Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sunmoon

sunmoon

Published by poolsombutnuch, 2019-10-25 03:12:06

Description: sunmoon

Search

Read the Text Version

ปฏิสมั พนั ธใ์ นระบบสุรยิ ะ 1

ระบบวงโคจรของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ (Sun - Earth - Moon connection) ทำใหเ้ กดิ ปรำกฏกำรณ์ทำงดำรำศำสตร์ ในรอบวนั รอบเดือน หรอื รอบปี สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ปรำกฏกำรณท์ ำงแสง ได้แก่ กลำงวันกลำงคนื , ฤดูกำล, ข้ำงขึน้ ข้ำงแรม, สรุ ิยปุ รำคำ, จันทรุปรำคำ สว่ นปรำกฏกำรณ์ทเ่ี กิดข้นึ จำกแรงโน้ม ถว่ ง ได้แก่ น้ำขึน้ นำ้ ลง 2

สาระการเรยี นรู้ กลางวนั กลางคืน ฤดกู าล ข้างขึน้ ข้างแรม น้าขน้ึ นา้ ลง สุริยุปราคา จันทรุปราคา 3

กลางวนั กลางคนื 4

กลางวนั กลางคืน โลกหมุนรอบตัวเองจำกทศิ ตะวันตกไปยงั ทิศตะวนั ออก ทำให้เกิดกลำงวันและกลำงคืน ดำ้ นท่หี นั รับแสงอำทติ ย์เป็นกลำงวนั ดำ้ นตรงข้ำมท่ไี มไ่ ดร้ บั แสงอำทิตย์เปน็ กลำงคนื 5

ฤดูกาล 6

ฤดกู าล ฤดูกาล (Seasons) เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทติ ยโ์ ดยท่แี กนของ โลกเอยี ง 23.5° ในฤดรู ้อนโลกเอยี งขั้วเหนือเขา้ หาดวงอาทิตย์ ทาใหซ้ ีกโลก เหนือกลายเปน็ ฤดูร้อน และซีกโลกใตก้ ลายเปน็ ฤดหู นาว หกเดือนต่อมาโลกโคจรไปอยู่อีกด้านหน่งึ ของวงโคจร โลกเอียงขัว้ ใตเ้ ขา้ หาดวงอาทิตย์ (แกนของโลกเอียง 23.5° คงที่ตลอดปี) ทาให้ซกี โลกใต้ กลายเปน็ ฤดูรอ้ น และซีกโลกเหนือกลายเป็นฤดูหนาว 7

ข้างขนึ้ ข้างแรม 8

ข้างข้ึนข้างแรม ขา้ งขน้ึ ข้างแรม (The Moon’s Phases) เกิดข้นึ เนื่องจากดวงจนั ทร์มรี ูปรา่ งเป็นทรงกลม ไมม่ ีแสง ในตัวเอง ด้านสว่างได้รบั แสงจากดวงอาทิตย์ แตด่ า้ น ตรงข้ามกบั ดวงอาทติ ย์ถูกบงั ด้วยเงาของตวั เอง ดวง จนั ทร์โคจรรอบโลก ทาให้มมุ ระหว่างดวงอาทติ ย์-ดวง จันทร์-โลก เปลยี่ น เปลี่ยนแปลงไปวันละ 12 องศา เมอ่ื มองดดู วงจันทรจ์ ากโลก เราจงึ มองเห็นเส้ยี ว ของดวงจนั ทรม์ ขี นาดเปลี่ยนไปเป็นวงรอบดังภาพใช้ ประมาณ 30 วัน 9

นา้ ขน้ึ น้าลง 10

น้าขน้ึ น้าลง เม่ือดาวดวงหนึง่ ไดร้ บั อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงจาก ดาวอีกดวงหน่ึง ด้านที่อยใู่ กล้จะได้ถกู ดึงดดู มากกวา่ ด้านท่ี อยู่ไกล ความแตกต่างของแรงท้งั ด้านจะทาใหเ้ กดิ ความเครยี ดภายใน ถา้ เนอ้ื ของดาวไมแ่ ขง็ แรงพอกอ็ าจจะ ทาใหด้ าวแตกได้ ถา้ เนื้อของดาวมคี วามหย่นุ กจ็ ะทาให้ ดาวยดื ออกเป็นทรงรี เราเรียกแรงภายในทแี่ ตกต่างน้วี า่ \"แรงไทดลั \" (Tidal force) 11

สุริยปุ ราคา 12

สรุ ยิ ุปราคา สรุ ยิ ปุ ราคา หรอื สุริยคราส เปน็ ปรากฏการณท์ ี่เกิดข้ึนจากดวงจนั ทร์โคจรผ่าน หน้าดวงอาทติ ย์ เราจึงมองเห็นดวงอาทิตย์คอ่ ย ๆ แหวง่ มากขึ้นจนกระทัง่ มดื มดิ หมดดวง และโผล่กลบั มาอีกครั้ง คนในสมัยโบราณเรียกปรากฏการณ์นว้ี ่า “ราหูอมดวงอาทติ ย์” สรุ ิยุปราคาเกิดขึน้ เฉพาะในวันแรม 15 คา่ แต่ไมเ่ กิดขนึ้ ทกุ เดอื น เนอ่ื งจากระนาบที่โลก โคจรรอบดวงอาทติ ยแ์ ละดวงจันทร์โคจรรอบโลกไมใ่ ช่ระนาบเดยี วกัน หากตดั กนั เป็นมมุ 5 องศา 13

สรุ ยิ ปุ ราคา ดงั น้นั โอกาสที่จะเกิดสรุ ิยุปราคาบนพ้ืนผิวโลก จงึ มเี พียงประมาณปลี ะ 1 ครง้ั และเกดิ ไมซ่ า้ ท่กี นั เนอ่ื งจากเงาของดวงจนั ทร์ทีท่ าบไปบนพน้ื ผวิ โลกครอบคลุมพ้ืนที่ ขนาดเล็ก และโลกหมนุ รอบตัวเองอยา่ งรวดเร็ว 14

จนั ทรปุ ราคา 15

จันทรุปราคา จนั ทรุปราคา หรอื จันทรคราส เกดิ ข้นึ จากดวงจันทร์โคจรผา่ นเข้าไปในเงาของโลก เราจงึ มองเห็นดวงจนั ทรแ์ หวง่ หายไปในเงามืดแล้วโผลก่ ลบั ออกมาอีกคร้งั คนไทยสมยั โบราณเรยี กปรากฎการณน์ ว้ี า่ \"ราหูอมจันทร\"์ 16

จนั ทรุปราคา จนั ทรุปราคาจะเกิดขึ้นเฉพาะในคืนวันเพ็ญ 15 ค่า หรอื คนื วันพระจันทรเ์ ตม็ ดวง อยา่ งไรกต็ ามปรากฏการณจ์ นั ทรปุ ราคาไม่เกดิ ขึ้นทกุ เดอื น เนอ่ื งจากระนาบทโี่ ลกโคจรรอบดวง อาทิตยแ์ ละระนาบทด่ี วงจันทรโ์ คจรรอบโลกไมใ่ ชร่ ะนาบเดยี วกนั หากตดั กันเปน็ มมุ 5 องศา ดงั นน้ั จึงมโี อกาสทีจ่ ะเกิดจนั ทรปุ ราคาเพียงปลี ะ 1-2 คร้งั 17

เรือ่ งท่ี 1 ปรากฏการณ์ท่เี กดิ จาก โลกหมุนรอบตวั เอง 18

ปรากฏการณ์ทเี่ กดิ จากโลกหมนุ รอบตวั เอง 19

การหมุนและการเคลอ่ื นท่ขี องโลก โลกเป็นดำวเครำะห์ดวงหนึง่ ในระบบสุรยิ ะ มดี วงจนั ทร์เป็นบริวำร 1 ดวง โลกและดวงจันทร์เปน็ บรวิ ำรของดวงอำทติ ย์ โลกจะหมนุ รอบตัวเอง และเคล่ือนท่หี รือ โคจรรอบดวงอำทิตย์ ก การหมนุ รอบตวั เองของโลก ขณะท่ีโลกหมุนรอบตวั เอง 1 รอบ โลก จะเคลื่อนที่รอบดวงอำทติ ยไ์ ปดว้ ย ทำใหโ้ ลกซกี หนึง่ ท่ไี ด้รับแสงอำทิตย์เกดิ เวลำกลำงวัน ซ่ึงกนิ เวลำ 12 ช่ัวโมง ส่วนโลกอีกซีกหนงึ่ ที่ไมไ่ ด้รบั แสงอำทติ ย์จะมืดเกิดเวลำกลำงคนื ซึง่ กนิ เวลำ 12 ชว่ั โมง ดงั นัน้ กำรหมุนรอบตวั เองของโลก 1 รอบ กนิ เวลำ 24 ชั่วโมง หรือ 1 วัน ทำใหเ้ กิดกลำงวนั และกลำงคนื 20

การหมนุ และการเคล่ือนที่ของโลก ข การโคจรรอบดวงอาทิตย์ของโลก โลกจะเคลื่อนทีร่ อบดวงอำทิตย์ ตลอดเวลำขณะเดยี วกันโลกก็หมนุ รอบตัวเอง โดยหมนุ จำกตะวนั ออกไป ตะวันตก โดยทแ่ี กนของโลกเอียงทำมุม 23 1/2 องศำตลอดเวลำ กำรโคจร รอบดวงอำทติ ยข์ องโลกทำใหบ้ รเิ วณต่ำง ๆ ไดร้ ับแสงสว่ำงและควำมร้อนไม่ เทำ่ กนั ทำใหเ้ กิดฤดกู ำลสบั กนั ไปในเวลำ 1 ปี หรือ 365 วัน เมื่อรอบโลก โคจรรอบดวงอำทติ ยค์ รบ 1 รอบ 21

โลกหมนุ รอบตัวเอง ทา้ ให้เกิดปรากฏการณ์ ดังน้ี 22

01 การข้นึ ตกของดวงอาทติ ย์ การขึ้น-ตกของดวงอาทิตย์ ขึน้ ทางทิศตะวนั ออกในตอนเชา้ และตกทางทศิ ตะวันตก 23

01 การข้ึนตกของดวงอาทติ ย์ การข้ึน - ตกของดวงอาทติ ย์ เกิดจำกกำรหมนุ รอบ ตวั เองของโลกตำมแกนเหนือ - ใต้ โดยหมนุ จำกทิศ ตะวนั ตกไปยังทิศตะวนั ออก จึงทำให้เห็นดวงอำทติ ย์ ทำงทิศตะวันออกในตอนเช้ำ และเคลอื่ นที่จนลับขอบฟำ้ ทำงทิศตะวันตก และ มีนอ้ ยวันในรอบปีทดี่ วงอำทติ ยข์ นึ้ และตกตรงกับทศิ ตะวันออกและตะวันตกพอดี โดยมำก ดวงอำทติ ย์จะข้นึ และตกเบย่ี งออกไปไม่ทำงเหนือก็ทำง ใตเ้ ล็กน้อย 24

01 การขน้ึ ตกของดวงอาทติ ย์ ดวงอาทิตย์ขึ้นและตก ไมไ่ ดซ้ ้ารอยเดิมทุกวนั โดยบำงวันกข็ ึ้นทำงทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื และตกทำงทิศตะวันตกเฉียงเหนือ บำงวนั ขนึ้ ทำงทิศตะวันออกเฉยี งใต้ และตกทำงทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ 25

01 การขึ้นตกของดวงอาทติ ย์ ในรอบ 1 ปี มีเพยี ง 2 วันเทำ่ นั้นท่ีข้ึนทำงทิศตะวนั ออกพอดี และตกทำงทศิ ตะวันตกพอดีคอื วนั ท่ี 21 มีนำคมและวนั ที่ 23 กันยำยน โดย 2 วันน้ี กลำงวนั กลำงคืนมีเวลำเท่ำกัน วนั ที่ดวง อำทิตย์ข้ึนทำงทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื มำก ทส่ี ุดคือวนั ที่ 22 มิถุนำยน ในวันนี้เวลำกลำงวันจะมำกกว่ำกลำงคืน ส่วนในวันที่ 22 ธนั วำคม ดวงอำทติ ยจ์ ะขน้ึ ทำงทิศตะวันออกเฉียงใตม้ ำกท่สี ดุ และตกทำงทศิ ตะวันตกเฉียงใต้มำกทส่ี ดุ ช่วงเวลำกลำงคนื จะ มำกกว่ำกลำงวัน ท่เี รำมองเหน็ ดวงอำทิตย์ขึ้นและตกในลักษณะท่ี กลำ่ วมำแล้วน้นั เปน็ เพรำะโลกตัง้ แกนเอียง 26

01 การข้ึนตกของดวงอาทิตย์ การขึ้นและตกของดวงอาทติ ย์จะมจี ุดสา้ คญั 2 จุด ทจี่ ะใชเ้ ปน็ หลักในการดดู าวและคน้ หาดวงอาทติ ย์บนทอ้ งฟ้า ไดแ้ ก่ จุดทีด่ วงอาทติ ยข์ น้ึ จดุ ท่ดี วงอาทติ ยข์ ้นึ ไปอยู่สงู สุดบนฟ้า 27

01 การขึ้นตกของดวงอาทิตย์ 28

01 การข้นึ ตกของดวงอาทติ ย์ จดุ ที่ดวงอาทิตยข์ ึ้น จดุ ท่ดี วงอาทติ ย์ขน้ึ ทำงท้องฟ้ำทิศตะวันออก พอดี หรือทำงทิศตะวันออกเฉียงไปทำงใต้ หรอื ทำงทศิ ตะวันออกเฉยี งไปทำงเหนือ 29

01 การข้นึ ตกของดวงอาทิตย์ จุดทดี่ วงอาทิตย์ขึ้นไปอยูส่ งู สดุ บนฟา้ จดุ ทดี่ วงอาทติ ยข์ ึน้ ไปอยูส่ งู สุดบนฟา้ ซึ่งไมจ่ ำเป็นตอ้ งอยตู่ รงศรี ษะพอดี แต่จะ อย่ใู นแนวทศิ เหนือหรือทิศใตท้ ี่เรียกว่ำ เมรเิ ดียนหรือเส้นเมริเดียน 30

01 การขึ้นตกของดวงอาทิตย์ 31

01 การขึ้นตกของดวงอาทิตย์ 32

01 การขน้ึ ตกของดวงอาทติ ย์ วันท่ี 21 มนี าคม ของทุกปี ดวงอำทิตย์มดี ิคลเิ นช่นั เป็นศูนย์ ดวงอำทติ ย์อยู่ ทจี่ ุดเวอร์นลั อิควนิ อกซด์ วงอำทิตย์จะข้ึนท่ีจดุ ทศิ ตะวันออกและตกท่ีจุดทศิ ตะวนั ตก พอดี วันนด้ี วงอำทติ ย์จะปรำกฏอยบู่ นเสน้ ศูนยส์ ตู รฟ้ำ หลงั จากวนั ท่ี 21-22 มีนาคม เป็นตน้ ไปดวงอำทติ ย์จะเคลื่อนท่ใี นแนว เหนือเส้นศนู ย์สูตรฟ้ำ คำ่ ดิคลิเนชนั่ เป็น บวกองศำเหนอื ดวงอำทิตยจ์ ะขน้ึ ทำง ทิศตะวันออกเฉยี งเหนอื และตกทำงทิศตะวันตกเฉียงเหนอื มำกขนึ้ ตำมลำดบั 33

01 การขน้ึ ตกของดวงอาทติ ย์ จนถึงวันที่ 22 มถิ นุ ายน ดวงอำทติ ย์มีค่ำดคิ ลิเนช่นั ทำงเหนอื มำกท่สี ดุ คือ 23.5 องศำเหนอื คอื ดวงอำทิตยอ์ ยู่ทต่ี ำแหน่งซมั เมอร์โซลสตีซ ดวงอำทติ ยจ์ ะข้ึนทำงทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ และตกทำงทิศตะวันตกเฉียงเหนือมำกท่ีสดุ หลงั จำกน้นั ดวงอำทติ ย์จะเคลือ่ นทย่ี อ้ นกลับ คำ่ ดิคลเิ นชนั่ ยังคงเป็นบวก แตค่ ่ำ ลดลงเร่อื ยๆ โดยดวงอำทิตย์จะขึ้นทำงทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนอื และตกทำงทิศตะวันตก เฉยี งเหนอื นอ้ ยลงตำมลำดบั 34

01 การขน้ึ ตกของดวงอาทิตย์ จนถึงวนั ท่ี 23 กนั ยายน ดวงอำทิตย์มดี คิ ลเิ นชั่นเป็นศนู ย์อกี ครัง้ ดวงอำทิตย์ อยู่ทจ่ี ดุ เอำตัมนัลอิควินอกซ์ ดวงอำทิตยจ์ ะขึน้ ท่ีจุดทศิ ตะวนั ออกและตกท่ีจดุ ทศิ ตะวันตกพอดี วันน้ีดวงอำทติ ยจ์ ะปรำกฏอยบู่ นเส้นศูนย์สตู รฟำ้ อกี คร้งั ในรอบปี หลังจากวนั ที่ 23-24 กนั ยายน เปน็ ตน้ ไป ดวงอำทิตยจ์ ะเคลือ่ นท่ี ในแนวใต้เส้นศนู ย์สตู รฟ้ำ คำ่ ดิคลเิ นชัน่ เปน็ ลบองศำใต้ ดวงอำทติ ยจ์ ะข้นึ ทำง ทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ และตกทำงทศิ ตะวันตกเฉียงใต้มำกขนึ้ ตำมลำดับ 35

01 การข้นึ ตกของดวงอาทิตย์ จนถึงวันท่ี 22 ธันวาคม ดวงอำทติ ย์มีค่ำดคิ ลเิ นช่ันทำงใตม้ ำกทสี่ ดุ คอื 23.5 องศำใต้ คอื ดวงอำทิตย์อยู่ที่ตำแหน่งซมั เมอรโ์ ซลสตซี ดวงอำทติ ย์จะขึน้ ทำงทิศ ตะวันออกเฉยี งใต้ และตกทำงทิศตะวนั ตกเฉยี งใต้มำกที่สดุ หลงั จากวันที่ 23-24 ธนั วาคม เปน็ ต้นไป ดวงอำทติ ย์จะเคลอื่ นท่ี ยอ้ นกลับ คำ่ ดิคลเิ นชั่นยังคงเปน็ ลบ แตค่ ำ่ ลดลงเรอื่ ยๆ โดยดวงอำทิตยจ์ ะขึ้น ทำงทิศตะวนั ออกเฉียงใต้ และตกทำงทิศตะวนั ตกเฉยี งใตน้ อ้ ยลง จนถึง วันท่ี 21 มนี ำคม กลบั มำเร่มิ ใหม่ครบรอบปี 36

02 กลางวัน - กลางคืน กลางวนั กลางคืน เกดิ ขน้ึ จำกกำรหมุนรอบตัวเองของโลกจำกทิศตะวนั ตกไปยัง ทศิ ตะวนั ออก ด้ำนทห่ี นั รับแสงอำทิตยเ์ ปน็ “กลางวัน” และดำ้ นตรงข้ำมท่ีไมไ่ ดร้ ับ แสงอำทติ ย์เปน็ “กลางคืน” 37

02 กลางวนั - กลางคนื เส้นลองจจิ ูด (Longitude) หรือเสน้ แวง คือ เส้นสมมตบิ นพืน้ โลกตำมแนวทิศ เหนือ-ใต้ เรำแบง่ พิกดั ลองจิจูดออกเปน็ 360 เสน้ หำ่ งกนั เสน้ ละ 1 องศำ ลองจจิ ดู เส้นแรกหรือไพรม์เมอรเิ ดยี น (Prime Meridian) อยูท่ ี่ลองจจิ ดู 0° ลำกผ่ำนตำบล “กรนี ชิ ” (Greenwich) ในกรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ จำกไพรม์เมอรเิ ดียนนบั ไปทำงทิศตะวันออกและทศิ ตะวนั ตก ข้ำงละ 180° ได้แก่ ลองจจิ ดู 1°-180° ตะวันออก และ ลองจจิ ูด 1°-180° ตะวนั ตก รวมทัง้ สน้ิ 360° 38

02 กลางวัน - กลางคนื เมื่อนา 360° หารด้วย 24 ชั่วโมง จะคานวณได้วา่ ลองจิจูดห่างกนั 15° เวลา ตา่ งกัน 1 ชว่ั โมง ดงั นนั้ เวลามาตรฐานของประเทศไทยซง่ึ ถือเอาเวลาทีล่ องจิจูด 105° ตะวันออก (จังหวดั อบุ ลราชธานี) จึงเรว็ กวา่ “เวลาสากล” (Universal Time เขียนย่อว่า UT) ซ่ึงเปน็ เวลาทีก่ รีนิช 7 ชัว่ โมง (105°/15° = 7) เวลามาตรฐานประเทศไทยจึงมีคา่ UT+7 39

02 กลางวัน - กลางคืน เสน้ ลองจจิ ดู 180° ตะวนั ออก และเส้นลองจิจูด 180° ตะวนั ตก เป็นเส้น เดยี วกันเรียกวำ่ “เส้นแบ่งวันสำกล” หรือ “International Date Line” (เส้นหนำทำง ขวำมอื ของภำพที่ 2) หำกเรำเดนิ ทำงข้ำมเสน้ แบ่งวันจำกทศิ ตะวนั ออกมำยงั ทิศตะวนั ตก วนั จะเพ่มิ ข้นึ หน่งึ วัน แตถ่ ้ำเรำเดนิ ทำงขำ้ มเส้นแบง่ วนั จำกทศิ ตะวนั ตกมำยังทิศตะวันออก วันจะลดลงหนงึ่ วัน 40

02 กลางวนั - กลางคนื แผนทีแ่ สดงโซนเวลาของโลก (Time Zone) 41

02 กลางวนั - กลางคนื ตวั อยา่ งที่ 1 ถาม: ในวันท่ี 24 มกราคมเวลา 18:30 UT. เวลามาตรฐานของประเทศ ไทยจะเปน็ เวลาอะไร เวลามาตรฐานประเทศไทย = 18:30 + 7:00 = 25:30 ตอบ : เวลามาตรฐานของประเทศไทยจะเปน็ วันที่ 25 มกราคม เวลา 01:30 นาฬิกา 42

02 กลางวนั - กลางคนื ตัวอย่างท่ี 2 ถาม: วันที่ 2 มกราคม เวลา 08:00 น. ของประเทศไทย (UT+7) คิด เปน็ เวลาสากล (UT = 0) ไดเ้ ท่าไร เวลาประเทศไทยเร็วกวา่ เวลาสากล = 7-0 = 7 ชั่วโมง ตอบ : เวลาสากลจะเป็นวนั ที่ 2 มกราคม เวลา 01:00 UT (08:00 – 07:00) 43

02 กลางวัน - กลางคนื ตวั อย่างที่ 3 ถาม: วันท่ี 2 มกราคม เวลา 08:00 น. ของไทย (UT+7) ตรงกบั เวลา อะไรของประเทศญี่ปนุ่ (UT+9) เวลาประเทศญปี่ ุ่นเร็วกว่าเวลาประเทศไทย = 9-7 = 2 ช่วั โมง ตอบ : เวลาสากลจะเปน็ วนั ท่ี 2 มกราคม เวลา 01:00 UT (08:00 – 07:00) 44

02 กลางวัน - กลางคนื ตัวอยา่ งที่ 4 ถาม: วันที่ 2 มกราคม เวลา 08:00 น. ของไทย (UT+7) ตรงกบั เวลา อะไรท่ีกรงุ วอชงิ ตนั ดซี ี (UT-5) = (+7) - (-5) = 12 ชั่วโมง) ตอบ : เวลาท่กี รุงวอชงิ ตันดีซี จะเปน็ วนั ท่ี 1 มกราคม เวลา 20:00 น. เวลาประเทศไทยเรว็ กว่าเวลาท่ีกรงุ วอชิงตันดีซี 12 ชั่วโมง 45

โลกหมุนรอบตัวเองหนง่ึ รอบไดม้ ุม 360 องศา ใชเ้ วลา 23 ชวั่ โมง 56 นาที เรียกวา่ วนั ทางดาราคติ (Sidereal day) โดยถอื ระยะเวลาทีด่ าว ฤกษ์ดวงเดมิ เคลื่อนทีผ่ ่านเสน้ Prime meridian (RA=0 ช่วั โมง) สองคร้ัง เปน็ สง่ิ อ้างอิง 46

ปฏทิ นิ สากลเปน็ ปฏทิ ินทางสุริยคติ (Solar calendar) 1 ปี มี 365 วัน โดยแบ่งออกเป็น 12 เดอื น ๆ ละ 30 หรือ 31 วัน และเดอื นกุมภาพันธ์มี 28 วัน แต่ในทกุ ๆ 4 ปี จะมปี อี ธิกสรุ ทิน ซ่ึงเดอื นกมุ ภาพนั ธ์จะมี 29 วัน เพ่อื เพิม่ ชดเชยเวลาท่ี โลกโคจรรอบดวงอาทิตยใ์ ชเ้ วลารอบละ 365.25 วนั (Sidereal year) 47

เวลามาตรฐานทเี่ ราใช้ในนาฬกิ าบอกเวลาเปน็ เวลาสุริยคติ (Solar day) ซงึ่ ถือระยะเวลาที่ดวงอาทติ ย์เคล่ือนท่ีผา่ นเส้นเมอริเดยี นสองครั้ง เป็นส่งิ อา้ งองิ หนงึ่ วนั จงึ เทา่ กบั 24 ชั่วโมงพอดี จะเหน็ ไดว้ า่ หนึ่งวนั สุริ ยคตมิ รี ะยะเวลานานกว่าหนง่ึ วันดาราคติ 4 นาที เน่อื งจากโลกโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ จงึ ทา้ ใหต้ า้ แหน่งของดาวบนท้องฟา้ ในแต่ละวันเปล่ยี นไปวนั ละ 1 องศา 48

ปฏทิ ินสากลเปน็ ปฏิทินทางสุริยคติ (Solar calendar) 1 ปี มี 365 วัน โดยแบ่งออกเป็น 12 เดือน ๆ ละ 30 หรือ 31 วัน และเดือน กมุ ภาพนั ธม์ ี 28 วนั แต่ในทกุ ๆ 4 ปี จะมปี ีอธิกสุรทิน ซ่ึงเดอื นกมุ ภาพนั ธ์จะมี 29 วนั เพ่ือเพมิ่ ชดเชยเวลา ทีโ่ ลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ใช้เวลารอบละ 365.25 วัน (Sidereal year) 49

03 การกา้ หนดทศิ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook