ป.บัณฑิต เรอากสยาวรปชิ ราะกจอบติ กวารทิ เรยยี นาการเรียนรู้ ระดับป.บัณฑิต รายวิชา อาจารย์:อ.ดร.วีนสั ศรีศักดา
บทนา การพัฒนาการเรียนรู้ดว้ ยวิธีทางจิตวิทยาการเรียนรู้ การเสริมสร้างแรงจงู ใจ ทั้งด้านบวก และ ดา้ นลบแก่ผู้เรียนการพัฒนาการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษตามทฤษฎีต่างๆ เป็นกระบวนการสร้างให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้เรียนในช้ันเรียน เพ่ือหาหลักการและวิธีการที่เหมาะสมมาช่วย แก้ไขปัญหาด้านการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนทั้งยังสามารถส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพยิ่งข้ึนทาให้ผู้สอนได้ พัฒนาผลงานด้านการเรยี นการสอนเพ่ือถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้เรียน และเด็กที่มีความต้องการ พเิ ศษ ตามวธิ กี ารท่ที าให้ผ้เู รียนได้รบั ความรู้ความเข้าใจในบทเรียนไดง้ า่ ยขน้ึ ตามบริบทของตนเอง การนาจิตวทิ ยาการเรยี นรูจ้ ติ วิทยาการจูงใจและการเรยี นรู้ของเด็กที่มคี วามต้องการพิเศษมาถ่ายทอด ประยุกตป์ รับปรุงเปน็ แบบฉบับของบทเรียนออนไลน์ในรูปแบบของE-BOOKและปรับให้เข้ากับสถานการณ์ ปัจจุบันท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองและสามารถนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาเน้ือหานี้มาปรับใช้ กบั การเรยี นการสอนได้ในอนาคต
สารบัญ หนา้ เรอ่ื ง 5 9 ลกั ษณะและธรรมชาตขิ องการเรยี นรู้ ความหมายของการเรยี นรู้ 11 12 ความสาคญั ของการเรยี นรู้ 13 13 การมชี วี ติ รอด 14 การปรบั ตวั 15 ชว่ ยใหบ้ ุคคลไมต่ กเปน็ เคร่อื งมอื ของบคุ คลอ่นื การประกอบอาชพี ดา้ นการสง่ เสรมิ ปรบั ปรงุ บคุ ลกิ ภาพ ดา้ นบา้ นเมอื งและประเทศชาติ
สารบัญ หนา้ เร่อื ง 16 17 พฤตกิ รรมของบุคคลทเ่ี กดิ จากการเรยี นรู้ 19 19 พฤตกิ รรมทเ่ี ปลยี่ นไปจะตอ้ งเปลยี่ นไปอย่างคอ่ นขา้ งถาวร พฤตกิ รรมทเี่ ปลยี่ นแปลงไปจะตอ้ งเกดิ จากการฝกึ ฝน หรอื เคยมปี ระสบการณน์ นั้ ๆ มากอ่ น พฤตกิ รรมของบุคคลทไี่ มเ่ กดิ จากการเรยี นรู้ ด้านกระบวนการเจรญิ เตบิ โต หรือการมวี ฒุ ิภาวะ ด้านแนวโนม้ การตอบสนองของเผา่ พนั ธุ์
เร่ือง สารบัญ หน้า แหลง่ การเรยี นรู้ 21 22 สถานการณท์ างธรรมชาติ 24 สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม สภาพการจดั การเรยี นการสอน 27 28 ระดบั การเรยี นรู้ 29 ระดบั ท่ี 1 ระดับที่ 2 ระดบั ท่ี 3
สารบัญ หนา้ เรื่อง 31 ชนิดของการเรยี นรู้ 32 33 การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื คาชแี้ จงตา่ งๆ การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ทกั ษะ 35 การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั เจตคติ 42 ปจั จยั ท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 45 ตัวแปรทเี่ กย่ี วกบั ผเู้ รยี น (The Learner) ตวั แปรทเี่ ปน็ บทเรยี นและวธิ ีเรยี น (The Learning Process ) ตัวแปรทเ่ี กยี่ วกบั ครผู สู้ อน (The Teacher) 26/03/65
สารบัญ หนา้ เรอ่ื ง 35 ปจั จัยทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 42 45 ตวั แปรทเ่ี กย่ี วกบั ผเู้ รยี น (The Learner) ตวั แปรทเี่ ปน็ บทเรยี นและวธิ ีเรยี น (The Learning Process ) 49 ตวั แปรทเ่ี กยี่ วกบั ครผู สู้ อน (The Teacher) 49 อปุ สรรคท่ขี ดั ขวางการเรยี นรู้ 50 สภาพรา่ งกายทไี่ มเ่ หมาะสม 50 สภาพอารมณ์ท่ไี มเ่ หมาะสม ความบกพรอ่ งทางสมองและสตปิ ญั ญา สภาพแวดลอ้ มทไ่ี มเ่ อือ้ อานวยตอ่ การเรยี นรู้
สารบัญ เร่อื ง หนา้ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ 52 54 มุมมองทางพฤตกิ รรมนิยม 65 ทฤษฎสี มั พันธเ์ ชอื่ มโยง 98 ทฤษฎกี ารวางเงอ่ื นไข 100 มมุ มองทางปญั ญานยิ ม 116 ทฤษฏีการเรยี นรขู้ องกลมุ่ เกสตัลท์ ( Gestalt Theory) 127 ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คมเชงิ พทุ ธิปญั ญา (Social Cognitive Learning Theory) ทฤษฎีคอนสตรคั ติวสิ ต์ (Constructivist theory)
เรื่อง สารบัญ หนา้ แรงจงู ใจ 136 ความหมายของแรงจูงใจ 137 ลกั ษณะของแรงจงู ใจ 139 องค์ประกอบของแรงจูงใจ 143 ลกั ษณะของเหตจุ งู ใจ 145 ประเภทและความสาคญั แรงจูงใจ 151 ขน้ั ตอนของการเกดิ แรงจงู ใจ 157 กระบวนการของแรงจงู ใจ
เร่ือง สารบัญ หนา้ เดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษ 196 ความหมายของเดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ 197 198 ประเภทของเดก็ ท่ีมคี วามตอ้ งการพเิ ศษ 199 201 ความหมายของเดก็ ความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ 202 203 ลกั ษณะของเด็กความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ 204 สาเหตขุ องเดก็ ความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ ความหมายของเด็กทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ สาเหตขุ องเดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการได้ยนิ ความหมายของเดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา
สารบัญ หนา้ เรอ่ื ง 205 เดก็ ทมี่ คี วามต้องการพเิ ศษ 208 210 ลกั ษณะอาการของเดก็ ท่มี คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ญั ญา 211 สาเหตขุ องเดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางสตปิ ัญญา 214 เดก็ ที่มคี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย หรือการเคลอื่ นไหว หรอื สขุ ภาพ 215 ลกั ษณะเดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกายและสขุ ภาพ 219 ความหมายของเดก็ ที่มคี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ 220 ลกั ษณะอาการของเดก็ ท่มี คี วามบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ความหมายของเดก็ บกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมและอารมณ์ ลักษณะเดก็ บกพรอ่ งทางพฤตกิ รรมและอารมณ์
สารบัญ หนา้ เร่ือง 224 เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพิเศษ 225 228 ความหมายของเดก็ ออทสิ ตกิ 229 อาการของเดก็ ออทสิ ตกิ 230 สาเหตขุ องเด็กออทสิ ตกิ 233 ความหมายของเดก็ ความพกิ ารซอ้ น 235 ลกั ษณะของเดก็ ความพกิ ารซอ้ น 241 ปญั หาทางการเรยี นรขู้ องเด็กความพกิ ารซอ้ น การจัดการศกึ ษาใหก้ บั เดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ ยกตวั อยา่ งการนาไปใช้
1 1. นายรชั พล ทองมี 641996067 2. นางสาวรัตนา คงเทพ 641996068 3. นางสาววรัญญา พรมดา 641996073 4. นายวรากร ทรงเลศิ 641996074 5. นางสาววิภารัตน์ จันทร์เหล็ก 641996080 6. นายวษิ ณุ พิชัยรัตน์ 641996083 7. นางสาวสกาวรัตน์ ดาเกลย้ี ง 641996087 8. นายสมพงษ์ สวุ รรณกาญจน์ 641996088 1
2 2
3 ขอบเขตเนอ้ื หา ลักษณะและธรรมชาตขิ องการเรยี นรู้ ความหมายของการเรยี นรู้ ความสาคัญของการเรยี นรู้ พฤติกรรมของบคุ คลทเ่ี กดิ จากการเรยี นรู้ แหล่งการเรยี นรู้ ระดบั การเรยี นรู้ 3
ขอบเขตเน้อื หา 4 ชนิดของการเรยี นรู้ ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น อุปสรรคทขี่ ดั ขวางการเรยี นรู้ ความบกพรอ่ งในการเรยี นรู้ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ 4
5 นกั จิตวทิ ยาเชอ่ื ว่า มนุษยจ์ ะมกี ารเรยี นรไู้ ดก้ ็ต่อเมอ่ื มนษุ ยไ์ ด้ ทากจิ กรรมใดๆ แลว้ เกดิ ประสบการณ์ ซึ่งเปน็ ประสบการณท์ สี่ ะสม มามากๆ และหลายๆ ครง้ั ทาให้มนุษยเ์ กดิ การเรยี นรขู้ น้ึ และเกดิ การพฒั นาส่ิงทเี่ รยี นรจู้ นเกดิ เปน็ ทกั ษะ และเกดิ เปน็ ความชานาญ ดังนัน้ การเรยี นรขู้ องมนษุ ย์ ก็จะอยคู่ ู่กบั ตวั ของมนษุ ย์ เรียกวา่ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมทค่ี อ่ นขา้ งถาวร 5
6 1. การเรยี นรคู้ ือการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมคอ่ นขา้ งถาวร 2. การเรยี นรยู้ อ่ มมกี ารแกไ้ ข ปรับปรงุ และการเปลี่ยนแปลง อนั เน่อื งมาจากประสบการณ์ 3. การเปลย่ี นแปลงชวั่ ครงั้ ชว่ั คราวไมน่ บั วา่ เป็นการเรยี นรู้ 4. การเรยี นรใู้ นสิ่งใดสิง่ หน่ึงย่อมตอ้ งอาศยั การสงั เกต พฤติกรรม 6
7 5. การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการทที่ าใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม และกระบวนการเรยี นรเู้ กดิ ขน้ึ ตลอดเวลาที่ บคุ คลมชี วี ติ อยู่ โดยอาศัยประสบการณใ์ นชวี ติ 6. การเรยี นรไู้ มใ่ ชว่ ฒุ ิภาวะแต่อาศยั วฒุ ภิ าวะ 7. การเรยี นรเู้ กดิ ได้งา่ ยถา้ ส่งิ ทเี่ รยี นเปน็ สิง่ ทม่ี ี ความหมายตอ่ ผเู้ รยี น
8 8. การเรยี นรขู้ องแต่ละคนแตกตา่ งกัน 9. การเรยี นรยู้ อ่ มเปน็ ผลให้เกดิ การสรา้ งแบบแผนของ พฤตกิ รรมใหม่ 10. การเรยี นรอู้ าจจะเกดิ ขน้ึ โดยการตั้งใจหรอื เกดิ โดย บังเอิญ 8
9 การเรยี นรตู้ ามความหมายทางจิตวทิ ยา หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของบคุ คลอยา่ งคอ่ นขา้ งถาวร อันเปน็ ผลมาจากการฝกึ ฝนหรอื การมปี ระสบการณ์ 9
10 1. การมชี วี ติ รอด 4. การประกอบอาชพี 2. การปรบั ตวั 5. ดา้ นการสง่ เสรมิ ปรบั ปรงุ บุคลกิ ภาพ 3. ช่วยให้บคุ คลไมต่ กเปน็ 6. ด้านบา้ นเมอื งและประเทศชาติ เครือ่ งมอื ของบคุ คลอนื่ 10
11 การมชี วี ติ รอด การเรยี นรมู้ ีความสาคญั ตอ่ การมีชวี ิตรอ ได้แก่ เรยี นรู้ ในการแสวงหาอาหารและนา้ เรยี นรู้วิธกี ารรักษาผปู้ ว่ ยดว้ ย วิธกี ารทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู เรยี นรู้การหลกี หนหี รือหลีก เลยี่ ง ส่ิงท่ีอาจเปน็ อนั ตรายตอ่ ชีวติ และร่างกายหรอื เรยี นรูก้ าร รวมกลมุ่ ทางสงั คมและสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกับผู้อน่ื ในสงั คม เพอื่ ชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ยามเกดิ เหตกุ ารณ์คบั ขนั หรอื เมอ่ื มอี นั ตรายเกดิ ขนึ้ เปน็ ตน้ 11
12 การปรบั ตวั การเรยี นรมู้ คี วามสาคญั ตอ่ การปรบั ตวั ช่วยใหบ้ ุคคล สามารถเลือกวธิ กี ารปรบั ตวั มาใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม ทาใหบ้ คุ คล เลือกไดว้ า่ เมอ่ื ใดควรปรบั ตวั ใหเ้ ข้ากับส่งิ แวดลอ้ ม เม่ือใดควร ปรบั ส่งิ แวดลอ้ มให้เขา้ กบั ตวั เรา และเมือ่ ใดควรปรบั ทงั้ สิ่งแวดลอ้ มและตวั เราเขา้ หากนั 12
13 ชว่ ยใหบ้ คุ คลไมต่ กเปน็ เครอื่ งมอื ของบคุ คลอ่ืน การเรยี นรจู้ ะชว่ ยใหบ้ คุ คลไมต่ กเปน็ เครอ่ื งมอื ของบุคคลอื่น หรอื ไมถ่ ูกคนอืน่ หลอกลวงหรอื หลอกใชไ้ ดง้ า่ ยๆ การประกอบอาชีพ การเรยี นรมู้ คี วามสาคญั ตอ่ การประกอบการงานอาชพี ท้ังน้ี เพราะแตล่ ะอาชพี มีวิธีการปฏบิ ตั ทิ แี่ ตกต่างกนั ไปการเรยี นรจู้ ะชว่ ยให้ บคุ คลประสบกบั ความสาเรจ็ ในงานอาชพี งา่ ยขนึ้ รวดเรว็ ข้ึน 13
14 ดา้ นการสง่ เสรมิ ปรบั ปรงุ บุคลกิ ภาพ การเรยี นรมู้ คี วามสาคญั ตอ่ การสง่ เสรมิ ปรบั ปรงุ และแกไ้ ข บคุ ลกิ ภาพ เชน่ จะช่วยใหม้ คี วามรใู้ นการเลอื กหาเสือ้ ผา้ มาสวมใสใ่ ห้ เหมาะกบั รา่ งกาย และปกปดิ หรอื อาพรางสว่ นทีบ่ กพรอ่ งของ รา่ งกาย ช่วยใหม้ คี วามรใู้ นการเลอื กใชภ้ าษาเพอ่ื ส่อื สารใหเ้ กดิ ความ เขา้ ใจอนั ดีตอ่ กนั และเขา้ ใจรงกนั เป็นตน้ 14
15 ด้านบา้ นเมอื งและประเทศชาติ การเรยี นรมู้ คี วามสาคญั ตอ่ ความเจรญิ ของบา้ นเมอื งและ ประเทศชาติ เชน่ การนาเทคโนโลยใี หมๆ่ มาใชท้ างการเกษตร การอตุ สาหกรรม การสรา้ งถนนหนทาง หรือการให้การศึกษาแก่ ประชาชนในประเทศอยา่ งทว่ั ถงึ ช่วยใหป้ ระชาชนในประเทศมคี ุณภาพ ชีวิตในเกณฑ์ดี เปน็ ตน้ 15
16 1. พฤตกิ รรมท่ีเปลย่ี นไปจะตอ้ งเปลย่ี นไปอยา่ งคอ่ นข้างถาวร จึงจะถอื วา่ เกดิ การเรยี นรขู้ ึน้ หากเปน็ การเปล่ยี นแปลงชวั่ คราวกย็ งั ไมถ่ อื วา่ เปน็ การเรยี นรู้ เชน่ การ พยายามเรยี นรกู้ ารออกเสยี งภาษาต่างประเทศบางคา หากออกเสยี งได้ถูก ต้องเพยี ง ครง้ั หน่ึง แต่ไมส่ ามารถออกเสยี งซา้ ให้ถกู ตอ้ งได้อกี กไ็ มน่ บั ว่าเกดิ การเรยี นรกู้ ารออก เสียงภาษาตา่ งประเทศ ดงั นั้น จะถอื ว่าเกดิ การเรยี นรกู้ ต็ อ่ เมอ่ื ออกเสียงคาดงั กลา่ วได้ ถกู ต้องหลายครง้ั ซ่งึ กค็ ือเกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมท่ีค่อนข้างถาวร น่นั เอง 16
17 2. พฤตกิ รรมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปจะตอ้ งเกดิ จากการฝกึ ฝน หรือเคยมปี ระสบการณน์ นั้ ๆ มากอ่ น เชน่ ความ สามารถในการ ขบั รถ ซง่ึ ไมม่ ใี ครขับรถเปน็ มาแตก่ าเนดิ ตอ้ งไดร้ บั การฝกึ ฝนหรอื มปี ระสบการณจ์ งึ จะขบั รถเปน็ 17
18 พฤตกิ รรมบางอยา่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ โดยทเี่ ราไม่ต้องฝกึ ฝนหรอื มี ประสบการณ์ ไดแ้ ก่ พฤติกรรมท่ีเกิดขนึ้ จากกระบวนการ เจรญิ เตบิ โตหรอื การมวี ฒุ ภิ าวะและพฤตกิ รรมทเ่ี กิดจากแนวโนม้ การตอบสนองของเผา่ พนั ธุ์ 18
19 ในดา้ นกระบวนการเจรญิ เติบโต หรอื การมวี ฒุ ภิ าวะ ได้แก่ การทเี่ ด็ก 2 ขวบสามารถเดินได้เอง ขณะทเ่ี ดก็ 6 เดือน ไม่สามารถ เดินได้ ฉะน้นั การเดินจึงไม่จดั เปน็ การเรยี นรู้ แต่เกิดเพราะมวี ฒุ ิ ภาวะ เป็นตน้ ส่วนในดา้ นแนวโนม้ การตอบสนองของเผา่ พนั ธ์ุ หมายถึง ปฏิกรยิ าสะทอ้ น (Reflex) เชน่ กระพรบิ ตาเมอื่ ฝุ่นเข้าตา ชกั มอื หนีเมือ่ โดนของรอ้ น พฤตกิ รรมเหล่านี้ไม่ไดเ้ กดิ จากการเรยี นรู้ แต่ เป็นพฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาตขิ องเผา่ พนั ธมุ์ นษุ ย์ 19
แหล่งการเรยี นรู้ 20 การเรยี นรขู้ องมนษุ ยเ์ กดิ ขนึ้ ได้ในสภาพการณต์ า่ งๆ ดังนี้ สถานการณ์ สภาพแวดลอ้ ม ทางธรรมชาติ ทางสงั คม สภาพการจดั การเรยี นการสอน 20
แหล่งการเรียนรู้ 21 สถานการณท์ างธรรมชาติ 1. การเรยี นรทู้ เี่ กดิ จากสถานการณท์ างธรรมชาติ เปน็ การเรยี นรทู้ มี่ ธี รรมชาติเปน็ ผู้สอนหรอื การเรยี นรจู้ ากธรรม ชาติ เชน่ เมอ่ื อยใู่ นท่รี ม่ จะรสู้ กึ เยน็ สบายดีและมคี วามสขุ มากกวา่ การอยกู่ ลางแดดหรอื อยู่ กลางฝน มนษุ ยจ์ งึ ไปอาศยั อยใู่ นถา้ เมือ่ มถี ้าไม่เพยี งพอตอ่ ความต้องการมนษุ ย์ จงึ สรา้ งทอี่ ยอู่ าศยั โดยการเลยี นแบบมาจากถา้ ต่อจากนนั้ จะคอ่ ยๆ ดัดแปลงให้ เหมาะสมจนมาเปน็ บา้ นเรอื นดงั ทพี่ บเหน็ กันอยู่ทว่ั ๆ ไป 21
แหลง่ การเรยี นรู้ 22 สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม 2. การเรยี นรทู้ เี่ กดิ จากสภาพแวดลอ้ มทางสังคม มนุษยเ์ ปน็ สตั วส์ งั คมทมี่ ปี ฏสิ ัมพนั ธก์ นั อยตู่ ลอดเวลาทง้ั ในลักษณะการพดู คุย สนทนาการเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางสังคมในรูปแบบตา่ งๆเชน่ กจิ กรรมบนั เทงิ กจิ กรรมทางศาสนา กจิ กรรมทางการเมอื ง และการทางานอาชพี เปน็ ต้น นอกจากน้นั สือ่ มวล ชนแขนงตา่ งๆ ทงั้ โทรทศั น์ วทิ ยุ และหนงั สอื พมิ พ์ ยังได้ใหข้ อ้ มลู ความรแู้ ก่สมาชกิ ของสงั คมได้เรยี นรอู้ ยา่ งกวา้ งขวาง 22
แหล่งการเรยี นรู้ 23 สภาพแวดลอ้ มทางสงั คม ทั้งการเรยี นร้ทู ี่เกดิ จากสถานการณธ์ รรมชาตแิ ละการเรียนรู้ ท่ีเกิดจากสภาพแวดล้อมทางสังคม เป็นการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนโดยไม่ ตั้งใจหรือไม่ได้เจตนา และส่วนใหญ่เป็นการเรียนรู้ท่ีไม่มีรูปแบบ หรือเป็นการเรียนรู้ท่ไี ม่เป็นทางการ 23
แหล่งการเรยี นรู้ 24 สภาพการจัดการเรยี นการสอน 3. การเรยี นรทู้ เ่ี กิดจากสภาพการจดั การเรยี นการสอน การเรยี นรลู้ กั ษณะน้ีเปน็ การเรยี นรทู้ ี่รปู แบบ มคี วามตั้งใจท่ี ให้มีการเรียนรู้เกิดขึ้น โดยกาหนดจุดประสงค์นาทางและ จุดประสงค์ปลายทางของการเรียนรู้เอาไว้เรียบร้อยแล้ว มี ผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้โดยตรง มีการกาหนดหลัก สูตร เน้ือหาที่จะเรียน ตลอดจนกาหนดเกณฑ์การวัดผลการประเมิน เอาไว้ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นการเรียนรู้หรือการศึกษาใน สถานศกึ ษาน่นั เอง 24
แหล่งการเรยี นรู้ 25 สภาพการจดั การเรยี นการสอน การเรยี นรทู้ เี่ กดิ จากสภาพการจดั การเรยี นการสอนน้ี อาจมกี ารเรยี นรทู้ เี่ กดิ จากสถานการณท์ างธรรมชาติ และการ เรยี นรทู้ เ่ี กดิ จากสภาพแวดล้อมทางสงั คมพรอ้ มๆ กันไปกไ็ ด้ 25
ระดบั การเรยี นรู้ 26 ระดับที่ 1 ระดับการใชภ้ าษา ระดับท่ี 2 ระดับรู้ ระดับท่ี 3 ระดบั เรยี นรู้ 26
ระดบั การเรยี นรู้ 27 การเรยี นรอู้ าจเกดิ ขนึ้ ได้หลายระดบั จากระดบั ตา่ ทสี่ ุด จนถึง ระดบั สงู ทสี่ ดุ ซง่ึ จาแนกได้ 3 ระดบั ดังนี้ ระดับท่ี 1 หรือระดบั การใช้ภาษา เปน็ ระดับการเรยี นรู้ข้ันตา่ ท่สี ดุ ยงั ไมม่ ีการ เรียนรู้เกิดข้ึนกล่าวคือ บุคคลเพียงแต่พูดตามได้ แต่ยังไม่เกิดความเข้าใจและยัง ไม่ได้ปฏิบัติ เช่น เด็กร้องเพลง “หนูเล็กเด็กๆ ทั้งหลาย อย่านอนต่ืนสายเป็นเด็ก เกียจคร้าน”ได้ แต่เด็กยังคงนอนต่ืนสายเป็นประจา โดยให้เหตุผลว่าตนเองจะ ปฏิบัติอย่างไรก็ได้ ไม่เหน็ ว่าจะไปมสี ว่ นเกี่ยวข้องกบั เพลงท่รี อ้ งเลย 27
ระดับการเรยี นรู้ 28 ระดับท่ี 2 หรือระดับรู้ เป็นระดับที่มีความเข้าใจมาเก่ียว ข้อง แต่ยังไม่ได้ปฏิบัติหรือปฏิบัติบ้างเป็นบางคร้ังคราว หรือยังปฏิบัติไม่ครบ กระบวนการ เช่น รู้วา่ คนท่ีมีสุขภาพดีมีรูปร่างไดส้ ัดสว่ น มีผิวพรรณเปล่ง ปล่ัง ต้องรับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ พกั ผอ่ นให้เพยี งพอ แต่คนยังคงรับประทานอาหารแบบตามใจปาก ยอมอด อาหารเพื่อใหม้ รี ูปร่างดี และไมเ่ คยออกกาลงั กายเลย เป็นต้น 28
ระดบั การเรยี นรู้ 29 ระดับท่ี 3 หรือระดับเรียนรู้ เป็นระดับที่มี เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรทู้ ่ี การเปล่ียน แปลงพฤติกรรม ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ แทจ้ รงิ บคุ คลจะต้องเรยี นรใู้ หถ้ งึ จริงๆ โดยความรู้ความเข้าใจระดับที่ 2 ทั้งยังเป็นการ ระดบั สาม เพราะถา้ หากเพียงแต่..รู้ ปฏิบัติอย่างสม่าเสมอด้วย การเรียนรู้ระดับนี้จึงเป็น แตไ่ มส่ ามารถปฏบิ ัตจิ รงิ ๆ ได้ ก็จะ การเรียนรู้ระดับสูงท่ีสุด และเป็นจุดหมายปลายทาง เหมอื นกบั คาพงั เพย “ความรทู้ ว่ มหวั ของการเรยี นรูท้ กุ รูปแบบดว้ ย แตเ่ อาตวั ไมร่ อด ” 29
ชนดิ ของการเรยี นรู้ 30 1. การเรียนรเู้ ก่ยี วกบั ขอ้ เทจ็ จริงหรอื คาชแี้ จงต่างๆ 2. การเรียนรเู้ กย่ี วกบั ทกั ษะ 3. การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั เจตคติ 30
การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ขอ้ เทจ็ จรงิ หรือคาชแี้ จง 31 เปน็ การเรียนรเู้ พื่อการเข้าใจขอ้ เท็จจริงหรือคาอธบิ าย ที่มีอยู่ ในสถานการณ์ต่างๆ ของสังคม เพ่ือบุคคลจะได้มีการปฏิบัติถูกต้อง เช่น การเรียนรู้เพื่อการปฏิบัติตามเคร่ืองหมายการจราจร เรียนรู้ คาอธิบายวิธีการใช้ใช้ยาตามคาสั่งแพทย์ เรียนรู้ถึงอันตรายของโรค เอดส์ ตลอดจนวิธีปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเพื่อไม่ให้ติดเอดส์ หรือ เรยี นรขู้ ั้นตอนการเตรียมดินสาหรับปลกู พชื 31
การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ทกั ษะ 32 การเรียนรู้เก่ียวกับทักษะ (We Learn Skills) ได้แก่ การเรียนรู้ภาษา ตัวเลข หรือเรียนรู้การใช้กล้ามเน้ือในการ เคล่ือนไหวอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย ในระยะเร่ิมต้นของการ เรียนรู้ ควรมผี รู้ หู้ รอื ผู้เชี่ยวชาญคอยควบคมุ อย่างใกล้ชิดเพ่ือป้องกัน ไม่ให้มีการเรียนรู้ท่ีไม่ถูกต้องเกิดข้ึน หลังจากน้ันก็เป็นหน้าท่ีของ ผู้เรียนโดยตรงในการแสวงหาความชานาญดว้ ยการฝกึ ตนเองเสมอ 32
การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั เจตคติ 33 การเรียนรู้โดยเจตติ (We Learn Attitude) ได้แก่ การเรียนรู้เพ่ือให้ เกิดความช่ืนชม ชอบพอ รังเกียจ สิ่งใดสิ่งหนึ่งทั้งท่ีเป็นมนุษย์ สัตว์ สิ่งของ หรือสถานการณต์ ่าง ๆ ก็ได้ เจตคตอิ าจเกิดขน้ึ ได้จากประสบการณ์ตรงของตนเอง หรอื ได้รับการถา่ ยทอดเจตคติจากบุคคลใกล้ชิด เช่น บิดา-มารดา เพ่ือน ผู้ที่เคย มีประสบการณ์มาก่อน หรือจากส่ือมวลชน ก็ได้ เจตคติที่เกิดขึ้นแล้วยังสามารถ เปล่ียนแปลงได้ แตต่ ้องใชเ้ วลาข่อนขา้ งมาก 33
ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 34 ปัจจยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ตัวแปรที่เกีย่ วกบั ผเู้ รยี น (The Learner) ตัวแปรทเ่ี ปน็ บทเรยี นและวธิ เี รยี น (The Learning Process ) ตัวแปรทเ่ี กยี่ วกบั ครผู สู้ อน (The Teacher) 34
ปจั จยั ทม่ี อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 35 ความสมบรู ณ์ เพศ อวัยวะรบั สัมผัส เจตคติ ปัจจยั ทเี่ กยี่ วกบั ตวั ผเู้ รยี น อายุ ประสบการณ์ ความสนใจ ในการเรยี น ความสามารถ ทางปญั ญา 35
ปัจจยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 36 ปัจจยั ทเ่ี กย่ี วกับผเู้ รยี น เพศ โดยธรรมชาติทว่ั ๆ ไปแล้ว เพศหญงิ กับเพศชายมี ความสามารถในการเรยี นรใู้ กลเ้ คียงกนั แต่เนื่องจากทงั้ สองเพศมี ความสนใจและมคี วามตง้ั ใจในการเรยี นรตู้ ลอดจนความคาดหวังของ สังคมแตกตา่ งกัน ทาใหท้ งั้ สองเพศประสบความสาเรจ็ ในการ เรียนรแู้ ขนงวชิ าตา่ งๆ ไมเ่ หมอื นกนั 36
ปัจจยั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 37 ปจั จยั ทเี่ กย่ี วกับผเู้ รยี น อายุ บุคคลจะมีความพร้อมในการเรียนรู้ไปตาม วัย โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ในช่วงอายุ 20 -25 ปีจะเป็นระยะท่ีบุคคลมีความพร้อมในการเรียนรู้มาก ท่ีสุด ทั้งความพร้อมทางด้านสมอง ความสนใจ และการมองเห็น ความสาคัญของการเรียนรู้ แต่เมื่อผู้เรียนมี อายุเลย 35 ปีไปแล้ว ความพร้อมในการเรียนรู้ในด้านความจาจะลดลง สังเกตเห็นได้ชัดเจน จากการท่ีผ้เู รยี นต้องใชเ้ วลาในการเรียนร้สู งิ่ ใดสิ่งหนึ่งเพมิ่ ขึ้นกวา่ เดิมมาก 37
ปจั จยั ทมี่ อี ิทธพิ ลตอ่ กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น 38 ปจั จยั ทเี่ กยี่ วกับผเู้ รยี น ความสนใจและความต้งั ใจในการเรยี น ผู้เรยี นทีม่ คี วามสนใจ ในการเรยี น ย่อมทาให้ผ้เู รียนมสี มาธิ มีความจดจอ่ ท่มุ เท ให้กับ การเรียนอย่างเต็มที่ และจะมีโอกาสประสบกับความสาเร็จในการ เรยี นสูงกวา่ ผเู้ รยี นทม่ี ีระดบั สตปิ ญั ญาและความสามารถเทา่ เทียมกนั แตม่ คี วามสนใจและมีความตัง้ ใจในการเรียนต่ากวา่ 38
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271