานยืนยันวิธีการท่ี นิยมในประเทศทุนนิยมก็คือ การให้เงินสนับสนุนการเลือกตั้ง และการช่วยเหลือในด้านอื่นๆ แก่ บุคคลหรือพรรคการเมือง เม่ือบุคคลหรือพรรคการเมืองนั้นเข้าไปมีอํานาจทางการเมือง จึงเป็นการ ไม่ยากที่กลุ่มผลประโยชน์จะดําเนินการให้เป็นไปตามท่ีกลุ่มตนต้องการโดยผ่านบุคคลหรือพรรค การเมอื งทไ่ี ด้รบั เงินสนับสนุน 1.3 การดําเนินการโดยวิธีการทุจริตและใช้ข่าวสารในการสร้างอิทธิพล เป็นการสร้าง อทิ ธพิ ลโดยวิธกี ารคอรัปช่ัน ซงึ่ เปน็ ไปไดท้ งั้ การทุจริตโดยตรง เช่น การซ้อื สทิ ธิ ขายเสียง หรืออาจ ใช้วิธีการที่แยบยล เช่น การมองของขวัญ การพาไปพักผ่อนต่างประเทศ เป็นต้น อีกวิธีคือใช้ ข่าวสารในการสร้างอิทธิพล อันเป็นการกระทําท่ีอยบู่ นพ้ืนฐานของการให้ข้อมูลหรือรับข้อมูลแลว้ นาํ ไปใชใ้ นทางทีเ่ กิดประโยชน์แก่พวกพอ้ งของตนหรอื แก่เจา้ ของกจิ การบางกลมุ่ เทา่ นนั้ 2. การดาํ เนนิ การทางออ้ มต่อสาธารณะ ซึง่ สามารถกระทาํ ได้ 2 วิธี คอื 2.1 การใช้ส่ือเพื่อการโฆษณาชักจูง เป็นการนําเสนอเฉพาะข่าวท่ีเป็นประโยชน์ต่อฝ่าย ตน ซ่ึงอาจเป็นการเสนอข่าวต่อฝ่ายผู้มีอํานาจทางการเมืองหรืออาจเสนอข่าวต่อสาธารณชนแล้ว แต่กรณี 2.2 การใช้วิธีที่รุนแรง มักเป็นการกระทําของกลุ่มไร้บรรทัดฐานเป็นการเข้าไปมี อิทธิพลโดยวิธีการใช้ความรุนแรง เช่น การปิดถนน การยึดสถานที่ราชการหรือโรงงานเพ่ือสร้าง แรงกดดันให้ผู้มีอํานาจในการตัดสินใจยอมปฏิบัติตามท่ีกลุ่มตนต้องการ ซึ่งถ้าหากไม่ยอมปฏิบัติ ตามกล่มุ ผลประโยชน์ก็จะใช้วธิ ที ีทวีความรุนแรงและขยายขอบเขตการกระทาํ มากข้ึน กล่มุ ผลประโยชนก์ ับพรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์มีความแตกต่างจากพรรคการเมืองในประเด็นของวัตถุประสงค์ในการ เข้ามารวมตัวกัน กล่าวคือ กลุ่มผลประโยชน์มีเป้าหมายในการสร้างอิทธิพลในการโน้มน้าว (Influence) ให้ผู้ท่ีมีอํานาจทางการเมืองกระทาํ หรืองดเว้นการกระทําตามที่กลมุ่ ของตนเองต้องการ แต่ปฏิเสธท่ีจะเข้าไปดํารงตําแหน่งหรือมีหน้าที่ทางการปกครอง ในขณะที่พรรคการเมืองมีเป้า หมายในการเข้าไปมีอํานาจทางการปกครอง ในขณะที่พรรคการเมอื งมีเปา้ หมายในการไปมอี ํานาจ

250 ในการปกครอง การแขง่ ขันของพรรคการเมืองจงึ มไิ ดม้ เี ป้าหมายเพียงการสร้างอทิ ธิพลโน้มนา้ ว แต่ เปน็ การแข่งขันเพอื่ ให้ได้ชยั ชนะต่อพรรคอื่นเพอ่ื ใหต้ นสามารถเข้าไปมอี าํ นาจในการเป็นรัฐบาล แต่ในทางปฏิบัติแล้ว กลมุ่ ผลประโยชน์กับพรรคการเมืองมหี ลายประการท่ยี ากจะแยกออก จากกันให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม เพราะกลุ่มผลประโยชน์บางกลุ่มมีลักษณะใกล้เคียงกับพรรค การเมืองเป็นอย่างมากในขณะเดียวกัน พรรคการเมืองในบางกรณีก็มีรากฐานมาจากกลุ่มผล ประโยชน์ จึงมีลักษณะท่ีซอ้ นทับกัน การไม่สามารถแยกกล่มุ ผลประโยชน์ออกจากพรรคการเมือง ให้เห็นความแตกตา่ งอย่างชัดเจนได้เป็นเพราะ (พฤทธิสาณ ชุมพล, 2547 : 133-134) 1) กลุ่มผลประโยชน์บางกลุ่มอาจวิวัฒนาการไปเป็นพรรคการเมืองก็ได้ เช่นสหภาพ แรงงานในอังกฤษในศตวรรษท่ี 19 ไดร้ วมตัวกนั เป็นคณะกรรมการตัวแทนกรรมกร และในปี 1906 คณะกรรมการดังกล่าวไดก้ ลายเปน็ พรรคแรงงาน (Labour Party) 2) พรรคการเมืองบางพรรคอาจเป็นตัวแทนของกลุ่มชนแคบๆไม่สามารถมีนํ้าหนักใน สภาผู้แทนราษฎร หรือในการจัดต้ังรัฐบาลได้ พรรคเล็กๆ ดังกล่าวน้ีจะถือว่าเป็นพรรคการเมือง ได้หรอื ไมเ่ พยี งใด 3) กลุ่มผลประโยชน์บางกลุ่มอาจมีความสัมพันธ์อย่างสมํ่าเสมอกับพรรคการเมืองใด พรรคการเมืองหน่ึง เช่นในอังกฤษ สหภาพแรงงานมคี วามสัมพนั ธ์แนน่ แฟ้นกับพรรคแรงงาน 4) ในบางกรณี เช่น ในระบอบการเมืองแบบพรรคเดียว พรรคการเมืองท่ีมีอยู่พรรคเดียว นนั้ อาจมีอทิ ธิพลอย่างมากจนครอบงาํ กลมุ่ ผลประโยชนต์ ่างๆ จากความคลุมเครือของกลุม่ ผลประโยชน์กบั พรรคการเมืองท่ีอาจเกิดขึน้ ในบางกรณี ทาํ ให้ การให้คําจํากัดความของกลุ่มผลประโยชน์และพรรคการเมืองไม่สามารถเกิ ดขึ้นได้โดยปราศจาก ข้อสงสัย แต่บนรากฐานของความคลุมเครือที่เกิดขึ้นนี้ ก็ได้แสดงให้เห็นว่า กลุ่มผลประโยชน์และ พรรคการเมืองเป็นสถาบันทางการเมืองทมี่ ีจดุ ร่วมในการเกิดขนึ้ คอื มคี วามสนใจและผลประโยชน์ ร่วมกันของสมาชิกที่มารวมตัวอยู่ด้วยกัน แม้จะมีความต่างก็เป็นเพียงความต่างที่กระบวนวิธีและ เปา้ หมายของกระบวนวธิ ีเท่านน้ั กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) และพรรคการเมือง (Political Party) เป็นส่ิงที่แยกออก จากกนั ไม่ได้ ในประเทศประชาธิปไตย พรรคการเมอื งจะตอ้ งเปน็ ท่ีรวมของกลมุ่ ผลประโยชน์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง อาทิ ในประเทศอังกฤษ พรรคการเมืองจะต้องเป็นท่ีรวมกลุ่มผลประโยชน์ของสหพนั ธ์ การค้า สมาคมอาชีพ สหกรณ์ ฯลฯ และมีสมาชิกของพรรคมากกว่า 6 ล้านคนและพรรคอนุรักษ์ นิยมก็เป็นที่รวมกลุ่มของผลประโยชน์ของกลุ่มเจ้าของกิจการธุรกิจ เจ้าของท่ีดิน กลุ่มผู้ถือหุ้น สมาคมนายจ้างฯลฯ พรรคการเมืองมิได้อยู่อยา่ งโดดเดี่ยว หากแต่เป็นท่ีรวมกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ความแตกต่างระหว่างพรรคการเมืองกับกลุ่มผลประโยชน์อยู่ตรงท่ีพรรคการเมือง มี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook