หลกั เกณฑก์ ารแปลบาลี เพอื่ การวจิ ยั ทางพระพทุ ธศาสนา เหมาะสาหรบั : ผศู ้ กึ ษาภาษาบาลเี พอื่ การคน้ ควา้ พระพทุ ธศาสนา ผตู ้ อ้ งการศกึ ษาภาษาบาลดี า้ นการแปลดว้ ยตนเอง ครู และอาจารยท์ ส่ี อนแปลภาษาบาลเี ป็ นไทย ตงั้ แตป่ ระโยค ๑-๒ ถงึ ประโยคเปรยี ญธรรม ๙ นักเรยี น นสิ ติ หรอื นักศกึ ษา ทศี่ กึ ษาดา้ นการแปลภาษาบาลี หอ้ งสมดุ ของสถาบนั การศกึ ษาทมี่ กี ารเรยี นการสอนภาษาบาลี หอ้ งสมดุ ของวดั ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะวดั ทมี่ สี านักเรยี น และมกี ารเรยี นการ สอนภาษาบาลี สวุ ทิ ย์ ภาณุจารี
สาระสาคญั ในเลม่ ในหนังสอื เลม่ นี้ ผเู ้ ขยี นไดน้ าเสนอเนอ้ื หาสาระสาคญั เกย่ี วกับหลักเกณฑก์ ารแปลบาลีเป็ นไทย บอกวธิ ีการ แปลบาลเี ป็ นไทย และใหต้ ัวอย่างการแปลบาลเี ป็ นไทย ทัง้ การแปลโดยพยัญชนะและการแปลโดยอรรถไวม้ าก ซ ึ่ง มี ข อ บ ข่ า ย ค ร อ บ ค ลุ ม ตั ว เ นื้ อ ห า ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ชั ้น ประโยค ๑-๒ ถงึ ประโยคเปรยี ญธรรม ๙ โดยตรง
หลกั เกณฑก์ ารแปลบาลี เพอ่ื การวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนา
หลกั เกณฑก์ ารแปลบาลี เพอ่ื การวจิ ยั ทางพระพทุ ธศาสนา ผเู้ ขยี น: รองศาสตราจารย์ ดร.สุวทิ ย์ ภาณจุ ารี ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๒๐๘-๑๕๐-๗ พมิ พ์ครง้ั แรก: พ.ศ. ๒๕๖๕ จานวนหน้า: ๔๘๙ หน้า สงวนลิขสิทธต์ิ ามกฎหมาย จัดพมิ พ์โดย: บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั ๒๔๘ หมู่ 1 ถนนศาลายา-นครชัยศรี ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม ๗๓๑๗๐ พมิ พ์ท:่ี JPRINT ๙๔ ถนนมหาราช เขตพระนคร แขวงพระบรมมหาราชวงั กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๐๐ โทร. ๐-๒๒๒๓-๔๓๖๘ ราคา ๒๕๐ บาท
คำนำ หนังสือเร่ือง “หลกั เกณฑก์ ารแปลบาลี เพือ่ การวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนา” เล่มน้ี ผ้เู ขยี นได้ ปรับปรุงมาจากหนังสืออ่าน-แปลภาษาบาลีของผู้เขียนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ครูอาจารย์ผู้สอน ภาษาบาลีและนักศึกษาภาษาบาลีได้ใช้เป็นคู่มือในการสอนและศึกษาด้านการแปลภาษาบาลี ต้ังแต่ ระดับประโยค ๑-๒ ถึง ประโยคเปรยี ญธรรม ๙ หรือต้งั แตร่ ะดบั ต้นถงึ ระดบั สงู ของการศกึ ษาภาษาบาลี ในฝ่ายของคณะสงฆ์ไทย ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนได้นาเสนอหลักเกณฑ์การแปลบาลี บอกวิธีการแปลบาลี และให้ ตัวอย่างการแปลบาลีเป็นไทยไว้มาก ซ่ึงมีขอบข่ายครอบคลุมตัวเน้ือหาของหลักสูตรชั้นประโยค ๑-๒ ถงึ ประโยคเปรียญธรรม ๙ โดยตรง ตวั อย่างการแปลบาลีเป็นไทยทีใ่ ห้ไวใ้ นหนงั สือเล่มนี้ สว่ นใหญ่เปน็ การแปลโดยพยัญชนะ (Literal Translation) หรือการแปลแบบคาต่อคา ซงึ่ ไดค้ านงึ ถงึ ลักษณะของคา (Words) วลี (Phrases) อนุประโยค (Clauses) ประโยค (Sentences) และหลักเกณฑ์ทางไวยากรณ์ บาลีเป็นสาคัญ เพราะภาษาบาลีเป็นภาษาที่ใช้จารึกพระพุทธวจนะ มีกฎเกณฑ์คงท่ีแน่นอน การแปล จึงเน้นการถ่ายทอดตามต้นฉบับ เน้นความเข้าใจรากศัพท์ และความหมายที่ถูกต้องตรงกับต้นฉบับมาก ท่ีสุด อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างใดที่แปลโดยพยัญชนะแล้วเห็นว่ายากที่จะเข้าใจความหมาย ก็ได้แปล ตัวอย่างนั้นซ้าอีกโดยอรรถ (Meaning-based Translation) โดยคานึงถึงความหมาย ความเข้าใจ และ ความถกู ตอ้ งเป็นหลกั ฉะนน้ั บางตวั อย่างอาจจะมีเฉพาะการแปลโดยพยัญชนะหรือบางตัวอย่างอาจจะ มที ั้งการแปลโดยพยัญชนะและการแปลโดยอรรถ นอกจากนี้ ผู้เขียนยังได้จัดทาแบบฝึกหัดไว้สาหรับนักเรียนหรือนักศึกษาด้านการแปลภาษา บาลเี พือ่ ฝกึ ฝนการแปลในแตล่ ะบทแต่ละตอนพร้อมทั้งจัดทาเฉลยแบบฝึกหดั ไว้เพ่ืออานวยความสะดวก แก่นักเรยี นหรอื นักศึกษาผู้ประสงค์จะศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเองอีกด้วย หวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือเล่มน้ีจะสามารถใช้เป็นคู่มือประกอบการเรียนการสอนตาม หลักสตู ร และอานวยประโยชนใ์ หแ้ ก่ครู นักเรยี น หรือนกั ศกึ ษาดา้ นการแปลภาษาบาลไี ด้เปน็ อยา่ งดี สุวิทย์ ภาณุจารี อาจารย์ประจาหลักสูตร สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
ขอ้ ควรทราบ ๑. หนังสือเร่ือง “หลักเกณฑ์การแปลบาลีเพ่ือการวิจัยทางพระพุทธศาสนา” เล่มนี้ ผู้เขียน ได้อาศัยประสบการณ์ที่ได้สอนนักเรียนนักศึกษามาเป็นเวลานาน และศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมเพื่อให้ได้ หลักเกณฑ์ในการแปลท่ีถูกต้องชดั เจน แล้วเรียงเน้ือหาตามหลักเกณฑ์การแปลบาลีเป็นไทย ซ่ึงถือว่าได้ จัดไว้อย่างครบถ้วนและเป็นระบบ จึงเหมาะสาหรับนักเรียนนักศึกษาที่ต้องใช้ประกอบการศึกษาใน รายวิชาแปลบาลีเป็นไทย หรือนักเรียนนักศึกษาที่ต้องการศึกษาวิชาการแปลบาลีเป็นไทย ส่วนผู้สนใจ วิชาการแปลบาลีเป็นไทยท่ัวไปก็สามารถใช้หนงั สือเล่มน้ีให้เป็นประโยชน์ได้ โดยอาจเลือกศึกษาบทใด บทหนึ่งที่น่าสนใจหรือท่ีเห็นว่าเข้าใจง่ายก่อน เช่น ถ้ายังเป็นผู้ใหม่ในการศึกษาเรื่องการแปลบาลีเป็น ไทย ก็อาจเรมิ่ ท่บี ทท่ี ๒ (การแปลวิภตั ติอาขยาต) เป็นตน้ ท้งั น้ีกส็ ุดแล้วแต่ผูส้ นใจจะพจิ ารณา ๒. การเขยี นพยญั ชนะบาลใี นหนังสอื เลม่ น้ี ใช้หลักท่ัวไป ซ่งึ อาจสรุปได้ ๒ วิธี ดังนี้ ๒.๑ ถ้าเป็นพยัญชนะท่ีอาศัยสระหรือมีสระอยู่ด้วย จะไม่มี . (พินทุ) ปรากฏอยู่ด้านล่าง ของพยัญชนะ เชน่ ก, กา, ก,ิ กี (ก = ก+ฺ อ, กา = กฺ+อา, กิ = กฺ+อิ, กี = กฺ+อี) ฯลฯ ๒.๒ แต่ถ้าเป็นพยัญชนะท่ีไม่อาศัยสระหรือไม่มีสระอยู่ด้วย จะมี . (พินทุ) ปรากฏอยู่ ดา้ นลา่ งของพยัญชนะ เชน่ กฺ, ขฺ, คฺ ฯลฯ และ กรณที ี่ ๒ นี้ มกั นิยมใช้กบั พยัญชนะทีส่ ุดธาตดุ ว้ ย เช่น จรุ ฺ ธาตุ คมฺ ธาตุ ฯลฯ ซึ่งตัว รฺ และ มฺ ไม่มีสระ อ เป็นตัวธาตุล้วน ๆ พร้อมท่ีจะนาไปประกอบด้วยปัจจัย และวภิ ตั ตไิ ด้ต่อไป ๓. ในหนงั สือเล่มนี้ ใช้คาวา่ “กริยา” แทนคาวา่ “กริ ยิ า” ทุกแหง่ เช่น คาว่า “กิริยาอาขยาต” ใช้คาว่า “กริยาอาขยาต” คาว่า “กิริยากิตก์” ใช้คาว่า “กริยากิตก์” เป็นต้น ซึ่งเป็นการใช้ตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ (๒๕๕๖: ๖๘, ๑๓๑) ที่ได้ให้ความหมายไว้ว่า คาว่า “กริยา” หมายถึง คาที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม ส่วนคาว่า “กิริยา” หมายถึง อาการที่ แสดงออกมาทางกาย หรือมารยาท เช่น กิริยานอบน้อม กิริยาทราม ฯลฯ ดังน้ัน เมื่อพิจารณาดู ความหมายแล้ว เห็นว่าถ้าจะใช้คาให้สื่อความหมายว่าเป็นการกระทาของบทประธานหรือตัวกัตตาใน ประโยคทางภาษา ก็ควรใช้คาว่า “กริยา” ซึ่งน่าจะส่ือความหมายได้ถูกต้องมากกว่าการใช้คาว่า “กิริยา” อย่างไรก็ตาม ในวงการศึกษาภาษาบาลีแห่งคณะสงฆ์ไทย ยังนิยมใช้คาว่า “กิริยา” ใน ความหมายที่เป็นการกระทาของบทประธานหรือตัวกัตตาในประโยคจนถื อเป็นแบบอย่างท่ีถูกต้อง ตามปกติ เชน่ กริ ิยาอาขยาต กริ ยิ ากิตก์ ปพุ พกาลกิริยา ฯลฯ ฉะนัน้ พงึ ทราบวา่ ใช้ได้ทั้งสองแบบ ๔. ตัวเลขที่แสดงถึงการอ้างอิงในหนังสือเล่มนี้ เป็นการสื่อถึง ชื่อคัมภีร์ เล่ม/ภาค และหน้า ซึ่งส่วนใหญ่จะใส่ไว้ในวงเล็บหลังประโยคหรือข้อความภาษาบาลีท่ียกมาเพ่ือเป็นตัวอย่างการแปล เช่น ตมห พฺรูมิ พฺราหฺมณ. (๘/๑๘๙) ตัวเลข ๘/๑๘๙ ในวงเล็บ หมายถึง คัมภีร์ธัมมปทัฏฐถา ภาค ๘ หน้า ๑๘๙ แต่ถ้าเป็นคัมภีร์อ่ืน ๆ จะมีอักษรย่อช่ือคัมภีร์อยู่ด้วย เช่น เต หิ ยทิ อปาเยเสฺวว สสีทาเปยฺย. (มงฺคลตฺถ. ๑/๑๗๕) อกั ษรยอ่ ในวงเล็บวา่ “มงฺคลตถฺ ” หมายถึง คัมภรี ์มังคลตั ถทีปนี เล่ม ๑ หนา้ ๑๗๕ ๕. คาศัพท์ภาษาอังกฤษบางคาท้ังท่ีอยู่ในวงเล็บและนอกวงเล็บรวมท้ังตัวอย่างการแปล ประโยคภาษาอังกฤษบางประโยค ได้นามาแสดงไว้ในหนังสือเล่มนี้ด้วย ทั้งน้ีก็เพ่ือมุ่งหวังจะให้นักเรียน
นักศึกษาหรือผู้ที่มีความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษอยู่แล้ว สามารถเข้าใจกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์หรือ คาศัพท์เฉพาะทางภาษาบาลีได้ดียิ่งขึ้น และเข้าใจการแปลประโยคภาษาบาลีบางประโยคได้ดีข้ึนด้วย ดังน้ัน โดยวิธีน้ี จึงเป็นการช่วยอธิบายประกอบความเข้าใจ และขยายความรู้ของนกั เรยี นนกั ศึกษาหรือ ผู้สนใจให้กว้างขึ้น ส่วนผู้ที่ไม่มีพ้ืนความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ ก็สามารถข้ามไปได้โดยจะไม่มี ผลกระทบต่อการศึกษาเร่อื งการแปลบาลีเปน็ ไทยแต่อย่างใด
อกั ษรยอ่ ทใี่ ช้ อ. = อันวา่ ป. = ปฐมาภตั ติ ท. = ท้งั หลาย ทุ. = ทตุ ยิ าวภิ ตั ติ ป. = ปฐมบรุ ษุ ต. = ตตยิ าวภิ ัตติ ม. = มัธยมบุรษุ จ. = จตุตถีวิภัตติ อ.ุ = อุตตมบุรุษ ป ฺ. = ปญั จมีวิภัตติ เอก. = เอกวจนะ ฉ. = ฉฎั ฐีวภิ ัตติ พหุ. = พหุวจนะ ส. = สตั ตมีวิภตั ติ ปุ. = ปงุ ลงิ ค์ อา. = อาลปนวิภัตติ อิต. = อติ ถลี ิงค์ มงคลตถ. = มังคลตั ถทปี นี นปุ. = นปุงสกลงิ ค์ สมนต. = สมนั ตปาสาทิกา
สารบญั หนา้ ค คานา ง ขอ้ ควรทราบ ฉ อกั ษรยอ่ ทใ่ี ช้ ช สารบญั ท สารบญั ตาราง น สารบญั แผนภาพ ๑ บทที่ ๑ ความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั การแปลบาลเี ป็ นไทย ๑ ๑.๑ ความนา ๑ ๑.๒ ความสาคัญของภาษาบาลี ๓ ๑.๓ โครงสรา้ งคาพดู ในภาษาบาลี ๓ ๑.๔ ส่งิ ทีค่ วรทราบในการแปลภาษาบาลี ๓ ๓ ๑.๔.๑ ศพั ท์ ๔ ๑.๔.๒ บท ๔ ๑.๔.๓ พากยางค์ ๔ ๑.๔.๔ พากย์ หรือ ประโยค ๔ ๑.๔.๕ การก ๗ ๑.๕ คาแปลของการกตา่ ง ๆ ๙ ๑.๖ หลักการแปลบาลีเป็นไทย ๙ ๑.๗ วธิ ีแปลภาษาบาลี ๙ ๑.๗.๑ วธิ ีแปลโดยพยญั ชนะ ๑๐ ๑.๗.๒ วธิ ีแปลโดยอรรถ ๑๐ ๑.๗.๓ วิธแี ปลโดยยกศัพท์ ๑๐ ๑.๘ ข้ันตอนในการแปลบาลีเปน็ ไทย ๑๐ ขั้นตอนท่ี ๑: วเิ คราะห์ ๑๐ ขน้ั ตอนที่ ๒: ถา่ ยทอด ๑๓ ขั้นตอนที่ ๓: ปรับบท ๑.๙ สรุปทา้ ยบท ช
บทที่ ๒ วภิ ตั ตอิ าขยาต ๑๔ ๒.๑ ความนา ๑๔ ๒.๒ ความหมายของวภิ ัตติอาขยาต ๑๔ ๒.๓ การแปลวตั ตมานาวภิ ัตติ ๑๕ ๒.๔ การแปลปญั จมีวภิ ัตติ ๑๘ ๒.๕ การแปลสัตตมวี ิภัตติ ๒๑ ๒.๖ การแปลปโรกขาวภิ ัตติ ๒๔ ๒.๗ การแปลหิยัตตนีวิภตั ติ ๒๗ ๒.๘ การแปลอชั ชตั ตนวี ิภัตติ ๓๐ ๒.๙ การแปลภวิสสันตวิ ภิ ัตติ ๓๔ ๒.๑๐ การแปลกาลาติปัตติวภิ ตั ติ ๓๖ ๒.๑๑ สรปุ ทา้ ยบท ๓๙ บทที่ ๓ ประโยคและวาจก ๔๑ ๓.๑ ความนา ๔๑ ๓.๒ ความหมายของประโยค ๔๑ ๓.๓ หลกั การแปลประโยค ๔๒ ๓.๔ ความหมายของวาจก ๔๗ ๓.๕ หลักการแปลประโยคตามวาจก ๔๗ ๔๗ ๓.๕.๑ ประโยคกัตตวุ าจก (Active voice) ๕๓ ๓.๕.๒ ประโยคกมั มวาจก (Passive voice) ๖๐ ๓.๕.๓ ประโยคภาววาจก (Impersonal voice) ๖๕ ๓.๕.๔ ประโยคเหตกุ ตั ตุวาจก (Causative voice) ๖๙ ๓.๕.๕ ประโยคเหตกุ ัมมวาจก (Causal passive voice) ๗๓ ๓.๖ สรปุ ทา้ ยบท ๗๔ บทท่ี ๔ อาลปนะ นบิ าตตน้ ขอ้ ความ และกาลสตั ตมี ๗๔ ๔.๑ ความนา ๗๕ ๔.๒ ความหมายของอาลปนะ ๗๕ ๗๕ ๔.๒.๑ อาลปนนาม ๗๖ ๔.๒.๒ อาลปนนบิ าต ๗๘ ๔.๓ หลักการแปลอาลปนะ ๘๐ ๔.๔ นามทเี่ ป็นการกอนื่ ๆ นอกจากอาลปนการก ๔.๕ การกในรปู ประโยค “ลิงคตั ถะ” ซ
๔.๖ นิบาตตน้ ข้อความ ๘๔ ๔.๗ หลกั การแปลนบิ าตตน้ ข้อความ ๘๔ ๘๔ ๔.๗.๑ นิบาตบอกการไดย้ นิ ๘๔ ๔.๗.๒ นบิ าตบอกปริกปั ๘๔ ๔.๗.๓ นบิ าตบอกการยอมรับ ๘๕ ๔.๗.๔ นิบาตบอกการเตอื น ๘๕ ๔.๗.๕ นบิ าตสาหรับผูกข้อความหรือเชื่อมประโยค ๘๕ ๔.๗.๖ นิบาตบอกเน้ือความต่าง ๆ ๙๑ ๔.๘ กาลสัตตมี ๙๑ ๔.๘.๑ นามศัพท์ทีเ่ กี่ยวกับกาล เวลา และสมยั ๙๑ ๔.๘.๒ ศพั ท์ทลี่ งปัจจัย คือ ทา ทานิ รหิ ธนุ า ทาจน ชฺช ชชฺ ุ ๙๒ ๔.๘.๓ นิบาตบอกกาลเวลา ๙๒ ๔.๙ หลกั การแปลกาลสตั ตมี ๙๖ ๔.๑๐ สรปุ ทา้ ยบท ๙๘ บทที่ ๕ บทประธานและบททเ่ี นอ่ื งดว้ ยบทประธาน ๙๘ ๕.๑ ความนา ๙๙ ๕.๒ ความหมายของบทประธาน ๑๐๐ ๕.๓ ลักษณะของบทประธาน ๑๐๐ ๑๐๐ ๕.๓.๑ บทนามนาม ๑๐๐ ๕.๓.๒ บทปุริสสพั พนาม ๑๐๐ ๕.๓.๓ บทนามกิตก์ ๑๐๐ ๕.๓.๔ บทกริยากิตก์ ๑๐๑ ๕.๓.๕ บทสมาส ๑๐๑ ๕.๓.๖ บทตทั ธิต ๑๐๑ ๕.๓.๗ บทสงั ขยา ๑๐๑ ๕.๓.๘ บทนิบาต ๑๐๑ ๕.๓.๙ บทนามศพั ท์ ๑๐๒ ๕.๔ หลกั การตรวจหาบทประธานในประโยค ๑๐๒ ๕.๔.๑ ตรวจจากกรยิ าอาขยาต ๑๐๒ ๕.๔.๒ ตรวจจากกรยิ ากติ ก์ ๑๐๘ ๕.๕ หลกั การแปลบทประธาน ๑๐๘ ๕.๖ บทท่เี น่อื งดว้ ยบทประธาน ๑๐๘ ๕.๖.๑ บทวิเสสนะ ๑๐๙ ๕.๖.๒ บทนามนาม ๑๑๕ ๕.๗ หลกั การแปลบททเ่ี น่อื งดว้ ยบทประธาน ๕.๘ สรุปทา้ ยบท ฌ
บทที่ ๖ กรยิ าในระหวา่ งและบททเ่ี นอ่ื งดว้ ยกรยิ าในระหวา่ ง ๑๑๖ ๖.๑ ความนา ๑๑๗ ๖.๒ ความหมายของกริยาในระหว่าง ๑๑๗ ๖.๓ กรยิ ากิตก์ทลี่ ง อนตฺ และ มาน ปัจจยั (Present participle) ๑๒๒ ๖.๔ หลักการแปลกริยากิตก์ทล่ี ง อนฺต และ มาน ปัจจยั ๑๒๓ ๑๒๓ ๖.๔.๑ อพั ภันตรกริยา (Auxiliary verb) วางอยู่หลังบทประธาน ๑๒๔ ๖.๔.๒ วเิ สสนะ (Adjective) วางอย่หู นา้ หรือหลังบทประธาน ๑๒๖ ๖.๔.๓ สมานกาลกริยา (Simultaneity) วางอยู่หน้ากริยาคมุ พากย์ ๑๒๖ ๖.๔.๔ กรยิ าวิเสสนะ (Adverb) วางอยู่หนา้ บทประธาน ๑๒๗ ๖.๔.๕ วิกตกิ ัตตา (Complement) ท่ีเข้ากับกริยาวา่ มวี ่าเป็น ๑๒๗ ๖.๔.๖ อุปมาวิกตกิ ตั ตา (Analogy complement) มี วิย ศพั ท์ ๑๒๗ ๖.๔.๗ วิกตกิ ัมมะ (Complement) ท่เี ขา้ กบั กรยิ าวา่ ทา ๑๓๓ ๖.๕ กริยากิตกท์ ล่ี ง ต ปัจจยั (Past participle) ๑๓๓ ๖.๖ หลกั การแปลกริยากติ ก์ท่ีลง ต ปจั จัย ๑๓๓ ๖.๖.๑ คมุ พากย์ (Finite verb) ท่ใี ช้เป็นกริยาคุมพากย์ ๑๓๔ ๖.๖.๒ วเิ สสนะ (Adjective) วางอย่หู น้าหรือหลงั บทประธาน ๑๓๔ ๖.๖.๓ อุปมาวเิ สสนะ (Analogy adjective) มี วิย หรอื อิว ศัพท์ ๑๓๕ ๖.๖.๔ วิกตกิ ตั ตา (Complement) วางอย่ใู กล้กรยิ าว่ามีวา่ เป็น ๑๓๕ ๖.๖.๕ อปุ มาวกิ ติกัตตา (Analogy complement) มี วิย หรอื อวิ ศัพท์ ๑๓๖ ๖.๖.๖ วกิ ติกัมมะ (Complement) ท่เี ข้ากบั กริยาวา่ ทา ๑๓๖ ๖.๖.๗ อุปมาวกิ ติกัมมะ (Analogy complement) มี วิย หรือ อิว ศัพท์ ๑๔๑ ๖.๗ กริยากติ ก์ทล่ี ง ตนู าทิ ปัจจยั ๑๔๑ ๖.๗.๑ กรณีท่ีเป็นกตั ตวุ าจก ๑๔๑ ๖.๗.๒ กรณีท่ีเปน็ เหตุกัตตวุ าจก ๑๔๒ ๖.๗.๓ กรณีทีเ่ ปน็ กัมมวาจก ภาววาจก และเหตุกมั มวาจก ๑๔๒ ๖.๘ หลักการแปลกรยิ ากติ ก์ทลี่ ง ตูนาทิ ปัจจัย ๑๔๒ ๖.๘.๑ บุพพกาลกริยา (Precedence) กริยาท่ีทาก่อนกริยาอืน่ ๑๔๒ ๖.๘.๒ สมานกาลกริยา (Simultaneity ) กรยิ าทท่ี าพรอ้ มกรยิ าอ่ืน ๑๔๓ ๖.๘.๓ อปรกาลกรยิ า (Successtion) กรยิ าทท่ี าหลงั กรยิ าอื่นทั้งหมด ๑๔๔ ๖.๘.๔ เหตกุ าลกริยา (Causation) กรยิ าที่เป็นเหตุ ๑๔๕ ๖.๘.๕ ปรโิ ยสานกาลกริยา (Repetition) กรยิ าท่ีกล่าวซา้ กบั กรยิ าข้างตน้ ๑๔๕ ๖.๘.๖ วเิ สสนะ (Adjective) กริยาท่ที าหน้าท่ขี ยายบทนาม ๑๔๖ ๖.๘.๗ กริยาวเิ สสนะ (Adverb) กริยาท่ีทาหนา้ ท่ีขยายบทกรยิ า ๑๕๒ ๖.๙ บททเ่ี นื่องด้วยกรยิ าในระหวา่ ง ๑๕๒ ๖.๑๐ หลกั การแปลบทท่เี นอ่ื งด้วยกริยาในระหวา่ ง ๑๕๔ ๖.๑๑ สรปุ ทา้ ยบท ญ
บทท่ี ๗ ประโยคแทรก กรยิ าคมุ พากย์ และบททเ่ี นอ่ื งดว้ ย ๑๕๖ กรยิ าคมุ พากย์ ๑๕๖ ๗.๑ ความนา ๑๕๗ ๗.๒ ความหมายของประโยคแทรก ๑๕๗ ๗.๓ ประเภทของประโยคแทรก ๑๕๗ ๑๕๘ ๗.๓.๑ ประโยคอนาทร ๑๕๙ ๗.๓.๒ ประโยคลกั ขณะ ๑๕๙ ๗.๔ หลักการแปลประโยคแทรก ๑๖๐ ๗.๔.๑ ประโยคอนาทร ๑๖๔ ๗.๔.๒ ประโยคลักขณะ ๑๖๔ ๗.๕ กริยาคุมพากย์ (Finite verb) ๑๖๔ ๗.๕.๑ กรยิ าอาขยาต ๑๖๕ ๗.๕.๒ กรยิ ากิตก์ ๑๖๕ ๗.๕.๓ นามกติ ก์ ๑๖๕ ๗.๕.๔ กรยิ าลง ตวฺ า ปัจจยั ๑๖๖ ๗.๕.๕ กริยาลง อนฺต มาน และ ต ปจั จัย ๑๖๖ ๗.๕.๖ บทนบิ าตบางตัว ๑๖๖ ๗.๕.๗ บทกริยาพิเศษ ๑๖๗ ๗.๖ หลักการแปลกรยิ าคมุ พากย์ ๑๗๐ ๗.๖.๑ กริยาอาขยาต ๑๗๓ ๗.๖.๒ กรยิ ากติ ก์ ๑๗๓ ๗.๖.๓ นามกติ ก์ ๑๗๔ ๗.๖.๔ กริยาลง ตฺวา ปัจจัย ๑๗๔ ๗.๖.๕ กรยิ าลง อนฺต มาน และ ต ปจั จยั ๑๗๖ ๗.๖.๖ บทนิบาตบางตัว ๑๗๙ ๗.๖.๗ บทกริยาพิเศษ ๑๘๐ ๗.๗ บททเี่ นอื่ งดว้ ยกริยาคุมพากย์ ๑๘๔ ๗.๘ หลักการแปลบททเ่ี นอ่ื งด้วยกริยาคุมพากย์ ๗.๙ สรุปท้ายบท ๑๘๖ บทที่ ๘ อติ ิ ศพั ท์ ๑๘๖ ๑๘๖ ๘.๑ ความนา ๑๘๗ ๘.๒ ความหมายของ อติ ิ ศพั ท์ ๑๘๗ ๘.๓ หลักเกณฑก์ ารสนธิ อติ ิ ศพั ท์ กับบทนามหรือบทกริยา ๑๘๗ ๘.๓.๑ อติ ิ ศัพท์ อย่หู ลงั บทนามหรือกริยาที่ลงท้ายด้วยสระเสียงสนั้ ฎ ๘.๓.๒ อิติ ศพั ท์ อยหู่ ลงั บทนามหรอื กรยิ าที่ลงท้ายดว้ ยสระเสยี งยาว
๘.๓.๓ อติ ิ ศพั ท์ อยูห่ ลังบทนามหรือกริยาทล่ี งท้ายด้วยเคร่อื งหมายนิคคหิต ๑๘๗ ๘.๔ หลกั การแปล อติ ิ ศพั ท์ ๑๘๘ ๑๘๙ ๘.๔.๑ อติ ิ ศัพท์ แปลวา่ “ว่า… ดังนเี้ ปน็ ต้น” ๑๙๐ ๘.๔.๒ อิติ ศพั ท์ แปลว่า “วา่ … ดังน้ี” ๑๙๐ ๘.๔.๓ อติ ิ ศัพท์ แปลว่า “ว่า… ดงั นี้” ๑๙๑ ๘.๔.๔ อติ ิ ศพั ท์ แปลว่า “… ช่อื วา่ ” ๑๙๒ ๘.๔.๕ อิติ ศัพท์ แปลวา่ “… เพราะเหตนุ ี้” ๑๙๒ ๘.๔.๖ อิติ ศพั ท์ แปลว่า “… เพราะเหตุน้ัน” ๑๙๓ ๘.๔.๗ อิติ ศพั ท์ แปลวา่ “… ดว้ ยประการฉะนี้” ๑๙๓ ๘.๔.๘ อิติ ศพั ท์ แปลวา่ “… ดงั นี้เป็นเหตุ” ๑๙๓ ๘.๔.๙ อิติ ศัพท์ แปลว่า “… แล, ดงั นแ้ี ล” ๑๙๔ ๘.๔.๑๐ อติ ิ ศัพท์ แปลวา่ “…คือ” ๑๙๗ ๘.๕ สรปุ ทา้ ยบท บทท่ี ๙ ประโยค ย-ต ๑๙๙ ๙.๑ ความนา ๑๙๙ ๙.๒ ความหมายของประโยค ย-ต ๑๙๙ ๙.๓ ประเภทของประโยค ย-ต ๒๐๑ ๒๐๑ ๙.๓.๑ ประโยค ย-ต สัพพนาม ๒๐๑ ๙.๓.๒ ประโยค ย-ต นิบาต ๒๐๒ ๙.๔ ประโยค ย-ต สามัญ ๒๐๑ ๙.๔.๑ แบบของประโยค ย-ต สามญั ๒๐๓ ๙.๔.๒ หลักการแปลประโยค ย-ต สามญั ๒๑๒ ๙.๕ ประโยค ย-ต อุปมาอปุ ไมย ๒๑๒ ๙.๕.๑ แบบของประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย ๒๑๓ ๙.๕.๒ หลักการแปลประโยค ย-ต อุปมาอุปไมย ๒๒๑ ๙.๖ ประโยค ย-ต ปการตั ถะ ๒๒๑ ๙.๖.๑ แบบของประโยค ย-ต ปการัตถะ ๒๒๒ ๙.๖.๒ หลกั การแปลประโยค ย-ต ปการตั ถะ ๒๒๘ ๙.๗ ประโยค ย-ต ปรจิ เฉทนัตถะ ๒๒๘ ๙.๗.๑ แบบของประโยค ย-ต ปรจิ เฉทนตั ถะ ๒๒๙ ๙.๗.๒ หลกั การแปลประโยค ย-ต ปรจิ เฉทนัตถะ ๒๓๓ ๙.๘ ประโยค ย-ต เหตุ ๒๓๓ ๙.๘.๑ แบบของประโยค ย-ต เหตุ ๒๓๔ ๙.๘.๒ หลักการแปลประโยค ย-ต เหตุ ฏ
๙.๙ ประโยค ยํ กรยิ าปรามาส ๒๓๘ ๙.๙.๑ แบบของประโยค ยํ กรยิ าปรามาส ๒๓๘ ๙.๙.๒ หลักการแปลประโยค ยํ กรยิ าปรามาส ๒๓๙ ๒๔๔ ๙.๑๐ สรุปทา้ ยบท ๒๔๖ บทท่ี ๑๐ ประโยคพเิ ศษ ๒๔๖ ๑๐.๑ ความนา ๒๔๗ ๑๐.๒ ความหมายของประโยคพิเศษ ๒๔๗ ๑๐.๓ ประโยคตง้ั ช่อื ๒๔๗ ๑๐.๔ ประโยคทต่ี ้องเพ่ิม าปนเหตกุ ํ ๒๔๗ ๒๔๘ ๑๐.๔.๑ ประโยคดดี นิ้วมอื ๒๔๘ ๑๐.๔.๒ ประโยคส่นั ศรีษะ ๒๔๘ ๑๐.๔.๓ ประโยคสง่ ขา่ วสาสน์ ๒๔๘ ๑๐.๔.๔ ประโยคตีกลอง ๒๔๙ ๑๐.๔.๕ ประโยคแผน่ ดนิ ไหว ๒๔๙ ๑๐.๕ ประโยคต้ังเอตทคั คะ ๒๕๑ ๑๐.๖ ประโยค ขมนีย-ํ ยาปนียํ ๑๐.๗ ประโยค กถํ สมุฏฺ าเปสุํ ๒๕๕ ๑๐.๘ ประโยค วตุ ฺเต ๒๕๖ ๑๐.๙ ประโยค อาคเมหิ ๒๕๖ ๑๐.๑๐ ประโยค ฌาเปสิ ๒๕๘ ๑๐.๑๑ ประโยค ฌาปติ า ๒๕๙ ๑๐.๑๒ ประโยคกริยาปธานนัย ๒๕๙ ๑๐.๑๒.๑ รวม-แยก ๒๖๐ ๑๐.๑๒.๒ แยก-รวม ๒๖๐ ๑๐.๑๒.๓ รวม-แยก-รวม ๒๖๑ ๑๐.๑๓ ประโยค กมิ งคฺ ํ ปน ๒๖๑ ๑๐.๑๓.๑ ปฏเิ สธ-บอกเลา่ ๒๖๑ ๑๐.๑๓.๒ บอกเล่า-ปฏิเสธ ๒๖๕ ๑๐.๑๔ ประโยค อาณาเปสิ ๒๖๕ ๑๐.๑๕ ประโยคอุปมา ๒๖๖ ๑๐.๑๕.๑ อปุ มาลิงคตั ถะ ๒๖๗ ๑๐.๑๕.๒ อปุ มาวเิ สสนะ ๒๖๘ ๑๐.๑๕.๓ อุปมาวิกติกัตตา ๒๖๙ ๑๐.๑๕.๔ อุปมาวิกตกิ มั มะ ๒๗๐ ๑๐.๑๕.๕ อปุ มาอัพภนั ตรกริยา ๒๗๔ ๑๐.๑๖ ประโยค ย ฺเจ-เสยฺโย ฐ
๑๐.๑๗ ประโยคท่ีมสี ตั ตมีวิภัตติเปน็ ประธาน ๒๗๔ ๑๐.๑๘ ประโยคทม่ี ี เอวํ เป็นประธาน ๒๗๕ ๑๐.๑๙ ประโยคที่มี ตถา เปน็ ประธาน ๒๗๕ ๑๐.๒๐ ประโยคท่มี ี ตุํ ปจั จยั เปน็ ประธาน ๒๗๖ ๑๐.๒๑ ประโยคทีม่ ี สกกฺ า ๒๗๗ ๑๐.๒๑.๑ แปล สกกฺ า เปน็ ประธานในประโยค ๒๗๗ ๑๐.๒๑.๒ แปล สกกฺ า เป็นกรยิ ากมั มวาจก ๒๗๘ ๑๐.๒๑.๓ แปล สกกฺ า เปน็ กรยิ าภาววาจก ๒๗๘ ๑๐.๒๑.๔ แปล สกกฺ า เปน็ วกิ ติกัตตา ๒๗๙ ๒๘๒ ๑๐.๒๒ ประโยคทม่ี ี อลํ ๒๘๒ ๑๐.๒๒.๑ อลํ ทาหน้าที่เป็นประธานในประโยค ๒๘๒ ๑๐.๒๒.๒ อลํ ทาหน้าที่เปน็ กริยากัมมวาจก ๒๘๓ ๑๐.๒๒.๓ อลํ ทาหน้าท่เี ปน็ กรยิ าภาววาจก ๒๘๓ ๑๐.๒๒.๔ อลํ ทาหน้าที่เป็นวเิ สสนะ ๒๘๓ ๑๐.๒๒.๕ อลํ ทาหน้าทเี่ ป็นวกิ ติกัตตา ๒๘๖ ๒๘๖ ๑๐.๒๓ ประโยคทีม่ ี ลพฺภา ๒๘๗ ๑๐.๒๓.๑ แปล ลพภฺ า เป็นกริยากัมมวาจก ๒๘๗ ๑๐.๒๓.๒ แปล ลพฺภา เป็นกรยิ าภาววาจก ๒๘๘ ๒๘๙ ๑๐.๒๔ ประโยคที่มี กึ (ปโยชนํ) ๒๙๐ ๑๐.๒๕ ประโยค นาคโสณฑิ ๒๙๐ ๑๐.๒๖ ประโยค กาโกโลกนยั ๒๙๑ ๑๐.๒๗ ประโยค สากังขคติ ๒๙๒ ๑๐.๒๘ ประโยค อิทํ วุตตฺ ํ โหติ ๑๐.๒๙ ประโยคที่มี สททฺ นีติยํ ๒๙๖ ๑๐.๓๐ ประโยค ทฏฺ พพฺ ํ ๑๐.๓๑ สรุปท้ายบท ๓๐๒ บทท่ี ๑๑ เทคนคิ การแปลพเิ ศษ ๓๐๒ ๓๐๓ ๑๑.๑ ความนา ๓๐๓ ๑๑.๒ ความหมายของเทคนิคการแปลพเิ ศษ ๓๐๔ ๑๑.๓ การแปลรวบ ๓๑๐ ๓๑๑ ๑๑.๓.๑ รวบดว้ ยอานาจศพั ท์นบิ าต ๓๑๒ ๑๑.๓.๒ รวบด้วยอานาจนิทธารณะ ๑๑.๓.๓ รวบด้วยอานาจ ยุ ปจั จัย ในนามกติ ก์ ๓๑๓ ๑๑.๓.๔ รวบด้วยอานาจ ตํุ ปัจจัย ในนามกติ ก์ ฑ ๑๑.๓.๕ รวบด้วยอานาจบทวิเสสนะ
๑๑.๓.๖ รวบด้วยอานาจบทวกิ ติกตั ตา ๓๑๖ ๑๑.๓.๗ รวบดว้ ยอานาจ ภาว ศัพท์, ตฺต หรือ ตา ปัจจัยในภาวตัทธติ ๓๑๖ ๑๑.๓.๘ รวบด้วยอานาจสัมพนั ธเ์ ข้าครง่ึ ศพั ท์ ๓๑๖ ๑๑.๓.๙ รวบด้วยอานาจสมานกาลกริยา ๓๑๗ ๑๑.๓.๑๐ รวบด้วยอานาจ วิย หรอื อิว ๓๑๗ ๑๑.๓.๑๑ รวบด้วยอานาจเนื้อความ ๓๑๘ ๑๑.๓.๑๒ รวบด้วยอานาจความนิยม ๓๑๙ ๑๑.๔ การแปลทอด ตฺวา ปัจจยั ๓๒๒ ๑๑.๕ การแปลอาบกาลของกริยาคมุ พากย์ ๓๒๒ ๑๑.๕.๑ หมวดป ฺจมี ๓๒๒ ๑๑.๕.๒ หมวดสตฺตมี ๓๒๒ ๑๑.๕.๓ หมวดภวสิ สฺ นตฺ ิ ๓๒๓ ๑๑.๕.๔ หมวดกาลาติปตฺติ ๓๒๓ ๑๑.๖ การแปลประโยคเลขนอกและเลขใน ๓๒๓ ๑๑.๖.๑ หลกั เกณฑ์ท่ัวไป ๓๒๔ ๑๑.๖.๒ หลกั เกณฑ์ในการเปิด อิติ ๓๒๔ ๑๑.๗ การแปลถอน ๓๓๐ วิธที ี่ ๑: แปลแบบรวบถอน ๓๓๐ วิธที ่ี ๒: แปลแบบไม่รวบถอน ๓๓๑ ๑๑.๘ การแปล อถ ศพั ท์ ๓๓๑ ๑๑.๘.๑ อถ ศัพท์ อยตู่ น้ ข้อความเลขนอก ๓๓๑ ๑๑.๘.๒ อถ ศพั ท์ อยใู่ นข้อความเลขใน ๓๓๒ ๑๑.๙ การแปล สาธุ ๓๓๒ ๑๑.๙.๑ สาธุ เปน็ ประธานในประโยค ๓๓๒ ๑๑.๙.๒ สาธุ เปน็ วิกตกิ ัตตาในประโยค ๓๓๒ ๑๑.๙.๓ สาธุ เป็นนบิ าตในประโยค ๓๓๓ ๑๑.๑๐ การแปลหักวภิ ัตติ ๓๓๓ ๑๑.๑๐.๑ แปลหักตติยาเป็นทตุ ิยา ๓๓๓ ๑๑.๑๐.๒ แปลหักฉฏั ฐีเป็นทุติยา ๓๓๓ ๑๑.๑๐.๓ แปลหักฉฏั ฐีเปน็ ตตยิ า ๓๓๔ ๑๑.๑๐.๔ แปลหักสัตตมเี ป็นปฐมา ๓๓๕ ๑๑.๑๑ สรุปทา้ ยบท ๓๓๘ บทที่ ๑๒ คาถาและอรรถกถา ๓๔๐ ๑๒.๑ ความนา ๓๔๐ ๑๒.๒ ความหมายของคาถาและอรรถกถา ๓๔๑ ๑๒.๓ ประเภทของคาถา ๓๔๑ ฒ
๑๒.๓.๑ คาถาท่ีพระพุทธเจ้าตรัสเอง ๓๔๑ ๑๒.๓.๒ คาถาทพ่ี ระสาวก ฤาษี และเทวดา เปน็ ตน้ กลา่ ว ๓๔๒ ๑๒.๔ ลกั ษณะของถ้อยคาทเี่ ก่ียวข้องกบั คาถา ๓๔๒ ๑๒.๔.๑ ศพั ท์ ๓๔๒ ๑๒.๔.๒ บท ๓๔๒ ๑๒.๔.๓ บาท ๓๔๒ ๑๒.๕ ลกั ษณะของคาถาท่ีเป็นฉนั ทช์ นิดตา่ งๆ ๓๔๓ ๑๒.๕.๑ ปัฐยาวตั รฉันท์ ๓๔๓ ๑๒.๕.๒ อนิ ทรวเิ ชียรฉันท์ ๓๔๔ ๑๒.๕.๓ อุเปนทรวิเชยี รฉันท์ ๓๔๔ ๑๒.๕.๔ อนิ ทรวงศฉันท์ ๓๔๕ ๑๒.๕.๕ วงั สฏั ฐฉันท์ ๓๔๕ ๑๒.๕.๖ วสันตดิลกฉันท์ ๓๔๖ ๑๒.๖ หลักการแปลและการเขียนรปู แบบของคาถา ๓๔๖ ๑๒.๗ ลักษณะของอรรถกถา ๓๔๘ ๑๒.๘ วิธีแปลอรรถกถา ๓๔๙ ๑๒.๘.๑ แปลตงั้ อรรถ ๓๔๙ ๑๒.๘.๒ แปลไม่ตัง้ อรรถ ๓๕๓ ๑๒.๙ สรุปท้ายบท ๓๗๔ บทที่ ๑๓ การแปลขอ้ เบ็ดเตล็ด ๓๗๖ ๑๓.๑ ความนา ๓๗๖ ๑๓.๒ ความหมายของการแปลข้อเบ็ดเตล็ด ๓๗๗ ๑๓.๓ การแปลมโนคณะในรูปประโยค ๓๗๗ ๑๓.๔ การแปลรูปวเิ คราะห์ ๓๗๘ ๑๓.๕ การแปลบทสนธิ ๓๗๘ ๓๗๘ ๑๓.๕.๑ ศพั ทส์ นธิที่ไม่เนื่องด้วยบทสมาส ๓๗๙ ๑๓.๕.๒ ศัพทส์ นธทิ เ่ี นอ่ื งดว้ ยบทสมาส ๓๗๙ ๑๓.๕.๓ ศัพทส์ นธทิ มี่ อี ุปสรรคนาหนา้ ๓๗๙ ๑๓.๖ การแปลศพั ท์เสริมบท ๓๘๐ ๑๓.๖.๑ ศัพทเ์ สริมบทที่อย่ใู นรปู คาถา ๓๘๐ ๑๓.๖.๒ ศพั ทเ์ สริมบทท่ีไม่ได้อยใู่ นรูปคาถา ๓๘๑ ๑๓.๖.๓ ศพั ทเ์ สริมบททใ่ี ชเ้ สรมิ ศัพทน์ บิ าต ๓๘๑ ๑๓.๗ การแปลไข (วิวริยะ-ววิ รณะ) ๓๘๕ ๑๓.๘ การแปลเป็น ส ฺ -ส ฺ า ณ
๑๓.๙ การแปลหนุน ๓๘๖ ๑๓.๙.๑ กรณบี ทในอรรถกถาเป็นบทท่มี าจากคาถาวางอยู่ข้างหลงั ๓๘๗ ๑๓.๙.๒ กรณกี ริยากิตก์ประกอบด้วย อนฺต หรือ มาน ปจั จยั วางอยู่ ๓๘๘ ขา้ งหน้า ๓๘๘ ๑๓.๑๐ การแปลแยกศัพท์เพ่ือจับคู่ ๓๘๙ ๑๓.๑๑ การแปล อิติ ตโต และ อติ ิ ตสฺมา ๓๙๐ ๑๓.๑๒ การแปลกรยิ าวิเสสนะ ๓๙๑ ๑๓.๑๓ การแปลบททตุ ิยาวภิ ตั ติวา่ “กะ/ซง่ึ ” ๓๙๒ ๑๓.๑๔ การแปลบทวกิ ตกิ มั มะ ๓๙๒ ๓๙๒ ๑๓.๑๔.๑ บทวิกติกัมมะทีเ่ ปน็ ทตุ ิยาวภิ ัตติ ๓๙๖ ๑๓.๑๔.๒ บทวิกตกิ มั มะทเี่ ปน็ ปฐมาวิภัตติ ๓๙๖ ๑๓.๑๕ การแปลบทสัมภาวนะ ๓๙๖ ๑๓.๑๕.๑ บทสมั ภาวนะทีเ่ ป็นทุติยาวิภตั ติในประโยคกตั ตวุ าจก ๓๙๗ ๑๓.๑๕.๒ บทสมั ภาวนะทเ่ี ปน็ ปฐมาวิภัตตใิ นประโยคกัมมวาจก ๓๙๗ ๑๓.๑๖ การแปลบทอิตถัมภูต ๓๙๗ ๑๓.๑๖.๑ แปลบทอติ ถัมภูตต่อจากตัวประธานหรือนาม (ก่อนกรยิ า) ๓๙๘ ๑๓.๑๖.๒ แปลบทอิตถัมภตู หลงั กริยา ๓๙๘ ๑๓.๑๗ การแปลบทสัญญาวิเสสนะ ๓๙๘ ๑๓.๑๘ การแปลบทวเิ สสนวปิ ลั ลาส ๓๙๘ ๑๓.๑๘.๑ วิเสสนลิงควปิ ลั ลาส ๓๙๙ ๑๓.๑๘.๒ วิเสสนวจนวิปัลลาส ๓๙๙ ๑๓.๑๘.๓ วิเสสนลิงควจนวปิ ลั ลาส ๔๐๓ ๑๓.๑๙ การแปลบทวิเสสลาภี ๔๐๔ ๑๓.๒๐ การแปลบทสรูป ๔๐๕ ๑๓.๒๑ การแปลบททีต่ อ้ งแปลเป็นวกิ ตกิ ตั ตา ๔๐๕ ๑๓.๒๒ การแปล ภาว ศัพท์ และปจั จยั ในภาวตทั ธิต ๔๐๕ ๑๓.๒๒.๑ ศัพท์ลง ยุ ปัจจยั ตอ่ กบั ภาว ศัพท์ หรอื ปัจจยั ในภาวตทั ธิต ๑๓.๒๒.๒ ศัพท์ลง ต ปัจจัย หรอื ศพั ท์คุณนามต่อกับ ภาว ศพั ท์ ๔๐๖ หรือปัจจยั ในภาวตัทธิต ๔๐๖ ๑๓.๒๒.๓ ศัพท์นามนาม ต่อกับ ภาว ศัพท์ หรือ ปจั จยั ในภาวตทั ธิต ๔๐๙ ๑๓.๒๒.๔ อตถฺ ิ (หรอื นตฺถิ) ตอ่ กบั ภาว ศัพท์ หรือปจั จัยในภาวตทั ธิต ๑๓.๒๓ สรปุ ท้ายบท ๔๑๒ ๔๑๗ บรรณานกุ รม ภาคผนวก ด
สารบญั ตาราง หนา้ ๔ ตารางที่ ๕ ๑.๑ ชื่อการกต่าง ๆ ตามวิภตั ติ ๘ ๑.๒ ชื่อวิภตั ติ การก วจนะ และคาแปล ๔๓ ๑.๓ เปรียบเทียบวิธีการแปลบาลีเป็นไทยกับระดับของการแปลทว่ั ๆ ไป ๔๓ ๓.๑ หลกั การแปลประโยคภาษาบาลตี ามลาดับ ๙ ประการ ๔๗ ๓.๒ ประโยคลงิ คตั ถะและประโยคกตั ตวุ าจก ๔๘ ๓.๓ ลาดับการแปลประโยคกตั ตวุ าจก แบบท่ี ๑ ๔๘ ๓.๔ ประโยคกตั ตวุ าจก แบบที่ ๑ ๔๙ ๓.๕ ลาดบั การแปลประโยคกัตตวุ าจก แบบที่ ๒ ๔๙ ๓.๖ ประโยคกตั ตุวาจก แบบที่ ๒ ๕๐ ๓.๗ ลาดบั การแปลประโยคกัตตุวาจก แบบที่ ๓ ๕๐ ๓.๘ ประโยคกัตตวุ าจก แบบท่ี ๓ ๕๓ ๓.๙ ตัวอย่างคากรยิ าอาขยาตซ่งึ มีวิภัตตทิ ้ายคาบง่ ช้ถี งึ บทประธาน ๕๓ ๓.๑๐ ลาดบั การแปลประโยคกัมมวาจก แบบที่ ๑ ๕๔ ๓.๑๑ ประโยคกมั มวาจก แบบท่ี ๑ ๕๔ ๓.๑๒ ประโยคกมั มวาจก แบบท่ี ๒ ๕๕ ๓.๑๓ ประโยคกมั มวาจกท่ีไม่วางตัวกรณการกไว้ ๕๕ ๓.๑๔ ประโยคกัตตุวาจกสลบั เป็นกัมมวาจก ๕๕ ๓.๑๕ ประโยคกมั มวาจกสลบั เปน็ กัตตุวาจก ๕๖ ๓.๑๖ ลาดบั การแปลประโยคกมั มวาจกทม่ี ีบทขยาย ๕๖ ๓.๑๗ ประโยคกัมมวาจกท่ีมีบทขยาย ๖๐ ๓.๑๘ ประโยคกตั ตวุ าจกท่มี ีบทขยาย ๖๐ ๓.๑๙ ลาดับการแปลประโยคภาววาจกทไ่ี ม่มีบทขยาย ๖๑ ๓.๒๐ ประโยคภาววาจกทีไ่ ม่มีบทขยาย ๖๑ ๓.๒๑ ลาดับการแปลประโยคภาววาจกทมี่ บี ทขยาย ๖๔ ๓.๒๒ ประโยคภาววาจกที่ ๖๕ ๓.๒๓ ประโยคกตั ตวุ าจกทส่ี ลับมาจากประโยคภาววาจกท่ีมบี ทขยาย ๖๕ ๓.๒๔ ลาดับการแปลประโยคเหตกุ ัตตวุ าจก ๖๖ ๓.๒๕ ประโยคเหตุกัตตุวาจก ๖๙ ๓.๒๖ ประโยคเหตกุ ัตตุวาจกทีม่ ีองค์ประกอบมากกว่า ๔ องคป์ ระกอบ ๖๙ ๓.๒๗ ลาดบั การแปลประโยคเหตุกัมมวาจก ๗๐ ๓.๒๘ ประโยคเหตกุ ัมมวาจก ๓.๒๙ ประโยคเหตกุ ัมมวาจกท่ีมอี งค์ประกอบมากกว่า ๔ องคป์ ระกอบ ท
๔.๑ การแปล “อาจรยิ ” ที่เปลี่ยนท้ายคาเป็นวจนะในรปู การกต่าง ๆ ๗๘ ๔.๒ การกในรูปประโยคลงิ คตั ถะ ๘๐ ๔.๓ การแปลประโยคลิงคตั ถะตามคาแปลของการกตา่ ง ๆ ๘๐ ๔.๔ ประโยคลิงคตั ถะ ๘๑ ๕.๑ ลาดบั การแปลบทท่เี นื่องด้วยบทประธานในประโยคกตั ตวุ าจก ๑๐๙ ๖.๑ สรุปหลกั การแปลกริยากิตก์ท่ีลง อนตฺ และ มาน ปจั จยั ๑๒๘ ๖.๒ สรปุ หลักการแปลกรยิ ากติ ก์ที่ลง ต ปัจจยั ๑๓๗ ๖.๓ สรุปหลักการแปลกรยิ ากิตก์ท่ีลง ตนู าทิ ปจั จยั ๑๔๗ ๙.๑ คาสพั พนามและนบิ าตที่ใช้ในประโยค ย-ต เป็นคู่ ๆ ๒๐๐ ๙.๒ การเปลีย่ นกรยิ าคุมพากยข์ องประโยค ย เป็น ตฺต ปัจจยั ๒๔๐ ๙.๓ การเปลี่ยนกรยิ าคุมพากยข์ องประโยค ย ด้วยการลง ยุ ปัจจยั ที่ ธาตุ ๒๔๑ ๑๓.๑ มโนคณะศพั ท์ ๑๒ ศัพท์ ๓๗๗ ๑๓.๒ ศพั ท์เสริมบท ๙ ศพั ท์ ๓๗๙ ๑๓.๓ หลกั ในการแปลไข ๓๘๒ ๑๓.๔ โครงสร้างบทอรรถกถาท่มี บี ทข้างหนา้ เป็นบทเหตุ ๓๘๗ ธ
สารบญั แผนภาพ แผนภาพ แผนภาพ แผนภาพท่ี หนา้ ๒๐๐ ๙.๑ ตวั อย่างประโยค ย-ต ๒๐๒ ๒๐๒ ๙.๒ โครงสรา้ งประโยค ย-ต สามัญ แบบ A ๒๐๓ ๒๑๒ ๙.๓ คาแปลตามโครงสรา้ งของประโยค ย-ต สามญั แบบ A ๒๑๒ ๒๑๓ ๙.๔ โครงสรา้ งประโยค ย-ต สามัญ แบบ B ๒๒๑ ๒๒๑ ๙.๕ โครงสรา้ งประโยค ย-ต อุปมาอปุ ไมย แบบ A ๒๒๒ ๒๒๒ ๙.๖ คาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต อปุ มาอุปไมย แบบ A ๒๒๘ ๒๒๘ ๙.๗ คาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต อุปมาอปุ ไมย แบบ B ๒๓๓ ๒๓๓ ๙.๘ โครงสรา้ งประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ A ๒๓๘ ๒๓๘ ๙.๙ คาแปลตามโครงสรา้ งของประโยค ย-ต ปการตั ถะ แบบ A ๓๕๐ ๓๕๐ ๙.๑๐ โครงสร้างประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B ๓๕๕ ๓๕๖ ๙.๑๑ คาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต ปการัตถะ แบบ B ๓๘๘ ๓๘๙ ๙.๑๒ โครงสรา้ งของประโยค ย-ต ปรจิ เฉทนตั ถะ ๙.๑๓ คาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต ปรจิ เฉทนัตถะ ๙.๑๔ โครงสรา้ งของประโยค ย-ต เหตุ ๙.๑๕ คาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย-ต เหตุ ๙.๑๖ โครงสรา้ งของประโยค ย กริยาปรามาส ๙.๑๗ คาแปลตามโครงสร้างของประโยค ย กริยาปรามาส ๑๒.๑ คาแปลอรรถกถาโดยพยญั ชนะตามโครงสร้างทต่ี ้องแปลตง้ั อรรถ ๑๒.๒ คาแปลอรรถกถาโดยอรรถตามโครงสร้างทต่ี ้องแปลตัง้ อรรถ ๑๒.๓ คาแปลอรรถกถาโดยพยญั ชนะตามโครงสร้างที่ไม่ตอ้ งแปลตัง้ อรรถ ๑๒.๔ คาแปลอรรถกถาโดยอรรถตามโครงสรา้ งทไี่ ม่ต้องแปลตัง้ อรรถ ๑๓.๑ โครงสรา้ งกริยากิตกอ์ ยู่ขา้ งหน้าและกริยาอาขยาตอยู่ขา้ งหลัง ๑๓.๒ โครงสรา้ ง อิติ ตโต และ อิติ ตสมฺ า น
บทท่ี ความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั ๑ การแปลบาลเี ป็ นไทย วตั ถปุ ระสงค์ ๑. อธบิ ายความสาคญั ของภาษาบาลไี ด้ ๒. บอกโครงสร้างคาพูดในภาษาบาลีได้ ๓. บอกสิ่งทค่ี วรทราบในการแปลภาษาบาลีได้ ๔. แปลการกตา่ ง ๆ ได้ ๕. บอกหลกั การแปลบาลเี ป็นไทยได้ ๖. บอกวธิ ีและข้ันตอนในการแปลบาลเี ปน็ ไทยได้ ๑.๑ ความนา ในการแปลบาลีเป็นไทย ผู้ศึกษาควรศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการแปลบาลีเป็นไทย เพราะเป็นเร่ืองสาคัญท่ีควรรู้ก่อนการฝึกแปลหรือการเรียนแปลบาลีเป็นไทย ดังนั้น ในบทแรกน้ี จะ นาเสนอเน้ือหาสาระสาคัญท่เี กยี่ วกบั ความรู้พ้ืนฐานดงั กล่าว ๗ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑) ความสาคัญของภาษา บาลี ๒) โครงสร้างคาพูดในภาษาบาลี ๓) ส่ิงที่ควรทราบในการแปลภาษาบาลี ๔) คาแปลของการก ต่าง ๆ ๕) หลักการแปลบาลีเป็นไทย ๖) วิธีการแปลบาลีเป็นไทย และ ๗) ขั้นตอนในการแปลบาลีเป็น ไทย โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปน้ี ๑.๒ ความสาคญั ของภาษาบาลี เป็นท่ีทราบกันดีว่า ภาษาไทยมีไม่เพียงพอแก่ความต้องการ จาเป็นต้องยืมหรือรับภาษาอื่น ซ่ึงเป็นภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ ภาษาต่างประเทศส่วนมากท่ีรับเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย ได้แก่ ๑) ภาษาสนั สกฤต ๒) ภาษาบาลี ๓) ภาษาเขมร ๔) ภาษาจีน ๕) ภาษาอังกฤษ ๖) ภาษาชวาหรือภาษา มาลายู ๗) ภาษาทมฬิ ๘) ภาษาเปอร์เซยี และ ๙) ภาษาโปรตเุ กส ๑
จากภาษาต่างๆ ข้างต้น ภาษาบาลีเข้ามาปะปนในภาษาไทยในสมัยพ่อขุนรามคาแหง โดยมา กับพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ซ่ึงใช้ภาษาบาลีจารึกพระไตรปิฎก และต่อมาไทยรับเอา พระพุทธศาสนามาเป็นศาสนาประจาชาติ การรับพระพุทธศาสนามาเป็นศาสนาประจาชาติและมา ปฏิบัตินั้น จาเป็นต้องศึกษาหัวข้อธรรม แนวทางปฏิบัติ และขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ถ้อยคาท่ีใช้ ในพระพุทธศาสนาเป็นถ้อยคาท่ีถ่ายทอดด้วยภาษาสามัญทั่วไปไม่ได้เพราะไม่ลึกซ้ึ งหรือส่ือความหมาย ไดไ้ มช่ ัดเจน จึงจาเปน็ ต้องศึกษาภาษาบาลีและรับคาศัพท์เฉพาะทางพระพุทธศาสนาเข้ามา เชน่ เมตตา สงฆ์ อาสาฬหบชู า ธนาคาร รฐั สภา ภตั ตาคาร ฯลฯ ในสมัยโบราณ ภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นภาษาเก่าแก่ท่ีสุดของอินเดีย โดยมีวิวฒั นาการมา จากภาษาของชนชาติผิวขาวเผ่าอารยัน ซ่ึงเป็นชาติที่มีอารยธรรมสูง ได้รวบรวมคัมภีร์พระเวทต่างๆ ของพระเจ้าขึ้น ต่อมามีนักปราชญ์ของอินเดียชื่อ ปาณิน ได้รวบรวมหลักฐานของภาษาในพระเวทให้ เป็นระเบียบ และได้กาหนดเป็นไวยากรณ์ขึ้นครั้งแรก เรียกภาษาน้ีว่า “สันสกฤต” ตัวอักษรท่ีใช้เขียน ภาษาสนั สกฤตนี้เช่ือกันวา่ เปน็ อกั ษร “เทวนาครี” ซึ่งเป็นตัวอกั ษรของชาวอินเดยี ฝ่ายเหนอื สมัยโบราณ คร้ันต่อมา ภาษาสันสกฤตแพร่หลายไปทั่ว มีการเปล่ียนแปลงรูปไปเป็นภาษาถ่ินต่าง ๆ ซ่ึง เรียกว่า “ภาษาปรากฤต” บ้าง และภาษาปรากฤตนี้ยังได้แตกแยกสาขาออกไปอีกมากมาย เช่น “ภาษามาคธี” “ภาษาอปั ภรงั ศะ” ฯลฯ ภาษามาคธี (ภาษามคธ) เป็นภาษาท่ีใช้พูดกันอยู่ในแคว้นมคธ และนักปราชญ์ส่วนมากก็เชื่อ กันว่าเป็นภาษาท่ีพระพุทธเจ้าทรงใชส้ ั่งสอนประชาชน คร้ันต่อมาพระพุทธศาสนาได้มาเจรญิ แพร่หลาย ท่ปี ระเทศลังกา ภาษามาคธีได้รับการแก้ไขดัดแปลงรูปแบบไวยากรณ์ให้กะทัดรัดย่ิงข้ึน หรือจัดระเบียบ ภาษาใหม่ จึงมีชื่อเรียกเสียใหม่ว่า “ปาลี” (ภาษาบาลี) แต่ไทยนิยมเรียกว่า บาลี๑เป็นภาษาจารึก พระไตรปฎิ กดังที่เราได้เห็นอย่ใู นปจั จุบนั กล่าวโดยสรุป จากข้อความดังกล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าภาษาบาลีมีความสาคัญและมี อิทธิพลต่อภาษาไทยเป็นอย่างมากทั้งในแงข่ องการใช้ภาษา และในแง่ของการศึกษาพระพุทธศาสนาใน ฐานะเป็นศาสนาท่ีคนส่วนใหญ่ของประเทศนับถือ ฉะนั้น เมื่อภาษาบาลีมีความสาคัญเช่นน้ี คนไทย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ นกั เรียน นิสิตนักศกึ ษา และครบู าอาจารย์ จงึ ควรสนใจและเรยี นรู้ ๑ คาว่า “บาลี” มาจาก ปาลฺ ธาตุ ลง ณี ปัจจัย แปลว่า ระเบียบ แถว หรือรักษา ภาษาบาลี อาจเรียกอีก อย่างหน่ึงว่า “ตนฺติภาสา” คือ ภาษาที่เป็นระเบียบแบบแผน เป็นภาษาท่ีรักษาไว้ซึ่งพระพุทธวจนะ มีวิเคราะห์ว่า พุทธฺ วจน ปาเลตีติ ปาลี (ภาสา) อ. ภาษาใด ยอ่ มรกั ษาไวซ้ ่ึงพระพุทธวจนะ เพราะเหตุนนั้ อ. ภาษานั้น ชอ่ื ว่า ปาลี ๒
๑.๓ โครงสรา้ งคาพูดในภาษาบาลี การเรียนรู้ระเบียบคาพูดในภาษาบาลี ต้องอาศัยโครงสร้างคือส่วนต่าง ๆ แห่งคาพูด ซึ่งมี อยู่ ๑๐ ชนิด ได้แก่ ๑) อักขรวิธี คือ วิธีการใช้ตัวอักษรพร้อมทั้งฐานกรณ์ เป็นต้น ๒) สนธิ คือ การ ต่ออักษรที่อยู่ในคาอ่ืนให้เช่ือมหรือเนื่องเป็นอันเดียวกัน ๓) นาม คือ การแจกช่ือ คน สัตว์ ที่ สิ่งของ ๔) สัพพนาม คือ การแจกศัพท์ที่ใช้แทนนามท่ีออกชื่อมาแล้ว ๕) อาขยาต คือ การแจกกริยาศัพท์ พร้อมท้ัง กาล บท วจนะ บุรุษ ฯลฯ ๖) กิตก์ คือ การใช้ปัจจัยเป็นเครื่องหมายให้รู้สาธนะหรือกาล ๗) สมาส คือ การย่อนามตั้งแต่สองบทข้ึนไปให้เข้าเป็นบทเดียวกัน ๘) ตัทธิต คือ การใช้ปัจจัยแทน ศัพท์ให้น้อยลง แต่มีเนื้อความได้เต็มที่ ๙) อุณาทิ คือ วิธีใช้ปัจจัยคล้ายกิตก์ แต่มักเป็นปัจเจกปัจจัย โดยมาก และ ๑๐) การก คอื การแสดงการประสานสัมพนั ธร์ ะหวา่ งคาพูดชนิดตา่ ง ๆ ในวจีวภิ าค โครงสร้างคือส่วนต่าง ๆ แห่งคาพูดทั้ง ๑๐ ชนิดดังกล่าวข้างต้นนี้ อาจจัดแบ่งออกเป็นภาค ได้ ๔ ภาค ดงั นี้ ภาคที่ ๑ อักขรวิธี คือ วิธีการใช้ตัวอักษร มี ๒ ชนิด ได้แก่ ๑) สมัญญาภิธาน เป็นส่วน ที่เกี่ยวกับการเขียน การอ่านออกเสียงสระและพยัญชนะพร้อมท้ังฐานกรณ์ (อวัยวะออกเสียง) และ ๒) สนธิ เป็นวิธีการเชอ่ื มหรอื ตอ่ ตวั อกั ษรใหต้ ิดเนอ่ื งกันหรอื เข้ากนั สนิท ภาคที่ ๒ วจีวิภาค คือ ส่วนแห่งคาพูด มี ๖ ชนิด ได้แก่ ๑) นาม ๒) อัพยยศัพท์ ๓) อาขยาต ๔) กิตก์ ๕) สมาส และ ๖) ตทั ธติ ภาคท่ี ๓ วากยสัมพันธ์ คือ การก และวิธีเรียงคาการกในวจีวิภาคท้ัง ๖ ชนิดเข้าเป็นวลี หรอื ประโยคต่าง ๆ ให้รู้หนา้ ทข่ี องคานามว่าเป็นการกอะไร ทาหนา้ ที่อยา่ งไร ภาคที่ ๔ ฉันทลักษณ์ คือ วิธีร้อยกรองคาพูดให้เปน็ คาถาหรือฉนั ท์ต่าง ๆ โดยใจความก็ คอื วธิ ีแตง่ ฉันท์ กาพย์ กลอน โคลง และคาถาต่าง ๆ ในภาษาบาลี กล่าวโดยสรุป โครงสร้างคาพูดในภาษาบาลี อาจจัดแบ่งออกเป็นภาค ได้ ๔ ภาค ได้แก่ ๑) อักขรวธิ ี คือ วิธีการใช้ตัวอักษร ๒) วจีวิภาค คือ ส่วนแห่งคาพูด ๓) วากยสัมพันธ์ คือ การก และวิธี เรยี งคาการกในวจวี ิภาค และ ๔) ฉันทลักษณ์ คือ วธิ ีรอ้ ยกรองคาพูดให้เปน็ คาถาหรือฉนั ท์ตา่ ง ๆ ๑.๔ ส่งิ ที่ควรทราบในการแปลภาษาบาลี ในการแปลภาษาบาลี ผแู้ ปลควรทาความเข้าใจกับสิ่งตอ่ ไปน้กี ่อน ดงั นี้ ๑.๔.๑ ศัพท์ คือ นิบาต อุปสรรค รวมท้ังนามและกรยิ าท่ียังไม่ได้ประกอบวภิ ัตติ เช่น ปน สเจ ปรุ ิส กุล ฯลฯ ๑.๔.๒ บท คอื นามศพั ท์ กริยาอาขยาต และกรยิ ากติ ก์ท้ังหมดที่ประกอบวิภตั ติแล้ว เช่น ปรุ โิ ส กลุ อาจรโิ ย ฯลฯ ๓
๑.๔.๓ พากยางค์ คอื บทหลายบทรวมกัน แตใ่ จความยังไม่สมบูรณ์ เช่น พทุ ฺธสฺส สาวโก (อ. พระสาวก ของพระพุทธเจ้า), ธมฺเม ปสาโท (อ. ความเลอ่ื มใสในธรรม) ฯลฯ ๑.๔.๔ พากย์ หรือ ประโยค คือ ข้อความท่ีมีใจความสมบูรณ์โดยมีตัวประธานและกรยิ า คุมพากย์ (ยกเวน้ ประโยคลงิ คัตถะ) เชน่ มาตา อตตฺ โน ปตุ ฺต อนุสาสติ. (อ. มารดา ย่อมพร่าสอน ซ่งึ บุตร ของตน) ฯลฯ ๑.๔.๕ การก (แปลว่า ผู้ทา) คือ คานามที่เปลี่ยนท้ายคาเป็นเอกวจนะและพหุวจนะ ใน รปู การกตา่ ง ๆ โดยเรียกตามช่ือของวภิ ัตตนิ น้ั ๆ ดงั แสดงในตารางท่ี ๑.๑ ตารางที่ ๑.๑ ชอ่ื การกต่าง ๆ ตามวิภัตติ ช่อื การก กัตตุการก ท่ี ชอ่ื วภิ ัตติ กัมมการก ๑ ปฐมาวิภัตติ กรณการก ๒ ทตุ ิยาวภิ ัตติ สมั ปทานการก ๓ ตตยิ าวิภตั ติ อปาทานการก ๔ จตุตถีวภิ ตั ติ สัมพนั ธการก ๕ ปญั จมวี ภิ ตั ติ อธกิ รณการก ๖ ฉฏั ฐวี ภิ ัตติ อาลปนการก ๗ สตั ตมวี ิภตั ติ ๘ อาลปนวภิ ตั ติ จากตารางที่ ๑.๑ การกท้ัง ๗ การก ดังกล่าวมานี้ บอกให้ผู้แปลรู้ว่า นามคาน้ันทาหน้าที่ อย่างไร และแปลเป็นภาษาไทยว่าอย่างไร กล่าวโดยสรุป ส่ิงท่ีควรทราบในการแปลภาษาบาลี ได้แก่ ศัพท์ บท พากยางค์ พากย์ (ประโยค) และ การก ๑.๕ คาแปลของการกต่าง ๆ คาแปลของการกต่างๆ ดังต่อไปนี้ มีความสาคัญมาก และถือเป็นหลักเบื้องต้นในการ แปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทย เพราะถ้าเราจาช่ือการกผิด ก็จะทาให้เราแปลผิดไปด้วย ยิ่งกว่านั้น ถือว่า แปลผิดหลักไวยากรณ์เลยทีเดียว ฉะน้ัน ผู้ศึกษาที่เริ่มต้นเรียนแปล ก็ต้องจาคาแปลของการกนั้น ๆ ให้ แมน่ ยา ดูคาแปลในตารางท่ี ๑.๒ ๔
ตารางที่ ๑.๒ ช่อื วภิ ตั ติ การก วจนะ และคาแปล ท่ี ช่ือวิภตั ติ การก เอกวจนะ คาแปล ๑ ปฐมาวภิ ัตติ กัตตุการก ” อ. ... (อันวา่ …) ๒ ทุตยิ าวิภตั ติ กมั มการก ” ซึ่ง/สู/่ ยงั /สิน้ /กะ/เฉพาะ/ตลอด… ๓ ตตยิ าวภิ ตั ติ กรณการก ” ด้วย/โดย/อนั /ตาม/เพราะ/ม/ี ด้วยทงั้ ... ๔ จตุตถวี ภิ ตั ติ สมั ปทานการก ” แก/่ เพ่อื /ต่อ… ๕ ปญั จมีวิภตั ติ อปาทานการก ” แต/่ จาก/กวา่ /เหตุ… ๖ ฉฏั ฐีวภิ ตั ติ สมั พนั ธการก ” แห่ง/ของ/เมื่อ… ๗ สตั ตมวี ิภตั ติ อธิกรณการก ” ใน/ใกล้/ท่/ี ครน้ั เม่อื /ในเพราะ/เหนือ/บน/ณ… ๘ อาลปนวิภัตติ อาลปนการก ” แนะ่ /ดกู ่อน/ข้าแต่… จากตารางท่ี ๑.๒ ในกรณีแปลโดยพยัญชนะถ้าเป็น พหุวจนะ ให้เติมคาว่า “ทั้งหลาย” หรือใช้อกั ษรย่อว่า ท. (ท้ังหลาย) ต่อท้ายคานามนั้น ๆ ทุกการก ยกเว้นคาสรรพนามพหุวจนะทใี่ ช้เพ่ือ แสดงความเคารพ และหมายถงึ คนคนเดียว คาแปลของการกต่าง ๆ ดังกล่าวมานี้ ภาษาบาลีเรียกว่า “อายตนิบาต” เป็นคาชนิดหน่ึง สาหรับเช่ือมคานามกับคานาม และคานามกับคากรยิ า ใหม้ ีเนื้อความเกย่ี วโยงถึงกัน ฟงั ได้ความถูกตอ้ ง ตามหลักไวยากรณ์ ใช้สาหรับเชื่อมข้อความคล้ายคาบุพบทในภาษาไทย เช่น สาวก ของ พระพุทธเจ้า ฯลฯ คาว่า “ของ” เป็นคาบุพบทในภาษาไทย ซ่ึงภาษาบาลีไมม่ ีคาบุพบททแี่ ยกรูปออกมาตา่ งหาก แต่เปน็ คาอายตนบิ าตทแ่ี ฝงอยู่กับคานามที่เปล่ียนท้ายคาเปน็ วจนะในรูปการกแล้ว เช่น พุทฺธสสฺ สาวโก (สาวก ของ พระพุทธเจ้า) มคี าอายตนบิ าตว่า ของ ซึ่งแฝงอยทู่ ่ีคานามคือ พทุ ธฺ สสฺ ฯลฯ กลา่ วโดยสรุป คาแปลของการกตา่ ง ๆ ในภาษาบาลีเรียกว่า “อายตนิบาต” เป็นคาชนดิ หน่ึง สาหรบั เช่ือมคานามกับคานาม และคานามกับคากริยา ให้มีเน้ือความเก่ียวโยงถึงกัน ฟังได้ความถูกต้อง ตามหลักไวยากรณ์ ใช้สาหรับเช่ือมข้อความคล้ายคาบุพบทในภาษาไทย เช่น สาวก ของ พระพุทธเจ้า (ของ = คาแปลของการก) ฯลฯ ๕
แบบฝึกหัดท่ี ๑.๑ ใหต้ อบคาถามตอ่ ไปน้ีโดยสังเขป ๑. ภาษาบาลีมีความสาคญั อย่างไร อธบิ ายพอสังเขป ๒. โครงสรา้ งคาพดู ในภาษาบาลีมีก่ชี นิด อะไรบ้าง ๓. โครงสรา้ งคาพดู ในภาษาบาลโี ดยย่อมีกภี่ าค อะไรบา้ ง ๔. สง่ิ ทค่ี วรรใู้ นการแปลภาษาบาลีมอี ะไรบ้าง ๕. การก คืออะไร คาแปลของการกตา่ ง ๆ มคี วามสาคัญอย่างไร ๖
๑.๖ หลักการแปลบาลีเปน็ ไทย การแปลบาลีเป็นไทย โดยหลักทั่วไป ก็มีหลักการแปลเช่นเดียวกับการแปลภาษาอ่ืน ๆ กล่าวคือ ผู้แปลจะต้องถ่ายทอดความหมายจากภาษาบาลีไปสู่ภาษาไทยโดยให้มีความหมายถูกต้อง ครบถว้ นตรงกนั และมีความสละสลวยของภาษาในฉบบั แปลคือภาษาไทย อน่งึ การถ่ายทอดความหมาย จากภาษาบาลีไปยังภาษาไทยน้ัน อาจจะต้องเร่ิมจากการเปลี่ยนรูปแบบของโครงสร้าง (form) ของ ภาษาบาลีให้เปน็ รปู แบบของโครงสรา้ ง (form) ของภาษาไทย โดยคานึงถึงความหมาย (meaning) เป็นสาคัญ จากหลักการแปลดังกล่าวข้างต้น จะมีเพียงรูปแบบของโครงสร้าง ซึ่งเปลี่ยนไป แต่ ความหมายน้ัน จะต้องคงอยู่เหมือนในต้นฉบับคือภาษาบาลี และคาว่า “รูปแบบของโครงสร้าง” ท่ี กล่าวถึงน้ี หมายถึง คา (words) วลี (phrases) อนุประโยค (clauses) ประโยค (sentences) และย่อ หนา้ ตา่ ง ๆ (paragraphs) ซึง่ ใชใ้ นภาษาต้นฉบบั คือภาษาบาลีและภาษาฉบบั แปลคือภาษาไทย อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุท่ีภาษาบาลีเป็นภาษาที่รักษาไว้ซ่ึงพระพุทธวจนะ คือ เป็นภาษาท่ี รักษาคาสอนของพระพุทธเจ้าไว้อย่างมีระบบแบบแผน การแปลท่ีเปลี่ยนรูปแบบของโครงสร้างโดย คานงึ ถึงความเป็นธรรมชาตขิ องภาษาหรือความสละสลวยของภาษาในฉบบั แปลคือภาษาไทยมาก ก็อาจ เสี่ยงต่อการแปลผิดได้มาก ไม่ว่าจะเป็นด้านความหมาย หรือพุทธประสงค์ของเรื่องหรือข้อความที่แปล นั้น ๆ ฉะนั้น การแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทยในประเทศไทย (โดยเฉพาะในวงการศึกษาของคณะสงฆ์ ไทย) แม้จะมีวิธกี ารแปลทัง้ แปลโดยพยัญชนะ (แปลตามตัวอักษร) และแปลโดยอรรถ (แปลเอาความ) ก็ ตาม แต่การแปลทั้งสองอย่างก็ยังคงมุ่งรักษารูปแบบของโครงสร้างเป็นส่วนใหญ่ ยังเป็นระดับการ แปลโดยเอาคาที่คิดว่ามีความหมายเหมือนกันเข้าไปแทนท่ี (literal) ซ่ึงถือว่าจาเป็นสาหรบั การแปล คาสอนทางศาสนา การแปลภาษาบาลีในระดับท่ีเราเรียกว่าการแปลโดยอรรถดังกล่าวน้ี โดยท่ัวไปอาจ มกี ารเปลี่ยนแปลงโครงสร้างบ้าง แต่ภาษาท่ีใชใ้ นฉบบั แปลคอื ภาษาไทยก็ยงั ไมเ่ ป็นธรรมชาตนิ ัก ยงั ไม่ถึง ระดบั การแปลทดี่ มี ากทงั้ ด้านความหมายและสานวนโวหาร (idiomatic translation) เพ่ือความเข้าใจอย่างชัดเจน จะแสดงเปรียบเทียบวิธีการแปลบาลีเป็นไทยท้ังโดยพยัญชนะ และโดยอรรถดังกล่าวกับระดับของการแปลท่ัว ๆ ไป เพื่อให้เห็นว่าวิธีการแปลบาลีเป็นไทยดังกล่าวน้ัน จัดอยใู่ นระดับใดของการแปลทวั่ ๆ ไป ดังแสดงในตารางที่ ๑.๓ ๗
ตารางที่ ๑.๓ เปรยี บเทยี บวธิ กี ารแปลบาลเี ปน็ ไทยกับระดับของการแปลทั่ว ๆ ไป วธิ กี ารแปล ระดบั การแปลท่ัว ๆ ไป บาลเี ปน็ ไทย ระดับท่ี ๑ การแปลแบบคาต่อคาจรงิ ๆ (very literal) - ระดับที่ ๒ การแปลโดยเอาคาท่ีคิดว่ามีความหมายเหมือนกันเข้า แปลโดยพยัญชนะ ไปแทนท่ี (literal) ระดับที่ ๓ การแปลท่ีมีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างบ้าง แต่ภาษาที่ แปลโดยอรรถ ใช้กย็ งั ไมเ่ ปน็ ธรรมชาตินกั (modified literal) ระดับท่ี ๔ การแปลท่ีดีมากท้ังด้านความหมายและสานวนโวหาร - (idiomatic translation) ระดับท่ี ๕ การแปลท่ีเพ่ิมเติมข้อความเข้าไปตามใจชอบ และทา - ใหค้ วามหมายของภาษาตน้ ฉบับเปลี่ยนไป (unduly free) จากตารางท่ี ๑.๓ จะเห็นว่า วิธีการแปลบาลีเป็นไทยในเมืองไทย (โดยเฉพาะในวงการศกึ ษา ของคณะสงฆ์ไทย) โดยพยญั ชนะนั้น จัดอยู่ในระดับการแปลระดับท่ี ๒ คอื แปลโดยการเอาคาท่ีคิดว่ามี ความหมายเหมือนกันเข้าไปแทนที่ ขณะเดียวกัน ยังคงรักษารูปแบบของโครงสร้างอย่างเคร่งครัด วิธี แปลแบบนีใ้ ชใ้ นหลกั สูตรชนั้ ประโยค ๑-๒ และชั้น ป.ธ. ๓ ส่วนวิธแี ปลโดยอรรถ จัดอยู่ในระดบั การแปล ระดับท่ี ๓ คือแปลโดยมีการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างบ้างแต่ภาษาท่ีใช้ยังไม่เป็นธรรมชาตินัก วิธีแปลแบบ นี้ใช้ในหลักสูตรชั้นประโยค ๑-๒ ถึงชั้น ป.ธ. ๙ ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดแห่งการศึกษาของคณะสงฆ์ไทยใน ปัจจบุ นั ฉะนั้น วิธีการแปลบาลีเป็นไทยในวงการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย อาจกล่าวได้ว่า สานวนการ แปลยังไม่ถึงระดับการแปล (หรือการแต่ง) ท่ีดีมากทั้งด้านความหมายและสานวนโวหาร อย่างไรก็ตาม เม่ือพจิ ารณาถึงหลักสูตรชนั้ ป.ธ.๙ โดยละเอียดแล้ว จะพบว่า วชิ า “แตง่ ไทยเปน็ มคธ (บาลี)” เปน็ วิชา ที่สอนให้นักศึกษาภาษาบาลีได้เรียนรู้ถึงระดับการแปล (หรือการแต่ง) ท่ีดีมากท้ังด้านความหมายและ สานวนโวหาร กลา่ วคอื ตน้ ฉบบั ภาษาไทยที่ครอู าจารยส์ ว่ นใหญ่นามาสอนนกั ศกึ ษาชน้ั ป.ธ. ๙ น้นั เป็น สานวนแปลและ/หรอื สานวนแต่งท่ดี ีมากทง้ั ด้านความหมายและสานวนโวหาร แทบจะเรียกได้ว่า “ไม่มี กล่ินไอของภาษาต้นฉบับคือภาษาบาลี”อยู่เลย เพราะผู้แปลได้ปรับบทแปลหรือปรับแต่งบทแปลให้ เป็นสานวนไทยด้วยความรู้ความเข้าใจของผู้แปลเองโดยไม่ยึดติดอยู่กับรูปประโยคและสานวน โวหาร ของภาษาต้นฉบับหรือภาษาเดิม ฉะนั้นสานวนการแปลท่ีปรากฏในระดับชั้น ป.ธ.๙ ในวิชา “แต่งไทย เป็นมคธ” น้ัน จึงอาจกล่าวได้ว่า “เป็นระดับการแปลท่ีดีมากทั้งด้านความหมายและสานวนโวหาร (idiomatic translation)” ซ่ึงจัดอยู่ในระดับการแปลระดับท่ี ๔ แห่งระดับการแปลทั่ว ๆ ไป ดังกลา่ วแลว้ ข้างต้น ๘
กล่าวโดยสรุป หลักการแปลบาลีเป็นไทย คือ ผู้แปลจะต้องยึดหลักการถ่ายทอดความหมาย จากภาษาบาลีไปสู่ภาษาไทยโดยให้มีความหมายถูกต้องครบถ้วนตรงกัน โดยคานึงถึงความหมายเป็น สาคัญ เพราะภาษาบาลีเป็นภาษาที่รักษาไว้ซ่ึงพระพุทธวจนะ การแปลที่เปล่ียนรูปแบบของโครงสร้าง โดยคานึงถึงความเป็นธรรมชาติของภาษาหรือความสละสลวยของภาษาในภาษาไทยมาก ก็อาจเส่ียงต่อ การแปลผิดได้มาก ไม่ว่าจะเป็นด้านความหมาย หรือพุทธประสงค์ของเร่ืองหรือข้อความที่แปลน้ัน ๆ ฉะนั้น การแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทยในประเทศไทยก็ยังคงมุ่งรักษารูปแบบของโครงสร้างเป็นส่วน ใหญ่ ยงั เปน็ ระดบั การแปลโดยเอาคาที่คดิ วา่ มีความหมายเหมือนกันเข้าไปแทนที่ ๑.๗ วธิ ีการแปลบาลีเปน็ ไทย วิธีการแปลบาลีเป็นไทยนับว่าเป็นวิธีการท่ีสาคัญในการเรียนรู้ภาษา ศึกษาหลักธรรมคาสอน ในพระพุทธศาสนา และ/หรือส่ือความหมายทางภาษาไปยังผู้อ่ืนในรูปแบบของตัวอักษรท่ีเป็นข้อความ บทความ หรอื เรื่องราวต่าง ๆ วิธีการแปลบาลีเป็นไทยท่ีถือปฏิบัติกันอยู่ในวงการศึกษาไทย (โดยเฉพาะในวงการศึกษาของ คณะสงฆ์ไทย) ในยุคปัจจุบัน อาจจาแนกได้เป็น ๓ วิธี ได้แก่ ๑) วิธีการแปลโดยพยัญชนะ ๒) วิธีการ แปลโดยอรรถ และ ๓) วิธีการแปลโดยยกศพั ท์ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปน้ี ๑.๗.๑ วิธีการแปลโดยพยัญชนะ เป็นการแปลตามตัวอักษรโดยเอาคาท่ีคิดว่ามี ความหมายเหมือนกันเข้าไปแทนท่ี (literal) แต่ยังคงมุ่งที่จะรักษารูปแบบ อันได้แก่ คา การเรียงคา วลี ประโยค และย่อหน้าต่าง ๆ ท่ีใช้ในภาษาบาลี เป็นการแปลที่รักษาสภาพเดิมของต้นฉบับบาลีไว้อย่าง เคร่งครัด ต้องอาศัยความละเอียดรอบคอบและระมัดระวัง โดยเฉพาะในเรื่องไวยากรณ์และโครงสร้าง เวลาแปลให้คงสาเนียงคาแปลของการกต่างๆ ไว้ท้ัง ๒ วจนะ เพื่อให้เกิดทักษะในเรื่องของการกว่า นาม ศพั ท์ใดเป็นการกอะไร ออกสาเนียงอายตนิบาต (คาแปลของการก) วา่ อย่างไร ดตู ัวอยา่ ง ประโยค: อาจริยสฺส สสิ สฺ า คามสฺมึ วหิ าเร วสนตฺ ิ. แปลโดยพยญั ชนะ: อ. ศิษย์ ท. ของอาจารย์ ย่อมอยู่ ในวิหาร ใกลบ้ ้าน ๑.๗.๒ วิธีการแปลโดยอรรถ เปน็ การแปลเอาความทม่ี ีการเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งบ้าง แต่ ภาษาที่ใช้ก็ยังไม่เป็นธรรมชาตินัก (modified literal) เมื่อผู้แปลเกิดความชานาญในการแปลโดย พยัญชนะแล้ว ให้เริ่มฝึกแปลโดยอรรถ โดยให้ตัดสาเนียงอายตนิบาตออกบ้าง ถือเอาแต่ใจความตาม ภาษาไทย ฟังได้ความชัดเจนยิ่งข้ึน กล่าวให้เข้าใจง่ายก็คือให้ตัดสาเนียงคาแปลว่า “อันว่า” ออกและ ตดั สาเนยี งคาแปลอายตนิบาตอื่น ๆ เช่น ซ่งึ , ส่,ู ยัง, สิ้น เป็นตน้ ออกไดบ้ ้าง ทั้งน้ีข้ึนอยู่กบั ว่าได้ความ ชดั เจนหรอื ไม่ชัดเจนอยา่ งไร ดูตวั อย่าง ๙
ประโยค: สาวกาน สงโฺ ฆ พุทฺธสฺส ธมมฺ จรติ. แปลโดยอรรถ: หมพู่ ระสาวก ย่อมประพฤติธรรมของพระพุทธเจ้า ๑.๗.๓ วิธีการแปลโดยยกศัพท์๒ เป็นการแปลท่ีผู้แปลต้องอ่านคาบาลีก่อนแล้วแปลเป็น ภาษาไทย (แปลด้วยปาก) การแปลแบบนี้ นิยมใช้ในชั่วโมงการเรียนกับครูอาจารย์ เวลาแปล ครูผู้สอน จะกาหนดเร่ืองให้นักเรียนคนใดคนหน่ึงแปลตามหัวข้อเรื่องท่ีสอนในช่ัวโมงนั้น โดยผู้แปลอ่านคาบาลีที่ จะแปลก่อนแล้วแปลเป็นภาษาไทยตามวิธีแปลโดยพยัญชนะซ่ึงต้องออกสาเนี ยงอายตนิบาตให้ตรงกับ การกนั้นๆ ศัพท์ไหนต้องแปลก่อนแปลหลัง ต้องรู้กฎการแปลเป็นอย่างดี ถ้าไม่รู้กฎการแปลและไม่รู้จัก ศัพท์ทางไวยากรณ์ท่ีสาคัญ อาทิ ไม่รู้ว่า นามคาไหนเป็นการกอะไร คากริยาของบทประธานเป็นวาจก อะไร ก็จะอึดอัดใจและแปลไม่ได้ แต่ถ้ารู้กฎการแปลและรู้จักศัพท์สาคัญดังกล่าวได้ดี ก็จะแปลได้ทันที เช่น ประโยค: ทาริกา อาจรยิ สฺส วหิ าเร อทุ ก ปิวติ. แปลโดยยกศพั ท์: ทาริกา อ. เดก็ หญงิ ปวิ ติ ย่อมดืม่ อุทก ซงึ่ นา้ วิหาเร ในวหิ าร อาจรยิ สฺส ของอาจารย์ กล่าวโดยสรุป วิธีการแปลบาลีเป็นไทยท่ีถือปฏิบัติกันอยู่ในวงการศึกษาของคณะสงฆไ์ ทย ในยุคปัจจุบัน อาจจาแนกได้เป็น ๓ วิธี ได้แก่ ๑) วิธีการแปลโดยพยัญชนะ ๒) วิธีการแปลโดยอรรถ และ ๓) วธิ ีการแปลโดยยกศัพท์ ๑.๘ ขัน้ ตอนในการแปลบาลเี ป็นไทย ในการแปลบาลีเปน็ ไทย อาจแบ่งออกเป็น ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนท่ี ๑ วิเคราะห์ หมายถึง การหาความหมายของส่วนแห่งคาพูด ข้อความ หรือ ประโยคทตี่ ้องการในภาษาบาลี โดยการวเิ คราะหร์ ปู แบบของภาษาบาลีท่ีใช้แสดงขอ้ ความน้นั ข้ันตอนที่ ๒ ถ่ายทอด หมายถึง การถ่ายทอดความหมายท่ีวิเคราะห์ได้ในข้ันแรกจาก ภาษาบาลีไปสู่ภาษาไทย โดยใช้ส่วนแห่งคาพูด ข้อความหรือประโยคท่ีแสดงออกด้วย (รูปแบบของ) ภาษาไทย ขั้นตอนที่ ๓ ปรับบท๓ หมายถึง การปรับแต่งส่วนแห่งคาพูด ข้อความ หรือประโยคท่ีได้ จากการถ่ายทอดในขั้นท่ีสองให้สอดคล้องกับลักษณะของภาษาไทย และเหมาะสมกับวัตถุประสงค์แห่ง ๒ วิธกี ารแปลโดยยกศัพท์ ก็คือวธิ ีการแปลโดยพยัญชนะหรือแปลตามตวั อกั ษรอกี รูปแบบหนึง่ นั่นเอง เพยี งแต่ ว่า เวลาแปลผู้แปลตอ้ งอา่ นคาบาลีกอ่ นแล้วแปลเปน็ ภาษาไทย ๓ โดยท่ัวไป การแปลภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทยในข้ันของการถ่ายทอดความหมายท่ีวิเคราะห์ได้ในขั้น แรกนั้น มักจะมีสานวนโวหารของภาษาเดิมด้วย ไม่ว่าจะเป็นภาษาวิชาการหรือภาษาสามัญ เช่น ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาอเมริกัน แมจ้ ะเปน็ ภาษาเดียวกนั ก็มีสานวนการเขียนต่างกนั สานวนภาษาฝรงั่ เศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน หรือ ๑๐
การแปล กล่าวคือ ถ้าแปลโดยพยัญชนะ ก็ยังคงมุ่งรักษารูปแบบที่ใช้ในภาษาบาลี แต่ถ้าเป็นการแปล โดยอรรถก็อาจเปล่ียนแปลงโครงสร้างบ้าง แต่ต้องไม่ปรับแต่งคาพูด ข้อความ หรือประโยค ให้มีสานวน ลีลาโวหารมากเกนิ ไปเพราะอาจทาให้ความหมายในภาษาบาลเี ปลีย่ นไป ในการแปลบาลีเปน็ ไทยนน้ั ปัญหาใหญ่มักจะอยู่ท่ีขน้ั ตอนแรก คอื ผู้แปลไมเ่ ข้าใจตน้ ฉบบั จึงไม่ สามารถหาความหมายได้และแปลไม่ได้ ส่วนปัญหาว่า จะแปลอย่างไรจึงจะเป็นสานวนแปลโดย พยัญชนะหรือโดยอรรถที่ดีน้ัน เป็นปัญหารองลงมา ดังน้ัน ในการแปลบาลีเป็นไทยผู้แปลควรทาความ เข้าใจกับภาษาต้นฉบับเสยี ก่อน ซง่ึ ในท่นี ี้กค็ ือภาษาบาลี กล่าวโดยสรปุ ขน้ั ตอนในการแปลบาลเี ป็นไทยอาจแบ่งออกเป็น ๓ ข้นั ตอน ไดแ้ ก่ ๑) วิเคราะห์ เป็นการหาความหมายของส่วนแห่งคาพูด ข้อความ หรือประโยคที่ต้องการในภาษาบาลี ๒) ถ่ายทอด เป็นการถา่ ยทอดความหมายที่วิเคราะห์ได้ในข้นั แรกจากภาษาบาลไี ปสู่ภาษาไทย และ ๓) ปรบั บท เป็น การปรับแต่งส่วนแห่งคาพูด ข้อความ หรือประโยคที่ได้จากการถ่ายทอดในขั้นที่สองให้สอดคล้องกับ ลกั ษณะของภาษาไทย ภาษาญี่ปุ่น ก็มีลีลาโวหารและโครงสร้างประโยคเฉพาะตัวต่างจากภาษาอื่น ๆ สานวนและลีลาเหล่านี้เมื่อถ่ายทอด ความหมายตรง ๆ มาเป็นภาษาไทย ทาให้ผู้อ่านที่ไม่มีพื้นความรู้ในภาษาต่างประเทศน้ัน ๆ จับความได้ยาก ปัญหา สานวนโวหารท่ีมี “กลิ่นเคร่อื งเทศ เคร่ืองยาและนมเนย” เช่นน้ี จะหมดไปได้ ก็ด้วยการเรียบเรียงหรือปรับแต่งเป็น สานวนไทยด้วยความรูค้ วามเขา้ ใจของผแู้ ปลเอง โดยไม่ยดึ ติดอยู่กบั รูปประโยค และโวหารของภาษาเดิม ๑๑
แบบฝึกหดั ที่ ๑.๒ ใหต้ อบคาถามต่อไปน้ีโดยสังเขป ๑. การแปลบาลีเป็นไทยมีหลักทวั่ ไปอย่างไร ๒. การแปลบาลีเปน็ ไทยในประเทศไทยใชว้ ธิ ใี ด อย่างไร ๓. คากล่าวที่วา่ “ไม่มีกลนิ่ ไอของภาษาตน้ ฉบบั ” เก่ยี วข้องกับการแปลอย่างไร ๔. วธิ ีการแปลภาษาบาลีท่ถี ือปฏิบัติกนั อยใู่ นวงการศกึ ษาของคณะสงฆ์ไทยในปจั จบุ ันมีกีว่ ธิ ี อะไรบา้ ง ๕. การแปลบาลเี ป็นไทยมีก่ขี ้ันตอน อะไรบ้าง ๑๒
๑.๙ สรุปทา้ ยบท ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการแปลบาลีเป็นไทยท่ีได้นาเสนอในบทที่ ๑ น้ี มีท้ังหมด ๗ ประเด็น ซง่ึ แตล่ ะประเดน็ มสี าระสาคญั อาจสรปุ ได้ ดังน้ี ๑.๙.๑ ความสาคัญของภาษาบาลี: ภาษาบาลีมีความสาคัญและมีอิทธิพลต่อภาษาไทย เป็นอย่างมากทั้งในแง่ของการใช้ภาษา และในแง่ของการศกึ ษาพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาทคี่ นส่วน ใหญ่ของประเทศนับถือ ๑.๙.๒ โครงสร้างคาพูดในภาษาบาลี: อาจจัดแบ่งออกเป็นภาค ได้ ๔ ภาค ได้แก่ ๑) อักขรวิธี คือ วิธีการใช้ตัวอักษร ๒) วจีวิภาค คือ ส่วนแห่งคาพูด ๓) วากยสัมพันธ์ คือ การก และวิธี เรยี งคาการกในวจวี ภิ าค และ ๔) ฉันทลกั ษณ์ คือ วธิ ีร้อยกรองคาพดู ให้เปน็ คาถาหรอื ฉนั ทต์ ่าง ๆ ๑.๙.๓ ส่ิงท่ีควรทราบในการแปลภาษาบาลี: ได้แก่ ศัพท์ บท พากยางค์ พากย์ (ประโยค) และ การก ๑.๙.๔ คาแปลของการกต่าง ๆ: คาแปลของการกต่าง ๆ ในภาษาบาลีเรียกว่า อายต นิบาต เป็นคาชนิดหนงึ่ สาหรับเชื่อมคานามกบั คานาม และ คานามกับคากรยิ า ใหม้ ีเน้ือความเก่ียวโยงถึง กัน ฟังได้ความถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ใช้สาหรับเช่ือมข้อความคล้ายคาบุพบทในภาษาไทย เช่น สาวก ของ พระพุทธเจ้า (ของ = คาแปลของการก) ฯลฯ ๑.๙.๕ หลักการแปลบาลีเป็นไทย: ผู้แปลจะต้องยึดหลักการถ่ายทอดความหมายจาก ภาษาบาลีไปสู่ภาษาไทยโดยให้มีความหมายถูกต้องครบถ้วนตรงกัน โดยคานึงถึงความหมายเป็นสาคัญ เพราะภาษาบาลีเป็นภาษาท่ีรักษาไว้ซ่ึงพระพุทธวจนะ การแปลท่ีเปล่ียนรูปแบบของโครงสร้างโดย คานึงถึงความเปน็ ธรรมชาติของภาษาหรือความสละสลวยของภาษาในภาษาไทยมาก ก็อาจเสยี่ งต่อการ แปลผิดได้มาก ไมว่ ่าจะเป็นด้านความหมาย หรือพทุ ธประสงค์ของเรือ่ งหรือขอ้ ความท่ีแปลน้ัน ๆ ฉะนั้น การแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทยในประเทศไทยก็ยังคงมุ่งรักษารูปแบบของโครงสร้างเป็นส่วนใหญ่ ยัง เป็นระดบั การแปลโดยเอาคาที่คิดวา่ มีความหมายเหมอื นกันเขา้ ไปแทนที่ ๑.๙.๖ วิธีการแปลบาลีเป็นไทย: วิธีการแปลบาลีเป็นไทยที่ถือปฏิบัติกันอยู่ในวง การศึกษาของคณะสงฆ์ไทยในยุคปัจจุบัน อาจจาแนกได้เป็น ๓ วิธี ได้แก่ ๑) วิธีการแปลโดยพยัญชนะ ๒) วิธีการแปลโดยอรรถ และ ๓) วธิ ีการแปลโดยยกศพั ท์ ๑.๙.๗ ข้ันตอนในการแปลบาลีเป็นไทย: อาจแบ่งข้ันตอนการแปลออกได้เป็น ๓ ขัน้ ตอน ได้แก่ ๑) วิเคราะห์ เปน็ การหาความหมายของส่วนแห่งคาพดู ขอ้ ความ หรือประโยคที่ต้องการ ในภาษาบาลี ๒) ถ่ายทอด เป็นการถ่ายทอดความหมายที่วิเคราะห์ได้ในข้ันแรกจากภาษาบาลีไปสู่ ภาษาไทย และ ๓) ปรับบท เป็นการปรับแต่งส่วนแห่งคาพูด ข้อความ หรือประโยคท่ีได้จากการ ถ่ายทอดในข้นั ท่ีสองให้สอดคลอ้ งกบั ลักษณะของภาษาไทย ๑๓
บทท่ี ๒ วภิ ตั ตอิ าขยาต วตั ถุประสงค์ ๑. บอกความหมายของวภิ ัตตอิ าขยาตได้ ๒. อธบิ ายหลกั การและวิธีการแปลวภิ ตั ตอิ าขยาตได้ ๓. แปลวภิ ตั ตอิ าขยาตได้อยา่ งถกู ต้อง ๒.๑ ความนํา อาขยาต ในการแปลบาลีเป็นไทย หลังจากที่ผู้ศึกษาได้ศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการแปลบาลีเป็น ไทยในบทท่ี ๑ มาแลว้ จงึ ควรศึกษาและเร่ิมฝึกแปลวิภตั ติอาขยาต เพราะวิภตั ติอาขยาตเป็นเรื่องสาคัญ ในเบ้ืองต้นสาหรับผู้แปลบาลีเป็นไทย ดังน้ัน ในบทนี้ จะนาเสนอเน้ือหาสาระสาคัญที่เก่ียวกับวิภัตติ อาขยาต ๙ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑) ความหมายของวิภตั ติอาขยาต ๒) การแปลวัตตมานาวภิ ัตติ ๓) การแปล ปัญจมีวิภัตติ ๔) การแปลสัตตมีวิภัตติ ๕) การแปลปโรกขาวิภัตติ ๖) การแปลหิยัตตนีวิภัตติ ๗) การ แปลอัชชตั ตนีวภิ ตั ติ ๘) การแปลภวสิ สนั ติวิภตั ติ และ ๙) การแปลกาลาติปัตตวิ ภิ ตั ติ โดยมรี ายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี ๒.๒ ความหมายของวิภตั ติอาขยาต คาวา่ “วิภัตติ”๑ แปลว่า แจกหรือแบง่ หมายถึง ตัวแบ่งแยกศพั ท์ออกเป็นส่วน ๆ เพือ่ จัดไวใ้ ห้ เป็นหมวดหมู่และเพือ่ บอกให้รู้ กาล บท วจนะ และบรุ ุษ ส่วนคาวา่ “อาขยาต”๒ แปลว่า กลา่ วทั่วแล้ว ๑ วิภัตติ ในภาษาบาลี มี ๒ ประเภท คือ วิภัตตินาม กับ วิภัตติอาขยาต, วิภัตตินาม ใช้แจกหรือประกอบ กับนามศัพท์เพื่อบอกให้รู้ลิงค์ วจนะ การันต์ และอายตนิบาต ส่วน วิภัตติอาขยาต ใช้แจกหรือประกอบธาตุหรือมูล ศัพทป์ ระเภทกริยาเพอ่ื บอกให้รู้ กาล บท วจนะ และบรุ ษุ ๒ อาขยาต มาจาก อา บทหน้า (อา=ทั่ว) ขฺยา ธาตุ (ขฺยา=กล่าว) ต ปัจจัย มีวิเคราะห์ว่า (กิริยํ) อาขฺยาตตี ิ อาขฺยาตํ (สททฺ ชาต)ํ แปลวา่ อ. ศพั ทใ์ ด ยอ่ มกล่าว ซึ่งกรยิ า เพราะเหตนุ น้ั อ. ศพั ทน์ น้ั ชือ่ ว่า อาขยาต ๑๔
หมายถึง ศพั ท์ทบี่ อกให้ทราบถึงกริยาอาการของนาม เชน่ ยนื เดนิ นัง่ นอน ฯลฯ ดังนน้ั วิภัตติอาขยาต จงึ หมายถึง ตัวแบ่งแยกศัพท์กรยิ าของนามเพื่อบอกให้รู้ กาล บท วจนะ และบุรุษ โดยจดั เป็น ๘ หมวด ดงั น้ี หมวด ชอ่ื วิภตั ติ วัตตมานา คําแปล ๑ วตั ตมานาวภิ ตั ติ ปัญจมี = เป็นไปอยู่ ๒ ปัญจมวี ภิ ัตติ สตั ตมี = เปน็ ท่ีเต็มแหง่ ความปรารถนา ๕ ๓ สตั ตมีวิภตั ติ ปโรกขา = เป็นที่เตม็ แหง่ ความราพึง ๗ ๔ ปโรกขาวิภตั ติ หิยัตตนี = กลา่ วถึงสงิ่ ท่ีมีอย่ใู นหนหลัง ๕ หิยัตตนวี ิภตั ติ อชั ชตั ตนี = มแี ลว้ ในวนั วาน ๖ อชั ชตั ตนวี ิภตั ติ ภวิสสนั ติ = มแี ลว้ ในวันนี้ ๗ ภวิสสันติวภิ ัตติ กาลาติปตั ติ = จกั มี ๘ กาลาติปตั ตวิ ิภตั ติ = ลว่ งกาล วิภตั ติอาขยาตทัง้ ๘ หมวดนี้ หมวดทใ่ี ช้มากทีส่ ุด คอื หมวดวตั ตมานาวภิ ตั ติกับหมวดอัชชัตตนี วิภตั ติ การแปลวภิ ตั ติอาขยาตท้ัง ๘ หมวดน้ี เปน็ เรอ่ื งท่ไี ม่ยากและมีความสาคัญในเบ้ืองต้น ผู้เรียนแปล จงึ ควรเริม่ ฝกึ แปลกอ่ น กล่าวโดยสรุป คาว่า “วภิ ตั ตอิ าขยาต” หมายถึง ตวั แบ่งแยกศัพท์กริยาของนามเพ่ือบอกให้รู้ กาล บท วจนะ และบุรุษ โดยจัดเป็น ๘ หมวด ได้แก่ ๑) วัตตมานาวิภัตติ ๒) ปัญจมีวิภัตติ ๓) สัตตมี วิภัตติ ๔) ปโรกขาวิภัตติ ๕) หิยัตตนีวิภัตติ ๖) อัชชัตตนีวิภัตติ ๗) ภวิสสันติวิภัตติ และ ๘) กาลาติปัตติ วภิ ตั ติ หมวดท่ีใช้มากทส่ี ดุ คอื หมวดวตั ตมานาวภิ ัตตกิ บั หมวดอัชชตั ตนวี ภิ ตั ติ ๒.๓ การแปลวตั ตมานาวภิ ตั ติ “วตั ตมานา” แปลว่า เป็นไปอยู่ จัดเป็นปจั จุบนั กาล กัตตวุ าจก แปลได้ ๓ อยา่ ง ดังนี้ ๒.๓.๑ ปัจจบุ ันแท้ แปลว่า “อย…ู่ ” ๒.๓.๒ ปจั จุบนั ใกล้อดตี แปลวา่ “ยอ่ ม...” ๒.๓.๓ ปจั จบุ นั ใกล้อนาคต แปลว่า “จะ…” คาแปลของวัตตมานาวิภตั ติ (ติ, อนตฺ ิ, สิ, ถ, ม,ิ ม) อยู่ในวงจากดั เพยี ง อย,ู่ ย่อม, จะ เท่าน้ัน ผ้แู ปลต้องเลอื กใชค้ าใดคาหน่ึงให้สอดคล้องกบั กาลเวลาทีก่ ลา่ วถงึ เปน็ สาคัญ ดูประโยคตัวอยา่ ง ๑๕
ประโยค แปลโดยพยัญชนะ สสิ ฺโส สิปฺปํ สิกขฺ ต.ิ อ. ศษิ ย์ ศกึ ษาอยู่ ซึ่งศิลปะ กสกา เขตฺต กสนฺติ. อ. ชาวนา ท. ยอ่ มไถ ซงึ่ นา ข้อสังเกตเกี่ยวกับวิภัตติบางตัวในหมวดน้ี ๑) ติ ประกอบกับ อสฺ ธาตุ ในความมีความเป็น แปลงเป็น ตฺถิ เช่น อตฺถิ นตฺถิ ฯลฯ (กรยิ า ๒ ตัวน้ี ใชเ้ ป็นกริยาของตวั ประธานไดท้ ้ัง เอกวจนะ และพหวุ จนะ) ๒) ถ ประกอบกบั อสฺ ธาตุ แปลงเป็น ตถฺ เชน่ อตฺถ ๓) ม-ิ ม ถา้ ข้างหนา้ เป็นรัสสะ มีอานาจให้ทฆี ะได้ เชน่ ลภามิ ลภาม ฯลฯ เม่ืออยู่หลัง ทา ธาตุ มอี านาจใหเ้ ปลี่ยน อา แห่ง ทา เป็น นคิ คหิต แลว้ แปลง นิคคหิต เป็น ม เชน่ ทมฺมิ ทมฺม ฯลฯ แต่ ถ้าประกอบกับ อสฺ ธาตุ แปลง มิ เปน็ มหฺ ิ และแปลง ม เป็น มหฺ เช่น อมฺหิ อมหฺ ฯลฯ กล่าวโดยสรุป คาวา่ “วตั ตมานา” แปลวา่ เป็นไปอยู่ จดั เป็นปัจจุบนั กาล กัตตุวาจก คาแปล ของวัตตมานาวิภัตติ (ติ อนฺติ สิ ถ มิ ม) อยใู่ นวงจากดั เพยี ง อย,ู่ ย่อม, จะ เท่าน้ัน ผแู้ ปลต้องเลือกใชค้ า ใดคาหนงึ่ ใหส้ อดคล้องกบั กาลเวลาทก่ี ลา่ วถงึ เป็นสาคัญ คือ ปัจจบุ นั แท้ แปลวา่ “อยู่” ปจั จบุ ันใกลอ้ ดีต แปลวา่ “ย่อม” ปัจจบุ ันใกล้อนาคต แปลวา่ “จะ” ๑๖
แบบฝกึ หัดที่ ๒.๑ (การแปลวตั ตมานาวิภตั ติ) ก. ใหแ้ ปลคาํ กริยาอาขยาตต่อไปนี้เป็นไทย โดยข้นึ ประธานประกอบให้ถูกต้องตามวภิ ัตติ วจนะ และบรุ ุษ ๑. ปจติ ๘. ขาทนตฺ ิ ๑๕. อตฺถ ๒. ปจนฺติ ๙. ลขิ สิ ๑๖. ลภามิ ๓. ปจสิ ๑๐. หรถ ๑๗. กโรม ๔. ปจถ ๑๑. ปิวามิ ๑๘. ทมมฺ ิ ๕. ปจามิ ๑๒. ปสฺสาม ๑๙. ทมฺม ๖. ปจาม ๑๓. อตฺถิ ๒๐. อมหฺ ิ ๗. จรติ ๑๔. นตฺถิ ๒๑. อมฺห ข. ให้แปลประโยคต่อไปนี้เป็นไทยโดยพยัญชนะ ๑. เอโส ภกิ ขฺ ุ ชนาน ธมมฺ เทเสติ. ๒. สจจฺ กิร ตฺว ภกิ ฺขุ เอว กโรสิ. ๓. กึ กโรมิ. ๑๗
๒.๔ การแปลปัญจมวี ิภัตติ “ปญั จมี” แปลวา่ เป็นท่ีเต็มแห่งความปรารถนา ๕ เปน็ กาลท่แี ฝงอยู่ในระหว่าง เพราะตาม คาแปลก็ไม่บง่ ชัดลงไปวา่ เป็นกาลอะไร อย่างไรก็ตาม ท่านจดั เปน็ ปจั จบุ ันกาล แปลได้ ๓ อยา่ ง ดงั น้ี ๒.๔.๑ บอกการบังคับ แปลวา่ “จง…” ๒.๔.๒ บอกความหวัง แปลว่า “จง…เถดิ ” ๒.๔.๓ บอกการอ้อนวอน แปลว่า “ขอจง…” ดปู ระโยคตัวอยา่ ง ประโยค แปลโดยพยญั ชนะ เอว กโรหิ. อ. เจ้า จงทาํ อย่างนี้ สพฺเพ สตตฺ า อเวรา โหนตฺ ุ. อ. สตั ว์ ท. ท้ังปวง จงเป็นผ้ไู มม่ ีเวร จงเปน็ เถดิ สณุ าตุ เม ภนฺเต สงโฺ ฆ. ข้าแตท่ ่านผเู้ จรญิ อ.พระสงฆ์ ขอจงฟัง (ซ่ึงคา) ของข้าพเจา้ ในกรณีที่บอกถงึ การบังคับ ความหวงั และการอ้อนวอนในเชิงห้าม กจ็ ะมี มา ศัพท์ ซ่ึงเปน็ นบิ าตบอกปฏิเสธ วางไวห้ นา้ คากริยาท่ปี ระกอบดว้ ยวภิ ตั ติหมวดปัญจมี ดูประโยคตัวอยา่ ง แปลโดยพยัญชนะ ประโยค อ. ทา่ น จงอยา่ ทํา มา กโรหิ. อ. ท่าน จงอยา่ ทาํ อย่างนี้ มา เอว กโรหิ. อ. ท่าน จงอย่าทาํ ซ่ึงกรรมชัว่ นน้ั ตฺว ต ปาปํ กมฺม มา กโรหิ. ข้อสังเกตในวิภัตติหมวดปัญจมี ๑) ม-ิ ม นยิ มใช้เชน่ เดยี วกับ มิ-ม ในหมวดวตั ตมานาวิภตั ติ ๒) ตุ ประกอบกบั อสฺ ธาตุ แปลงเปน็ ตถฺ ุ เช่น อตถฺ ุ ๓) หิ ถ้าคงไว้ตามรปู เดิม มีอานาจให้ทีฆะเสมอ เช่น คจฺฉาหิ คณหฺ าหิ เปน็ ตน้ แต่ถา้ ลบ เสีย ไม่ต้องทีฆะ เช่น คจฺฉ นิสีท เปน็ ตน้ ๑๘
กลา่ วโดยสรปุ คาวา่ “ปัญจมี” แปลวา่ เปน็ ทเี่ ตม็ แห่งความปรารถนา ๕ เป็นกาลทแ่ี ฝงอยใู่ น ระหว่าง เพราะตามคาแปลก็ไมบ่ ่งชัดลงไปว่าเป็นกาลอะไร อย่างไรก็ตาม นยิ มจัดเป็นปัจจุบันกาล คา แปลของปัญจมวี ิภตั ติ มอี ยู่ ๓ กรณี คอื ๑) กรณบี อกการบังคบั แปลวา่ “จง…” ๒) กรณบี อกความหวงั แปลวา่ “จง...เถิด” และ ๓) กรณบี อกการอ้อนวอน แปลว่า “ขอจง...” ๑๙
แบบฝกึ หัดท่ี ๒.๒ (การแปลปญั จมีวภิ ัตติ) ก. ใหแ้ ปลคํากริยาอาขยาตตอ่ ไปนเ้ี ป็นไทยโดยข้นึ ประธานประกอบใหถ้ ูกตอ้ งตามวภิ ัตติ วจนะ และบรุ ษุ ๑. กโรตุ ๗. สุณาตุ ๑๓. อตฺถุ ๒. กโรนฺตุ ๘. คจฉฺ นฺตุ ๑๔. คจฉฺ าหิ ๓. กโรหิ ๙. คณฺหาหิ ๑๕. คจฺฉ ๔. กโรถ ๑๐. โหถ ๑๖. นิสีท ๕. กโรมิ ๑๑. ปจามิ ๑๗. คจฉฺ ามิ ๖. กโรม ๑๒. หรามิ ๑๘. คจฉฺ าม ข. ใหแ้ ปลประโยคตอ่ ไปนีเ้ ป็นไทยโดยพยัญชนะ ๑. ธน อาหร, สเร อาหร. ๒. เทถ ต (ธีตร) มยฺห ปตุ ฺตสฺส. ๓. ขมถ โน ภนเฺ ต. ๔. มา เม ปิตร นาเสถ. ๒๐
๒.๕ การแปลสัตตมวี ภิ ัตติ “สัตตมี แปลวา่ เปน็ ท่เี ตม็ แห่งความราํ พึง ๗ เปน็ กาลที่แฝงอยู่ในระหว่าง คอื ไม่บง่ ชดั ลงไปว่า เปน็ กาลอะไร เช่นเดยี วกับ ปัญจมี แต่ท่านได้จดั เป็นปจั จบุ ันกาล แปลได้ ๓ อย่าง ดังนี้ ๒.๕.๑ บอกการยอมตาม แปลวา่ “ควร…” ๒.๕.๒ บอกการกาํ หนด (หรอื การคาดะเน) แปลวา่ “พึง…” ๒.๕.๓ บอกความราํ พึง แปลวา่ “พึง…” ดูประโยคตัวอยา่ ง ประโยค แปลโดยพยัญชนะ ชนา ปนุ ปฺปุน ปญุ ฺ กเรยยฺ ุ ตฺว เจ (ตฺว ฺเจ) ปาปํ กมฺม กเรยยฺ าสิ, ทคุ คฺ ตึ คจฉฺ สิ. อ. ชน ท. ควรทํา ซึ่งบุญ บ่อย ๆ หากวา่ อ. ท่าน พงึ ทํา ซึ่งกรรม สเจ ปุคฺคโล ปุญฺ กเรยยฺ , โส สุคตึ คจฉฺ ต.ิ ชว่ั ไซร้, (อ. ทา่ น) จะไป สู่ทุคติ ถา้ ว่า อ. บุคคล พงึ ทํา ซ่งึ บญุ ไซร้ ยนฺนูน อห (ยนฺนูนาห) ปพฺพชฺเชยฺย อ. เขา จะไป สสู่ ุคติ ไฉนหนอ อ. ขา้ พเจ้า พงึ บวช ข้อควรจําในประโยคท่ีบอกการคาดคะเน ในประโยคทบ่ี อกการคาดคะเน มกั มนี ิบาตบอกปรกิ ัป เชน่ เจ สเจ ฯลฯ ดว้ ยเสมอ และ เจ หรอื สเจ ซ่งึ เป็นนิบาตบอกปริกัปน้ี มอี ยใู่ นประโยคใด เวลาแปลเปน็ ไทย (โดยพยญั ชนะ) นิยมเตมิ คาว่า “ไซร้” ไวต้ อนจบประโยคเสมอไป ขอ้ สังเกตในหมวดสตั ตมีวภิ ัตติ ๑) เอยฺย แปลงเป็น อา บ้าง เชน่ กยริ า (กร+ยริ +เอยฺย) แปลงเปน็ อยิ า บา้ ง เชน่ สิยา (อสฺ ธาตุ ลบตน้ ธาต)ุ ชานยิ า แปลงเปน็ า บ้าง เช่น ชญฺ า และประกอบกับ อสฺ ธาตุ แปลงเป็น อสฺส ๒) เอยฺยํุ ประกอบกบั อสฺ ธาตุ แปลงเปน็ อสสฺ ุ และแปลงเปน็ อยิ ุํ ลบตน้ ธาตุ เช่น สยิ ํุ ๓) เอยฺยาสิ ประกอบกบั อสฺ ธาตุ แปลงเป็น อสฺส บ้าง ๔) เอยยฺ าถ ประกอบกบั อสฺ ธาตุ แปลงเปน็ อสสฺ ถ บา้ ง ๕) เอยยฺ ามิ ประกอบกับ อสฺ ธาตุ แปลงเป็น อสฺสํ บ้าง เอยฺยาม ประกอบกบั อสฺ ธาตุ แปลง เปน็ อสฺสาม บ้าง ๒๑
กลา่ วโดยสรปุ คาว่า “สตั ตมี แปลวา่ เป็นท่ีเต็มแห่งความราพึง ๗ เปน็ กาลทแี่ ฝงอยู่ในระหว่าง คือ ไม่บ่งชัดลงไปว่าเป็นกาลอะไร เช่นเดียวกับ ปัญจมี แต่นิยมจัดเป็นปัจจุบันกาล คาแปลของสัตตมี วิภตั ติ มอี ยู่ ๓ กรณี คอื ๑) กรณบี อกการยอมตาม แปลว่า “ควร…” ๒) กรณบี อกการกาหนด หรือการ คาดคะเน แปลว่า “พงึ …” และ ๓) กรณบี อกความราพึงแปลวา่ “พงึ …” ๒๒
แบบฝึกหัดที่ ๒.๓ (การแปลสัตตมีวภิ ตั ติ) ก. ใหแ้ ปลคํากรยิ าอาขยาตตอ่ ไปนเี้ ปน็ ไทยโดยขึ้นประธานประกอบให้ถกู ตอ้ งตามวิภตั ติ วจนะ และบรุ ษุ ๑. กเรยฺย ๘. สุเณยฺย ๑๕. อสฺส ๒. กเรยยฺ ๙. มุญฺเจยยฺ าสิ ๑๖. อสฺส ๓. กเรยฺยาสิ ๑๐. ทเทยฺยาถ ๑๗. สิย ๔. กเรยฺยาถ ๑๑. เทเสยฺยามิ ๑๘. อสฺสถ ๕. กเรยฺยามิ ๑๒. วเทยยฺ าม ๑๙. อสสฺ ๖. กเรยยฺ าม ๑๓. กยิรา ๒๐. อสฺสาม ๗. วเสยยฺ ๑๔. สยิ า ข. ให้แปลประโยคต่อไปนเ้ี ป็นไทยโดยพยญั ชนะ ๑. ปาปเก มติ เฺ ต; น ภเช ปรุ สิ าธเม. ๒. สเจ ชโน ปุญฺ กาเรยยฺ , โส สุคตึ คจฺฉต.ิ ๓. ยนฺนนู าห เอกโกว คณมหฺ า วปู กฏฺโ วิหเรยฺย. ๒๓
๒.๖ การแปลปโรกขาวภิ ตั ติ “ปโรกขา” แปลว่า กล่าวถึงสิ่งที่มีอยู่ในหนหลัง คือส่ิงท่ีล่วงไปแล้วไม่มีกาหนดแน่ว่าล่วงไป เมอื่ ไร บง่ ถงึ อดตี กาลอย่างเดียว ใช้คาแปลวา่ “...แลว้ ” การประกอบรูปกริยาเป็นวาจกด้วยวภิ ตั ติหมวดนี้ ในกริยาอาขยาตมีใช้น้อย เท่าที่พบส่วนใหญ่ มีใช้อยู่เฉพาะวิภตั ติ ฝ่ายปรัสบท ประถมบุรุษ เอกวจนะ และพหุวจนะ เท่าน้ัน และนิยมใช้กับ พฺรู ธาตุ ศพั ทเ์ ดยี ว (พฺรู ธาตุ แปลวา่ กล่าว ใช้ อ ปัจจยั เปน็ กตั ตวุ าจก) เมื่อนาธาตุ ปัจจัย และวิภัตติดังกล่าวมาผสมกันแล้ว แปลงท้ายคากริยาเป็น ๒ วจนะ เฉพาะ วภิ ตั ติ ฝา่ ยปรสั บท เอกวจนะและพหุวจนะ ประถมบรุ ษุ ดังแสดงในตาราง ดงั น้ี บรุ ษุ เอก. พห.ุ ประถมบุรุษ พรฺ ู + อ + อ = อาห พรฺ ู + อ + อุ = อาหุ (อ. เขา กลา่ วแลว้ ) (อ. เขา ท. กล่าวแล้ว) จากตารางข้างต้นนี้ จึงอาจกล่าวได้ว่ากริยาของบทประธานท่ีใช้วิภัตติหมวดปโรกขาน้ี มีอยู่ ๒ ศัพท์ คือ อาห กบั อาหุ ดปู ระโยคตัวอย่าง สตฺถา ต ปวตฺตึ ตฺวา“กึ เต วกฺกลิ อิมินา ปตู ิกาเยน, โยปิ วกฺกลิ นิจฺจ มม สงฆฺ าฏกิ ณณฺ คเหตฺวา วิจรติ, น โส ม ปสฺสติ นาม, โย จ โข วกฺกลิ ธมฺม ปสฺสติ, โส ม ปสฺสติ นามาติ อาห. แปลโดยพยัญชนะ อ. พระศาสดา ทรงทราบแล้ว ซึ่งเรื่องอันเป็นไปทั่ว น้ัน ตรัสแล้วว่า ดูก่อนวักกลิ อ. ประโยชน์อะไร ด้วยกายอันเปื่อยเน่า น้ี มีอยู่ แก่ท่าน ดูก่อนวักกลิ อ. บุคคลแม้ใด จับแล้ว ซ่ึงชายแห่งผ้าสังฆาฏิ ของเรา ย่อมเที่ยวไป เป็นนิตย์ อ. บุคคล นั้น ช่ือว่า ย่อม ไม่เห็น ซ่ึงเรา ดูก่อนวักกลิ ส่วนว่า อ. บุคคลใด แล ย่อมเห็น ซ่ึงธรรม อ. บุคคลน้ัน ช่ือ ว่า ยอ่ มเห็น ซึ่งเรา ๒๔
จากประโยคตัวอยา่ งนี้ จะเห็นวา่ ใช้กรยิ า อาห ซง่ึ เปน็ เอกพจน์ สอดคล้องกับบทประธาน คือ สตฺถา เป็นกริยาคุมพากย์ในประโยค แปลว่า ตรัสแล้ว (เนื่องจากบทประธานคือ สตฺถา ถ้าเป็นบุคคล ธรรมดา ก็แปลว่า กลา่ วแลว้ ) อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตเกี่ยวกับ พฺรู ธาตุ ที่ใช้วิภัตติหมวดอื่น คือ พฺรู ธาตุ ท่ีใช้วิภัตติหมวด อ่นื จะคงไว้โดยไม่ตอ้ งแปลงเปน็ อยา่ งอนื่ ดูประโยคตวั อยา่ ง ตมห (ต+อห) พรฺ ูมิ พรฺ าหฺมณ แปลโดยพยัญชนะ อ. เรา (ตถาคต) ย่อมกลา่ ว (เรียก) ซ่งึ บคุ คลนัน้ วา่ เป็นพราหมณ์ วปิ ตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมปฺ ตฺตสิ ทิ ฺธยิ า สพฺพทุกฺขวินาสาย ปริตฺต พรฺ ถู มงคฺ ล. แปลโดยพยญั ชนะ (อ. ท่าน ท.) ขอจงกล่าว ซ่ึงปริตร อันเป็นมงคลเพื่อป้องกันความวิบัติ เพ่ือความสัมฤทธิ์ แห่งสมบตั ทิ ้งั ปวงเพ่ือยังทกุ ขท์ ัง้ มวลใหพ้ นิ าศ กล่าวโดยสรุป คาว่า “ปโรกขา” แปลว่า กล่าวถึงส่ิงที่มีอยู่ในหนหลัง คือสิ่งท่ีล่วงไปแล้ว ไม่มี กาหนดแน่ว่าล่วงไปเมื่อไร บ่งถึงอดีตกาลอย่างเดียว คาแปลของปโรกขาวิภัตติ คือ “...แล้ว” กริยา อาขยาตมีใช้น้อย เท่าท่ีพบส่วนใหญ่ มักใช้อยู่เฉพาะวิภัตติ ฝ่ายปรัสบท ประถมบุรุษ เอกวจนะ และ พหวุ จนะ เท่านัน้ และนยิ มใชก้ ับ พรฺ ู ธาตุ ศัพทเ์ ดยี ว (พรฺ ู ธาตุ แปลว่า กลา่ ว ใช้ อ ปจั จัย เปน็ กัต ตวุ าจก) เมอื่ นาธาตุ ปจั จยั และวิภตั ตดิ งั กล่าวมาผสมกัน ได้รปู กรยิ าอาขยาตเปน็ อาห และ อาหุ ๒๕
แบบฝกึ หดั ท่ี ๒.๔ (การแปลปโรกขาวภิ ตั ติ) ก. ให้แปลคํากริยาอาขยาตตอ่ ไปนีเ้ ปน็ ไทยโดยข้ึนประธานประกอบให้ถูกตอ้ งตามวิภตั ติ วจนะ และบุรษุ ๑. อาห ๒. อาหุ ข. ใหแ้ ปลประโยคตอ่ ไปนเี้ ป็นไทยโดยพยัญชนะ ๑. สตฺถา “โย จ โข วกกฺ ลิ ธมมฺ ปสสฺ ติ, โส ม ปสสฺ ติ นามาติ อาห. ๒. เตนาหุ โปราณา. ๒๖
๒.๗ การแปลหิยตั ตนวี ิภัตติ “หิยัตตนี” ตามรูปศัพท์แปลว่า มีแล้วในวันวาน หมายถึงส่ิงท่ีล่วงแล้วตั้งแต่วานนี้ จัดเป็น อดีตกาล บ่งถึงกาลเวลาท่ีล่วงเลยมาแล้ว ใช้คาแปลว่า…แล้ว ถ้ามี อ อยู่หน้า แปลว่า ได้...แล้ว (วิภัตติ หมวดน้ี นิยมเพม่ิ อ ทแ่ี ปลวา่ ได้ เข้าข้างหนา้ ธาตุ ฉะนั้น กริยาอาขยาตทีเ่ พ่มิ พยางค์หนา้ ธาตุด้วยวิภัตติ หมวดนจ้ี ึงแปลวา่ “ได้...แลว้ ”) ดตู ัวอย่าง บุรุษ เอกวจนะ คําแปล ประถมบุรุษ อวจา, อวจ, อโวจ (อ. เขา) ได้กลา่ วแล้ว มธั ยมบรุ ษุ อวโจ (อ. ทา่ น) ได้กล่าวแลว้ อตุ ตมบุรุษ อวจ (อ. เรา) ได้กลา่ วแลว้ บุรษุ พหวุ จนะ คําแปล ประถมบรุ ุษ อวจู (อ. เขา ท.) ได้กลา่ วแล้ว มธั ยมบรุ ุษ อวจตถฺ (อ. ท่าน ท.) ได้กล่าวแลว้ อตุ ตมบุรุษ อวจมฺห (อ. เรา ท.) ได้กล่าวแล้ว คากริยาตามตัวอย่างในตารางน้ี มาจาก วจฺ ธาตุ (วจฺ=กลา่ ว) อ ปจั จัย ประกอบดว้ ย หิยตั ตนี วิภัตติ ฝ่ายปรัสบท กัตตุวาจก ท้ัง ๓ บุรุษ สาเร็จรูปเป็นกริยาคุมพากย์ สาหรับกริยาอื่น ๆ ก็พึงเทียบ โดยวิธีเดยี วกนั นี้ ข้อสงั เกตที่เก่ียวกับวิภตั ตหิ มวดหยิ ัตตนี ๑) ปจั จัยทีล่ งทา้ ยดว้ ยสระ เม่ือผสมกับวภิ ัตติท่ีขึ้นต้นดว้ ยสระ ใหล้ บสระ (ปัจจัย) ท้ิง เช่น อ+วจฺ+อ+อา เป็น อวจา แปลว่า (อ. เขา) ได้กล่าวแล้ว ๒) อา หิยัตตนีวิภัตติ ปฐมบุรุษ เอก.นิยมรัสสะสระ า (อา) เป็น อะ ได้ (ทาให้เสียงส้ัน) เช่น อภว (อ+ภู เป็น ภว+อ+อา) อวจ (อ+วจฺ+อ+อา) และนิยมรัสสะ อา เป็น อะ แล้วเอา อะ ท่ี วะ แห่ง วจฺ ธาตุ เปน็ อุ แปลง อุ เป็น โอ=อโวจ เช่น ตถาคโต อิม คาถ อโวจ. (อ. พระตถาคต ไดต้ รสั แล้ว ซึ่งพระคาถา น)้ี ๓) วิภัตติหมวดน้ี จะใช้ มา ศัพท์ซ่ึงแปลว่า อย่า ปฏิเสธกริยาบ้างก็ได้ เช่น ขโณ โว มา อปุ จฺจคา. (อ. ขณะ อย่า ไดเ้ ขา้ ไปลว่ งแลว้ ซึง่ ทา่ น ท.) (อุปจฺจคา สาเร็จมาจาก อุป+อติ+อ+คมฺ+อ+อา แปลง อิ ท่ี อติ เป็น ย=อตย แล้วแปลง ตย เป็น จฺจ ตามวธิ ขี องสนธิ และ ลบ ม ทีส่ ดุ ธาตุ เป็น อุปจจฺ คา) ๔) หิยัตตนวี ิภัตติ มใี ช้นอ้ ย ส่วนมากนิยมใช้วิภัตตหิ มวดอชั ชัตตนี ๒๗
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 497
Pages: