Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตรึงใจนิจนิรันดร์: ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ตรึงใจนิจนิรันดร์: ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

Published by archsu.fac, 2021-02-17 03:27:17

Description: บรรณาธิการ: อาจารย์ ดร. เกรียงไกร เกิดศิริ
เผยแพร่: 5 มีนาคม 2560
จัดพิมพ์โดย: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
จัดจำหน่าย | เผยแพร่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
วัตถุประสงค์: จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

Search

Read the Text Version

ij»Í¥ÖĶ±ËĶ±Ë»È±IJ»Č ĹÉÁij»ÉĶÉ»ºČ ӟ̺»ijˢϭ IJ». ij»Í¥ÖĶ ²Ð»­Á¹¸¶ 1 26/4/2560 16:05:04

2 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ตรึงใจนิจนิรันดร ศาสตราจารย เกยี รติคณุ ดร. ตรงึ ใจ บูรณสมภพ จดั พิมพเ นือ่ งในโอกาส สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดําเนนิ ไปในการพระทานเพลงิ ศพ ศาสตราจารย เกยี รติคณุ ดร. ตรงึ ใจ บรู ณสมภพ ม.ป.ช., ม.ว.ม. วนั ที่ ๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๐ ณ เมรหุ ลวงหนา พลับพลาอิสรยิ าภรณ วัดเทพศิรินทราวาส กรงุ เทพมหานคร มหาวิทยาลัยศลิ ปากร | คณะสถาปต ยกรรมศาสตร และ หลกั สูตรนานาชาติระดบั บณั ฑิตศึกษา สาขาวชิ าการจดั การมรดกทางสถาปต ยกรรมกับการทองเทย่ี ว 3

ตรึงใจนิจนิรันดร ศาสตราจารย เกียรติคณุ ดร. ตรงึ ใจ บรู ณสมภพ ที่ปรึกษา ผชู ว ยศาสตราจารย ชัยชาญ ถาวรเวช | อธิการบดีมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร รองศาสตราจารย ดร. ชยั สทิ ธ์ิ ดานกติ ตกิ ุล | คณบดีคณะสถาปต ยกรรมศาสตร บรรณาธิการ เรยี บเรียงเนอ้ื หา มหาวิทยาลัยศลิ ปากร กองบรรณาธกิ าร ผูช วยศาสตราจารย สุนนท ปาลกะวงศ ณ อยธุ ยา | ประธานหลกั สตู รการ ออกแบบปก ออกแบบรปู เลม จดั การมรดกทางสถาปต ยกรรมกบั การทอ งเทยี่ ว (หลกั สตู รนานาชาติ ภาพถา ย ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา) ภาพถายทางอากาศ ศาสตราจารย เกียรติคณุ อรศริ ิ ปาณนิ ท แบบสถาปตยกรรม รองศาสตราจารย มาลินี ศรีสวุ รรณ จัดพมิ พโ ดย ผูช วยศาสตราจารย เดน วาสกิ ศิริ พิมพท ่ี อาจารย ดร. สุพจน จติ สทุ ธิญาณ ชยั โรจน เจนธํารง | สถาปนิกชาํ นาญการพิเศษ กองแผนงาน มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร กาญจนา นาคแดง | บรรณารักษช ํานาญการ หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ดร.เกรยี งไกร เกดิ ศริ ิ ดร.เกรยี งไกร เกดิ ศิริ - อสิ รชยั บูรณะอรรจน - กลุ พัชร เสนีวงศ ณ อยธุ ยา ประพันธพ งษ มนตแ กว - สุเมธ ถาวร - สุวรรณา เที่ยงนาดอน - ยุพา เพ็ชรแกว - อิสรชัย บรู ณะอรรจน - อัมพิกา อําลอย - ปท ม วงคป ระดษิ ฐ - ปารฉิ ัตร พรหมสวสั ด์ิ - กลุ พัชร เสนีวงศ ณ อยุธยา ดร.สพุ จน จิตสทุ ธญิ าณ - ผูชว ยศาสตราจารย เดน วาสิกศริ ิ ดร.เกรยี งไกร เกิดศริ ิ ดร.เกรยี งไกร เกดิ ศริ ิ - อสิ รชยั บูรณะอรรจน - กลุ พชั ร เสนวี งศ ณ อยธุ ยา สิริชยั รอ ยเที่ยง อสิ รชยั บูรณะอรรจน ชัยโรจน เจนธาํ รงค - กองแผนงาน มหาวิทยาลัยศิลปากร - ดร.เกรยี งไกร เกดิ ศิริ - สุริยัน จันทรส วา ง - อสิ รชัย บรู ณะอรรจน - Nittha Boupany - ณฐั วฒุ ิ สมัยวจิ ิตรกร - จิติวัฒน อุปวรรณ - ชนะรัฐ รัตนพันธ - บุญยพักตร รอดทอง - อาภาภรณ วงศล กั ษณาพนั ธ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร | คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ศิลปากร หลกั สตู รการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมกบั การทอ งเทยี่ ว (หลักสูตรนานาชาต)ิ บรษิ ัท อี.ที. พับลิชช่ิง จาํ กัด 51/612 ซอยลาดพราว 128/1 ถนนลาดพราว แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพมหานคร 10240 โทรศัพท 0-2731-0587 โทรสาร 0-2731-0586 4 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ศาสตราจารย เกียรตคิ ุณ ดร. ตรงึ ใจ บูรณสมภพ 5

6 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

7

คาํ กลา วจากสภามหาวทิ ยาลยั ในวันรบั พระราชทานเกยี รติบัตรเปน ศาสตราจารยเ กียรติคุณ วันท่ี ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๗ ศาสตราจารย ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ เปนผูมีความรูความสามารถทั้งในดานวิชาการ วิชาชีพ และการ บริหาร มีความชํานาญเปนพิเศษ ในสาขาวิชาสถาปตยกรรมและผังเมือง ไดอุทิศเวลา ในการสอน ท้ังในระดับ ปริญญาตรีและระดบั บณั ฑิตศกึ ษาในหลายชน้ั ปมาโดยตลอดทกุ ภาคการศึกษา ตราบจนกระทัง่ ในปสดุ ทายที่เกษยี ณ อายรุ าชการ กย็ งั ดาํ รงตาํ แหนง ประธานดาํ เนนิ งานหลกั สตู รนานาชาติ ของคณะสถาปต ยกรรมศาสตร ซง่ึ ทา นเปน ผู รเิ รม่ิ ดาํ เนนิ งานหลกั สตู รนข้ี นึ้ ทาํ การสอน ทงั้ ในระดบั ปรญิ ญาโทและปรญิ ญาเอก นบั เปน หลกั สตู รนานาชาตหิ ลกั สตู ร แรกทม่ี กี ารเรยี นการสอนในมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ดว ยความสามารถและความมปี ระสบการณส งู ยงิ่ หลงั จากเกษยี ณ อายุราชการแลว จึงไดร บั การจา งจากมหาวทิ ยาลัยศิลปากรใหทาํ การสอนในฐานะอาจารยป ระจําตอ มา ดานการบริหาร ศาสตราจารย ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ ไดดํารงตําแหนงท้ังหัวหนาภาควิชา คณบดี และ อธกิ ารบดี ไดทําการพฒั นามหาวิทยาลยั ในหลายๆ ดา น ในระดับคณะฯ เปน ผรู ว มกอ ตงั้ สาขาวิชาสถาปต ยกรรมไทย ในระดับปริญญาตรี และสาขาวิชาสถาปตยกรรมในระดับบัณฑิตศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย ทานเปนผูริเริ่มดําเนิน การกอ ตงั้ คณะดรุ ยิ างคศาสตร คณะสตั วศาสตรแ ละอตุ สาหกรรมการเกษตร วทิ ยาลยั นานาชาตแิ ละหลกั สตู รนานาชาติ ไดจัดสรางศูนยศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ และอาคารหอสมุดหลังใหม รวมท้ังขยายอาคารเรียนของคณะวิชา ตา งๆ จัดทาํ ลานศิลปน ทวี่ ังทาพระ และสรางวิทยาเขตท่อี าํ เภอชะอาํ จงั หวัดเพชรบุรี ดานวชิ าการ ไดเ ปน ผูทม่ี ผี ลงานวิจยั ทีไ่ ดรบั การตีพิมพเผยแพร และนาํ ไปปฏิบัตจิ ริงไดทงั้ ในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ ไดใหการบริการและเผยแพร เปนที่ยอมรับท้ังในสวนราชการและเอกชน ไดรับเชิญเปนผูทรง คณุ วฒุ ใิ นคณะกรรมการขององคก รตา งๆ เปน ผปู ระเมนิ ผลงานทาง วชิ าการหลายประเภท ลา สดุ เปน ประธานประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั ดา นวิชาชีพ ทานเปนผมู ผี ลงานออกแบบสถาปต ยกรรม และการวางผงั ชมุ ชนดเี ดน เปนทีย่ อมรับในวงการ สถาปนิก ไดรับการคัดเลือกเปนสถาปนิกอนุรักษพลังงานดีเดน และเปนผูบริหาร วิชาการดีเดน ไดรับเลือกเปน กรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยามและสภาสถาปนิกหลายสมัย จนถึงปจจุบัน ไดรับความไววางใจจากสภา สถาปนกิ ใหเปนประธานจัดสอบผูขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรม และเปน ผูแทนไปประชมุ ณ ตาง ประเทศหลายคร้ัง ดว ยความสามารถและผลงานทอี่ าํ นวยคณุ ประโยชนใ หก บั คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร และประเทศชาติ สภามหาวิทยาลัยศิลปากร จึงเห็นสมควรแตงต้ังให ศาสตราจารย ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ เปน ศาสตราจารยเกยี รติคณุ เพอื่ เปนเกยี รตปิ ระวตั ิสืบไป 8 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ุณ ดร. ตรงึ ใจ บรู ณสมภพ นามศาสตราจารย ดร. ตรงึ ใจ บูรณสมภพประไพสกลุ เดน ความรคู วามสามารถฉลาดเปน พเิ ศษเนน สถาปตยจ ดั ผงั เมือง ดั่งประทีปพรา งพรูงามฟเู ฟอ ง ดา นบรหิ ารบริการวขิ าชพี อธิการบดีประเทอื งปญ ญาชน เปน คณบดีทวีมงุ ความรงุ เรอื ง ท้ังบทความนอ ยใหญป ระสิทธผิ ล สรางกุศลเสริมสง แกว งการ เขยี นหนงั สือแตงตาํ รางานวิจัย สถาปนกิ อนรุ ักษนกั บรหิ าร พิมพเ ผยแพรทัว่ ไทยไปสากล สมศักดศิ์ าสตราจารยเ กยี รตคิ ุณ ฯ วชิ าชีพชัดเจนเห็นประจกั ษ สมาคมสถาปนกิ สยามตามหลายวาร มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร รองศาสตราจารยนันทา ขุนภกั ดี ประพนั ธ 9

ศาสตราจารยเ กียรตคิ ณุ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ ศาสตราจารยเ กียรติคณุ นามวิบลุ บง ตรงึ ใจ ชื่อเสยี งกองเกรียงไกร สกลุ ตรบู รู ณสมภพ ปริญญาชัดรเู จนจบ สอนคณะสถาปตย วชิ าชพี กเ็ ช่ียวขาญ ระดับตรโี ทเอกครบ ประโยชนม ีแกหนว ยงาน ในประเทศเสมอมา สอนศษิ ยสีส่ ิบป ใหประโยชนการศึกษา โอบเอ้อื ตางองคก าร อนุรกั ษด ีเดน เปน รางวัล เรื่องจัดการมรดกกนั ชํานาญงานวจิ ัย ปริญญาเอกหลักสูตรปฐม ออกแบบงานโอฬาร ศรีบัณฑิตอนั อดุ ม เกยี รติเมธนิ ศิลปากร กอต้ังและบริหาร สถาปตยกับทองเท่ียวนั้น เหมาะปรชั ญาดษุ ฎี เกริกกติ ตมิ ศกั ดิ์สม มหาวิทยาลยั ศิลปากร รองศาสตราจารยน ันทา ขนุ ภกั ดี ประพนั ธ 10 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

อาลัยรัก 11

คาํ ไวอาลัยแด ศาสตราจารยเกยี รตคิ ุณ ดร.ตรงึ ใจ บูรณสมภพ จากการที่ ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ อดีตอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร และสมาชกิ วฒุ ิสภา ผอู ทุ ศิ ตนเองใหก บั ประเทศชาตทิ างดา นการเมือง ผูสรางสรรคอ งคค วามรูดานสถาปต ยกรรมใหก บั สงั คมไทยเสมอมา รวมทั้งเปนแบบอยา งท่ี ดีตออนุชนรุนหลัง ไดถึงแกกรรมดวยโรคมะเร็ง ณ โรงพยาบาลพญาไท 2 เม่ือวันท่ี 11 พฤศจิกายน 2559 นับเปนการสูญเสียครั้งสําคัญของวงการวิชาชีพสถาปนิกไทย รวมท้ัง วงการการศึกษา โดยเฉพาะอยางย่ิงมหาวิทยาลัยศิลปากร ตองประสบกับความโศกเศราที่ ตอ งสูญเสียบุคลากรผูมคี วามสามารถไปอีกทานหนึ่ง ศาสตราจารยเกยี รตคิ ุณ ดร. ตรึงใจ บรู ณสมภพ นบั เปนปูชนียบคุ คลทสี่ าํ คัญทาน หนึ่งที่มคี ณุ ปู การตอ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากรเปนอยางย่งิ ตลอดเวลาทผ่ี านมาทานไดใ ชค วามรู ความสามารถที่มีอยูรอบดานท้ังในดานการสอนและการถายทอดความรูเชิงวิชาการ ตลอด จนความสามารถดา นการบรหิ ารในโอกาสทไ่ี ดด าํ รงตาํ แหนง คณบดคี ณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร และอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เพื่อพัฒนาและสรา งสรรคคุณ ประโยชนแกมหาวิทยาลัย รวมท้ังเปนแบบอยางท่ีดีใหแกศิษย คณาจารยในมหาวิทยาลัย และสถาปนกิ รุนหลังตลอดระยะเวลาของการทํางานในชวงชีวิตของทา น โดยทานเปน ผรู ิเริ่ม กอตั้งคณะดุริยางคศาสตรในลักษณะโครงการพิเศษข้ึนเปนคณะวิชาแรกของมหาวิทยาลัย ในปพ.ศ.2541 พรอมทั้งนําการบรหิ ารจัดการการศกึ ษาแนวใหม มาใชเ พ่อื ลดการพึง่ พางบ ประมาณแผน ดนิ และไดว างแนวทางในการพฒั นาหลกั สตู รหลากหลายมากขน้ึ จนเปน ทย่ี อมรบั และเช่ือถือดานการศึกษาสาขาวิชาดนตรใี นระดบั ชนั้ นาํ ของประเทศ นอกจากน้ี ทา นยงั เปน ผรู เิ รม่ิ การขยายพน้ื ทที่ างการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ไปยังบา นหว ยทรายใต ต.สามพระยา อ.ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ในปพ.ศ.2542 โดยไดด าํ เนนิ การวางแผนแมบทการจัดการศึกษาและทางกายภาพของวิทยาเขตแหงใหมในภาพรวมเพื่อ เปนแนวทางในการดําเนนิ การ จวบจนปจ จุบันวทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบุรีไดม ีการพัฒนา และขยายการศึกษาในคณะวิชาตางๆ ไดแก คณะสัตวศาสตรและอุตสาหกรรมการเกษตร คณะวทิ ยาการจัดการ และคณะเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ทาํ ใหการขยายโอกาส ทางการศึกษาไปยังภูมิภาคตะวันตกสรางชื่อเสียงใหกับมหาวิทยาลัยและเปนประโยชนอยาง ยง่ั ยนื ตอ ไป 12 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ในดานการเมืองการปกครอง และสังคม ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บรู ณสมภพ ก็ไดร บั ความไวว างใจในการทํางานในสถานะสมาชกิ วุฒิสภา โดยดาํ รงตาํ แหนง ประธานกรรมาธิการดานศาสนา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ศิลปะและวฒั นธรรม และเขา รว มใน การเคล่ือนไหวทางการเมืองเพ่ือรักษาความถูกตองและปกปองผลประโยชนของประเทศชาติ หลายครั้ง ตลอดจนไดม สี วนในการสนบั สนนุ องคก รการกศุ ลตา งๆ จนทําใหไ ดร ับรางวลั “แม ดีเดนแหงชาติ ประจําป 2556” ประเภทแมผูทําคุณประโยชนตอสังคม ของสภาสังคม สงเคราะหแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ กระผมในนามอธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ขอแสดงความเสยี ใจกบั ครอบครัว “บูรณสมภพ” และขอคารวะดวยความเคารพยิง่ ตอ “ศาสตราจารยเกยี รติคณุ ดร. ตรึงใจ บรู ณสมภพ: “สถาปนกิ หญงิ หวั ใจแกรง แหง แผน ดนิ ไทย” ผเู ปน ทงั้ ครผู ปู ระสทิ ธปิ ระสาทวชิ า ความรู และทกั ษะทางวิชาชพี ดา นสถาปตยกรรมใหแกศษิ ย ผูเปนท้งั นกั บรหิ าร นักวางแผน และเปน ผใู หต อ สงั คมโดยรวมจวบจนวาระสดุ ทา ยของชวี ติ ขอใหค ณุ ความดที ที่ า นไดท าํ ใหก บั มหาวิทยาลัยศิลปากรและแผนดินไทยจงเปนกุศลผลบุญนําพาดวงวิญญาณของทานไปสู สมั ปรายภพแหงความสงบสุขทเี่ ปน นิจนิรันดรเทอญ. ผูช ว ยศาสตราจารยช ยั ชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลยั ศิลปากร 13

คาํ อาลัย ศาสตราจารยเกยี รติคณุ ดร.ตรงึ ใจ บูรณสมภพ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอ แสดงความเสียใจอยางสุดซึ้งตอการจากไปของศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ ผรู ังสรรคผลงานมากมายไว ใหกับวงการวิชาชีพและวิชาการดานสถาปตยกรรมของประเทศ ขอใหคุณงามความดีที่ทานไดบําเพ็ญมาอยางยาวนาน จงเปน ปจจัยนําพาดวงวิญญาณอันผองใสของทานไปสูสัมปรายภพ เทอญ รองศาสตราจารย ดร.ชัยสิทธิ์ ดา นกติ ติกลุ คณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตร 14 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

พ่ีตรึงใจท่ผี มรูจกั ผมรูจักกบั พ่ีตรงึ ใจตง้ั แตป พ.ศ.2506 ที่คณะสถาปตยกรรมศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ผม เปนนอ งใหม พตี่ รงึ ใจเปนซีเนียรแ ลว ผมจําไดว าพ่ตี รึงใจเปน ซีเนยี รคนแรกที่เรียกผมไปใชง าน คือใหไ ปสอน เดก็ ๆ ชัน้ ประถมที่โรงเรยี นแหง หนงึ่ ใหเตน “ทอม ทอม” พ่ีตรงึ ใจเปน คนทมี่ ีลกั ษณะพิเศษทผ่ี มสงั เกตเหน็ ไดอ ยอู ยา งหนึ่งคอื ถา เหน็ วาอะไรไมถ ูกตอ ง พี่ตรงึ ใจจะไมย อมแพ ตอ งสูกันใหรูเ ร่อื ง ในขณะทเี่ รียนมอี ยคู ร้ังหนงึ่ ทอี่ าจารยผ สู อนวชิ าโปรเจคดีซายนซ่ึงเปนวชิ า หลัก ใหคะแนนโปรเจคแบบโหด คือใหค ะแนนตกเปนสว นใหญ พี่ตรึงใจเห็นวาไมเปน ธรรม จึงรวมตัวกนั ใน รุนขอเขาพบครูแหลมหรือทานคณบดี ม.ร.ว.แหลมฉาน หัสดินทร และเรียนใหคณบดีทราบเร่ืองวิธีการให คะแนนของทานอาจารยดงั กลา ว ผมไมแ นใจวาเร่ืองนจี้ บลงอยา งไร แตก แ็ สดงใหเหน็ ถึงธรรมชาติของความ เปนคนท่ีไมย อมแพกับสิง่ ท่ีเหน็ วาไมถกู ตอ งของพ่ีตรงึ ใจไดเ ปนอยา งดี พี่ตรึงใจเปน คนท่ีมีความสามารถรอบตวั เปนทที่ ราบกนั ดวี าในแวดวงสถาปตยกรรมเม่อื ราวๆ 50 ปกอนนนั้ จะเนนในเรอื่ งการประกอบวิชาชพี เปน สว นใหญ เร่ืองทางวิชาการ เชน การเขยี นบทความ การทาํ งานวิจัย หรือการเขียนตําราน้ันเปนส่ิงที่หางตัว ผมคิดวาพ่ีตรึงใจเปนสถาปนิกในกลุมแรกๆ ที่บุกเบิกเรื่อง วิชาการทางสถาปต ยกรรม เชน การเขยี นบทความทางวชิ าการสถาปตยกรรมลงในหนงั สือ “อาษา” เปนตน และตอ มากไ็ ดท าํ งานทางดา นวชิ าการในระหวา งรบั ราชการทคี่ ณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร จนไดร บั ตาํ แหนง ศาสตราจารย และศาสตราจารยเ กยี รติคุณตามลาํ ดับ นอกจากงานทางดา นวิชาการแลว พต่ี รึงใจยงั ไดร บั ตาํ แหนง ทางการบริหารระดับสูงในมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร คือไดเปนคณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตร และตอมาก็ไดรับตําแหนงอธิการบดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร พต่ี รงึ ใจมผี ลงานสาํ คญั ในฐานะผบู รหิ ารมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรมากมาย เชน การพฒั นามหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี และวทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร นครปฐม ทงั้ ยงั เปน ผกู อ ตงั้ คณะ ดรุ ิยางคศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร และเปนผูส รา งหลกั สูตรสาขาวิชาการจดั การมรดกทางสถาปตยกรรม กบั การทอ งเทยี่ ว (หลกั สตู รนานาชาต)ิ ซงึ่ เปน หลกั สตู รปรญิ ญาเอกหลกั สตู รแรกของคณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร อีกดว ย สวนผลงานทางดานการประกอบวิชาชีพทางสถาปต ยกรรมน้นั ผมคดิ วา มีความหลากหลาย แตผ ล งานดา นหนึง่ ซ่ึงพต่ี รงึ ใจเปน ผูบุกเบกิ คนสําคัญทงั้ ทางดานวิชาชีพและวชิ าการคือดา นการอนรุ กั ษพ ลังงาน พี่ ตรงึ ใจทํางานทั้งดา นการวิจัยเรอ่ื งการอนรุ ักษพลังงานทางดา นสถาปต ยกรรมเปน คนแรกๆ และไดน ํามาใชใน การประกอบวิชาชีพ โดยสิ่งท่ีเปนประจักษพยานก็คือ รางวัลจากสมาคมสถาปนิกสยามจากการออกแบบ โรงแรมซง่ึ มคี ุณสมบัติในการอนรุ ักษพ ลังงาน การจากไปของพ่ีตรึงใจจึงนับวาเปนความสูญเสียทรัพยากรที่มีคุณภาพทางดานสถาปตยกรรมของ สังคมไทยและผมขอแสดงความเสยี ใจมายงั ครอบครวั ของพต่ี รึงใจมา ณ ที่น้ี ผมหวังวาคุณความดีทพ่ี ่ีตรงึ ใจ ไดประกอบข้ึนมาตลอดชีวิตคงเปนสิ่งที่ดลบันดาลใหพ่ีตรึงใจไดไปอยูในท่ีซึ่งมีแตความดีงามและมีความสงบ สุขตลอดไป ผชู ว ยศาสตราจารย สุนนท ปาลกะวงศ ณ อยธุ ยา ประธานหลักสตู รนานาชาติ ระดับบณั ฑิตศกึ ษา สาขาวชิ าการจดั การมรดกทางสถาปตยกรรมกบั การทอ งเท่ยี ว 15

16 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

17

อาลยั \"เปยก\" รูจกั ศาสตราจารย ดร. ตรงึ ใจ บรู ณสมภพ ซง่ึ ตอไปจะขอ เรยี กวา \"เปยก\" มานานมาก ตงั้ แตเรยี นอยทู ีค่ ณะสถาปต ย จุฬา ตอนนั้นเปย กเปนเดก็ สาวหนา ตานา รกั สดใส และเรยี นดี ตอ มาอีก หลายป เรากไ็ ดทํางานรวมกนั ท่ี “คณะสถาปต ย ศิลปากร” เปย กได พิสูจนใหเห็นวา เธอยังมีความสามารถในการทํางานหลายๆ ดาน ชีวิตการทํางานของเธอจึงเจริญกาวหนาไปเร่ึอยๆ จนถึงตําแหนง สงู สุด คือเปน อธกิ ารบดี แมเมื่อเกษียณอายจุ ากราชการแลว เธอก็ยงั ไดทํางานเพอ่ื ประเทศชาตติ อ ไปอีกนาน ในฐานะวุฒสิ มาชิก ระหวา งชว งเวลาอัน ยาวนานกวา 50 ป เปย กเปน ทง้ั เพื่อนและนอ งทร่ี กั ใครสนิทสนม แมเมี่อไมไดทํางานดวยกันแลว เราก็ยังมีสันทนาการรวม กนั อยตู ลอดเวลา ไดพบปะพูดคุย รับประทานอาหารและทอ งเที่ยว ดวยกันอยางสนุก การท่ีเปยกจากไปจึงเหมือนการสูญเสียคนใน ครอบครัวทรี่ ักใครส นทิ สนมไป แตก แ็ นใ จวา เปย กคงไดไ ปอยูในภพ ภูมิท่ีดียง่ิ ๆขึน้ ไปอยางแนน อน. รกั จากพห่ี นู รองศาสตราจารย อินทริ า ยมนาค 18 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ชวงซากุระบานที่วอชิงตัน ดีซี ประมาณป 2521 มีโอกาสไดตอนรับ เปยกและ ครอบครัว ที่บานในนิวเจอรซี่ดวยความยินดียิ่ง นอกเหนือจากการเที่ยวชมอาคารและชอป ปงในนิวยอรคแลว ไดไปวอชิงตัน ดีซี เพ่ือชมซากุระบานดวยกัน เปนชวงเวลาท่ีมีความสุข สนุกสนาน ในบรรยากาศท่ีสวยงามและอบอุน ถึงแมจะเปนชวงเวลาส้ันๆ แตก็อยูในความ ทรงจาํ ตลอดมา ไดพบกันอีกเมื่อมาสอบ เขาเปนอาจารยทค่ี ณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ศิลปากร ตามท่ีเปยกไดชวนไว จําไดวา อาจารยที่สัมภาษณมี พ่ีหนู, ติ๋ว, เปยก และ อาจารยก ําธร มีผูสอบผานและเขา เปนอาจารยพ รอมกันอกี 2 คน คอื อาจารยส มชาย และ อาจารยสาทิศ เปน เพอ่ื นรวมงานกับเปย กทงั้ ทางดา นวิชาการและวชิ าชพี จากการทเี่ รยี นทางดา น สถาปตยกรรมเมืองรอนเหมือนกัน จึงรับผิดชอบวิชาที่เก่ียวของรวมกัน รวมท้ังงานวิจัยใน เรื่องการประหยัดพลังงาน ในโครงการมหาวิทยาลัยเขียวสะอาด ซึ่งไดรับรางวัลงานวิจัยดี สาขาปรชั ญา เปย กไดเ ขยี นหนงั สอื ทนี่ กั ศกึ ษาทางดา นสถาปต ยกรรมใชป ระกอบการเรยี นและ อา งองิ หลายเลม เปย กเปน ผรู เิ รมิ่ โครงการปรญิ ญาเอก AHMT และไดข อใหช ว ยเปน กรรมการ ในคณะกรรมการดําเนินงานหลักสูตรนี้ ซ่ึงก็ไดรวมเปนหนึ่งในคณะกรรมการฯ ตั้งแตเริ่ม โครงการจนถึงปจจบุ นั น้ี ในชว งทเี่ ปย กเปนประธานหลักสตู ร AHMT ไดไ ปทัศนศกึ ษารวมกับ เปย กและนกั ศกึ ษา AHMT หลายคร้ัง คร้ังสุดทายเปน การไปทัศนศกึ ษาท่ีประเทศโครเอเชีย ก็ตองขอบคุณเปยกที่ใหโอกาสไปรวมทัศนศึกษาดวย ไดรวมงานประกวดแบบกับเปยก ถึง แมจ ะไมช นะแตก ท็ าํ ใหม ปี ระสบการณใ นเรอื่ งการประกวดแบบมากขนึ้ ซงึ่ สามารถนาํ มาขยาย ผลตอไปได เปยกเปนคนจิตใจดีมีนํ้าใจ ชอบชวยเหลือ เปนคนราเริง แจมใส แมกระทั่งเมื่อ ตอนไปเยี่ยมเปยกที่โรงพยาบาลกับพ่ีหนูและต๋ิว เม่ือวันที่ 12 ตุลาคม 2559 เปยกก็ยัง อุตสาหเตรียมของขวัญวันเกิดไวให ในชวงที่เปยกเร่ิมไมสบาย ก็มีความหวังวาเปยกจะเปน ปกตไิ ดเหมือนเดมิ นาเสยี ดายทเี่ ปยกมีอาการทรุดลงเรื่อยๆ และจากไปในทส่ี ุด ขอใหคุณงามความดีตางๆ ที่เปยกไดทําไว จงดลบันดาลใหดวงวิญญาณของเปยก ไปอยใู นสรวงสวรรคด วย เทอญ เปด (รองศาสตราจารย มาลินี ศรสี ุวรรณ) 11 มกราคม 2560 19

ระลกึ ถงึ ทา นศาสตราจารยเ กยี รตคิ ุณ ดร.ตรงึ ใจ บูรณสมภพ นบั ต้ังแตป  2511 เมอ่ื ผมเขาเรียนมหาวทิ ยาลัยศิลปากร ในคณะสถาปต ยกรรมศาสตร รุนท่ี 14 ผมก็ไดพบอาจารย ตรึงใจ เกิดศิริ เปนครั้งแรก เม่ือทานเขามาทํางานเปนอาจารย (สาวสวย) ในปนน้ั พอดี ทานใหค วามสนใจรุนน้เี ปน พิเศษเน่ืองจากมีนอ งเพ่อื นทานเขา มาเรยี น ถงึ 3 คน รนุ 14 พวกเรามีดวยกัน 27 คน ประกอบดวย เมธา บนุ นาค (ศิลปน แหง ชาติ สาขา ทัศนศิลป - สถาปตยกรรมรวมสมัย) สุชา มโนหาญ ธเนศวร สิงคาลวาณิช (ผูจัดการบริษัท กฤษฎามหานคร) ธนู พลวัฒน (คณบดคี ณะสถาปตย กรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนที่ เคยชวยอาจารยในงานประกวดบานประหยัดพลังงานของบริษัทปูนซีเมนตไทย จํากัด) ภุชชงค ศรีสุวรรณ สมบูรณ สกุลอิศริยาภรณ (สถาปนิกสํานักงาน SJA) ฯลฯ รวมทั้ง ราชันย วงศศิริ ทไ่ี ปชว ยทํางานทบ่ี า นรุนแรก จนกลายเปนสาํ นกั งาน “นนท- ตรงึ ใจ” ในเวลาตอมา ทา นจะชมลูกศิษยรุน 14 น้ีมากๆและบอยครั้งวาเกงมากๆๆ แตในขณะเดียวกนั กม็ ักจะ ถามผมเสมอวา “ตุยเรียนรุนไหน” ทานเปนผูริเริ่มแนวทาง “การออกแบบสถาปตยกรรมเมือง รอน” โดยเฉพาะการออกแบบแผงบังแดด ซึ่งเปนเรื่องสาํ คัญในสมยั น้ัน ตาํ ราของทา นกลายเปน คําภรี โดยปรยิ าย พ.ศ. 2523 ผมกลบั มาเปน อาจารยท ีค่ ณะสถาปต ยกรรมศาสตร ไดสักพกั ใหญ กอน ทานไปเรียนปรญิ ญาเอกทฝ่ี รง่ั เศส แลว กลบั มาทํางานสอน เปนคณบดีคณะสถาปต ยกรรมศาสตร และอธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร ตามลําดับ ชวงเวลาดังกลาว ผมไมไดชวยงานทานเปน กิจจะลักษณะ นอกจากงานจรเปน ครง้ั คราว เนื่องจากสไตลท ํางานท่ีแตกตางกนั ทานชอบลุยชน ปญ หาไปเร่อื ยๆ สวนผมประเภท “ชา ๆไดพราเลมงาม” ซึง่ สดุ ทายนอกจากผมจะไมไ ดพรา แลว ยังไมไดอะไรสักอยางเปนช้ินเปนอัน ในขณะท่ีทานทํางานใหญๆ สําเร็จไปหลายเรื่อง อาทิ การ ขยายมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรไปจงั หวัดเพชรบรุ ี เปด วิทยาเขตสารสนเทศ ผูก อ ตัง้ คณะดุริยางค- ศาสตร และอ่นื ๆนบั ไมถวน อยา งไรก็ตาม ผมไมส ามารถหลบหลีกอาจารยตรึงใจไปไดนาน เนอื่ งจากมารับตําแหนง คณบดี ในป 2543 และตองเขาประชุมกับทานในฐานะอธิการบดีทุก 2 สัปดาห แลวทานก็หา ภาระใหผมโดยไมสามารถปฏิเสธ ดวยการริเริ่มโครงการวิจัยขนาดใหญโดยไดรับทุนวิจัยจาก สาํ นักงบประมาณกอ นใหญ โครงการวิจัยที่ยงิ่ ใหญน ้ชี อ่ื “การรกั ษาเอกลกั ษณของสถาปต ยกรรม ทองถิ่นและสิ่งแวดลอมเพื่อดึงดูดนักทองเท่ียว” ครอบคลุมพื้นท่ี 9 จังหวัด โดยผมตอง รับผดิ ชอบจงั หวดั เลย งานวจิ ยั ชน้ิ นีส้ ว นตวั คิดวา ทาํ ไดไ มค อ ยดีนกั แตก ลับไดรับรางวัลการวิจยั จากสภาวิจยั แหง ชาติ พ.ศ. 2547 และเปนรางวัลวจิ ัยระดับชาติ รางวลั เดยี วทไ่ี ด ยงั คิดเลยวา เปน เพราะบารมีของอาจารยต รึงใจหรือเปลา เม่ือจากลงจากตําแหนง อธิการบดี แทนท่ีทานจะ พกั ผอ น พอกลับมาประจาํ ทีค่ ณะฯ ทา นกม็ าลยุ งานใหญอีก ดวยการเปดหลักสูตรศิลปศาสตร มหาบณั ฑติ และหลกั สูตรปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมกับ 20 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

การทองเที่ยว (Architectural Heritage Management and Tourism) ซ่ึงนับวาเปน หลกั สตู รปรญิ ญาเอกนานาชาติ โครงการพิเศษ หลักสตู รแรกของคณะฯ โดยไมม งี บประมาณ ทางการสักบาทเดียว ในขณะที่ผมมีแตวิตกกังวลเน่ืองจากเปนผูรับผิดชอบหลักสูตรตาม กฎหมาย แตทานก็ลุยเด่ียวไปขางหนา ติดตอหาความรวมมือจากตางประเทศ โดยเฉพาะ มหาวิทยาลัยในประเทศออสเตรเลียจนเปดสอนไดสําเร็จ จะวาไปแลวงานนี้ผมไดเรียนรูได ประสบการณในการทาํ งาน และอะไรอีกหลายๆอยา งจากทานวา “ถาไมก ลาทาํ กไ็ มมีวันจะ ไดท าํ และสาํ เรจ็ ” หลังจากเกษียณอายุราชการไปแลว อาจารยหันไปทํางานการเมือง ในตําแหนง วุฒิสมาชิก (ส.ว.) ผมไมคอยไดชวยงานทานเทาไรนัก เนื่องจากไมใชเรื่องท่ีถนัด ยกเวน เร่ืองวิชาการ อาจารยไดต ามตวั ใหไ ปชวยเปน กรรมการสอบคัดเลอื กนกั เรียนทุนปรญิ ญาเอก ตางประเทศสายสังคมศาสตร (การผังเมือง) ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ซง่ึ ก็ไดชวยอาจารยอ ยหู ลายป จนกระท่ังปลายป 2557 อาจารยโทรศัพทม าถึงตอนเย็นพอเชาของวนั รงุ ข้ึนก็ตอ ง ไปประชุมท่ีรัฐสภาในฐานะคณะอนุกรรมาธิการ ปฎิรูประบบผังเมืองและการใชพื้นท่ี คณะ กรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สภาปฏิรูปแหงชาติ (สปช.) งานน้ี ทําตอเน่ืองอยูเกือบป ตลอดเวลาท่ีทํางานไมมีใครทราบวาทานปวยหนักเพราะทานไมเคย ขาดประชุม จนงานเสร็จทานถึงไดหยุดภารกิจดานปฏิรูปการผังเมืองอยางถาวร เพื่อพัก รักษาตัว สวนผมยังตองสานตอภารกิจน้ีตอมาอีก ในคณะกรรมการปฎิรูปดานการผังเมือง และการใชพื้นที่ สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) และเสร็จสิ้นนําเสนอสภานิติ- บญั ญัติ (สนช.) ชว งกลางป 2559 ตลอดเวลาทร่ี วมงานกัน ทานเปนผมู เี มตตาสูง ไมค ิดเล็กคดิ นอย ใครไปทะเลาะกับ ทา นเร่ืองงาน รุง เชา ขึ้นมาบางคนอาจยงั ติดใจ แตอ าจารยตรงึ ใจไมเ คยยอ นกลบั ไปเร่อื งเดมิ อีก ทาํ งานตอไปหรือมเี รอ่ื งใหมๆ มาใหท ะเลาะแทน ผมจะจดจําครงั้ สดุ ทา ยทไี่ ปเยี่ยมทา นที่ บาน ทานยงั ราเริง เปน “ตรึงใจ” คนเดมิ ท่ีไมเ คยแสดงอาการทกุ ขรอน ไมว าเรอื่ งอะไรก็ตาม แถมกาํ ชับวา “ไมตอ งลําบากมาเย่ียมอกี นะ” รองศาสตราจารยสิทธิพร ภิรมยร่ืน คณบดี คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 2543-2547 สถ.บ. มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร รุนท่ี 14 พ.ศ. 2511 21

Dear Family, Friends and Colleagues of Dr.Trungjai, I am very saddened by the news. Dr Trungjai was a formidable lady and, not long ago, had seemed indestructible. Her achievements were indeed considerable - successful architect, university presi- dent, urban conservation advocate, politician and much more. I knew her best as the initiator of the AHMT program, of course. She visited my office at the Uni- versity of Melbourne when I was Dean - it might have been 2000 or 2001. We discussed her ideas for the program; I advocated a strong research focus on the Western model while Dr Trung- jai was more inclined to the professional doctorate model, more or less along the lines of the universally understood JD (Juris Doctor) or the Harvard DD. In the event a compromised program was proposed to the Silpakorn authorities, while I suggested that Bill Logan from Deakin University should be approached to design the coursework component. I believe that the result, over the longer term, has been successful. I must say that Dr Trungjai and I had our disagreements over the years. I always felt (and still feel) that there was inadequate emphasis placed on research quality. Even more strongly, I dis- agreed with her constant concern for \"political correctness\" in university research - it was clear that she disliked the sort of highly analytical research that has long emanated from Thammasat University, for example. So, we disagreed, though it was always in a spirit of great mutual re- spect; I also think we both always enjoyed our disagreements. On a lighter note, I also often disagreed with her over-kindness towards the students - at the time of a student's defence and examination, she would present an almost harsh attitude to the poor student and then, when we retired to make judgment on the dissertation, she would plead for the highest possible grade to be awarded. Underneath the firm exterior, she was really very kind. The AHMT program's budget was always a problem. I disagreed strongly with the university's funding model for the program - no PhD program is viable if funded solely on the basis of student fees. Every PhD program that I know of is heavily subsidised by its university. So Trungjai, Bill Chapman and I worked together around 2004-2005 to seek a funding stream - we approached the university president at that time, also Thaksin and the US and Australian governments through their Bangkok ambassadors. All, sadly unsuccessful and so the funding problem continues. Also Trungjai, Sumet Jumsai and I would often have dinner together - we had some very enjoyable times. I am very sad. She was a good and memorable friend. Regards, Ross James King 22 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

Friday, November 11, 2016 I am very saddened by the death of a wonderful lady and outstanding leader. May she rest in peace. My deep condolences to her family and friends. Corazon Catibog-Sinha Ph.D Sunday, November 13, 2016 Thank you for letting me know the sad news. Professor Trungjai was a wonderful person, dedicated to her city and country, and great champion of Thai cultural heritage. She was exceptionally kind to me during a couple of my own medical crises. We owe her a lot. My thoughts are with her family and all her architecture and heritage colleagues at Silpakorn. Best wishes, Profeesor William Logan Former Director of Cultural Heritage Centre for Asia and the Pacific, Deakin University, Australia. January 29th 2017 Yes, I heard of Ajarn Trungjai's passing but thank you for letting me know as well. She was a wonderful and inspirational lady who touched the lives of everyone she met. An example for us all. I will miss her very much. As ever, Professor William Chapman, Ph.D. Director of the Graduate Program in Historic Preservation and Professor in the American Studies, the University of Hawai‘i at Manoa 23

We live our lives as though death is some far off event. Yet, we also know, in our living, death is the profoundest of mysteries. And so when death arrives it is always a shock even when anticipated. It is the en- igma of being/non-being. When I heard of Prof. Dr Trungjai’s passing, it was accompanied by both a deep sense of sadness about her loss to us all and a deep sense of gratitude that our paths had crossed and I had been a small part of her vision for heritage education in Thailand. We first met at Silpakorn before the idea of the heritage course had been fully formulated. I was just another academic passing through Thailand. But then I was asked to attend one of the first planning meet- ings at Deakin University in Melbourne. This was the true beginning of our collaboration. I can truly say that without Prof Dr Trungjai’s inspiration to lead the architectural heritage management and tourism program, my life would have been very different. I owe her a huge debt because she encouraged me to turn my academic attention to Thailand and SE Asia more gener- ally. It was a daunting challenge but how rewarding has been this journey. Prof Dr Trungjai was a most valued colleague, a model of the highest of professional standards and yet with a most generous heart. Her hospitality and her welcoming embrace was precious and much appre- ciated. Her counsel was wise and always tempered with such compo- sure and civility. She was a gift to us all. She will be greatly missed. Dr. Russell Staiff Senior Lecturer, Tourism and Heritage Studies, Western Sydney University 24 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

คิด................ คํานึง ถึง ครรลอง ของมนษุ ย ถึง................ ท่สี ดุ จากลาลบั คือ ดบั สูญ ตรงึ .............. ติดไว ในความดี ทวีคูณ ใจ................ อาดูร ถงึ วนั วาร “อาจารยตรงึ ” ดว ยความระลกึ ถึง ศาสตราจารย เกียรตคิ ุณ ดร. ตรงึ ใจ บูรณสมภพ “อาจารยตรงึ ” ของลกู ศษิ ยส ถาปตย ศลิ ปากร ผเู ปนทรี่ ักตลอดไป สมาคมนักศึกษาเกา คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยศิลปากร 25

แด เจา จอมวิสยั ทัศน ผซู ึ่งมองการณไ กล ไมเ คยคดิ เลยวาอาจารยจะจากไปเร็วขนาดนี้ เพราะอาจารยเปนคนทีม่ คี วามมุงมัน่ และความสามารถพเิ ศษเฉพาะตวั ในการทจ่ี ะทาํ ใหท กุ สง่ิ ทกุ อยา งเปน ไปตามทต่ี ง้ั ใจ ผมจงึ คดิ วา อาจารยจ ะตอ งมงุ ม่ันและตัง้ ใจท่ีจะรักษาตวั ใหห ายปวยเปนแน แตเห็นทีจะเขาใจผิด เพราะ พลังมงุ ม่นั ไดไ หลกลบั คืนธรรมชาติไปหมดแลว อาจารยเปนคนท่ีใชพลังมากเพราะอยูเฉยๆ ไมเปน และคิดที่จะทําอะไรตอมิอะไร อยูตลอดเวลา เรียกไดวา จอมคิด จอมโปรเจค จอมปฏิบัติ จอมบุกเบิก ฯลฯ ผมจึงยกให เปน “เจา จอมวสิ ัยทศั น” ซึ่งเหน็ ไดจากผลงานของอาจารยท มี่ อี ยมู ากมาย และอาจารยกม็ กั จะมาชวนใหผมรวมงานดวยอยูเสมอๆ เชนงานออกแบบสถานเอกอัครราชทูตไทยประจํา กรงุ รยิ าด ประเทศซาอฯุ เพ่อื สง ประกวด ซง่ึ ในทีส่ ดุ ก็ชนะและไดก อ สรา งจนแลว เสรจ็ เปนท่ี ภมู ิใจนนั้ อาจารยก ็ดงึ ผมเขาไปมีสวนรวมดว ยในชว งตน ตอนทอี่ าจารยเ ขา รับการสรรหาเพอ่ื เปน อธกิ ารบดี ก็มาชวนผมไปเปนรองอธิการฯ ทําใหรูสึกเปนเกียรติอยางย่ิง แตผมก็ตองขอปฏิเสธเพราะจากประสบการณเมื่อตอนที่ อาจารยเปน คณบดแี ละผมเปน หวั หนาภาควชิ าท่ีตอ งทาํ งานรวมกัน ผมเกรงวาผมจะกลาย เปนฝายคานแทนท่ีจะเปนฝายสนับสนุน และการท่ีผมไดทํางานบริหารจนหางงานวิชาการ มาเปนเวลานานพอสมควร จงึ ถึงเวลาท่ีควรกลบั ไปทาํ ผลงานทางวชิ าการเพ่ิมขึ้นไดแลว งานช้ินสําคัญท่ีอาจารยชวนผมและอีกหลายทานใหรวมดวยชวยกันหลังจากที่ อาจารยพนตําแหนงอธิการบดีแลว และที่ผมยังทําอยูจนถึงทุกวันน้ี คือ การเปดหลักสูตร นานาชาติ สาขาการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมกับการทองเที่ยว ในลักษณะโครงการ พิเศษระดับปริญญาโทและเอก ซ่ึงเปนหลักสูตรสหวิทยาการที่ไดคิดข้ึนแบบชาญฉลาดจาก การท่ีอาจารยเห็นกระแสทิศทางการเคล่ือนไหวและมองการณไกล โดยนําเอาศาสตรทาง สถาปตยกรรม การอนรุ ักษ การจดั การ และการทอ งเท่ียว มาบรู ณาการเขา ดวยกนั ทาํ ใหได รับการสนับสนุนจากหลายหนวยงานที่เก่ียวของและชวยในการจัดสรรทุนการศึกษาให นกั ศกึ ษาอีกดวย หลักสูตรน้ีเปนหลักสูตรบุกเบิกในหลายดานเลยทีเดียว เพราะเปนหลักสูตรระดับ ปริญญาเอกหลักสูตรแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร เปนหลักสูตรนานาชาติระดับบัณฑิต ศึกษาหลักสูตรแรกของมหาวิทยาลัยฯ ที่สอนเปนภาษาอังกฤษ เปนหลักสูตรแรกท่ีไมอยู ภายใตภาควชิ าใดของคณะฯ และนาจะเปน หลักสตู รแรกแนวน้ใี นประเทศดว ยซ้าํ ไป ดวยความคลองแคลวในการบริหารจัดการและความสามารถพิเศษเฉพาะตัวของ อาจารย ทาํ ใหป ญหาอุปสรรคตางๆ ของการบุกเบิกและการเปนแรกๆ ทัง้ หลายท้ังปวงเปน เรือ่ งเล็กและไดร บั การแกไ ขไปทลี ะเปลาะ เพราะขณะน้ันบณั ฑติ วทิ ยาลัยเองกย็ ังไมม แี นวทาง ปฏิบัติเก่ียวกับหลักสูตรระดับปริญญาเอก ไมมีระเบียบขอบังคับท่ีเปนภาษาอังกฤษสําหรับ สื่อสารกับนักศึกษาตางชาติ ไมมีระเบียบการวาจางอาจารยชาวตางชาติ ไมมีการเรียนการ 26 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

สอนแบบโมดูลที่รวบช่ัวโมงการเรียนการสอนสําหรับแตละรายวิชา ไมมีการประชาสัมพันธ รับสมัครนักศึกษาเชิงรุก และอีกหลากหลายสารพัดสารพันไมมี โดยเฉพาะอยางย่ิงไมมี หลักสูตรแนวน้ีมากอน จึงตองมานั่งรางกันโดยเริ่มตนจากศูนย แตที่มีคืออาจารยตางชาติ นักศึกษาหลากหลายชาติ และความรวมมือจากหลายทาน ซึ่งนักศึกษาที่จบหลักสูตรของ เราและเปน ผลผลิตจากวิสัยทัศนข องอาจารย นอกจากไปทํางานตามทิศทางของตนเองแลว ก็ไปเปนอาจารยแ ละไปชว ยเปด หลักสูตรใหมท ่มี เี นือ้ หาสาระทาํ นองน้ีตามสถาบันตางๆ ดว ย เม่ืออาจารยตัดสินใจหันเขาสูการเมือง จึงไดวางมือในสวนน้ี สวนผมก็ยังชวยงาน ของหลกั สตู รอยแู ละหวังวา ทางคณะฯ จะมวี ิสัยทศั นใ นการสนับสนนุ และสานตอ ผลงานชิน้ น้ี ทไี่ ดช ว ยเผยแพรช อื่ เสียงของคณะฯ และมหาวิทยาลัยฯ ใหเปนท่รี จู กั และเปน ทีเ่ ชือ่ ถือในอกี ทางหนง่ึ เพอื่ ความกา วหนา ของสถาบันตอไป เรอื่ งทอ่ี าจารยม าชวนผมใหร ว มงานตา งๆ ดวยนั้น นอกจากงานวิชาการและงาน บรหิ ารแลว อาจารยก็ยงั ชวนไปตางประเทศทุกครง้ั ทอี่ าจารยจ ัดทรปิ อกี ดว ย ทง้ั ในราชการที่ เกยี่ วกบั การเรยี นการสอนและนอกราชการ ซง่ึ ผมกไ็ มเ คยไปดว ยสกั ครงั้ กะวา เมอื่ เกษยี ณแลว และถาอาจารยยังจัดอยูก็จะไปใหคุมและสะใจ มาถึงตอนนี้ก็เปนอันวาหมดสิทธิ์แลว และ ทําใหนึกถึงคําท่ีอาจารยศิลปกลาวเตือนสติลูกศิษยลูกหาวา “พรุงนี้ก็สายเสียแลว” แตถา อาจารยยังจะจัดทริปอยูอีกละก็ ขอรองวาไมตองมาชวนผมอีกนะ เพราะถึงแมจะมีต๋ัวไป กลับฟรพี รอ มท่ีพกั ผมก็ไมไปดวยแลว ขอบคณุ ในนํ้าใจครบั .... ขอใหอ าจารยไ ปสสู ุคติ ... ผูช ว ยศาสตราจารย เดน วาสกิ ศิริ 27

พ่เี ปย ก อาจารยเปยก คณุ แมเปยก ทา นคณบดี ทา นอธิการบดี และทาน สว. สุดแตจ ะเรียกศาสตราจารย ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ สําหรับตัวเอง ทานผูนี้คือผูมีบุญชาวสวรรคมาเกิดเพ่ือบําเพ็ญบารมีของ พระโพธิสัตว เพราะตลอดเวลาที่รวมงานกันมาในหลายสถานะ คือ สถานะของผู ใตบงั คบั บญั ชา เพื่อนรว มงาน และโดยสวนตัวเสมือนเปนนอ งคนหนึง่ ของทานแลว ไดเ ห็นถึงวตั รปฏบิ ตั ิที่งดงามทั้งจากภายในและภายนอก ทงั้ ตอหนาและลับหลงั ของ ทานที่มีตอทุกคนแลว ทานไดปฏิบัติตอทุกคนโดยไมเลือกช้ันวรรณะ แมจะเปนคน ที่พูดตรง แตก็เปนคําพูดท่ีออกจากใจที่เปยมดวยเมตตา รักและหวังดี โดยเฉพาะ กบั ผูนอ ยซึง่ รบั ไดวาน่ีคอื ส่ิงท่ไี ดร บั จากทานดว ยความจริงใจเปน ทส่ี ุด ภาระหนาท่ีบนโลกใบนี้ของทานส้ินสุดลงแลว คงท้ิงคุณงามความดีใหตัว เองและอีกหลายๆ คนที่รูจักกับทานไดระลึกถึง แมจะรูสึกเศราเสียใจที่ไดสูญเสีย ทา นไป แตก็จาํ ตองยอมรับวา น่ีคอื ความจริง ไมม สี ิ่งใดจรี ังย่ังยนื นอกจากบาปบญุ ทานไดทําหนาที่ท่ีพึงทําและไดทําสมบูรณจบภาระหนาที่บนโลกใบน้ีโดยท้ิงคุณงาม ความดใี หผูยงั อยไู ดระลึกถงึ จงึ สมควรทท่ี านจะกลบั สเู มืองฟา อันเปน แดนเกิดของ ทา น เพ่ือรอเวลาลงมาสงั่ สมบารมีในกาลตอ ไป ตัวเองจึงรูสึกดีใจและเปนบุญอยางมากที่ไดรูจักศาสตราจารย ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ ในฐานะของ พี่เปยก อาจารยเปยก คุณแมเปยก ทานคณบดี ทาน อธกิ ารบดี และทา น สว. ทั้งน้ีจะจดจาํ คุณงามความดขี องทา นและใหล ูกๆ ของตวั เองถือเอาพเ่ี ปยกเปน แบบอยา งคะ ชนาภัทร วงศโ รจนภรณ (มัวร) 19 กุมภาพนั ธ 2560 อดีตเลขาณกุ ารคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ศิลปากร 28 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

คาํ อาลัยศาสตราจารย ดร. ตรึงใจ บรู ณสมภพ สายๆ ของเชา วนั ศกุ รท ี่ 11 พฤศจิกายน 2559 ดิฉันไดเ ปดไลนก ลุม ตามปกติเพอ่ื ติดตามความเคล่ือนไหวของเพอื่ นฝงู และพูดคุยกัน แตเ มื่อเปดเขา ไปในไลนกลมุ ของเพื่อนท่ี ทํางานเกาที่บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ตองตกใจเมื่อไดรับทราบขาวราย พรอมความรูสึกท่ีเศราสลดตามมาวาศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ ได ถงึ แกกรรมแลว เมอื่ ตอนเชา มืดเวลา 5.05 น. พวกเราไดพูดคุยและแลกเปล่ยี นความรูส ึกท่ี เศรา เสยี ใจกบั การจากไปและเสยี ดายความรคู วามสามารถของทา น แมจ ะทราบเปน ระยะๆ วา ทานไดปว ยและพักรกั ษาตวั อยูก อนหนานัน้ แตเราก็หวงั วา ทานจะมีสขุ ภาพแข็งแรงขึ้น และ รอเวลาท่ีเราจะสามารถไปเยี่ยมทานได แตเราก็ไมมีโอกาส จนไดมาทราบขาวการจากไป ของทาน ในชวงเวลาท่ีทานไดทําหนาท่ีประธานสาขาวิชาการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรม กับการทองเทยี่ ว (หลักสูตรนานาชาติ) พวกเราชาวบัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ไดมีโอกาสเขาไปมีสวนรวมในการทํางานแมจะเพียงนอยนิดก็ตาม แตก็ไดตระหนักถึงความ ต้ังใจ ความเสียสละทุมเทการทํางานของทานใหกับการจัดการศึกษาหลักสูตรดังกลาวเปน อยางมากตั้งแตเริ่มตน จนหลักสูตรมีความมั่นคงและเจริญกาวหนาไปเปนลําดับ สามารถ ผลิตบัณฑิตท่มี ีคณุ ภาพไดท ้ังระดับปริญญาโทและปรญิ ญาเอกเปนจาํ นวนมากหลายรนุ ทา นยงั นับไดว ามจี ิตเมตตา และใหโ อกาสกบั เจา หนาที่ทุกระดบั ที่รว มทาํ งาน ดิฉนั และเพื่อนรวมงานไดมีโอกาสเขารวมกิจกรรมทัศนศึกษาของอาจารยและนักศึกษาของสาขา วชิ า ตลอดการเดนิ ทางทานมักจะไถถาม และเปนหว งเปนใยพวกเราทกุ คนและยงั คอยเรยี ก ใหเรามารวมรับฟงความรูท่ีวิทยากรและทานไดบรรยายถึงความสําคัญและประวัติความเปน มาของสถานทท่ี เี่ ราไดไ ปเขา ชมตลอดเวลา โดยเฉพาะเมอ่ื พวกเราไดเ ถลไถลไปสนใจเรอ่ื งอ่นื ๆ ทไ่ี มเ ปนสาระ แสดงใหเห็นถงึ ความมจี ิตเมตตาและมคี วามเปน ครอู ยางสงู ในโอกาสที่ทานอาจารยตรึงใจ (ของพวกเราชาวศิลปากร) ไดจากไปแลวน้ี ขอให ญานแหงคุณความดีท่ีทานทํามาตลอดชีวิตสงผลใหทานไดไปสูสุคติภพ และสุดทายน้ีดิฉัน ใครขออโหสิกรรมจากทา นหากไดทําส่ิงใดท่ีเปน การลวงเกินทา นทง้ั กาย วาจาและใจ ดว ยความเคารพอยา งสูง นางสาววรรณา พนั ธนะอังกูร อดีตเลขาณุการบัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 29

ตรึงใจในความทรงจําของปอง อ.ตรึงใจ นับเปนอาจารยทม่ี คี วามผูกพันธก บั เสนทางชีวติ สายวัฒนธรรมขอปองเปน อยางมาก ในชวงทศวรรษท่ผี า นมา แมในชวง 5 ป ในร้วั ศลิ ปากรท่ีเปนลูกศษิ ยอาจารยท ่คี ณะสถาปต ยกรรมศาสตร ก็ไมไดม ีความสนทิ สนมกับอาจารยมากมายเปนพิเศษนัก แตเม่ือจบแลวไดม ีโอกาสไปเรียนตอ ทปี่ ารีสใน ชวงท่ีอาจารยกําลังไปทําปริญญาเอกที่น่ัน ก็ไดสนิทสนมกับทานมากขึ้น ชวงนั้นรัฐบาลฝรั่งเศสไดใหทุน อาจารยสอนท่คี ณะสถาปต ยกรรมศาสตร 3 ทา น จาก 3 สถาบัน คือ อ.ตรงึ ใจ บรู ณสมภพจากศิลปากร, อ.บัณฑติ จฬุ าสัย จากจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย และอ.แดง ซงึ่ ทา นเปนวิศวกรจากลาดกระบงั ทัง้ 3 ทานน้ี มฉี ายานามท่ปี ารีสที่ตงั้ ไวเ พ่อื เรยี กกันเองกนั อ.ตรึงใจ คอื “ปา ”, อ.แดง คอื “ลุง”, อ.บัณฑติ คือ “หลาน” ทัง้ สามทานพกั อยูไมไ กลจากบานท่ปี องไปพกั จงึ ไดพ บปะสังสรรคตามประสาสถาปนกิ ไทยทไ่ี ป เรียนตอ ในปารีส ไดพูดคุยแลกเปลี่นและทําอาหารไทยทานกนั บอ ยคร้ัง เมอื่ กลบั มาเมอื งไทยปองกไ็ ดม โี อกาสมารว มงานกบั อาจารยบ า ง โดยเฉพาะในเรอื่ งเกย่ี วกบั งาน อนุรักษส ถาปต ยกรรม ไดรวมกันกบั บริษัท นนท-ตรึงใจ ชนะประกวดแบบอนรุ ักษอาคารในวงั เทวะเวศม ในธนาคารแหง ประเทศไทย และไดร ว มทาํ แบบโดยเฉพาะในสว นการทาํ รงั วดั อยา งละเอยี ด ประเมนิ คณุ คา และสถานภาพอาคารรวมไปถึงการจดั ทาํ รายงานเสนอแนวทางการอนรุ ักษอ าคารภายนอกและ๓ายใน ในปพศ.2551ท้ังอาจารยและปองไดรับเชิญใหเขารวมเปนกรรมการในคณะกรรมการแหงชาติ วาดวยการโบราณสถานนานาชาติ (ICOMOS Thailand) ในขณะน้ันอาจารยเปนประธานหลักสูตร นานาชาติ สาขาวชิ าการจดั การมรดกสถาปต ยกรรมกับการทองเท่ยี ว และปองเปน ประธานกรรมาธกิ าร อนรุ กั ษศ ลิ ปสถาปต ยกรรม สมาคมสถาปนกิ สยามฯ และตอ มากเ็ ปน แนวรว มเครอื ขา ยในการอนรุ กั ษม รดก ของชาตดิ าํ เนนิ ภารกจิ ตา งๆ เรอ่ื ยมาจนกระทง่ั ในปเ ดยี วกนั นี้ อาจารยต รงึ ใจไดร บั แตง ตง้ั ใหเ ปน วฒุ สิ มาชกิ และเขารับตาํ แหนงเปน ประธานกรรมาธกิ ารศาสนา คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ศิลปะและวฒั นธรรม วฒุ สิ ภา อาจารยก็ไดมอบความไววางใจใหปองเขา ไปชว ยอาจารยท าํ งานระดับชาติ ในตาํ แหนงนกั วชิ าการประจาํ คณะกรรมาธิการชุดนีแ้ ละตอมาในตาํ แหนง ผชู าํ นาญการ ตามลาํ ดบั ไดมกี ารตง้ั คณะอนกุ รรมาธิการขนึ้ มาอีก 2 ชุด เพ่ือดําเนินงานเรอ่ื งการบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรม ซ่ึงอาจารยก ็ไดใหค วามไววางใจให เขาเปน อนกุ รรมาธิการทัง้ 2 ชุด คือ คณะอนุกรรมาธิการบริหารจัดการมรดกวัฒนธรรมในศาสนสถาน และสถานท่ีศักดิ์สทิ ธ์ิ ซ่ึงไดม โี อกาสฝากฝม อื ทํางานวิจยั ไวเลม หนึ่งในหัวขอเดยี วกันคือ “บรหิ ารจดั การ มรดกวัฒนธรรมในศาสนสถานและสถานที่ศักดิ์สิทธ์ิ” โดยไดรับทุนวิจัยจากวุฒิสภาเมื่อปพ.ศ.2552 และคณะอนุกรรมาธกิ ารอีกชดุ หนึง่ คอื อนุกรรมาธิการบรหิ ารจัดการมรดกวัฒนธรรมในประเทศไทย ซงึ่ ผลงานของคณะน้ีก็ไดมีการรางกฎบัตรเพื่อการบริหารจัดการแหลงมรดกวัฒนธรรมรวมกับอิโคโมสไทย จากการมีสว นรว มของภาคประชาชนทงั้ 4 ภาค นอกจากนย้ี ังมีการจัดงานสัมมนาวิชาการท่ีเกี่ยวเน่อื ง อกี หลายตอหลายครัง้ ในหัวขอตา งๆ กัน เพอ่ื ใหเกิดการหารือกนั อยางกวางขวางในหมภู าคประชาสงั คม และภาครัฐ การเดนิ ทางไปดงู านอนุรกั ษมรดกในภาคตา งๆ เพ่ือนาํ มาวางแผนงานบรหิ ารจดั การมรดก วฒั นธรรมเพ่อื นําเสนอตอัฐบาล เกี่ยวกบั งานวิชาการอาจารยตรงึ ใจ และปองไดรว มกันนาํ เสนอผลงาน ทางวชิ าการในงานสมั นาวชิ าการนานาชาตอิ โิ คโมสไทยในหวั ขอ “The management of cultural herit- age in Buddhist temple, case study: Wat Kalayanamitr Woramahavihara” ในปพ.ศ.2551 30 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

มาใน ปพ.ศ.2556 อ.ตรึงใจไดผลักดันใหมีการจัดตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญการต้ังถ่ินฐาน และการ ผังเมืองข้ึนภายใตวุฒิสภา จากการท่ีไดทํางานไปสักระยะเก่ียวกับเรื่องการปกปองมรดกของชาติทั้งทางดาน วัฒนธรรมและส่ิงแวดลอม รวมไปถึงความลมเหลวในการบริหารจัดการทางกายภาพของประเทศจนเกิดน้ําทวม ใหญใน ปพ.ศ.2554 คณะทํางานมีความเห็นพองตองกันวามีสาเหตุเนื่องมาจากการบริหารงานทางดานการ ผงั เมอื งของประเทศ ยงั ไมไ ดร บั การยอมรบั วา เปน เรอ่ื งสาํ คญั เหนอื ดา นอนื่ ๆ แมแ ตใ นวฒุ สิ ภาและสภาผแู ทนราษฎร เองกย็ ังไมมีคณะกรรมาธิการท่ีดําเนินงานทางดานนโี้ ดยตรงอยา งถาวร ประกอบกับที่ทาน อ.เดชา บุญค้าํ ไดนาํ เรอ่ื งนมี้ าหารอื กบั อาจารยต รงึ ใจใหต ง้ั เรอื่ งเพอื่ พจิ ารณาดาํ เนนิ การภายใตว ฒุ สิ ภา จงึ ไดเ กดิ มกี ารตงั้ คณะทาํ งานชดุ น้ี ขึ้นมีช่ือวา “คณะกรรมาธิการวิสามัญการต้ังถิ่นฐานและการผังเมือง” โดยมีอาจารยตรึงใจมารับเปนประธาน กรรมาธิการเอง โดยหวังวาการทํางานในชวงเวลา 6 เดือน +2 เดือนที่คณะกรรมาธิการวิสามัญมีอยูน้ัน จะ สามารถจัดทํารายงานเพื่อช้ีใหเห็นความสําคัญของการผังเมืองจนสามารถเสนอใหต้ังเปนกรรมาธิการถาวรได เพื่อนําเสนอแนวทางปฏิบัติเพ่ือปฏิรูปหนวยงานทางผังเมืองและแกปญหาไดอยางเปนรูปธรรมตอไป ในคณะ กรรมาธิการชุดน้ี อาจารยต รงึ ใจก็ไดม อบความไววางใจใหปองไดช วยงานอาจารยในตําแหนง กรรมาธกิ าร และผู ชวยเลขาธิการ กรรมาธิการวิสามัญชุดน้ีไดมีการตั้งเปนวาระท่ี 2 ในชวงปพ.ศ.2557-2558 อาจารยก็ยังให ปองชว ยทํางานตอ มาจนหมดวาระเมอื่ มีการปฏิวตั แิ ละยบุ สภาไป ความประทบั ใจในตัวอาจารยท่ปี องมกี ค็ อื อาจารยเปน คนเอาจรงิ เอาจังกับการทาํ งาน และมีความกลา หาญทางจรยิ ธรรม อะไรทสี่ มควรทาํ อาจารยก ท็ าํ ไปหรอื ใหท าํ ไปโดยไมม คี วามลงั เล มกี ารทาํ งานเพอื่ ปกปอ งมรดก ของชาติหลายกรณี อาธิเชน กรณีโครงการรื้อ-สรางใหมอาคารศาลฎีกา โครงการร้ือถอนโบราณสถานในวัด กัลยาณมิตร ฯลฯ อาจารยไดพยายามอยางสุดความสามารถท่ีจะใหเกิดการรักษามรดกเหลานั้นไว แมจะตองไป ขัดใจผูใหญหลายทาน ไมไดเอาเปาหมายความสําเร็จหรือไมสําเร็จนั้นมาเปนตัวตั้ง แตเอาความตั้งใจจริงในการ ทาํ งานใหล ุลว งตามหลักวชิ าการมานาํ เพ่อื ใหเ กิดการเรยี นรูและบทเรียนแกส ังคม มาในชว งกอ นปฏวิ ัติ ท่ีมีการยุบสภา ชวงน้ันเปน ชวงที่ปองหมดภารกิจท่ที ํารว มกบั อาจารยทวี่ ุฒสิ ภา จึง ไดหางเหินจากการพบปะอาจารยเปนประจํา มาทราบอีกทีวาอาจารยเปนโรครายก็ไดมีโอกาสไปเย่ียมอาจารยท่ี บานหลังจากท่อี าจารยเ ปนมากแลว ยังชื่นชมอาจารยวา เปน คนปว ยท่มี อี ารมณด ี มีความเขา ใจในชีวติ และความ เจ็บปว ยเปนอยางดี อาจารยยังปรารภวา “ครไู มน า ไปอนิ กับเหตุการณบานเมืองมากเกินไปจนลมปวย” แสดงวา อาจารยเ ขา ใจดวี าสาเหตขุ องการปว ยไขม าจากความเครียดทอ่ี าจารยเ อาไปสะสมไวในตวั เอง เอาปญหาของบาน เมอื งเหลา นน้ั ไปเปน ปญ หาของตวั เองมากจนเกินพอดี ปญ หารอบดานนัน้ มอี ยตู ลอดเวลา แตหากเรารับเขา มาจน “อนิ ” และปว ยไปกับมนั ก็เปนส่งิ ทีไ่ มส มควร การเดนิ ทางสายกลางเปน สิง่ ท่ีควรปฏบิ ัติ อะไรที่เปน ไปก็เปน อะไรที่ แกไ ดก แ็ กไมใชน ง่ิ ดดู าย ชวยไดก ็ชว ย แตไมต องเอามาเปนอารมณ เปน ความเครีดทบ่ี ั่นทอนสขุ ภาพตวั เอง ตลอดชวี ติ ของอาจารยทา นไดสรา งคุณูปการณไวม ากมาย สงิ่ ท่ปี องไดก ลาวมาขา งตนน้นี ับเปนสวนนอ ย นดิ ที่อาจารยไดใหโอกาสปองใหไดเขาไปมสี ว นรว ม จงึ ขอใหความดขี องอาจารยน าํ อาจารยไปสสู คุ ตใิ นสัมปรายภพ ปองคงไมขอกลาวคําอําลาอาลัยเพราะอาจารยไดสถิตยติดตรึงอยูในใจของปองและเปนกําลังใจใหปองทํางานตาม ปณธิ านของอาจารยต อไป ดวยรกั และเคารพ ปองขวัญ สุขวฒั นา ลาซสู กมุ ภาพนั ธ 2560 31

ไมใ ชครู ก็เหมือนครู = เพราะทา นคอยส่ังสอน แนะนาํ เรือ่ งการทํางานมาตลอด ไมใ ชพ ่กี เ็ หมอื นพ่ี = ตลอดสามสบิ ปที่รจู ักกนั มาทา นใชค ําน้ีแทนตัวมาตลอด จน วันสุดทายท่ผี มมโี อกาสไปเยยี่ มทา นทีโ่ รงพยาบาลกอ นทา นจะเสียส่หี า วัน คาํ แรกที่ทา นทกั \"เมื่อคืนพี่ฝนวาหมูมายืนอยูปลายเตียง\" วนั นพี้ ่ไี มไดฝ นนะมาจริงๆ ......... วันนัน้ ผมและนอ งๆ ในสํานกั งานเลขานกุ ารคณะสถาปต ยกรรมศาสตร อยูคุยกับ ทานไดไมนาน ดวยเหตุผลทีว่ า ตองการใหทานไดพักผอ น เพราะระหวา งทพ่ี ดู คุยกบั พวกเรา ทานแสดงอาการเหนื่อย และหอบ ทานมองออกวาพวกเราเปนหวง และอยากใหทานพัก ผอน พวกเรายังไมท นั ที่จะกลา วลา ทา นรบี ขอบอกขอบใจท่พี วกเรามาเยยี่ มแลว บอกใหพวก เรากลบั พรอมท้ังสาํ ทับวา อกี สองอาทิตยค อ ยมาใหมนะ พี่ดีข้นึ พจี่ ะลุกขึน้ น่ังแลว เราจะได คุยกนั นานๆ เจา นายทแ่ี สนดี = ยี่สิบปที่ไดร ว มงานกับทาน ไมเคยถอื ยศถอื ศกั ด์วิ าเปน เจา นาย แมแ ตเศษฝรงั่ ที่ลูกนอ งกนิ เหลอื ทา นยังกินตอได คืนน้ีเปนอีกคืนหนึ่ง (คืนสุดทาย) ท่ีมาอยูเปนเพ่ือนทาน ขอนอมสงดวงวิญญาณ ทา นไปสูภพภมู ิท่ีสวยงามบนสรวงสวรค \"ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ\" กราบลา ครู พ่ี และเจา นายที่แสนดี ประพนั ธพ งษ มนตแ กว (หมู) บันทึกเวลา 18.30 น. 19 พฤศจิกายน 2559 ศาลากลางน้ํา วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร 32 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ศาสตราจารยเ กียรตคิ ุณ ดร. ตรงึ ใจ บูรณสมภพ ในปพ .ศ.2527 ขณะท่ีผมศกึ ษาอยทู ี่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจา คุณทหารลาดกระบงั ไดทําวิทยานิพนธเร่ือง “การออกแบบอาคารในเขตรอนช้ืน” รายช่ือทานอาจารยตรึงใจ บูรณสมภพ มหาวิทยาลัยศิลปากร อยูในรายการแบบสอบถามที่ผมไดสงไปขอเก็บขอมูลจากผูเชี่ยวชาญ 9 ใน 3 สถาบันของไทยท่สี อนทางสถาปต ยกรรมในระดบั อุดมศึกษา แบบสอบถามนนั้ ถกู ใหค าํ ตอบและสง กลบั มาเพ่อื เปนสวนหนึ่งของการทาํ วิทยานิพนธไดสาํ เรจ็ ครง้ั นั้น เวลาผา นมากวา 20 ป พ.ศ. 2548 ขณะท่ผี มทาํ งานเปน อาจารยอ ยูท ่มี หาวิทยาลยั เชียงใหม ไดส มคั รเขา ศึกษาตอหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมกบั การทอ ง เทย่ี ว (หลกั สูตรนานาชาติ) มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร ในวันสอบสมั ภาษณท านอาจารยตรึงใจ บรู ณสมภพ เปนประธานหลักสูตรและเปนประธานในการสอบครงั้ นี้ นับเปนการเขา พบปะพดู คุยสัมภาษณค รง้ั แรก และมคี รง้ั ทสี่ อง ท่สี าม ในการไปทัศนศึกษา อัมพวา บางกอกนอ ย ครั้งสดุ ทา ยท่ไี ดพ บทา นคอื อาจารย ตรึงใจ บูรณสมภพ เปน ประธานในการสอบปองกนั วทิ ยานิพนธป พ.ศ.2551 ในวันนี้ กุมภาพันธ พ.ศ.2560 ภาพของทา นอาจารยต รงึ ใจ บูรณสมภพ ของศษิ ยค นน้ี คือ ทานมคี วามเมตตา ผมและผูคนรอบตวั ทานไดร บั ดวยความปราณตี ลอดมา ทา นเปย มดวยปญญา ความรู ศาสตรทางสถาปตยกรรม ทา นมจี ิตอธษิ ฐาน ความตงั้ ใจมน่ั ในการทาํ งานเพ่ือวงการศึกษาสถาปตยกรรมไมเ ปล่ยี นแปลง ทา นใหว ทิ ยาทาน ความรูว ชิ าการแกสถาบัน องคกร หนว ยงานตา งๆ ทานรกั ษา ศีล ใหเปนปกติ การครองตนไดงดงาม ถอยคําทีไ่ พเราะเปน มิตร เปนทีร่ กั ของศษิ ย ทานมวี ริ ิยะ ความเพยี ร ขนั ติ ความอดทนอดกล้นั ขณะทเี่ ปน ผูบรหิ ารคณะวิชา มหาวิทยาลัย และหลกั สูตร ทานรกั ษาสจั จะ ความตงั้ ใจจรงิ เอาจรงิ จรงิ ใจ ตอ ทกุ คนรอบตัวท่ีไดพ บและไมเ คยพบ ทา นมี อธษิ ฐาน ความตง้ั ใจม่ัน ไมเ ปลย่ี นแปลงตอการทาํ ความดีเพ่ือสังคม และประเทศชาติ ในตาํ แหนงสําคญั อาจารยตรึงใจ บูรณสมภพ เปนผูครบในบารมีที่มีตัวตนที่ผมไดสัมผัสจากแววตาท่ีมอง และ ฉายผานผลงานตา งๆของทา นนนั้ สงความหมายมาครบถวนวา ทานนนั้ เปนบุคคลท่ปี ระเสริฐยงิ่ รองศาสตราจารย ดร.วิฑรู ย เหลียวรุงเรอื ง คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม 33

อาจารยตรึงใจท่รี ักและเคารพ อาจารยเกรยี งไกร เชิญใหเ ขียนคาํ ไวอาลัยแดอาจารย แตศษิ ยคนนน้ี ง่ั จรดปากกานงิ่ อยหู ลายนาที ดว ยไมส ามารถกลนั่ กรองคาํ พดู ใดๆ ใหง ดงามเทา กบั ความรูสึกภายในใจท่ีมีตอ ”คุณครู” ผูเปยมไปดวยความเมตตาและเอาใจใสลูก ศษิ ยอ ยางทุมเททา นน้ี ไมเพียงแตอาจารยไดเปดสาขาวิชา AHMT ในมหาวิทยาลัยศิลปากร ซ่ึงมีประโยชนย่ิงแกการบริหารมรดกทางสถาปตยกรรมใหคงอยูเปนศักด์ิศรีและ ความภูมิใจคูชาติไทย แตอาจารยยังประสบความสําเร็จยิ่งในการเชื้อเชิญผูทรง คุณวุฒิระดบั นานาชาตมิ าเขา รว มโครงการ และอาจารยย ังไดเขามาดูแลลกู ศิษย อยางใกลชดิ และเปน กันเองทุกเย็นจนคํ่าเม่อื มกี ารเรยี นการสอน อาจารยไ ดเปน ท่ีปรกึ ษาในการทําดษุ ฎนี พิ นธ อาจารยอานทุกตวั อักษร ใหคาํ แนะนําที่เปนประโยชน และที่ศิษยค นน้ียังมคี วามประทับใจคอื เมื่อมีเนื้อหา ที่อาจารยไมใชผูเชี่ยวชาญ อาจารยไดสงตอไปใหอาจารยทานอ่ืนท่ีเชี่ยวชาญ มากกวา เปน ผูใ หค ําแนะนําเพมิ่ เติม สง่ิ ทีอ่ าจารยท ําแสดงถงึ คุณสมบัติอยางนอ ย 2 ประการ คอื หนึง่ อาจารยม ีความเอาใจใสและละเอียดลออตอผลงาน เพ่ือให เกิดความความถูกตอง และความสมบูรณท่ีสุดเต็มตามสมรรถภาพ และสอง อาจารยมีความถอมตัว ไมคิดวาตนเองรูหรือเกงในทุกเร่ือง ไมหลงในอัตตาตัว ตน ท้ังๆทีอ่ าจารยทรงคณุ วุฒยิ ่ิงท้ังงานในวชิ าชพี และงานบรหิ าร สรางผลงานใน ระดับชาตไิ วมากมายตลอดชวี ติ อาจารยไ ดจ ากไปแลว เปน ความจรงิ ของชวี ติ สว นความรกั ความนบั ถอื ในตวั อาจารยในหมศู ิษยยงั คงอยูไปอีกนานเทานาน Death leaves a heartache no one can heal. Love leaves a memory no one can steal. (Unknown) ดวยรักและอาลัย ดร. อภิวรรณ สายประดษิ ฐ 34 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

จากวันท่ไี ดเ รียนรสู ่งิ ดีๆ ตา งๆ มากมายกบั อาจารยในขณะทศ่ี กึ ษาอยูปที่ ๔ คณะ สถาปต ยกรรมศาสตร ม.ศิลปากร ไดต ระหนักถงึ บุญคุณในวันทไี่ ดทนุ การศึกษาเปนการสวน ตัวจากอาจารยทไ่ี ดค ะแนนวิชาออกแบบสูงสดุ ในชัน้ ป ตอนเรียนจบ อาจารยก็เมตตาเรียกไปทํางานดวย และมีความดีใจในวันท่ีมีสวน ชว ยแนะนําอาจารย Dr. Russell Staiff กับ Dr. Corazon Singha ใหม าชว ยสอนทีค่ ณะ ดีใจในวันมุทิตาจิตอาจารยกับวันที่ไดไปเย่ียมอาจารยที่บานกับเพื่อนๆ จนถึงวันท่ีเศราใจใน วันทอ่ี าจารยจ ากไป... ตรงึ จิต คดิ ถึง ซ่ึงความดี ใจท่มี ี ใหได ไมจํากดั บรู ณะ สรา งสรรค บารมี สมภพ สองแสง ใสในธรรม ดว ยจิตคารวะ ระลึกถึงความรู ความเมตตา ความดี และบญุ คุณอาจารยเ สมอ ดร. พลเดช ธีรภาพไพสิฐ อาจารยประจําโครงการนานาชาติ การจัดการมรดกวฒั นธรรมและการทองเทย่ี ว คณะสถาปต ยกรรมศาสตร ม.ศลิ ปากร อาจารยพเิ ศษ School of Management, University of South Australia 35

ช้ันเรียนวิชาออกแบบสถาปตยกรรม ยอนหลังไป ณ ชวงป พ.ศ.๒๕๒๗-๒๕๓๑ โอกาสท่ีไดเปนลูกศิษยในช้ันเรียนวิชา ออกแบบสถาปตยกรรม และนสิ ติ ในทป่ี รกึ ษาวทิ ยานิพนธข องทา นอาจารย ตรึงใจ บรู ณสมภพ น้ันเปนความรูสึกดีใจและภูมิใจของขาพเจาที่จะไดรับความรูและอยูภายใตการดูแลของทาน อาจารยทม่ี ชี อ่ื เสียง และมผี ลงานการออกแบบ โครงการใหญๆ ในขณะนน้ั ในช้ันเรียนของวิชาออกแบบสถาปตยกรรมในแตละชั้นปและในรายวิชาวิทยานิพนธ ของนิสิต ในขณะนน้ั ชนั้ ปหนึ่งจะมีนสิ ิตประมาณ ๔๐-๔๕ คน นิสิตจะถูกแบงเปน กลมุ ๆ ไปอยู กับอาจารยที่ปรึกษาประจํากลุม กลุมละ ๗-๘ คน จําไดวา...ในชวงเวลาน้ันขาพเจา ซึ่งเปน นักศกึ ษาสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลยั ศิลปากร ก็รสู กึ ต่นื เตนและเฝา รอคอยประกาศราย ช่ือกลุมเหมือนเพ่ือนคนอื่นๆ และคอยลุนกันวาจะไดอยูกับอาจารยทานใด นับเปนโชคดีของ ขาพเจาท่ีในโปรเจคการออกแบบอาคารขนาดใหญ และการทําวิทยานิพนธใน ชั้นปท่ี ๕ นั้น ขา พเจา ไดอ ยใู นกลมุ อาจารยท ป่ี รกึ ษาของอาจารยต รงึ ใจ และไดเ ปน นสิ ติ ในทปี่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ ของทานอาจารยตรึงใจ ........จําไดวา อาจารยทานใหความกันเองกับลูกศิษยแตละคนมาก และใหค าํ แนะนําเร่อื งตา งๆ ทง้ั ในการใหค วามรูด า นวิชาการและความรอู ืน่ ๆ ทเ่ี กี่ยวเนือ่ งกบั การ ปฎิบตั ิวชิ าชพี ซง่ึ เปน เรอ่ื งท่ีจะเรียนรูไดย ากในยุคนนั้ ซงึ่ อนิ เตอรเนต็ ยังไมเ ปนทร่ี ูจกั ดงั นั้นการ เรยี นรกู บั ครทู ่เี ปน บุคคลที่มีชอ่ื เสียง มผี ลงานการออกแบบทมี่ ชี ื่อเสียง จงึ เปน เร่อื งสําคญั ทีน่ ิสิต ทกุ คนใฝฝ น และพยายามท่จี ะไขวควาโอกาสนน้ั ไว ครผู ใู ห-นกั พยากรณ ผรู ิเร่ิม ผนู ําทาง ศาสตราจารยเ กยี รตคิ ณุ ดร. ตรงึ ใจ บรู ณสมภพ เปนผูท ี่เปน ทงั้ ครูผูใ ห- นกั พยากรณ ผู รเิ ริ่ม ผูน าํ ทาง ในบทบาทดา นการศึกษา อาจารยไ ดแสดงใหเรารูวา ทา นทุม เท ใหล ูกศษิ ยไ ดรบั ความรู เรียนรู และมผี ลงานดา นวชิ าการมากมายเปน ท่ีประจักษท ้ังในประเทศและตา งประเทศ แตส่ิงที่สําคัญที่ขาพเจาอยากจะกลาวถึงนั้น คือ บทบาทของอาจารยในฐานะนักพยากรณ ผู ริเร่ิม ผูนําทาง ในแงมมุ น้ี ขา พเจามีความเหน็ วา ทานอาจารยตรงึ ใจ เปน ตัวอยางของครทู มี่ ี วสิ ัยทัศนท ่ีนา นาํ มาสะทอนใหเปนประโยชนต อการพัฒนาครู และอาจารยใ นอนาคต เน่อื งจาก ทานอาจารยไ ดส รา งสรรคสิง่ ทดี่ งี ามทกุ ขณะของกา วเดินในชวี ติ ขา ราชการ ในความสามารถของ การเปน นักพยากรณ ผรู เิ ริม่ ผูนําทางท่ที านอาจารยไ ดแ สดงใหเ ห็นท้ังในวงวชิ าการและวิชาชีพ ดวยผลงานการสรา งความรูดานอาคารเขยี ว การเปด หลักสูตร ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิตกิตตมิ ศักดิ์ สาขาวชิ าการจัดการมรดกวัฒนธรรมกับการทอ งเทย่ี ว มหาวิทยาลยั ศิลปากร และผลงานจาก ภาระกิจตา งๆ ในชว งการดาํ รงตาํ แหนงการเปน อธิการบดีมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร พ.ศ.๒๕๓๙- ๒๕๔๓ เปนกรรมการบรหิ ารสภาสถาปนิก และอปุ นายก พ.ศ.๒๕๔๓-๒๕๕๐ เปนทีป่ รึกษาผูวา 36 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ราชการกรุงเทพมหานคร และเปนสมาชิกวุฒิสภา สรรหาภาควิชาการ พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๔ รวมทั้งเปนประธานคณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะและวัฒนธรรม วุฒสิ ภา และอีกหลายตาํ แหนงที่ไมอ าจกลา วถงึ ไดหมดในทน่ี ี้ ภาพสีสันตางๆ เหลา น้ีสะทอนใหร ะลกึ ถึงทานอาจารยใ นมมุ มองของคนสูช วี ิต ทมี่ งุ ม่นั และไมเ คยยอมแพตออุปสรรคตา งๆ เพื่อการสรางความถกู ตอ งและการพฒั นาวงการวชิ าชีพ สถาปตยกรรม และการศึกษา ใหแ กบา นเมอื ง การพบเจอและการจากลา ขา วการนัดหมายของรุนเพอ่ื นๆสถาปต ย รุนท่ี ๒๙ ณ รานอาหารญป่ี ุน ชิตาเกะ ท่ีเรียน เชญิ อาจารยหลายๆ ทานมาพบเจอกนั นาํ มาซง่ึ ความดใี จ และระคนสะเทอื นใจเม่ือไดท ราบถงึ การเจบ็ ปว ยของทานอาจารยตรงึ ใจ ...ในวนั นน้ั วนั ที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๘ วนั แหง ความรกั ของเดอื นมกราคม ไดก ลายเปน ชว งเวลาในความทรงจาํ ทมี่ คี า ของมติ รภาพทย่ี ง่ั ยนื ระหวา งศษิ ยแ ละครู กบั นาทขี องชวี ติ ขา พเจา ทไ่ี ดมีโอกาสกราบระลกึ คุณครูหลายๆ ทานทเ่ี คารพรักอีกครง้ั หนง่ึ รวมท้ังทานอาจารยต รึงใจ ...ในวันนน้ั อาจารยต รึงใจดูสดชืน่ รา เริงและสดใส เชน ทุกครงั้ ท่ีเจอกนั ออมกอด คํา ทกั ทาย และคําอวยพรทที่ านอาจารยตรึงใจมอบใหเหลาลกู ศษิ ย เหมอื นอาจารย จะบอกเราวา จงทําหนา ท่ขี องเธอตอไปใหด ี ไมต อ งมาหวงฉนั อาจารยเ ขียนอวยพรไววา “แด รนุ สถ. 29 ศิษยรกั ของครู ดใี จท่ีไดพบกนั อกี ขอใหมีความสุข ความเจรญิ ยิ่ง ๆ ขึ้นไป” ..ในวันนนั้ เหลา ศิษยรว มรองเพลงใหอาจารยท ่ีรกั ทอ นหน่ึงในเพลงท่แี ตง ข้นึ กนั เอง กลาวไววา “.......ขอประนบ บชู า ครขู องศษิ ย ขอดวงจติ ครูแจม ใส ไมห มนหมอง สุขภาพ กายใจ ไมเปนรอง เปน คุณครู ของศิษยๆ สนิทนาน” ผูชว ยศาสตราจารย อารยา ศานตสิ รร ลูกศษิ ย สถ.บ. รนุ ท่ี ๒๙ 37

อําลา แลว เม่ือถึงคราละวางโลก อาลัย โศกรําลึกสงสูส วรรค ตรึงใจ ไวด ว ยผลงานคณุ อนนั ต นิรนั ดร คงอยไู ว “ ตรึงใจ” นาม ขอบคณุ ความเมตตาที่อาจารยม ใี หแ กล กู ศิษย ใหท ง้ั ความรู คําแนะนํา กาํ ลงั ใจ และ โอกาส เพ่ือใหไ ดพ ัฒนาตนเอง รวมท้งั ใหโอกาสในการรว มเดนิ ทาง ไปเรยี นรสู ่งิ ตา งๆใน โลกกวาง ท้งั ทางดานสถาปตยกรรม การทอ งเที่ยว และไดพบพาผูคนทน่ี าสนใจ และท่สี าํ คญั คือ การไดเรียนรู การมีมนุษยสัมพันธ มีความออ นโยน แตเดด็ เดยี่ วมงุ มั่นในการทาํ งานของ อาจารย ดว ยความอาลัยรกั และเคารพ นลิ วรรณ นลิ ดํา MA. , Architectural Heritage Management and Tourism Silpakorn University “เรียนถงึ ... อาจารยตรึงใจ ทเ่ี คารพ” มีไมก่ีคนบนโลก...ที่เกิดมาเพ่ือเปน “ครู” และใชชีวิตอยางนาเคารพรักและนานับถืออยาง แทจ รงิ อาจารยต รงึ ใจคอื “คร”ู คนน้นั “คร”ู ที่ดิฉันรสู ึกเปนเกียรตใิ นชีวิตท่ีไดมีโอกาสรจู กั และทํางาน ดว ย ณ ชวงเวลาหน่งึ มันอาจเปน “ระยะเวลาท่ไี มม าก” แตมนั “มีความหมายมาก” สงิ่ ทไ่ี ดเ รยี นรจู ากอาจารยค อื การดาํ เนนิ ชวี ติ และการปฏบิ ตั ติ วั ตอ ผอู นื่ สงิ่ ทอ่ี าจารยท าํ ตอผู ท่ตี า่ํ กวา ผูอ ยใู ตบ งั คบั บัญชา ผูทไ่ี มมคี วามหมายอะไรเลย ...ทาํ ใหดิฉนั เขาใจอยางถองแทวา “ความ ด”ี สาํ คญั กวาความเกง ความฉลาด หรือการศึกษาสูง “If you want to know what a man's like, take a good look at how he treats his inferiors, not his equals.” J.K. Rowling, Harry Potter and the Goblet of Fire “ขอบพระคุณอาจารยท ีค่ รัง้ หน่งึ เคยใหค วามเมตตา หนูจะไมม วี นั ลืมไปตลอดชวี ิตคะ ” - เธียรรตั น สาคะศุภฤกษ - 38 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

คําอาลยั คือ... โออาลยั ลา อาลยั รกั จดจําแจง ประจักษฃ ใจรกั มัน่ ตราตรึงอนั ตรึงตรา มาเน่นิ วนั ณ หมฉู ันจะกี่วนั ยิ่งตรึงใจ... ดวยความอาลยั แลเคารพรกั ย่งิ .. อาจารย ดร. มนสั แกวบูชา อาลัยรักทานอาจารยต รงึ ใจ เม่ือป 2531 เปน ปท ่เี ขา เรียนคณะสถาปตย ศลิ ปากร ทานอาจารยตรึงใจ ดํารงตําแหนงคณบดีในขณะน้ัน ภาพแรกที่ไดเห็นนั้น คือ อาจารยคนสวยที่แตงกาย งดงามเสมอ อาจารยจ ะทักทายลูกศษิ ยดวยรอยย้มิ และคําพดู ที่ทําใหช่นื ใจ วันแรก ท่ีอาจารยทักทายยังคงจําไดเสมอ ทานถามวาเด็กคนนี้ลูกสาวใคร กริยาเรียบรอย เม่อื กราบเรียนตอบอาจารยไ ป ทา นก็จําไดในทันทวี าคณุ พอ เคยเปน อาจารยพิเศษมา ชว ยสอนทีค่ ณะฯ เม่ือไดม โี อกาสเรียนกับทาน ไดสัมผสั กับความเมตตาในคําพดู เวลา อาจารยต รวจแบบ อาจารยจ ะมปี ย ะวาจาใหล กู ศษิ ยเ สมอ แมเ มอื่ อาจารยท าํ อะไรผดิ ไมว า จะเลก็ นอ ยแคไ หน อาจารยจ ะเอย คาํ ขอโทษ ซง่ึ เปน สง่ิ ทป่ี ระทบั ใจไมเ คยลมื และ นาํ มาปฏิบตั ติ ามเร่อื ยมา เมื่อเขามารับราขการเปนอาจารยที่คณะสถาปตยกรรมศาสตรในปพ.ศ. 2541 ไดรบั ความเมตตาจากทา นอาจารย นําโดยทานอาจารยร ศ. อนิ ทริ า ยมนาค ทานอาจารยศ . อรศิริ ปาณนิ ท และทานอาจารย รศ. มาลนิ ี ศรีสวุ รรณ ไปทานขาว กนั เปน กลมุ เพอื่ นอาจารยท คี่ ดิ ถงึ กนั หลายตอ หลายครงั้ ยงั จาํ ความสนกุ สนานไดไ มล มื ในปพ.ศ.2546 ทานอาจารยไดกรุณาสงเสริมใหไปเรียนตอในหลักสูตรปริญญาเอก สาขาการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมกบั การทองเท่ยี ว โดยทานไดพาไปสมคั รรับ ทนุ จากรัฐบาลอกี ดวย ตลอดระยะเวลาทไ่ี ดร จู กั ทา น ไดส มั ผสั ถงึ ความเมตตากรณุ า และความงดงาม ของทา นอาจารย แมวนั น้ีทานอาจารยจะไมอยแู ลว แตค วามดงี ามของทานอาจารย ยังคงตราตรึงในดวงใจของศิษยต ลอดไป กราบคารวะทานอาจารยตรงึ ใจดวยความอาลยั รักย่งิ ผชู วยศาสตราจารย ดร. ดวงเงิน (พูนผล) ซ่อื ภกั ดี คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร 39

ไวอ าลัย...แด. ...ศาสตราจารย เกยี รตคิ ุณ ดร. ตรงึ ใจ บรู ณสมภพ ดิฉันเขามาสมัครเรียนตอระดับปริญญาเอก หลักสูตรการจัดการมรดกดาน สถาปตยกรรมและการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยศิลปากร ตอนชวงทํางานที่นิตยสาร วิมานเมฆ ของพระที่น่ังวมิ านเมฆ สาํ นักพระราชวงั และไดรูจ กั ศาสตราจารย ดร. ตรึงใจ บรู ณสมภพ เปนครง้ั แรก จนกระทั่งไดเ ขามาเปน ศิษยค ณะสถาปตยกรรมอยาง เตม็ ตัว อาจารยเปนคนนารัก ใจดี และเปรีย้ วเนื่องจากเรียนจบจากประเทศฝรั่งเศส เราสนกุ สนานกนั มากในการเรยี นและปฏสิ มั พนั ธ ทง้ั ดา นการแพลนงาน (เคยคดิ จะทาํ รสี อรท รมิ ทะลกบั อาจารย) การสงั สรรค (เคยรบั ปากอาจารยไ ปรอ งเพลงงานนกั เรยี น เกา ยโุ รปและไปทานขาวกับอาจารยห ลายโอกาส) และแนนอน..การเรยี น....(อาจารย เปนหนงึ่ ในสามท่เี ซ็นอนมุ ัตดิ ุษฎนี พิ นธป ริญญาเอกใหด ิฉนั ) นอกจากดานวิชาการและการสันทนาการอาจารยเปนคนหนึ่งที่มีอุดมการณ และท่ีนายกยองคอื อาจารยไ มน่งิ เฉย กลา ตอสูเพือ่ ส่ิงท่ีถกู ตองดังจะเห็นไดจากหลายๆ กรณที อ่ี าจารยม บี ทบาทอยา งเขม แขง็ ทาํ ใหด ฉิ นั เคารพรกั อาจารยแ ละถอื เปน ตวั อยา ง ที่ควรดําเนินรอยตามในการดํารงชีวิต ชว งหลงั ๆ ศษิ ยแ ละอาจารยไ ดเ คยี งบา เคยี งไหลก นั ในการทาํ งานเพอื่ บา นเมอื ง โดยอาจารยไปทํางานในฐานะสมาชิกสภาปฏิรูปแหงชาติ และลูกศิษยทํางานในฐานะ สมาชิกสภานิติบัญญัติแหงชาติ ทําใหเราเจอกันบอยตามหองประชุม ซึ่งอาจารยได ทําหนาท่ีอยางดีเยี่ยมตราบจนส้ินวาระ ดิฉันรูสึกเสียใจและใจหายมากเมื่อไดยินขาว การจากไปของอาจารย ขออํานาจส่ิงศักด์สิ ิทธิ์ทั้งหลายจงดลบนั ดาลใหดวงวญิ ญานของอาจารยไปสู เบ้ืองสมั ปรายภพดวยเทอญ ดวยรกั และอาลัย ดร.จินตนันท ชญาตร ศภุ มติ ร ดว ยความภูมิใจทีเ่ ปนลูกศษิ ยอ าจารยต รึงใจอยา งย่งิ 40 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

คดิ ถึงครูผใู หความรกั และหว งใยศิษย. .. ครผู ูมจี ติ ใจดี และเมตตาศษิ ย. .. ครผู ูใหค วามรู และแนะนําศษิ ย,,,, ....ศิษยค นน้ี จะคิดถึงครตู ลอดไป อาจารย ดร. นภัสนันท วินจิ วรกจิ กุล ดว ยความอาลยั ศาสตราจารยเกยี รติคณุ ดร.ตรึงใจ บรู ณสมภพ ผเู ปนคุรทุ เ่ี คารพ รักย่งิ ของศษิ ย. .. นบั ตง้ั แตแ รกเขา มาศกึ ษาเลา เรยี นในรว้ั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร หลกั สตู รปรญิ ญาเอก ดุษฎีบัณฑิตสาขาการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมศาสตรและการทองเที่ยว (หลักสูตร นานาชาต)ิ คณะสถาปตยกรรมศาสตร ซ่งึ เกิดจากพลงั หลกั สาํ คญั ของอาจารยตรึงใจ... หลักสูตรนี้และอาจารยรวมถึงคณาจารยทุกทานไดประสิทธิประสาทท้ังวิชาความรู วิทยาการ รวมถึงการปลูกฝงหลกั คุณธรรมในเร่ืองการสรา งสรรคค ุณคา คณุ ประโยชนใ หแ ก สงั คมสวนรวมใหศษิ ยท กุ คนไดต ระหนกั อยูเสมอ... สิ่งเหลานี้ถายทอดมาจากการอบรมสั่งสอนและการกระทําตนเปนแบบอยางที่นา เคารพนับถือดวยความเสียสละเพ่ือประโยชนแกสวนรวม และทานไดใหความรักและความ เมตตาแกศษิ ยและเพ่อื นมนษุ ยทงั้ หลายอยเู สมอ... สิง่ สาํ คัญทศี่ ษิ ยสมั ผสั และรบั รูไ ดเสมอจากอาจารยคือ อาจารยไมเคยบกพรอ งและ ไมเ คยยอ นยอ ในเรอ่ื งการทาํ หนา ที่ แมว า ชว งหลงั มานอี้ าจารยจ ะมสี ขุ ภาพไมค อ ยแขง็ แรงนกั อาจารยก ็ยงั พยายามทําหนา ทท่ี ุกอยางอยางดีท่สี ุดดว ยใจรกั ... ดว ยผลบญุ กศุ ลและคณุ งามความดที อ่ี าจารยต รงึ ใจไดส รา งไวแ กบ รรดาศษิ ย สว นรวม และผืนแผนดนิ ไทย ขอจงดลบันดาลใหอาจารยตรึงใจทีร่ กั ยง่ิ ของศษิ ยอยใู นภพภูมทิ ่ีหลดุ พน จากความรอ นและความเย็น อยูใ นทที่ ่ีมีความสงบเย็น... ศษิ ยจ ะประพฤตติ ามคําสง่ั สอนของอาจารยตรึงใจทีเ่ นน ย้าํ ในการสรางประโยชนสขุ แกส งั คมสวนรวมตอไป... ดว ยรักและอาลยั ยิ่งจากลกู ศษิ ยของอาจารย อาจารย ดร. สิปปนนั ท นวลละออง วิทยาลยั นานาชาติ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร 41

ดวยความเคารพรกั และอาลัยกบั การจากไปของทาน อาจารยตรึงใจ ขอบคุณอาจารยท่ีใหโอกาสไดเปนลูกศิษยของ ทา น ไดเรยี นรูจากวิธีคดิ วิธีทํางานท่ีเขา ใจโลก เขา ใจชีวติ อยาง แทจรงิ ขอใหท า นอาจารยสูสคุ ต.ิ ... อาจารย ดร. ภเู กรกิ บัวสอน ไดพบอาจารยตรึงใจครั้งแรกตอนสอบสัมภาษณเพ่ือ คัดเลือกเรียนตอปริญญาโท ที่สาขาวิชาการจัดการมรดกทาง สถาปต ยกรรมและการทองเทย่ี ว (AHMT) เมอ่ื ไดเขามาเรียนท่ี หลักสูตรนี้ซึ่งตอนนั้นเปนรุนท่ี 2 ก็ไดรูจักมักคุนกับอาจารย มากข้ึนเรอื่ ยๆ จากท้ังกจิ กรรมที่เกีย่ วกับการเรยี นบา ง ไมเ ก่ียว กบั การเรยี นบา ง นึกยอ นกลับไปถงึ ตอนสมยั เรยี นแลวก็คิดถงึ ภาพทเ่ี พอื่ นๆ พ่ๆี (ตอนน้นั ยังเด็กอยู เลยไมมี นองๆ) พดู เลน แซวกนั อยา งสนกุ สนานเวลาไปออกทรปิ บา ง หรอื ตอนปารต บี้ า ง โดยมีอาจารยคอยปลอยมุขนารักๆ สรา งเสียงเฮฮาใหกบั ชาว AHMT อยเู สมอๆ เวลาทไ่ี ดม โี อกาสพบปะกบั อาจารย อาจารย กม็ ักจะมีคําแนะนาํ ดๆี เสมอไมวา จะเปนทง้ั เร่ืองการเรียน การ งาน หรอื แมแ ตก ารใชช วี ติ จําไดครงั้ นงึ อาจารยพาไปทานไอตมิ รา นดงั ตรงทา พระจนั ทร แถมยงั ดลู ายมอื ใหเ ปน ของแถมอกี ดว ย ขอกราบขอบพระคุณอาจารยท่ีริเริ่มสาขาวิชานี้ขึ้นมา ทาํ ใหหนไู ดม วี นั เวลาดีๆ ถึงแมดว ยภาระหนาที่จะทาํ ใหไมไดพบ ปะเพือ่ นๆ พีๆ่ เหมอื นตอนที่ยงั เรยี นอยู แตห นกู ม็ ีความสุขทุก ครง้ั ทีไ่ ดนกึ ถึงความทรงจําสมยั เรยี น อาจารยท ํางานเหน่ือยมา มากแลว พวกหนูขอสงอาจารยไดไ ปพกั ผอนอยา งมคี วามสุขท่ี บนฟานะคะ ดว ยความเคารพรักและระลกึ ถงึ อาจารยเ สมอ พิชญา ศรแี ดง AHMT รนุ 2 42 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

เม่ือทราบขาวการจากไปของ ศาสตราจารย (เกียรติคุณ) ตรึงใจ บูรณสมภพ รูสึกใจหาย ทั้งๆ ที่เปนเร่ืองธรรมดาของมนุษย ตลอดท่ีผานมาไดตามขาวการเจ็บปวย ของทา นจากผชู ว ยศาสตราจารย ดร.สุดสันต สุทธิพศิ าล หรืออาจารยพ ่ีแมนมาโดยตลอด และก็ไดคุยกันต้ังแตกอนทราบขาวการปวยของอาจารยโดยทีแรกคุยกันวาจะจัดงานมุฑิ ตาจติ ใหแ กท า น แตพอทราบวาทานปวยและรักษาตัวกค็ ุยกนั วา จะรอใหทานหายดีกอ นจึง จะจดั งานโดยจะมีการเชิญศิษย ป.เอก ป.โท มารว มกนั จุดเร่ิมตนท่ีกระผมไดรูจักทานอาจารยก็คือการเขามาศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมกับการทองเท่ียว ซ่ึงเดิมทีก็มีเพ่ือน (ดร. นภสั นนั ท วนิ จิ วรกิจกลุ ) มาชวน แตม องไมออกวา เรียนอะไรและนาํ ไปใชในงานที่ทาํ อยไู ด อยางไร แตดวยในเวลาน้ันก็แทบไมมีหลักสูตรดานการทองเที่ยวเลย จนลวงเลยเวลามา อีกหลายปกวาจึงตัดสินใจเรียนในหลักสูตรนี้ ซ่ึงก็ไดพบทานอาจารยเปนครั้งแรกในวัน สอบสัมภาษณ และคําถามแรกก็เปนคําถามท่ีอาจารยถาม ซ่ึงก็ยังไดกลับมาถามคุณพอ ของกระผมทเ่ี ปน รุน นองที่คณะสถาปต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ดวย และ ยังไดมีโอกาสไดบอกทา นอาจารยด ว ยวา พอกระผมเปนรุนนอ งอาจารย เมอื่ เรยี นไปไดส กั ระยะเพราะไดพ บกบั ทา นระหวา งเรยี นอยเู นอื งๆ ซง่ึ ทาํ ใหก ระผม เหน็ และประทบั ใจในความใสใ จตอ ศษิ ยก ารใหค วามเปน กนั เองและไมถ อื ตวั เลย จนแมก ระทง่ั วันสุดทายในการเรียนทานก็ไดมาเปนประธานกรรมการในการสอบปองกันดุษฎีนิพนธก็ ยงั มกี ารคยุ เลน ออกนอกเรอื่ งทสี่ อบไปบา ง เชน เรอื่ งสมยั ทท่ี า นอาจารยป ลกี ตวั ไปเขยี นงาน ปรญิ ญาเอก คงเพอ่ื ไมใ หบ รรยากาศตรงึ เครยี ดจนเกนิ ไปแตใ นขณะเดยี วกนั ทา นอาจารยก ็ยัง หวงใจและใสใจโดยไดคําแนะนําในการปรับปรุงอยางดียิ่งไมแพอาจารยท่ีปรึกษาเลยที เดยี ว สุดทายนี้ของใหทา นอาจารยไดพ ักผอนอยา งสงบสุข และยังยดึ มัน่ ในคําสอนสงั่ ท่ไี ด รับและหากมโี อกาสก็จะนําไปบอกตอยงั ลกู ศษิ ยตอ ไป ดร. ปรเมษฐ บญุ นําศิริกิจ 43

อาจารยต รึงใจ คอื ความทรงจําทง่ี ดงาม ครั้งแรกท่ีไดรูจักอาจารยตรึงใจก็เม่ือคร้ังที่ขาพเจาสอบสัมภาษณเพ่ือ เขาศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรการจัดการมรดกทางสถาปตยกรรมและ การทองเที่ยวในคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ซ่ึงเปน หลกั สตู รทอ่ี าจารยกอ ต้งั ข้นึ ในวันนั้นขาพเจา รูส ึกวา อาจารยท านนด้ี เู ปนผใู หญ ทนี่ า เคารพและนาจะใจดี ซง่ึ ทา นกเ็ ปนเชน น้นั จริงๆ นอกจากนท้ี านยังมเี มตตา ชแ้ี นะและสัง่ สอนขา พเจาในหลายๆ ท้งั เรอ่ื ง วิชาการและเรือ่ งสว นตัว เวลาอยู กับอาจารยแ ลว รูสึกไดถึงความสขุ ความราเรงิ และความอบอนุ เมื่อขาพเจาเรียนจบแลว ขณะนั้นอาจารยตรึงใจดํารงตําแหนงเปน สมาชกิ วฒุ สิ ภา ทา นไดใ หโ อกาสขา พเจา มาทาํ งานเปน ผปู ฏบิ ตั งิ านใหท า น ทาํ ให ขาพเจา ไดรับประสบการณท ่ีดีมาก ทัง้ ทานยงั เปนตน แบบที่ดมี ากในการทํางาน และการใชชีวติ ทกุ วนั ทานจะมาทํางานอยางราเรงิ และมีรอยยม้ิ อยูเ สมอ ทา น ใหความเปนกันเองกับผูรวมงานทุกคนทุกระดับ ทานมีน้ําใจมีเมตตาชอบชวย เหลอื คนมากๆ ทา นทาํ ใหก ารไดท าํ งานตา งๆรว มกนั เปน ความสขุ และความสนกุ เม่ือขาพเจาไมไดทํางานกับอาจารยแลว ก็ยังไดโทรศัพทคุยกัน แลก เปล่ียนความคิดเห็นกันในเร่ืองตางๆ ทุกคร้ังทานจะใหพร และใหกําลังใจดวย น้ําเสียงที่สดใสและอาทรเสมอ คร้ังสุดทายและคําพูดสุดทายกอนจะวางสาย จากกนั คอื \"ครูกค็ ิดถึงโอตนะคะ\" .....คดิ ถงึ อาจารยเชน กนั คะ คิดถงึ มากดว ย กราบลาดวยหัวใจ ขอใหอ าจารยหลบั พกั ผอนใหส บายในภพภมู ทิ ีด่ ีนะคะ ดวย ความรกั เคารพและระลกึ ถึงอาจารยอ ยูเสมอ จติ ิมา เกียรติรัศมี 44 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

แด ศาสตราจารยเกียรตคิ ณุ ดร. ตรึงใจ บูรณะสมภพ ภาพของอาจารยตรงึ ใจในความจําของขา พเจาน้ัน คือบคุ คลทเ่ี อาใจใสท ง้ั ตนเอง ผูอ่นื และสิ่ง แวดลอ มรอบขาง อาจารยเ ปน เหมือนบคุ คลอเนกประสงค ภาษาท่วั ไปนนั้ กค็ อื คนขยนั น่ันเอง คนท่ัวไป เมื่อขยันในการทํางาน อาจจะบกพรองในเรื่องของตนเอง และครอบครัว หรือหากดีตอครอบครัวมาก เวลาทีจ่ ะทุมเทใหก ับงานก็จะนอ ยลง หรือทําวจิ ัยมคี วามรงุ เรืองกาวหนา ในชวี ิตการทาํ งานมาก ความ สัมพนั ธกับคนอืน่ ก็จะดอยไป แตอ าจารยตรึงใจเปนบคุ คลหนึง่ ทข่ี า พเจาคดิ วา รกั ษาสมดลุ แหงชีวิตได อยางดียิ่ง แมกับบุคคลที่ไมคุนเคยไมสนิทสนมกับอาจารย อาจารยก็ใหความเมตตาในความรูสึกของ ขาพเจา ไมต างอะไรกับ “แม” ทใี่ หก บั ลูก หรือ “พ”่ี ท่ีใหก บั นอง ขาพเจา พบอาจารยค รง้ั แรก เมอื่ วนั ที่ขา พเจาสอบสมั ภาษณ ในวันน้นั ประกอบดว ย อาจารยสุ นนท อาจารยเดน และอาจารยตรึงใจ ขาพเจาออกมาจากหองสอบมาเลาใหคนท่ีรอสอบฯตอฟงวามี อาจารยผูชายผูใหญสองคน และอาจารยผูหญิงที่ดูสาวๆอยูคนหน่ึง ภายหลังท่ีไดขอมูลวาอาจารยสาว นั้นอายุมากวาทุกคนในหองนั้นทําใหขาพเจาประหลาดใจมาก และยิ่งทราบวาอาจารยเปนผูเช่ียวชาญ ดานสถาปตยกรรม อาจารยมีตาํ แหนงเปนศาสตราจารย และอาจารยเ ปน ผูกอตัง้ สาขาวชิ าการจดั การ มรดกทางสถาปต ยกรรมและการทอ งเทีย่ ว ทีข่ าพเจากําลังจะไดเขา เรียน การพบกันคร้ังสุดทายและเปนครั้งแรกที่ไดอยูกับอาจารยนานที่สุดคือในหองสอบปองกัน วิทยานิพนธ ระหวา งสอบขาพเจา เหน็ วา อาจารยย ม้ิ และใหก าํ ลงั ใจ รวมท้ังเกรงวา กรรมการทา นอ่ืนอาจ จะคดิ วางานของขา พเจา นนั้ ไมด ี เมื่อการสอบสิ้นสดุ ลง และผลการสอบออกมาดมี าก อาจารยขอถา ย รูปกับขาพเจาและกลาววา “ขอบคุณที่เลือกเรียนโปรแกรมของเรา” ขาพเจารีบยกมือไหวและกลาว ตอบวา “ขอบพระคณุ ทีอ่ าจารยก อตง้ั สาขาวชิ าน้ขี น้ึ มา” อาจารยไ ดข อรองแกมบงั คบั ใหข าพเจาทํางาน ใหสองอยาง คือสงเขารว มแขง ขัน “รางวลั วทิ ยานพิ นธ” กบั สาํ นกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแหง ชาติ และ ตีพิมพก ารวิจัยของขา พเจาเปนภาษาไทยเพอ่ื เผยแพรใหก ับคนไทยอาน ซงึ่ ขาพเจา ไดป ฏิบตั ติ ามความ ตองการของอาจารย และไดร บั ผลสําเรจ็ ดว ยดที ัง้ สองประการ ขาพเจาไดยายครอบครัวมาทํางานที่ประเทศสหรัฐอเมริกา เปนนักวิจัยท่ีมหาวิทยาลัยนอรท แคโรไลนา เมืองแชปเปลฮิลล ทุกครั้งที่ขาพเจานําเสนอผลงาน หรือไดรับเชิญไปสอน พูด หรือให สัมภาษณท่ีใด ขาพเจามักจะกลาวกับทุกคนวา การเรียนปริญญาเอกของขาพเจาน้ันเปล่ียนชีวิตของ ขาพเจา จากครูในมหาวิทยาลัย จากแมบานธรรมดา ไดมีโอกาสเดินทางไปหลายประเทศเพื่อเผยแพร งานวิจัยของตนเอง ไดรับมิตรภาพในฐานะเพื่อนจากอาจารยท่ีมีชื่อเสียงท่ีขาพเจาเคยอานผลงานของ ทานเหลานัน้ ในบทความหรือในหนังสือ โอกาสดๆี หลายอยา งนข้ี าพเจาไดมีแบบอยางในการดาํ เนินชีวิต มาจากอาจารยตรึงใจดวยเชนกัน สุดทายน้ีขอใหอาจารยตรึงใจของขาพเจา เดินทางไปยังสัมปรายภพอนั งดงาม และอาจารย จะอยูในความทรงจําของพวกเราตลอดไป จนกวา เราจะไดพบกันอกี ครั้ง เพราะขา พเจา อยากไดมโี อกาส คุนเคยกบั อาจารยใหม ากขนึ้ และจะไมป ลอ ยใหโ อกาสผา นไปอยางนาเสียดายอีกแลว ดร.รังสมิ า กุลพัฒน มหาวิทยาลัยนอรทแคโรไลนา 45

เหมือนเม่ือวาน รอยย้ิมออนโยน สายตาท่ีมองอยาง เมตตา จติ ใจทเี่ ปย มลน ดว ยความเปน ครผู ใู ห ใหก บั ลกู ศษิ ยท กุ คน เหมอื นเมอ่ื วาน ทคี่ วามรกั ความเคารพของพวกเรายงั ตรงึ ตดิ และ ความคิดถงึ จะมตี อครตู ลอดไป ดว ยความอาลยั ยงิ่ วรวทิ ย องคครฑุ รักษา เชียงใหม หากวันน้ันอาจารยตรึงใจไมริเริ่มหลักสูตรการจัดการ มรดกทางสถาปตยกรรมกับการทองเที่ยว วันนี้ก็คงไมมีพวกเรา ที่มุงม่ันใชความรูที่ไดรับจากหลักสูตรไปชวยเหลือประเทศชาติ ตามความถนัดและความสามารถของตนเอง ความสูญเสียเปนความแนนอนทางธรรมชาติท่ีไมมีใคร อยากเผชิญหนา หากแตความสูญเสียน้ันพรากไปไดแตรางกาย ของบุคคลอันเปนท่ีรัก ท่ีเคารพ ที่นับถือ คุณงามความดีและ บทบาทความเปนครูผูทุมเทของอาจารยตรึงใจท่ีพวกเราไดรับ ผานประสบการณหรือการบอกเลา ยอมเปน “วัฒนธรรม” ช้ิน เอกที่พวกเราพรอมจะนอมรับมาปฎิบัติและสงตอใหอนุชนรุน หลัง ถาเปรียบเทียบแลวผมขอยกยองใหส่ิงเหลาน้ันที่อาจารย ตรึงใจไดท้ิงไวพวกเราเปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมได (Intangible Cultural Heritage) ซ่ึงมรดกทางวัฒนธรรมทีจ่ ับ ตอ งไมไ ดน้ี ถูกสง ผา นรุนตอรุนมาเปน บัณฑิต มหาบัณฑติ หรือ ดษุ ฎบี ณั ฑติ ในฐานะประจกั ษพ ยาน ในฐานะตวั แทน คณุ งามความดี และบทความเปน ครูผูทุมเทของอาจารยตรงึ ใจ พวกเราในฐานะที่ เปนผลผลิตจากความมุงม่ันของอาจารย และแมวาพวกเราจะ มีหนทางชีวิตท่ีดําเนินไปแตกตางกันออกไป ผมเช่อื ม่นั วา พวกเราจะยึดถอื และปฎิบัตเิ ชน เดียวกนั ดั่งที่อาจารยตรึงใจอุทิศตนทําใหพวกเราเห็นเปนตัวอยางแลว ตลอดชวี ิตของทาน ดวยความเคารพสงู สุด อาจารย ดร.กรกติ ชุม กรานต 46 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

กราบระลึกถึงคุณงาม ความดี ของครู ศาตราจารย เกยี รตคิ ณุ ดร.ตรึงใจ บูรณสมภพ แมวาทานอาจารยตรึงใจจะลวงลับไปสูสุขคติในสัมปรายภพแลว แตคุณความดี ความอารี และคุณธรรมของทานจะเปนแบบอยางที่ดี ที่ศิษยเคารพและจักไดนําความเปน ปราชญของทานไปสืบสานตอใหเกิดประโยชนตอไป ในวันหน่ึงของปพ.ศ.2558 ผมทราบขาวจากรุนพี่ทานหนึ่งที่เคยทําหนาท่ีเปน สปช. (สมาชิกสภาปฎิรูปแหงชาติ) รวมสมัยเดียวกับทานอาจารยตรึงใจวา “อาจารยไม สบายมาก” ผมเองพยายามติดตอเพื่อไปเย่ียมอาจารย แตก็ไดรับคําตอบจากอาจารยวา “ไม ตองเปนหวงครู ครูสบายดี ตอนน้ีไมเปนอะไรแลว” นี่คือส่ิงที่อาจารยมีมาตลอดชีวิต คํา พูดท่ีทําใหทุกคนฟงแลวสบายใจ เชาตรูของวันท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 ผมไดรับทราบขาวรายระหวาง เดินทางไปประชุมท่ีมหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ไดแตตั้งสติ ทําใจอยูเปนวัน นํ้าตาเออซึม บ อกความรูสึกบางอยางท่ีอยูในสวนลึกของความทรงจํา ทุกครั้งที่คิดถึงภาพของอาจารย ค อยดูแลเอาใจใส เปนหวงกังวลท้ังในยามสุขและยามทุกขของลูกศิษยคนนี้เสมอมา โดย เฉพาะภาพตอนที่อาจารยมารวมแสดงความยินดีกับผมในวันรับพระราชทานปริญญาบัตร ระดับดุษฎีบัณฑิต แมอาจารยเองจะติดภารกิจดวนมากมายในวันน้ันก็ตาม ความเสียใจคางคาอยูในใจผมไปจนถึงวันท่ีไดไปรวมงานพระราชทานน้ําหลวง อาบศพและสวดอภิธรรมศพของอาจารย ระหวางพิธีการ ผมพยายามปลอบใจตัวเองวา “ทุกส่ิงมีขึ้น ต้ังอยู และก็ตองดับ ไ ป” และผมเช่ือเสมอวา คุณความดีที่อาจารยไดกระทํามาตลอดชีวิต ชีวิตท่ีเคลื่อนท่ีไป ดวยการอุทิศพลังกายและพลังใจเพ่ือสังคม เปนผูใหกับทุกๆคน จะนําพาอาจารยไปสูภพ ภูมิที่มีแตความสุข สงบ และสันติ ชั่วนิรันดร ขอบพระคุณอาจารยเปนอยางสูงสําหรับโอกาสทางการศึกษาท่ีอาจารยมอบให กับผม จนเปนผมอยางในทุกวันนี้ ดว ยความเคารพรกั อาจารย ดร. สมนกึ จงมีวศิน วทิ ยาลยั นานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร อนกุ รรมการดา นสิทธิชุมชนและฐานทรพั ยากร ใน คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหงชาติ 47

รฤก ถงึ ศาสตราจารยเกยี รติคุณ ดร. ตรึงใจ บรู ณสมภพ ดว ยความอาลยั รกั รอยยมิ้ ทีป่ รากฎทกุ ครัง้ ของอาจารย มาพรอ มกบั ความงดงามของใบหนาและ เครอื่ งแตง กาย อาจารยตรงึ ใจเปนคนสวยท่แี ตงตัวสวยทุกครงั้ ท่ีไดพบพา ไมมีโอกาสไดเ รยี นกับอาจารย แตไดร บั การหยิบย่ืนโอกาสใหทุกครง้ั ดวยความ เมตตาปราณี ต้งั แตคร้ังอาจารยเร่มิ ตนตั้งไขหลกั สูตรปริญญาเอก Architectural Heritage Management and Tourism (AHMT) อาจารยเอยปากชวนมาเรียน หากในเวลานนั้ เพง่ิ จบปรญิ ญาโทหมาดๆ ชนดิ ยงั ไมห ายเหนอื่ ยจากการทาํ วทิ ยานพิ นธเ ลม ใหญจ งึ ปฏเิ สธไป อยา งนุมนวล รวม ๑๐ ปตอมา เราไดรํ่าเรียนแลวในหลักสูตร Architectural Heritage Management and Tourism ระหวางศึกษา อาจารยยังคงเมตตาเสมอ ในการใหค าํ แนะนําปรึกษา และให ค วามชวยเหลือ ดวยความรักและเอ็นดูเสมอ รอยย้ิม และความงดงามของอาจารย มไิ ดห างหายไกลไปไหน ...แมในวันน้ี ทอ่ี าจารยอ ยไู กล รสิตา สนิ เอกเอ่ยี ม 48 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ

ศาสตราจารยเ กียรติคณุ ดร. ตรึงใจ บรู ณสมภพ เปนแบบอยา งของคาํ วา \"ใหโอกาส\" และ \"มเี มตตา\" ทาํ ใหด ิฉันไดต ระหนักวา คาํ วา \"โอกาส\" มีความสําคัญ และควรหยบิ ย่นื หากทาํ ได ดิฉนั เชื่อ มนั่ วา ลกู ศิษย และคนท่ีรจู ักอาจารยเปน อยางดีจะไดเ รยี นรสู ่งิ นจี้ ากอาจารย ดิฉันไดยินช่ืออาจารยบอยครั้งเม่ือศึกษาระดับปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ขณะน้ัน อ าจารยดํารงตําแหนงอธิการบดี และนับเปนโชคดีอยางหนึ่งของชีวิตท่ีไดศึกษาในสาขาการจัดการ ม รดกทางสถาปต ยกรรมกบั การทอ งเทย่ี ว ทอี่ าจารยเ ปน ประธานหลกั สตู ร อาจารยใ หค วามกรณุ ามา สอบสมั ภาษณใ นวนั แรกเขา จากนนั้ ดิฉนั ไดพ บอาจารยใ นกิจกรรมตางๆ ทางวชิ าการ ไดสัมผัสความ เ ปน กันเองของอาจารย และอาจารยย งั ใหค วามเมตตาเปน กรรมการสอบปอ งกนั วทิ ยานพิ นธเ พอื่ จบ การศกึ ษา องคค วามรทู ด่ี ฉิ นั ไดร บั จากหลกั สตู รที่มีความทันสมยั ตอบโจทยความเปนไปของโลก ซึง่ ออกแบบอยางสรางสรรคโ ดยอาจารย รวมถงึ คาํ แนะนาํ อื่นๆ ทางวชิ าการจากอาจารย นับเปนตน ทนุ ท่นี าํ มาซ่งึ โอกาสที่ดีของชวี ิตหลายตอหลายครงั้ อาจารยเ ปน ญาตผิ ใู หญท ม่ี แี ตค นกลา วถงึ ดว ยความชนื่ ชม เนอื่ งจากผลงานของอาจารยเ ปน ท่ี ป ระจกั ษว า มคี ณุ คา ตอ วงการการศกึ ษาและสงั คม อาจารยเ ปน แบบอยา งของผหู ญงิ เกง ในชวี ติ ของดฉิ นั ดิฉันจะนําองคความรูและคําแนะนําท่ีไดรับจากอาจารย อีกทั้งความเมตตากรุณาท่ีอาจารยมีใหคน รอบขา งเสมอมา ไปปรับใชกบั การดาํ รงตน ความประทบั ใจทีม่ ตี อ อาจารย จะ \"ตรงึ ใจ\" ดฉิ นั ไปตราบนานเทา นาน ดว ยความรกั และเคารพ อาจารย ดร. นนั ทวรรณ มวงใหญ ภาควิชาการทองเทีย่ ว คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม 49

ดวยรักและอาลยั ศาสตราจารยเกยี รติคณุ ตรงึ ใจ บูรณสมภพ ยังจําวันแรกท่ีอาจารยใหโอกาสรับเขามาเรียน ปริญญาโท และปริญญาเอก สาขา Architectural Heritage Management and Tourism ที่ คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ไดเ ปน อยา งดี อาจารยม ีเมตตาใหล กู ศษิ ยค นนีเ้ สมอ ใหท ั้งโอกาส ในการเรยี น และสอนในการใชชีวติ เรียนเปนเรียน เลนเปนเลน คร้ังหน่ึงไดมีโอกาสรวมงานเล้ียงสังสรรคนักศึกษา ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก ของหลกั สตู รฯรวมกัน ยงั จําภาพทานอาจารยเ ตน ราํ ดว ยความไม ถอื ตัวไดเปนอยางดี ทําใหพ วกเราไดเรยี นรูว านอกจากการเรยี นแลว เรายงั ตอศึกษาวิชา ชีวิตในการเขาสงั คมอกี ดว ย จากโอกาสท่ีไดศึกษาตอปริญญาเอกท่ีศิลปากร ทําใหสืบเนื่องไดมีโอกาสมาเปน อ าจารยทกี่ ลุมวชิ าการทอ งเทย่ี ว คณะบรหิ ารธุรกจิ และการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแกน คุณูปการท่ีอาจารยใหโอกาสเรียน ทําใหพวกเราหลายคนท่ีม.ขอนแกน กลับมาชวยกัน พฒั นาเปด หลกั สตู รปรญิ ญาเอก สาขาการจดั การนวตั กรรมการทอ งเทยี่ วและบรกิ าร ทาํ ให ภูมิภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีโอกาสใหสําหรับบุคคลที่สนใจในการศึกษาตอดานการ ทอ งเทย่ี ว โดยถอื ไดว ามกี ารเปด สถาบนั การศึกษาการสอนดานปริญญาเอกเปนแหงที่ 2 ของประเทศไทย ตอจากมหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร จนปจ จบุ นั มหาวิทยาลัยขอนแกน ถอื เปน มหาวิทยาลยั เพยี งไมก่ที ใ่ี นประเทศไทย ท่มี หี ลักสูตรปริญญาตรี ปรญิ ญาโท และปริญญา เอกดา นการทอ งเทยี่ วโดยตรง ยงั ความภาคภมู ใิ จแกข า พเจา และนกั ศกึ ษา รวมถงึ ประชาชน ในภมู ิภาคนเ้ี ปนอยา งมาก ขอกราบขอบพระคุณทานอาจารย ดวยความรกั และอาลยั ยิ่ง ดวยรักและเคารพอาจารยเ สมอและตลอดไป ดร.ดลฤทยั โกวรรธนะกลุ ผอู าํ นวยการศนู ยค วามเปน เลิศอตุ สาหกรรมไมซแ ละอีเวนทเชงิ ธุรกิจ (Centre of Excellence in MICE and Business Events Industry : CEMBEI) อาจารย กลมุ วิชาการทอ งเท่ียว คณะบริหารธรุ กจิ และการบญั ชี มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน 50 ศาสตราจารย เกียรติคุณ ดร. ตรึงใจ บูรณสมภพ