Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sunmoon

sunmoon

Published by poolsombutnuch, 2019-10-25 03:12:06

Description: sunmoon

Search

Read the Text Version

06 การขนึ้ ตกของดวงดาว ดาวฤกษ์ เป็นดำวท่ีมีแสงสวำ่ งในตัวเอง ดำวฤกษ์ แต่ละดวงจะรกั ษำระยะหำ่ งระหว่ำงกันเทำ่ เดมิ เสมอ ไม่เคลือ่ นที่ จึงมรี ปู ร่ำงคงท่ี 101

06 การขน้ึ ตกของดวงดาว ดาวฤกษ์ แบ่งเป็น 88 กลุ่ม เชน่ กล่มุ ดำวจระเขห้ รอื ดำวหมีใหญ่ กล่มุ ดำวนำยพรำน กลมุ่ ดำวลกู ไก่ กล่มุ ดำวไถ กลมุ่ ดำวคนยิงธนู กลมุ่ ดำวจกั รรำศี ฯลฯ 102

07 น้าขนึ้ -น้าลง 103

07 นา้ ขน้ึ -น้าลง ในแต่ละวนั จะสังเกตเหน็ วำ่ ระดบั น้ำทะเลมีปรำกฏ นำ้ ขึน้ –นำ้ ลง ซึง่ มสี ำเหตุจำกกำรทดี่ วงจันทรโ์ คจรรอบโลกและรอบ ดวงอำทติ ย์ และเน่อื งจำกดวงจนั ทรอ์ ยู่ใกลโ้ ลกมำกที่สุด แรงดึงดูดของดวงจนั ทรจ์ งึ มอี ิทธพิ ลตอ่ โลก ทำใหเ้ กดิ ปรำกฏกำรณ์ น้ำข้นึ – น้ำลง เมอ่ื ดวงจนั ทร์โคจรมำอยใู่ นแนว เดยี วกับโลกและดวงอำทิตย์ ซ่งึ จะตรงกบั วันขนึ้ 14 – 15 ค่ำของ ทกุ เดือน บริเวณ ข และ ง บนโลกจะโป่งออก ทำใหบ้ รเิ วณนี้ น้ำทะเลขึน้ สว่ นบรเิ วณ ก และ ค บนโลก พน้ื น้ำจะลดระดับลง 104

07 น้าข้ึน-นา้ ลง  ถำ้ ดวงจันทรโ์ คจรไปอยใู่ นตำแหนง่ ตั้งฉำก กบั ดวงอำทติ ย์ ซง่ึ จะตรงกบั วันข้นึ 7-8 คำ่ และวัน แรม 7-8 ค่ำของทกุ เดอื น จะทำให้บรเิ วณ ก และ ค บนโลกพน้ื นำ้ โปง่ ออก ทำใหบ้ ริเวณที่นำ้ ขน้ึ สว่ น บรเิ วณ ข และ ง บนโลกเกดิ นำ้ ลง ในแตล่ ะวนั เรำจะ เหน็ นำ้ ทะเลข้นึ และลง 2 เวลำ 105

07 นา้ ขนึ้ -น้าลง แรงไทดัล เมื่อดำวดวงหนึ่งได้รับอทิ ธิพลจำกแรงโน้มถว่ งจำกดำวอีกดวงหน่งึ ด้ำนท่อี ยูใ่ กล้จะได้ ถกู ดงึ ดดู มำกกวำ่ ดำ้ นทอี่ ยู่ไกล ควำมแตกต่ำงของแรงทั้งดำ้ นจะทำใหเ้ กดิ ควำมเครียดภำยใน ถำ้ เนอ้ื ของดำวไมแ่ ข็งแรงพอก็อำจจะทำใหด้ ำวแตกได้ ถ้ำเนอื้ ของดำวมคี วำมหยุ่นก็จะทำให้ ดำวยืดออกเปน็ ทรงรี เรำเรียกแรงภำยในทแ่ี ตกตำ่ งนวี้ ่ำ \"แรงไทดัล\" (Tidal force) ยกตัวอย่ำงเช่น แรงทท่ี ำให้ดวงจนั ทร์บรวิ ำรแตกเป็นวงแหวนของดำวเสำร์ แรงท่ีทำใหด้ ำว พุธเป็นทรงรี และแรงท่ที ำใหเ้ กิดน้ำขึน้ นำ้ ลง ซ่งึ จะอธิบำยดงั ตอ่ ไปน้ี 106

07 น้าขึ้น-น้าลง ตำมกฏแปรผกผนั ยกกำลงั สองของนิวตัน เมื่อวัตถุอยู่ไกลจำกกนั แรงโน้มถว่ งระหวำ่ งวตั ถุจะ ลดลง ดงั นน้ั เมื่อวำงลูกบิลเลียดสำมลกู ในอวกำศ โดยเรียงลำดบั ระยะหำ่ งจำกดำวเครำะห์ดงั ภำพ แรงโน้มถ่วงระหว่ำงดำวเครำะห์กบั ลูกบิลเลยี ดหมำยเลข 3 มำกกวำ่ แรงโนม้ ถว่ งระหวำ่ งดำวเครำะห์ กบั ลกู บิลเลียดหมำยเลข 2 และมำกกวำ่ แรงโน้มถว่ งระหวำ่ งดำวเครำะหก์ บั ลูกบลิ เลียด หมำยเลข 1 ตำมลำดบั ภำพกำรเรียงลกู บิลเลยี ดไวใ้ นอวกำศ 107

07 นา้ ขน้ึ -น้าลง เมอื่ เวลำผำ่ นไป ดงั ภำพ ลูกบลิ เลียดหมำยเลข 3 จะเคลือ่ นท่ีเข้ำหำดำวเครำะห์ เปน็ ระยะทำงมำกทสี่ ดุ ลูกบลิ เลียดหมำยเลข 2 จะเคลอื่ นทีเ่ ขำ้ หำดำวเครำะห์ เปน็ ระยะทำงนอ้ ยกวำ่ ลกู บิลเลยี ดหมำยเลข 1 จะเคล่ือนที่เขำ้ หำดำวเครำะห์ เป็นระยะทำงนอ้ ยทส่ี ดุ ภำพลกู บลิ เลยี ดหมำยเลข 3 ถกู ดึงดูดมำกกว่ำหมำยเลข 2 และ 1 ตำมลำดับ 108

07 น้าขึน้ -น้าลง หำกเรำจ้องมองท่ีลกู บิลเลยี ดหมำยเลข 2 ดงั ภำพ จะมองเหน็ ว่ำ ระยะทำงระหว่ำงลูก บิลเลยี ดหมำยเลข 1 และ 2” และ ระยะทำงระหว่ำงลูกบลิ เลยี ดหมำยเลข 2 และ 3” เพ่มิ มำก ขึน้ เรำเรยี กแรงท่กี ระทำให้ลกู บิลเลยี ดทั้งสำมลูกกระจำยห่ำงจำกกนั นี้ว่ำ แรงไทดัล เมอื่ เพง่ ที่หมำยเลข 2 จะดูเหมือนวำ่ หมำยเลข 1 และ 3 แยกออกไป 109

07 น้าขึ้น-น้าลง เหตุใดน้าจึงขน้ึ สองด้าน แรงโน้มถ่วงของดวงจันทรก์ ระทำ ณ ตำบลตำ่ งๆ ของโลกแตกตำ่ งกนั โดยสำมำรถวำดลูกศร แสดงขนำดและทศิ ทำงของแรงดงึ ดดู ซง่ึ เกดิ จำกอทิ ธิพลควำมโนม้ ถ่วงของดวงจนั ทร์ ได้ดังภำพ ภำพแรงโน้มถว่ งของดวงจันทรท์ ี่กระทำต่อโลก 110

07 นา้ ขึน้ -น้าลง เหตุใดน้าจึงข้นึ สองด้าน เมอื่ พจิ ำรณำแรงไทดัล ณ จุดใดๆ ของโลก แรงไทดลั ภำยในโลกมขี นำดเท่ำกบั ควำม แตกตำ่ งระหวำ่ งแรงดงึ ดดู จำกดวงจันทร์ทกี่ ระทำตอ่ จดุ น้ันๆ กับแรงดงึ ดดู จำกดวงจันทร์ทีก่ ระทำตอ่ ศูนย์กลำงของโลก ซ่ึงสำมำรถเขียนลกู ศรแสดงขนำดและทิศทำงของแรงในภำพ ภำพแรงไทดัลบนพืน้ ผวิ โลก 111

07 น้าขึน้ -น้าลง เหตใุ ดน้าจงึ ขึน้ สองด้าน เนือ่ งจำกเปลือกโลกเป็นของแขง็ จงึ ไมส่ ำมำรถยืดหย่นุ ตวั ไปตำมแรงไทดัลซง่ึ เกดิ จำก แรงโนม้ ถว่ งของดวงจันทรไ์ ด้ แตท่ วำ่ พ้นื ผิวสว่ นใหญ่ของโลกปกคลมุ ด้วยนำ้ ในมหำสมทุ ร จงึ ปรบั ตวั เปน็ รูปทรงรี ตำมแรงไทดลั ทเี่ กิดข้ึนดงั รูปที่ 6 ทำให้เกิดปรำกฏกำรณ์ \"นำ้ ขน้ึ นำ้ ลง\" (Tides)​ โดยทรี่ ะดบั น้ำทะเลจะขน้ึ สงู สดุ บนดำ้ นที่หนั เข้ำหำดวงจันทรแ์ ละดำ้ นตรงขำ้ มดวง จันทร์ (ตำแหน่ง H และ H’) และระดับนำ้ ทะเลจะลงตำ่ สุดบนด้ำนทตี่ ัง้ ฉำกกับดวง จันทร์ (ตำแหนง่ L และ L’) โลกหมุนรอบตวั เอง 1 รอบ ทำให้ ณ ตำแหน่งหนึ่งๆ บนพื้นผิวโลก จงึ เคล่ือนผ่ำนบรเิ วณทเ่ี กดิ นำ้ ข้ึนและน้ำลงทั้งสองด้ำน ทำให้เกิดนำ้ ขน้ึ นำ้ ลง วนั ละ 2 ครง้ั 112

07 น้าขนึ้ -น้าลง เหตใุ ดน้าจึงขึ้นสองด้าน ภำพแรงไทดัลทำใหเ้ กดิ น้ำขนี้ นำ้ ลง 113

07 น้าขนึ้ -นา้ ลง เหตใุ ดนา้ จึงข้ึนสองดา้ น เนอ่ื งจำกดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก ขณะท่โี ลกเองก็หมนุ รอบตัวเอง จึงทำให้เรำมองเหน็ ดวงจนั ทร์ขึ้นช้ำไปวนั ละ 50 นำที หนึง่ วันมีน้ำขึ้น 2 ครัง้ ดงั น้นั นำ้ ขนึ้ ครง้ั ตอ่ ไปจะตอ้ งบวกไปอกี 12 ช่ัวโมง 25 นำที เช่น น้ำข้ึนครั้งลำ่ สดุ นำ้ ขึ้นเวลำ 24.00 น. น้ำข้ึนครงั้ ต่อไปประมำณเวลำ 12.25 น. และในวนั ถดั ไปนำจะขนึ้ ประมำณเวลำ 00.50 น. 114

07 น้าขึน้ -น้าลง นา้ เกดิ น้าตาย 115

07 นา้ ขน้ึ -น้าลง ภำพภำวะน้ำเกิด น้าเกิดน้าตาย 116 ในวันข้นึ 15 คำ่ และวันแรม 15 ค่ำ ดวง อำทติ ย์ โลก และดวงจันทรเ์ รียงตัวอย่ใู นแนว เดยี วกนั แรงโน้มถว่ งของดวงอำทิตย์และดวงจันทร์ เสริมกนั ทำใหแ้ รงไทดัลบนโลกเพม่ิ ขนึ้ ส่งอิทธพิ ลให้ ระดับน้ำขึน้ สงู สดุ และระดบั น้ำลงต่ำสุดแตกต่ำงกัน มำกดังภำพ เรียกวำ่ \"นำ้ เกิด\" (Spring tides)

07 น้าขึน้ -นา้ ลง ภำพภำวะนำ้ ตำย น้าเกิดน้าตาย 117 ในวนั ขน้ึ 8 ค่ำ และวันแรม 8 ค่ำ ดวง อำทิตย์ โลก และดวงจนั ทร์อยู่ในแนวตงั้ ฉำกกัน แรง โนม้ ถว่ งของดวงอำทติ ยแ์ ละดวงจนั ทรไ์ ม่เสริมกนั ทำใหแ้ รงไทดลั บนโลกลดลง ส่งอทิ ธพิ ลให้ระดบั น้ำ ขึ้นสงู สดุ และระดับน้ำลงต่ำสุดไม่แตกตำ่ งกนั มำก ดงั ภำพ เรยี กวำ่ \"น้ำตำย\" (Neap tides)

08 ข้างขนึ้ -ข้างแรม 118

08 ข้างขน้ึ -ข้างแรม เปน็ ปรำกฏกำรณ์ทค่ี นบนโลกมองเห็นดวงจนั ทรม์ ี รูปรำ่ งเปลยี่ นแปลงไปในแต่ละคืน ซึง่ เกิดจำกกำรท่ดี วงจนั ทร์ โคจรรอบโลกและโลกโคจรรอบดวงอำทิตย์ ดวงจันทร์จะหัน ดำ้ นเดยี วเขำ้ หำดวงอำทิตย์ และสะท้อนแสงอำทติ ย์ และ สะท้อนแสงอำทติ ยม์ ำยงั โลก ทำให้คนบนโลกมองเหน็ แสง สะท้อนจำกดวงจนั ทรใ์ นแต่ละเวลำไมเ่ หมอื นกนั และเกดิ เป็น ปรำกฏกำรณข์ ำ้ งขน้ึ และขำ้ งแรม 119

08 ข้างขนึ้ -ข้างแรม 120

08 ข้างขนึ้ -ขา้ งแรม วันแรม 15 ค้่า (New Moon): เมอ่ื ดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลกกบั ดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์หันด้านเงามดื เขา้ หาโลก ตาแหน่งปรากฏของดวง จันทร์อยใู่ กลก้ ับดวงอาทติ ย์ แสงสวา่ งของดวงอาทติ ย์ ทาให้เราไมส่ ามารถ มองเห็นดวงจันทร์ได้เลย 121

08 ข้างขึ้น-ขา้ งแรม วันข้ึน 8 ค้า่ (First Quarter): เมอ่ื ดวงจนั ทรเ์ คลอ่ื นมำอยู่ใน ตำแหนง่ มมุ ฉำกระหว่ำงโลกกบั ดวงอำทิตย์ ทำใหเ้ รำมองเหน็ ด้ำนสว่ำงและ ด้ำนมืดของดวงจันทรม์ ีขนำดเท่ำกัน 122

08 ข้างขนึ้ -ข้างแรม วันขึ้น 15 ค่้า หรือ วนั เพ็ญ (Full Moon): ดวงจันทรโ์ คจรมำอยู่ ด้ำนตรงขำ้ มกับดวงอำทติ ย์ ดวงจนั ทร์หนั ดำ้ นที่ไดร้ บั แสงอำทิตย์เขำ้ หำโลก ทำใหเ้ รำมองเหน็ ดวงจันทร์เต็มดวง 123

08 ข้างขึ้น-ขา้ งแรม วันแรม 8 ค่้า (Third Quarter): ดวงจนั ทร์โคจรมำอยใู่ น ตำแหน่งมุมฉำกระหวำ่ งโลกกับดวงอำทติ ย์ ทำให้เรำมองเหน็ ด้ำนสว่ำงและ ด้ำนมืดของดวงจันทร์มขี นำดเท่ำกนั 124

08 ข้างขึ้น-ข้างแรม วธิ ีสงั เกตขา้ งขน้ึ ขา้ งแรม • วนั ขึ้น 15 ค้่า (Full Moon): ดวงจันทรอ์ ย่ทู ำงด้ำนตรงข้ำมกับดวงอำทิตย์ เรำจะมองเห็นดวงจนั ทรเ์ ต็มดวง ขึ้นทีข่ อบฟำ้ ดำ้ นทศิ ตะวนั ออกเวลำประมำณ 6 โมงเย็น •ขา้ งแรม (Waning Moon): เนอื่ งจำกดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก 1 รอบใชเ้ วลำ 29.5 วัน ทำให้เรำมองเห็นดวง จนั ทรข์ ึ้นชำ้ วันละ 50 นำที หรอื ประมำณ 12 องศำ เรำจึงมองเหน็ ดวงจันทรต์ อนเย็นกอ่ นดวงอำทิตยต์ ก และ เห็นหวั กระต่ำย เสี้ยวของดวงจันทร์บำงข้นึ จนกระทง่ั มดื หมดทั้งดวงในวนั แรม 15 คำ่ •วันแรม 15 ค้่า (New Moon): ดวงจันทรอ์ ย่รู ะหว่ำงดวงอำทติ ยก์ บั โลก เรำจงึ มองเห็นแต่เงำมืดของดวงจนั ทร์ ดวงจนั ทร์จะขึน้ และตกพรอ้ มๆ กบั ดวงอำทติ ย์ •ข้างขน้ึ (Waxing Moon): เรำจะมองเหน็ ดวงจันทร์ตอนรุง่ เช้ำก่อนดวงอำทติ ยข์ น้ึ และไม่เห็นหวั กระตำ่ ย เส้ยี ว ของดวงจนั ทร์จะหนำข้ึนจนกระทัง่ สวำ่ งเต็มดวงในวนั ข้นึ 15 ค่ำ 125

09 ตะวันออ้ มข้าว ตะวันอ้อมข้าว เปน็ ปรำกฏกำรณ์ธรรมชำติโดยลกั ษณะทดี่ วงอำทิตยจ์ ะปรำกฏข้ึน จำกขอบฟำ้ ทำงทศิ ตะวันออกเฉียงใต้ โคจรอ้อมลงส่ขู อบฟ้ำทำงทศิ ตะวันตกเฉยี งใต้ใน ฤดหู นำว ซ่งึ เป็นฤดเู ก็บเกีย่ วขำ้ ว 126

10 เกิดรงุ่ อรุณและสนธยา (Dawn and Twilight) 127

10 เกิดรงุ่ อรุณและสนธยา (Dawn and Twilight) เปน็ ปรำกฏกำรณท์ ่เี กดิ จำกโมเลกลุ หรือนภุ ำคตำ่ ง ๆ ในบรรยำกำศ เช่น ฝ่นุ ละออง ควำมช้ืน เกดิ กำรสะทอ้ นแสง ของดวงอำทติ ยก์ ลบั มำยงั พนื้ โลก ซึง่ จะเกดิ ก่อนดวงอำทติ ย์ ข้ึน และหลังดวงอำทิตยต์ กดิน เรำจะเห็นเป็นแสงสแี ดง เนอื่ งจำกแสงทีส่ อ่ งมำจำกดวงอำทิตย์อยใู่ นลักษณะเอียงลำด ไม่ไดต้ ้ังฉำกเหมือนตอนกลำงวนั แสงสีนำ้ เงินและสีเหลอื งมี กำรหกั เหของแสงมำก แตแ่ สงสีแดงมกี ำรหักเหน้อยทส่ี ดุ ทำ ใหเ้ รำมองเหน็ ท้องฟำ้ เปน็ สีแดงในช่วงเวลำดังกลำ่ ว 128

เร่อื งท่ี 2 ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ จากโลก โคจรรอบดวงอาทติ ย์ 129

ปรากฏการณ์ท่ีเกดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ เน่อื งจากแกนโลกเอยี งท้ามุม 23 1/2 องศา ท้าให้การเคล่ือนทข่ี องโลกโดยแกนของโลกจะชี้ไปยังจุดใดจุดหน่งึ บน ทอ้ งฟา้ เพยี งจุดเดียว แกนของโลกด้านหน่ึงจะเอนเขา้ หาดวงอาทิตย์ ส่วนแกนอกี ดา้ นหนง่ึ จะเอนออกหา่ ง จากดวงอาทิตย์เสมอ ผลจากการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์จะท้าใหเ้ กิด 130

ความผนั แปรของระยะเวลากลางคนื และกลางวนั ควำมผันแปรของควำมยำวนำนของกลำงคืนและกลำงวันเม่อื โลกโคจรรอบดวงอำทิตยใ์ นซกี โลกเหนอื ในฤดหู นำว ผลจำกกำรเอยี งของแกนโลกทำใหข้ ้ัวโลกเหนือไมไ่ ดร้ บั แสงด่ิงจำกดวงอำทิตย์ มี ผลทำให้ควำมยำวนำนของระยะเวลำกลำงคืนมำกขึน้ ดงั นน้ั ในชว่ งฤดูหนำวทำงข้วั โลกเหนือจะเป็น ชว่ งเวลำกลำงคืนถงึ 24 ชัว่ โมง ในทำงตรงกันขำ้ มชว่ งดูรอ้ น จำกกำรเอียงของแกนโลกขวั้ โลกเหนือจะ หันเข้ำหำดวงอำทติ ย์ ทำให้พ้ืนทบ่ี ริเวณดังกลำ่ วได้รบั แสงดงิ่ จำกดวงอำทติ ย์มำกข้นึ จะเปน็ เวลำ กลำงวันตลอด 24 ชว่ั โมง เปน็ ทรี่ ูจ้ กั กันทั่วไปวำ่ “ดินแดนแห่งพระอาทติ ย์เที่ยงคืน” สำหรบั ในซีก โลกใตส้ ำมำรถอธิบำยปรำกฏกำรณ์ดงั กล่ำวได้เช่นเดยี วกับซีกโลกเหนือในทำงกลับกัน 131

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ แกนของโลกเอยี ง 23.5° ขณะทีโ่ คจรรอบดวงอาทิตย์ 132

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ วนั ท่ี 20 - 21 มิถุนายน เป็นวัน ครีษมายัน (Summer Solstice) โลก หนั ซีกโลกเหนอื เขา้ หาดวงอาทติ ย์ ทาให้ เรามองเหน็ ดวงอาทิตย์อยคู่ อ่ นไปทางทศิ เหนือ (Dec +23.5°) ดวงอาทติ ย์ขนึ้ เรว็ ตกช้า เวลากลางวันยาวกวา่ กลางคืน ซีก โลกเหนอื เป็นฤดูรอ้ น 133

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ วันที่ 22 - 23 กนั ยายน เป็นวันศารท วษิ วุ ัต (Autumnal Equinox) ดวงอาทิตย์ ข้นึ ตรงทศิ ตะวนั ออกและตกตรงทศิ ตะวันตก พอดี กลางวนั และกลางคืนยาวเทา่ กัน ซกี โลก เหนือเป็นฤดใู บไม้รว่ ง เนื่องจากโลกไดร้ ับ พลังงานจากดวงอาทิตยล์ ดลงเมอื่ เทยี บกบั ฤดู ร้อน ต้นไมจ้ ึงผลัดใบท้งิ 134

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ วันที่ 20 - 21 ธันวาคม เป็นวันเหมายัน (Winter Solstice) โลกหนั ซกี โลกใตเ้ ข้าหาดวง อาทติ ย์ ทาให้เรามองเห็นดวงอาทิตยอ์ ยู่ค่อนไป ทางทศิ ใต้ (Dec -23.5°) ซกี โลกเหนอื เปน็ ฤดูหนาว ดวงอาทิตย์ขึ้นช้าตกเร็ว เวลากลางวันส้นั กวา่ กลางคนื โลกจึงได้รบั พลงั งานจากดวงอาทติ ยน์ อ้ ย ทส่ี ดุ ต้นไมใ้ นเขตละตจิ ดู สงู ทง้ิ ใบหมด เนอ่ื งจาก พลงั งานแสงแดดไมพ่ อสาหรับการสงั เคราะหแ์ สง 135

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ วันท่ี 20 - 21 มีนาคม วนั วสนั ตวษิ ุวัต (Vernal Equinox) ดวงอาทติ ย์ขึน้ ตรงทศิ ตะวันออกและตกตรงทิศตะวันตกพอดี กลางวันและกลางคนื ยาวเท่ากนั ซกี โลกเหนอื เปน็ ฤดใู บไม้ผลิ เนื่องจากโลกได้รับพลังงานจาก ดวงอาทติ ยม์ ากขน้ึ เมื่อเทียบกบั ฤดหู นาว ตน้ ไม้ ผลใิ บออกมาเพือ่ สงั เคราะห์แสงผลิตอาหาร 136

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ฤดูกาลของโลก แหล่งพลังงำนควำมร้อนทส่ี ำคัญทโ่ี ลกได้รบั คือ ดวงอาทิตย์ ซึง่ พลังงำนควำมร้อนที่ โลกไดร้ ับนี้ ก่อให้เกิดกระบวนกำรตำ่ ง ๆ ทำงบรรยำกำศของโลกมำกมำย รวมตลอดถงึ กำร เกิดฤดูกำลบนผิวพืน้ โลกดว้ ย ทัง้ น้ีเนื่องจำกแกนโลกเอียงจำกแนวดิ่ง 23 องศำ ตลอดเวลำที่ โลกโคจรรอบดวงอำทติ ย์น่นั คือ ขณะท่ีโลกเคลือ่ นทไ่ี ปกเ็ อียงไปดว้ ย โดยจะหนั ขวั้ โลกเหนือ และใต้เขำ้ หำดวงอำทติ ยส์ ลบั กัน ทำใหพ้ ลงั งำนควำมรอ้ น จำกดวงอำทิตยท์ ่ีตกลงบนผิวพ้นื โลกในรอบปี ในแตล่ ะพืน้ ท่ีไม่เท่ำเทยี มกนั ขวั้ โลกท่ีหนั เข้ำหำดวงอำทติ ยจ์ ะได้รบั พลังงำน ควำมรอ้ น จำกดวงอำทติ ยม์ ำกกว่ำ จะเป็นฤดรู อ้ น ส่วนขวั้ โลกที่หนั ออกจำกดวงอำทิตย์ จะไดร้ ับพลงั งำนควำมร้อนจำกดวงอำทิตย์นอ้ ยกว่ำ จะเป็นฤดหู นาว 137

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ฤดูกาลของโลก ถ้าโลกไม่เอียง บริเวณขัว้ โลกทั้ง 2 จะได้รับพลงั งำนควำมร้อนจำกดวงอำทติ ยน์ อ้ ยมำกตลอดปี ขณะท่ีท่ี เส้นศนู ยส์ ูตรจะได้รบั สูงมำกตลอดปี แตเ่ น่ืองจำกแกนโลกเอยี งดังกลำ่ วแล้ว ทำให้กำรกระจำยของพลงั งำนควำม ร้อนจำกดวงอำทิตยเ์ ปลยี่ นแปลงไปในรอบปี 138

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ฤดูกาลของโลก แนวโคจรของดวงอำทติ ย์บนท้องฟำ้ มีอิทธิพลตอ่ มุมของลำแสงทีต่ กกระทบบนพื้นผวิ โลก กลำ่ วคือ บรเิ วณใดที่มีลำแสงต้งั ฉำกตกกระทบ บรเิ วณนัน้ จะไดร้ บั พลังงำนควำมร้อน มำกกวำ่ บรเิ วณทมี่ ี ลำแสงเฉียงตกกระทบ ทั้งน้เี พรำะลำแสงเฉียงจะครอบคลุมพนื้ ที่ มำกกวำ่ ลำแสงต้ังฉำกทม่ี ีลำแสงขนำด เดยี วกนั จงึ ทำให้ควำมเขม้ ของพลังงำนควำมร้อน ในบริเวณทม่ี ลี ำแสงตัง้ ฉำกตกกระทบ จะมำกกวำ่ บริเวณทม่ี ลี ำแสงเฉียงตกกระทบ นอกจำกนล้ี ำแสงเฉยี ง จะผ่ำนช้ันบรรยำกำศท่หี นำกว่ำลำแสงดิ่ง ดงั นั้น ฝนุ่ ละออง ไอน้ำในอำกำศจะดูดกลนื ควำมร้อนบำงส่วนไว แ้ ละสะทอ้ นควำมร้อนบำงสว่ นออกไป ยงั บรรยำกำศภำยนอก จงึ ทำให้ควำมเข้มของพลงั งำนควำมรอ้ นท่ีตกกระทบผวิ พืน้ โลกของลำแสงเฉียง น้อยลง เพรำะฉะน้ันในฤดูหนำวอำกำศจงึ หนำวเยน็ เพรำะควำมเขม้ ของแสงอำทติ ยน์ ้อยกว่ำเม่ือ เปรียบเทียบกับในฤดูร้อน เพรำะได้รับแสงในแนวเฉียงตลอดเวลำ 139

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ฤดกู าลของโลก ล้าแสงของดวงอาทติ ย์ตกกระทบตั้งฉากกบั ผวิ พ้นื โลกได้ เฉพาะระหวา่ งเสน้ ละติจูด 23 องศา เหนอื ถงึ 23 องศา ใตเ้ ทา่ นน้ั ดงั นี้ ภาพแนววงโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ 140

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ฤดูกาลของโลก ลา้ แสงของดวงอาทติ ยต์ กกระทบตั้งฉากกบั ผิวพ้ืนโลกได้ เฉพาะระหว่างเสน้ ละติจดู 23 องศา เหนอื ถงึ 23 องศา ใตเ้ ท่านัน้ ดังนี้ วนั ที่ 21 - 22 มีนำคม ลำแสงของดวงอำทติ ยจ์ ะตัง้ ฉำกท่เี ส้นละติจูด 0 องศำ (เส้นศูนยส์ ตู ร) วนั ที่ 21 - 22 มิถนุ ำยน ลำแสงของดวงอำทติ ย์จะเลื่อนข้ึนไปต้งั ฉำกที่เสน้ ละตจิ ดู 23 องศำเหนอื วันท่ี 22 - 23 กนั ยำยน ลำแสงของดวงอำทิตย์จะเล่ือนลงมำตงั้ ฉำกทเ่ี สน้ ละติจดู 0 องศำ อกี คร้ังหนง่ึ วนั ท่ี 21 - 22 ธนั วำคม ลำแสงของดวงอำทติ ย์จะเล่อื นลงไปตัง้ ฉำกท่ีเสน้ ละตจิ ดู 23 องศำ ใต้ 141

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ฤดกู าลของประเทศไทย เน่อื งจำกประเทศไทยตงั้ อยู่ในเขตอทิ ธพิ ลของมรสมุ จงึ ทำใหป้ ระเทศไทยมีฤดูกำลที่เด่นชดั 2 ฤดู คอื ฤดฝู นกับฤดูแล้ง (Wet and Dry Seasons) สลับกัน และสำหรบั ฤดูแลง้ นัน้ ถำ้ พจิ ำรณำให้ ละเอียดลงไปสำมำรถแยกออกได้เปน็ 2 ฤดู คอื ฤดรู อ้ นกับฤดูหนำว ดงั น้นั ฤดกู ำลของประเทศไทย สำมำรถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ฤดู คือ  ฤดูร้อน  ฤดฝู น  ฤดูหนาว 142

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ฤดกู าลของประเทศไทย  ฤดรู อ้ น เร่ิมประมำณกลำงเดือนกุมภำพนั ธ์ถึงประมำณกลำงเดือน พฤษภำคม ซงึ่ เป็นช่วงท่ีเปลย่ี นจำกมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื เปน็ มรสุมตะวนั ตกเฉยี งใต้ (หรือทเ่ี ปลย่ี นจำกฤดูหนำวเข้ำส่ฤู ดูฝน) เป็น ระยะท่ขี วั้ โลกเหนอื หนั เขำ้ หำดวงอำทติ ย์ โดยเฉพำะในเดือนเมษำยน ประเทศไทยจะเปน็ ประเทศหนงึ่ ที่ตง้ั อยู่ในบรเิ วณทลี่ ำแสงของดวง อำทติ ย์ จะต้งั ฉำกกบั ผิวพน้ื โลกในเวลำเทย่ี งวนั ทำให้ไดร้ ับควำมร้อน จำกดวงอำทิตยอ์ ย่ำงเตม็ ที่ จงึ ทำใหส้ ภำวะอำกำศรอ้ นอบอำ้ วโดยทว่ั ไป 143

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ฤดกู าลของประเทศไทย  ฤดรู ้อน ในฤดนู แี้ มว้ ่ำประเทศไทยอำกำศจะรอ้ นและแห้งแล้ง แต่ในบำงครัง้ อำจมีมวลอำกำศเยน็ จำกประเทศจนี แผ่ลงมำถงึ ประเทศไทยตอนบนได้ ทำให้เกดิ กำรปะทะกันระหวำ่ งมวล อำกำศเย็น ท่ีแผล่ งมำกับมวลอำกำศรอ้ นที่ปกคลมุ อยูเ่ หนอื ประเทศไทย ซง่ึ ก่อใหเ้ กดิ พำยฝุ นฟ้ำคะนองและลมกระโชกแรง หรอื อำจมลี กู เห็บตกลงมำด้วย ก่อให้เกิดควำมเสยี หำยได้ พำยุ ฝนฟ้ำคะนองท่เี กดิ ขนึ้ ในฤดูนมี้ ักเรียกวำ่ \"พำยุฤดูรอ้ น\" 144

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ฤดูกาลของประเทศไทย  ฤดฝู น เริม่ ประมำณกลำงเดือนพฤษภำคมถงึ ประมำณ กลำงเดือนตุลำคม ฤดูน้ีจะเริ่มเม่ือมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ ซ่งึ เปน็ ลมชน้ื พดั ปกคลุมประเทศไทย ขณะท่ีร่องควำมกดอำกำศตำ่ (แนวรอ่ งที่ก่อให้เกิดฝน) พำดผ่ำนประเทศไทยทำใหม้ ฝี นชกุ ทว่ั ไป ร่องควำมกดอำกำศต่ำนป้ี กตจิ ะเริม่ พำดผ่ำนภำคใตใ้ น เดือนเมษำยน แล้วจงึ เล่อื นขึ้นไปพำดผำ่ นภำคกลำงและภำค ตะวันออก ภำคเหนือ และตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 145

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ 146 ฤดกู าลของประเทศไทย  ฤดฝู น ในเดือนพฤษภำคมและมถิ นุ ำยนตำมลำดับ ประมำณปลำย เดือนมิถนุ ำยนจะเล่อื นข้ึนไปพำดผำ่ นบรเิ วณประเทศจนี ตอนใต้ ทำ ให้ฝนในประเทศไทยลดลงระยะหนึ่งและเรียกวำ่ เปน็ \"ชว่ งฝนทิ้ง\" ซึ่งอำจนำนประมำณ 1-2 สปั ดำห์ หรือบำงปอี ำจเกิดขึ้นรนุ แรงและ มฝี นนอ้ ยนำนนับเดือนได้ ประมำณเดอื นสงิ หำคมถึงพฤศจิกำยน รอ่ งควำมกดอำกำศต่ำจ ะเลอื่ นกลับลงมำทำงใต้พำดผ่ำนบริเวณ ประเทศไทยอกี คร้ังหนึ่ง โดยจะพำดผำ่ นตำมลำดบั จำกภำคเหนือลง ไปภำคใต้ ทำใหช้ ว่ งเวลำดงั กล่ำวประเทศไทยจะมฝี นชกุ ตอ่ เนือ่ ง

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ฤดูกาลของประเทศไทย  ฤดูฝน โดยประเทศไทยตอนบนจะตกชุกช่วงเดือนสงิ หำคมถงึ กันยำยน และภำคใต้จะตกชกุ ช่วงเดอื นตลุ ำคมถึง พฤศจกิ ำยน ตลอดช่วงเวลำทร่ี อ่ งควำมกดอำกำศต่ำเลอื่ นขน้ึ ลงนี้ ประเทศไทยกจ็ ะไดร้ บั อทิ ธิพลของมรสมุ ตะวนั ตก เฉยี งใต้ ที่พัดปกคลมุ อยู่ตลอดเวลำ เพยี งแตบ่ ำงระยะอำจมีกำลงั แรง บำงระยะอำจมีกำลังออ่ น ข้นึ อย่กู ับตำแหนง่ ของแนวร่องควำมกดอำกำศต่ำ ประมำณกลำงเดือนตุลำคมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ซง่ึ เป็นลมหนำวจะเร่มิ พดั เข้ำ มำปกคลุม ประเทศไทยแทนท่ีมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ ซ่ึงเป็นสัญญำณวำ่ ได้เร่ิมฤดหู นำวของประเทศไทยตอนบน เวน้ แต่ทำงภำคใต้จะยังคงมีฝนตกชกุ ต่อไปจนถงึ เดือนธนั วำคม ทัง้ นเี้ นอ่ื งจำกมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ ท่พี ดั ลงมำจำก ประเทศจีนจะพัดผำ่ นทะเลจีนใต้ และอ่ำวไทยก่อนลงไปถึงภำคใต้ ซึ่งจะนำควำมชนื้ ลงไปดว้ ย เมอ่ื ถึงภำคใต้ โดยเฉพำะภำคใต้ฝั่งตะวนั ออกจงึ ก่อใหเ้ กดิ ฝนตกชุกดังกลำ่ วขำ้ งต้น 147

ฤดกู าลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทติ ย์ ฤดกู าลของประเทศไทย  ฤดหู นาว เรมิ่ ประมำณกลำงเดอื นตลุ ำคมถงึ ประมำณกลำงเดือน กมุ ภำพนั ธ์ เมื่อมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือเร่มิ พดั ปกคลมุ ประเทศไทยประมำณกลำงเดือนตุลำคม ซ่งึ จะนำควำมหนำวเยน็ มำ สู่ประเทศไทย เปน็ ระยะท่ขี ว้ั โลกใตห้ นั เขำ้ หำดวงอำทิตย์ ตำแหน่ง ลำแสงของดวงอำทิตย์ทำมมุ ฉำกกับผิวพื้นโลกขณะเทยี่ งวนั จะอยู่ ทำงซกี โลกใต้ ทำใหล้ ำแสงท่ีตกกระทบกับพ้นื ที่ในประเทศไทยเป็น ลำแสงเฉยี งตลอดเวลำ 148

ฤดูกาลและการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ฤดูกาลของประเทศไทย ตา้ แหน่งร่องความกดอากาศต้่า ทิศทางมรสุมและทางเดนิ พายุหมุนเขตรอ้ นที่เคลือ่ นผา่ นประเทศไทย 149

ตะวันอ้อมเหนอื -ตะวนั ออ้ มใต้ 150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook