Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมเปิดโลกปิโตรเคมี

สารานุกรมเปิดโลกปิโตรเคมี

Published by จริยา พาศิริ, 2021-07-22 03:32:25

Description: สารานุกรมเปิดโลกปิโตรเคมี

Search

Read the Text Version

บรษิ ัท ปตท. จำกดั (มหาชน) 555 ถนนวิภาวดีรงั สติ แขวงจตุจกั ร เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0 2537 2000 www.pttplc.com ชส้ันถา1บ1ันปศโนูตยรเเอลนยี เมนแอหรงย ปีค่ รอะมเทเพศลไทก็ ยซ อาคาร บี 555/2 ถนนวภิ าวดรี งั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตจุ กั ร โกทรรุง.เท0พ2ม5ห3า7นค0ร44100-9800www.ptit.org

»â µÃà¤Á¤Õ Í× ÍÐäà ¼ÅµÔ À³Ñ ± ¤ÍÁ¾Òǹ´ ÃкºÅͨÔʵ¡Ô ʏ ÍÒªÇÕ Í¹ÒÁÑ áÅСÃкǹ¡ÒüÅÔµ áÅСÒûÃѺ»Ã§Ø ¤³Ø ÊÁºÑµÔ áÅСÒè´Ñ ¨Ó˹‹Ò ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ áÅÐÊÔè§áÇ´ÅÍŒ Á ¢Í§¾ÅÒʵԡ ¼ÅµÔ À³Ñ ±

สารานกุ รมเปดิ โลกปโิ ตรเคมี Petrochemical Encyclopedia

กองบรรณาธิการ ผจู้ ัดท�ำ ฝ่ายส่ือสารองค์กร บรษิ ทั ปตท. จ�ำ กัด (มหาชน) ผู้เขียน ดร. สิริจฑุ ารตั น์ โควาวสิ ารชั ปโิ ตรเคมคี อื อะไร ดร. เกรยี งศกั ดิ์ วงศ์พรอ้ มรัตน์ ปาริชาต ศิริ จุฑามาศ นนั ททิ รรภ ผลิตภณั ฑ์ปิโตรเคมี กระบวนการผลิต คุณสมบัติผลิตภณั ฑ์ และการใชง้ าน ผศ.ดร. ปมทอง มาลากลุ ณ อยธุ ยา รศ.ดร. ปราโมช รงั สรรค์วิจติ ร ผศ.ดร. มานิตย์ นิธิธนากลุ ผศ.ดร. ศริ พิ ร จงผาติวุฒิ ผศ.ดร. ธรรมนญู ศรที ะวงศ์ ผศ.ดร. ธญั ญลกั ษณ์ ฉายสุวรรณ ปฤชญีน นาครทรรพ กิติพงษ์ เตชะเพมิ่ ผล สุเทพ เจรญิ พงศ์พูล ธิตวิ รรณ รุง่ เรืองพัฒนา คอมพาวนดแ์ ละการปรบั ปรุงคณุ สมบัติของพลาสติก ดร. สิริจฑุ ารตั น์ โควาวสิ ารชั ระบบลอจิสติกส์และการจ�ำ หน่ายผลิตภณั ฑ์ มงคล พันธมุ โกมล อาชวี อนามัย กฤษฎา ชัยกุล ความปลอดภัย ประกอบ เพชรรัตน์ กฤษฎา ประเสรฐิ สโุ ข สิ่งแวดลอ้ ม ดร. จริยา สขุ ะปาน

ผดู้ ำ�เนินการ สถาบันปโิ ตรเลยี มแห่งประเทศไทย ท่ปี รึกษากิตติมศักดิ์ คุณหญงิ ทองทิพ รตั นะรตั ทีป่ รึกษา ดร. ศิริ จิระพงษพ์ ันธ์ ดร. เรืองศกั ดิ์ ฐติ ริ ตั น์สกลุ ดร. เกรยี งศักดิ์ วงศ์พร้อมรัตน์ วชิ ยั ธารณเจษฎา ประไพ นำ�ธวัช ฐนนั ดร์ มฤคทัต อจั ฉรยี า โชตกิ เดชาณรงค์ ประสานงาน บรรณาธกิ ารวชิ าการ รศ. กัญจนา บณุ ยเกยี รติ บรรณาธกิ ารอำ�นวยการ ณาฐยา เนตรรัตน์ ผชู้ ว่ ยบรรณาธิการอำ�นวยการ สชุ าดา ยะมาลี พริ ณุ พร เลิศผาติวงศ์ บรรณาธกิ ารบริหาร กฤษณ์ ส่องโลก บรรณาธกิ ารศลิ ปกรรม สาคร มงคล รปู เล่ม วโิ รจน์ นาคะ รงุ่ ฤทยั พ่มุ มา วมิ ลมาศ โพธิท์ อง ภาพวาดประกอบ อำ�นาจ ลาดภเู ขยี ว ชา่ งภาพ อธิชาติ ดาแหยม อนุรักษ์ จตุรงคล์ ำ้�เลศิ

สารานุกรม เปดิ โลกปิโตรเคมี Petrochemical Encyclopedia สงวนลิขสทิ ธ์ิ © บรษิ ัท ปตท. จ�ำ กดั (มหาชน) ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของสำ�นักหอสมดุ แห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data บรษิ ัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) สารานกุ รม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี = Petrochemical encyclopedia.-- กรงุ เทพฯ : บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน), 2554. 450 หน้า. 1. เคมีภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม--ค�ำ ศัพท.์ 2. ปิโตรเลยี ม--คำ�ศพั ท.์ 3. อุตสาหกรรมปโิ ตรเคม-ี -ค�ำ ศัพท.์ I. ชอ่ื เรือ่ ง. 661.804 เลขท่ีมาตรฐานสากลประจ�ำ หนังสอื ISBN 978-974-496-257-7 พิมพ์ครัง้ ท่ี 1 พ.ศ. 2554 เจา้ ของลิขสิทธ ิ์ บริษทั ปตท. จ�ำ กดั (มหาชน) 555 ถนนวิภาวดรี ังสิต จตจุ กั ร กรุงเทพฯ 10900 จดั พิมพ์ บรษิ ัท มเี ดีย เอกซเ์ พอรท์ สี อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จำ�กัด 194 ซอยปรดี ีพนมยงค์ 46 ถนนสุขุมวทิ 71 แขวงคลองตันเหนือ เขตวฒั นา กรงุ เทพฯ 10110 แยกสี บริษทั สนุ ทรฟิล์ม จำ�กดั พิมพ์และเขา้ เลม่ บริษทั ดบั บลิวพเี อส (ประเทศไทย) จ�ำ กัด 167/5 หมู่ 4 ถนนบางนา-ตราด (กม. 29.5) ตำ�บลบางบอ่ อำ�เภอบางบ่อ สมุทรปราการ 10560

สาร ประธานเจา้ หน้าท่ีบริหารและกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ บรษิ ทั ปตท. จำ�กดั (มหาชน) นับเป็นเวลากว่า 30 ปี ต้ังแต่การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทยได้ถือกำ�เนิดเม่ือปี พ.ศ. 2521 จวบจนวนั นท้ี ไี่ ด้แปรรูปเป็นบรษิ ทั มหาชน ปตท. ในฐานะบริษทั พลังงานแหง่ ชาติ ยังคงมุ่งม่ันต่อภารกิจหน้าที่ในการสร้างความมั่นคงทางด้านพลังงานให้แก่ประเทศ ควบคู่ ไปกบั การดูแลสงั คม ชุมชน และส่งิ แวดล้อม ใหพ้ ร้อมเติบโตไปด้วยกนั อย่างย่งั ยนื นอกเหนอื จากธุรกิจปโิ ตรเลียมแล้ว ปตท. ยงั ดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมอี ยา่ งครบวงจร โดยเช่อื มต่อกบั ผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเลียมมาเป็นวัตถุดบิ ในการผลิต ตอ่ เนอ่ื งไปยังข้ันตน้ ขน้ั กลาง และขั้นปลาย รวมถึงการตลาด การจัดจำ�หน่าย และระบบลอจิสติกส์ เพ่ือเป็นพ้ืนฐาน ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรมตอ่ เนอื่ งตา่ งๆ ทง้ั การผลติ บรรจภุ ณั ฑ์ อปุ กรณส์ อ่ื สารและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ สารซักล้างและทำ�ความสะอาด ยาและอุปกรณ์การแพทย์ รวมถึงเครื่องใช้ภาคการเกษตร ประมง และอื่นๆ อีกมากมาย ทั้งน้ีเพ่ือให้คนไทย ไดม้ สีิ ิง่ อำ�นวยความสะดวกในชีวติ ประจ�ำ วันอยา่ งครบครัน อกี ท้งั ยังเป็นการสร้างมูลคา่ เพิ่ม ให้กบั ทรพั ยากรธรรมชาติของประเทศ สร้างงาน สร้างรายได้ และสนับสนุนการเตบิ โตของ เศรษฐกิจของชาติอกี ดว้ ย เพ่ือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีท่ีแทรกซึมอยู่ในชีวิต ประจ�ำ วันตลอด 24 ชั่วโมง ปตท. จงึ ได้จดั ทำ�สารานุกรม “เปิดโลกปิโตรเคม”ี ท่จี ะเปน็ แหล่งข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับธุรกิจปิโตรเคมี และเป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงเชิงวิชาการท่ี เป็นประโยชน์ในการค้นคว้าและเรียนรู้สำ�หรับประชาชนและเยาวชน ในการทำ�ความรู่้จัก กบั ปิโตรเคมวี า่ คอื อะไร มที มี่ าอย่างไร รวมถึงเรือ่ งของความปลอดภยั อาชวี อนามัย และ สิ่งแวดล้อมในการประกอบอุตสาหกรรมอีกด้วย ปตท. เชอื่ ม่นั วา่ การดำ�เนนิ ธรุ กิจควบคไู่ ปกบั ความรบั ผิดชอบต่อชุมชน สงั คม และ สิ่งแวดล้อมตลอดมา จะเป็นแรงในการขับเคลื่อนให้อุตสาหกรรมสามารถอยู่อย่างเกื้อหนุน กบั ชุมชน สังคม และส่งิ แวดล้อม ให้เติบโตไปอย่างยั่งยนื ด้วยกันตลอดไป ประเสรฐิ บุญสัมพนั ธ์ ประธานเจา้ หนา้ ท่ีบริหารและกรรมการผู้จดั การใหญ่ บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน)

กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผูเ้ อ้ือเฟอ้ื ภาพ บรษิ ทั ปตท. จ�ำ กัด (มหาชน) และกลุม่ ปตท. สถาบันปิโตรเลยี มแห่งประเทศไทย บริษทั มเี ดีย เอกซ์เพอร์ทสี อินเตอร์เนชน่ั แนล (ประเทศไทย) จ�ำ กดั บริษทั เนชน่ั มลั ตมิ เี ดีย กรุป๊ จ�ำ กดั (มหาชน) บริษทั เนชั่น โพส จ�ำ กัด

สารบญั 12 วิธีใช้สารานุกรม 14 ปิโตรเคมีคืออะไร 68 ผลิตภัณฑป์ โิ ตรเคมี กระบวนการผลิต คุณสมบตั ผิ ลิตภัณฑ์ และการใช้งาน 322906 คอมพาวนดแ์ ละการปรบั ปรงุ คุณสมบัตขิ องพลาสตกิ ระบบลอจสิ ตกิ ส์และการจ�ำ หนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ 368 อาชวี อนามัย ความปลอดภัย ส่งิ แวดลอ้ ม 424 ดัชนีภาษาองั กฤษ 432 ดชั นีภาษาไทย

วธิ ีใช้สารานกุ รม เพอ่ื ใหผ้ ศู้ กึ ษาไดร้ บั ประโยชนจ์ ากสารานกุ รมเปดิ โลกปโิ ตรเคมี การอา้ งอิง อย่างเต็มที่ คณะผู้จัดทำ�ขอแนะนำ�ลักษณะเด่นๆ ของ โดยท่ัวไปแล้ว คำ�หรือความที่ปรากฏอยู่ในคำ�อธิบายอาจมี สารานุกรมฉบับน้ี ดงั นี้ คำ�ภาษาอังกฤษกำ�กับอยู่ในวงเล็บ ท้ังน้ีเพ่ือให้ผู้ศึกษารู้จัก การนำ�เสนอเนอื้ หา คำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษควบคู่กันไปด้วย และเพ่ือประโยชน์ใน สารานกุ รมเปดิ โลกปโิ ตรเคมปี ระกอบดว้ ยเนอื้ หารวม 5 หมวด การคน้ คว้าเพ่ิมเติมจากแหลง่ อนื่ ตอ่ ไป ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ additive สารเตมิ แต่ง ปิโตรเคมีคอื อะไร สารเคมีอินทรีย์หรืออนินทรีย์ท่ีใช้ผสมในเม็ดพลาสติก ผลิตภัณฑป์ โิ ตรเคมี กระบวนการผลติ คุณสมบัติ ก่อนและระหว่างขึ้นรูป เพื่อปรับปรุงสมบัติขณะขึ้นรูป ผลิตภณั ฑ์ และการใช้งาน สารเคมีอินทรีย์ท่ีเติมแต่งบนผิวผลิตภัณฑ์หลังขึ้นรูปเพ่ือ คอมพาวนดแ์ ละการปรบั ปรงุ คณุ สมบตั ขิ องพลาสตกิ ปรับปรุงสมบัติผลิตภัณฑ์พลาสติกขณะใช้งาน มีหลายชนิด ระบบลอจิสตกิ ส์และการจ�ำ หนา่ ยผลิตภณั ฑ์ ขึ้นอยูก่ ับวตั ถุประสงค์ เช่น เพื่อปรบั ปรงุ พฤตกิ รรมพลาสตกิ อาชีวอนามยั ความปลอดภยั ส่ิงแวดล้อม ระหวา่ งขนึ้ รปู ชว่ ยใหก้ ารขนึ้ รปู พลาสตกิ ดขี นึ้ (processability) ผู้ศึกษาสามารถสังเกตการแยกเนื้อหาหมวดต่างๆ ข้างต้นได้ ชว่ ยเพมิ่ สมบตั หิ รอื คณุ ลกั ษณะบางประการเพอ่ื ความทนทาน/ จากแถบสีริมหน้ากระดาษซ่ึงแสดงแตกต่างกันไป โดยใน ยืดอายุการใช้งาน (life/survival ability) แก่ผลิตภัณฑ์ หมวดแรกจะเป็นบทความกล่าวถึงภาพรวมของอุตสาหกรรม พลาสตกิ เพ่ิมสมบตั เิ ชิงกล (mechanical properties) หรอื ปิโตรเคมี เพอื่ ท�ำ ความเขา้ ใจกบั อตุ สาหกรรมดงั กลา่ ว กอ่ นท่ี ปรบั ปรุงลักษณะปรากฏ เชน่ สี ธุรกิจสารเติมแตง่ มอี ตั ราการ จะเข้าสู่สว่ นคำ�ศัพทใ์ นแต่ละหมวด เติบโตอย่างรวดเร็วตามอุตสาหกรรมผลิตเม็ดพลาสติก การคน้ หาคำ�ศัพท์ ใช้มากในผลิตภัณฑ์ที่เป็นชิ้นส่วนยานยนต์ ช้ินส่วนงาน คำ�ศัพท์ของแต่ละหมวดจัดเรียงตามลำ�ดับตัวอักษรภาษา ก่อสร้าง ชิน้ สว่ นเครอ่ื งไฟฟ้าบรรจุภัณฑ์ อังกฤษ คือ a, b, c, d …. และจบลงภายในหมวดน้ันๆ noise induced hearing loss การสูญเสียการได้ยิน การค้นหาคำ�ศัพท์จึงสามารถไล่ดูตามตัวอักษรของหมวด จากเสียง ตา่ งๆ ไดโ้ ดยตรง การสูญเสียสมรรถภาพการได้ยิน ซึ่งมีสาเหตุมาจากการรับ ผู้ศึกษายังสามารถเปิดหาคำ�ศัพท์ที่ต้องการจากดัชนีภาษา เสียงเกินปริมาณของเสียงท่ีกำ�หนดในช่วงระยะเวลาหน่ึง อังกฤษและดัชนีภาษาไทยท่ีอยู่ท้ายเล่ม ดัชนีจะระบุเลขหน้า (dose) ซึ่งมีผลต่อเซลล์ในหู การสัมผัสเสียงท่ีดังทำ�ให้เกิด ท่คี ำ�ศพั ทน์ ้ันๆ ปรากฏอยโู่ ดยไมแ่ บง่ ตามหมวดเนื้อหา ดังน้นั การสญู เสยี สมรรถภาพการไดย้ นิ 2 ระดับ คอื การสูญเสีย เม่ือผู้ศึกษาทราบเลขหน้าแล้วจึงค่อยเปิดดูความหมายของ สมรรถภาพการได้ยินแบบชั่วคราว (temporary threshold คำ�ศพั ท์ท่คี ้นหา shift) ซึ่งมักทำ�ให้ความสามารถในการได้ยินเสียงความถี่สูง ลดลง หอู อ้ื หรอื มอี าการเสยี งกอ้ งในศรี ษะรว่ มดว้ ย (tinnitus) อาการเหลา่ นมี้ กั เกดิ ขน้ึ ใน 2 ชวั่ โมงแรกของการท�ำ งานทสี่ มั ผสั เสียงดังอย่างต่อเนื่อง และการสูญเสียสมรรถภาพการได้ยิน อย่างถาวร (permanent threshold shift) ซ่งึ เกดิ จากการ

สมั ผัสเสียงดังซำ�้ ๆ กนั เป็นระยะเวลานานโดยไมม่ กี ารป้องกนั แพทย์ด้านอาชีวเวชศาสตร์และพิจารณา วิเคราะห์ข้อมูล ท่ีเหมาะสม การสูญเสียสมรรถภาพการได้ยินอย่างถาวร ประวัติการทำ�งาน และภาวะภัยสุขภาพที่พบในที่ทำ�งาน ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การตรวจกระทำ�โดยใช้เคร่ืองมือ ร่วมด้วย วัดความไวของการได้ยินของคน (audiometer) มีหนว่ ยเปน็ เพือ่ ให้ผศู้ กึ ษาทราบวา่ มีคำ�ศัพท์ทีเ่ กี่ยวข้องและควร เดซิเบล ศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ทงั้ นอ้ี าจไมม่ คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ค�ำ หรอื อย่างไรก็ดี การมีวงเล็บคำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษกำ�กับยังเป็นไป ความทีอ่ ยขู่ ้างหนา้ วงเลบ็ ในกรณีนจี้ ะกำ�กบั ไว้ว่า เพ่ือประโยชน์ในการอา้ งอิง ดังน้ี (ดู xxxx ประกอบ) ตวั อย่าง เพื่อใหผ้ ูศ้ ึกษาทราบวา่ สามารถค้นหาความหมาย placard ปา้ ยปิดเพอื่ สอ่ื สารขอ้ มลู สนิ ค้า เพิม่ เตมิ ได้จากคำ�ศัพท์ภาษาองั กฤษซง่ึ อยใู่ นหมวด สัญลักษณ์และข้อความติดข้างรถขนส่งหรือถังเก็บสารเคมี เน้อื หาเดยี วกนั ในกรณีนจ้ี ะก�ำ กบั ไว้วา่ (ดู xxxx) เพ่ือสอ่ื สารขอ้ มลู ของสินค้าและข้อความอน่ื ๆ ที่จ�ำ เป็น ไดแ้ ก่ ตัวอยา่ ง ประเภทของสินค้า ประเภทของวัตถุอันตราย สัญลักษณ์ light fastness ความทนแสง หมายเลขติดตอ่ เม่อื เกดิ เหตฉุ ุกเฉิน เปน็ ต้น ทงั้ นี้เพ่อื ใหผ้ ทู้ ีอ่ ยู่ สมบัติทีส่ �ำ คญั ของสารเติมแต่ง (ดู additive) ทใ่ี สใ่ นพลาสตกิ บริเวณใกล้เคียงเห็น และสามารถส่ือสารข้อความบนรถให้ ประเภทสารเพ่ิมความขาวจากการวาวแสง (ดู fluorescent กับหน่วยงานที่เก่ียวข้องตามที่ระบุข้อความไว้ในป้ายดังกล่าว whitening agent) หรือสารเพิ่มความสว่างเชิงแสง (ดู globally harmonized system for classification and (ดู optical brightening agent) บ่งชี้และตรวจสอบด้วย labeling of chemicals (GHS), hazard classification ดัชนีความขาว (whitening index) ถา้ ระดับดชั นคี วามขาว ประกอบ) มีค่าสูงและคงที่แม้ถูกแสงเป็นเวลานาน บ่งชี้ว่าสารเพ่ิม evaporative cooler ตัวทำ�ความเยน็ แบบระเหย. อุปกรณ์ ความขาวและพลาสติกที่ใส่สารเพิ่มความขาวดังกล่าว หล่อเย็นกา๊ ซ สามารถทนแสงไดด้ ี อปุ กรณล์ ดอณุ หภมู กิ า๊ ซรอ้ น โดยฉดี พน่ น�ำ้ เปน็ หยดน�้ำ ขนาดเลก็ occupational disease โรคทเ่ี กดิ จากงานอาชพี ซึ่งรับความรอ้ นจากก๊าซรอ้ น ท�ำ ใหน้ ้ำ�ระเหยเป็นไอ มกั ติดต้งั โรคที่เกิดจากสภาพแวดล้อมในการทำ�งานท่ีไม่เหมาะสมโดย ไวด้ า้ นหนา้ ของเครอื่ งฟอกเวนจรู ี (venture scrubber) ในระบบ มีการสัมผัสปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำ�งานติดต่อกันเป็น ดักฝุ่นแบบเปียก (particulate wet scrubbing system) ระยะเวลานานจนทำ�ให้เกิดความเจ็บป่วยจากการทำ�งานขึ้น ซงึ่ ใชด้ กั ฝนุ่ ทม่ี ขี นาดเลก็ มาก (เลก็ กวา่ 1 ไมครอน) เปน็ อปุ กรณ์ (occupational illness) เช่น การสัมผัสกับสารตะกั่วเป็น จำ�เป็นเพื่อป้องกันความเสียหายของวัสดุโครงสร้างภายใน เวลานานจนทำ�ให้เกิดโรคพิษตะกั่ว การสัมผัสสารอินทรีย์ เครทื่องฟอกเวนจูรี และช่วยป้องกันการเกิดหยดน้ำ�ภายใน ไอระเหยจนท�ำ ใหเ้ กดิ ความผดิ ปกตขิ องอวยั วะภายใน การสมั ผสั คอคอด (throat) ซึ่งอาจไปขัดขวางการชนหรือปะทะกัน สารจนท�ำ ใหเ้ กดิ เปน็ โรคผวิ หนงั การสมั ผสั เสยี งจนท�ำ ใหม้ กี าร ระหวา่ งของเหลวทฉี่ ดี พน่ เขา้ มาทคี่ อคอดกบั อนภุ าคฝนุ่ (ดู wet สญู เสยี สมรรถภาพการไดย้ นิ (ดู noise induced hearing loss) scrubber ประกอบ) การวินิจฉัยว่าเป็นโรคจากงานอาชีพหรือไม่ต้องกระทำ�โดย

ปโิ คตือรอเคะไมรี “ปิโตรเคมี” มาจากรากศัพท์เดิมคือ สารเคมีหรือเคมีภัณฑ์จากปิโตรเลียม (petroleum chemicals) ในเบื้องตน้ หมายถึง สารเคมี กลุ่มสารเคมหี รอื เคมีภัณฑ์ใดๆ ที่มีองค์ประกอบหลักคือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนท่ีมา จากปโิ ตรเลยี มหรือก๊าซธรรมชาติ เชน่ เอทิลีน โพรพลิ นี เบนซนี เป็นตน้ ต่อมาได้ขยายความครอบคลุมถึงสารอินทรีย์อีกหลายชนิดและสารอนินทรีย์ บางชนิด และยังมีท่ีมาจากแหล่งอื่นนอกจากปิโตรเลียมด้วย เช่น เบนซีน จากถ่านหิน เป็นต้น ดังน้ันในปัจจุบัน เคมีภัณฑ์ปิโตรเลียมหรือปิโตรเคมี (petrochemicals) จึงมีจำ�นวนมากมายนับหมื่นชนิด หลายชนิดเราพบเห็น คนุ้ เคย ใชง้ านอยทู่ กุ วนั แตอ่ กี หลายชนดิ เราอาจไมค่ นุ้ เคยหรอื ไมท่ ราบมากอ่ นวา่ วัสดุหรือผลติ ภณั ฑเ์ หล่านัน้ มาจากปโิ ตรเคมนี ่ันเอง ปิโตรเคมีเป็นสิง่ ทม่ี ีอยใู่ นชีวติ ประจำ�วนั ตง้ั แต่ตื่นจนเขา้ นอน ในชีวิตประจำ�วันของเราต้ังแต่ตื่นนอนจนเข้านอนอีกครั้ง ปิโตรเคมีเข้ามา มีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกอย่างท่ีเราทำ� ไม่ว่าเพื่อความจำ�เป็น พืน้ ฐาน เพอ่ื ความสะดวกสบาย เพ่ือการเดินทาง หรือเพื่อการติดตอ่ สอื่ สาร อาจเป็นวัสดุต่างๆ ที่เราสัมผัสได้ ส่วนที่ประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ที่เราใช้งาน ทง้ั ท่อี ยู่ภายในและที่มองเห็นภายนอก เมื่อมองดรู อบๆ เราตอ้ งเหน็ สง่ิ ท่มี ที ี่มา จากปโิ ตรเคมที งั้ สน้ิ อาจเปน็ เสอ้ื ผา้ รองเทา้ ทนี่ อน เครอื่ งนอน เครอ่ื งใชส้ ว่ นตวั ของใช้ในบา้ นในครวั เชน่ โต๊ะ เก้าอ้ี ต้เู ยน็ ชนิ้ สว่ นยานพาหนะ บรรจภุ ัณฑ์ อาหารและสนิ คา้ เครอื่ งใชส้ �ำ นกั งาน เชน่ คอมพวิ เตอร์ วสั ดกุ อ่ สรา้ งทอ่ี ยอู่ าศยั ท่ที ำ�งาน อปุ กรณก์ ารส่อื สาร เช่น โทรศัพท์มอื ถอื ระบบโครงสร้างพ้นื ฐานและ สาธารณูปโภค เช่น ระบบทอ่ สายไฟ สายเคเบิ้ล สิง่ อ�ำ นวยความสะดวกและ ส่งิ สรา้ งความบันเทงิ เช่น โทรทัศน์ วทิ ยุ แผ่นซีดี จึงกล่าวไดว้ ่า ปิโตรเคมี ไดเ้ ขา้ มาเป็นส่วนหนึง่ ของชวี ติ เราแล้วอย่างปฏเิ สธไมไ่ ด้



กอ่ นทเี่ ราจะไดร้ บั ความสะดวกสบายจากปโิ ตรเคมี มนษุ ยต์ อ้ ง ปโิ ตรเคมี และเรมิ่ เข้ามามีบทบาททดแทนวสั ดุจากธรรมชาติ พึ่งพาวัสดุธรรมชาติเพ่ือการดำ�รงชีพต่างๆ เช่น ใช้ใบตอง เพอื่ ตอบสนองความต้องการพนื้ ฐาน ความสะดวกสบายและ บรรจุอาหาร ใช้หินและไม้สร้างที่อยู่อาศัย ใช้ไม้ฟืนเป็น เพื่อชีวิตท่ีดีข้ึน เช่น บรรจุภัณฑ์อาหาร ช่วยรักษาคุณภาพ เช้ือเพลิงสำ�หรับหุงต้มและให้ความอบอุ่นแก่ท่ีอยู่อาศัย และ การจัดเก็บและถนอมอาหาร ลดอัตราการเสียของอาหาร 1 ใช้นำ้�มันปลาวาฬเป็นเชอื้ เพลิงใหแ้ สงสว่าง เมอื่ ประชากรโลก ไดเ้ ปน็ อยา่ งมาก เปน็ สว่ นสรา้ งมลู คา่ ใหส้ นิ คา้ และเปลย่ี นแปลง เพิ่มขึ้น ความต้องการแสงสว่างยามค่ำ�คืนเพ่ิมขึ้น รูปแบบการใช้ชีวิตประจำ�วันของผู้คนในปัจจุบันจนแตกต่าง ความตอ้ งการความอบอนุ่ มากขนึ้ จงึ ท�ำ ใหเ้ กดิ การตดั ไมท้ �ำ ลาย จากในอดีตเป็นอย่างมาก เส้นใยสังเคราะห์โดยเฉพาะ ป่าและการล่าปลาวาฬอย่างทำ�ลายล้าง ต่อมาในยุคเริ่มต้น เส้นใยพอลิเอสเทอร์ที่ปัจจุบันมีการใช้อย่างแพร่หลายมีส่วน ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี การปฏิวัติอุตสาหกรรม ก่อนที่จะมีอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ทดแทนความต้องการเส้นใยธรรมชาติอย่างสำ�คัญ วัสดุ มีการประดิษฐ์รถจักรไอน้ำ�ข้ึน ยิ่งทำ�ให้ความต้องการไม้ สำ�หรับก่อสร้างหลากหลายรูปแบบท่ีสำ�คัญ คือเป็นวัสดุ สำ�หรับทำ�ฟืนเป็นเช้ือเพลิงสูงขึ้นรวดเร็วมากจึงเกิดการตัดไม้ ทดแทนไม้ ชว่ ยลดการตดั ไมท้ �ำ ลายปา่ ไดอ้ ยา่ งมาก นอกจากน้ี ท�ำ ลายปา่ อย่างกวา้ งขวาง ในขณะท่ีความต้องการของมนษุ ย์ ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเคมีได้เข้าไปมีส่วนช่วยพัฒนายารักษา ยังพัฒนาต่อไป ทำ�ให้เกิดวิกฤตด้านทรัพยากรและวัสดุที่มีใน โรคและอุตสาหกรรมการแพทย์ โดยอาจเป็นท้ังวัตถุดิบหรือ ธรรมชาติโดยเฉพาะในทวีปยุโรป จนกระท่ังประมาณ ค.ศ. สว่ นประกอบของยาหรอื บรรจภุ ณั ฑย์ า และยงั เปน็ วสั ดสุ �ำ คญั 1880 ทผ่ี ลติ ภณั ฑ์จากปโิ ตรเลียมโดยเฉพาะนำ้�มนั ปิโตรเลียม ส�ำ หรบั อปุ กรณก์ ารแพทยห์ ลายชนดิ เชน่ ชน้ิ สว่ นเครอื่ งฟอกไต เริ่มเข้ามามีบทบาทสำ�คัญทดแทนทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ขวดน�ำ้ เกลอื สายน�้ำ เกลอื เขม็ ฉดี ยา วสั ดอุ ดุ ฟนั และกระดกู เทยี ม ไม้ฟืนซ่ึงเป็นเชื้อเพลิงหลักเดิมให้พลังงานสร้างความอบอุ่น เป็นตน้ แม้กระท่ังปโิ ตรเคมีในการผลิตผลิตผลภาคการเกษตร และแสงสว่าง และที่สำ�คัญเป็นเช้ือเพลิงสำ�หรับเคร่ืองยนต์ และอาหาร ท้ังทเี่ ป็นสว่ นผสมของอาหาร ปุ๋ย วติ ามนิ ส�ำ หรับ เผาไหม้ภายในท่ีมกี ารประดษิ ฐ์ขึ้นส�ำ หรับรถยนต์ หลงั จากน้นั พืช หรือเปน็ อุปกรณ์การเกษตร อกี ประมาณ 20 ปี จึงเกดิ การพฒั นาเคมภี ณั ฑป์ ิโตรเลียมหรอื ¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒÃÁªÕ ÇÕ Ôµ¤ÇÒÁ໹š ÍÂÙ‹·Õè´¢Õ Ö¹é ¡ÒÃà¤Åè×͹·Õè ¤ÇÒÁÊдǡʺÒ ÂÒ¹¾Ò˹Р(»¨˜ ¨ÑÂÊ:èÕ à¤ÃÍè× §¹‹Ø§ËÁ‹ ·ÕèÍÂÙÍ‹ ÒÈÑÂ) (ö àÃ×Í à¤ÃÍè× §ºÔ¹ ͹×è æ) àªÍ×é à¾ÅÔ§ »âµÃà¤ÁÕ (¾ÅÒʵ¡Ô àʹŒ ã ÂÒ§) ÇµÑ ¶Ø´ºÔ ÊÓËÃºÑ ÍصÊÒË¡ÃÃÁ»âµÃà¤ÁÕ ÊÒÃäÎâ´Ã¤ÒϺ͹ (Çѵ¶´Ø ºÔ ) แรงผลักดันการพัฒนาอตุ สาหกรรมปโิ ตรเลียมและปโิ ตรเคมี 16 สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี

1 ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี สมยั กอ่ นครสิ ตกาล โลกของเรามปี ระชากรเพยี งไมก่ ร่ี อ้ ยลา้ นคน เพ่ือรองรับประชากรท่ีเพิ่มข้ึน การพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก ใน ค.ศ. 1950 ประชากรเพม่ิ ขน้ึ เปน็ 2,500 ลา้ นคน ค.ศ. 2000 ปิโตรเคมีจำ�เป็นต้องดำ�เนินต่อไปท้ังในด้านการขยายการ เปน็ 6,100 ล้านคน ค.ศ. 2010 ประมาณ 7,000 ล้านคน ผลิตให้เกดิ การประหยัดจากขนาด (economies of scale) และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 8,700 ล้านคนใน ค.ศ. 2030 การลดต้นทุนการผลิต การปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ และ 11,000 ล้านคนใน ค.ศ. 2050 ถึงแม้ว่าในช่วง การค้นควา้ วจิ ัยเพ่ือผลติ ภณั ฑใ์ หม่ๆ ท่มี คี วามสลบั ซบั ซ้อนขน้ึ ประมาณร้อยปีท่ีผ่านมาการค้นพบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ท่ีเรียกร้องความ จากปิโตรเลียมและปิโตรเคมีจะช่วยบรรเทาความวิกฤตด้าน เป็นอยู่และคุณภาพชีวิตท่ีดี ตลอดจนความสะดวกสบายใน การทำ�ลายทรัพยากรธรรมชาติไปได้ระยะหน่ึง แต่จำ�นวน ทกุ ๆ ด้าน แต่การพฒั นาดงั กล่าวนอกจากจะตอ้ งตอบสนอง ประชากรที่เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณจะส่งผลให้วิกฤตการณ์กลับมา แรงผลักดันจากความต้องการของมนุษย์แล้ว ยังต้องคำ�นึง เกิดข้ึนอีก ทั้งในด้านทรัพยากรและวัสดุที่มีในธรรมชาติ ถึงการดูแลบรรยากาศและสภาวะแวดล้อมของโลกอย่าง รวมทั้งการท�ำ ลายบรรยากาศและสภาวะแวดลอ้ ม จนกระทง่ั เหมาะสมและจริงจัง การส่งผลกระทบต่อสังคมและชุมชน เกนิ ความสามารถของโลกทจ่ี ะรองรบั ไวไ้ ด้ (carrying capacity เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างย่ังยืนและการอยู่ร่วมกันของ of the earth) ประชาคมโลกอยา่ งสนั ตดิ ว้ ย สารานกุ รม เปิดโลกปิโตรเคมี 17

ปโิ ตรเคมมี าจากไหน ถังที่มีลักษณะเฉพาะ และหน่วยเปลี่ยนก๊าซธรรมชาติเหลว เป็นก๊าซธรรมชาติ เพือ่ รองรบั การน�ำ เข้า แ ห ล่ ง วั ต ถุ ดิ บ ห ลั ก ท่ี นำ � ม า ใ ช้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ต้ั ง ต้ น สำ � ห รั บ 1 อุตสาหกรรมปิโตรเคมี (petrochemical feedstock, แเปห็นลอ่งงกค๊า์ปซธระรรกมอชบาหตลิสัก่วนสใหาญมา่ปรรถะใกชอ้เปบ็นด้วเชยื้อกเ๊าพซลมิงีเใทนนกา(รCผHล4ิต) petrochemical raw material) มาจากแหล่งสารประกอบ กระแสไฟฟา้ โดยตรง แตเ่ นอื่ งจากความตอ้ งการของครวั เรอื น ไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยอะตอมของคาร์บอนและ และอุตสาหกรรมต่างๆ รวมท้ังอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ไฮโดรเจน ไดแ้ ก่ ปิโตรเลยี ม ซ่งึ รวมถงึ กา๊ ซธรรมชาติ นำ้�มนั ปโิ ตรเลยี ม คอนเดนเสท ถ่านหนิ นอกเหนอื นี้ยงั อาจมาจาก จึงนิยมนำ�ก๊าซธรรมชาติไปแยกไฮโดรคาร์บอนที่หนักกว่า ภาพรวมอตุ สาหกรรมปิโตรเคมี แหล่งอ่ืนโดยเฉพาะจากพืชท่ีเรียกรวมๆ ว่า แหล่งชีวมวล มีเทนออก เป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับก๊าซธรรมชาติได้เป็น (biomass resource) ด้วย อย่างมาก ก๊าซธรรมชาติท่ีนำ�มาแยกองค์ประกอบต้องมี รอ้องยคล์ปะระ8ก-อ9บไหฮรโดือทรคเ่ี ราียรก์บวอ่านกหา๊ นซเักปยี (กC2(+weขtึ้นไgปa)s)ไมผ่นล้อติ ยภกัณวฑ่า์ ก๊าซธรรมชาติ (natural gas) เป็นแหล่งไฮโดรคาร์บอนท่ีอยู่ในสถานะก๊าซ จัดเป็น ที่ได้จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติข้ึนอยู่กับการออกแบบโรงแยก ไฮโดรคาร์บอนที่เป็นแหล่งพลังงานสะอาดเมื่อเทียบกับ ก๊าซแตล่ ะแหง่ ประกอบด้วย แหล่งไฮโดรคาร์บอนประเภทอ่ืนๆ จึงมีอัตราการการขยาย ตัวสูงแต่มีข้อจำ�กัดด้านการจัดเก็บและการขนส่ง เนื่องจาก • ก๊าซมีเทน (methane) เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้า สถานะทเี่ ปน็ กา๊ ซท�ำ ใหจ้ ดั เกบ็ และขนสง่ ยาก จงึ มตี น้ ทนุ ในการ เป็นหลัก แต่บางประเทศใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นเพ่ือผลิต จดั เกบ็ และขนสง่ สงู มาก ดงั นนั้ ประเทศทใ่ี ชก้ า๊ ซธรรมชาตเิ ปน็ เคมีภัณฑ์ เช่น เมทานอล ปยุ๋ ยเู รีย เปน็ ต้น แหลง่ พลงั งานหรอื เปน็ วตั ถดุ บิ ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมจี งึ • ก๊าซอีเทน (ethane) เปน็ วัตถุดิบตั้งตน้ สำ�คัญของปโิ ตรเคมี มักเป็นประเทศท่ีมีแหล่งก๊าซธรรมชาติในประเทศหรือเข้าถึง ทม่ี พี ้ืนฐานเปน็ ก๊าซ (gas base petrochemicals) ใช้ผลิต แหล่งก๊าซราคาถูกได้ บางประเทศอาจนำ�เข้าจากประเทศ ปิโตรเคมีข้ันต้นคือ เอทิลีน (ethylene) ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ เพอื่ นบา้ นโดยขนสง่ ทางทอ่ หรอื น�ำ เขา้ ในรปู ของกา๊ ซธรรมชาติ ปโิ ตรเคมีขน้ั ต้นที่สำ�คญั และมปี รมิ าณการใช้มากทีส่ ุด เหลว (liquefied natural gas (LNG)) ซ่งึ ต้องมีการลงทุนสงู • กา๊ ซโพรเพน (propane) เปน็ วตั ถดุ ิบตง้ั ตน้ สำ�หรับการผลติ ด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐานส�ำ หรบั ขนสง่ และจัดเก็บ เชน่ เรือและ โพรพลิ นี ซงึ่ เปน็ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมขี นั้ ตน้ ทส่ี �ำ คญั อกี ชนดิ หนง่ึ แท่นขุดเจาะกา๊ ซธรรมชาติ 18 สารานุกรม เปิดโลกปโิ ตรเคมี

• ก๊าซปิโตรเลยี มเหลว (liquefied petroleum gas (LPG)) 1 ถอื เปน็ ผลิตภัณฑ์หลกั เป็นกา๊ ซผสมระหวา่ งกา๊ ซโพรเพนและ ก๊าซบวิ เทน (butane) ที่สดั ส่วนตา่ งๆ กนั เปน็ วัตถปุ ระสงค์ หลักของการแยกก๊าซธรรมชาติ มีตลาดที่สำ�คัญคือเป็น เช้ือเพลิงที่ใช้หุงต้มท่ีใช้ในครัวเรือน จึงเป็นท่ีรู้จักกันท่ัวไป อกี ชื่อหน่ึงว่า กา๊ ซหุงตม้ และยงั ใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ตั้งตน้ ส�ำ หรับ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีดว้ ย น�้ำ มันดบิ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี มเหลา่ นยี้ งั เปน็ วตั ถดุ บิ ตงั้ ตน้ (feedstock) ท่ีสำ�คัญสำ�หรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และมีปริมาณการใช้ มากท่ีสุดเทียบกับวัตถุดิบตั้งต้นจากแหล่งอื่นๆ ผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลยี มจากโรงกล่ันท่นี ิยมใชเ้ ปน็ วัตถุดบิ ตง้ั ต้น ได้แก่ กา๊ ซหงุ ต้ม • แนฟทา (naphtha) เป็นวัตถุดิบต้ังต้นปิโตรเคมีท่ีใช้ มากที่สุด โรงงานปิโตรเคมีท่ีใช้แนฟทาเป็นวัตถุดิบต้ังต้น • แกโซลนี ธรรมชาติ (natural gasoline (NGL)) สามารถ เรียกว่า ปิโตรเคมีท่ีมีพ้ืนฐานเป็นของเหลว (liquid base นำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นร่วมกับแนฟทาในโรงงานปิโตรเคมี petrochemicals) หรือบางกรณีเรียกเฉพาะว่าปิโตรเคมีที่มี ข้ันต้นไดเ้ ชน่ กัน พื้นฐานเป็นแนฟทา (naphtha base petrochemicals) น้ำ�มันปิโตรเลียมหรือน้ำ�มันดิบ (crude petroleum, อยา่ งไรกต็ ามแนฟทาสว่ นใหญจ่ ะอยใู่ นสายการผลติ ของโรงกลนั่ crude oil) เพ่ือใช้ผลิตเป็นนำ้�มันเบนซิน มีเพียงบางส่วนเท่าน้ันท่ีนำ�มา เป็นแหล่งโฮโดรคาร์บอนท่ีสำ�คัญท่ีสุด เป็นปิโตรเลียมท่ีมี ใช้เปน็ วตั ถุดบิ ต้ังตน้ ส�ำ หรบั โรงงานปโิ ตรเคมี สถานะของเหลว การขนส่งและการจัดเก็บทำ�ได้ไม่ยากนัก • ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (liquefied petroleum gas (LPG)) มีการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีปริมาณการใช้มากท่ีสุด ส า ม า ร ถ เ ป็ น ไ ด้ ท้ั ง เ ช้ื อ เ พ ลิ ง แ ล ะ วั ต ถุ ดิ บ ตั้ ง ต้ น สำ � ห รั บ ในโลกเม่ือเทียบกับแหล่งไฮโดรคาร์บอนอ่ืนๆ ท้ังใช้เป็น อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเช่นเดียวกับก๊าซปิโตรเลียมเหลวที่ได้ เช้ือเพลิงโดยเฉพาะสำ�หรับยานพาหนะ หรือใช้เป็นแหล่ง จากโรงแยกกา๊ ซธรรมชาติ พลังงานแก่ท่ีอยู่อาศัยและอุตสาหกรรม และบางส่วนนำ�มา • กา๊ ซออยล์ (gas oil) ใช้เป็นสว่ นผสมเพอ่ื ผลติ น้�ำ มนั ดเี ซล ใช้เปน็ แหล่งวตั ถุดิบส�ำ คญั สำ�หรับอตุ สาหกรรมปิโตรเคมดี ้วย หรือใช้เป็นวัตถุดิบต้ังต้นสำ�หรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีได้ นำ้�มันปิโตรเลียมเป็นของผสมท่ีมีองค์ประกอบหลักเป็น เช่นกัน แต่ในทางปฏิบัติไม่นำ�มาใช้ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ไฮโดรคาร์บอนต้ังแต่โมเลกุลเล็กท่ีสุดจนถึงใหญ่ที่ละลายอยู่ มากนัก และโดยเฉพาะช่วงท่ีน้ำ�มันดีเซลมีราคาสูงเพราะ ด้วยกัน ก่อนนำ�มาใช้ประโยชน์จึงต้องนำ�ไปกล่ันลำ�ดับส่วน ก๊าซออยล์จะถูกนำ�ไปผ่านกระบวนการผลิตเป็นน้ำ�มันดีเซล เพื่อแยกไฮโดรคาร์บอนออกเป็นส่วนกลั่นท่ีมีช่วงจุดเดือด ทมี่ ีราคาดกี วา่ แทน ต่างๆ และผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม (petroleum คอนเดนเสท (condensate) product) หลายชนิดตามความต้องการของตลาด เช่น เป็นแหล่งไฮโดรคาร์บอนท่ีเป็นของเหลว แต่ผลิตจากแหล่ง กา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลวหรอื กา๊ ซหงุ ตม้ แนฟทาทใ่ี ชผ้ ลติ เปน็ น�้ำ มนั กา๊ ซธรรมชาติ เรยี กไดว้ า่ เปน็ น�ำ้ มนั ทมี่ าจากหลมุ กา๊ ซธรรมชาติ เบนซินหรือแกโซลนี น้ำ�มันเครอ่ื งบิน น้�ำ มันดีเซล นำ้�มันเตา นั่นเอง เน่ืองจากเป็นไฮโดรคาร์บอนหนักที่ละลายอยู่ในก๊าซ เป็นต้น ธรรมชาติ แต่เม่ือมีการขุดเจาะหลุมก๊าซธรรมชาติขึ้นมาท่ี ปากหลมุ ความดันบรรยากาศทีป่ ากหลุมผลิตต�ำ่ กว่าความดนั ในแหล่งกำ�เนิดของก๊าซธรรมชาติ ทำ�ให้ไฮโดรคาร์บอนหนัก ควบแนน่ (condense) เปน็ ของเหลว สารานุกรม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี 19

คอนเดนเสทเป็นไฮโดรคาร์บอนเหลวที่องค์ประกอบส่วนใหญ่มีขนาดโมเลกุล และช่วงจุดเดือดใกล้เคียงกับแนฟทา สามารถนำ�ไปกลั่นโดยผสมกับนำ้�มัน ปิโตรเลียมในโรงกลั่นน้ำ�มัน หรือนำ�มาแยกในโรงกล่ันแยกคอนเดนเสท ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมที่ได้สามารถนำ�ไปใช้ได้เช่นเดียวกับผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม 1 จากโรงกลั่นน้ำ�มัน เพียงแต่มีสัดส่วนผลิตภัณฑ์ที่เป็นแนฟทามากกว่าโรงกลั่น นำ�้ มัน และนำ�มาใชเ้ ปน็ ผลิตวัตถุดิบตัง้ ตน้ เพอื่ ป้อนโรงงานปโิ ตรเคมไี ด้เช่นกัน ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี หน่วยกล่นั แยกคอนเดนเสท • ถา่ นหิน (coal) • อน่ื ๆ เปน็ แหลง่ ไฮโดรคารบ์ อนทเ่ี ปน็ ของแขง็ แหลง่ ก�ำ เนดิ มสี ารประกอบ นอกจากแหล่งสารประกอบไฮโดรคาร์บอนท่ีเป็นปิโตรเลียมที่ อนนิ ทรยี อ์ ยรู่ ว่ มดว้ ย ไดแ้ ก่ ความชนื้ แรธ่ าตุ หรอื เถา้ และอาจ คนุ้ เคยกนั เปน็ อยา่ งดแี ลว้ ยงั มแี หลง่ สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน มีกำ�มะถันเจือปนด้วย ปัจจุบันใช้เป็นเชื้อเพลิงสำ�หรับผลิต อ่ืนๆ เช่น หนิ น้ำ�มัน (oil shale) ทรายน้�ำ มนั (tar sand) ไฟฟา้ เป็นหลกั อย่างไรกต็ ามบางประเทศนำ�มาใชเ้ ปน็ วตั ถุดิบ เชลแก๊ส (shale gas) เปน็ ตน้ ซ่งึ มีบทบาทเพิ่มขึ้นเป็นลำ�ดับ ตงั้ ตน้ ส�ำ หรับอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี เชน่ ใช้ผลติ เบนซนี หรือ โดยเฉพาะเมือ่ ราคาน้�ำ มนั ปิโตรเลยี มสงู ข้ึน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนใช้ถ่านหินเป็นวัตถุดิบต้ังต้น นอกเหนอื จากปโิ ตรเลยี มแลว้ วตั ถดุ บิ ตงั้ ตน้ ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรม ส�ำ หรบั สายการผลติ เมด็ พลาสติกพอลไิ วนลิ คลอไรด์ เป็นตน้ ปโิ ตรเคมอี าจมาจากแหลง่ อนื่ โดยเฉพาะจากพชื เชน่ ผลผลติ จาก ส่วนของพืช เมลด็ หรือผลไม้ เรียกรวมๆ วา่ แหลง่ ชวี มวล (biomass resource) แหลง่ ดังกล่าวก�ำ ลงั ไดร้ บั ความสนใจ และมีความสำ�คัญมากขน้ึ อยา่ งรวดเร็ว ถ่านหิน ทรายน้ำ�มนั 20 สารานกุ รม เปดิ โลกปิโตรเคมี

1 ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี แหล่งชีวมวล จดุ เร่มิ ตน้ การพฒั นาผลิตภัณฑจ์ ากปิโตรเคมี จดุ ก�ำ เนดิ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมชี นดิ แรกนา่ จะเปน็ ใน ค.ศ. 1869 เทคโนโลยีการสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม และเทคโนโลยี เมื่อมีการสังเคราะห์พอลิเมอร์ชนิดแรกจากเซลลูโลสท่ีได้จาก การกลั่นน้ำ�มันปิโตรเลียมและแยกก๊าซธรรมชาติท่ีเจริญ ปฏกิ ิรยิ าไนเตรชนั ของผงไม้ คือ ไนโตรเซลลโู ลส และต่อมา กา้ วหนา้ อยา่ งกา้ วกระโดด สามารถแยกไฮโดรคารบ์ อนและผลติ มีการเติมการบูร (camphor) ทำ�หน้าที่เป็นสารเสริมสภาพ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำ�ให้มีวัตถุดิบ พลาสตกิ และพฒั นาต่อมาเปน็ เซลลโู ลสแอซเี ทตท่ีใสเหนียว ทม่ี คี ณุ ภาพปอ้ นโรงงานปโิ ตรเคมไี ดป้ รมิ าณมากในราคาทถี่ กู ลง และรีดเป็นแผ่นได้ ผลิตในชื่อทางการค้าว่า เซลลูลอยด์ ปัจจัยพื้นฐานท่ีสำ�คัญอีกด้านหนึ่งของการพัฒนาพอลิเมอร์ (celluloid) ผู้ท่ีรู้จักภาพยนตร์สมัยก่อนที่ถ่ายทำ�ด้วยฟิล์ม (รวมถึงผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอื่น) คืองานวิจัยและพัฒนาซ่ึง ขนาด 8 หรือ 32 มม. คงจะคุ้นเคยกับคำ�น้ีเป็นอย่างดี นำ�ไปสู่การขยายขนาดจากระดับห้องปฏิบัติการไปเป็นระดับ เพราะเวทีการแสดงน้ีได้รับสมญานามว่า โลกเซลลูลอยด์ การผลิตเชิงพาณิชย์ ตลอดไปถึงการพัฒนากระบวนการ หลังจากนั้นไม่มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์จนกระทั่ง ผลติ ในเชิงอตุ สาหกรรม เขา้ สู่ ค.ศ. 1900 เปน็ ตน้ มา เมอ่ื มคี วามเขา้ ใจถงึ กลไกปฏกิ ริ ยิ า การเกิดพอลิเมอร์มากข้ึน ช่วงเวลาท่ีเกิดแรงผลักดันให้เกิด การเร่งพัฒนาที่สำ�คัญคือ ช่วงสงครามโลกครั้งท่ีสองที่ ตอ้ งการทง้ั พลังงาน เชือ้ เพลงิ ยุทโธปกรณ์ ยทุ ธภณั ฑ์ต่างๆ เปน็ จำ�นวนมาก ทำ�ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรข์ องทุกฝา่ ยเร่งวจิ ยั และ พฒั นาวสั ดรุ วมถงึ วธิ กี ารผลติ ใหไ้ ดป้ รมิ าณมากดว้ ย จงึ สามารถ ผลิตปิโตรเคมีหลายชนิดที่มีการค้นพบมาก่อนหน้านั้นหลาย สิบปี แต่ยังไม่สามารถผลิตเชิงพาณิชย์ได้เพราะยังไม่มี เทคโนโลยีที่เหมาะสม หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง ส้ินสุดลงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีเป็นไปอย่างต่อเน่ือง รวดเร็ว และมีความหลากหลายมาก ปัจจัยสำ�คัญคือ สารานุกรม เปิดโลกปโิ ตรเคมี 21

ล�ำ ดบั เหตกุ ารณส์ �ำ คัญของการค้นพบ (พค..ศศ.. 12833758) พ.ศ. 2382 (พค..ศศ.. 12846025) (พค..ศศ.. 12847292) (พค..ศศ.. 12849481) (ค.ศ. 1839) 1 อองรี วิคเตอร์ เรกเนลท์ เอด็ ดรวด ไซม่อน อเลก็ ซานเดอร์ ปารค์ โบชาร์ด (Bouchardt) นกั เคมชี าวเยอรมนั (Henri Victor Regnault) (Eduard Simon) (Alexander Parkes) ค้นพบวธิ ีสงั เคราะห์ ฮานส์ วอน เพคแมน นักเคมีฟสิ กิ สช์ าวฝรัง่ เศส เภสัชกรชาวเยอรมนั คน้ พบ คน้ พบสารก่ึงพลาสตกิ ยางสงั เคราะหเ์ ป็นครัง้ แรก (Hans von Pechmann) ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ค้นพบพอลิไวนลิ คลอไรด์ พอลสิ ไตรนี โดยบงั เอญิ และ สังเคราะห์ชนิดแรก คอื สังเคราะห์ polyethylene เป็นครงั้ แรก ให้ชือ่ สารวา่ Parkesine จาก cellulose (PE) โดยบงั เอญิ สไตรอล (styrol) nitrate แตต่ น้ ทนุ การผลิต จากการให้ความร้อนสาร สูงเกนิ ไป ตอ่ มา จอห์น diazomethane เวสลี่ ไฮเอทต์ (John Wesley Hyatt) พัฒนา คณุ สมบัตพิ ลาสติกดังกล่าว ต่อจนสามารถจดลิขสิทธ์ิ การผลิตพลาสตกิ ใหม่ช่อื celluloid จาก cellulose acetate ใน พ.ศ. 2413 อเลก็ ซานเดอร์ ปารค์ จอห์น เวสล่ี ไฮเอทต์ (พค..ศศ.. 12942792) (พค..ศศ.. 12943703) พ.ศ. 2476 พ.ศ. 2478 พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1933) (ค.ศ. 1935) (ค.ศ. 1937) บรษิ ัท อี.เก. ฟาร์เบน- วาลเลส คาร์โรเธอรส์ เรจินลั ด์ ก๊ิบสนั (Reginald ทมี นกั วทิ ยาศาสตรข์ อง ออทโต ไบเออร์ (Otto อนิ ดุสตรี อาเก (I.G. (Wallace Carothers) Gibson) และ อรี คิ วาลเลส คารโ์ รเธอรส์ Bayer) และทมี นักวจิ ัย Farbenindustrie AG) และทมี นกั วทิ ยาศาสตร์ ฟาวเซ็ทท์ (Eric Fawcett) (Wallace Carothers) ของบรษิ ัท ฟรีดรชิ - ของเยอรมนี สามารถ ของบริษทั ดปู องท์ นักวิจยั ของบริษัท ไอซไี อ รวมถงึ จูเล่ียน เวอรเ์ นอร์ ไบเออร์แอนคอมพานี พัฒนากระบวนการผลติ (DuPont) พฒั นาการ (ICI) คน้ พบพน้ื ฐานการ ฮิลล์ (Julian Werner (Friedrich Bayer & พลาสตกิ พอลิสไตรีน (PS) ผลิตยางสังเคราะหช์ นิด ผลิตพอลิเอทิลีนความ Hill) สังกัดบรษิ ทั ดปู องท์ Company) จากเยอรมนี เพ่ือการคา้ ส�ำ เร็จ และเริม่ แรกของโลกคอื นโี อพรนี หนาแน่นต�่ำ (LDPE) (DuPont) พบการ คน้ พบพลาสติกพอลิยูรเิ ทน ผลติ เพื่อขายได้ (neoprene) สำ�เร็จ เชิงอตุ สาหกรรมคร้งั แรก สังเคราะหไ์ นลอน 66 (polyurethane) ท่ีใช้ และจดลิขสทิ ธิ์ได้ ทำ�ให้ โดยการใหค้ วามดันท่สี ูง วัตถุดบิ ส�ำ คญั ของเสน้ ใย สำ�หรับการผลิตโฟม การใชย้ างสังเคราะห์ มากแกส่ ่วนผสมของสาร สงั เคราะหช์ นดิ แรก สำ�หรับที่นอน เฟอรน์ เิ จอร์ ใชแ้ พรห่ ลายมากจาก เอทิลีน (ethylene) และ ของโลก ต่างๆ และใชเ้ ป็นฉนวน การใช้ในสงครามโลก เบนซลั ดีไฮด์ (benzalde- กนั ความรอ้ น และการเตบิ โตของ hyde) แตว่ ิธกี ารผลิตในเชิง อตุ สาหกรรมรถยนต์ อตุ สาหกรรมท่แี ทจ้ ริงค้นพบ ออทโต ไบเออร์ ใน พ.ศ. 2478 โดย ไมเคลิ กลุม่ นกั เคมอี ุตสาหกรรมของ เพอรร์ นิ (Michael Perrin) อ.ี เก. ฟาร์เบนอินดสุ ตรี อาเก นกั เคมีของไอซไี อและ สายการผลติ แรกเร่มิ ตน้ ใน พ.ศ. 2482 วาลเลส คาร์โรเธอรส์ รปู ล้อรถทีผ่ ลิตจากยางสังเคราะห์ เคร่ืองมอื ต้นแบบในการผลติ LDPE 22 สารานกุ รม เปิดโลกปิโตรเคมี

และพฒั นาอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมขี องโลก (พค..ศศ.. 12940414) พ.ศ. 2450 พ.ศ. 2463 (พค..ศศ.. 12942625) (พค..ศศ.. 12942669) (ค.ศ. 1907) (ค.ศ. 1920) บรษิ ทั เอฟ. แรชิก ลโี อ เฮนดริค บคี แลน (Leo บริษัท ยเู นียนคารบ์ ายด์ เฮอรแ์ มนน์ สทาวดิงเกอร์ วาลโด แซมอน (Waldo 1 (F. Rachig) ของเยอรมนี Hendrik Baekeland) (Union Carbide) (Hermann Staudinger) Semon) ชาวอเมรกิ นั และฮาฟฟ์แมนน-์ ลาโรช ชาวเบลเยย่ี ม ค้นพบ เปิดดำ�เนนิ การผลติ เอทิลนี ชาวเยอรมัน ค้นพบทฤษฎี คน้ พบวธิ กี ารใส่สาร (Hoffmann–LaRoch) เบกาไลต์ (bakelite) ทางการคา้ โรงงานแรก ของโมเลกลุ เคมีขนาด พลาสติกเสรมิ สภาพในสาร ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ของสวติ เซอรแ์ ลนด์ หลังจากเขาทดลองผสม ทีเ่ มืองเคลนด์นนิ แมคโคร (macro- พีวีซี (PVC) โดยบงั เอิญ ตา่ งเริม่ ผลติ ขายฟนี อล ฟนี อลกบั ฟอร์มลั ดไี ฮด์ (Clendenin) molecular chemistry) ขณะเขาพยายามผลติ (phenol) คร้งั แรกฟีนอล (formaldehyde) การใช้ สหรัฐอเมรกิ า นบั เป็น ซึง่ เป็นรากฐานสำ�คัญของ ยางสงั เคราะห์อยู่ ใช้มากในอตุ สาหกรรม เบกาไลตแ์ พร่หลายโดย จดุ เรม่ิ ต้นของอตุ สาหกรรม การพัฒนาพลาสติกต่อมา การค้นพบนี้ท�ำ ใหพ้ ีวซี ี ย้อมผ้าในขณะนน้ั ใช้แทนไม้ในช่วงทศวรรษ ปโิ ตรเคมี เขาไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขา เกิดเปน็ เนอ้ื พลาสตกิ นบั เปน็ แรงผลกั ให้การ 1930 เม่อื ใช้ผลิตวทิ ยุ เคมจี ากงานศึกษานีใ้ น ให้เราขึ้นรปู ใช้งานได้ เร่มิ ตน้ พฒั นาความรู้ และชิ้นสว่ นรถยนต์ พ.ศ. 2496 ปิโตรเคมีในยโุ รป ขณะท่ี เดมิ ทีการค้นพบวิธกี าร สกดั ฟนี อลจาก โคลทาร์ (coal tar) ในคร้ังแรก เมอ่ื 67 ปกี ่อนใน พ.ศ. 2377 นั้นใชฟ้ ีนอล สำ�หรบั ทำ�ความสะอาดแผล วิทยุท่ีท�ำ จากเบกาไลต์ เฮอรแ์ มนน์ สทาวดงิ เกอร์ วาลโด แซมอน อตุ สาหกรรมส่ิงทอ ในศตวรรษที่ 20 ตอนต้น (พค..ศศ.. 12944814) (พค..ศศ.. 12945914) (พค..ศศ.. 12945936) (พค..ศศ.. 12958203) ทีมนกั วทิ ยาศาสตร์ชาว พอรล์ โฮแกน และ คาร์ล ซีเกลอร์ (Karl ต่อมาคาร์ล ซีเกลอร์ วอลเตอร์ คารม์ นิ สก้ี (Walter อังกฤษจอหน์ เรก็ ซ์ วนิ ฟิลด์ โรเบิร์ต แบงค์ (Paul Ziegler) ชาวเยอรมนั และกยุ ลิโอ นัตตา (Giulio Kaminsky) และ ฮนั สย์ อร์ก (John Rex Whinfield) Hogan & Robert (ผคู้ ้นพบพลาสตกิ HDPE Natta) ชาวอติ าลี (ผ้คู ้น ซิน (Hansjörg Sinn.) และเจมส์ เทนแนนท์ ดิกสัน Banks) นักวิจยั เคมีจาก พ.ศ. 2496) พบวิธีการ พบพลาสตกิ PP) ไดร้ บั นกั เคมชี าวเยอรมัน ผู้พบ (James Tennant Dickson) บรษิ ัท ฟิลลปิ ปโิ ตรเลียม สงั เคราะห์ ตัวเร่งปฏิกริ ยิ า รางวัลโนเบลสาขาเคมี ตวั เร่งปฏกิ ริ ยิ าเมทลั โลซนี จากสมาคมคาลโิ กพรินตี้ (Phillips Petroleum) (catalyst) ท่ีตอ่ มาพฒั นา ร่วมกนั ใน พ.ศ. 2506 (metallocene) ทใ่ี ชใ้ น (Calico Printe’s Associa- คน้ พบวธิ ผี ลติ พลาสตกิ เป็น Ziegler-Natta จากการพัฒนา Ziegler- การผลิตสารพอลิโอเลฟินส์ tion) คน้ พบและจดสิทธิบตั ร พอลิเอทลิ ีนความ catalyst ทำ�ให้การผลติ Natta catalyst เปน็ พัฒนาการที่ส�ำ คญั เม็ดพลาสติก PET หนาแนน่ สงู (HDPE) พลาสติกสามารถทำ�ได้ ของการกระบวนการผลิต และพอลโิ พรพิลีน (PP) ทลี ะปรมิ าณมากและตน้ ทนุ เม็ดพลาสตกิ การผลติ ลดลง สง่ ผลการใช้ พลาสติกแพร่หลาย คาร์ล ซเี กลอร์ กยุ ลโิ อ นัตตา วอลเตอร์ คารม์ ินสก้ี สารานกุ รม เปดิ โลกปิโตรเคมี 23

ความเชื่อมโยงระหว่างอุตสาหกรรมปิโตรเลียมกับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เนื่องจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีส่วนใหญ่ใช้วัตถุดิบตั้งต้น เหล่าน้ีนำ�ไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ันต้น (upstream (feedstock) ท่ีเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหลายชนิดและมี petrochemical product) ของอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี จ�ำ แนก 1 ปริมาณการใช้มากท่ีสุดเทียบกับวัตถุดิบตั้งต้นจากแหล่งอ่ืนๆ ตามสารประกอบไฮโดรคาร์บอน 7 ประเภทสำ�คัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีจึงมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับ กลุ่มเคมีซ1ี บ(Cวิ 1ทาcไดheอmนี i(sbturyta)dเieอnทeิล)นี ในซ(eี t4hyผlสeมne()miโxพeรdพCิล4ีน) อุตสาหกรรมปิโตรเลียมเป็นอย่างมาก จากสายการผลิตของ (propylene) อตุ สาหกรรมปโิ ตรเลยี มทเ่ี รม่ิ จากอตุ สาหกรรมการส�ำ รวจและ เบนซีน (benzene) ทอลวิ อนี (toluene) และไซลนี (xylene) ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ผลติ ปโิ ตรเลยี ม (exploration & production) ซง่ึ ท�ำ หนา้ ทคี่ น้ หา จากผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมขี น้ั ตน้ เหลา่ นนี้ �ำ ไปผลติ เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ ี่ และผลิตปิโตรเลียมขึ้นมาจากแหล่งใต้พ้ืนพิภพไม่ว่าจะอยู่ใน มคี วามหลากหลายตอ่ ไปจ�ำ นวนมาก จ�ำ แนกออกเปน็ หลายกลมุ่ รปู ก๊าซธรรมชาติ น้�ำ มนั ปโิ ตรเลียมหรอื คอนเดนเสท แล้วสง่ เชน่ พลาสตกิ เสน้ ใยสงั เคราะห์ ยางและวสั ดยุ ดื หยนุ่ สารเคลอื บ ต่อไปยังกระบวนการปิโตรเลียม (petroleum processing) และกาว เปน็ ตน้ ซงึ่ สามารถน�ำ ไปแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑส์ �ำ เรจ็ รปู ของอตุ สาหกรรมแปรรปู ปโิ ตรเลยี ม เชน่ โรงแยกกา๊ ซธรรมชาติ ตา่ งๆ มากมาย เชน่ บรรจภุ ณั ฑ์ จานและแผน่ บนั ทกึ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (natural gas separation plant) โรงกลั่นน้ำ�มัน (oil คอมพวิ เตอร์ สที า วสั ดกุ อ่ สรา้ ง วสั ดปุ พู น้ื เปน็ ตน้ นอกจากนี้ refinery) และโรงกลน่ั แยกคอนเดนเสท (condensate splitter) ยังมีกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีอื่นที่มีส่วนประกอบหรือทำ�มาจาก ไดผ้ ลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี ม เชน่ กา๊ ซอเี ทน กา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว ปโิ ตรเคมอี กี หลายกลมุ่ เชน่ สารซกั ฟอก ปยุ๋ ยา สารฆา่ ศตั รพู ชื น�ำ้ มนั เบนซนิ น�ำ้ มนั ดเี ซล แนฟทา เปน็ ตน้ จากวตั ถดุ บิ ตง้ั ตน้ และสตั ว์ เป็นตน้ ÊÓÃǨáÅ ÅÔµ» µâ ÃàÅÕÂÁ ¸ÃáÁªÒÒµ«Ô ͤ à´ Êà · éÓÁÑ ´Ôº ä Î â ´Ãͤ Òè ÃºÍ âçÂá ¡¡ Ò«¸ÃÃÁªÒµÔ âç¡ÅÑè á¡¤Í ´à àÊ· Ãâ §¡ÅèÑ éÓÁÑ àª éàÍ ÅÔ§ ÇµÑ ¶Ø´ÔºµÑ駵Œ Çѵ¶Ø´ÔºµÑ駵Œ ÇµÑ ¶Ø´ÔºµéÑ §µŒ ઠéàÍ ÅÔ§ Í è æ » âµÃÕ¤àÁ ¢éÑ µŒ ÊÒÃÅ ÅÒ éÓÑÁ ÅË ‹ÍÅ è é °Ò Ò¤ à ºÍ ºá Åç¡ ÂÒ§Á µÂÍ ¡ÓÁ ¶Ñ àâÍÅ¿ Ê á Í â Ãá Á µ¡ÔÊ ¤àÕÁ «ÕË §Öè » µâ Ãà¤ÁÕ » µâ ÃÁÕ¤à » âµÃ¤ÁÕà ¢éÑ ¡ÅÒ§Åá ¢Ñé »ÅÒ ¢Ñé ¡ÅÒ§Åá ¢Ñé »ÅÒ ¢éÑ ¡ÅÒ§Åá ¢éÑ »ÅÒ ÅÒʵԡÊà Œã  ÊѧÃà¤ Ò Ë ÂÒ§Êѧà¤ÃÒ Ë ¡ÒÇÅá ÊÒÃÅठºÍ ÔÇ ØÍ µÊÒË¡ÃÃÁá»ÃÃÙ» : ºÃèØÀÑ ± ÍÁ¤ ÔÇàµÃÍ ÊÕ ÇÊÑ ´Ø¡‹ÍÊÌҧ ªÔé ÊÇ‹ ö µ ÅÏ Ï ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งอุตสาหกรรมปิโตรเลยี มกับปิโตรเคมี 24 สารานกุ รม เปิดโลกปโิ ตรเคมี

เน่ืองจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมหลายชนิดทำ�หน้าท่ีได้ท้ังเป็น ข• น้ั กตลน้ ุ่มกลเคมุ่ มนีซที้ ี1ม่ี บี (ทCบ1 าcทhมeาmกใiนstเrชyงิ อgตุ rสoาuหpก)รผรมลิตไภดณัแ้ กฑ่ เ์ปมิโทตารนเคอมลี 1 เชอื้ เพลงิ และเปน็ วตั ถดุ บิ ตงั้ ตน้ (feedstock) ของอตุ สาหกรรม (methanol) ปิโตรเคมี ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ • กลุ่มโอเลฟินส์ (olefins group) ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี โรงกลั่นน้ำ�มัน หรือโรงกลั่นแยกคอนเดนเสท เม่ือพิจารณา ขั้นต้นกลุ่มน้ีที่มีบทบาทมากในเชิงอุตสาหกรรม ได้แก่ เอทิลีน เพยี งผวิ เผนิ อาจมองวา่ มกี ารแขง่ ขนั ระหวา่ งการน�ำ ปโิ ตรเลยี ม (ethylene) โพรพลิ นี (propylene) และบวิ ทาไดอนี ในซี 4 ผสม ไปใช้เป็นเชื้อเพลิงกับการนำ�ไปเป็นวัตถุดิบตั้งต้นสำ�หรับ (mixed C4) อุตสาหกรรมปิโตรเคมี แต่เมื่อพิจารณาถึงสัดส่วนท่ีนำ� • กลมุ่ แอโรแมตกิ ส์ (aromatics group) ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมี ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมมาผลิตเป็นปิโตรเคมีแล้วพบว่า เม่ือคิด ขัน้ ต้นกล่มุ น้ที ่ีมบี ทบาทมากในเชิงอุตสาหกรรม ได้แก่ เบนซนี เปน็ ปรมิ าณน�ำ้ มันดิบเทยี บเทา่ (crude oil equivalent) ทีใ่ ช้ (benzene) ทอลวิ อีน (toluene) และไซลีน (xylene) เป็นวัตถุดิบสำ�หรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเพียงปีละประมาณ ผลติ ภณั ฑ์ปิโตรเคมขี ั้นกลาง (intermediate petrochemical 250 ล้านตัน ในขณะท่ีใช้ปิโตรเลียมเป็นเชื้อเพลิงสูงถึง product) ปลี ะ 3,820 ลา้ นตนั หรอื คดิ เปน็ เพยี งรอ้ ยละ 7 เทา่ นน้ั การใช้ เป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีท่ีใช้ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเป็นวัตถุดิบขั้นต้นของปิโตรเคมีต่างๆ ปิโตรเคมีขั้นต้นเป็นวัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีท่ีได้ใน ดังกล่าวจึงไม่ใช่คู่แข่งในตลาดเช้ือเพลิง แต่ทางเลือกของ ข้ันนี้จะใช้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นปลาย อย่างไรก็ตาม ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี มนา่ จะขน้ึ อยกู่ บั อปุ สงคผ์ ลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมี ในบางกรณีสามารถใช้ผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ันกลางชนิด ในประเทศและสภาพการแขง่ ขนั ในตลาดสง่ ออกของผลติ ภณั ฑ์ อ่ืนได้เช่นกัน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ันกลางมีมากมายหลาย ปโิ ตรเคมี ความคุ้มทนุ ทางเศรษฐศาสตร์ ตลอดจนปัจจัยด้าน ประเภท กระบวนการผลิตและการใช้งานท่ีมีลักษณะเฉพาะ สิ่งแวดล้อม นโยบาย และความม่ันคงดา้ นอปุ ทานผลติ ภณั ฑ์ ในแต่ละตัวแตกต่างกันไป ยกตัวอย่างเช่น เอทิลีนไกลคอล ปิโตรเคมีของประเทศมากกวา่ เป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ันกลางท่ีผลิตจากเอทิลีน หรือ สไตรีนมอนอเมอร์เป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นกลางท่ีผลิตจาก โครงสรา้ งผลติ ภัณฑ์ปิโตรเคมี เบนซนิ และเอทิลีน เป็นตน้ ผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเคมขี ั้นปลาย (downstream petrochemical โครงสร้างของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีตามขั้นการผลิตในสายโซ่ product) อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมสี ามารถแบง่ ล�ำ ดบั อยา่ งงา่ ยๆ ได้ 3 ขน้ั ใช้วัตถุดิบที่เป็นผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีข้ันต้น ประกอบดว้ ย ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมขี น้ั ตน้ ขน้ั กลาง และขน้ั ปลาย หรอื ขน้ั กลางมาใชผ้ ลติ ผลติ ภณั ฑข์ น้ั ปลาย และน�ำ ผลติ ภณั ฑท์ ี่ ไดจ้ ากอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมขี นั้ ปลายไปแปรรปู เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น (upstream petrochemical สำ�เร็จรูปหรือก่ึงสำ�เร็จรูปในอุตสาหกรรมต่อเนื่องต่อไป product) เปน็ ผลติ ภัณฑป์ โิ ตรเคมขี น้ั แรกสดุ ส่วนใหญ่ผลติ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นปลายสามารถแบ่งเป็นกลุ่มหลักๆ จากวตั ถุดิบต้งั ต้น (feedstock) จากอุตสาหกรรมปโิ ตรเลียม ตามประเภทของการใชง้ านได้ ดังน้ี มาผลติ เปน็ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมขี นั้ ตน้ และน�ำ ไปผลติ ผลติ ภณั ฑ์ • กลุ่มพลาสติก (plastic) เปน็ กลุ่มที่มีการใชง้ านผลติ ภณั ฑ์ ในข้ันกลาง หรือข้นั ปลาย หรือผลิตภัณฑใ์ นขนั้ ต้น ผลติ ภัณฑ์ ปิโตรเคมีข้ันปลายมากท่ีสุดสามารถจัดกลุ่มย่อยตามสมบัติ อื่นหรือเคมีภัณฑ์อ่ืนๆ ตอ่ ไป พิเศษและการใชง้ าน ประกอบด้วย แม้อุตสาหกรรมปิโตรเคมีจะมีผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย นับหม่ืนนับพันชนิด แต่ส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากผลิตภัณฑ์ ปิโตรเคมีขั้นต้นท่ีสำ�คัญ 7 ชนิด ได้แก่ กลุ่มเคมีซี1 (บCวิ 1ทาcไhดeอmนี iใsนtrซyี) เอทลิ ีน (ethylene) โพรพิลีน (propylene) 4 ผสม (mixed C4) เบนซีน (benzene) ทอลวิ อีน (toluene) และไซลีน (xylene) ผลิตภณั ฑ์ปโิ ตรเคมี ขั้นต้นทั้ง 7 ชนิดนี้จึงเป็นพ้ืนฐานอันสำ�คัญยิ่งสำ�หรับการ พัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เพื่อนำ�ไปผลิตผลิตภัณฑ์ ปโิ ตรเคมีอืน่ ๆ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้นสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม เม็ดพลาสติก ตามโครงสร้างพ้ืนฐานของโมเลกุล ดังน้ี สารานุกรม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี 25

ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี - พลาสติกที่เป็นโภคภัณฑ์หรือใช้งานท่ัวไป (commodity plastic) เป็นพลาสติกท่ีใช้งานได้หลายแบบ รองรับความ ต้องการข้ันพื้นฐานของมนุษย์ได้อย่างหลากหลาย ราคาไม่ แพง จึงมปี ริมาณการใช้สงู มากกวา่ รอ้ ยละ 90 ของปรมิ าณ 1 พลาสติกท้งั หมด ตัวอย่างท่สี ำ�คัญของพลาสติกชนิดน้ี ได้แก่ พอลเิ อทลิ นี ความหนาแน่นสูง (HDPE) พอลิเอทิลีนความ หนาแน่นต�ำ่ (LDPE) พอลเิ อทลิ ีนความหนาแน่นต่ำ�เชงิ เส้น (LLDPE) พอลไิ วนลิ คลอไรด์ (PVC) พอลโิ พรพลิ นี (PP) และ พอลสิ ไตรนี (PS) เป็นต้น กระเป๋าลากท�ำ จากพอลโิ พรพลิ นี ร้ัวพอลิไวนิลคลอไรด์ - พลาสตกิ ทใ่ี ชง้ านวศิ วกรรม (engineering plastic) เปน็ พลาสตกิ ทใ่ี ชใ้ นงานวศิ วกรรมทต่ี อ้ งการ สมบัติเหมาะสมเป็นพิเศษ เช่น ทนความร้อน ทนแรงกระแทกสูง เพ่ือทดแทนวัสดุโลหะใน งานวิศวกรรม เชน่ เฟือง ชิน้ ส่วนรถยนต์ ช้ินส่วนเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ชน้ิ สว่ นคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ จดั เปน็ พลาสตกิ ทม่ี มี ลู คา่ สงู มปี รมิ าณการใชน้ อ้ ยกวา่ พลาสตกิ ทใี่ ชง้ านทว่ั ไปมาก ตวั อยา่ งพลาสตกิ ที่ใชง้ านวิศวกรรม เช่น พอลิคารบ์ อเนต (polycarbonate) พอลแิ อซีทลั (POM) เปน็ ต้น หลังคาพอลิคารบ์ อเนต 26 สารานกุ รม เปิดโลกปิโตรเคมี

- พลาสติกทม่ี ีสมรรถนะสงู (high performance plastic) 1 เปน็ พลาสตกิ ทมี่ สี มบตั พิ เิ ศษเปน็ เฉพาะส�ำ หรบั ใชง้ านทตี่ อ้ งการ เชน่ ทนความรอ้ น ทนกรด ทนดา่ ง ลน่ื ไมต่ ดิ งา่ ย เปน็ ตน้ เชน่ เส้นใยสงั เคราะห์กอ่ นนำ�ไปผลติ เส้ือผ้า ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี พอลเิ ททระฟลอู อโรเอทิลนี (polytetrafluoroethylene หรอื Teflon) พอลอิ เี ทอร์อีเทอร์คีโทน (poly ether ether ketone • กลุ่มยางสังเคราะห์ (synthetic rubber, elastomer) (PEEK)) พอลิอีเทอร์ซัลโฟน (polyethersulfone (PES)) เป็นวัสดุที่สังเคราะห์ข้ึนเพ่ือให้มีสมบัติใกล้เคียงหรือดีกว่ายาง ต้องใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการผลิต และเจ้าของเทคโนโลยี ธรรมชาติ โดยใหม้ คี วามยดื หยนุ่ คลา้ ยยางธรรมชาตแิ ตม่ คี วาม ไม่ค่อยยอมขายเทคโนโลยี เป็นพลาสติกท่ีมีมูลค่าเพ่ิมสูงมาก คงทนต่อการใช้งานมากกว่า ยางสังเคราะห์มีหลายประเภท จึงมปี ริมาณการใชน้ ้อยมาก คอื นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 1 ของการ เช่น ยางบิวทาไดอีน (BR) ยางสไตรีนบิวทาไดอีน (SBR) ใชพ้ ลาสติกท้งั หมด ยางบิวทิล (butyl rubber) ยางไนไทรล์ (nitrile rubber) ยางอีพีดีเอ็ม (ethylene propylene diene elastomer ช้ินสว่ นลอ้ รถยนตเ์ คลือบเทฟลอน (EPDM)) เปน็ ต้น ยางสงั เคราะหม์ บี ทบาทเข้าไปทดแทนยาง ธรรมชาติได้เปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะยางทใ่ี ชใ้ นอตุ สาหกรรม • กลุ่มเส้นใยสงั เคราะห์ (synthetic fibre) เป็นวสั ดุเส้นใย ยานยนต์ แต่งานหลายอย่างจำ�เป็นต้องใช้ยางธรรมชาติผสม ที่สังเคราะห์ข้ึนเพ่ือทดแทนเส้นใยธรรมชาติ นอกจากนี้ยัง กับยางสังเคราะห์เพ่ือให้สมบัติที่ต้องการ เช่น ยางรถยนต์ สามารถทำ�ให้มีสมบัติพิเศษแตกต่างไปจากเส้นใยธรรมชาติ เป็นต้น ขณะท่ีบางกรณีก็จำ�เป็นต้องใช้ยางธรรมชาติล้วน อีกด้วย ตวั อย่างเส้นใยสงั เคราะห์ เชน่ เส้นใยพอลิเอสเทอร์ เชน่ ยางลอ้ เครอ่ื งบนิ เปน็ ตน้ เพราะตอ้ งทนแรงกระแทกและ (polyester fibre) เส้นใยพอลิเอไมด์ (polyamide fibre หรอื แรงเสียดทานมาก nylon fibre) เส้นใยพอลโิ พรพลิ ีน (polypropylene fibre) เส้นใยอะคริลกิ (acrylic fibre) เสน้ ใยเหล่านส้ี ามารถน�ำ มา ยางรถบรรทกุ ทดแทนฝ้าย ขนสตั ว์ ปา่ น ปอ เช่น เสน้ ใยพอลิเอสเทอร์ใช้ ทดแทนไหม เส้นใยอะคริลิกใชท้ ดแทนขนสตั ว์ เพ่อื น�ำ ไปผลติ เป็นผลติ ภณั ฑส์ ิ่งทอ ผา้ ผนื เสื้อผา้ และเครื่องนุ่งห่ม มที ้งั การใชง้ านโดยใชเ้ สน้ ใยสงั เคราะหอ์ ยา่ งเดยี วและผสมกบั เสน้ ใย ธรรมชาติ เสอื้ จากใยสังเคราะห์ ยางสงั เคราะห์ สารานกุ รม เปิดโลกปโิ ตรเคมี 27

• กลุ่มสารเคลอื บผิวและผลติ ภณั ฑก์ าว (synthetic coating and adhesive material) เปน็ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมเี พอ่ื เคลอื บผวิ วัสดใุ ห้แข็งแรง คงทน และสวยงาม อาทิ เช่น พอลยิ ูริเทน (PU) อิพอ็ กซี (epoxy resin) เป็นตน้ ส่วนผลติ ภณั ฑ์กาว 1 ไดแ้ ก่ พอลไิ วนลิ แอซเี ทต (poly(vinyl acetate) (PVAc)) รวมทง้ั กาวอพิ ็อกซี เปน็ ตน้ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ¼ÅÔµÀ³Ñ ±» âµÃà¤ÁÕ áÅÐÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Õèà¡ÕÂè Ç¢ŒÍ§ ÇµÑ ¶Ø´ºÔ ¼ÅÔµÀѳ±» ⁠µÃà¤ÁÕ¢é¹Ñ µŒ¹ ¼ÅÔµÀ³Ñ ±»â µÃà¤ÁÕ¢éѹ¡ÅÒ§/ ¢é¹Ñ »ÅÒÂ/à¤ÁÍÕ è×¹æ ¡Òª¸ÃÃÁªÒµÔ àÍ·ÔÅ¹Õ ¾ÅÒʵ¡Ô ¾ÍÅàÔ Í·ÔÅÕ¹ สีท่ีมีส่วนผสมของอพิ อ็ กซี ÍÕà·¹/ â¾Ã¾ÔÅ¹Õ ¾ÍÅäÔ Ç¹ÔŤÅÍäô áÍž¨Õ Õ ºÔÇ·ÒäÍ´¹Õ ¾ÍÅÔÊäµÃ¹Õ นอกจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น ขั้นกลาง และข้ันปลาย ¹éÓÁѹ´ºÔ ¾ÍÅÔâ¾Ã¾ÅÔ Õ¹ áÅÐÍ×è¹æ ดังกล่าว ยงั สามารถน�ำ ผลิตภณั ฑ์ปโิ ตรเคมีบางชนดิ ไปใชผ้ ลติ ṿ·Ò ູ«Õ¹ เคมีภัณฑ์อื่นๆ ได้ ซ่ึงใช้งานในลักษณะเฉพาะ จึงจัดอยู่ใน ·ÍÅÔÇÍ¹Õ ÇµÑ ¶Ø´ÔºàÊŒ¹ãÂÊѧà¤ÃÒÐˏ ประเภทอตุ สาหกรรมเคมอี ื่น ตัวอย่างเช่น ä«Å¹Õ àÍ·ÅÔ Õ¹ä¡Å¤ÍÅ - สารเอทาโนลามีน (ethanolamine) เปน็ ผลิตภณั ฑเ์ คมีชนดิ ¡Ã´à·àÿá·Å¡Ô พิเศษ (specialty chemical) ทนี่ ำ�ไปใช้งานในอุตสาหกรรม ÍФÃâÔ Åä¹ä·Ãŏ เคมี เช่น เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ดูแลสุขอนามัย ¤Òâ¾ÃáÅ¡á·Á áÅÐÍè×¹æ และสินค้าอุปโภค นอกจากนี้ ยังเป็นวัตถุดิบในการผลิตสาร เอทิลีนเอมีน (ethylene amine) ซึง่ สว่ นใหญ่ใช้เปน็ สารเคมี ÂÒ§Ê§Ñ à¤ÃÒÐˏ เติมแตง่ (chemical additive) อีกด้วย ÂÒ§ÊäµÃÕ¹ºÔÇ·Òä´ÍÕ¹ - สารอิทอกซิเลตของแอลกอฮอล์ไขมัน (fatty alcohol ÂÒ§ºÇÔ ·Òä´Í¹Õ ethoxylate) เป็นผลิตภัณฑ์เคมีชนิดพิเศษ (specialty ÂÒ§¤ÅÍâþÃÕ¹ chemical) ท่ีนำ�ไปใช้งานในอุตสาหกรรมเคมี ใช้ผลิตสาร ลดแรงตงึ ผวิ ชนิดไม่มีข้วั (non-ionic surfactant) และเป็น Çѵ¶Ø´ºÔ ÊÕ áÅеÇÑ ·ÓÅÐÅÒ ตัวกระทำ�อิมัลชัน (emulsifier) สำ�หรับเป็นส่วนผสมของ áÍŤԴ àë¹Ô ผลิตภัณฑ์ดูแลสุขอนามัยและสินค้าอปุ โภค ¾ÍÅÂÔ ÃÙ àÔ ·¹ - สารเอ็มทีบีอี (MTBE) เป็นผลิตภัณฑ์เคมีที่นำ�ไปใช้เป็น àÁ·ÅÔ àÍ·ÔŤâÕ µ¹ สารเคมีเตมิ แตง่ (chemical additive) ผสมในน�้ำ มันเบนซิน àÍ·ÔÅáÍ«àÕ ·µ เพือ่ เพิม่ ค่าออกเทน ºÇÔ ·Ò¹ÍÅ áÅÐÍ×è¹æ Detergent & Surfactant áÍŤÔÅູ«Õ¹ áÍÅ¡ÍÎÍŏ¤ÇÒÁºÃÊÔ Ø·¸ÊÔì Ù§ àÍ·ÅÔ ¹Õ ÍÍ¡ä«´ Í×¹è æ 28 สารานุกรม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี

1 굯 ÊÒË¡ÃÃÁµÍ‹ à¹Í×è § ö¹µ ἧä¿Ë¹ŒÒ áÅÐËÅѧ ¡¹Ñ ª¹ à¤Ãè×ͧ»ÃдºÑ ÀÒÂã¹ ÏÅÏ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี öä¿àÃÍ× Â¹µ µÇÑ àÃ×Í ¶Ñ§¹Óé ¶§Ñ ¹Óé Áѹ à¤ÃÍ×è §»ÃдºÑ ÀÒÂã¹ ÊÒÂä¿ áÅЩ¹Ç¹ ÏÅÏ ¡Òâé¹Ö û٠¾ÅÒʵ¡Ô à¤ÃèÍ× §ãªäŒ ¿¿‡Ò ªéÔ¹ÊÇ‹ ¹à¤ÃÍ×è §àŹ‹ à·» Ç·Ô ÂØ â·Ã·ÈÑ ¹ µŒàÙ Â¹ç ¤ÍÁ¾ÇÔ àµÍÏ ÍØ»¡Ã³Ê Í×è ÊÒà ÊÒÂà¤àºÔÅãµ·Œ ÐàÅ â·ÃÈѾ· ÍصÊÒË¡ÃÃÁàÊŒ¹ã ÍØ»¡Ã³Íè×¹æ ¹Ò¡Ô Ò ¡ÅÍŒ §¶Ò‹ Âû٠à¤ÃÍè× §ÁÍ× Ç´Ñ ÏÅÏ ÍصÊÒË¡ÃÃÁÂÒ§ ÇÊÑ ´¡Ø Í‹ ÊÌҧ ·‹Í¹Óé á¼¹‹ º½Ø Ò¼¹Ñ§ ˌͧÍÒº¹Óé ËÅ§Ñ ¤ÒÅ¡Ù ¤Å¹è× ©¹Ç¹¡¹Ñ ¤ÇÒÁÌ͹ ÏÅÏ à¡ÉµÃ áÅлÃÐÁ§ âçàÃ×͹ (Green House) ¶Ø§ºÃèؼÅÔµ¼Å ¶§Ñ ãÊ‹»ÅÒ ÍØ»¡Ã³µ ¡»ÅÒ ÏÅÏ ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ¡ÒÃᾷ ¾ÂÒºÒÅ Ë¿Ù ˜§ à¤Ã×èͧÇÑ´¤ÇÒÁ´¹Ñ ¤Í¹á·¤àŹʏ ÍÇÑÂÇÐà·ÂÕ Á ¢Ç´¹Áà´¡ç ÏÅÏ ÊÒÃà¤ÅÍ× º¼ÔÇ ºÃèÀØ Ñ³± ÀÒª¹ÐºÃèÍØ ÒËÒà ¶§Ñ ºÃèعéÓÁ¹Ñ ¢Ç´ ÏÅÏ áÅмÅÔµÀѳ±¡ ÒÇ Í×¹è æ à¤Ã×Íè §ãªŒã¹¤ÃÇÑ àÃÍ× ¹ à¤ÃèÍ× §à¢ÂÕ ¹ à¤Ã×èͧ´¹µÃÕ à¤ÃÍ×è §¡ÌÕ Ò ÍصÊÒË¡ÃÃÁ͹×è æ à¤ÃÍè× §¹Ø§‹ Ë‹Á àÊ×Íé ¼ŒÒ à¤ÃÍè× §¹Í¹ »Ø‰Â ໹š µ¹Œ à¤ÃèÍ× §àÃÍ× ¹ Á‹Ò¹ ¾ÃÁ ¼ÒŒ »âÙ µÐ ÇÊÑ ´Ø㪧Œ Ò¹µ‹Ò§æ àªÍ× ¡ ¼ÒŒ 㺠àÊŒ¹ãÂÂҧö¹µ áË áÅÐÍǹ Âҹ¹µ Âҧö¹µ Í»Ø ¡Ã³Í¹è× æ 굯 ÊÒË¡ÃÃÁ ÊÒÂÃ´Ñ »Ðà¡¹ç ·‹ÍÂÒ§ ÏÅÏ Íè×¹æ ¶§Ø ÁÍ× ÂÒ§ ÍØ»¡Ã³¡ÌÕ Ò Ãͧà·ÒŒ ö¹µ Ã¶ä¿ àÃÍ× Â¹µ à¤ÃÍè× §ãªäŒ ¿¿Ò‡ ÇÑÊ´¡Ø ‹ÍÊÃÒŒ § ¹Óé ÂÒŌҧ ¼§«¡Ñ ¿Í¡ ¹Óé ÂÒŌҧÀÒª¹Ð áªÁ¾Ù ÍصÊÒË¡ÃÃÁµÒ‹ §æ àÊŒ¹ã à¤ÃèÍ× §ÊÓÍÒ§ ¡ÃдÒɹÓé ÂҢѴ¼ÔÇâÅËÐ สารานกุ รม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี 29

กระบวนการผลิตส�ำ คญั ของอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี กระบวนการผลติ ปโิ ตรเคมมี หี ลายกระบวนการ แตจ่ ะกลา่ วถงึ • กระบวนการเปล่ียนโครงสร้างโมเลกุล (reforming) เฉพาะเทคโนโลยขี องกระบวนการเฉพาะทส่ี �ำ คญั ของแตล่ ะขนั้ เป็นกระบวนการท่ีเปล่ียนแปลงโครงสร้างโมเลกุล ปกติเป็น 1 ของการผลติ ผลิตภณั ฑป์ ิโตรเคมี ดงั นี้ กระบวนการทม่ี อี ยใู่ นโรงกลนั่ น�้ำ มนั ท�ำ หนา้ ทปี่ รบั ปรงุ คณุ ภาพ กระบวนการผลติ ปโิ ตรเคมขี น้ั ตน้ (upstream petrochemical ของผลิตภัณฑ์นำ้�มันให้มีเลขออกเทนสูงขึ้น หน่วยปฏิบัติการ process) หรอื เครอื่ งปฏกิ รณท์ ที่ �ำ หนา้ ทนี่ เ้ี รยี กวา่ รฟี อรม์ เมอร์ (reformer) เมอื่ ใชแ้ นฟทาผา่ นหนว่ ยผลติ นจ้ี ะไดผ้ ลติ ผลเรยี กวา่ รฟี อรม์ เมต ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี มอี ยหู่ ลายประเภทและหลายกระบวนการ แตก่ ระบวนการหลกั (reformate) ซ่ึงมีเลขออกเทนสูงข้ึน มีสัดส่วนของสารกลุ่ม ทมี่ ีใชก้ นั อยโู่ ดยทว่ั ไป มีอยู่ 3 กระบวนการ คอื แอโรแมติกส์เพ่ิมข้ึน เราสามารถแยกผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ขั้นต้นกลุ่มแอโรแมติกส์บางส่วนออกมาจากรีฟอร์มเมต • กระบวนการแตกตวั โมเลกลุ ดว้ ยความรอ้ นและไอน�ำ้ (thermal ดังนั้น จึงสามารถใช้กระบวนการน้ีในโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ steam cracking) เป็นกระบวนการหลักที่ใช้ผลิตสาร แอโรแมติกสไ์ ด้ กลุ่มโอเลฟนิ ส์ โดยเฉพาะเอทลิ ีน ซึง่ เปน็ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ขน้ั ตน้ ทส่ี �ำ คญั ทสี่ ดุ เนอื่ งจากมปี รมิ าณการใชม้ ากทสี่ ดุ วตั ถดุ บิ อย่างไรก็ตามยงั มีกระบวนการผลติ อ่นื ๆ อกี เช่น โพรเพน- ตั้งต้นที่สามารถใช้ได้กับกระบวนการผลิตประเภทนี้ เป็นได้ ดไี ฮโดรจเี นชนั (propane dehydrogenation (PDH)) ทท่ี �ำ หนา้ ที่ ทงั้ ก๊าซ เช่น อเี ทน ก๊าซปโิ ตรเลยี มเหลว และเปน็ ของเหลว ผลิตโพรพิลีนจากโพรเพน เป็นต้น และด้วยความก้าวหน้า เชน่ แนฟทา หน่วยปฏิบตั ิการหรือเคร่อื งปฏกิ รณ์ทีท่ ำ�หนา้ ที่ ทางเทคโนโลยีที่ต้องการตอบสนองทิศทางของตลาดมากข้ึน น้ีเรียกว่า แครกเกอร์ (cracker) หากใช้อีเทนเป็นวัตถุดิบ ปัจจุบันจึงมีเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เป็นทางเลือกเพ่ือนำ�มาผลิต ต้งั ตน้ เรียกวา่ อีเทนแครกเกอร์ (ethane cracker) ผลิตภณั ฑ์ โพรพลิ ีน เชน่ กระบวนการเมทาทซี สี (metathesis) ทีใ่ ช้ หลกั คอื เอทลิ นี และหากใช้แนฟทาเปน็ วตั ถุดบิ ตง้ั ต้นเรยี กวา่ ผลติ โพรพอลนี จากเอทลิ นี และสารซี 4 ผสม หรอื การผลติ สาร แนฟทาแครกเกอร์ (naphtha cracker) ผลติ ภณั ฑห์ ลกั คือ โอเลฟินสจ์ ากเมทานอล เปน็ ตน้ เอทิลีนและโพรพิลีน ซ่ึงบางกรณีถูกจัดเป็นผลิตภัณฑ์ร่วม (co-product) และซี 4 ผสม (mixed C4) เปน็ ผลติ ภณั ฑพ์ ลอยได้ กระบวนการผลติ ทสี่ �ำ คญั ของปโิ ตรเคมขี นั้ ปลาย (downstream (by-product) ทีส่ �ำ คญั ด้วย petrochemical process) กระบวนการผลิตท่ีสำ�คัญของปิโตรเคมีขั้นปลายที่สำ�คัญ • กระบวนการแตกตัวโมเลกุลโดยใช้ตัวเร่งปฏิกริยาเข้าช่วย ท่ีสดุ คอื การเกดิ พอลเิ มอร์ (polymerization) เน่อื งจากมี ควบคุมปฏิกิรยิ า (catalytic cracking) ปกตเิ ปน็ กระบวนการ การนำ�ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ันปลายไปผลิตพอลิเมอร์มากที่สุด ท่ีมีอยู่ในโรงกล่ันนำ้�มัน ทำ�หน้าท่ีเปลี่ยนผลิตภัณฑ์หนัก การเกดิ พอลเิ มอรเ์ ปน็ ปฏกิ ริ ยิ าเคมที ส่ี ารปโิ ตรเคมโี มเลกลุ เดย่ี ว เช่น น้ำ�มันเตา ซึ่งมีราคาถูกให้เป็นผลิตภัณฑ์นำ้�มันเบาขึ้น ที่เรียกว่า มอนอเมอร์ (monomer : ตามรากศัพท์ภาษา โดยเฉพาะนำ้�มันเบนซินท่ีมีราคาสูงกว่า จึงต้องแตกโมเลกุล กรีก mono แปลว่า หนึ่ง และ mer แปลว่า สมาชิก) ให้เล็กลง นอกจากจะได้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมแล้ว อาจแยก มาเชื่อมต่อกันเกิดเป็นสารโมเลกุลใหญ่ขึ้น ที่ประกอบด้วย สารโพรพิลีนซ่ึงเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ันต้นกลุ่มโอเลฟินส์ที่ โมเลกุลเด่ียวเช่ือมต่อกันท่ีเรียกว่า พอลิเมอร์ (polymer : สำ�คญั อีกชนิดหนึ่ง ออกมาขายในตลาดปิโตรเคมไี ด้ ตามรากศพั ทภ์ าษากรกี poly แปลวา่ มาก) การเชื่อมต่อกัน มกั เกดิ ทพี่ ันธะคู่ (double bond) ของอะตอมคารบ์ อนของ ไฮโดรคาร์บอน ซึ่งเม่ือเกิดปฏิกิริยา พันธะคู่ของมอนอเมอร์ จะแตกออกและเกิดพันธะเด่ียวกับอะตอมคาร์บอนของ มอนอเนอร์อีกโมเลกุลหนึ่งเช่นนี้เรื่อยๆ ไป ดังนั้นพอลิเมอร์ จึงประกอบด้วยมอนอเมอร์ต่อกันเป็นหน่วยซ้ำ� (repeating units) เกดิ เปน็ สายโซ่พอลิเมอร์ (polymer chain) สามารถ ควบคุมความยาวหรือรูปร่างลักษณะของสายโซ่พอลิเมอร์ ในขณะเกิดปฏกิ ริ ิยาไดห้ ลายวิธี ท�ำ ใหเ้ กิดผลติ ภณั ฑท์ ่มี ีสมบตั ิ แตกต่างกัน เช่น ควบคุมโดยการเลือกประเภทการเกิด พอลิเมอร์ การเติมมอนอเมอร์ชนิดอื่นร่วมด้วยทำ�ให้เกิดเป็น พอลเิ มอร์รว่ ม (copolymer) เปน็ ต้น สามารถน�ำ ผลติ ภณั ฑ์ หน่วยการผลติ ในโรงงานแอโรแมติกส์ 30 สารานกุ รม เปิดโลกปโิ ตรเคมี

กลมุ่ โอเลฟนิ สแ์ ละแอโรแมตกิ สท์ งั้ ขนั้ ตน้ และขนั้ กลางบางชนดิ เชน่ เอทลิ นี (ethylene) โพรพลิ นี (propylene) สไตรนี (stylene) ไวนิลคลอไรด์ (vinyl chloride) บิวทีลีน (butylene) บิวทาไดอีน (butadiene) เป็นต้น มาใช้เป็นมอนอเมอร์ (วัตถุดิบ) ในกระบวนการผลติ พอลิเมอร์ และสามารถน�ำ พอลเิ มอร์ทไี่ ดม้ าใช้ประโยชน์ได้มากมาย ตัวอย่างมอนอเมอรจ์ ากผลิตภณั ฑ์กลุม่ โอเลฟินส์และแอโรแมติกส์ พอลเิ มอร์ที่ได้ และตัวอยา่ งการใช้งาน 1 Monomer Polymer ชอื่ ย่อ [Repeating Unit]n ตัวอยา่ งการใชง้ าน Ethylene Polyethylene PE ถฟุงิลพ์มลาลสังตกกิ ลแอ่ งห พอลวานสตทิก่อนขำ�้ วดดื่ม ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี H2C=CH2 Propylene Polypropylene PP ฝถุงาพแบลาตสเตตอกิ รร่ีอ้ กนนั ชลนังรกถลย่อนงต์ ฯลฯ H2C=CH(CH3) Styrene Polystyrene PS บกลรรอ่ จงุภCัณDฑอ์ ขาอหงาใรช้ในบ้าน H2C=CH(C6H5) HVi2nCy=l CcHhlColride Polyvinyl chloride PVC ทถถงุุงอ่ มเนลอื ้ำ�ือใดนหบนก้าังรนเอท/บอียปามคระาเสรต้ือ/ู หรฝานนง้านต้�ำ า่ ฝงน แหผลน่อดพพลลาสาสตติกกิใสใส Methyl methacry- Pmoeltyhmacerthylyalte PMMA เสน้ ใยสังเคราะหส์ ง่ิ ทอ CHlaO2tCeO=CCH(C3H3) AHc2Cry=loCnHoCtrNile Polyacrylonotrile PAN VCiHny3Cl OacOeCtaHte=CH2 Polyvinyl acetate PVA สารกาว สารเคลือบ หมากฝรัง่ ขเสวน้ ดใยขสวงั ดเนคร�ำ้ าอะัดหล์สมิ่งทอ Ethylene glycol tPeorelypehththyalelantee PET ตเเสกลีย้นบั รใลย์พูกสลปังาืนเสคพตรลิกาาะสหต์สกิ่ิงทอ TแHeลOrะeCpHh2t-hCaHlic2OaHcid HOOC COOH Hexamethylenedi- 6P,A10 HaHSCme2OONbiOOn-a(eCHcCi-cH(C2a)H6c-2iNd)8H- 2และ Nylon 6,10 สารานกุ รม เปิดโลกปโิ ตรเคมี 31

ส�ำ หรบั กระบวนการผลติ ของปโิ ตรเคมขี น้ั กลางมหี ลายประเภท มีอุปสงค์ในประเทศ จึงเป็นแรงผลักดันให้ต้องพัฒนา สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ปฏกิ ริ ยิ าเคมที วั่ ไป เชน่ การผลติ เอทลิ นี ออกไซด์ อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมขี น้ึ เอง อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมมี อี ทิ ธพิ ล ด้วยปฏิกิริยาออกซิเดชันโดยตรงระหว่างเอทิลีนกับอากาศ อยา่ งมากตอ่ เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม และแมแ้ ตก่ ารเมอื ง การผลิตสไตรีนมอนอเมอร์ จากปฏิกิริยาแอลคิเลชันของ ของแตล่ ะประเทศและของโลก ซึง่ แตกต่างจากอุตสาหกรรม 1 เอทิลีนและเบนซีนและการดึงไฮโดรเจนของเอทิลเบนซีน เคมีอน่ื หรืออุตสาหกรรมประเภทอ่ืน เนือ่ งจากลักษณะเฉพาะ หรือการผลิตบิสฟีนอลเอ จากปฏิกิริยาคอนเดนเซชันของ ท่ีมีความโดดเด่นท่ีสำ�คัญหลายประการ จึงมีความน่าสนใจ ฟนี อลและแอซโี ทน เปน็ ตน้ ทง้ั นี้ อาจมกี ารใชต้ วั เรง่ ปฏกิ ริ ยิ า และความสำ�คัญสมควรได้รับการศึกษาและทำ�ความเข้าใจ ชว่ ยควบคุมปฏกิ ิรยิ าในกระบวนการผลติ ดว้ ย เพอื่ เปน็ ความรพู้ น้ื ฐานทอี่ าจน�ำ ไปเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นา ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี อุตสาหกรรมและประเทศในแนวทางทถ่ี ูกต้องเหมาะสมตอ่ ไป เน่ืองจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มาก การพัฒนาเทคโนโลยีกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ (large scale) จึงเป็นการก้าวไปด้วยกันกับการพัฒนาเทคโนโลยีด้านอื่นๆ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ท่ีไม่เป็น อกี หลายดา้ นซงึ่ เขา้ มามบี ทบาทรว่ มดว้ ย อาจจดั กลมุ่ เทคโนโลยี อุตสาหกรรมเด่ียว แต่เชื่อมโยงกันท้ังอุตสาหกรรมข้ันต้น ของการพัฒนาไดเ้ ปน็ การแยก (การกลน่ั ล�ำ ดบั ส่วน การสกัด ขนั้ กลาง และขนั้ ปลาย หรอื เรยี กวา่ เปน็ คอมเพลก็ ซป์ โิ ตรเคมี การดดู ซบั และการดดู ซมึ การตกผลกึ ) การสงั เคราะห์ (การปรบั (petrochemical complex) การสร้างโรงงานปิโตรเคมีน้ัน เปลี่ยนโครงสรา้ งโมเลกุล การสังเคราะห์มอนอเมอร์ การเกดิ นอกจากเพ่ือตอบสนองอุปสงค์ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีท่ีสูงมาก พอลิเมอร์) ตัวเร่งปฏิกิริยา (การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีใช้เป็นวัสดุพื้นฐานในการผลิตของ การเพ่ิมประสิทธิภาพและการเลือกเร่งปฏิกิริยาอย่างเฉพาะ ภาคอตุ สาหกรรมต่างๆ มากมายแลว้ ยงั เปน็ การสร้างเพื่อให้ เจาะจง) สมบัติของพอลิเมอร์ (ปฏิกิริยาการสังเคราะห์ สามารถแข่งกับคู่แข่งขันต่างๆ ได้ท่ัวโลก จึงต้องมีกำ�ลังการ พอลเิ มอรร์ ่วม การเตมิ สารเติมแตง่ ต่างๆ) และกระบวนการ ผลิตสูงเพราะจะช่วยให้เกิดการประหยัดจากขนาดการผลิต ผลิตในอตุ สาหกรรม (เคร่ืองมอื เครอ่ื งจักร อุปกรณ์ กระบวน (economies of scale) น่ันคอื ต้นทนุ ตอ่ หน่วยผลิตภัณฑต์ ่ำ� การควบคุมและการวัด) เทคโนโลยีแต่ละกลุ่มแตกแขนง ดงั นน้ั ผปู้ ระกอบการปโิ ตรเคมจี งึ เปน็ ผปู้ ระกอบการขนาดใหญ่ ออกไปมากมายซ่ึงต้องอาศัยทรัพยากรหลายด้านและการ เป็นหลัก ในบรรดาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น ข้ันกลาง ลงทุนสูงมาก และข้ันปลาย อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นมีขนาดกำ�ลัง การผลิตใหญ่มากท่ีสุด เช่น อยู่ในหลักล้านตันต่อปีต่อโรง ลักษณะเฉพาะของอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี เนื่องจากเป็นต้นนำ้�ของผลิตภัณฑ์ต่างๆ มากมายที่มีปริมาณ ความต้องการมาก ในอนาคตแนวโน้มของขนาดกำ�ลังการ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีมีพ้ืนฐานหลักจากปิโตรเลียมและก๊าซ ผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมีจะยิ่งมีขนาดใหญ่ข้ึน ธรรมชาติ ประเทศที่มีแหล่งทรัพยากรปิโตรเลียมและก๊าซ เร่ือยๆ ตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ซ่ึงจะทำ�ให้ต้นทุน ธรรมชาติต่างก็มีโรงงานปิโตรเคมีของตนเองซ่ึงกระจายอยู่ การผลิตต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ลดต่ำ�ลงและมีความได้เปรียบ ทว่ั โลก แมแ้ ตป่ ระเทศทไี่ มม่ วี ตั ถดุ บิ ตง้ั ตน้ ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรม ในเชิงแข่งขันมากข้ึน ปิโตรเคมีหลายประเทศก็ยังมีโรงงานปิโตรเคมี เนื่องจาก ปิโตรเคมีคอมเพล็กซ์ในหมเู่ กาะจูร่ง สงิ คโปร์ 32 สารานุกรม เปิดโลกปโิ ตรเคมี

ใชเ้ งนิ ลงทนุ สงู (capital intensive) เทคโนโลยีการผลิตสามารถหาซ้ือได้ (technology 1 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีใช้เงินลงทุนสูงแม้แต่โรงงานปิโตรเคมี availability) ขนาดเล็กๆ ก็ยังต้องใช้เงินลงทุนหลายพันล้านบาท โรงงาน แ ม้ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ปิ โ ต ร เ ค มี จ ะ เ ป็ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ท่ี เ ป็ น ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ขนาดใหญ่ต้องใช้เงินลงทุนหลายหมื่นล้านบาท อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมท่ีมีเทคโนโลยีการผลิตท่ีซับซ้อน และประเทศ ปิโตรเคมีซ่ึงมีขนาดใหญ่และมีเทคโนโลยีท่ีซับซ้อนต้องการ ที่เป็นเจ้าของเทคโนโลยีในการผลิตมีอยู่จำ�กัด แต่ก็ไม่ได้ โครงสร้างพ้ืนฐานและสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ และต้องใช้ เป็นอุปสรรคหรอื เปน็ ส่ิงกดี กนั การเขา้ มาสูธ่ รุ กิจ (barrier to เงินลงทนุ และเงินทุนหมุนเวียนสงู มาก นอกจากน้ี เนื่องจาก entry) เน่ืองจากสามารถจัดหาหรือซื้อเทคโนโลยีเหล่าน้ันได้ ธรรมชาติของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมีลักษณะการผลิตที่เป็น โดยเฉพาะผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมที เี่ ปน็ โภคภณั ฑห์ รอื ใชง้ านทว่ั ไป สายโซก่ ารผลติ ตอ่ เนือ่ งตงั้ แตข่ ้ันตน้ ขน้ั กลาง และข้ันปลาย (commodity petrochemical) มเี จา้ ของเทคโนโลยีหลายราย ดังน้ัน หากเป็นการลงทุนท่ีครอบคลุมการผลิตครบวงจรใน ทพ่ี รอ้ มจะขายใบอนญุ าต (license) พร้อมทั้งถ่ายทอดความรู้ ทุกข้ันตอนย่ิงทำ�ให้การลงทุนโดยรวมต้องใช้เงินลงทุนสูง ให้ด้วย แต่สำ�หรับเทคโนโลยีสำ�หรับผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี นับแสนล้านบาท ขนาดเงินลงทุนข้ึนอยู่กับชนิดผลิตภัณฑ์ พเิ ศษ (specialty petrochemical) ทม่ี มี ลู คา่ สงู และมเี จา้ ของ ขนาดกำ�ลังการผลิต และความซับซ้อนของเทคโนโลยี เทคโนโลยีการผลิตน้อยราย การหาซ้ือเทคโนโลยีเป็นไปได้ อยา่ งไรกต็ าม แนวโนม้ การลงทนุ ในปจั จบุ นั ทต่ี อ้ งสรา้ งโรงงาน ยากหรือเป็นไปไม่ได้เลย เน่ืองจากเจ้าของเทคโนโลยีเหล่าน้ี ให้มีความสามารถในการแข่งขันสูงย่ิงส่งผลให้เงินลงทุน มักใช้เทคโนโลยีเป็นสิ่งกีดกันการเข้ามาสู่ธุรกิจของผู้ประกอบ สำ�หรบั อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมใี นปัจจบุ ันสูงมากข้ึนตามไปดว้ ย การรายอ่ืน ส่ิงที่ผู้ประกอบการรายใหม่ท่ีสนใจทำ�ได้ก็เพียง จึงไม่มีผู้ประกอบการรายเล็กลงทุนในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เข้าไปร่วมทุน (joint venture) ซึ่งในหลายกรณีท่ีเจ้าของ เพราะหากเงินลงทุนน้อย สถานภาพทางการเงินไม่เข้มแข็ง เทคโนโลยีจะถือหุ้นส่วนใหญ่และควบคุมการบริหารจัดการ ก็จะทำ�ให้ความสามารถในการแข่งขันตำ่�จนกระท่ังไม่สามารถ ทง้ั หมด แข่งขันกบั คูแ่ ขง่ ได้ ผู้ผลติ ในธุรกจิ ปิโตรเคมี สารานกุ รม เปดิ โลกปิโตรเคมี 33

มีผูป้ ระกอบการมาก (large number of participants) – บคุ ลากรด้านเทคนคิ และวศิ วกรรม โดยในระยะแรกต้องผลติ มกี ารแข่งขันสูง (highly competitive) ผลิตภณั ฑป์ โิ ตรเคมที ่เี ปน็ โภคภัณฑ์หรือใช้งานทัว่ ไป ซง่ึ จัดหา ในการพิจารณาว่าผู้ประกอบการปิโตรเคมีมีมากนั้นไม่ได้ เทคโนโลยกี ารผลิตไดไ้ ม่ยากและในราคาไมแ่ พง มองเพียงผู้ประกอบการในประเทศใดประเทศหน่ึง แต่เป็น 1 การพิจารณาถึงผู้ประกอบการทั่วโลกว่ามีจำ�นวนมาก ทั้งนี้ กระจายทัว่ ทกุ ภมู ภิ าค (distributed globally) สะท้อนให้เห็นว่าอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมีลักษณะเป็นธุรกิจ จากความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีท่ีมีกระจายอยู่ทั่วโลก สากล มีการแข่งขันสูงในตลาดโลก ซ่ึงเป็นตลาดสากลทั้ง การค้าและการลงทุนในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีก็สามารถ การแข่งขันตลาดส่งออกหรอื แมก้ ระทง่ั ตลาดในประเทศ ทำ�ได้ทุกภูมิภาคท่ัวโลก แม้กระท่ังประเทศที่ไม่มีทรัพยากร ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ปิโตรเลียมในประเทศท่ีใช้เป็นวัตถุดิบตั้งต้นที่สำ�คัญสำ�หรับ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีทำ�หน้าท่ีเป็นอุตสาหกรรมสนับสนุน การผลิตปิโตรเคมี ก็สามารถลงทุนสร้างโรงงานปิโตรเคมีได้ โดยผลิตเคมีภัณฑ์ท่ีใช้ในการผลิตในอุตสาหกรรมต่อเน่ือง ต่างจากการลงทุนในอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น ต่างๆ มากมาย ประเทศต่างๆ เม่ือมีการพัฒนาประเทศมา อตุ สาหกรรมการส�ำ รวจและผลติ ปโิ ตรเลยี มซงึ่ ขน้ึ กบั ทรพั ยากร สู่ระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมมากข้ึนต้องให้การสนับสนุน ในประเทศว่ามีหรือไม่ หรืออุตสาหกรรมการเกษตรหลาย อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอันดับแรก แม้กระท่ังมีมาตรการ ประเภททม่ี ขี อ้ จ�ำ กดั ดา้ นภมู ศิ าสตรแ์ ละภมู อิ ากาศในแตล่ ะแหง่ จูงใจการลงทุนในรูปแบบต่างๆ ทำ�ให้ผู้ประกอบการเข้ามา ว่าเหมาะสมกับผลิตผลใด แต่ในกรณีอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ลงทนุ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมไี ดไ้ มย่ าก เม่อื มคี วามพร้อมท้งั ไมม่ ีขอ้ จำ�กัดเหล่าน้ี ดงั นัน้ การพัฒนาอตุ สาหกรรมปิโตรเคมี เงินทุน โครงสร้างพ้ืนฐาน และทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะ จึงกระจายตัวอย่ทู ั่วทกุ ภูมภิ าคของโลก ที่ตั้งโรงงานเอทิลีนแครกเกอรค์ อมเพลก็ ซท์ ส่ี ำ�คญั ในโลก 34 สารานุกรม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี

คณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์ไมแ่ ตกต่าง (uniform in quality) อน่ื ๆ 9% วตั ถุดบิ 1 ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีท่ีเป็นโภคภัณฑ์หรือเกรดท่ีใช้งานท่ัวไปน้ัน สาธารณูปโภค 89% คุณภาพผลิตภัณฑ์ผู้ประกอบการแต่ละรายไม่แตกต่างกันนัก 2% เน่ืองจากเทคโนโลยีการผลิตมีมานาน และเจริญเต็มท่ีแล้ว รวมทง้ั มขี อ้ ก�ำ หนดคณุ ภาพรว่ มของผลติ ภณั ฑท์ �ำ ใหไ้ มส่ ามารถ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี แยกได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ของใคร ผู้ซ้ือจึงสามารถเปลี่ยนจาก ผลิตภัณฑ์ของผู้ผลิตรายหนึ่งไปยังผู้ผลิตรายอ่ืนได้โดยไม่มีผล สัดสว่ นต้นทนุ การผลติ เมด็ พลาสติกพอลิเอทลิ ีนความหนาแน่นสงู ต่อคุณภาพของสินค้า ยกตวั อยา่ งเชน่ เอทลิ นี ทมี่ าจากแหล่ง (HDPE) ของเอเชยี ผลติ ตา่ งกนั กจ็ ะมสี มบตั ไิ มต่ า่ งกนั หรอื ในกรณขี องเมด็ พลาสตกิ เกรดท่ัวไปท่ีเกรดเดียวกัน เช่น เกรดเป่าถุงของแต่ละผู้ผลิต กำ�ไรขึ้นกับอัตราการใช้กำ�ลังการผลิต (margin vary by แตล่ ะรายกจ็ ะมีสมบัตแิ ละคุณภาพไม่ต่างกนั มากนกั สะท้อน operating rate) ให้เห็นถึงการแข่งขันที่สูง โดยเฉพาะในตลาดเม็ดพลาสติก ในประเด็นน้ีเกิดจากพฤติกรรมของการผลิตท่ีตอบสนองต่อ เกรดทั่วไปท่ีผู้ประกอบการแปรรูปพลาสติกสามารถเปล่ียน ตลาด ซง่ึ ไมต่ า่ งจากอตุ สาหกรรมอนื่ มากนกั กลา่ วคอื ในสภาวะ ผู้จัดหาเม็ดพลาสติกได้ไม่ยากนัก หากมีเงื่อนไขราคาและ ท่ีตลาดตึงตัว มีความต้องการสินค้าสูง แต่สินค้าในตลาดมี การบริการที่ดีกว่า ไม่เพียงพอทำ�ให้ราคาผลิตภัณฑ์อยู่ในเกณฑ์สูง อัตราการทำ� อยา่ งไรกต็ าม ในกรณคี ณุ ภาพของผลติ ภณั ฑไ์ มแ่ ตกตา่ งนี้ อาจ กำ�ไรของผู้ประกอบการดี ดึงดูดให้ผู้ประกอบการเร่งการผลิต ใช้ไม่ได้กบั ผลติ ภัณฑป์ ิโตรเคมีเกรดพเิ ศษ เน่ืองจากผลิตภณั ฑ์ ให้มีการใช้อัตราการใช้กำ�ลังการผลิตให้เต็มประสิทธิภาพมาก ประเภทนี้มักต้องการสมบัติพิเศษเฉพาะบางประการ และ ทส่ี ดุ เทา่ กบั เปน็ การลดตน้ ทนุ การผลติ ตอ่ หนว่ ยท�ำ ใหไ้ ดผ้ ลก�ำ ไร สมบัติและคุณภาพของผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตแต่ละแห่งอาจ สูง ได้ผลประกอบการดีท่ีสุด ในทางตรงข้าม หากสภาวะที่ ไม่เหมือนกัน ดังน้ัน การท่ีผู้ซื้อเปลี่ยนผู้จัดหาวัตถุดิบอาจมี ตลาดมกี �ำ ลงั การผลติ เกนิ กวา่ ความตอ้ งการมาก ราคาผลติ ภณั ฑ์ ผลต่อสมบัติของผลิตภัณฑ์ และในท้ายที่สุดอาจไม่สามารถ กจ็ ะอยใู่ นเกณฑต์ �่ำ มอี ตั ราการท�ำ ก�ำ ไรต�ำ่ ผปู้ ระกอบการกอ็ าจ เปล่ียนแปลงผู้ผลิตวัตถุดิบได้แม้เง่ือนไขด้านราคาหรือบริการ ตอ้ งลดอตั ราการใชก้ ำ�ลงั การผลิตลงตามสภาพตลาด จะดีกว่าก็ตาม การแข่งขันด้านสมบัติและคุณภาพจึงมีผล ความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโต ตอ่ การตดั สนิ ใจของผซู้ ้ืออย่างมาก ของเศรษฐกิจ (demand depends on economics) ตน้ ทนุ ขน้ึ กบั วตั ถดุ บิ – น�้ำ มนั ดบิ เปน็ ตวั บง่ ช้ี (cost is based ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีเป็นพื้นฐานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ on feedstock – follow crude oil price trend) มากมาย และเข้าไปมีบทบาทในเกือบทุกภาคส่วนของระบบ ในการผลิตปิโตรเคมีเกือบทุกชนิดโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์ เศรษฐกิจ ดังน้ัน ภาวะเศรษฐกิจท่ีเป็นเคร่ืองช้ีวัดกิจกรรม ปิโตรเคมีที่ใช้งานทั่วไป ต้นทุนวัตถุดิบจะเป็นต้นทุนหลัก ทางเศรษฐกิจท้ังหมดไม่ว่าจะเป็นทางภาคการผลิตหรือการ ส่วนใหญ่มากกว่าคร่ึงหน่ึง หรือบางช่วงอาจจะสูงถึงส่ีในห้า บริโภค ล้วนแต่ส่งผลต่อความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ของโครงสร้างต้นทุนการผลิตทั้งหมด วัตถุดิบนี้ล้วนเป็น อย่างใกล้ชิด หากภาวะเศรษฐกิจขยายตัว ความต้องการ ผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม โดยเฉพาะแนฟทา ปิโตรเคมีก็มีแนวโน้มขยายตัวตามไปด้วย ในทางตรงข้าม ซ่ึงเป็นวัตถุดิบตั้งต้นสำ�หรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมีที่ใช้มาก หากช่วงใดเศรษฐกิจเกิดการตกตำ่�ความต้องการปิโตรเคมี ทสี่ ุด ไดจ้ ากการกลัน่ นำ้�มันดิบหรือคอนเดนเสท ดงั นน้ั ราคา ก็จะมแี นวโนม้ ลดลงไปดว้ ยเชน่ กัน แนฟทาจะปรับตัวตามตลาดน้ำ�มันเป็นหลัก ราคานำ้�มันดิบ จึงมีอิทธิพลต่อต้นทุนการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีอย่างมาก นอกจากวัตถุดิบที่เป็นต้นทุนสำ�คัญท่ีสุดสำ�หรับการผลิต ปิโตรเคมีแล้ว ต้นทุนสำ�คัญอีกส่วนหน่ึงสำ�หรับการผลิต ปิโตรเคมีและมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับราคานำ้�มันคือ ต้นทนุ พลังงานทใ่ี ช้ในการผลติ ซงึ่ สว่ นหนงึ่ ผลติ ขนึ้ เองภายใน โรงงาน ดงั นน้ั จงึ กลา่ วไดว้ า่ ราคาน�ำ้ มนั ดบิ จะเปน็ ตวั บง่ ชสี้ �ำ คญั ทม่ี ผี ลต่อต้นทุนของการผลติ ผลติ ภณั ฑป์ ิโตรเคมีอยา่ งมาก สารานุกรม เปิดโลกปโิ ตรเคมี 35

จากความสัมพันธ์ดังกล่าว การพิจารณาแนวโน้มการเจริญ วัฏจักรของอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี (cyclicality) เติบโตของความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีสามารถทำ�ได้ จากขอ้ มลู ในอดตี พบวา่ อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมเี ปน็ อตุ สาหกรรม โดยการหาความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการของผลิตภัณฑ์ ที่มีวัฏจักรทางธุรกิจอย่างเห็นได้ชัด โดยช่วงเวลาของแต่ละ ปิโตรเคมีแต่ละชนิดเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ วัฏจักรทางธุรกิจของปิโตรเคมีที่ผ่านมามีช่วงเวลาระหว่าง 1 (Gross Domestic Product, GDP) อยา่ งไรกต็ าม คา่ ดงั กลา่ ว 7-9 ปี ท้ังนี้ขนึ้ อย่กู ับสถานการณ์แวดลอ้ มตา่ งๆ ด้วย สาเหตุ มีความแตกต่างกันไปตามชนิดของผลิตภัณฑ์ ขึ้นกับความ ท่ีทำ�ให้ธุรกิจปิโตรเคมีมีลักษณะเป็นวัฏจักรสามารถอธิบาย ซับซอ้ นของผลิตภัณฑแ์ ต่ละชนิดและประเภทการใชง้ าน ตามเหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ขึน้ ในแต่ละชว่ งเวลา คอื ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี เม่ือกำ�ลังการผลิตตึงตัว อัตราการใช้กำ�ลังการผลิตของ อุตสาหกรรมโดยรวมอยู่ในเกณฑ์สูง ผลักดันราคาและอัตรา การทำ�ก�ำ ไรของธุรกิจใหอ้ ยู่ในระดบั ทสี่ ูง ช่วงน้ีจะเปน็ ช่วงจุด สูงสุดของวัฏจักร ซ่ึงจะดึงดูดให้นักลงทุนที่เห็นโอกาสในการ ทำ�ก�ำ ไรเข้ามาทำ�ธรุ กจิ ปิโตรเคมีเพิม่ การเจรญิ เติบโตของเศรษฐกจิ และสังคมมผี ลต่ออุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี เมื่อกำ�ไรดี นักลงทุนต่างๆ จะเพ่ิมกำ�ลังการผลิต แต่การ สร้างโรงงานปิโตรเคมแี ต่ละแห่งตอ้ งใช้เวลาประมาณ 3-5 ปี ในทางปฏิบัติในภาคอุตสาหกรรม การพิจารณาอัตราการ รวมระยะเวลาการวางแผนและก่อสร้างโรงงาน ดังน้ัน เจริญเติบโตของอุปสงค์ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีแต่ละชนิดน้ัน การลงทุนจึงต้องมีการวางแผนควบคู่ไปกับประมาณการของ นิยมนำ�ไปเปรียบเทียบกับอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อุปสงค์ในอนาคต และเพ่ือให้โรงงานมีความสามารถในการ (% growth of product demand/% growth of GDP) แขง่ ขนั ทดี่ ี การสรา้ งโรงงานจะตอ้ งท�ำ ใหม้ ขี นาดก�ำ ลงั การผลติ ส้ดส่วนดังกล่าวแตกต่างกันขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์ ขึ้นกับภาวะ ทใ่ี หญ่ เป็นการประหยัดจากขนาดการผลิต (economies of ของช่วงอายุของวงจรผลิตภัณฑ์ หากเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีเริ่ม scale) ดงั นั้น การสร้างโรงงานจึงมกั เป็นการขยายใหม้ ขี นาด เข้ามาสู่ตลาดใหม่สัดส่วนน้ีจะมีค่าสูง แต่หากเป็นผลิตภัณฑ์ เกินกว่าความต้องการ และรอให้พอดีกับอุปสงค์ท่ีจะค่อยๆ ที่มีการใช้งานมานานแล้วและเริ่มมีการอิ่มตัวของอุปสงค์ เพม่ิ ทกุ ปี นอกจากนีเ้ นอื่ งจากไม่มกี ารปดิ กัน้ การลงทนุ เมื่อมี สัดส่วนดงั กลา่ วก็จะมีคา่ ลดลง ผเู้ หน็ โอกาสหลายคนกม็ กี ารเพมิ่ ก�ำ ลงั การผลติ มากราย ดงั นน้ั เม่ือโรงงานเริ่มดำ�เนินการผลิตผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดทำ�ให้ อปุ ทานหรอื ก�ำ ลงั การผลติ สงู กวา่ อปุ สงค์ จงึ เขา้ สชู่ ว่ งขาลงทาง ธุรกจิ อตั ราการทำ�กำ�ไรในช่วงนจ้ี ะลดลงเรือ่ ยๆ ความตอ้ งการ HDPE (พันตนั ) 2552 วิกฤตเศรษฐกิจแฮมเบอรเ์ กอร์ เส้นแสดงความสมั พันธ์ GDP 2550 และความต้องการเม็ดพลาสติก HDPE 2530 2540 2539 ชว่ งวิกฤตเศรษฐกจิ ตม้ ยำ�กงุ้ GDP (ลา้ นบาท) ความสมั พันธผ์ ลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) และความต้องการเมด็ พอลิเอทลิ นี ความหนาแน่นสูง (HDPE) ของไทยใน พ.ศ. 2530-2552 36 สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี

เมื่อกำ�ลังการผลิตใหม่ที่มีการวางแผนไว้เปิดดำ�เนินการอย่างเต็มท่ี ช่วงนี้อุปทานสูงกว่า 1 อุปสงคม์ าก อัตราการใช้ก�ำ ลงั การผลิตและอัตราการทำ�กำ�ไรต่ำ� อุตสาหกรรมเขา้ สู่จดุ ต่ำ�สุด ของวัฏจกั ร ผูป้ ระกอบการหยุดขยายกำ�ลงั การผลิต ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี เมอื่ ไม่มีกำ�ลังการผลิตใหมเ่ พิ่มเขา้ ในตลาด ขณะทอี่ ปุ สงคเ์ พ่มิ ขนึ้ เร่ือยๆ ตามการเตบิ โตทาง เศรษฐกจิ อตั ราการใช้กำ�ลงั การผลิตเริม่ สูงข้นึ เรอ่ื ยๆ อตั ราการทำ�กำ�ไรของธรุ กิจดีขึ้น เข้าสู่ ชว่ งขาขน้ึ ของวฏั จกั รทางธรุ กจิ และเขา้ สจู่ ดุ สงู สดุ ของวฏั จกั รปโิ ตรเคมี คอื จดุ ทกี่ �ำ ลงั การผลติ ตงึ ตวั อีกครงั้ หนึง่ ตอ่ ไป กำ�ไร ¡ÓÅѧ¡ÒüÅÔµµÖ§µÑÇ ¡ÓÅѧ¡ÒüÅÔµ µ§Ö µÇÑ + à˧¢ÂÒ ªÐÅÍ¡ÒâÂÒ ¡ÓÅѧ¡ÒüÅÔµ ¡ÓÅ§Ñ ¡ÒÃ¼ÅµÔ ¡ÓÅѧ¡ÒÃ¼ÅµÔ à¡¹Ô ¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òà - ช่วงเวลาการดำ�เนินธุรกจิ วฏั จักรการลงทนุ ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี จากความรู้เรื่องวัฏจักรทางธุรกิจของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ทำ�ให้สามารถวางแผนกำ�หนด 37 ชว่ งเวลาการลงทุนในธรุ กิจปโิ ตรเคมีทีเ่ หมาะสมไดล้ ่วงหนา้ ผทู้ ่ีสามารถสร้างโรงงานใหเ้ สรจ็ ไดพ้ อดกี บั ชว่ งก�ำ ไรสงู สดุ ของอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมกี จ็ ะสามารถไดท้ นุ คนื เรว็ ผทู้ ส่ี รา้ งโรงงาน เสร็จในช่วงกำ�ไรตำ่�สุดของวัฏจักรก็จะประสบความลำ�บากในการดำ�เนินกิจการ โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ในระยะแรกๆ การตดั สนิ ใจการลงทนุ จงึ ตอ้ งพจิ ารณาผลของวฏั จกั รนดี้ ว้ ย นอกจากนี้ จากสภาพการเปน็ วฏั จักรของอตุ สาหกรรมนี้ ท�ำ ใหเ้ ข้าใจธรรมชาติของธรุ กิจนว้ี ่ามปี ที ่ีราคาดี และปีทร่ี าคาไม่ดี ปที ีร่ าคาไม่ดนี ั้นไมเ่ พียงแต่ก�ำ ไรลดเท่านั้น ในบางคร้งั อาจรา้ ยแรงถงึ ขนาด ขาดทุนก็ได้ จึงต้องมีการเตรียมตัวจัดการแผนการเงินและดำ�เนินงานให้เหมาะสม เพื่อให้ สามารถพยุงตัวให้อยู่รอด รวมถึงอาจใช้ประโยชน์จากโอกาสท่ีเกิดข้ึนในช่วงเวลาที่เลวร้าย ของวฏั จักรทางธรุ กจิ ปิโตรเคมใี หไ้ ด้ บรู ณาการรวมหนว่ ยการผลติ ผลิตภัณฑป์ ิโตรเคมี (integration) อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีทแ่ี บ่งออกเป็นขน้ั ต้น ข้ันกลาง และขน้ั ปลาย ในการประกอบกจิ การ อาจประกอบกิจการเพียงขั้นใดข้ันหนึ่ง (stand-alone) หรือเลือกที่จะมีการเชื่อมโยงให้ เกิดการประกอบการอย่างต่อเน่ือง ระหว่างอุตสาหกรรมข้ันต้น ข้ันกลาง และขั้นปลาย (integrated operation) ก็ได้ แตโ่ ดยทว่ั ไป บรู ณาการการผลติ ท�ำ ให้ความสามารถในการ แข่งขันของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีดีขึ้น เกิดการเพ่ิมประสิทธิภาพและลดต้นทุนการผลิต โดยเลอื กทำ�ใหค้ รบวงจรหรือทำ�เพียงช่วงหนึ่งก็ได้แล้วแตค่ วามเหมาะสมเป็นกรณๆี ไป สารานุกรม เปิดโลกปโิ ตรเคมี

รูปแบบบูรณาการการผลิตของผู้ประกอบการรายใดรายหน่ึง ในการจัดหาวัตถุดบิ (security of feedstock/raw material) นั้นแบ่งได้เป็นสองแบบ คือ แบบย้อนกลับไปหาวัตถุดิบ ตลอดจนมีการกระจายความเสี่ยงในการดำ�เนินธุรกิจในช่วง (backward integration) เช่น จากการผลิตผลิตภัณฑ์ เวลาทอี่ ตุ สาหกรรมแตล่ ะขนั้ มคี วามผนั ผวนตา่ งกนั เมอ่ื สภาพ ปิโตรเคมีข้นั ปลายไปส่กู ารผลิตข้นั กลางหรือข้นั ต้น และแบบ ตลาดหรอื สภาพอตุ สาหกรรมของส่วนใดสว่ นหนง่ึ มปี ญั หา 1 บูรณาการ จากการผลิตวัตถุดิบลงไปสู่ผลิตภัณฑ์แต่ละขั้น ตอ่ ไป (forward integration) เชน่ จากการผลิตผลิตภณั ฑ์ นอกจากนี้ บูรณาการการผลิตของปิโตรเคมียังมีข้อดีในด้าน ปิโตรเคมีข้ันต้นไปสู่การผลิตข้ันกลางและขั้นปลาย มีหลาย การใช้และการบริหารจัดการโครงสร้างพ้ืนฐาน ลอจิสติกส์ กรณีที่มีบูรณาการจนถึงการผลิตวัตถุดิบต้ังต้น (feedstock) และระบบสาธารณูปโภครว่ มกัน เช่น ระบบนำ�้ ไฟฟา้ ไอน้ำ� ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ทไี่ ดจ้ ากอตุ สาหกรรมปโิ ตรเลยี มดว้ ยตนเอง เชน่ การมโี รงกลนั่ โรงซอ่ มบ�ำ รงุ คลงั เกบ็ สนิ คา้ หอ้ งควบคมุ หอ้ งทดลอง ระบบ แยกคอนเดนเสท (condensate splitter) เองเพอ่ื ผลติ แนฟทา ปอ้ งกนั อคั คภี ยั ส�ำ นกั งานและอน่ื ๆ ท�ำ ใหป้ ระหยดั เงนิ ลงทนุ สำ�หรับป้อนการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ันต้น หรือการที่ และลดค่าใช้จา่ ยคงทลี่ งอยา่ งมาก โรงกลน่ั บรู ณาการไปส่ผู ลติ ภัณฑ์ปโิ ตรเคมขี น้ั ต้น เป็นต้น ด้วยเหตุที่การแข่งขันของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในตลาดโลก การบรู ณาการสายการผลติ ในบรษิ ทั ใดบรษิ ทั หนงึ่ ท�ำ ใหส้ ามารถ สูงมาก โครงการลงทุนในธุรกิจปิโตรเคมีต่างๆ ต้องเน้นการ ใช้ระบบราคาโอนถ่าย (transfer price) ในการปรับต้นทุน เสรมิ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ดังน้นั โครงการลงทนุ ของส่วนต่างๆ ของสายการผลิตเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ ปิโตรเคมีจำ�นวนมากในปัจจุบันจึงมีลักษณะท่ีมีบูรณาการ สูงสุดตลอดทุกส่วนการผลิต เร่ิมตั้งแต่วัตถุดิบต้ังต้นจนถึง การผลิตปิโตรเคมี เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ผลิตภัณฑ์ข้ันสุดท้าย ทำ�ให้มีความสามารถในการแข่งขัน อย่างไรก็ตาม ผลิตภัณฑ์ในแต่ละข้ันตอนที่จะมาเชื่อมโยงกัน สูงขึ้น ได้เปรียบเหนือผู้ผลิตผลิตภัณฑ์แบบเด่ียวโดยเฉพาะ ต่างก็มีการเพิ่มคุณค่าผลกำ�ไร และลักษณะการดำ�เนินธุรกิจ เมือ่ ตลาดของผลติ ภณั ฑ์ต่างๆ มคี วามผันผวน เพราะสามารถ แตกต่างกันออกไป ผู้ประกอบการแต่ละรายจึงต้องพิจารณา คุมปริมาณการผลิตและต้นทุนได้ทุกระดับตั้งแต่วัตถุดิบตั้งต้น เงื่อนไขและความพร้อมในการลงทุนอย่างละเอียดรอบคอบ ผลิตภัณฑ์ข้ันตน้ ข้นั กลาง และข้นั ปลาย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในแต่ละสายการผลิตปโิ ตรเคมีเปน็ แต่ละกรณีไป เม่ือสามารถผลิตวัตถุดิบได้เองทุกข้ันก็จะทำ�ให้มีความม่ันคง ปโิ ตรเคมคี อมเพล็กซใ์ น Ludwigshafen เยอรมนี 38 สารานกุ รม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี

ตวั อย่างการบรู ณาการ ปโิ ตรเลยี มและปโิ ตรเคมีในสายผลิตภณั ฑต์ า่ งๆ ของกลุ่ม ปตท. 1 ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี สารานกุ รม เปิดโลกปโิ ตรเคมี 39

ปจั จัยแห่งความสำ�เร็จของอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี สถานภาพของวตั ถุดบิ (feedstock position) โครงสร้างพ้ืนฐาน (infrastructure) การจัดหาวัตถุดิบท่ีเพียงพอในราคาที่เหมาะสมมีความสำ�คัญ แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของประเทศ 1 อย่างย่ิงในการดำ�เนินการ ซึ่งจะต้องมีเพียงพอตลอดเวลา ต่างๆ เปน็ การพัฒนาในลักษณะบรู ณาการ หรอื ท่ีเรียกกนั วา่ ในราคาทเ่ี หมาะสมและแขง่ ขนั กบั ผอู้ นื่ ได้ เพราะคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ น คอมเพล็กซ์ปิโตรเคมี จำ�เป็นต้องใช้โครงสร้างพื้นฐานและ วัตถุดิบเป็นสัดส่วนสูงที่สุด (ร้อยละ 60-70 หรือมากกว่า) สาธารณูปการตา่ งๆ รองรับหลายด้าน เรม่ิ ต้ังแต่การพัฒนา ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด จึงจัดเป็นหัวใจของการแข่งขัน พนื้ ท่ี ระบบการคมนาคมและขนสง่ เชน่ ทด่ี นิ ถนน ทางรถไฟ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ผู้ประกอบการรายใดทสี่ ามารถเข้าถงึ วัตถดุ ิบที่มีอย่างเพยี งพอ ทา่ เรือ ถงั เกบ็ ผลติ ภณั ฑ์สำ�หรับการส่งออกและนำ�เข้า ระบบ เช่ือถอื ได้ และมรี าคาถกู ก็จะไดเ้ ปรยี บผูป้ ระกอบการรายอนื่ ท่อขนส่งต่างๆ รวมถึงระบบพลังงานและสิ่งใช้สอยอ่ืนๆ อย่างมาก ประเทศที่มีทรัพยากรปิโตรเลียมมากย่อม อนั ไดแ้ ก่ ระบบไฟฟา้ ระบบเชอื้ เพลงิ ระบบนำ้�ในอตุ สาหกรรม ได้เปรียบเชิงแข่งขันด้านวัตถุดิบเหนือกว่าประเทศอื่นที่ไม่มี และอนื่ ๆ ทรัพยากรปิโตรเลียมในประเทศหรือมีอยู่น้อย ประเทศที่มี ความไดเ้ ปรยี บในเรอื่ งวตั ถดุ บิ อยา่ งเดน่ ชดั มาก ไดแ้ ก่ ประเทศ หวั ใจส�ำ คญั ของโครงสรา้ งพนื้ ฐานส�ำ หรบั การพฒั นาอตุ สาหกรรม ในกลุ่มตะวันออกกลาง ซึ่งเป็นกลุ่มประเทศท่ีมีทรัพยากร ปิโตรเคมีคือ ระบบน้ำ�และท่าเรอื เนือ่ งจากกระบวนการผลติ ปิโตรเลียมมากมาย ส่วนใหญ่เพิ่มมูลค่าให้กับก๊าซธรรมชาติ หลายกระบวนการจำ�เป็นต้องใช้น้ำ�หรือระบบหล่อเย็นต่างๆ โดยนำ�มาทำ�ปโิ ตรเคมี หลายประเทศในกลุม่ นีใ้ ชข้ ้อไดเ้ ปรียบ ปริมาณมาก และคอมเพล็กซป์ โิ ตรเคมจี ำ�เป็นตอ้ งอยู่บนพืน้ ท่ี จากปัจจัยแห่งความสำ�เร็จข้อนี้ มาขยายการลงทุนสู่ ติดชายฝ่ังทะเล เน่ืองจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมีการขนส่ง อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี เช่น ประเทศซาอุดิอาระเบีย อิหรา่ น วัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ต่างๆ ปริมาณมากทางเรือ เราจึง สาธารณรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คูเวต เป็นต้น แม้จะมีความ พบว่าคอมเพล็กซ์ปิโตรเคมีจะต้ังอยู่บริเวณพ้ืนที่ชายฝ่ังทะเล ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในประเทศไม่มาก แต่ด้วย หรอื มหาสมุทรท่มี ที า่ เรือรองรบั การขนถ่ายสินค้าและวัตถดุ ิบ ความได้เปรียบ−¼Ôด\"้¾าน²Ô¾ÎวÈัต˛ถµุดÊ©ิบ±ËตÃ้ังÃต˚ ˚้น×จÈึงÆมвâÏีค˛Ïว©าÈม² Ýไ¬ดÚ–้เ¼ป−ร®ÏียÞÚบ−ใÃâÑนÆ©ดµË้า™นÓ¬ÞÎ µÆËäµ±–¼Îܵ−Ú˛ ² Ï ต้นทุนการผลิต และสามารถสง่ ออกผลิตภณั ฑ์ปิโตรเคมเี ขา้ สู่ โรงงานปิโตรเคมีใดอยู่ในที่ท่ีมีโครงสร้างพื้นฐานและระบบ ตลาดสากลจนจัดเปน็ ผ้ผู ลติ รายใหญข่ องโลก สาธารณปู การทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพhttp://www.menainfra.com/news/middle-east-oil วตั ถดุ บิ ในราคาและคณุ ภาพท่ี http://depts.drew.edu/mideast/ round-uแpข/ ง่ ขนั ได้ และมคี วามมนั่ คงดา้ นการจดั หา กจ็ ะมคี วามไดเ้ ปรยี บ −¼Ô\"¾²Ô¾Î È˛ µÊ©±ËÃÃ˚ ˚ ×ÈÆвâÏ ˛Ï ©È² ݬږ¼−®Ï ÞÚ−ÃâÑÆ©µË™Ó¬ÞÎ µÆËäµ±–¼Îܵ−Ú˛ ² Ï สามารถลดค่าใช้จ่ายในการประกอบกิจการลงได้มาก ทำ�ให้ ตน้ ทนุ การผลติ ต�่ำ ลง โดยเฉพาะปจั จบุ นั การบรหิ ารจดั การเพอ่ื เพิ่มประสิทธิภาพระบบขนสง่ หรือลอจิสติกสต์ า่ งๆ เชน่ ถนน w.edu/mideast/ http://www.menainfra.com/news/middle-east-oil ทา่ เรอื ทางรถไฟ และระบบคลังสินค้า เป็นสิง่ ท่ีผปู้ ระกอบ round-up/ ݬږ¼−®Ï ÞÚ−ÃâÑÆ©µË™Ó¬ÞÎ µÆËäµ±–¼Îܵ−Ú˛ ² Ï การใหค้ วามส�ำ คญั มาก เนอื่ งจากตน้ ทนุ วตั ถดุ บิ หรอื เทคโนโลยี การผลิตในหลายพืน้ ท่ไี ม่แตกตา่ งกันมากนัก ดังนนั้ ในหลายๆ http://www.menainfra.com/news/middle-east-oil http:/ก/wรwwณ.abี udตha้นbi.ทmsุน/ ลอจิสติกส์จึงเป็นตัวแปรของต้นทุนการผลิตที่ round-up/ สำ�คัญ http://www.chemicals- http://www.worldmapsonline.com/classroomm technology.com/projects/jup aps/regional_maps_of_asia.htm c/jupc1.html s/jup ahpttsp/:r/e/gwiownwal._wmoarภlpdsmูม_oaิภpf_าsaoคsnialตi.nhะet.mวcoนั mอ/cอlaกssกroลomางmทม่ี ีความได้เปรhยี ttบpเ:/ร/อื่wงwวwัต.aถbuดุ dิบhaตb้งั i.ตm้นs/ปโิ ตรเคมี นอกจากความเพยี งพอและราคาแลว้ ความมนั่ คงและตอ่ เนอื่ ง ในhกttาp:ร//จwwัดwห.abาuวdhัตabถi.mุดs/ิบมาป้อนโรงงานอยู่เสมอ (feedstock/ assroomm raw material security) กม็ คี วามส�ำ คญั อยา่ งยง่ิ ตวั อยา่ งเชน่ การผลิตปิโตรเคมีขั้นกลางหรือขั้นปลายบางชนิดต้องการ วัตถุดิบจากอุตสาหกรรมข้ันต้น เช่น เอทิลีนซึ่งมีสถานภาพ เป็นก๊าซ การขนส่งและการจัดเก็บทำ�ได้ยากและมีต้นทุนสูง ความมั่นคงและต่อเน่ืองในการจัดหาวัตถุดิบที่มีต้นทุนตำ่�จึง ปัจจยั แห่งความสำ�เร็จทส่ี ำ�คัญอยา่ งย่งิ ท่าเรอื 40 สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี

1 ภาพรวมอตุ สาหกรรมปิโตรเคมี ทรพั ยากรบุคคล (human resource) บคุ ลากรจัดเปน็ ส่วนส�ำ คญั ท่ีก�ำ หนดความสำ�เรจ็ ในการด�ำ เนนิ ธรุ กจิ ปโิ ตรเคมี ตง้ั แตก่ ารวางแผนพฒั นา การบรหิ าร การด�ำ เนนิ การผลิต การตลาด ทรัพยากรบุคคลท่ีเป็นส่วนสำ�คัญที่สุด ของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีคือ บุคลากรด้านวิศวกรรมและ ฝ่ายเทคนิค เน่ืองจากอุตสาหกรรมปิโตรเคมีมีเทคโนโลยีการ ผลติ ที่ซับซ้อนและมขี นาดการผลิตใหญ่ บุคคลากรด้านนต้ี ้อง เข้าไปมีส่วนร่วม เริ่มตั้งแต่การวางแผนออกแบบโรงงาน การก่อสร้าง และท่ีสำ�คัญที่สุดคือการดำ�เนินการผลิตให้มี ประสิทธิภาพ และเมื่อมีการดำ�เนินการไปได้ระยะหน่ึงแล้ว จำ�เป็นต้องมีการทำ�วิจัยและพัฒนาเพ่ือต่อยอดเทคโนโลยี ซ่ึงหมายถึงการขยายการผลิต การปรับปรุงกระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ รวมไปถึงการควบคุมดูแลสภาวะ แวดล้อมเพ่ือแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม จึงจำ�เป็นต้อง เตรียมความพร้อมของบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาเพื่อ ยกระดับอุตสาหกรรมไปสู่การดำ�เนินธุรกิจบนพ้ืนฐานความ รมู้ ากขนึ้ อนั จะชว่ ยเพมิ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของธรุ กจิ มากย่ิงข้ึน เงนิ ทุน (capital) ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จอันหนึ่งที่มองข้ามไม่ได้คือ เงินทุน ท้ังเงินทุนในการลงทนุ ก่อสร้างโรงงาน และเงินทุนหมนุ เวยี น ในการดำ�เนินธุรกิจ เงินทุนในการจัดหาวัตถุดิบ การจัดเก็บ สนิ คา้ การใหเ้ ครดติ ลกู คา้ สงู มาก นอกจากน้ี ในชว่ งทเ่ี กดิ ความ ผนั ผวน เช่น เปน็ ขาลงของวัฏจักรปิโตรเคมี ผู้ประกอบการ ตอ้ งมเี งนิ ทนุ มากพอทจ่ี ะประคองธรุ กจิ ใหผ้ า่ นพน้ วกิ ฤตไปใหไ้ ด้ ดังน้ันผู้ท่ีมีกำ�ลังเงินทุนแข็งแกร่งและมีต้นทุนทางการเงินตำ่� ย่อมมีความได้เปรียบเชิงแข่งขัน ด้วยเหตุน้ี บริษัทที่ดำ�เนิน ธุรกิจปิโตรเคมีรายใหญ่เกือบท้ังหมดจะมีความพร้อมด้าน เงนิ ทนุ สูงมาก สารานกุ รม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี 41

ใกล้ตลาด (market) มีเทคโนโลยลี �ำ้ หน้า (technology) การมีตลาดขนาดใหญ่และไม่ไกลจากแหล่งผลิตเป็นปัจจัยท่ี แม้เทคโนโลยีท่ีใช้ผลิตปิโตรเคมีนั้นสามารถหาซื้อหรือร่วม ได้เปรียบมากสำ�หรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ท้ังน้ีเนื่องจาก ลงทนุ ได้ แต่ผูป้ ระกอบการทีเ่ ลือกใช้หรือมเี ทคโนโลยกี ารผลติ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมที มี่ กี ารใชง้ านกนั ทวั่ ไป ซง่ึ มกั เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ที่ดี เหมาะสม และมปี ระสิทธิภาพดกี วา่ ยอ่ มเร่ิมตน้ ได้ดีกว่า 1 ทม่ี รี าคาไมแ่ พงนกั แตจ่ ะมปี รมิ าณการสงั่ ซอื้ สงู คา่ ขนสง่ จดั เปน็ อย่างไรก็ดี ผู้ประกอบการมีโอกาสท่ีจะพัฒนาและปรับปรุง สัดส่วนที่สูงเทยี บกบั ต้นทนุ ผลิตภัณฑ์ ในสถานการณ์ท่ีมกี าร ต่อยอดเทคโนโลยีการผลิตให้ดีขึ้นโดยลำ�ดับ และได้เปรียบ แข่งขันรุนแรง ผู้ประกอบการต่างๆ พยายามลดต้นทุนของ ผู้ประกอบการใหม่ท่ีอาจเข้ามาแข่งขัน โดยจำ�เป็นต้องมีการ ตนให้ได้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทำ�ได้ จนในปัจจุบัน การลดต้นทุน ติดตามการเปล่ียนแปลงหรือความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี จากส่วนของการผลิตเกือบจะทำ�ต่อไปไม่ได้อีกแล้วหรือทำ�ได้ ต่างๆ เพือ่ น�ำ มาปรับปรุงระบบการผลติ ของตนให้อยู่ในระดบั น้อยมาก การบริหารลอจิสติกส์ (logistics management) แนวหนา้ โดยอาจรว่ มมอื กบั เจา้ ของเทคโนโลยเี ดมิ ทท่ี างโรงงาน จึงเป็นตัวแปรสำ�คัญที่ทำ�ให้ผู้ประกอบการแข่งขันกับผู้ผลิต ได้ซ้ือมา หรือจากการวิจัยและพัฒนาภายในหรือร่วมกับ รายอื่นได้ ทั้งท่ีเป็นตลาดต่างประเทศและตลาดในประเทศ สถาบันวิชาการ/สถาบันวิจัยภายนอก การปรับปรุงดังกล่าว ปัจจัยสำ�คัญที่ไม่สามารถมองข้ามได้คือ ขนาดของตลาดใน ส่งผลดีหลายด้าน เช่น ให้ผลผลิตสูงขึ้น ใช้วัตถุดิบลดลง ประเทศทจ่ี ะชว่ ยดดู ซบั ปรมิ าณการผลติ ขน้ั พน้ื ฐาน (baseload) คณุ ภาพผลติ ภณั ฑด์ ขี ึ้น ใชพ้ ลังงานในการผลติ ลดลง ลดการ เปน็ ขอ้ ไดเ้ ปรยี บในเชงิ พาณชิ ย แ์ ละมคี วามมน่ั คงมากกวา่ เมอ่ื สญู เสยี ในกระบวนการผลติ เปน็ ตน้ ในภาพรวม การลดตน้ ทนุ เปรียบเทียบกับตลาดส่งออกท่ีมีการแข่งขันสูงและอ่อนไหว การผลิตหรือการเพ่ิมมูลค่าของผลิตภัณฑ์เป็นจุดสำ�คัญใน ต่อสถานการณต์ า่ งๆ การแข่งขัน และอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นปลายจะมีโอกาส พัฒนาผลติ ภัณฑ์ให้แตกตา่ งหรือเพมิ่ มูลคา่ ไดม้ ากกว่า การวจิ ยั พัฒนาในอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมี 42 สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี

การประหยดั จากขนาดการผลิต (economies of scale) 1 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีเป็นอุตสาหกรรมท่ีต้องแข่งขันกันที่ต้นทุนการผลิต (ยกเว้นผลิตภัณฑ์ ปโิ ตรเคมีเกรดพเิ ศษทมี่ กี ำ�ลังการผลิตต่�ำ แต่มมี ลู คา่ เพิม่ สงู ) โรงงานขนาดใหญ่มีคา่ ใช้จ่ายใน ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี การก่อสร้างโรงงาน ค่าเครอ่ื งจกั ร ตลอดจนอปุ กรณ์ต่างๆ สูงกวา่ โรงงานขนาดเล็ก แต่เมื่อ คดิ เทยี บเปน็ ตน้ ทุนการผลิตตอ่ หนว่ ยสนิ ค้า ตน้ ทุนตอ่ หน่วยของโรงงานใหญจ่ ะต�่ำ กว่าตน้ ทุน ตอ่ หนว่ ยของโรงงานเลก็ จากความส�ำ คญั ของการประหยดั จากขนาดการผลติ ทมี่ ผี ลตอ่ ตน้ ทนุ นีเ้ องทำ�ใหน้ ับวนั การพฒั นาเทคโนโลยใี นการสร้างหน่วยการผลติ ตลอดจนเครือ่ งจกั ร และ อปุ กรณ์ต่างๆ จะเน้นการผลิตด้วยก�ำ ลังการผลิตที่มีขนาดใหญข่ ้นึ โดยล�ำ ดบั ยกตัวอยา่ งเช่น โรงงานผลิตเอทิลีนในประเทศเริ่มจากขนาดการผลิตท่ีเกิดการประหยัดจากขนาดเพียง 315,000 ตนั ตอ่ ปใี น พ.ศ. 2533 แตเ่ พิ่มขนาดขน้ึ เปน็ 1,000,000 ตันต่อปีใน พ.ศ. 2553 เป็นต้น Largest Ethylene Cracker Capacity in Thailand พันตนั ตอ่ ปี 1,200 1,000 800 600 400 800 800 1000 200 315 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2553 0 พ.ศ. 2533 ก�ำ ลงั การผลติ โรงงานเอทลิ ีนแครกเกอร์ขนาดใหญท่ ่สี ดุ ของไทยในแตล่ ะช่วงเวลา บูรณาการการผลติ ทีเ่ หมาะสม (appropriate integration) จากประโยชนข์ องบรู ณาการการผลติ ทส่ี ง่ ผลใหค้ วามสามารถในการแขง่ ขนั ของผปู้ ระกอบการ ท่ีมีการลงทุนท่ีเช่ือมโยงตลอดสายการผลิตดีกว่าผู้ประกอบท่ีมีโรงงานแบบเดี่ยว บูรณาการ สายการผลิตจะเสริมความเข้มแขง็ ในปัจจยั แห่งความส�ำ เร็จด้านวัตถดุ บิ ทัง้ ในดา้ นของความ มนั่ คงในการจดั หา การวางแผนการผลติ การขนสง่ และการจดั การลอจสิ ตกิ ส์ ท�ำ ใหไ้ ดเ้ ปรยี บ ด้านวัตถุดิบอย่างมาก นอกจากนี้ยังช่วยแบ่งภาระต้นทุนได้อีกหลายด้าน เช่น ต้นทุนการ จดั การระบบสาธารณูปโภคตา่ งๆ ต้นทนุ การซ่อมบ�ำ รุง และการทำ�วิจยั และพัฒนา เปน็ ต้น ในช่วงทต่ี ลาดมีความผันผวนมาก วัตถดุ ิบบางชนดิ เช่น เอทลิ ีน อาจมีราคาสูงมาก ทำ�ให้ ผลประกอบการของผู้ผลิตเม็ดพลาสติกพอลิเอทิลีนประสบปัญหาขาดทุนจากการดำ�เนินงาน ผปู้ ระกอบการทเ่ี ปน็ โรงงานผลติ พอลเิ อทลิ นี แบบโรงงานเดย่ี วตอ้ งประสบปญั หากบั การขาดทนุ อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แต่ผู้ประกอบการที่มีการผลิตแบบบูรณาการ คือผลิตเอทิลีนได้เอง ยังสามารถประคองธรุ กิจอยไู่ ด้ โดยอาจกำ�หนดราคาเอทลิ นี เป็นแบบราคาโอนถ่าย (transfer price) ท�ำ ให้ภาพรวมของธรุ กจิ ยงั ดำ�เนนิ การได้ ในทางตรงข้าม ในช่วงทร่ี าคาเอทิลนี ตกต่�ำ แต่ราคาเม็ดพลาสติกพอลิเอทิลีนสูงก็จะช่วยให้ประคองให้ภาพรวมยังแข่งขันได้อยู่ ดังนั้น บรู ณาการการผลติ เทา่ กบั เปน็ การกระจายความเสยี่ งทางธรุ กจิ อยา่ งหนง่ึ และท�ำ ใหผ้ ปู้ ระกอบการ มคี วามสามารถในการแขง่ ขนั และพร้อมเผชญิ กับความผันผวนของตลาดได้มากข้ึน มเี ครือข่ายธรุ กจิ – การเช่ือมโยงกับตลาดสากล (regional/global reach) การเชื่อมโยงกับตลาดสากลหรือความสามารถในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า ถือเป็นข้อได้เปรียบ อย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในตลาดส่งออก การมีเครือข่ายตลาดสากลที่ดีย่อมหมายถึง สารานุกรม เปดิ โลกปโิ ตรเคมี 43

ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี โอกาสที่จะเข้าถึงกลุ่มลูกค้าต่างประเทศได้ง่าย บริษัทที่เป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลกที่ดำ�เนิน 1 ธุรกิจปโิ ตรเคมีในตลาดโลกมาเป็นเวลานานจะมีความได้เปรียบมาก เน่ืองจากมตี ลาดทม่ี ั่นคง มปี รมิ าณการผลิตการจ�ำ หนา่ ยสงู และเครอื ขา่ ยการเช่ือมโยงทางธุรกิจท่แี ขง็ แรง โดยหลาย บริษัทมีการลงทุนกระจายตัวอยู่ทั่วโลก นอกจากนี้ การบริหารและการตลาดของบริษัท เหล่านี้มักจะดำ�เนินการตามนโยบายของบริษัทแม่ เพ่ือให้การทำ�ธุรกิจสามารถเป็นไปได้ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ อเมรกิ าเหนอื อเมรกิ าใต้ 44 สารานกุ รม เปดิ โลกปิโตรเคมี

บริษัทข้ามชาติ โดยเฉพาะบริษัทจากประเทศสหรัฐอเมริกา ยุโรปตะวันตก และญี่ปุ่น 1 เป็นผู้ท่ีดำ�เนินธุรกิจปิโตรเคมีมานาน มีประสบการณ์ วางเครือข่ายการตลาดไว้กว้างขวาง เป็นท่ีรจู้ กั และไดร้ บั ความไว้วางใจจากลูกค้า ตัวอย่างทีช่ ัดเจน ได้แก่ ประเทศญป่ี นุ่ ซึง่ ถงึ แม้ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี ขีดความสามารถในการแข่งขันในการผลิตของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในประเทศญี่ปุ่นจะลด ลง แตจ่ ากการทปี่ ระเทศญีป่ ุน่ เขา้ สธู่ รุ กจิ น้ีก่อนประเทศกำ�ลังพฒั นาอ่นื ๆ และสรา้ งเครือขา่ ย การตลาดที่ดีไว้ ตลอดจนมีศักยภาพในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า ทำ�ให้ประเทศญี่ปุ่นยังคงมี บทบาทเดน่ ในแวดวงการธุรกจิ การค้าผลติ ภณั ฑ์ปิโตรเคมีได้ ยโุ รป เอเชยี ใต้ จีน แอฟริกา ญ่ปี นุ่ อาเซียน ออสเตรเลยี ตลาดส่งออกปโิ ตรเคมีของไทย สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี 45

อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีของประเทศไทย ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี การเร่ิมตน้ ของ “ปโิ ตรเคมี” ในประเทศไทย คนไทยรจู้ กั ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมชี นดิ แรกในรปู ของสนิ คา้ พลาสตกิ สินค้าพลาสติกในยคุ แรกเรมิ่ 1 ต้ังแต่ช่วงหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เป็นเครื่องประดับสตรีท่ี ทำ�จากพลาสติก ซึ่งในสมัยนั้นถือเป็นของ “เก๋” ที่สวยงาม ทนั สมยั มาก ต่อมาเร่มิ มกี ารนำ�เขา้ เม็ดพลาสตกิ พอลเิ อทิลีน และพอลิสไตรนี โดยห้างเหรยี ญชยั เปน็ ผู้น�ำ เขา้ เม็ดพลาสตกิ จากยุโรป เชน่ บรษิ ัท ไอซไี อ บรษิ ทั มอนซานโต เป็นต้น โดยสงั่ ซื้อผ่านไตห้ วัน บรรจเุ ป็นถุงเล็กๆ และห้างเต็กเฮงเป็น ผนู้ �ำ เขา้ สนิ คา้ พลาสตกิ ชนิ้ เลก็ ๆ ทผี่ ลติ จากพอลสิ ไตรนี เชน่ หวี และพลาสติกก้อนมาหลอมแล้วขึ้นรูปใหม่ แล้วเร่ิมจำ�หน่าย เป็นธุรกิจเล็กๆ บนแผงขายส่งสินค้าพลาสติกโดยพ่อค้าใน ยา่ นส�ำ เพง็ เชน่ กล่องสบู่ ของเด็กเลน่ และอนื่ ๆ ก่อนจะ คอ่ ยพฒั นาข้นึ มาเป็นการนำ�เข้าเมด็ พลาสตกิ บริษทั ท่ถี อื เปน็ “ต�ำ นานบทส�ำ คญั ของวงการพลาสตกิ ไทย” คอื บรษิ ทั เลยี กเซง้ เทรดดงิ้ จ�ำ กดั กอ่ ตง้ั ใน พ.ศ. 2500 โดยคณุ ไพศาล ฉตั รเลขวนชิ หรือเถ้าแก่เลียก เป็นผู้นำ�เข้าเม็ดพลาสติกรายแรกท่ีจัดส่ง เมด็ พลาสตกิ ใหโ้ รงงานหลายแห่ง สว่ นใหญอ่ ยใู่ นเขตกรุงเทพ มีทั้งโรงอัด โรงเป่า และโรงฉีดพลาสติก เพื่อผลิตเป็นถุง และช้ินส่วนพลาสติกต่างๆ ท่ีเป็นผลิตภัณฑ์ที่เข้ามาแทนท่ี วัสดธุ รรมชาติ เช่น ใบตอง กระดาษ โลหะ ทำ�ให้เกดิ ความ สะดวกสบาย มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน ส่งผลให้จำ�นวนโรงงาน แปรรูปพลาสติกเพิ่มจำ�นวนขึ้นอย่างรวดเร็ว อุปสงค์เม็ด พลาสติกจึงเพ่ิมข้ึนตามไปด้วย เป็นแรงผลักดันให้เกิดการ เรม่ิ ตน้ ผลติ เมด็ พลาสตกิ ขนึ้ เองเพอ่ื ทดแทนการน�ำ เขา้ นบั เปน็ จุดเร่มิ ตน้ การพฒั นาอุตสาหกรรมปิโตรเคมใี นประเทศไทย สำ�เพ็งแหลง่ กำ�เนิดของ “ปโิ ตรเคม”ี ในไทย โรงงานปิโตรเคมีโรงแรกๆ ท่ีสร้างขึ้นในประเทศไทยจึงเป็น โรงงานผลติ เมด็ พลาสตกิ คอื โรงงานผลติ พอลไิ วนลิ คลอไรดข์ อง บรษิ ัท ไทยพลาสติกและเคมีภัณฑ์ จ�ำ กดั (มหาชน) ซง่ึ เปน็ โรงงานแรกของคนไทย เรมิ่ ผลติ ใน พ.ศ. 2514 ท่ี อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ผลิตไวนิลคลอไรด์มอนอเมอร์ขึ้นเอง ด้วยกำ�ลังการผลิต 9,000 ตนั /ปี และผลิตพอลิไวนิลคลอไรด์ ด้วยกำ�ลงั การผลิต 8,300 ตัน/ปี การเร่มิ ตน้ ด้วยเมด็ พลาสตกิ ดังกลา่ วอยู่ในลักษณะเดยี วกับประเทศกำ�ลงั พฒั นาอนื่ ๆ ท่มี กั เรมิ่ ตน้ พฒั นาอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมดี ว้ ยการกอ่ ตงั้ โรงงานผลติ เม็ดพลาสติกพอลิไวนิลคลอไรด์และพอลิสไตรีน เนื่องจาก การขนสง่ วัตถดุ บิ ท�ำ ได้ไม่ยาก อกี ท้งั เม็ดพลาสติกทง้ั สองชนดิ ยังเป็นพลาสติกเกรดธรรมดาที่นำ�ไปผลิตสินค้าได้หลากหลาย มีราคาไมแ่ พง และมีอุปสงคส์ งู โดยเฉพาะงานกอ่ สรา้ งและ งานโครงสรา้ งสาธารณูปโภค โดยน�ำ พอลิไวนิลคลอไรดม์ าใช้ ในงานระบบทอ่ ระบบประปา สายไฟฟ้า ชิน้ ส่วนอาคารอย่าง ประตู พน้ื เพดาน เปน็ ตน้ และน�ำ พอลสิ ไตรนี มาท�ำ บรรจภุ ณั ฑ์ ข้าวของเคร่ืองใช้ในครัวเรือน เช่น จาน ชาม โต๊ะ เก้าอี้ รวมถึงท�ำ ชน้ิ ส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ 46 สารานุกรม เปดิ โลกปิโตรเคมี

การพัฒนาอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมีไทยระยะต่างๆ 1 ในอดีต ก่อนการค้นพบกา๊ ซธรรมชาตใิ นอา่ วไทยประมาณ 4-6 ปี ประเทศไทย ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี มีความพยายามสร้างคอมเพล็กซ์ปิโตรเคมีที่ใช้แนฟทาเป็นวัตถุดิบที่โรงกลั่น นำ้�มันไทย (หรือโรงกลั่นน้ำ�มันไทยออยล์ในปัจจุบัน) ที่ อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี แตไ่ มป่ ระสบความส�ำ เร็จเน่อื งจากไม่สามารถแขง่ ขนั ด้านราคากับเม็ดพลาสติก นำ�เข้า จนกระท่ังการค้นพบก๊าซธรรมชาติในอ่าวไทยใน พ.ศ. 2516 และ รัฐบาลได้ตระหนกั ถงึ ความส�ำ คัญและก�ำ หนดเปน็ นโยบายเพอื่ วางแนวทางทจี่ ะ ใช้ทรัพยากรก๊าซธรรมชาติของประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเป็นการเพ่ิม มูลคา่ ก๊าซธรรมชาติ มกี ารต้ังคณะกรรมการพัฒนาพืน้ ท่ชี ายฝัง่ ทะเลตะวันออก ข้ึน เพ่ือพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศให้เป็นระบบภายใต้แผนพัฒนาพื้นที่ ชายฝัง่ ทะเลภาคตะวนั ออก รวมการพฒั นาอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมีของประเทศ โดยใช้ก๊าซธรรมชาติบางส่วนท่ีได้จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติเป็นวัตถุดิบ และ ใชพ้ นื้ ทีบ่ ริเวณมาบตาพดุ จ.ระยอง พัฒนาเปน็ นคิ มอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมหี ลกั ของประเทศต้ังแตน่ น้ั เป็นต้นมา ระยะท่ี 1 พ.ศ. 2523-2532 (ค.ศ. 1980-1989) ประเทศตอ้ งการพัฒนา พื้นที่บริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกโดยใช้ระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐานเป็น แรงผลักดันการพัฒนา และต้องการผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีข้ึนเองภายใน ประเทศเพ่ือทดแทนการนำ�เข้า มีการสร้างนิคมอุตสาหกรรมสำ�หรับปิโตรเคมี ในบริเวณมาบตาพุด จ.ระยองข้ึน การพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีใน ระยะที่ 1 เป็นการพัฒนาอุตสาหกรรมปิโตรเคมีในผลิตภัณฑ์สายโอเลฟินส์ โดยใช้บางส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากโรงแยกก๊าซธรรมชาติ คือ อีเทนและ โพรเพนมาเปน็ วตั ถดุ บิ ผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเคมใี นชว่ งนนั้ ไมม่ คี วามซบั ซอ้ นนกั ไดแ้ ก่ เอทลิ นี และโพรพิลีน เพือ่ ป้อนโรงงานเม็ดพลาสตกิ พอลเิ อทิลนี พอลิโพรพิลีน และพอลิไวนิลคลอไรด์ เพื่อผลิตชน้ิ ส่วนและสินค้าพลาสติกทีใ่ ชง้ านทว่ั ไป VCM PVC Plastic tubing PE Ethane Ethylene PP P&lasgtiocodbsag PTT NPC Pla&stgicoopdasrts GSP Propane/LPG Propylene โครงการอตุ สาหกรรมปิโตรเคมรี ะยะที่ 1 (NPC I) สารานกุ รม เปิดโลกปิโตรเคมี 47

ระยะท่ี 2 พ.ศ. 2532-2547 (ค.ศ. 1989-2004) แบ่งเป็น - ชว่ งท่ี 2 พ.ศ. 2538-2547 (ค.ศ. 1995-2004) เปน็ การ 2 ช่วง เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อเข้าสู่ตลาดโลก - ชว่ งที่ 1 พ.ศ. 2532-2538 (ค.ศ. 1989-1995) สืบเนื่องจาก ประเทศไทยพลิกบทบาทจากการเป็นผู้นำ�เข้าเม็ดพลาสติก การขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดดในช่วงน้ัน ทำ�ให้ สู่การเป็นผู้ส่งออกเม็ดพลาสติกรายสำ�คัญของเอเชียและกลุ่ม 1 เกิดอุปสงค์ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีที่หลากหลายเพ่ือรองรับการ ประเทศอาเซียน มีการเปิดเสรีอย่างเป็นระบบ ทำ�ให้บริษัท เตบิ โตของอตุ สาหกรรมอนื่ ๆ ดว้ ย จงึ เกดิ โครงการอตุ สาหกรรม เอกชนสร้างโรงงานปิโตรเคมีกันมากขึ้น และผลิตผลิตภัณฑ์ ปโิ ตรเคมรี ะยะที่ 2 ขยายการผลติ สายโอเลฟนิ สแ์ ละเรมิ่ ผลติ ปิโตรเคมีที่หลากหลาย อย่างไรก็ตามการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีในสายแอโรแมติกส์ ใช้แนฟทาที่ได้จาก ตม้ ย�ำ กงุ้ (พ.ศ. 2541 หรอื ค.ศ. 1998) เปน็ ชว่ งทผี่ ปู้ ระกอบการ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี น�้ำ มนั ปโิ ตรเลยี มและคอนเดนเสทเปน็ วตั ถดุ บิ ตง้ั ตน้ ผลติ ภณั ฑ์ ปิโตรเคมีของไทยและของโลกกำ�ลังอยู่ในช่วงขยายกำ�ลัง ปิโตรเคมีข้ันต้นในสายแอโรแมติกส์ที่สำ�คัญ คือ เบนซีน การผลิตพอดี จึงได้รับผลกระทบอย่างมาก แต่อุตสาหกรรม ทอลิวอนี และไซลนี (โดยเฉพาะพาราไซลนี ) เพือ่ เปน็ วัตถดุ บิ ปิโตรเคมีไทยก็สามารถปรับตัวฟันฝ่าอุปสรรคด้านเศรษฐกิจ ป้อนแกเ่ มด็ พลาสตกิ และเส้นใยสังเคราะห์ และยืนหยัดต่อมาไดใ้ นทส่ี ดุ From PTT, Gas PE Pl&astgicoobdasgs Plastic tubing LPG Ethylene VCM PVC Thai Olefins Propylene PP Pla&stgicoopdasrts NGL Mixed C4 MTBE,LBPGutene-1, Naphtha PS Fuel/additives Styrene ABS E&lehcotruicsinagppmliaanrckeets PTT & Import Pygas Raffinate PTA Autommoatrivkeet parts PA Polyester Textilem&arkgeatrment Condensate Thai Aromatics Plasticizer Rpeliansftoicrcemdarfkibeetr FRN Export Export Users Hydrogen Benzene PTT/E/Rxpeofinrtery p-Xylene Gas Solvents Light naphtha o-Xylene Condensate p-Xylene residue Benzene Toluene Mixed xylenes Heavy aromatics โครงการอุตสาหกรรมปิโตรเคมรี ะยะท่ี 2 (NPC II) ระยะที่ 3 พ.ศ. 2547-ปัจจุบัน (ค.ศ. 2004-ปจั จบุ ัน) เปน็ การปรบั ตัวเพื่อรองรับการแข่งขนั อย่าง รนุ แรง โดยเชอื่ มโยงสายการผลิตตงั้ แตว่ ตั ถดุ ิบ ปโิ ตรเคมีข้ันต้น ขั้นกลาง และขน้ั ปลายอย่างครบวงจร มีการพัฒนาเป็นกลุ่ม เกิดความร่วมมือทางธุรกิจทั้งระหว่างบริษัทในประเทศและต่างประเทศมากข้ึน จนเหลือเพยี งกลมุ่ บรษิ ัทใหญใ่ นอตุ สาหกรรมน้เี พยี งไม่กกี่ ลุ่ม ในช่วงน้ีเกิดการขยายตัวระลอกใหญข่ อง อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมไี ทยขนึ้ อกี ครงั้ ทง้ั ชนดิ ผลติ ภณั ฑท์ มี่ คี วามหลากหลาย จากปโิ ตรเคมเี กรดธรรมดา ไปส่ผู ลิตภัณฑ์ปโิ ตรเคมเี กรดพิเศษ หรอื ผลิตภณั ฑใ์ หม่ๆ มากข้ึน การใชเ้ ทคโนโลยีท่ีทนั สมัยและกำ�ลัง การผลิตท่ีมีขนาดเทียบเคียงกำ�ลังการผลิตขนาดใหญ่ในโลก (world scale) เพ่ือรองรับทั้งตลาดใน ประเทศและตลาดส่งออก รวมทง้ั มีการขยายการลงทุนไปในต่างประเทศ เชน่ เวยี ดนาม และอหิ รา่ น เป็นต้น เป็นส่ิงพิสูจน์ถึงขีดความสามารถในการแข่งขันในระดับสากลของอุตสาหกรรมปิโตรเคมีไทย ขณะเดยี วกนั กต็ อ้ งเผชญิ กบั กลมุ่ ผผู้ ลติ ทม่ี คี วามไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั ทางวตั ถดุ บิ อยา่ งตะวนั ออกกลาง หรอื จากการที่ตลาดขนาดใหญอ่ ยา่ งสาธารณรัฐประชาชนจีนกพ็ ่งึ พาตวั เองไดม้ ากข้นึ ตามล�ำ ดับ รวมไป ถึงความท้าทายจากปัจจัยอ่ืนๆ เช่น ส่ิงแวดล้อม และมาตรการกีดกันการค้าต่างๆ ด้วย จึงเป็น ช่วงเวลาทีท่ ้าทายอุตสาหกรรมปโิ ตรเคมไี ทยอยา่ งมาก 48 สารานุกรม เปิดโลกปโิ ตรเคมี

1 ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี คอมเพล็กซป์ โิ ตรเคมใี นประเทศไทยใน พ.ศ. 2553 49 สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี

รายชอื่ บรษิ ทั ในรปู คอมเพล็กซป์ โิ ตรเคมใี นประเทศไทยใน พ.ศ. 2553 ชือ่ ภาษาองั กฤษ ช่อื ภาษาไทย Aditya Birla Chemicals (Thailand) Ltd. บริษทั อดิตยา เบอร์ล่า เคมคี ลั ส์ (ประเทศไทย) จำ�กดั 1 AO Chemical บรษิ ทั เอโอ เคมิคอลส์ จ�ำ กดั Apex Petrochemical Co., Ltd. (Apex) บรษิ ัท เอเพ็ค ปิโตรเคมคิ อล จำ�กัด Asia Fibre Co., Ltd. บรษิ ัท เอเชยี ไฟเบอร์ จำ�กดั มหาชน Bangkok Polyester Plc. บริษัท บางกอกโพลเี อสเตอร์ จํากดั (มหาชน) ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี Bangkok Polyethylene Plc. (BPE) บริษัท บางกอกโพลเี อททลิ นี จ�ำ กัด (มหาชน) Bangkok Synthetics Co., Ltd. (BST) บริษัท กรงุ เทพ ซินธิติกส์ จ�ำ กดั Bayer Thai บรษิ ัท ไบเออรไ์ ทย จ�ำ กัด BST Elastomer Co., Ltd. บรษิ ัท บเี อสที อลิ าสโตเมอร์ จำ�กัด Chiem Patana Synthetic Fibers Co., Ltd. บรษิ ทั เจยี มพฒั นาซินเธทคิ ไฟเบอร์ จำ�กดั Chiem Patana Textiles Co., Ltd. บริษทั เจียมพัฒนาเทก็ ซไ์ ทล์ส จ�ำ กัด Continental Petrochemicals (Thailand) Co., Ltd. บริษทั คอนทิเนนทอล ปิโตรเคมีคอล (ประเทศไทย) จำ�กัด Cytec Industries (Thailand) Co., Ltd. บริษัท ไซเทค อนิ ดสั ตรสี ์ (ประเทศไทย) จ�ำ กดั Dia Polyacrylate Co., Ltd บรษิ ทั ไดอะโพลอี ะครเิ ลต จ�ำ กดั Diforce Chemie Co., Ltd. บรษิ ัท ไดฟอร์ซเคมี จ�ำ กัด Dow Chemical Thailand Co., Ltd. บริษัท ดาวเคมิคอล ประเทศไทย จ�ำ กัด Eternal Resin Co., Ltd. บริษัท อีเทอนลั เรซ่นิ จำ�กัด ExxonMobil Chemical (Thailand) Limited บริษัท เอก็ ซอนโมบลิ เคมี (ประเทศไทย) จำ�กดั HMC Polymers Co., Ltd. (HMC) บรษิ ทั เอ็ชเอ็มซี โปลีเมอส์ จำ�กัด Indorama Polyester Industries Plc. บรษิ ทั อินโดรามา โพลเี อสเตอร์ อินดสั ตร้ีส์ จ�ำ กัด (มหาชน) Indorama Polymers Plc. บริษทั อินโดรามา โพลีเมอรส์ จ�ำ กดั (มหาชน) INEOS ABS (Thailand) Co., Ltd. บรษิ ัท อนิ นอิ อส เอบีเอส (ประเทศไทย) จำ�กัด IRPC Plc. (IRPC) บริษัท ไออารพ์ ซี ี จ�ำ กัด (มหาชน) IRPC Polyol Co., Ltd. บริษทั ไออารพ์ ีซี โพลอี อล จาํ กดั Kangwal Polyester Co., Ltd. บรษิ ัท กังวาลโพลีเอสเตอร์ จ�ำ กดั Map Ta Phut Olefins Co., Ltd. (MOC) บรษิ ทั มาบตาพดุ โอเลฟินส์ จำ�กดั Ming Dih Chemical Co., Ltd. บรษิ ัท หมิงต้เี คมคี อล จ�ำ กัด Pacific Plastic (Thailand) Co., Ltd. บรษิ ัท แปซิฟคิ พลาสตคิ ส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด Polyplex (Thailand) Plc. บริษัท โพลีเพลก็ ซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด (มหาชน) PTT Aromatics and Refining Plc. (PTTAR) บรษิ ัท ปตท. อะโรเมตกิ สแ์ ละการกลั่น จ�ำ กดั (มหาชน) PTT Asahi Chemical Co., Ltd. บรษิ ทั พีทีที อาซาฮี เคมีคอล จ�ำ กัด PTT Chemical Plc. (PTTCH) บริษทั ปตท. เคมิคอล จ�ำ กัด (มหาชน) PTT Phenol Co., Ltd. บริษทั พีทีที ฟีนอล จ�ำ กัด PTT Polyethylene Co., Ltd. (PTTPE) บรษิ ัท พที ีที โพลีเอทิลีน จ�ำ กดั Rayong Olefins Co., Ltd. (ROC) บรษิ ัท ระยองโอเลฟนิ ส์ จ�ำ กดั Sand and Soil Industry Co., Ltd. บริษัท แซนด์แอนดซ์ อยล์ อตุ สาหกรรม จำ�กัด Siam Chemical Industry Co., Ltd. บริษัท สยามเคมคี อลอนิ ดัสตร้ี จ�ำ กดั Siam Mitsui PTA Co., Ltd. บริษทั สยาม มติ ซุย พีทเี อ จ�ำ กดั Siam Polyethylene Co., Ltd. (SPE) บรษิ ทั สยามโพลเี อททีลนี จ�ำ กดั Siam Polystyrene Co., Ltd. บรษิ ทั สยามโพลีสไตรนี จำ�กดั Siam Styrene Monomer Co., Ltd. (SSMC) บริษทั สยามสไตรีนโมโนเมอร์ จ�ำ กดั Siam Synthetic Latex Co., Ltd. (SSLC) บรษิ ัท สยามเลเทกซ์สังเคราะห์ จ�ำ กดั Siam Tire Cord Co., Ltd. บรษิ ัท สยามไทร์คอร์ด จำ�กัด South City Petrochem Co., Ltd. บรษิ ทั เซา้ ท์ ซติ ้ี ปโิ ตรเคม จำ�กดั 50 สารานกุ รม เปิดโลกปิโตรเคมี

ชือ่ ภาษาอังกฤษ ชอื่ ภาษาไทย 1 ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี Sunflag (Thailand) Co., Ltd. บรษิ ทั ซนั แฟลค (ประเทศไทย) จำ�กดั Teijin Polyester (Thailand) Co., Ltd. บริษัท เทยิน โพลเี อสเตอร์ จ�ำ กัด 51 Thai ABS Co., Ltd. บรษิ ทั ไทย เอบีเอส จำ�กัด Thai Acrylic Fibre Co., Ltd. บรษิ ทั ไทย อครลิ ิค ไฟเบอร์ จำ�กดั Thai Baroda Industries Co., Ltd. บรษิ ทั ไทย บาโรด้า อินดัสตร้สี ์ จำ�กัด Thai Chemical Co., Ltd. บรษิ ทั ไทยเคมภี ณั ฑ์ จ�ำ กัด Thai Ethanolamine Co., Ltd. บริษัท ไทยเอทานอลเอมีน จำ�กัด Thai Etoxylate Co., Ltd. บรษิ ทั ไทย อที อกซเี ลท จ�ำ กัด Thai Indo Kordsa Co., Ltd. บรษิ ัท ไทย อินโด คอร์ดซา่ จำ�กดั Thai Mitsui Specialty Chemical Co., Ltd. บรษิ ัท ไทยมติ ซุยสเปเชยี ลต้เี คมคี อล จ�ำ กัด Thai MMA Co., Ltd. บรษิ ัท ไทย เอม็ เอ็มเอ จ�ำ กัด Thai Paraxylene Co., Ltd. (TPX) บรษิ ัท ไทยพาราไซลนี จำ�กัด Thai Pet Resin Co., Ltd. บริษัท ไทย เพท็ เรซิน จำ�กดั Thai Plastic and Chemicals Plc. (TPC) บริษัท ไทยพลาสติกและเคมภี ัณฑ์ จำ�กัด (มหาชน) Thai Polyacetal Co., Ltd. (TPAC) บริษัท ไทยโพลีอะซีทลั จำ�กัด Thai Polycarbonate Co., Ltd. (TPCC) บริษัท ไทยโพลคี ารบ์ อเนต จ�ำ กัด Thai Polyester Co., Ltd. บริษัท ไทยโพลีเอสเตอร์ จำ�กดั Thai Polyethylene Co., Ltd. (TPE) บริษทั ไทยโพลเิ อททลี ีน จำ�กัด Thai Polymer Textile Co., Ltd. บรษิ ทั ไทยโพลเิ มอรเ์ ท็กซ์ไทล์ จ�ำ กดั Thai Polypropylene Co., Ltd. (TPP) บรษิ ทั ไทยโพลโิ พรไพลีน จำ�กดั Thai Polyset Co., Ltd. บรษิ ทั ไทยโพลเี ซ็ท จ�ำ กดั Thai Shinkong Corp., Ltd. บรษิ ทั ไทยชนิ กงอนิ ดัสตรี คอรป์ อเรชัน่ จ�ำ กัด Thai Styrenics Co., Ltd. บรษิ ัท ไทยสไตรีนิคส์ จ�ำ กดั Thai Synthetic Rubbers Co., Ltd. บริษัท ยางสังเคราะหไ์ ทย จ�ำ กดั Thai Taffeta Co., Ltd. บริษทั ไทยแทฟฟิตา้ จำ�กดั Thai Toray Synthetics Co., Ltd. (TORAY) บริษัท ไทย โทเรย์ ซนิ ธิติกส์ จำ�กดั Thai Urethane Co., Ltd. บรษิ ทั ไทยยูรเี ทนพลาสตกิ จำ�กัด TOA Chemical Industry Co., Ltd. บรษิ ทั ทโี อเอ เคมิคอล อนิ ดสั ตรสี ์ จำ�กดั TOC Glycol Co., Ltd. (TOCGC) บริษทั ทีโอซี ไกลคอล จำ�กัด Toray Nylon Thai Co., Ltd. บริษัท โทเร ไนล่อน ไทย จ�ำ กัด TPC Paste Resin Co., Ltd. บริษัท ทพี ีซี เพสต์ เรซิน จำ�กัด TPI Polene Plc. บริษัท ทพี ีไอ โพลนี จ�ำ กัด (มหาชน) TPT Petrochemicals Plc. (TPT) บรษิ ัท ทีพีที ปโิ ตรเคมคิ อลส์ จำ�กัด (มหาชน) Ube Chemicals (Asia) Plc. (UBE) บริษัท อูเบะ เคมคิ อลส์ (เอเชีย) จาํ กดั (มหาชน) UR Chemical Co., Ltd. บรษิ ัท ยอู าร์ เคมีคอล จำ�กดั Vinylthai Plc. (VNT) บริษัท วีนิไทย จำ�กดั (มหาชน) โรงกลัน่ และโรงแยกกา๊ ซธรรมชาติทส่ี ่งวัตถุดบิ ให้โรงงานปิโตรเคมี Bangchak Petroleum Plc. (BCP) บรษิ ทั บางจากปิโตรเลียม จ�ำ กัด (มหาชน) ExxonMobil Co., Ltd (ExxonMobil) บริษทั เอก็ ซอนโมบลิ จำ�กดั PTT Gas Separation Plant (PTT GSP) โรงแยกก๊าซธรรมชาติ บรษิ ทั ปตท. จ�ำ กดั (มหาชน) Rayong Purifier Plc. (RRC) บรษิ ทั ระยองเพยี วริฟายเออร์ จ�ำ กัด (มหาชน) Star Petroleum Refining (SPRC) บริษทั สตาร์ ปโิ ตรเลยี ม รไี ฟนน์ ิ่ง จำ�กัด Thai Oil Plc. (TOP) บริษัท ไทยออยล์ จำ�กดั (มหาชน) สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี

ล�ำ ดบั เหตกุ ารณ์สำ�คญั : การพัฒนาปโิ ตรเคมขี องประเทศไทย พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2514 พ.ศ. 2516 พ.ศ. 2521 1 กอ่ ตง้ั บริษทั ไทยพลาสติก โรงงานพอลิไวนิลอะซิเตท โรงงานผลติ เมด็ พลาสติก บริษทั ยเู นียนออยลอ์ อฟ- จัดตัง้ การปโิ ตรเลียมแห่ง และเคมีภณั ฑ์ จ�ำ กดั และโรงงานพอลเิ อสเทอร์ พอลิไวนลิ คลอไรด์ของ ไทยแลนด์ จำ�กดั เจาะพบ ประเทศไทย โดยรวม ซึ่งเปน็ บรษิ ัทปิโตรเคมขี อง ชนิดไมอ่ ิม่ ตัวของ บรษิ ัท ไทยพลาสติก แหล่งก๊าซธรรมชาติและ องค์การเชอ้ื เพลงิ และ ภาพรวมอตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมี คนไทยบริษทั แรก บรษิ ัท Hoechst และเคมีภณั ฑ์ จำ�กดั คอนเดนเสทเปน็ ครั้งแรกที่ องค์การก๊าซธรรมชาตแิ ห่ง Chemical Industries ซึ่งเป็นโรงงานปโิ ตรเคมี แหลง่ เอราวัณ ในอ่าวไทย ประเทศไทยไว้ด้วยกัน เริม่ การผลิต โรงแรกของคนไทย เปน็ จดุ เริ่มต้นการน�ำ เริ่มด�ำ เนินการผลิต ทรัพยากรในอ่าวไทยมา ก่อตัง้ บริษัท อตุ สาหกรรม ใช้พัฒนาอุตสาหกรรม ปโิ ตรเคมีกลั ไทย จ�ำ กัด ปโิ ตรเลยี ม และได้ หรือ TPI ตอ่ ยอดมาใชเ้ ป็นวตั ถดุ ิบ แก่ปิโตรเคมใี นเวลาตอ่ มา พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2542 พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2548 เกดิ วกิ ฤตทางการเงนิ คอมเพลก็ ซ์ปโิ ตรเคมขี อง คอมเพลก็ ซ์ปิโตรเคมขี อง ก้าวเข้าสชู่ ว่ งของการ บริษัท ไทยโอเลฟนิ ส์ (Tom Yum Kung บริษัท ปโิ ตรเคมกี ลั ไทย บริษัท ระยองโอเลฟินส์ พฒั นาอุตสาหกรรม จ�ำ กดั (มหาชน) หรอื Crisis) เศรษฐกจิ ถดถอย จำ�กัด (มหาชน) หรือ จ�ำ กัด หรอื ROC ในเครือ ปิโตรเคมีระยะท่ี 3 TOC ควบรวมกจิ การกบั อุปสงคผ์ ลิตภัณฑป์ โิ ตรเคมี TPI เรมิ่ ด�ำ เนินกจิ การ ปูนซเิ มนตไ์ ทยเร่มิ ด�ำ เนิน พ.ศ. 2547-ปจั จบุ ัน บรษิ ัท ปโิ ตรเคมีแห่งชาติ ปรับลดลงทั่วโลก โรงงานแนฟทาแครกเกอร์ กจิ การโรงงาน จำ�กัด (มหาชน) หรอื แนฟทาแครกเกอร์ NPC และเปลีย่ นชื่อ ประเทศไทยเปลย่ี น โรงงานแอโรแมตกิ ส์ เปน็ บรษิ ทั ปตท. เคมิคัล สถานภาพจากประเทศ ขัน้ ต้นทีเ่ ชอ่ื มโยงกบั โรงงานแอโรแมติกส์ จำ�กดั (มหาชน) หรือ ผ้นู ำ�เขา้ ผลติ ภณั ฑ์ โรงกล่ันของบริษัท ที่เช่อื มโยงกับโรงกลั่น PTTChem ปิโตรเคมสี ุทธิเป็น ไทยพาราไซลีน จ�ำ กัด ของบริษัท เอสโซ่ วกิ ฤตการณ์ขาดนำ�้ ประเทศผูส้ ่งออก ซ่ึงเป็นบรษิ ทั ลกู ของ (ประเทศไทย) จำ�กดั กระทบกระเทอื นการผลติ ผลิตภณั ฑป์ โิ ตรเคมสี ุทธิ บรษิ ัท ไทยออยล์ จ�ำ กดั (มหาชน) เรมิ่ ด�ำ เนนิ ของบริษัทปิโตรเคมีตา่ งๆ (มหาชน) เริ่มด�ำ เนิน การผลิต ในมาบตาพดุ บริษัท ไทยโพลอี ะซีทัล การผลติ จำ�กัด เปดิ โรงงาน ผลิตเม็ดพลาสตกิ พอลิออกซีเมทลิ ีน ถอื เปน็ โรงงานผลติ เม็ดพลาสติก วศิ วกรรมโรงแรก บรษิ ทั ไทยอะโรเมตกิ ส์ จำ�กัด (TAC) ซง่ึ ต่อมา ไดเ้ ปลย่ี นชื่อเปน็ บริษัท อะโรเมตกิ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำ กดั (มหาชน) หรอื ATC เปดิ ดำ�เนินการโรงงานผลิต แอโรแมติกส์ขัน้ ต้น (BTX) 52 สารานุกรม เปิดโลกปิโตรเคมี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook