Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sunmoon

sunmoon

Published by poolsombutnuch, 2019-10-25 03:12:06

Description: sunmoon

Search

Read the Text Version

น้าขึน้ น้าลง ภำพภำวะนำ้ ตำย ในวันขึ้น 8 คำ่ และวนั แรม 8 ค่ำ ดวง 201 อำทติ ย์ โลก และดวงจนั ทรอ์ ย่ใู นแนวตงั้ ฉำกกนั แรง โนม้ ถว่ งของดวงอำทิตย์และดวงจันทร์ไม่เสรมิ กัน ทำให้แรงไทดลั บนโลกลดลง ส่งอทิ ธพิ ลใหร้ ะดับน้ำ ขึ้นสูงสดุ และระดบั นำ้ ลงตำ่ สดุ ไมแ่ ตกตำ่ งกนั มำก ดงั ภำพ เรยี กวำ่ \"น้ำตำย\" (Neap tides)

สุรยิ ปุ ราคา 202

สุริยปุ ราคา ดวงอาทิตย์ มขี นำดเส้นผำ่ นศูนย์กลำงยำวกวำ่ ดวงจนั ทร์ 400 เท่ำ แตอ่ ยหู่ ่ำง จำกโลกมำกกว่ำดวงจนั ทร์ 400 เทำ่ เรำจึงมองเหน็ ดวงอำทิตย์และดวงจันทรม์ ีขนำด ปรำกฎเทำ่ กนั พอดี สรุ ยิ ปุ รำคำ หรือ สรุ ยิ ครำส เป็นปรำกฏกำรณท์ ่เี กดิ ขึ้นจำกดวง จนั ทร์โคจรผำ่ นหน้ำดวงอำทิตย์ เรำจึงมองเห็นดวงอำทิตยค์ ่อยๆ แหวง่ มำกข้นึ จนกระทง่ั มืดมดิ หมดดวงและโผล่กลบั มำอกี คร้งั คนในสมยั โบรำณเรียกปรำกฏกำรณน์ ีว้ ำ่ “ราหอู มดวงอาทิตย”์ 203

สรุ ิยปุ ราคา สรุ ิยุปราคา เกดิ ขึน้ เฉพำะในวนั แรม 15 ค่ำ แตไ่ ม่เกดิ ขน้ึ ทุกเดอื น เนอ่ื งจำก ระนำบท่ีโลกโคจรรอบดวงอำทติ ย์และดวงจันทรโ์ คจรรอบโลกไมใ่ ช่ระนำบเดียวกนั หำก ตัดกนั เปน็ มมุ 5 องศำ ดงั นัน้ โอกำสที่จะเกิดสุริยปุ รำคำบนพื้นผวิ โลก จงึ มีเพยี งประมำณปีละ 1 ครงั้ และเกิดไม่ซ้ำที่กนั เนอ่ื งจำกเงำของดวงจันทร์ที่ทำบไปบนพื้นผิวโลกครอบคลุมพน้ื ที่ ขนำดเล็ก และโลกหมุนรอบตัวเองอย่ำงรวดเร็ว 204

สุรยิ ปุ ราคา ภำพระนำบวงโคจรของดวงจันทร์ตัดกับระนำบวงโคจรของโลกเปน็ มมุ 5° 205

สุริยปุ ราคา เงาของดวงจนั ทร์ ดวงจันทรบ์ ังแสงจากดวงอาทติ ย์ ทา้ ให้เกิดเงา 2 ชนิด คอื เงามดื และเงามวั •เงามืด (Umbra) เป็นเงำท่มี ืดทสี่ ดุ เน่ืองจำกโลกบังดวงอำทิตย์จนหมดสน้ิ หำกเรำเข้ำไป อยูใ่ นเขตเงำมดื จะไมส่ ำมำรถมองเห็นดวงอำทิตยไ์ ดเ้ ลย •เงามัว (Penumbra) เป็นเงำที่ไม่มดื สนทิ เนื่องจำกโลกบังดวงอำทิตย์เพยี งดำ้ นเดยี ว หำก เรำเข้ำไปเขตเงำมัวจะมองเห็นบำงสว่ นของดวงอำทิตยโ์ ผล่พ้นสว่ นโค้งของโลก เงำทีเ่ กิดข้ึนจงึ ไม่มดื นัก 206

สรุ ิยุปราคา ภำพกำรเกิดสรุ ยิ ปุ รำคำ 207

สุริยุปราคา ประเภทของสุรยิ ปุ ราคา เน่อื งจำกวงโคจรของดวงจนั ทรร์ อบโลกเปน็ รูปวงรี ระนำบวงโคจรของดวงจนั ทรแ์ ละ ระนำบวงโคจรของโลกไม่ซอ้ นทับกนั พอดี จึงทำใหเ้ กิดสุรยิ ปุ รำคำได้ 3 แบบ ดงั น้ี สุรยิ ุปราคาเตม็ ดวง (Total Solar Eclipse)  สุรยิ ปุ ราคาบางสว่ น (Partial Solar Eclipse)  สรุ ยิ ุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse) 208

สุรยิ ปุ ราคา สรุ ิยปุ ราคาเต็มดวง (Total Solar Eclipse) เกิดขึน้ เมอ่ื ผู้สงั เกตกำรณอ์ ยู่ในเงำมืด บนพื้นผิวโลก (A) จะมองเห็นดวงจันทร์ บัง ดวงอำทติ ยไ์ ดม้ ดิ ดวง 209

สุรยิ ปุ ราคา สรุ ิยปุ ราคาบางสว่ น (Partial Solar Eclipse) เกดิ ขึ้นเมอ่ื ผู้สังเกตกำรณอ์ ยใู่ นเงำมัว บนพ้ืนผิวโลก (B) จะมองเห็นดวงอำทติ ย์สว่ำง เป็นเสยี้ ว 210

สรุ ิยปุ ราคา สุริยุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse) เนอ่ื งจำกวงโคจรของดวงจนั ทร์เปน็ รปู วงรี บำงครงั้ ดวงจนั ทรอ์ ยูห่ ำ่ งจำกโลกมำก จนเงำมดื ของดวง จนั ทรท์ อดยำวไม่ถึงผวิ โลก (C) ดวงจันทรจ์ งึ มขี นำด ปรำกฏเลก็ กว่ำดวงอำทิตย์ ทำให้ผสู้ งั เกตกำรณม์ องเห็น ดวงอำทิตยเ์ ป็นรูปวงแหวน 211

สรุ ิยุปราคา สรุ ยิ รุปรำคำเกิดข้ึนในเวลำกลำงวนั เมอ่ื ดวงจนั ทร์เคล่ือนท่ผี ่ำนหนำ้ ดวงอำทติ ย์ ปรำกฏกำรณ์นจี้ ะเกดิ ข้นึ นำนประมำณ 3 ชั่วโมง แต่ชว่ งเวลำที่เกิดสุรยิ ุปรำคำเตม็ ดวง จะกนิ เวลำเพียง 2-5 นำทีเท่ำน้นั เน่อื งจำกเงำมืดของดวงจันทร์มขี นำดเลก็ มำก และ ดวงจนั ทรเ์ คลอื่ นทผ่ี ่ำนดวงอำทิตยด์ ้วยควำมเร็ว 1 กิโลเมตรตอ่ วินำที 212

สุริยปุ ราคา หมำยเหต:ุ เน่ืองจำกแสงอำทิตยม์ พี ลงั งำนสูงมำก กำรสงั เกตสุรยิ ุปรำคำ จำเปน็ ตอ้ งใช้แผน่ กรองแสงอำทิตย์ (Solar Filter) ท่ีสร้ำงข้ึนเพื่อใช้ในกำรสงั เกตกำรณ์ โดยเฉพำะ กำรสงั เกตกำรณ์ด้วยตำเปล่ำจะกระทำไดเ้ ฉพำะชว่ งเวลำที่เกดิ สุรยิ ปุ รำคำ เตม็ ดวงเทำ่ น้นั 213

จันทรปุ ราคา 214

จันทรปุ ราคา จันทรปุ ราคา หรอื จนั ทรคราส เกดิ ข้ึน จำกดวงจันทร์โคจรผ่ำนเข้ำไปในเงำของโลก เรำจึง มองเห็นดวงจันทรแ์ หว่งหำยไปในเงำมืดแล้วโผล่กลบั ออกมำอีกครง้ั คนไทยสมยั โบรำณเรยี กปรำกฎกำรณ์ น้ีว่ำ \"ราหูอมจันทร์” จนั ทรปุ รำคำจะเกดิ ขึ้นเฉพำะ ในคืนวันเพ็ญ 15 ค่ำ หรือคนื วนั พระจันทร์เตม็ ดวง 215

จนั ทรุปราคา อย่ำงไรกต็ ำมปรำกฏกำรณ์จนั ทรปุ รำคำไม่เกิดขนึ้ ทุกเดือน เน่ืองจำกระนำบท่โี ลกโคจรรอบ ดวงอำทิตยแ์ ละระนำบท่ดี วงจนั ทรโ์ คจรรอบโลกไมใ่ ช่ระนำบเดียวกัน หำกตัดกันเปน็ มุม 5 องศำ ดังนน้ั จงึ มีโอกำสทจ่ี ะเกิดจนั ทรปุ รำคำเพียงปีละ 1-2 ครั้ง 216

จนั ทรุปราคา ภำพระนำบวงโคจรของดวงจันทร์ ตัดกับ ระนำบวงโคจรของโลก เปน็ มมุ 5° 217

จันทรุปราคา เงาโลก โลกเป็นดำวเครำะหไ์ มม่ แี สงสวำ่ งในตวั เอง หำกแต่ไดร้ ับแสงจำกดวงอำทติ ย์ ด้ำนที่หันหนำ้ เข้ำหำดวงอำทิตยเ์ ปน็ เวลำกลำงวัน สว่ นดำ้ นตรงขำ้ มกบั ดวงอำทิตย์เป็นเวลำกลำงคืน โลกบงั แสงอำทติ ยท์ ำใหเ้ กิดเงำ 2 ชนิด คอื เงำมดื และเงำมัว ภำพกำรเกิดจันทรปุ รำคำ 218

จันทรปุ ราคา เงาโลก •เงามืด (Umbra) เปน็ เงำท่มี ดื ทีส่ ุด เน่อื งจำกโลกบงั ดวงอำทติ ย์จนหมดสิ้น หำกเรำเข้ำ ไปอยใู่ นเขตเงำมดื จะไมส่ ำมำรถมองเห็นดวงอำทติ ยไ์ ดเ้ ลย •เงามวั (Penumbra) เปน็ เงำทไ่ี ม่มืดสนทิ เนื่องจำกโลกบังดวงอำทติ ยเ์ พยี งด้ำนเดียว หำกเรำเข้ำไปเขตเงำมัว เรำจะมองเห็นบำงส่วนของดวงอำทิตย์โผล่พน้ สว่ นโคง้ ของโลก เงำทเ่ี กิดข้ึนจึงไมม่ ดื นกั 219

จันทรุปราคา จนั ทรุปราคาเกิดข้ึนเฉพาะในคนื ทีด่ วงจันทรเ์ ตม็ ดวง โดยทด่ี วงอำทิตย์ โลก และดวงจันทร์เรยี งตัวเป็นเส้นตรง ผสู้ ังเกตกำรณ์ในซีกโลกกลำงคืนสำมำรถ มองเหน็ ปรำกฏกำรณ์ท้ังหมดไดน้ ำนประมำณ 3 ชวั่ โมง แตจ่ ะเหน็ ดวงจันทร์อยู่ใน เงำมดื ได้นำนทส่ี ุดไม่เกิด 1 ช่ัวโมง 42 วนิ ำที เน่ืองจำกเงำมดื ของโลกมีขนำดเล็ก ดวงจนั ทร์เคลื่อนที่ผ่ำนเงำมืดด้วยควำมเรว็ 1 กิโลเมตรตอ่ วินำที 220

จนั ทรปุ ราคา ประเภทของจนั ทรปุ ราคา เนอ่ื งจำกระนำบวงโคจรของดวงจนั ทร์และระนำบวงโคจรของโลกไม่ ซอ้ นทับกนั พอดี จงึ ทำให้เกดิ จนั ทรปุ รำคำได้ 3 แบบ ดังน้ี จันทรุปราคาเต็มดวง (Total Eclipse) จนั ทรปุ ราคาบางสว่ น (Partial Eclipse) จันทรุปราคาเงามวั (Penumbra Eclipse) 221

จนั ทรปุ ราคา ประเภทของจนั ทรปุ ราคา จันทรุปราคาเต็มดวง (Total Eclipse) เกิดขน้ึ เม่อื ดวงจนั ทรท์ ้งั ดวงเขำ้ ไปอยู่ ในเงำมืดของโลก ภำพจันทรุปรำคำชนดิ ตำ่ งๆ 222

จนั ทรปุ ราคา ประเภทของจนั ทรปุ ราคา จนั ทรปุ ราคาบางสว่ น (Partial Eclipse) เกดิ ขน้ึ เมื่อบำงส่วนของดวงจนั ทร์ เคลอ่ื นที่ผำ่ นเขำ้ ไปในเงำมดื ภำพจันทรปุ รำคำชนดิ ต่ำงๆ 223

จนั ทรปุ ราคา ประเภทของจนั ทรปุ ราคา จันทรุปราคาเงามัว (Penumbra Eclipse) เกิดขึ้นเมอ่ื ดวงจนั ทรโ์ คจรผำ่ นเข้ำไปในเงำ มัวเพยี งอย่ำงเดียว เรำจงึ มองเหน็ ดวงจนั ทรเ์ ตม็ ดวงมสี คี ลำ้ เน่อื งจำกควำมสวำ่ งลดนอ้ ยลง จันทรปุ รำคำเงำมัวหำดูไดย้ ำก เพรำะโดยทั่วไปดวงจันทร์มกั จะผำ่ นเข้ำไปในเงำมดื ดว้ ย ภำพจันทรุปรำคำชนดิ ตำ่ งๆ 224

กลางวันกลางคืน กลางวันกลางคืน เกดิ ข้นึ จำกกำรหมุนรอบตวั เองของโลกจำกทิศตะวันตกไปยัง ทิศตะวันออก ด้ำนทหี่ นั รับแสงอำทิตยเ์ ป็น “กลางวัน” และดำ้ นตรงข้ำมที่ไม่ไดร้ บั แสงอำทิตย์เป็น “กลางคนื ” 225

กลางวนั กลางคนื เส้นลองจิจดู (Longitude) หรอื เส้นแวง คือ เสน้ สมมติบนพ้ืนโลกตำมแนวทศิ เหนือ-ใต้ เรำแบ่งพิกดั ลองจิจดู ออกเป็น 360 เส้น ห่ำงกนั เสน้ ละ 1 องศำ ลองจจิ ดู เส้นแรกหรอื ไพรม์เมอรเิ ดียน (Prime Meridian) อย่ทู ี่ลองจจิ ูด 0° ลำกผ่ำนตำบล “กรนี ิช” (Greenwich) ในกรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ จำกไพรม์เมอริเดยี นนบั ไปทำงทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ข้ำงละ 180° ได้แก่ ลองจิจดู 1°-180° ตะวนั ออก และ ลองจิจดู 1°-180° ตะวนั ตก รวมทง้ั สิ้น 360° 226

กลางวนั กลางคืน เมื่อนา 360° หารดว้ ย 24 ชวั่ โมง จะคานวณไดว้ า่ ลองจิจูดหา่ งกนั 15° เวลา ตา่ งกนั 1 ชัว่ โมง ดังนน้ั เวลามาตรฐานของประเทศไทยซึ่งถอื เอาเวลาท่ลี องจิจดู 105° ตะวันออก (จงั หวัดอบุ ลราชธานี) จึงเรว็ กว่า “เวลาสากล” (Universal Time เขยี นย่อวา่ UT) ซ่ึงเปน็ เวลาทก่ี รีนชิ 7 ชั่วโมง (105°/15° = 7) เวลามาตรฐานประเทศไทยจงึ มคี ่า UT+7 227

กลางวันกลางคืน เสน้ ลองจิจดู 180° ตะวนั ออก และเสน้ ลองจจิ ูด 180° ตะวนั ตก เป็นเส้น เดียวกนั เรียกวำ่ “เส้นแบ่งวันสำกล” หรอื “International Date Line” (เส้นหนำทำง ขวำมือของภำพที่ 2) หำกเรำเดินทำงข้ำมเสน้ แบ่งวนั จำกทศิ ตะวนั ออกมำยงั ทิศตะวนั ตก วนั จะเพม่ิ ขน้ึ หน่ึงวัน แตถ่ ำ้ เรำเดินทำงข้ำมเสน้ แบง่ วนั จำกทศิ ตะวนั ตกมำยังทิศตะวนั ออก วันจะลดลงหน่งึ วนั 228

กลางวันกลางคนื แผนทีแ่ สดงโซนเวลาของโลก (Time Zone) 229

กลางวนั กลางคืน ตัวอย่างท่ี 1 ถาม: ในวนั ท่ี 24 มกราคมเวลา 18:30 UT. เวลามาตรฐานของประเทศ ไทยจะเป็นเวลาอะไร เวลามาตรฐานประเทศไทย = 18:30 + 7:00 = 25:30 ตอบ : เวลามาตรฐานของประเทศไทยจะเปน็ วันที่ 25 มกราคม เวลา 01:30 นาฬิกา 230

กลางวันกลางคนื ตัวอยา่ งท่ี 2 ถาม: วนั ท่ี 2 มกราคม เวลา 08:00 น. ของประเทศไทย (UT+7) คิด เปน็ เวลาสากล (UT = 0) ไดเ้ ท่าไร เวลาประเทศไทยเรว็ กวา่ เวลาสากล = 7-0 = 7 ชว่ั โมง ตอบ : เวลาสากลจะเปน็ วันที่ 2 มกราคม เวลา 01:00 UT (08:00 – 07:00) 231

กลางวนั กลางคืน ตวั อย่างที่ 3 ถาม: วันที่ 2 มกราคม เวลา 08:00 น. ของไทย (UT+7) ตรงกับเวลา อะไรของประเทศญีป่ ุ่น (UT+9) เวลาประเทศญปี่ ุ่นเร็วกว่าเวลาประเทศไทย = 9-7 = 2 ชั่วโมง ตอบ : เวลาสากลจะเปน็ วันท่ี 2 มกราคม เวลา 01:00 UT (08:00 – 07:00) 232

กลางวันกลางคนื ตวั อยา่ งท่ี 4 ถาม: วนั ท่ี 2 มกราคม เวลา 08:00 น. ของไทย (UT+7) ตรงกบั เวลา อะไรทกี่ รุงวอชงิ ตัน ดีซี (UT-5) = (+7) - (-5) = 12 ช่วั โมง) ตอบ : เวลาท่กี รงุ วอชิงตนั ดซี ี จะเปน็ วันที่ 1 มกราคม เวลา 20:00 น. เวลาประเทศไทยเรว็ กวา่ เวลาท่กี รุงวอชิงตนั ดีซี 12 ชวั่ โมง 233

โลกหมนุ รอบตัวเองหน่งึ รอบไดม้ มุ 360 องศา ใชเ้ วลา 23 ช่วั โมง 56 นาที เรียกวา่ วันทางดาราคติ (Sidereal day) โดยถือระยะเวลาท่ีดาว ฤกษด์ วงเดมิ เคลอ่ื นทผี่ า่ นเส้น Prime meridian (RA=0 ชัว่ โมง) สองคร้ัง เป็นสิง่ อา้ งองิ 234

ปฏิทินสากลเป็นปฏทิ นิ ทางสุริยคติ (Solar calendar) 1 ปี มี 365 วัน โดยแบ่งออกเป็น 12 เดือน ๆ ละ 30 หรอื 31 วัน และเดือนกมุ ภาพันธ์มี 28 วนั แตใ่ นทุก ๆ 4 ปี จะมปี อี ธิกสรุ ทนิ ซึ่งเดอื นกมุ ภาพันธ์จะมี 29 วัน เพ่ือเพ่ิมชดเชยเวลาท่ี โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ใชเ้ วลารอบละ 365.25 วนั (Sidereal year) 235

เวลามาตรฐานทเ่ี ราใช้ในนาฬกิ าบอกเวลาเป็น เวลาสุริยคติ (Solar day) ซงึ่ ถือระยะเวลาทีด่ วงอาทิตยเ์ คลื่อนท่ผี า่ นเสน้ เมอรเิ ดยี นสองครง้ั เป็นสิ่งอา้ งองิ หน่ึงวันจงึ เท่ากับ 24 ช่ัวโมงพอดี จะเหน็ ได้ว่า หนงึ่ วันสรุ ิ ยคตมิ ีระยะเวลานานกวา่ หนง่ึ วันดาราคติ 4 นาที เน่อื งจากโลกโคจรรอบ ดวงอาทิตย์ จึงทา้ ใหต้ ้าแหน่งของดาวบนท้องฟา้ ในแตล่ ะวนั เปลย่ี นไปวนั ละ 1 องศา 236

ปฏทิ ินสากลเป็นปฏิทนิ ทางสุริยคติ (Solar calendar) 1 ปี มี 365 วัน โดยแบง่ ออกเปน็ 12 เดือน ๆ ละ 30 หรอื 31 วัน และเดอื น กุมภาพนั ธ์มี 28 วนั แต่ในทุก ๆ 4 ปี จะมปี ีอธิกสุรทิน ซ่ึงเดือนกุมภาพันธจ์ ะมี 29 วัน เพอ่ื เพม่ิ ชดเชยเวลา ทโ่ี ลกโคจรรอบดวงอาทติ ยใ์ ชเ้ วลารอบละ 365.25 วนั (Sidereal year) 237

ฤดกู าล 238

ฤดกู าล ฤดูกาล (Seasons) เกดิ จำกโลกโคจรรอบ ดวงอำทิตยโ์ ดยทแ่ี กนของโลกเอียง 23.5° ในฤดู รอ้ นโลกเอียงขัว้ เหนอื เข้ำหำดวงอำทิตย์ ทำใหซ้ กี โลกเหนอื กลำยเป็นฤดูรอ้ น และซีกโลกใต้ กลำยเปน็ ฤดูหนำว หกเดือนตอ่ มำโลกโคจรไปอยู่ อกี ด้ำนหนึง่ ของวงโคจร โลกเอยี งขั้วใตเ้ ข้ำหำดวง อำทิตย์ (แกนของโลกเอียง 23.5° คงทตี่ ลอดป)ี ทำใหซ้ กี โลกใต้กลำยเปน็ ฤดรู อ้ น และซีกโลกเหนอื ภำพแกนของโลกเอยี ง 23.5° ขณะทโี่ คจรรอบดวงอำทติ ย์ กลำยเปน็ ฤดหู นำว ดงั แสดงในภำพ 239

ฤดกู าล วันที่ 20 - 21 มิถนุ ายน เป็นวนั ครีษมายัน (Summer Solstice) โลก หันซีกโลกเหนอื เข้าหาดวงอาทิตย์ ทาให้ เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยูค่ อ่ นไปทางทศิ เหนือ (Dec +23.5°) ดวงอาทิตยข์ ึน้ เร็ว ตกชา้ เวลากลางวนั ยาวกว่ากลางคนื ซกี โลกเหนอื เปน็ ฤดรู อ้ น 240

ฤดกู าล วนั ที่ 22 - 23 กนั ยายน เป็นวันศารท วิษวุ ตั (Autumnal Equinox) ดวงอาทิตย์ ข้นึ ตรงทิศตะวันออกและตกตรงทศิ ตะวันตก พอดี กลางวนั และกลางคืนยาวเทา่ กัน ซกี โลก เหนือเป็นฤดใู บไมร้ ว่ ง เนื่องจากโลกไดร้ ับ พลังงานจากดวงอาทติ ยล์ ดลงเมอื่ เทยี บกบั ฤดู ร้อน ต้นไมจ้ ึงผลดั ใบท้ิง 241

ฤดกู าล วันท่ี 20 - 21 ธนั วาคม เปน็ วนั เหมายนั (Winter Solstice) โลกหนั ซีกโลกใตเ้ ข้าหาดวง อาทติ ย์ ทาให้เรามองเหน็ ดวงอาทติ ย์อยู่ค่อนไป ทางทิศใต้ (Dec -23.5°) ซีกโลกเหนือเป็นฤดหู นาว ดวงอาทติ ย์ขึน้ ชา้ ตกเรว็ เวลากลางวันส้ันกวา่ กลางคืน โลกจงึ ไดร้ ับพลงั งานจากดวงอาทติ ยน์ ้อย ที่สดุ ต้นไมใ้ นเขตละตจิ ดู สงู ท้งิ ใบหมด เนอื่ งจาก พลังงานแสงแดดไมพ่ อสาหรับการสงั เคราะห์แสง 242

ฤดูกาล วันท่ี 20 - 21 มีนาคม วันวสันตวษิ วุ ัต (Vernal Equinox) ดวงอาทติ ย์ขึน้ ตรงทศิ ตะวนั ออกและตกตรงทศิ ตะวนั ตกพอดี กลางวนั และกลางคืนยาวเทา่ กัน ซีกโลกเหนอื เปน็ ฤดูใบไมผ้ ลิ เนื่องจากโลกได้รับพลังงานจาก ดวงอาทิตย์มากขน้ึ เมอื่ เทียบกบั ฤดหู นาว ตน้ ไม้ ผลใิ บออกมาเพือ่ สงั เคราะหแ์ สงผลติ อาหาร 243

ฤดกู าล ควำมแตกตำ่ งของชว่ งเวลำกลำงวนั และกลำงคนื มีอทิ ธิพลตอ่ กำรผลิและผลัด ใบในเขตละติจดู สูงๆ เชน่ ทวีปยุโรปและอเมรกิ ำเหนอื แต่ในเขตละตจิ ดู ต่ำใกลเ้ สน้ ศนู ย์สตู รจะไมม่ ีผลมำกนกั เนื่องจำกดวงอำทิตยป์ รำกฏเป็นมุมสูงใกล้จุดเหนอื ศรี ษะ พน้ื ผิวโลกไดร้ บั พลังงำนจำกดวงอำทติ ยม์ ำกตลอดท้งั ปี ต้นไมจ้ ึงไม่ผลัดใบ 244

ฤดกู าล ภำพลมมรสมุ ทีพ่ ัดผำ่ นประเทศไทย 245

ฤดูกาล ถ้ำหำกพนื้ ผิวของโลกมีสภำพเปน็ เน้ือเดียวเหมือนกนั หมด (ทรงกลมที่สมบรู ณ์) ทกุ บรเิ วณของโลกจะมี 4 ฤดูตำมทกี่ ล่ำวมำแลว้ ขำ้ งต้น อย่ำงไรก็ตำมพนื้ ผิวโลกมีสภำพ แตกต่ำงกัน เชน่ ภูเขำ ท่ีรำบ ทะเล มหำสมทุ ร ซงึ่ ส่งอิทธพิ ลตอ่ สภำพลมฟ้ำอำกำศ ประเทศไทยต้ังอย่บู นคำบสมุทรอินโดจีน ขนำบด้วยมหำสมทุ รอินเดียกับทะเลจนี ใต้ จึงตก อยู่ในอทิ ธพิ ลของลมมรสุม (Monsoon) ทำใหป้ ระเทศไทยมี 3 ฤดู ดังนี้ • ฤดูร้อน: ตงั้ แต่เดอื นมนี ำคม ถึงกลำงเดอื นพฤษภำคม • ฤดูฝน: ตง้ั แต่กลำงเดอื นพฤษภำคม ถึงปลำยเดือนตุลำคม • ฤดูหนาว: ตง้ั แต่ปลำยเดอื นตลุ ำคม ถงึ เดือนกมุ ภำพนั ธ์ 246

เรอื่ งที่ 4 ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะ 247

ดาวเคราะห์ (planetes) 248

ดาวเคราะห์ (ในภำษำกรกี ใช้คำวำ่ planetes หรอื “ผูพ้ เนจร”) คอื วัตถุขนำดใหญท่ ี่โคจรรอบดำวฤกษ์ ก่อนทศวรรษ 1990 มีดำวเครำะหท์ ีเ่ รำรู้จกั เพียง 9 ดวง (ปัจจุบัน 8 ดวง) ทั้งหมดอย่ใู นระบบสรุ ิยะ ปจั จบุ นั เรำรจู้ ักดำว เครำะห์ใหม่อกี มำกกวำ่ 100 ดวง ซงึ่ เป็นดำวเครำะหน์ อก ระบบ หมำยถงึ โคจรรอบดำวฤกษด์ วงอ่นื ท่ีไมใ่ ชด่ วงอำทิตย์ 249

ดาวเคราะห์ นนั้ ไม่มีแสงสว่ำงในตัวเอง ทเ่ี รำสำมำรถมองเหน็ ได้ เน่อื งจำกพ้นื ผวิ สะทอ้ นแสงจำกดวงอำทิตย์ เม่ือมองด้วยตำเปล่ำจะเหน็ เปน็ แสง สวำ่ งนวลนิง่ เคลื่อนทแี่ ละไมอ่ ย่ตู ำแหน่งเดมิ 250


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook