Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนใหม่

การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนใหม่

Published by supasit.kon, 2022-06-08 03:15:39

Description: การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนใหม่

Search

Read the Text Version

การออกแบบการเรยี นรู้และการจัดการชน้ั เรยี น 3399 10) เกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าในการเรียน เป็นเกณฑ์ที่ผู้สอนควร สร้างขึ้นเพื่อวัดและประเมินผลการเรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ดังน้ันจึงควรสร้างให้มีความ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัดและสอดคล้องกับเร่ืองที่สอน ผลการวัดและประเมินท่ัวไป มีการ แบ่งระดบั คุณภาพออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ 4 3 2 1 และ 0 การแปลความหมายคือ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ และควรปรบั ปรุง 11) ข้อเสนอแนะ เป็นหวั ข้อทีก่ าหนดไว้สาหรับการเสนอทาง เลือกหรือแนวทาง อื่นๆในการปฏิบัติภาระงานเพิ่มเติมนอกเหนือจากที่ได้กระทามาแล้ว เพื่อให้มีความสมบูรณ์มาก ขึน้ 12) บันทกึ หลงั สอน เป็นหวั ข้อทีใ่ ชเ้ ป็นข้อมูลสารสนเทศที่สาคัญในการปรับปรุง แผนการจัดการเรียนรู้ เน่ืองจากผู้สอนต้องบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรียนว่าเป็นอย่างไร ผสู้ อนได้ให้ตวั ป้อนเข้า (Input) อะไรและผลออกมาเปน็ อย่างไร ผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่กาหนดหรือไม่ มีอปุ สรรคหรอื ปัจจัยใดที่สง่ ผลต่อการเรยี นของผู้เรยี น เปน็ ต้น นอกจากองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ที่กล่าวมาแล้วน้ัน เพื่อความเข้าใจ และสรุปประเด็นสาคัญขององค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ให้สั้นและเข้าใจง่ายยังมี องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ที่นิยมใช้กันโดยท่ัวไป ส่วนใหญ่จะประกอบด้วย 9 หัวข้อ ดงั น้ี 1) สาระสาคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการของเร่ืองหนึ่งที่ ต้องการให้เกิดกบั นกั เรียน เมือ่ เรยี นตามแผนการสอนแลว้ 2) จุดประสงค์การเรียนรู้ (Learning Objective) เป็นการกาหนดจุด ประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดกบั ผเู้ รียน เมื่อเรยี นจบตามแผนการสอนแล้ว 3) เนื้อหา (Content) เป็นเนื้อหาที่จัดกิจกรรมและต้องการให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ 4) กิจกรรมการเรียนการสอน (Instructional Activities) เป็นการสอนข้ันตอน หรอื กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ซึง่ นาไปสู่จุดประสงค์ที่กาหนด 5) สื่อและอุปกรณ์ (Instructional Media) เป็นสื่อ และอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรม การเรียนการสอนทีก่ าหนดไว้ในแผนการสอน 6) การวัดผลและประเมินผล (Measurement and Evaluation) เป็นการกาหนด ขั้นตอนหรือวิธีการวัดและประเมินผล ว่านักเรียนบรรลุจุดประสงค์ตามที่ระบุไว้ในกิจกรรมการ เรียนแยกเปน็ ก่อนสอน ระหว่างสอน และหลังสอน 7) กิจกรรมเสนอแนะ เป็นกิจกรรมที่บันทึกการตรวจแผนการสอน

การเรียนการสอนที่กาหนดไว้ในแผนการสอน 6) การวัดผลและประเมินผล (Measurement and Evaluation) เป็นการกาหนด 4ข0้ันตอนหLรeือaวrnิธinีกgาDรeวsัดigแnลaะnปdรCะlเaมssินroผoลmวM่าaนnักaเgรeียmนeบntรรลุจุดประสงค์ตามที่ระบุไว้ในกิจกรรมการ เรียนแยกเปน็ ก่อนสอน ระหว่างสอน และหลงั สอน 40 7) กิจกรรมเสนอแนะ เปน็ กิจกรรมทีบ่ นั ทึกการตรวจแผนการสอน 8) ข้อเสนอแนะของผู้บังคับบัญชา เป็นการบันทึกตรวจแผนการสอนเพื่อ เสนอแนะหลังจากได้ตรวจสอบความถูกต้อง การกาหนดรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ ในแผนการ สอน 9) บนั ทึกการสอน เปน็ การบันทึกของผู้สอน หลังจากนาแผนการสอนไปใช้แล้ว เพือ่ เปน็ การปรบั ปรุงและใช้ในคราวต่อไปมี 3 หวั ข้อ คือ (1) ผลการเรียน เปน็ การบันทึกผลการเรียนด้านสุขภาพและปริมาณท้ัง 3 ด้าน คอื ด้านพุทธิพิสยั จิตพิสัยและทักษะพิสัย ซึ่งกาหนดในขั้นกิจกรรมการเรียนการสอนและ การประเมนิ (2) ปัญหาและอุปสรรค เป็นการบันทึก ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น ในขณะสอน ก่อนสอน และหลงั ทาการสอน (3) ขอ้ เสนอแนะ /แนวทางแก้ไข เป็นการบันทึกข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไข ปรบั ปรงุ การเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้บรรลุจุดประสงคข์ องบทเรียนทีห่ ลัก สูตรกาหนด 2.5 รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนใหญ่จะคล้ายคลึงกัน และรูปแบบของแผนการ จัดการเรียนรู้อาจจะมีการแบ่งที่แตกต่างกันบ้างตามลักษณะของรายวิชาและของสถานศึกษา น้ันๆ ดังที่ เศวต ไชยโสภาพ (2553 : 42) ได้ศึกษาค้นคว้าการแบ่งรูปแบบของแผนการจัดการ เรียนรู้ สามารถแบ่งออกเป็น 3 แบบ ดังนี้ คือ 2.5.1 แบบเรียงหัวข้อหรือแบบบรรยาย จะเขียนตามลาดับหัวข้อเรียงลงไปโดยไม่ ต้องตีตาราง แบบนี้มักนิยมใช้กันเป็นส่วนมาก เพราะสะดวกในเขียนและไม่ต้องตีตาราง แต่ส่วน เสียคือยากต่อการมองเห็นความสัมพันธ์แต่ละหัวข้อเพราะเขียนอยู่คนละหน้ากัน อีกทั้งเม่ือ ต้องการเปรียบเทียบความแตกต่างในภาพรวมจะไม่สามารถดูได้สะดวก แต่ข้อดีของแผนการ จัดการเรียนรู้แบบเรียงหัวข้อหรือแบบบรรยายที่โดดเด่นคือสามารถนาเสนอข้อความหรือเน้ือหา ของแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างไม่มีจากัดและสามารถขยายเน้ือหาเพื่อความเข้าใจแบบไม่มี กาหนดทาให้เขา้ ใจในเนือ้ หาได้มากขึ้นดังตวั อย่างต่อไปนี้

การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการช้ันเรยี น 41 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่.............. ชือ่ เรอ่ื ง............................................................................................เวลา.......................คาบ วิชา............................................................................ช้ัน..............ภาคเรียนที.่ ..................... สอนวนั ที.่ ......เดอื น......................พ.ศ...............ชื่อผสู้ อน...................................................... 1. สาระสาคัญ ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 2. เนอ้ื หา ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 จดุ ประสงค์ปลายทาง ............................................................................................................................... 3.1 จดุ ประสงค์นาทาง (กระบวนการ) ............................................................................................................................... 4. กิจกรรมการเรียนการสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 5. สือ่ การเรียนการสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 6. การวดั ผลและประเมินผล 6.1 วิธีการวดั และประเมินผล.................................................................................... .................................................................................................................................................. 6.2 เกณฑ์การวดั และประเมินผล.............................................................................. .................................................................................................................................................. 6.3 เครื่องมือวัดและประเมินผล…………………………………………………………………………..…….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...…

42 Learning Design and Classroom Management 42 7. กิจกรรมเสนอแนะ (ถ้ามี) .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 8. ข้อเสนอแนะของหวั หน้าสถานศึกษา หรอื ผู้ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง) .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ลงชือ่ ........................................................... (............................................................) ตาแหน่ง................................................................. วนั ที่...........เดือน..........................พ.ศ................. บันทึกหลังการสอน 1. ผลการสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 2. ปญั หา/อปุ สรรค .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ลงชื่อ........................................................... (............................................................) ตาแหน่ง................................................................. วันที่...........เดือน..........................พ.ศ...............

การออกแบบการเรียนร้แู ละการจัดการชัน้ เรยี น 43 2.5.2 รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบตาราง เป็นแบบที่แสดงให้เห็นเป็นช่องๆ และจดั เรียงหัวข้อไว้ตามลาดับก่อนหลัง แบบนี้สามารถเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละช่องได้ชัดเจน กว่าแบบแรก แต่จะสะดวกในการอ่านเพราะมองเห็นความสัมพันธ์ของแต่ละช่องในหน้าเดียวกัน ได้ง่าย ส่วนเสียก็คือ ในช่องเน้ือหาและกิจกรรมมีสาระที่ต้องเขียนมากและยาวกว่าช่องอื่นๆ เช่น ช่องจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ช่องประเมินผล จึงทาให้เสียที่ไปโดยเปล่าประโยชน์และเว้น ว่างเป็นจานวนมากไม่น่าดู แตม่ ีความชดั เจนในการเสนอข้อมูล ดังตวั อย่างตอ่ ไปนี้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่.................................. ชือ่ เรอ่ื ง............................................................................................เวลา.......................คาบ วิชา............................................................................ช้ัน..............ภาคเรียนที่...................... สอนวนั ที.่ ......เดอื น......................พ.ศ...............ชื่อผสู้ อน..................................................... สาระสาคัญ จุดประสงค์ เนื้อหา กจิ กรรม สือ่ /อปุ กรณ์ การวดั ผล การเรียน ปลายทาง /นาทาง กิจกรรมเสนอแนะ .............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................. รูปแบบแผนการสอนไม่มีรูปแบบตายตัวขึ้นอยู่กับหน่วยงานหรือสถานศึกษาแต่ละแห่ง จะคิดดัดแปลงความตามเหมาะสม

44 Learning Design and Classroom Management 44 2.5.3 รูปแบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบกึ่งตาราง ดังตวั อย่าง ตอ่ ไปน้ี แผนการเรียนรู้ท่.ี ................................. ชื่อเร่อื ง............................................................................................เวลา............................คาบ วิชา............................................................................ช้ัน..............ภาคเรียนที่............................. สอนวันที่.......เดอื น......................พ.ศ...............ชือ่ ผสู้ อน............................................................ สาระสาคัญ................................................................................................................................ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. เนือ้ หา........................................................................................................................................ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. จดุ ประสงคป์ ลายทาง.................................................................................................................. .................................................................................................................................................. จดุ ประสงคน์ าทาง กิจกรรมการเรียน สอ่ื การเรียนการสอน การวัดผล/ประเมินผล กิจกรรมเสนอแนะ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. อย่างไรก็ตามลักษณะส่วนใหญ่ของแผนการจัดการเรียนรู้จะคล้ายคลึงกัน จากข้อมูล เกีย่ วกับรปู แบบของแผนการจัดการเรียนรู้ขา้ งตน้ ได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้มีหลายรูปแบบ เช่น แผนการจัดการเรียนรู้แบบตาราง แผนการจัดการเรียนรู้แบบไม่ใช้ตาราง แต่จะประกอบด้วย องค์ประกอบที่เหมือนกันคือ มีชื่อวิชา ช้ัน หน่วยที่ เร่ือง เวลา คาบ วันที่ ความคิดรวบยอด คุณสมบัติที่ต้องการเน้นจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เน้ือเร่ืองกิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการ เรียนการสอน การประเมนิ ผล

การออกแบบการเรยี นร้แู ละการจัดการช้ันเรียน 4455 2.6 ข้ันตอนการเขียนกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ข้ันตอนการเขียนกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ถือว่ามีความสาคัญ เนื่องจากการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่ชี้ว่าผู้สอนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะในวิชาชีพของ ตนเองมากน้อยแค่ไหน การเขียนกิจกรรมการเรียนรู้จึงมีแนวทางที่หลากหลายสามารถนามา ประมวลได้ 3 แนวทาง คือ การสอนที่ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอนที่ยึดประสบการณ์การ ของผู้เรียน การสอนที่ผสมผสานระหว่างครูจัดกระบวนการเรียนรู้และยึดประสบการณ์ของ ผเู้ รียน และตวั อย่างวิธีการสอนทีม่ ีการผสมผสานทั้งสองแนวทางเข้าด้วยกนั ดงั น้ี 2.6.1 การสอนท่คี รจู ัดกระบวนการเรยี นรู้ ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2545 : 103) ได้อธิบายถึงหลักการสอนที่มีประสิทธิภาพของ โรเซน ไชน์ (Rosenshine, 1986) ว่าเป็นการสอนอย่างเป็นระบบ โดยครูจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็น ข้ันตอน ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความรู้และฝึกทักษะได้อย่างรวดเร็วเรียกแนวทางการสอนวิธีนี้ว่า การสอนที่ครูเป็นผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ (Direct Instruction) ได้มีผู้นาการสอนวิธีนี้ไปศึกษาวิจัย หลายครั้ง ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นนอกจากนี้ยังพบว่า ผู้เรียนรู้ทักษะและความคิดรวบยอดได้ดีกว่าการให้เขาเรียนรู้ด้วยตนเองหรือจากเพื่อน โดยมี หลกั ปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1) แบ่งเนื้อหาหรอื ทกั ษะให้เปน็ หนว่ ยย่อยเล็กลงเพื่อทาให้การสอนมลี ีลาที่ไม่ ชักช้า 2) อธิบายใหช้ ัดเจนและพอเพียง 3) ยกตวั อย่างมากๆ และใช้คาถามถามนกั เรียนใหม้ าก 4) ให้ขอ้ มูลป้อนกลบั และแก้ไขโดยเฉพาะในระยะแรกๆ ของการเรยี นรู้เรื่องใหม่ 5) พยายามทาให้นกั เรียนตอบคาถามได้ปฏิบัติงานได้ 80%ของงานขึน้ ไป 6) งานฝกึ ทกั ษะในชั้นเรียนใหแ้ บ่งเปน็ งานย่อยๆ 7) การฝึกปฏิบัติต้องฝึกจนสามารถทาได้ 90% ขึ้นไปด้วยความรวดเร็วและ ความมนั่ ใจ ดังน้ันการสอนวิธีนี้จึงมีความสาคัญและจาเป็น เพราะนักเรียนส่วนใหญ่ไม่สามารถ เรียนรู้ทักษะต่างๆ ได้ด้วยตนเองหรือด้วยประสบการณ์ในวิชาการต่างๆ อย่างอัตโนมัติ ครูจึงมี บทบาทสาคัญในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะที่ต้องการ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียน สามารถเรียนรไู้ ด้ดว้ ยตนเองตอ่ ไป

46 Learning Design and Classroom Management 46 2.6.2 การสอนทย่ี ดึ ประสบการณก์ ารของผ้เู รยี น ก า ร ส อ น ที่ ยึ ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ข อ ง ผู้ เ รี ย น เ ป็ น ก า ร ใ ห้ โ อ ก า ส ผู้ เ รี ย น ใ น ก า ร จั ด กระบวนการเรียนการสอนด้วยตนเอง มุ่งพัฒนาผู้เรียนในลักษณะองค์รวมนั่นคือ นาทักษะและ ความรไู้ ปใช้แก้ปัญหาในชีวติ จรงิ ส่งเสริมความคิดริเรม่ิ สร้างสรรคแ์ ละคณุ ลกั ษณะทีด่ ี ดงั น้ี คือ 1) คณุ ลกั ษณะสาคัญ การสอนทีย่ ึดประสบการณ์การของผู้เรยี นมีลักษณะที่ สาคญั อยู่ 6 ประการ ดงั นี้ คือ (1) นกั เรียนมีสว่ นร่วมในการควบคมุ กระบวนการเรียนรู้ กิจกรรม เน้ือหา และเวลาเรียน (2) นกั เรียนสามารถเลือกกิจกรรมได้เอง (3) เน้นการเรียนรเู้ ปน็ รายบุคคลหรือกลุ่มเล็กๆ (4) เน้นการใชก้ ิจกรรมหลากหลาย (5) จาเปน็ ต้องมีส่ือการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย (6) จาเป็นต้องมีแหลง่ เรียนรู้สาหรบั การสืบค้นขอ้ มูลความรู้ 2) ขั้นตอนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จะเป็นไปตามวิธีสอนที่ผู้สอนเลือกมา ใช้ใหเ้ หมาะสมกับเน้ือหาและผู้เรียน ตัวอย่างวิธีสอนที่ยึดประสบการณ์ของผู้เรียน ได้แก่ วิธีสอน แบบสืบสวน (Inquiry Method) วิธีสอนโดยการค้นพบ (Discovery Method) วิธีสอนแบบมนุษย นิยม (Humanistic Education Method) เปน็ ต้น 2.6.3 การสอนท่ีผสมผสานระหว่างครูจัดกระบวนการเรียนรู้และยึด ประสบการณ์ของผเู้ รียน การสอนแบบผสมผสานระหว่างครูจัดกระบวนการเรียนรู้และยึดประสบการณ์ของ ผเู้ รียน มจี ุดเด่นทีส่ าคัญที่ผู้จัดการเรียนการสอนต้องนามาพิจารณาเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย สามารถ เปรียบเทียบแนวทางการสอนซึ่งจะศึกษาจากลักษณะ เป้าหมาย ข้อดีและข้อด้อย โดยได้ เปรียบเทียบการสอนที่ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ และการสอนที่ยึดประสบการณ์การของผู้เรียน ดงั ตาราง ต่อไปนี้

การออกแบบการเรียนรแู้ ละการจดั การชน้ั เรียน 4477 ข้อ การสอนท่ีครูจัดกระบวนการ การสอนท่ยี ึดประสบการณก์ าร เปรียบเทยี บ เรยี นรู้ ของผเู้ รยี น ลกั ษณะ เน้นวิชาการ ครเู ปน็ ผจู้ ดั ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการ กระบวนการเรียนรู้ทั้งหมด เรียนรู้และมีโอกาสเลือกกิจกรรม บทเรียนมีขนั้ ตอนเป็นระบบ เปา้ หมาย เน้นความรู้ ความเข้าใจความ เน้นทักษะชั้นสูงขึ้น การพัฒนาในองค์รวม คิดรวบยอดและทักษะพืน้ ฐาน ทกุ ด้าน และความคิดสรา้ งสรรค์ ขอ้ ดี เรียนรู้ได้เรว็ จดจาได้นานซึ่ง ผู้เรียนมีอิสระ กิจกรรมตรงกับความสนใจ เป็นพืน้ ฐานสาคัญในการนาไป ได้แก้ปัญหาที่ตรงกับชีวิตจริง ได้เรียนรู้วิธี ประยุกต์ใช้ในชั้นสูงข้ึน เรียน ประเมินได้งา่ ย ขอ้ ด้อย หากใช้วธิ ีนีว้ ิธีเดียวตลอดการ หากใช้วธิ ีนีต้ ลอดการสอนผู้เรียนอาจขาด สอนจะทาให้ผู้เรยี นขาด แก่นสาร ความรู้และทักษะพืน้ ฐานทีจ่ าเป็น กระบวนการคิด การจัดการ สาหรับการประยกุ ต์ใชใ้ นชั้นสูง และขาดความคิดสรา้ งสรรค์ การจะเลือกใช้แนวทางการสอนลักษณะใดจึงควรพิจารณาให้เหมาะสม ผู้สอนต้อง เข้าใจธรรมชาติผู้เรียน และที่สาคัญต้องเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน ดังนั้นผู้สอนควรมีหลักใน การเลือก ดังน้ี 1) พิจารณาจุดประสงค์การเรียนรู้ ถ้าจุดประสสงงคค์ก์กาารรเเรรียียนนรรู้มู้มุ่งุ่งเเนน้น้นคคววาามมรู้ หรือทักษะข้ันพื้นฐาน ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Direct Instruction เช่น ถ้าต้องการให้ ผู้เรียนเกิดทักษะในการบวก ผู้สอนก็ควรวิเคราะห์งานการเรียนรู้ให้เล็กลง (จุดประสงค์นาทาง) แล้วค่อยๆ พาผู้เรียนให้ผ่านงานเล็กๆ เหล่าน้ันไปทีละขั้น มีการเปิดโอกาสให้เขาได้ลงมือทาเพื่อ ทดสอบความเข้าใจ จนกระทั่งทาได้ตามลาพัง เป็นต้น แต่ถ้าหากจุดประสงค์การเรียนรู้มุ่งเน้น การทา�ำงานที่ต้องใช้ความรู้และทักษะย่อยต่างๆ ใในนกกาารรแแกก้ป้ปัญัญหหาา คครรูคูคววรรเเลลือือกกแแนนววกกาารรสสออนนทที่ย่ียึดึ ประสบการขณอ์ขงอผงู้เผรียู้เรนยี น(Ex(EpxeprieernietinatlialAApprporaocahc)h)เพเพื่อ่ือใหให้เข้ผาู้เไรดยี ้มนีสได่ว้มนสีร่วมนรใน่วกมาในรกเลาือรกเลกอื ิจกกกรจิ รกมรไรดม้ อไดภ้อปิ ภรปิายรแายลแะไลดะ้ทไดา้ทกิจ�ำกจิรรกมรหรมลหายลๆายรๆปู รแปูบแบบบ 2) การพิจารณาธรรมชาติเนื้อหาวิชา ในแต่ละวิชาเม่ือจัดการสอนจริงผู้สอน คงต้องใช้ทั้ง 2 แนวทางผสมผสานกันตามความเหมาะสม ถ้ามุ่งให้ผู้เรียนจดจาเนื้อหาได้นาน แม่นยา ถูกต้องและเกิดความคิดรวบยอดอย่างรวดเร็วซึ่งบางคร้ังจาเป็นมาก เช่น การเรียนวิชา

48 Learning Design and Classroom Management 48 คณิตศาสตร์ ผเู้ รียนต้องจดจากฎ นิยาม ทฤษฎีวิธีการต่างๆมากมาย ก็ควรเลือกใช้การสอนที่ครู จัดกระบวนการเรียนรู้ (Direct Instruction) จนเม่ือม่ันใจว่าผู้เรียนเกิดความเข้าใจ เกิดความคิด รวบยอดแล้วก็ใช้การสอนที่ยึดประสบการณ์ของผเู้ รียน (Experiential Approach) 3) พิจารณาธรรมชาติของผู้เรียน การสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญต้องเริ่ม วิเคราะห์ผู้เรียน ต้องรู้จักผู้เรียนอย่างถ่องแท้และเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับรสนิยมในการ เรียนรู้ (Style of Learning) จากประสบการณ์ในการสอน พบว่า ผู้เรียนบางคนจะเรียนได้ดีถ้าให้ เขามีอิสระ ได้ทดลองได้ค้นพบด้วยตนเอง แต่บางคนไม่ใช่เลยเขาชอบวิธีการที่ครูเป็นผู้ชี้นาไปที ละขน้ั ตอน ดังน้ัน ครูจึงต้องมีความเชี่ยวชาญในการใช้แนวทางการสอนท้ัง 2 แนวทางนี้อย่าง ผสมผสานกลมกลืนกันในการสอนแตล่ ะครั้ง เช่น ขณะที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดความ คิดรวบยอด วิธีทีไ่ ด้ผลดีคือ การอธิบายยกตัวอย่างหลายๆ ลักษณะ (เป็นวิธีการที่ครูในโรงเรียนกวดวิชาชอบ ใช้สอนและเด็กๆ ชอบ) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจก่อน หลังจากนั้นก็เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้อภิปราย วิพากษ์วิจารณ์ เสนอความคิดเห็นหรือปฏิบัติงานที่ตนเองมีสิทธิเลือกได้ โดยครูลดการชี้นา น้อยลง 2.6.4 ตัวอยา่ งวธิ ีการสอนทม่ี ีการผสมผสานท้งั สองแนวทางเข้าด้วยกนั ตวั อย่างวิธีการสอนที่มีการผสมผสานท้ังสองแนวทางเข้าด้วยกนั อาจจะมีหลายแนวทาง แต่ขอนาเสนอเพือ่ เปน็ แนวทางเลือกในการพิจารณานามาประยกุ ต์ใหเ้ หมาะสม ไว้ 4 แนวทาง ดังน้ี คือ (ชัยฤทธิ์ ศลิ าเดช, 2545 : 107-109) 1) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นสภาพจริง มีแนวทางในการจัด กิจกรรมที่สามารถนามาพิจารณา 2 ประเด็น คือ แนวคิดหลักการและขั้นตอนการจัดกิจกรรม ดังน้ี (1) แนวคิดหลักการ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นสภาพจริง ประกอบด้วยการเรียนรู้จากสภาพจริงที่เป็นจริง (Authentic Learning) และการประเมินผลตาม สภาพจริง (Authentic Assessment) โดยมีหลกั การสาคญั ดังน้ี (1.1) การเรียนรู้เน้นการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับ เนือ้ หาสาระของการเรยี นรู้และมีการประเมินระหว่างปฏิบัติด้วยเพื่อนาผลไปปรบั ปรุงแก้ไขทันที (1.2) ผู้เรียนต้องเป็นผู้ที่เรียนรู้และปฏิบัติจริงด้วยตนเองต้ังแต่การ ทาตามแบบ (On Command) เชน่ ทาตามครู ตามตาราจนทาได้เอง ตามแนวทางของตนเอง (Self Directed Learner) ซึ่งประกอบด้วย

การออกแบบการเรียนรแู้ ละการจดั การช้ันเรียน 4499 - สามารถกาหนดเป้าหมายความสาเร็จของงานได้เหมาะสมกบั ตนเอง - สามารถกากบั การทางานของตนเองได้ - เลือกใช้สอ่ื และเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการทางาน - เลือกวิธีการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม (1.3) เน้นการนาไปใช้ในชีวิตจริง (Real Life) โดยการใช้กระบวนการ คิดที่ซับซ้อน (Complexed Thinking) ดังนั้นงานหรือปัญหาที่นามาศึกษาเรียนรู้ ควรเป็นงานใหญ่ ซับซ้อนและเชื่อมโยงความรู้หลายสาขา (1.4) เน้นความร่วมมือทางการเรียน (Collaborative Learning) จาก หลายฝ่าย เชน่ นักเรียนกบั นักเรียน นกั เรียนกับครหู รอื แมก้ ระทง่ั ความร่วมมือทั้งนักเรียน ครูและ ผปู้ กครอง (2) ขนั้ ตตออนนกกาารรจจดั ักดจิกกิจรกรรมรมมขี นั้มตีขอั้นนตทอสี่ นำ� ทคญี่ัสาในคกัญาใรนจดกั กาจิรกจัรดรกมิจ4กขรนั้ รตมอน4 ขดั้นงนต้ีอคนือดงั น้ี คือ ข้นั ตอนท่ี 1 กกา�ำหหนนดดกกิจิจกกรรมรหมลหักลหักรหอื รภือาภราะรงะางนา(นTa(sTka)sเkบ)ือ้ เงบตื้อน้ งโดตย้น มโดีจยดุ มปีจรุดะปสรงคะส์ เงพคื่อ์ ทเพบ่อื ททวบนทควนาคมวรา/ู้ ทมักรษู้/ทะักแษละะแเชลือ่ ะมเชโย่อื งมคโยวางคมวราู้เกม่ารกู้เกบั ่าเรกือ่ ับงเใรห่อื มง่ใหม่ ขน้ั ตอนท่ี 2 กกา�ำหหนนดดกกิจิจกกรรรรมมหหลลักักหหรรอื ือภภาารระะงงาานน(T(aTsaks)kท) ีม่ ทงุ่ ่ีมสุ่งรสา้ รง้าง ความคิดรวบยอดในเรือ่ งที่จะเรียนใหม่ ขั้นตอนท่ี 33 กก�ำาหหนนดดกกิจิจกกรรรรมมหหลลักักหหรรือือภภาารระะงงาานน((TTaasskk)) ที่มุ่งฝึก ทกั ษะพืน้ ฐานทจี่ ำ�าเปน็ ตอ่ กกาารรปปฏฏบิ ิบตั ัตงิ ิงาานนจจรรงิ ิงเชเชน่ ่นกการาสรอ่ืสสื่อาสราทราทงาภงาภษาาษตาอ้ ตง้อฝงกึ ฝทึกกั ทษักะษกะากรฟารงั ฟกังารกพาดูร พกาูดรกอา่ รนอแา่ ลนะแกลาะรกเขายี รนเขียนก่อน ข้นั ตอนท่ี 4 กกา�ำหหนนดดกกิจิจกกรรมรมหหลักลหักรหอื รภือาภราะรงะางนากนากรปารปะยรุกะยตุก์ ใตช้์ ใช้ ความรทู้ กั ษะที่ซบั ซ้อนหรอื นาำ� ไปใช้ในชีวติ จริงได้ ในทุกขั้นตอนจะมีการประเมินผลระหว่างเรียนจากพฤติกรรมการปฏิบัติงานจริงๆ และ พยานหลักฐานหรือชิ้นงานที่เกิดขึ้น โดยเน้นการประเมินตนเอง และการประเมินระหว่างเพื่อนที่ เรียนด้วยกนั เพือ่ นาผลไปปรับปรงุ งานให้ดีทีส่ ดุ ตามแนวทางการประเมนิ ทีก่ าหนดให้ตอ่ ไป 2) การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนทม่ี ุ่งเน้นให้ผู้เรยี นสรา้ งความรู้ (1) แนวคิดหลักการ Constructionism เป็นทฤษฎีการศึกษาที่พัฒนาโดย ศาสตราจารย์เซย์มัวร์ เปปเพอร์ท (Professor Seymour Papert) แห่งสถาบันด้านเทคโนโลยี รัฐแมสซาซูเซตส์ (Massachusetts Institute of Technology) ซึ่งมีความเชื่อว่าความรู้เกิดจากการ สร้างขึ้นด้วยตัวเด็ก การศึกษาควรประกอบไปด้วยการจัดโอกาสให้เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม เชิงสร้างสรรค์ ออันันจจะะนนา�ำไไปปสสู่กู่กาารรสสรร้า้างง(C(Coonnstsrturcutc)t)2 ทป่ีสร�ำะคเภัญทคือ เม่ือเด็กสร้างบางสิ่งบางอย่าง

50 Learning Design and Classroom Management 50 ออกมา เด็กสร้างความรู้ด้วย ความรู้ใหม่นี้ จะช่วยให้เด็กนาไปสร้างสิ่งต่างๆ ที่มีความซับซ้อน มากขึ้น ทาให้เกิดความรู้เพิ่มมากขึ้น (2) ขน้ั ตอนการจดั กิจกรรม ขั้นตอนที่ 1 จดั ให้ผู้เรยี นเป็นส่วนหนึง่ ของบทเรียนหรอื เอาหัวใจเข้าไปอยู่ใน บทเรียน (Engage the learner) บางทีก็เรียกว่าเกิดแรงจูงใจภายใน (Internal Motivation) แนว ปฏิบัติมี 2 อย่าง คือ (1) ตั้งคาถามหรือเล่าเหตุการณ์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และ(2) จัด กิจกรรมเพือ่ เชอ่ื มโยงส่งิ ทีจ่ ะเรียนใหมก่ บั ความรเู้ ดิม ข้ันตอนที่ 2 กระตุ้นให้ผู้เรียนสารวจข้อเท็จจริงท่ัวไปเพื่อนาไปสู้การสร้าง ความคิดรวบยอด (Explore the concept) แนวปฏิบัติ 3 อย่าง คือ (1) ครูอธิบายสั้นๆ (2) ให้ คาหลัก (Key Word) เพื่อให้ผู้เรียนนาไปใช้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน และ (3) ให้ผู้เรียน สรุปความคิดรวบยอดโดยใช้คาพดู ของตนเอง ข้ันตอนที่ 3 อธิบายความคิดรวบยอดและให้คาจากัดความ (Explain the concept and define the terms) แนวปฏิบัติ 2 อย่าง คือ (1) ผู้สอนให้ข้อมูลหรืออธิบาย ความหมายของคาหลักบางคาเกี่ยวกับความคิดรวบยอดใหม่ที่จะเรียนรู้ และ (2) ผู้เรียนนาข้อมูล หรือคาหลักเกี่ยวกับความคิดรวบยอดน้ันไปบรรยายซึ่งเป็นประสบการณ์ใหม่โดยต้องนาความรู้ เดิมมาเช่อื มโยงความรู้ใหมด่ ้วย ขั้นตอนที่ 4 ขยายความคิดรวบยอด ทดลองประยุกต์ใช้และสรุป (Elaborte on the concept) แนวปฏิบัติ คือจัดหาสถานการณ์พิเศษหรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้เรียนมี โอกาสใช้ความรู้ทักษะและประสบการณ์ที่สะสมมาสารวจแลก เปลี่ยนความคิดเห็น อธิบายและ ปฏิบัติงานจรงิ เพื่อสร้างความเข้าใจอย่างลกึ ซึง่ ในความรู้ทีไ่ ด้เรียนใหม่ ข้ันตอนที่ 5 ประเมินความเข้าใจในความคิดรวบยอด (Evaluate students’ understanding of the concept) แนวปฏิบัติ 2 อย่าง คือ (1) ผู้เรียนประเมินสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วย ตนเองรว่ มกับเพื่อนในชน้ั เรียนและครผู สู้ อนเพือ่ ยืนยนั ความถูกต้อง และ (2) กาหนดกิจกรรมที่จะ ขยายความรคู้ วามเขา้ ใจต่อไป เชน่ นาไปผลติ ชิน้ งานที่สร้างสรรค์ 3) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึด CIPPA Model (1) แนวคิดหลักการ ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช (2545 : 109) ได้สรุปแนวทาง การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึด CIPPA Model ของรองศาสตราจารย์ ดร.ทิศนา แขมณี โดยนาเสนอแบบจาลองการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญมีลักษณะสาคัญ ดัง แผนภาพต่อไปนี้

การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการช้นั เรยี น 5511 การปฏิสัมพนั ธ์ การมีบทบาทส่วนรว่ ม การปฏสิ มั พนั ธ์ ชว่ ยกันเรยี นรู้ (Interaction) ชว่ ยกนั เรียนรู้ (Interaction) (Interaction) การสร้างความรู้ (Construct) กระบวนการเรียนรู้ - การแสวงหาข้อมูล - การศึกษาทาความเข้าใจ - การคิดวิเคราะห์ - การตีความและการแปลความ - การสรา้ งความหมายแกต่ นเอง - การสังเคราะห์ข้อมลู และสรปุ การนาความรไู้ ปใช้ (Application) การมีบทบาทส่วนร่วม (Interaction) แผนภาพท่ี 2.1 : แบบจาลองการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ CIPPA (2) ขั้นตอนการจัดกิจกรรม ขั้นตอนที่ 1 ข้ันนา คือการสร้าง/กระตุ้นความสนใจหรือเตรียมความพร้อม ในการเรียน ข้ันตอนที่ 2 ขั้นกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ โดยมีลักษณะกิจกรรมควรเป็น 5 อย่าง คือ (1) ช่วยให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Construct) (2) ช่วยใหผ้ เู้ รียนได้มปี ฏิสมั พนั ธ์ช่วยกันเรียนรู้ (Interaction) (3) ช่วยให้ผู้เรียนมีบทบาทมีส่วนร่วม ในการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง (4) ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ (Process) ควบคู่ไปกับการ ผลติ ผลงาน และ (5) ช่วยใหผ้ เู้ รียนนาความรไู้ ปใช้ในชีวติ จรงิ (Application) ข้ันตอนที่ 3 ขั้นวิเคราะห์และอภิปรายผลจากกิจกรรมมี 2 อย่าง คือ (1) การวิเคราะห์และอภิปรายผลงาน/ข้อความรู้ที่สรุปได้จากกิจกรรม และ (2)วิเคราะห์และ อภปิ รายกระบวนการในการเรียนรู้โดยระบุจดุ เด่นจุดที่ควรปรบั ปรุงและพัฒนาต่อไป

52 Learning Design and Classroom Management 52 ขั้นตอนที่ 4 ข้ันสรุปและประเมินผลการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การ เรียนรู้ 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบบรู ณาการ (1) แนวคิดหลกั การ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นการ ผสมผสานประสบการณ์การเรียนรู้เนื้อหาวิชาต่างๆ ในหมวดวิชาเดียวกันหรือต่างหมวดวิชาให้มี ความสัมพันธ์ต่อเน่ืองกัน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย ตลอดจนสามารถนา ประสบการณต์ ่างๆ ที่ได้รับไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้ (2) รปู แบบการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการ (2.1) บูรณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction) โดยผู้สอน วิชาใดวิชาหนึ่งแทรกเนื้อหาวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าไปในการเรียนการสอนวิชาของ ตนเอง เปน็ การสอนโดยครคู นเดียว (2.2) บูรณาการแบบคู่ขนาน (Parallel Instruction) ผู้สอนต้ังแต่ 2 คนขึน้ ไปสอนต่างวิชากันแต่วางแผนการสอนรว่ มกนั โดยมีแนวทางในการวางแผน ดังน้ี คือ - กาหนดหวั ข้อเร่ืองความคิดรวบยอดและปัญหาที่จะศึกษาร่วมกัน - กาหนดวิธีการสอนในแต่ละหวั ข้อรวมกัน - แบ่งหน้าที่ว่าใครจะสอนหัวข้อใดบ้าง หัวข้อใดที่จะสอนรว่ มกัน - กาหนดวิธีการวดั ผลประเมินผล เครื่องมอื วดั ผล จุดประสงค์การ เรียนรู้ที่จะวดั ผลงานหรอื ชิ้นงานของผู้เรยี นซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละวิชาแตอ่ ยู่ภายใต้หัวเรื่อง หรอื ความคิดรวบยอดเดียวกัน (2.3) บูรณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) การบูรณาการแบบนี้คล้ายคลึงกับแบบที่ 2 คือ ครูตั้งแต่ 2 คนสอนต่างวิชากัน มาวางแผนการ สอนร่วมกัน กาหนดหัวเร่ือง ความคิดรวบยอดปัญหาเดียวกัน ตอนสอนต่างคนต่างทาแผนการ สอนของตนเองแต่มอบหมายให้ผู้เรียนทางานหรือโครงการเชื่อมโยงความรู้สาระต่างกันเข้า ด้วยกันจนสรา้ งชิน้ งานได้ และผสู้ อนแต่ละวิชามาร่วมวางแผนกาหนดเกณฑ์การประเมินในแต่ละ ชนิ้ งานในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องกับวิชาของตนเองตามนา้ หนกั ความสาคัญของการประเมินของชนิ้ งาน (2.4) บูรณาการแบบข้ามวิชาหรือจัดการสอนเป็นทีม (Transdisciplinary Instruction) เปน็ การสอนทีผ่ ู้สอนวิชาต่างๆ อาจจะทุกวิชาก็ได้วางแผนการสอน ร่วมกันภายใต้หัวเร่ือง ความคิดรวบยอด และปัญหาเดียวกันแล้วรวมกันสอนเป็นทีม เวลา มอบหมายงานนี้จะมอบหมายงานร่วมกันเป็นชิ้นงานเดียวกันให้ผู้เรียนทางานร่วมกัน การ ประเมินผลกจ็ ะกาหนดแนวทางในการประเมินร่วมกัน

การออกแบบการเรยี นรแู้ ละการจดั การชัน้ เรยี น 5533 2.7 ประโยชน์ของแผนการจดั การเรียนรู้ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้หรอื แผนการสอนของครูก่อให้เกิดประโยชน์โดยตรงแก่ สามฝา่ ยคือ ครผู ้สู อน ผ้เู รยี นแแลละะสสถถาานนศศกึ ึกษษาาโโดดยยเฉเฉพาาะะคครรูผผู ู้ส้สู ออนนคคืออื ผผู้ซ้ซู ึ่งง่ึ ตต้ออ้ งงศศึกกึ ษษาาททาำ� ความเข้าใจ ในทุกข้ันตอนทั้งก่อนและหลังการเขียนแผนเพราะจะทาให้ครูได้เคร่ืองมือที่มีคุณภาพเพื่อนาไป พัฒนาท้ังตัวผู้สอนและผู้เรียนได้ถูกต้องเหมาะสม หากไม่เข้าใจในขั้นตอนและการนาไปใช้ที่ ถูกต้องผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียนก็จะไม่เกิดอย่างแน่นอน และนอกจากครูผู้สอนแล้วยังมีอีกสองสิ่งที่ จะทาให้แผนการสอนเกิดผลดีคือ ผู้เรียนและสถานศึกษา ผู้เรียนคือผู้ได้ประโยชน์อันดับแรก ดังนั้นผู้เรียนต้องมีความพร้อมในการรับข้อมูลอย่างเต็มความสามารถเพื่อจะส่งผลต่ อ สถานศึกษาต่อไป ฉะน้ันจึงได้แบ่งประโยชน์ของแผนการสอนไว้เป็น 3 ประเด็น (สิทธิ์ สายหล้า, 2541 : 218) คือ ประโยชน์ของแผนการสอนที่มีต่อครู ประโยชน์ของแผนการสอนที่มีต่อผู้บริหาร ศกึ ษานิเทศก์และสถานศึกษาและประโยชน์ของแผนการสอนที่มีตอ่ ผเู้ รียน ดังตอ่ ไปนี้ 2.7.1 ประโยชน์ของแผนการจดั การเรียนรทู้ ม่ี ตี ่อครู ครูคือผู้ทีม่ คี วามรคู้ วามสามารถความถนัด ตามสาขาวิชาเอกที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมา แต่ ครูต้องมีรูปแบบหรือแบบแผนเหมือนกันในการจัดการกับเน้ือหาสาระที่จะสอนให้แก่ผู้เรียน เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนได้เป็นไปตามข้ันตอนของหลักสูตรและเพื่อ ให้ครูคนอื่นช่วยสอน เมื่อไม่สามารถเข้าสอนได้การจดั ทาแผนการสอนจงึ เป็นเครื่องมอื ที่สาคญั และเกิดประโยชน์ต่อครู มากมายซึ่งสามารถกาหนดเปน็ ข้อๆ ดงั น้ี คือ 1) เป็นเคร่ืองมือที่กาหนดให้ครูได้ศึกษารายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับวิชาที่สอน ล่วงหน้า ก่อนที่จะลงมือเขียนแผนการสอนครูจาเป็นต้องศึกษา จุดประสงค์รายวิชา คาอธิบาย รายวิชา ตารา เอกสารและสื่อการสอนที่เกี่ยวข้องล่วงหน้าอย่างละเอียด แผนการสอนจึงช่วยให้ ครมู ีความรเู้ กีย่ วกบั เรื่องที่สอนลว่ งหนา้ อย่างกว้างขวาง 2) สรา้ งความเช่อื ม่ันแก่ครูผสู้ อน ครทู ีเ่ ตรียมการสอนมาดีจะมีความเชอ่ื มน่ั และ แก้ปัญหาต่างๆ ได้เปน็ อย่างดี 3) สรา้ งความศรทั ธาแก่ผู้เรียน การทีค่ รวู างแผนการสอน ดาเนินการสอนได้ดี และมีความพร้อมในการนทาหน้าที่ ย่อมเป็นที่ศรัทธาของลูกศิษย์ 4) ช่วยให้ครูกาหนดจุดประสงค์ เน้ือหา กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อการสอน และวิธีการวัดและประเมินผลไว้อย่างเหมาะสมกับเวลา วัยของผู้เรียน สภาพของห้องเรียนและ ท้องถิ่น

54 Learning Design and Classroom Management 54 5) ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงในการจัดการเรียนการสอนแก่ศึกษานิเทศก์ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและผทู้ ี่เกี่ยวข้อง 6) เป็นเคร่ืองยืนยันว่าครูได้วางแผนการสอน เตรียมการสอนและดาเนินการ สอนอย่างมีทิศทาง 7) ช่วยอานวยความสะดวกแก่ครูผู้สอนแทน แผนการสอนที่ดีที่สุดคือ แผนการสอนทีม่ รี ายละเอียด และความชดั เจนมากพอที่จะทาให้ครูที่สอนแทนสอนได้เหมือนหรือ ใกล้เคียงกบั เจ้าของแผนการสอนมากที่สดุ 2.7.2 ประโยชน์ของแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่มีตอ่ ผู้บริหารศึกษานเิ ทศกแ์ ละ สถานศกึ ษา ผู้บริหารสถานศึกษามีหน้าที่ดูแลความเรียบร้อยในการบริหารจัดการในทุกเร่ือง ให้ บรรลตุ ามจุดประสงค์ของการบริหารที่ต้ังไว้ การจัดการเรียนการสอนเป็นอีกเร่ืองหนึ่งที่ผู้บริหาร ต้องให้ความสาคัญ เพราะการจัดการเรียนการสอนที่ประสบผลสาเร็จและเกิดประสิทธิผลได้ เต็มที่ แแผผนนกกาารรสสออนนคคือือปประรเะดเด็น็หนนหึ่งนทึ่งี่ตท้อ่ีตง้อรงู้แรลู้แะลเขะ้าเขใจ้าใกจรอกบรขออบงขแอผงนแกผานรกสาอรนสอเนนื้อหเนาส้ือาหราะสเาคร้าะ โเคา้รโงคพรงร้อพมรทอ้ มั้งกทิจง้ั กจิรรกมรรกมากรเารรียเรนยี กนากราสรอสนอนจะจเะปเ็นปตน็ ัวตชวั ี้วชัดวี้ วดั ่าวจา่ ะจสะส่งผง่ ผลลสสาเำ� รเร็จจ็ตต่ออ่ เดเด็กก็ ออยย่าา่ งงไไรรดดังงั นน้ัน้ั ผู้บริหารสถานศึกษามีหน้าที่ตรวจสอบ ปรับปรุงก่อนการใช้แผนด้วยวิธีการลงนามเสมอ ความ เข้าใจ คคววาามมถถูกูกตต้อ้องงจจะะททา�ำใใหห้ป้ปรรับับปปรรุงุงแแผผนนเเพพื่อ่ือเเกกิดิดคคววาามมเเหหมมาาะะสสมมกก่อ่อนนนนา�ำไไปปใใชช่ไ้ไดด้ด้ดีแีแลละะใในนปปรระะเเด็น ของศึกษานิเทศก์ ซึ่งเป็นผู้กากับดูแลครูอีกส่วนหนึ่ง แผนการสอนจึงเป็นอีกเร่ืองที่ศึกษานิเทศก์ ต้องให้ความสนใจเพื่อเกิดความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนอีกด้วย จึงได้สรุปประโยชน์ ของแผนการสอนทีม่ ีต่อผู้บริหาร ศกึ ษานิเทศก์และสถานศึกษาเปน็ ข้อๆ ดงั น้ี 1) ใชเ้ ป็นหลกั ฐานประกอบการนเิ ทศและผลการปฏิบัติงานของครู 2) ใช้ประกอบการพิจารณาความดีความชอบของครูในการเลื่อนระดับ ข้ัน เงินเดือนและคัดเลือกครูดีเด่น 3) หากครูมีการวางแผนการสอนอย่างดี จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามที่ กาหนดไว้ ย่อมส่งผลให้ผู้ที่จบการศึกษาไปเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ คือมีความรู้ในวิชาที่เล่าเรียน อย่างแท้จริง และมีคุณธรรมศีลธรรมที่เป็นตัวอย่างแก่บุคคลในสังคมชื่อเสียงสถานศึกษาย่อม เป็นที่ประจกั ษ์แก่สังคมด้วย 4) ช่วยให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามจุดประสงค์ของหลักสูตรและสนองความ ต้องการของตลาดแรงงาน

การออกแบบการเรยี นรู้และการจัดการชน้ั เรียน 5555 2.7.3 ประโยชนข์ องแผนการจดั การเรียนรทู้ ีม่ ีต่อผู้เรียน การจดั การเรียนการสอนในสถานศกึ ษายคุ ปัจจบุ ันแมค้ วามเจรญิ ทางเทคโนโลยี จะเป็น ตัวกาหนดเป้าหมายบางอย่างของการจัดการเรียนการสอนแต่ก็ไม่ใช่ทั้งหมด การวางแผนการ สอนทีส่ า�ำคญั ญแแลละะใใชช้ไ้ไดด้เ้เสสมมออคคือือกกาารรเเขขียียนนแแผผนนกกาารรสสออนนกก่อ่อนนสสออนนเพเพรราาะะททุกุกขข้ันั้นตอนในแผนจะทา�ำให้ ผสู้ อนสอนหนังสือได้ครบวัตถุประสงค์ที่หลักสูตรกาหนดไว้ มีเทคนิคต่างๆ เกิดขึ้นซึ่งมาจากการ คิดวิเคราะห์ก่อนเขียนแผนน แม้แต่ส่ือการสอน กิจกรรมต่างๆใในนกกาารรนนา�ำมมาาสสออนนกก็จ็จะะถถูกูกกกา�ำหนดให้ รวมไว้ในแผนการสอนทั้งหมด ดังน้ันการมีแผน การสอนจึงทาให้ครูไม่หลงทางในการสอนได้ และที่สาคัญประโยชน์ที่จะเกิดต่อผู้เรียนย่อมสามารถนาไปประยุกต์ใช้ จึงสรุปประโยชน์ที่จะเกิด ต่อผู้เรยี นเป็นข้อ ดังน้ี คือ 1) ได้ฝึกฝนและเรียนในสิ่งที่ครูเตรียมไว้แล้วอย่างมีเป้าหมาย การที่ครูให้ผู้เรียน ได้ทราบจุดประสงค์การสอนในแต่ละบทเรียนเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญและเห็น คุณค่าของการเรียน 2) ช่วยขจัดความเบื่อหน่ายในการเรียนของผู้เรียนการที่ครูผู้สอนได้เตรียม กิจกรรมการเรียนการสอนมาเป็นอย่างดี โดยคานึงถึงความสนใจ ความสามารถของผู้เรียน จะ ช่วยขจดั ความนา่ เบื่อหน่ายของผเู้ รียนได้ 3) เม่ือจบการศึกษาไปแล้วจะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพของชาติ คือมีความ รู้ ความสามารถในวิชาที่เล่าเรียนมา สามารถนาไปประกอบอาชีพได้และมีคุณธรรมจริยธรรม ตามทีไ่ ด้ฝึกฝนอบรมมา ช่วยใหด้ ารงตนในสงั คมได้อย่างเปน็ สขุ สรุปความ แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง ลาดับข้ันตอนของการเตรียมการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนอย่างเป็นรูปธรรมของการแปลงหลักสูตร สู่กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่ ผู้ ส อ น เ ต รี ย ม ก า ร ไ ว้ ล่ ว ง ห น้ า อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน สภาพของผู้เรียนและความพร้อมของโรงเรียน และตรงกับ ชีวิตจริงในท้องถิ่น ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้มีส่วนสาคัญประกอบด้วยจุดประสงค์การเรียนรู้ เนือ้ หา วิธีการจดั กิจกรรม สื่อการเรียนและการประเมนิ ผู้เรยี น

56 Learning Design and Classroom Management 56 แผนการจัดการเรียนรู้มี 3 ประเภท คือ แผนระยะยาวหรือโครงการ แผนระยะส้ันเป็น แผนทีล่ ะเอียดกว่าแผนระยะยาว และแผนประจาวันเป็นการเตรียมสอนอย่างละเอียดไว้ล่วงหน้า ก่อนสอนอย่างน้อย 3 วนั หรอื 1 สปั ดาห์ แผนการจดั การเรียนรู้มี 3 รูปแบบ คือ แบบบรรยาย แบบตารางและแบบกึ่งตาราง แต่ จะประกอบด้วยองค์ประกอบทีเ่ หมอื นกนั คือมชี ื่อวชิ า ช้ัน หน่วยที่ เร่ือง เวลา คาบ วันที่ ความคิด รวบยอด คุณสมบัติที่ต้องการเน้น จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม เนื้อเร่ืองกิจกรรม สื่อการเรียนการ สอน การประเมนิ ผล ข้ันตอนและหลักการในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้สรปุ เป็นขั้นตอนในการเขียนแผน วิชาสังคมศึกษา คือศึกษาหลักสูตร ศึกษาคู่มือครู ศึกษาเน้ือหาและรายละเอียดที่จะสอน ศึกษา กิจกรรมการเรียนทั้งหมด ศกึ ษาการวัดผลและประเมินผล ดังนั้น การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ คือ การวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ล่วงหน้า คล้ายกับบันทึกการสอนที่ฝึกทาในวิชาครูโดยมีวัตถุประสงค์ให้ครูผู้สอน ได้ออกแบบ และเตรียมการสอนล่วงหน้า ให้เห็นรายละเอียดของกิจกรรมการเรียนการสอนของแต่ละหัวข้อ ย่อยของเนื้อหาวิชาหรือสาหรับการสอนแต่ละคร้ังซึ่งจะต่างจากเอกสารแนวการสอนตรงที่ แผนการจัดการเรียนรู้มีกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมเฉพาะเจาะจงคือแบ่งย่อยตามเนื้อหาย่อยๆ หรือ จุดประะสสงงคค์ย์ย่อ่อยยๆๆไดไ้มดา้มกากกวก่าวล่าักลษักณษะณแะสแดสงดกางรกสาอรสนทอี่จนัดทส่ีจรัดรสแรลร้วแใลห้ตวใรหงก้ตับรงสกภับาพสภแวาดพลแ้อวมดลเป้อ็นม ตเป้นน็ ต้น คค�ำถาถามามทท้ายา้ ยบบทท จคัดิดจก ท กวงา่า่าาอรนรจแธคเรผดัิบ312ดิ ยี.นกา..วนแ321ยกา่าแ..กผ.ร ลาผ ?แแลแเานรักรนผผรผจักกยีษกสนนัดนษานณาอกกกกรณกรนาจาาะาาจระรอทรัดรรัดจทเจยจี่ดกสรดักัดี่ด่าัดีียขาอกงากีขรกอนนไราาอเงารรอรรเรแงู้ครรยียเจเแรผเียวร่านรงยีผรนียนงีอยรนมนไกนรู้ธนรรีคหกู้าโริบรู้คดวจรู้มาู้าโวาหจยงรดายรมอัดจทมยยมหธ?ัดกา่ัถวทคีบิมยกาไึง่ัววปาาถรอาไายยเมปึงระรมออไเีกม?ียหรรยะี่แีกนียมไ่านบ่ีแรรนาไักรบู้บยรนวบูอ้ ?คแัิกชคยวตาวแ่าวรกิ่ชลงตรเาาไะปเ่ลรปกรแ็นะไา็นบ?อแดรอบบย้ไไหยดม่าบ่้าค้งไีคมหไงววีครไ้คาารววมแมาาลหแแมมะมลตแหมาะกตมีคยมตกาวไีค่าตวยาวง้เ่าไมชากวงส่มน้เันกชาไสอัน่นคร�ำยอไัญคแร่ายัลญงต่าแไะ่องตรลทไก่อระ่าจานงร อธ ิบาย ? 4. รูปแบบของแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถแบ่งออกเป็นก่ีแบบ แต่ละรูปแบบมี ความแ4.ตรกูปกแนั บอบย่าขงอไงรแจผงนอกธาบิ ราจยัดแกลาะรยเรกียตนัวรอู้ยส่าางมปารระถกแอบบ่งดอ้วอยก?เป็นกี่แบบ แต่ละรูปแบบมีความ แต กกันอย่า5ง. ไกราจรงจอัดธทิบ�ำาแยผแนลกะายรกจตัดวั กอายร่าเงรปียรนะรกู้หอรบือดแ้วผยน?การสอนของครูก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ การเร5ยี .นกกาารรจสัดอทนาอแยผ่านงไกราจรงจอัดธกบิ าารยเร?ียนรู้หรือแผนการสอนของครูก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการ เรียนการสอนอย่างไร จงอธิบาย ?

การออกแบบการเรียนร้แู ละการจดั การชน้ั เรยี น 5577 เอกสารอ้างอิง ชัยฤทธิ์ ศลิ าเดช. (2545). คมู่ ือการเขียนแผนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ. กรงุ เทพฯ : จูนพบั ลิชชิ่ง. ถวัลย์ มาศจรัส. (2538). แผนการสอน. กรุงเทพฯ : ธารอักษร. รวีวรรณ ธมุ ชัย. (2533). เอกสารคาสอนวิชาการมัธยมศกึ ษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย ศรนี ครินทรวิโรฒประสานมิตร. ลัดดา ศลิ าน้อย. (2534). เอกสารคาสอนวิชา การสอนสังคมศึกษา. ขอนแก่น : มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. วิชยั วงศใ์ หญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลกั สตู รและการเรียนการสอนภาคปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ สาส์น. วฒั นาพร ระงบั ทุกข์. (2542). คมู่ ือครู. กรงุ เทพฯ : แอล ที เพรส. ศักรินทร์ สวุ รรณโรจน์ และคณะ. (2536). แผนการจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นา การพิมพ.์ เศวต ไชยโสภาพ. (2553). การพัฒนาแผนการสอนกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สงบ ลักษณะ. (2533). แผนการสอน. กรุงเทพฯ : ครุสภาลาดพร้าว. สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวดั ผลการศึกษา. (พิมพ์ครงั้ ที่ 4), กาฬสินธ์ุ : ประสานการพิมพ์. สิทธิ์ สายหลา้ . (2541). ศาสตรแ์ ละศิลปก์ ารเปน็ ครู. (พิมพ์ครง้ั ที่ 2), นครราชสีมา : งานเอกสารการพิมพ์. สุจินต์ วิศวธีรานนท์. (2536). การจัดการเรียนการสอนให้ผเู้ รยี นร่วมมือกัน. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. สพุ ล วงั สินธ์ุ. (2545). การจัดทาแผนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ “สารพัฒนาหลกั สูตร”. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.

58 Learning Design and Classroom Management ฝากธรรมย้ำเตียน F เกงกลา เพราะจำเปน ตองสู F รู เพราะเคยพลาด F ฉลาด เพราะเคยผิด F คิดเปน เพราะทกุ ข F สขุ เพราะผานวิกฤติ

3กากรจาัดรกจาดัรเกรียานรรเูใรนียศตนวรรู้ใรนษทศี่ ต21วบรรบทษทททที่ี่ ี่ 3 21 ความนา เม่ือกล่าวถึงการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมากจะแสดงให้เห็นถึงความ เปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยี ดังน้ันในการจัดการเรียนรู้จึงต้องมีการปรับเปลี่ยน กระบวนการให้สอดคล้องกบั ศตวรรษที่ 21 ด้วย ในบทนี้จึงจะกล่าวถึงการจัดการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 ที่จะเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและเป็นการพัฒนาความสามารถของผู้เรียนเพื่อ นาความรู้น้ันเพื่อการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคมของตนได้ โดยการเรียนรู้ ของมนุษย์มีวิวัฒนาการที่น่าสนใจ เริ่มตั้งแต่การเรียนรู้เพื่อที่จะมีชีวิตรอดตาม สัญชาำติญาำณของสิ่งมีชีวิตไปสู่กำารท�ำามำาหำากินยังชีพ จนพัฒนาำขึ้นเป็นวิถีชีวิตของชนเผ่าำ ทาให้การเรยี นรู้มรี ปู แบบขึน้ เพือ่ ถ่ายทอดความรู้ ค่านิยมจากคนรุ่นหนึ่งไปอีกรุ่นหนึ่ง การ เรียนรู้เรม่ิ จากบ้านจากครอบครวั จนวิวฒั นาการไปสู่การเรียนรู้ในวัด ในวังและในสกุลช่าง ต่างๆ จนเมือ่ ก้าวเข้าสกู่ ารพัฒนาประเทศเข้าสู่ความเป็นสากล จึงเริ่มมีโรงเรียนที่สอนการ เรียนรู้ที่เป็นทางการ มีการจัดระบบการเรียนรู้หลักสูตร สื่อ วิธีการ ตลอดจนการวัดผล ประเมินผลที่ชัดเจนและเป็นระบบ 3.1 ความหมายของการเรียนรู้ กาำรเรียนรเู้ ปน็ ตวั จดักกรำสราสคำ� ัญคใญั นใกนากรำสรอสนอในหใ้ผหู้เผรเู้ ียรยีนนมมีคคีววาำมมรรู้คคู้ ววาำมมสสาำมมาำรรถถและเกิด ทกั ษะชีวติ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการจดั การศึกษา และมีนักวิชาการศึกษาได้ให้ความหมาย ของการเรยี นรู้ไว้อย่างหลากหลายดงั ต่อไปนี้ 1) สุรางค์ โค้วตุกูล (2541 : 185) ให้ความหมายว่า การเรียนรู้เป็นการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเน่ืองมาจากประสบการณ์ที่คนเรามี ปฏิสัมพันธ์กับ สิง่ แวดล้อมหรอื จากการฝึกหัด รวมท้ังการเปลี่ยนปริมาณความรขู้ องผู้เรยี น

60 60 Learning Design and Classroom Management 2) ทิศนา แขมมณี (2541 : 1) ให้ความหมายว่า การเรียนรู้มีความหมาย 2 ประการ คือ การเรียนรู้ในความหมายของกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งหมายถึงการดาเนินการ อย่างเป็นข้ันตอนหรือการใช่้วิธีการต่างๆ ที่ช่วยให้บุคคลเกิดการเรียนรู้และการเรียนรู้ใน ความหมายของผลการเรียนรู้ คือ ความรู้ความเข้าใจในสาระต่างๆ ความสามารถในการ กระทา การใช้ทักษะกระบวนการต่างๆ รวมทั้งความรู้สึก เจตคติ อันเป็นผลที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการเรียนรู้หรือการใช้วิธีการเรียนรู้หรือการใช้วิธีการเรียนรู้ กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า การเรียนรู้ การเรียนรู้มีลักษณะเป็นทั้งผลลัพธ์อันเป็นเป้าหมายปลายทางและเป็นวิธีการ นาไปสู่เป้าหมาย 3) ชนาธิป พรกุล (2544 : 53) ให้ความหมายว่า การเรียนรู้หมายถึง การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องหรือการเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแสดง พฤติกรรมในสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการฝึกปฏิบัติหรือได้รับ ประสบการณ์ 4) อารี พันธ์มณี (2546 : 176) ให้ความหมายว่า การเรียนรู้ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเดิมสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร และเป็นผลมา จากประสบการณ์หรือหรือการฝึกฝน มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติ สัญชาตญาณ วุฒิภาวะ พิษยาต่างๆ อุบตั ิเหตุ หรือความบังเอิญ จากความหมายของการเรียนรู้ที่นักวิชาการได้นิยามไว้มีความหลายหลายและ แตกต่างกันออกไป สามารถสรุปได้ว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียน เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเกิดจากประสบการณ์ ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และการฝึก ปฏิบัติจนทาให้เกิดความสามารถในการกระทาน้ันอย่างถาวร จึงเป็นเหตุให้ผู้สอนต้อง ตระหนักถึงทฤษฎีการเรียนรู้เพ่ือนาไปพฒั นาผู้เรยี นต่อไป 3.2 ลักษณะของกระบวนการเรียนรทู้ ีด่ ี ก่อนการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนควรศึกษาเรียนรู้ในหลายเร่ืองเกี่ยวกับการ เรียนรู้ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ จึงจะทาให้ผู้สอนจัดการเรียนการสอนที่เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างแท้จริง เน่ืองจากการเรียนรู้เป็นสิ่งสาคัญที่ผู้เรียน จะต้องได้รับการพฒั นาจนเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม

61 การออกแบบการเรียนรู้และการจดั การชัน้ เรยี น 61 แต่เดิมในอดีตคนเชื่อกันว่าผู้ใหญ่รู้อะไรต่อมิอะไรมากมาย เพราะมีประสบการณ์ มาก ส่วนเด็กน้ันยังไม่รู้อะไร ดังนั้น วิธีที่จะทาให้เด็กและเยาวชนรู้ได้คือต้องฟังและจดจา จากผู้รู้กระบวนการเรียนรู้คือกระบวนการที่บุคคลรับรู้สิ่งเร้าต่างๆ เข้าไปในสมองซึ่งเป็น โครงสรา้ งทางสติปัญญาของบคุ คลนั้น สมองทีจ่ ะเกิดการเรยี นรู้ข้ึนมากซึ่งหากเราต้องการ รู้ว่าบุคคลน้ันเรียนรู้แล้วหรือไม่เราต้องให้บุคคลน้ันแสดงความรู้น้ันออกมา (ทิศนา แขมมณี, 2545 : 5-6) ดงั แผนภาพต่อไปนี้ กระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สิ่งเร้า สมอง การแสดงออก แผนภาพท่ี 3.1 : กระบวนการเรียนรตู้ ามความเชอ่ื ในอดีต ที่มา : ทิศนา แขมมณี (2545 : 6) จากภาพที่ 3.1 แสดงให้เห็นว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสมอง ในการรับรู้ สิ่งเร้าต่างๆ เข้ามา เม่ือบุคคลรับสิ่งเร้าเข้ามาแล้วก็จะต้องพยายามจดจาสิ่งน้ันไว้ เพื่อ นาไปใช้ในโอกาสต่อไป ดังนั้น ผู้สอนจึงจาเป็นต้องให้สิ่งเร้า ซึ่งก็คือเนื้อหาสาระต่างๆ แก่ ผเู้ รียน โดยพยายามหาวิธีให้ผู้เรียนรับสิ่งเหล้าน้ันเข้าไป เช่น ผู้เรียนไม่ได้ต้ังใจฟังก็จะใช้วิธี ดุด่าว่ากล่าว คาดโทษและลงโทษผเู้ รียน เม่อื ผเู้ รียนรับสิ่งเร้าเข้าไปแล้ว ก็พยายามให้จดจา ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น ให้ท่องจา ให้ทาแบบฝึกหัด เป็นต้น ซึ่งผู้สอนคาดหวังว่าวิธีการหรือ กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และผู้เรียนควรแสดง ความรนู้ ้ันออกมาได้ตรงตามลกั ษณะของสง่ิ เร้าทีไ่ ด้ให้ไป สาหรับในทศวรรษที่ 21 ความคิดดังกล่าวไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ เนือ่ งจากมีข้อมูลเชิงประจกั ษ์ทีไ่ ด้พบเห็นกันโดยท่ัวไปแล้วว่า การสอนที่ผ่าน มาในลักษณะดังกล่าวไม่ได้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามที่ต้องการและจาก ความก้าวหน้าทางวิชาการทีไ่ ด้มกี ารค้นพบเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่า ดังเชน่ ทฤษฎีการเรียนรู้

62 62 Learning Design and Classroom Management ที่สาคัญที่จะดีหนึ่งซึ่งคงเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันคือทฤษฎี “การสร้าง ความรู้” หรือ “Constructivism” ทฤษฎีนี้เป็นทฤษฎีที่ต้ังอยู่บนพื้นฐานแนวคิดของเพียเจต์ (Piaget) ซึง่ อธิบายพฒั นาการทางเชาวน์ปัญญาของบุคคลไว้ว่า ประกอบด้วยกระบวนการ ที่สาคัญ 2 ประการคือ กระบวนการซึมซับประสบการณ์ (Assimilation) และกระบวนการ ปรับโครงสร้างทางเชาวน์ปัญญา (Accommodation) ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทาง สติปัญญาเดิมให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมใหม่ (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2559 : 65) ดัง แผนภาพ ดังน้ี กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการทางปญั ญา (Cognitive Process) การดูดซึม ผลการเรียนรู้ (assimilation) แสดงออก สิ่งเร้า โครงสรา้ งทางปัญญา (scheme) แผนภาพท่ี 3.2 : กระบวนการเรียนรโู้ ดยการดูดซึม ทีม่ า : ชยั วฒั น์ สุทธิรตั น์, (2559 : 65) จากแผนภาพที่ 3.2 อธิบายได้ว่า บุคคลรับสิ่งเร้า (สมมุติว่าเป็น) เข้าไปในสมอง การเรียนรูจ้ ะเกิดข้ึนได้ก็ต่อ่อเเมมื่อื่อบบุคุคคคลลนน้ันั้นมมีกีกาารรจจัดัดกกรระะททา�ำใในการนา�ำสิ่งเร้านั้นไปเชื่อมโยงกับ ข้อมูลเดิมทีม่ ีอยู่ในโครงสร้างทางสติปัญญาของตน (Schema or SScchemata) ซึ่งบุคคลได้ ส่ังสมมาต้ังแตเ่ กิด กระบวนการทีโ่ ครงสร้างทางสติปัญญาเดิมซึมซับรับสิ่งเร้าใหม่ไป หรือ กระบวนการที่ความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเชื่อมโยงกันได้อย่างลงตัวและมีความหมายกับ บคุ คลนั้นจะทาให้บุคคลนั้นอยู่ในสภาวะสมดุล (equilibrium) มีความเข้าใจในประสบการณ์ หรอื ข้อความรนู้ ั้นสามารถอธิบายได้และแสดงออกได้ตามความเข้าใจของตน เน่ืองจากตน เป็นผู้คิดผู้สรา้ งความหมายของสิง่ นั้นดว้ ยตนเอง

63 การออกแบบการเรียนรู้และการจดั การช้ันเรยี น 63 กรณีสมมตวิ ่าบุคคลรบั สิ่งเร้า (O) เข้ามา บุคคลก็จะดูดซับรบั สิง่ นั้นเข้ามา และใช้ กระบวนการทางปัญญา (Cognitive) หรือกระบวนการคิดที่ตนมีอยู่ในโครงสร้างทางสมอง เชื่อมโยงสิ่งเหล่าน้ันกับสิ่งเดิมที่มีอยู่เดิม และอาจสร้างความหมายว่าสิ่งใหม่ที่เข้ามามี ลักษณะเหมือนของเดิมและเม่ือวิเคราะห์แล้วพบว่าลักษณะเป็นแก่นสาคัญของสิ่งเดิมที่มี อยู่ของโครงสร้างทางสติปัญญา (Scheme) ซึ่งแต่เดิมมีลักษณะ O ก็อาจเปลี่ยนเป็น  ตามความหมายที่บุคคลน้ันสร้างขึ้น ซึ่งบุคคลแต่ละคนจะสร้างความหมายในลักษณะที่ แตกต่างกนั ออกไป อย่างไรก็ตาม สิ่งเร้าที่บุคคลรับเข้ามาอยู่ตลอดเวลานั้น หากไม่ได้มีลักษณะที่ บุคคลจะสามารถดูดซึมเชื่อมโยงด้วยกระบวนการ (Assimilation) ได้อย่างสะดวกง่ายดาย เสมอไป เพราะบางครั้งสิ่งที่รับเข้ามา อาจจะเป็นอะไรที่ผู้เรียนไม่สามารถเชื่อมโยงเข้ากับ ความรเู้ ดิมได้ ดงั จะเห็นได้จากปญั หาการเรียนรู้ของเด็กที่พบเห็นโดยทั่วไปว่า แม้ผู้คนสอน จะพูดอธิบายอย่างไรเด็กก็ยังไม่เกิดความเข้าใจ เพราะเด็กยังไม่สามารถเชื่อมโยง สร้าง ความหมายระหว่างความรู้ใหม่กับความรู้เดิมที่ตนมีอยู่ได้ สิ่งเร้าหรือความรู้ใหม่ที่บุคคล รบั เข้าไป กจ็ ะไม่มคี วามหมายสาหรบั บุคคลนั้น เม่ือความรู้น้ันไม่มีความหมาย ก็อาจคงอยู่ เพียงชั่วคราวและสูญญเเสสียียลลืมืมไไปปใในนทท่ีสี่สุดุดกกาารรทท่ีบี่บุคุคคคลลนน้ันั้นตตกกออยยู่ในู่ในสสภภาวาะวทะี่ท“ี่“ไไมม่ส่สมมดดุลุล””หรือ “Disequilibrium” ซึง่ ก็คือ ภภาาววะะแแหหง่ ่งคคววาามมงงนุ ุนงงงงสสงงสสัยยั คคบั ับขข้อ้องงใใจจไไมม่ส่สาามมาารรถถแสดงความเข้าใจ ของตนเองได้ เเมม่ือื่อบบุคุ คลตกอยู่ในสภาวะไม่สมดุล ธธรรรรมมชชาาตติกิก็ม็มีใี จความที่เรียกว่า “กระบวนการปรบั โครงสร้างงททาางงสสตตปิ ิปญั ัญญญาา””หรอื “กระบวนการปรบั สภาวะใหส้ มดลุ ล””หรอื “Accommodation” เเขข้า้ามมาาช่วยโดยใช้กระบวนการททาางงสสตตปิ ิปัญัญญญาา ((CCooggnnititivivee process) ของ ตนเข้าไป พพยยายามสร้างความเข้าใจ เช่น ออาาจจใใชช้ก้กาารรแแสสววงงหหาข้อมูลเพิ่มเติม กกาารรซักถาม หรอื ใใชช้ก้กรระะบบววนนกกาารรคคิดิดในในลลักักษษณณะะตต่าง่าๆงทๆี่จทะชี่จ่วะยชส่วยร้าสงรค้าวงาคมวหามาหยมสาิ่งยทสี่เิ่รงีทยง่ีเรคียวงาคมวเขาามใเจขข้าอใจง ตขอนงขตึ้นนมขาึ้นมซึา่งจซะ่ึงมจีละักมษีลณักษะณที่แะทตี่แกตตก่าตง่ากงันกไันปไปหลหาลกาหกลหาลยารยูปรูปแแบบบบแแตต่แ่แมม้จ้จะะมมีรีรูปูปแแบบบบที่มี หลากหลาย แต่ละสาระการเรียนรู้นั้นคงยังอยู่ และคงอยู่อย่างมีความหมายของตนเพราะ ตนเป็นผู้สร้างขึ้นเอง ด้วยเหตุนี้การเรียนรู้จึงเป็นกระบวนการที่ตื่นตัว ( Active) โดย กระบวนการทีผ่ เู้ รียนต้องเป็นผู้จัดกระทาต่อสิ่งเร้าหรือสาระการเรียนรู้ มิใช่เพียงรับสิ่งเร้า หรอื สาระเข้ามาเท่านั้น ผเู้ รียนต้องเป็นผู้สร้างความหมายของสิ่งเร้า หรือข้อความรู้ที่ได้รับ เข้ามาด้วยตนเอง ซึ่งกระบวนการสร้างความหมายของสิ่งเร้าที่รับเข้ามานี้ นับว่าเป็น ประสบการณ์เฉพาะตน (Personal Experience) ซึ่งมีความแตกต่างกันกระบวนการเรียนรู้ เป็นกระบวนการท่ีต่อเน่ืองไปตลอดชีวิตและเกิดขึ้นมาได้ทุกเวลาสถานที่ ไม่จากัดว่าจะ

64 64 Learning Design and Classroom Management เกิดขึ้นในเฉพาะห้องเรียนเท่านั้น แต่บุคคลจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลจากผู้อื่น เน่ืองจาก บุคคลแต่ละคนมีความจากัดในเร่ืองการรับรู้ ไม่สามารถรับรู้ทุกสิ่งทุกอย่างในทุกแง่ทุกมุม ได้หมด การปรับเปลี่ยนข้อมูลและมุมมองในด้านต่างๆ จึงสามารถช่วยให้บุคคลมีความรู้ที่ กว้างข้นึ ดงั นน้ั การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นจงเป็นกระบวนการทีจาเป็นในการเรียนรู้เพื่อช่วย การตาตรวรจวสจอสบอกบากราเรเียรนียรนู้ขรอู้ขงอแงตแ่ลตะ่ลบะุคบคุคลคว่าลวเ่าป็นเปก็นารกเารรียเนรรียู้ทนเ่ี รปู้ท็นี่เทปีย่ ็นอทมี่ยรอบั มรมับีควมาีคมวถากู มตถ้อูกง ตน้อ่าเงชนื่อ่าถเชือื่อในถมือุมในมมอุมงอมยอ่างงอไยร่าซงไึ่งรกรซะึ่งบกวรนะบกาวรนนกี้สาารมนาี้นราถมชา่วรยถใชห่ว้บยุคใคหล้บไุคดค้ขล้อไมดูล้ขใ้อนมกูลาใรนสกรา้ รง สครว้างมคหวมาามยหขมอางสย่ิขงทอ่ีเงรสียิ่งนทรี่เู้มรียากนขร้ึนูมแาลกะขชึ้น่วแยลใะหช้บ่วุคยคใหล้บสุคามคาลรสถาตมราวรจถสตอรบวแจลสะอปบรแับลคะวปารมับรู้ ความเรขู้ค้าวใจาขมอเขงต้าในจใหขอ้ถงูกตน้อใงหแ้ถลูะกเตป้อ็นงทแี่ยลอะมเรปับ็นขทอี่ยงอผมู้อื่รนับมขากอขง้ึนผู้อ(ื่นณมิราดกาขึ้เนวชญาล(ณักษิรณดา์, เ2ว5ช6ญ1า:ล5ัก6ษ)ณ์, 2561 : 56) ดังนั้นกล่าวได้ว่ากระบวนการเรียนรู้นอกจากจะเป็นกระบวนการทางสติปัญญา แล้วยังเป็นกระบวนการทางสังคมอีกด้วยและกระบวนการเรียนรู้ยังเป็นกระบวนการที่มี ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับจิตใจและความรู้สึก (Affective Process) ของผู้เรียนรู้ด้วย หาก สิ่งที่เรียนรู้มีความสอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยมีกระบวนกา ร เรียนรู้ที่เป็นไปอย่างสนุกสนานเพลิดเพลินหรือท้าทายความคิด สติปัญญา ทาให้ผู้เรียน เกิดความตืน่ ตัว ไม่เบื่อหน่าย โอกาสที่ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพก็จะ มีมากขึ้น จากลกั ษณะกระบวนการเรียนรู้ที่ดี สรุปได้ว่าการเรียนรู้ที่ดีควรเป็นกระบวนการ ทางสตปิ ญั ญาหรอื กระบวนการการทางสมอง ซึง่ บคุ คลใช้ในการสร้างความเข้าใจหรือการ สร้างประสบการณ์ให้แก่ตนเอง เป็นกระบวนการทางสังคมซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพล ต่อการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นได้ทั้งจากการคิดและการกระทารวมทั้งการแก้ปัญหาและการ ศกึ ษาวิจัยตา่ งๆ ทาให้ผู้เรยี นรู้สกึ ผกู พัน เกิดความสนใจไปสู่การเรียนรู้เป็นกิจกรรมที่นามา ซึ่งความสนุกสนานหรืออาศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ ส่งผลต่อการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตนเองท้ังด้านเศรษฐกิจ ความรู้สึก ความคิด และการ กระทาเพื่อการดารงชีวิตอย่างปกติสุขและสมเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ สร้างวัฒนธรรมแห่ง การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตจึงเป็นกระบวนการที่ยั่งยืน ช่วยให้บุคคลและสังคมมีการพัฒนาอย่าง ต่อเน่อื ง

65 การออกแบบการเรยี นรแู้ ละการจดั การชัน้ เรียน 65 3.3 คุณลักษณะทีส่ าคญั ของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 จากความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารนี้ทาให้เราได้รับข้อมูลข่าวสารมากมายที่ไหลบ่าเข้ามาสู่ตัวเราอย่างรวดเร็วและ มากมาย ด้ังน้ันความสามารถในการกรองข้อมูลข่าวสารจงเป็นอีกทักษะหนึ่งที่มีความ จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนาเพื่อให้คนสามารถเลือก แยกแยะและสกัดเฉพาะ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ที่ ส า คั ญ ต่ อ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ เ พื่ อ ด า เ นิ น ก า ร เ ร่ื อ ง ใ ด เ ร่ื อ ง ห นึ่ ง ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ ดังนั้นแนวโน้มการจัดการเรียนรู้จึงจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนและต้องมี การพัฒนาผู้สอนและผู้เรียนให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคตเพื่อพัฒนาให้ ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 ใน 3 ด้าน (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2559 : 1-2) ดังนี้ 1) ด้านความรู้คคววาามมรรู้ทู้ที่คี่คววรรพพัฒัฒนนาาคคนนใในนททศศวรรษที่ 2211 คคือือจจิติตสสา�ำนนึกึกต่อ่ โลก การเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ ความเป็นพลเมืองวัฒนธรรมมนุษย์ และโลกทางกายภาพและโลกธรรมชาติ สุขภาพและสวัสดิภาพ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ความรู้พื้นฐานเชิงทัศนาการ (Visual literacy) ความรู้พื้นฐาน ทางขอ้ มูลข่าวสาร ความรพู้ ืน้ ฐานทางพหวุ ฒั นธรรม (Multicultural literacy) ความรู้พื้นฐาน ในเร่อื งปริมาณ 2) ด้านทักษะการเรียนรแู้ ละการคิด ทกั ษะการเรียนรู้และการคิดที่ควรพัฒนา คนในทศวรรษที่ 21 คือ ความอยากรู้ จิตแหง่ วิทยาการ (Disciplined mind) การคิดระดับสูง การคิดเชิงวิพากษ์ ทักษะการแก้ปัญหาการจัดการ และแก้ไขข้อขัดแย้ง ทักษะการ สังเคราะห์ (Synthesizing) ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และผลิตนวัตกรรม ทักษะการ ทางานเปน็ ทีม การทางานรว่ มกั้น การสรา้ งเครือขา่ ย ทกั ษะปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การ เรียนรู้แบบส่วนรว่ ม ทักษะการเรียนรตู้ ามบริบท ทักษะด้านไอที 4 ทกั ษะการเรียนรู้ วิธีการ เรียนรู้ ททักักษษะะกกาารใช้ข้อ้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร ททักั ษะการผลิตนวัตธกรรม ททักักษษะะกกาาร จัดลาดับความสาคัญ ทักษะการวางแผนและการจัดการเพื่อมุ่งผลลัพธ์ ทักษะการใช้ เคร่ืองมือจริงอย่า่างงมมะีปปรระะสสิทิทธธิภิภาาพพ ทักษะการสร้างผลผลิตที่มีคุณภาพและเหมาะสม ทักษะการตงั้ คาถามและการวิเคราะห์ ทักษะการหาแนวโน้มและคาดการณ์ 3) ด้านทักษะชีวิต ทักษะชีวิตมีการพัฒนาคนในทศวรรษที่ 21 คือความ สามารถในการปรับตัวการใช้เหตุผลที่ดี ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและในฐานะ

66 66 Learning Design and Classroom Management พลเมือง การเข้าถึงคน การเจรจา การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่น ความสามารถใน การชี้นาตนเอง ความกล้าเสี่ยงการจัดการความซับซ้อน การรู้จักเพิ่มพูนประสิทธิผลของ ตนเอง ความสามารถในการสื่อสารโต้ตอบ การทดสอบโดยอิสระ การมีส่วนร่วมในฐานะ พลเมืองในระดับท้องถิ่นและระดับโลก ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital citizenship) จิต แหง่ ความเคารพ (Respectful mind) และจติ แห่งจรยิ ธรรม (Ethical mind) จากคุณลักษณะที่สาคัญของคนในศตวรรษที่ 21 สรุปได้ว่า ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีความเชี่ยวชาญในการสื่อสารที่ซับซ้อนมีไหวพริบในการตอบคาถามแก้ปัญหา เฉพาะหน้าควบคุมการเจรจา มีทักษะความรู้ ทักษะการเรียนรู้เพื่อสร้างนวัตกรรม ทักษะ การคิดเชิงสร้างสรรค์และทักษะชีวิตที่สามารถชี้นาตนเอง สามารถปรับตัวได้ดีในสังคมใน ระดบั ท้องถิน่ และระดบั โลก 3.4 กระบวนทัศนใ์ หมก่ ารจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 เป็นการศึกษาที่เน้นให้คนมีปัญญา เพราะปัญญาของ คนในชาติ มีความสาคัญยิ่งกว่าทรัพยากรอย่างอื่น เช่น แร่ธาตุต่างๆ ซึ่งทรัพยากรเหล่านี้ เคยมีความสาคัญมากในศตวรรษที่ผ่านมา การศึกษาในยุคนี้เน้นรูปแบบชุมชนแห่งการ เรียนรู้ (learning Community) เน้นการศึกษาผ่านปวงชน (education for att) เน้นการ ร่วมมือจากปวงชน (all for education) เป็นการศึกษาที่เน้นการเรียนวิธีการเรียนรู้ (Learn how to learn) เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือและการเรียนรู้แบบรวมพลัง (Co-operative and collaborative learning) การเรียนการสอนเน้น การสอนที่ให้ผู้เรียนสร้างความรู้เอง การ จัดการศึกษาเป็นไปเพื่อพัฒนา ให้คนยุคใหม่มีความรู้ด้านภาษาที่จะสามารถสื่อสารได้ใน ระดับสากล ในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ รู้กฏธรรมชาติ รู้วิธีการคิด รู้เร่ืองการวิจัยและ พฒั นาเปน็ คนดีมีคณุ ธรรม มีค่านิยมตอ่ สงั คม มีสุขภาพดีและแข็งแรง โลกยุคใหม่เป็นยุคที่ เน้นความเป็นมาตรฐาน การผลิตสิ่งต่างๆทั้งในวงการเกษตรกรรม อุตสาหกรรมต้องมี ความเป็นมาตรฐาน จึงจะเป็นที่ยอมรับในระดับสากล การจัดการศึกษาก็เช่นกันเป็นยุคที่ ต้องคานึงถึงมาตรฐาน ดังนั้นโรงเรียนต้องจัดการศึกษาอย่างมีมาตรฐานซึ่งนาไปสู่การ ประกันคุณภาพมาตรฐานหนึ่ง คือ ครูต้องสามารถจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ การจัดการเรียนการสอน ให้ผู้เรยี นใช้ปญั ญาในการสร้างความรู้และผลผลติ ด้วยตนเองทีม่ คี ่าต่อสังคม

67 การออกแบบการเรียนรแู้ ละการจัดการช้ันเรียน 67 สภาพสงั คมของประเทศไทยในปัจจุบัน เป้าหมายของการศึกษา เน้นทักษะการคิด เพื่อสร้างความรู้ ค้นหาความรจู้ ากแหล่งต่างๆ มคี วามคิด อย่างมวี ิจารณญาณในการเลือก การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ อย่างถูกต้องและเป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม การปฏิรูปการเรียนรู้ เป็นหัวใจของการปฏิรูปการศึกษา การเรียนรู้ ที่มีความหมาย คือ การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมอย่างถาวร หรือมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปใช้ได้ สามารถ ถ่ายโยงความรู้สู่ชีวิตจริงได้ กระบวนการเรียนรู้ที่มีความหมาย คือ การให้ผู้เรียนใช้ กระบวนการเพื่อ สร้างความรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ผลดีมากยิ่งขึ้น ถ้าผู้สอนใช้ แนวคอนสตรัคตติวิวิสิสตต์ ์คคือือกการาใรหใ้ผหู้เผรู้ีเยรนียสนรส้ารง้าคงวคาวมารมู้ดร้วู้ดย้ตวยนตเอนงเอถง้าผถู้ส้าอผนู้สใอชน้แนใวชค้แอนนว สคตอนรัคสติวริสัคต์ใิวนิสกตา์ใรนจกัดากรจาัดรเกราียรนเรกียานรสกาอรนสยอ่อนมยแ่อสมดแงสวด่างผวู้ส่าอผนู้สไดอ้เนหไ็นดป้เหร็นะปโยรชะนโย์อชันนจ์อะันเกจิดะ ขเกึน้ ิดกขบั ึ้นผกเู้ รับียผนู้เรเียพนราเะพกราาระทกี่ผาเู้ รทียน่ีผจู้เระียสนาจมะาสรถามสารร้าถง สครว้าางมรคู้ไวดา้นม้ันรู้ไผดู้เร้นียั้นนตผ้อูเรงียใชน้ทตัก้อษงใะชก้ทาักรคษิดะ แกลาระคกิดรแะลบะวกนรกะาบรวคนิดกเาปร็นคเดิ คเรป่ือ็นงเคมรือื่องในมกอื าใรนสกรา้ารงสอรง้าคง์คองวคา์คมวราู้ ซมึ่งรถู้ ซือึ่งเถปอื็นเขปั้นน็ ตขอน้ั นตอสนาคสั�ำญคใญั น กในรกะรบะวบนวกนากราเรียเรนยี รนู้ขรอู้ขงอผงู้เผรียู้เรนยี นทิศทนศิ านาแขแมขมมณณีแแีลละคะคณณะะ(2(2554444::10033--111100)) ได้ศึกษาพบว่า มติ ขิ อง กกาารรคคดิ ิดมมี 6ี 6ดา้ นดด้างันนดี้ 1ัง) นมีต้ิ 1ดิ )า้ นมขิตอ้ ิดม้าลู นหขร้อื มเนูลอื้ หหราือทเใี่นชื้อในหกาาทรี่ใคชดิ ้ใน2ก) มารติ คดิ ิดา้ น2ค)ณุ สมมิตบิดตั ้าทิน่ี คเอุณ้ือสอม�ำนบวัตยิทตี่เอ่ ื้อกอาารนควิดยต3่อ) กมาิตริดค้ิาดน3ท)ักมษิตะกิดา้ รนคทิดักษ4ะ)กมาริตคิดิด้าน4ล) ักมษิตณิด้ะานกลารักคษิดณะ5ก) ามริติด้า5น) มกริตะิดบ้าวนนกกราะรบควิดนก6า)รมคิตดิด6้า)นกมาิตริดค้าวนบกคาุมรคแวลบะปครุมะแเมลินะกปารระคเมิดินขอกงาตรคนิเดอขงอหงรตือนเมเอตงาหครอือกเนมิชตันา คในอกกานริชคันิดในเรกื่อางรใคดิดเเรร่ือ่ืองหใดนเึ่งรน่ือ้ันงหนผึ่งู้คนิด้ันต้อผงู้คมิดีทตัก้อษงมะีทกักาษรคะกิดาขรั้นคพิด้ืนขฐ้ันาพนื้นฐมาีลนักมษีลณักษะกณาะรกคาิดร คซึ่ิดงเซปึ่ง็นเปท็นักทษักะษทะี่สทูงี่สขูง้ึนขอึ้นีกอรีกวรมวทมั้งทมั้งีกมรีกะรบะวบนวกนากราคริคดิดซ่ึซงเึ่งปเป็น็นกกาารรคคิดิดทท่ีมี่มีขีข้ันั้นตตออนน ในการคิด ต้องอาศัย หรือเนื้อหาที่ใช้ในการคิด ผผู้คู้คิดิดจจะะสสาามมาารถใช้ก้ ระบวนการคิดได้ดีน้ันต้องมี คณุ สมบตั ิทีเ่ ออื้ อา�ำนวยต่อการคิด กระบวนทัศน์ของการเรียนรู้มีความสาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ ดังน้ัน จึงต้องมี การปรับกระบวนทัศน์ของครูไทยจากกระบวนทัศน์เดิมที่ครูเป็นศูนย์กลาง ( teacher- Centered) เป็นกระบวนทศั นใ์ หม่ของการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (child-centered) เป็นการบูรณาการ (integration) จากการเปรียบเทียบกระบวนทัศน์ใหม่ของการสอนกับ กระบวนทัศน์เดิมของการสอน (พิมพันธ์ เตชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข, 2559 : 45) ได้ผล ดงั ตารางเปรียบเทียบต่อไปนี้

68 68 Learning Design and Classroom Management 3.4.1 กระบวนทัศน์ใหม่ของการสอนและกระบวนทศั นเ์ ดิมของการสอน กระบวนทศั นใ์ หมข่ องการสอน กระบวนทศั นเ์ ดิมของการสอน 1. การเรียนรู้เพื่อสนองความต้องการของ 1. การสอนแบบใหท้ าตามหรอื ทาใหเ้ หมอื น ผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล ตน้ แบบ 1.1 ครูเป็นผู้อานวยความสะดวกผู้สนับสนุนและ 1.1 ครูเป็นศนู ย์กลางของการสอน เป็นพีเ่ ล้ยี ง 1.2 ใช้หลากหลายรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนา 1.2 มีแบบการสอนเป็นแบบแผน เป็นมาตรฐาน ผู้เรยี นได้เต็มศักยภาพ เพือ่ ให้ไดผ้ ลผลิตตามแบบแผนที่กาหนด 1.3 จุดเน้นคือเร้าใจให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็น 1.3 เป็นการถ่ายทอดความรแู้ ละทักษะให้กับผู้เรียน เร้าใจกระตุ้นความสนใจให้คิด ลงมือปฏิบัติ ส่ังสอน โดยตรง สารวจ ตรวจคน้ และเรยี นรู้ 1.4 การสอนเปน็ กระบวนการของการริเร่ิม อานวย 1.4 การสอนเป็นกระบวนการสง่ ผ่านการอบรม ความสะดวกและให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตัวเองและ ค้นพบ ความสามารถที่สมบูรณ์ด้วยตนเอง 1.5 การสอนคือการร่วมกันอย่างเป็นสุขในการใช้ 1.5 การสอนที่ทาให้ผู้เรียนไม่ประสบความสาเร็จ กระบวนการแลว้ ทาให้เกิดผลการเรียนรู้โดยผู้เรยี น เม่อื ไปสอบข้อสอบมาตรฐานของสถาบันอืน่ ๆ 1.6 การสอนเป็นกระบวนการเรียนตลอดชีวิตและ 1.6 เป็นการสอนที่เนน้ การปฏิบัติตามหลักการหรือ หมายรวมถึงการค้นพบอยู่เสมอ การทดลอง การ แนวทางที่ครูบอก หรือประยุกต์ความรู้จากที่ครูเป็น ค้นพบความสามารถหรือศักยภาพตนเอง การสะท้อน ผู้ให้ กลบั และการพฒั นาอาชีพ 2. การเรียนร้ทู เี่ น้นทอ้ งถนิ่ และเนน้ ความเปน็ 2. การสอนภายในขอบเขตโรงเรียน สากล 2.1 โรงเรยี นเป็นสถานทีส่ อน 2.1 มแี หลง่ เรยี นรหู้ ลากหลายท้ังในและนอก โรงเรยี นในท้องถิ่น ในชุมชน และครคู อื แหล่งความรู้ สาคญั และในจังหวัด 2.2 เปน็ การสอนแบบแยกสว่ นไม่เปน็ การบูรณการ 2.2 เป็นการสอนทีเ่ น้นกลุ่มหรือทีมและการสรา้ ง เครอื ข่าย 2.3 เปน็ การสอนทีเ่ น้นจากห้องเรยี นเท่านนั้ 2.3 เปน็ การสอนที่เน้นในห้องเรยี น สู่โลกภายนอก 2.4 เป็นการสอนที่จากัดโอกาสของผู้เรียนท้ังเวลา 2.4 เป็นการสอนที่เปิดโอกาสแก่ผู้เรียนอย่างไม่ สถานที่และความต้องการของแต่ละคน ซึง่ มีความ จากดั เวลาและสถานที่ แตกต่างกัน 2.5 เปน็ การสอนที่ทาให้ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการ 2.5 เป็นการสอนที่ครูไมเ่ กีย่ วพันหรือไม่เน้นเร่ือง พัฒนาชุมชนโลก รว่ มกบั กระบวนการกลมุ่ ของท้องถิ่นและโลก 2.6 เน้นการสร้างเครอื ข่ายของครู โรงเรยี นออกสู่ 2.6 เปน็ การสอนแบบแยกสว่ น อกี ท้ังเน้นเฉพาะ โลกภายนอก การสอนในขอบเขตของ โรงเรยี นเท่านนั้

69 การออกแบบการเรยี นรู้และการจัดการชน้ั เรยี น 69 3.4.2 กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้และกระบวนทัศน์เดิมของการ เรียนรู้ กระบวนทศั นใ์ หม่ของการเรียนรู้ กระบวนทัศนเ์ ดิมของการเรียนรู้ 1. การเรียนร้เู พือ่ สนองความต้องการของ 1. การเรียนรแู้ บบทาตามหรือทาใหเ้ หมอื น ผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล ตน้ แบบ 1.1 ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ 1.1 ผู้เรียนทาตาม ปฏบิ ตั ติ ามครู 1.2 เป็นโปรแกรมเนน้ เอกัตบุคคล 1.2 เป็นโปรแกรมทีม่ ีมาตรฐาน ไมม่ กี าร ยดื หยุ่น 1.3 เป็นการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 1.3 รบั ความรู้จากครูโดยตรง 1.4 การเรียนรู้เป็นกระบวนการสืบค้นและ 1.4 การเรียนรู้เป็นกระบวนการรับรู้ทาง เป็นการคน้ พบด้วยตนเอง วทิ ยาศาสตร์ 1.5 เนน้ “จะเรียนอยา่ งไร” “คิด” และ 1.5 การเรียนรู้เน้นการได้รับความรู้ “สร้างสรรค์\" และทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1.6 เรียนรู้ดว้ ยความสนุกสนานและได้รบั รางวัล 1.6 การเรียนรู้เป็นความยากตอ่ ผู้เรียน ไปในตัว ทีจ่ ะมีโอกาสรบั รางวัลจากสถาบันอืน่ 2. การเรียนรทู้ เี่ น้นทอ้ งถนิ่ และเนน้ ความเปน็ 2. การเรียนรู้ภายในขอบเขตโรงเรียน สากลโลก 2.1 มแี หลง่ เรียนรู้หลากหลายทั้งในและนอก 2.1 ครมู บี ทบาทสาคัญที่สดุ ครเู ปน็ แหล่ง โรงเรียน ในท้องถิน่ ในชุมชนและในจังหวัด ความรู้ทีย่ ิง่ ใหญ่และสมบูรณ์ 2.2 การเรียนรู้เน้นกลุ่ม/ทีม และการสร้าง เครอื ขา่ ย 2.2 เป็นการเรียนรู้แบบแยกส่วนไมเ่ นน้ การ บูรณาการดว้ ยทักษะ 5C เพ่อื การพฒั นาหน่วย 2.3 การเรียนรู้เกิดได้ทุกเวลา ทกุ สถานทีแ่ ละ การเรียนรู้และการเรียนการสอนแบบบูรณาการ เปน็ การเรียนรู้ที่ยงั ยนื 2.3 การเรียนรู้เกิดข้ึนเฉพาะในหอ้ งเรียน 2.4 ให้โอกาสการเรียนรู้อยา่ งสมา่ เสมอ ในเวลาทีก่ าหนดไดใ้ หม่ 2.5 การเรียนรู้ที่เนน้ จากชั้นเรียนสโู่ ลกภายนอก 2.4 เปน็ การเรียนรู้ที่จากัดโอกาสของผู้เรียนท้ัง เวลา สถานทีแ่ ละความตอ้ งการของแต่ละคน ซึง่ มี 2.6 เปน็ การเรียนรู้ที่เนน้ ทั้งชุมชน และความ ความแตกตา่ งกัน เปน็ สากล 2.5 ประสบการณ์เรียนรู้มาจากโรงเรียนจัด เปน็ หลกั 2.6 เป็นการเรียนรู้เฉพาะในโรงเรียน

70 70 Learning Design and Classroom Management กระบวนทัศน์ใหม่การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ครูควรเปลี่ยนแปลงการใช้ รูปแบบการสอนแบบเดิม เป็นรูปแบบการเรียนรู้แบบใหม่ จึงจะทาให้การเรียนรู้มีความ สมบูรณ์มากขึ้น 3.4 สาระการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 โลกแห่งศตวรรษที่ 21 มีสิ่งใหม่ปรากฏขึ้นมากมายในแต่ละวัน ซึ่งผู้เรียนไม่ สามารถถเเรรียียนนรรูไู้ไดด้จ้จบบสสิ้น้ินดั้ดงนัง้ันั้กนากราสรอสนอทนี่เทนี่เ้นนใ้นหใ้ผหู้เ้รผียู้เรนียจนาจึ�งำเจปึง็นเปเป็น็นสสิ่งิ่งทท่ีไี่ไมม่ถ่ถูกูกต้องนัก เพราะสิ่งที่ควรนาไปสอนผู้เรียนยังมีอีกมากมายและไม่สามารถสอนจนหมดสิ้น ภายใน เวลาเรียนทีก่ าำ� หนดได้ ดดังังนน้ันนั้ เนเนือ้ อ้ื หหาาสสาารระะทที่จ่จี ะะนนาำ� ไไปปจจัดัดกกาารรเเรรียยี นนรรู้ใู้ใหห้แ้แกก่ผ่ผู้เู้เรรียียนในทศศตวรรษที่ 21 จึงควรมุ่งเน้นที่การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เป็นบุคคลที่มีเคร่ืองมือในการสร้างความรู้ด้วย ตนเองเป็นหลัก มีความสามารถในการสกัดและคัดกรองข้อมูลที่ควรเรียนรู้ ผู้สอนจึงควร มุ่งสอนเกี่ยวกับกระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความอยากที่จะเรียนรู้ ที่ เรียกว่ามีจิตแหง่ วิทยาการ เกิดการรู้คิด สอนเกี่ยวกบั การคิดขน้ั สูง การคิดเชิงวิพากษ์ การ แก้ปัญหา การจัดการแก้ปัญหา การสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทางานเป็นทีม ร่วมกับผู้อื่น การสร้างเครือข่าย มีทักษะปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล โดยได้เรียนเกี่ยวกับ การใช้ไอซีทีเป็นเคร่ืองมือในการช่วยแสวงหาความรู้และนามาสร้างองค์ความรู้ ฝึก วางแผน การทางานได้เรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการความรู้ เพื่อให้บรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ รวมท้ังได้เรียนรู้วธิ ีการวิเคราะหแ์ นวโน้มและสามารถคาดการณ์ความเป็นไปได้ในอนาคต สาหรบั เน้ือหาสาระที่ควรสอนให้แก่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 น้ันควรประกอบด้วย 3 ด้าดน้านใหใหญญ่ๆ่ๆคคือือคคววาามมรรู้พู้พื้นื้นฐฐาานน ทักษะและกระบวนการเรียนรู้และทักษะชีวิตดังที่ วิจารณ์ พานชิ (2555 : 16-21) ได้กล่าวถึง ทักษะเพื่อการดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 ดงั น้ี 3.4.1 ความรทู้ ่คี วรสง่ เสริมให้ใหแ้ กผ่ ู้เรยี นในสศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 1) จติ สานึกต่อโลก 2) การเงนิ เศรษฐกิจ ธรุ กิจ และการเป็นผู้ประกอบการ 3) ความเปน็ พลเมือง 4) วัฒนธรรมมนษุ ย์และโลกทางกายภาพและโลกธรรมชาติ 5) สขุ ภาพและสวสั ดิภาพ 6) วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร

71 การออกแบบการเรียนรแู้ ละการจัดการชั้นเรยี น 71 7) ความรพู้ ื้นฐานเชิงทศั นาการ (Visual literacy) 8) ความรพู้ ืน้ ฐานทางขอ้ มูลข่าวสาร 9) ความรู้พ้ืนฐานทางพหวุ ัฒนธรรม (Multicultural literacy) 10) ความรู้พ้ืนฐานในเร่ืองปริมาณ 3.4.2 ทกั ษะและกระบวนการเรียนรู้ ที่ควรส่งเสริมใหแ้ ก่ผู้เรยี นในศตวรรษ ท่ี 21 ประกอบด้วย 1) ความอยากรู้/จติ แหง่ วิทยาการ (Disciplined mind) 2) การคิดระดบั สูง 3) การคิดเชิงวิพากษ์ 4) ทักษะการแก้ปัญหา จดั การและแก้ไขความขัดแย้ง 5) ทกั ษะการสงั เคราะห์ (Synthesizing mind) 6) ทกั ษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และผลติ นวตั กรรม 7) ทกั ษะการทางานเป็นทีม/การทางานรว่ มกัน /การสร้างเครือข่าย 8) ทกั ษะปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล/การเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม 9) ทักษะการเรียนรตู้ ามบริบท 10) ทกั ษะด้านไอซีที 11) ทกั ษะการใชว้ ิธีการเรียนรู้ 12) ทกั ษะการใชข้ ้อมลู ข่าวสารและการส่ือสาร 13) ทักษะการผลิตนวัตกรรม 14) ทักษะการจดั ลาดับความสาคัญ 15) ทกั ษะการวางแผนและการจดั การเพื่อมุ่งผลลพั ธ์ 16) ทักษะการใชเ้ ครื่องมือจริงอย่างมีประสิทธิภาพ 17) ทกั ษะการสร้างผลผลติ ทีม่ คี ุณภาพและเหมาะสม 18) ทกั ษะการตงั้ คาถามและการวิเคราะห์ 19) ทกั ษะการหาแนวโน้มและการคาดการณ์ความเปน็ ไปได้ 20) ทกั ษะการรคู้ ิด 3.4.3 ทกั ษะชีวติ ที่ควรส่งเสริมใหแ้ ก่ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 1) ความเปน็ ผู้นา 2) ความสามารถการปรับตัว

72 72 Learning Design and Classroom Management 3) การใชเ้ หตุผลทีด่ ี 4) ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง สงั คม และในฐานะพลเมือง 5) การเข้าถึงคนและความสามารถในการเจรจา 6) การสรา้ งความสัมพนั ธ์อันดีกับผอู้ ืน่ 7) ความสามารถในการชีน้ าตนเอง 8) ความกล้าเสีย่ ง 9) การจดั การความซบั ซ้อน 10) การรู้จักเพิ่มพูนประสทิ ธิผลของตนเอง 11) ความสามารถในการสอ่ื สารแบบโต้ตอบ/การโต้ตอบโดยอิสระ 12) การมสี ่วนรว่ มในฐานะพลเมอื ง ในระดบั ท้องถิ่นและระดับโลก 13) ความเป็นพลเมืองดิจทิ ัล (Digital citizenship) 14) จติ แห่งความเคารพ (Respectful mind) 15) จติ แห่งจริยธรรม (Ethical mind) จากสาระการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สรุปได้ว่า มีสิ่งที่ต้องเรียนรู้ ไม่สามารถรู้ได้ หมด ผู้สอนจึงต้องเน้นการส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองเป็นหลัก สอนทักษะ เกี่ยวกับการคิดขั้นสูง การคิดเชิงวิพากษ์ การจัดการแก้ไขปัญหา การคิดวิเคราะห์อย่าง สร้างสรรค์ มที กั ษะปฏิสัมพนั ธ์สามารถทางานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้และนาความรู้มาใช้ได้ จรงิ 3.5 แนวโน้มการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 แนวโน้มการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จากข้อสรุปคุณลักษณะของคนใน ศตวรรษที่ 21 ที่ควรจะได้รับการพัฒนามีสามด้าน คือ ด้านความรู้ ด้านทักษะการเรียนรู้ และการคิดและด้านทักษะชีวิต จึงสามารถวิเคราะห์แนวโน้มการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ว่าต้องมีการปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้ตามไปด้วย ดังที่ ชยั วัฒน์ สุทธิรัตน์ (2559 : 3-11) นักวิชาการได้นาเสนอแนวคิดแนวโน้มการจัดการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้ การจดั การเรียนรู้ให้แก่ผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 นน้ั ผู้เรียนต้องตระหนักอย่างมากถึง ความเจริญของโลกที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง ดังน้ัน การจัดสภาพแวดล้อมที่

73 การออกแบบการเรียนร้แู ละการจดั การชั้นเรยี น 73 ส่งเสริมการเรยี นรู้ของผู้เรยี นและวธิ ีการจดั การเรียนรู้ตอ้ งปรบั ให้ทันกับความเปลี่ยนแปลง ทีจ่ ะเกิดข้ึน 3.5.1 การจดั สภาพแวดลอ้ มที่สง่ เสริมการเรียนรู้ของผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 ในปัจจุบันในต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศอังกฤษได้หันมาสนใจการสร้างแหล่ง เรียนรู้แห่งอนาคต โดยหันมาลงทุนการสร้างโรงเรียนแห่งอนาคต (Building Schools of the Future : BSF) มากขึ้น ส่วนในอเมริกาก็หันมาสนใจมากขึ้นเช่นกัน โดยมีโครงการ Big Picture learning โดยเน้นการออกแบบอาคารเรียนที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมาก รวมท้ังมี ผลตอ่ ผเู้ รียนและผปู้ ฏิบตั ิงานในโรงเรียน โดยมีการออกแบบที่หลีกเลี่ยงการสอนแบบกลุ่ม ใหญ่ที่มีผู้สอนคอยกากับไปสู่การสร้างพื้นที่ของวัฒนธรรมการทางานร่วมกันซึ่ งมีผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง ในการจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ไม่ได้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพเท่าน้ัน แต่ผู้สอนควรปรับเปลี่ยนตนเองโดย การ “แปลงรูปแบบการสอนให้กลายเป็นสิ่งอานวยความสะดวก” ซึ่งสภาพแวดล้อมการ เรียนแบบใหม่ศูนย์วิจัยรูบิด้า (Rubies Research) ได้มีการแบ่งการสอนออกเป็น ห้ามิติ คือ การถ่ายทอด (Delivering) การประยุกต์ใช้ (Applying) การสร้างสรรค์ (Creating) การ สื่อสาร (Communicating) และการตัดสินใจ (Decision Making) โดยสภาพแวดล้อมในการ ใช้พื้นที่ในห้องเรียนได้อย่างง่ายดายมีประสิทธิภาพในการเรียน โดยโต๊ะ เก้าอี้ อาจมี ล้อเลื่อนหรอื ใช้โต๊ะที่พบั ได้ ซึ่งจะเอือ้ ต่อการเรียนรู้แบบโครงงานหรือการเรียนรู้ด้วยผู้เรียน มากกว่าการเรียนทีเ่ น้นเนอื้ หา ดงั นน้ั สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้ใช้วิธีการเรียนได้อย่างคล่องตัว เช่น การมอง การคิด การจับคู่ การฟัง การค้นหา การ พูดคุย การทางานเป็นทีม การมีปฏิสัมพันธ์ กับเพื่อนๆ และอาจมีการส่งเสริมการเรียนรู้ ด้วยตนเองของผู้เรยี นในรปู แบบต่างๆ อาทิ การปรับเปลี่ยนพื้นที่เรียน ห้องเรียนยืดหยุ่นใน การเรียนของแต่ละทีม การปลีกตัวไปคิดคนเดียว การเคลื่อนตัวเข้าหาเคร่ืองมือที่จาเป็น ต่อการเรียนรู้เป็นต้น หรืออาจมีการจัดสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันออกไปหลายรูปแบบ ใหเ้ หมาะสมกบับกกาารรททำ� างงาานนผผเู้ ู้ผรยีู้เรนีย3นแ3บแบบคบอื คสือภาสพภแาวพดแลวอ้ ดมลท้อผ่ี มเู้ รทยี ี่ผนู้เตรียอ้ นงใตช้อสงมใาชธ้สใิ มนากธาิใรนเรกยี านร สเรภียานพสแวภดาพล้อแมวดทล่ีต้อ้อมงรท่วีต่ ม้อมงือร่วกมันมทือ�ำกงานั นทแาลงะาสนภแลาพะสแภวดาพลแ้อวมดสล�ำ้อหมรับสางาหนรโับคงรางนกโาครรทงี่ตก้อารงลทงี่ตม้อือง ปลฏงมบิ อืัตปิ ฏิบัติ นอกจากนี้ สถานศึกษาจะต้องให้เห็นกิจกรรมของผู้เรียนในมุมต่าง ๆ อีก เช่น ผเู้ รียนอาจทากิจกรรมการเรยี นของตนเองอยู่ทีบ่ ้าน สตูดิโอ การเรียนรู้ของชุมชน ลานการ

74 74 Learning Design and Classroom Management เรียนรู้ในโรงเรียน หรือในห้องสมุดเอกชน หรืออาจมีการเลือกพื้นที่การเรียนรู้ และพื้นที่ ทางานร่วมกันตามความต้องการของสมาชิกกลุ่ม ซึ่งอาจเป็นห้องวางแผนการทางานที่มี ไวท์บอร์ดไว้เขียน ห้องปฏิบัติงานห้องแสดงผลที่มีคอมพิวเตอร์ กล้ อง กระดาน อิเล็กทรอนิกส์ พื้นที่การทางานเป็นกลุ่ม พื้นที่พักผ่อนหย่อนใจที่เป็นส่วนตัว เพื่อลด ความเครียดในการเรียน หรือผู้เรียนอาจทากิจกรรมในห้องสมุด สิ่งที่ผู้เรียนและทีม สามารถทางานในพื้นที่โล่งขนาดใหญ่ที่เต็มไปด้วยโต๊ะ เก้าอี้ หลายแบบ และมีเคร่ืองมือที่ ทนั สมยั ในการทางาน เป็นต้น ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงหรือติดต่อกับผู้สอน หรือเพื่อนหรือ บุคคลอื่นๆ ได้ด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เนตไร้สาย (Wireless) จากคอมพิวเตอร์หรือ โทรศพั ท์มอื ถือตลอดเวลา 3.5.2 การจดั กิจกรรมการเรียนรู้สาหรับผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี 21 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 น้ันนับว่ามีความสาคัญ มาก หากผู้สอนยังใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบเดิมที่ถ่ายทอดผ่านตัวผู้สอนไปสู่เด็กเป็น สาคัญแล้ว ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 จะไม่มีคุณลักษณะตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ กาหนดไว้แน่นอน ซึ่งโฟการ์ตี้ (Fogarty) ได้กล่าวถึงตัวอย่างกรอบวิสัยทัศน์ด้านการศึกษา ของประเทศสิงคโปร์ (Ministry of Education, 2004 อ้างถึงใน ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์, 2559 : 7) 4 ประการซึง่ มวี ิสัยทศั นท์ ี่ 2 เปน็ วิสัยทศั นเ์ พื่อการศกึ ษาที่ว่า “ สอนให้น้อยลง เรียนรู้ให้ มากขึ้น” เป็นนิสยั ที่เน้นการสอนในแบบทีช่ ่วยผเู้ รียนใหเ้ รียนรู้โดยไม่ต้องสอน ซึ่งผู้สอนต้อง มีกิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ทีส่ ่งเสริมให้ผู้เรยี นมีทักษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม ทักษะการ ทางาน ทักษะด้านสารสนเทศ การสื่อสาร สื่อและเทคโนโลยี รวมท้ังทักษะชีวิตที่ใช้ได้จริง กับครอบครวั โรงเรียน ชุมชน และประเทศชาติ จากตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ในประเทศสิงคโปร์นั้นแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21 น้ัน ต้องเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนรู้ต้องเป็นนักคิด ซึ่งจะเป็นฐานความรู้สาคัญใน การพัฒนาประเทศ ดังน้ันกิจกรรมที่สาคัญแรกที่สิงคโปร์ทา คือการพยายามสร้างชุมชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพขึ้น เพื่อไปผลักดันให้เกิด“การสอนที่น้อยลง แต่ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วย ตนเองมากขึ้น”ซึ่งผู้สอนต้องไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ที่ให้ ผเู้ รียนมีทกั ษะการเรียนรทู้ ีจ่ ะเรียนรู้ดว้ ยตนเองตดิ ตวั ไปใช้ในชีวติ จรงิ ในอนาคตใหไ้ ด้ นอกจากนี้ เพิร์ลแมน ( Pearlman) ยังได้กล่าวถึงผู้เรียนในศตวรรษที่เป็นยุคดิจิทัล เป็นมนุษย์เครือข่าย กระตือรือร้นที่จะทางานด้วยตนเองหรือร่วมมือกับผู้อื่น โดยเม่ืออยู่

75 การออกแบบการเรียนรู้และการจดั การชน้ั เรียน 75 บ้านเขาจะขลกุ อยู่กบั คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ไอแพดและสมาร์ทโฟน แต่เม่ืออยู่โรงเรียน เขากลับต้องถูกบังคับให้นั่งที่โต๊ะตัวเล็กๆ เพื่อขีดเขียนด้วยดินสอปากกาและทางานตาม ใบงานทีไ่ ด้รับคาสงั่ จากผู้สอน ซึ่งเขาได้กล่าวถึงงานวิจัยด้านการศึกษาจานวนมากที่แสดง ให้เห็นถึงพฤติกรรมและศักยภาพใหม่ ๆของผู้เรียนในปัจจุบันว่า “ ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดี ที่สุดเม่ือพวกเขามีส่วนร่วม” ซึ่งต่อมา เพรนสกี้ (Prensky, 2001 อ้างถึง ชัยวัฒน์ สทุ ธิวัฒน์, 2559 : 8) ได้เรียกร้องให้ผู้สอนเปลี่ยนวิธีการสอนจาก “การบอกให้ทาหรือการ บรรยาย” ไปสู่การสอนแบบใหม่ที่ “ปล่อยใหผ้ เู้ รียนสอนตัวเองโดยมีผู้สอนคอยแนะนา” ต่อมาสหรัฐอเมริกาและยุโรปก็ได้ลองสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ โดยได้ลองนา การเรียนรู้จากโครงงาน (Project-Based Learning : PBL) มาควบคู่กับวิธีการประเมินผล การปฏิบัติงานซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการสร้างการมีส่วนร่วม สร้างความท้าทาย และ ประสบการณ์การเรียนรู้ที่นาไปสู่ความรู้และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 และมีข้อแม้ว่า “ผเู้ รียนสามารถทางานและเกิดความรู้ได้ดีที่สุดเม่ือได้เรียนรู้ทุกโครงงาน” ซึ่งในอังกฤษได้ มีหน่วยพัฒนานวัตกรรม (Innovation Unit) ซึ่งได้อธิบายว่าเหตุที่สอนให้ผู้เรียนพัฒนา นวัตกรรมก็เพื่อ “ให้คนรุ่นหนมุ่ สาวเกิดแรงบันดาลใจ” สถาบันด้านการศึกษาบัค (Buck Institute lf Education) ในสหรัฐอเมริกาได้ให้คา นิยามการเรียนรู้จากโครงงานว่า คือ “วิธีการสอนอย่างเป็นระบบที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การเรียนรเู้ นือ้ หาและทักษะผา่ นข้ันตอนการแสวงหาอย่างต่อเนื่อง”โดยใช้คาถามที่ซับซ้อน และผลงานหรอื ภารกิจที่ออกแบบมาเป็นอย่างดี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2543 : 115) ได้ให้แนวคิดไว้ว่า ผู้เรียนในอนาคตสาหรับในประเทศไทย ต้องถูกส่งเสริมและกระตุ้นให้เขาได้มีบทบาทใน การควบคุมการเรียนของตัวเองมากขึ้น และในปีเดียวกันยังได้เสนอแนะไว้อีกว่า การสอน ต้องเน้นทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่งมีผลงานวิจัยที่ยืนยันว่าทักษะการคิดเกี่ยวกับ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ในทางบวก (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชิต, 2543 ; 81) ได้ สรุปคนในยุศตวรรษที่ 21 จะมีพฤติกรรมการเรียนรู้เปลี่ยนไป ดังน้ันจึงต้องสอนให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเองโดยการหาข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณและพลังคัดสรร (Selective) สูง เพื่อเลือกหาข้อมูลที่เพียงพอกับความต้องการสังเคราะห์ความรู้และเกิดปัญญา สามารถ แยกข้อมลู ได้มากกว่าในอดีตที่แยกแยะเฉพาะโลกจริงและโลกจินตนาการ แต่ในศตวรรษที่ 21 ต้องแยกได้เพิ่มอีกคือโลกเสมือนจริง (Surrealistic) ที่เป็นเหมือนความจริง ซึ่งมนุษย์จะ อยู่กับโลกเสมอื นจรงิ มากขึ้นในอนาคต

76 76 Learning Design and Classroom Management จากแนวโน้มการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 สรุปได้ว่า การสอนในศตวรรษที่ 21 ต้องมีกระบวนการที่ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนโดยการศึกษา ค้นคว้า พิสจู น์ ทดลอง ด้วยตนเองอย่างตอ่ เนือ่ งและสรา้ งผลงานของตนเองออกมาอย่างมีคุณภาพ ผเู้ รียนสามารถค้นคว้าบนอินเทอเน็ต การเรียนผ่านโลกเสมือนจริงและนาเสนอผลงานของ ตนเองผ่านสือ่ ดจิ ทิ ลั ผู้สอนเน้นกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ใช้คาถามที่ซับซ้อน และได้ ผเู้ รียนได้เรียนรดู้ ้วยตนเองโดยการหาข้อมูลอย่างมวี ิจารณญาณ สรุปความ การเรียนรู้เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการ ฝึกปฏิบัติจนทาให้เกิดความสามารถในการในการกระทานั้นอย่างถาวร ผ่านกระบวนการ เรียนรู้ที่ดี ทั้งทางสตปิ ญั ญาหรอื กระบวนการทางสมอง ที่ผู้เรียนใช้ในการสร้างความเข้าใจ หรอื การสรา้ งประสบการณ์ให้แก่ตนเอง รวมทั้งการแก้ปัญหาและการศึกษาวิจัยต่างๆ ทา ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรมที่สนุกสนานหรืออาศัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สร้าง วฒั นธรรมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงเป็นกระบวนการที่ย่ังยืน ช่วยให้บุคคลและสังคมมี การพัฒนาอย่างต่อเน่ือง หล่อหลอมให้เกิดคุณลักษณะที่สาคัญของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ ต้องเชี่ยวชาญในการสื่อสารที่ซับซ้อน มีไหวพริบในการตอบคาถาม แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ควบคุมการเจรจา มีทักษะความรู้ ทักษะการเรียนรู้เพื่อสร้างนวัตกรรม ทักษะการคิดเชิง สร้างสรรค์ และทักษะชีวติ ที่สามารถช้ีนาตนเอง สามารถปรับตวั ได้ดีในสังคม การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ไม่มีที่สิ้นสุด ผู้สอนจึงต้องเน้นการ ส่งเสริมให้ผู้เรยี นสร้างความรู้ดว้ ยตนเองเป็นหลกั สอนทักษะเกี่ยวกับการคิดข้ันสูง การคิด เชิงวิพากษ์ การจัดการแก้ไขปัญหา การวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์ มีทักษะปฏิสัมพันธ์ สามารถทางานเป็นทีมร่วมกับผู้อื่นได้โดยมีการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องมี กระบวนการที่ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนโดยการศึกษา ค้นคว้า พิสูจน์ ทดลอง ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ผู้เรียนสามารถค้นคว้าบนอินเทอเน็ต การเรียนผ่านโลก เสมือนจริงและสรา้ งผลงานของตนเองออกมาอย่างมคี ุณภาพ

77 การออกแบบการเรียนรแู้ ละการจัดการชัน้ เรียน 77 คค�ำาถถาามมททา้ ้ายยบบทท 1. จงให้ความมหหมมาายยขขอองงกกาารรเรเรียียนนรู้รแู้ ลแะลคะวคาวมาหมมหามยาตยาตมาทมัศทนัศะขนอะงขนอกั งวนิชักาวกิชาารการ ว่าอย่างไร ? 2. ลลกั ักษษณณะะขขอองงกกรระะบบววนนกกาารรเเรรยี ียนนรรู้ทู้ทด่ี ี่ดี ี คคววรรมมีลีลกั ักษษณณะะออยย่า่างงไไรร จจงงออธธบิิบาายย ?? 3. กการเรียยนนรรู้ใู้นในศศตวตรวรรษรทษี่ 2ท1่ี ผ2ู้เ1รยี ผนู้เตร้อียงนมตีค้อุณงลมักีคษุณณละักทษี่สาณคะญั ทอี่สย�ำ่าคงไัญร อย่างไร จงอธบิ าย ? 4. กระบวนททศั ัศนน์ข์ขอองกงการาเรรเียรนียรนมู้ รีคู้มวีคามวสาามคสญั �ำคตัญ่อกตา่อรจกดั ากราจรัดเรกียานรรเรู้อียน่างรไู้อรย่างไร จงอธบิ าย ? 5. สสำ� าหหรรบั ับเเนนอื้ ้ือหหาาสสาารระะททค่ี ี่คววรรสสออนนใใหห้แ้แกก่ผ่ผู้เู้เรรยี ยี นนใในนศศตตววรรรรษษทท่ี ี2211คคววรรมมีอีองงคค์ป์ปรระะกกออบบ ท่ีส�ำาคัญอย่างไร จงอธบิ าย ? 6. แแนนววโโนน้ม้มกกาารรจจดั ัดกกาารรเเรรยี ียนนรรู้ใู้ในนศศตตววรรรรษษทท่ี ี่ 21 ในความเหน็ ของท่าน จะมีแนวโน้ม อย่างไร จงอธบิ าย และให้เหตผุ ลประกอบด้วย ? เอกสารอา้ งอิง กฤษณพงศ์ กีรตกิ ร. (2552). วิกฤตกระบวนทัศนเ์ พื่อการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. ชนาธิป พรกุล. (2554). รูปแบบการจดั การเรียนการสอนทผ่ี ูเ้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชยั วัฒน์ สทุ ธิรัตน์. (2559). 80 นวัตกรรมการจดั การเรยี นรูท้ ่เี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั . (พิมพ์ครง้ั ที่ 7). นนทบุรี : พี บาลานซ์ดไี ซด์แอนปรนิ้ ติ้ง. ทิศนา แขมมณี. (2541). การพฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยม จากทฤษฎีส่กู าร ปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ______. (2545). กระบวนการเรียนรู้ : ความหมาย แนวทางพัฒนาและปัญญา ข้องใจ. กรุงเทพฯ : เอกสารเผยแพร่ในโครงการ วพร. ลาดบั ที่ 01. ณิรดา เวชญาลกั ษณ์. (2561). หลักการจดั การเรียนรู้. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

78 78 Learning Design and Classroom Management พิมพันธ์ เตชะคปุ ต์และพเยาว์ ยินดีสุข. (2559). การจัดการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย. วรพจน์ วงศก์ ิจรงุ่ เรอื ง และอธิป จติ ฤกษ์. (2554). ทกั ษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษา เพื่อศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์ Open worlds. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสรา้ งการเรียนรู้เพือ่ ศิษย์ ในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ : ตถาดาพับลิเคชั่น. สุรางค์ โค้วตระกูล. (2541). จติ วิทยาการศึกษา. (พิมพ์คร้ังที่ 4). กรงุ เทพฯ : สานักพิมพ์ แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ. (2543). ปฏิรูปการเรียนรู้ผเู้ รยี นสาคัญ ท่สี ุด. กรงุ เทพฯ : คุรสุ ภาลาดพร้าว. อารี พันธ์มณี. (2546). จติ วิทยาสร้างสรรคก์ ารเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ : ใยไหม เอดดเุ คท.

4กากรารจจดััดสสิ่งแิง่ วแดวลอดมลเพอ้ ือ่ มกาเรพเรือ่ ียนกราู บรเบทรทยีททนี่ ี่ 4รู้ ความนา โดยธรรมชาติแล้วสภาพแวดล้อมเป็นแหล่งความรู้ศาสตร์ต่างๆ ท้ังหลายมีอยู่ แล้วตามธรรมชาติ การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Learning Environment) จึงเป็น กำารจัดส่ิงต่ำางๆ สสภภาำววะะแแววดดลล้อ้อมมทที่อี่อยยู่รู่รออบบๆ ตตัวัวผผู้เู้เรรียียนน ทท้ังั้งทที่เี่เปป็น็นรรูปูปธธรรรรมมแและนาำมธรรม ส่งผลตอ่ ผู้เรียนท้ังทางบวกและทางลบ และมีผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น ห้องเรียนที่ถูกสุขลักษณะ มีสิ่งอํานวยความสะดวกที่มีคุณภาพ เหมาะสมและสนับสนนุ การเรียนรมู้ ีบรรยากาศในการเรียนที่ดกี จ็ ะส่งผลทางบวกต่อผู้เรียน ทาํ ให้ผู้เรยี นเรียนรอู้ ย่างมคี วามสขุ มีความตง้ั ใจและกระตอื รือร้นในการเรียน 4.1 ความหมายของสิง่ แวดล้อมทางการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ให้อยาก ทํางานหรือ เกิดความเบื่อหน่ายในการทํางานได้ ดังน้ัน การจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อ การทาํ งานจะทําให้ ผู้ปฏิบัติงานทาํ งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุขอีกด้วย โดยมี นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อม โดยกล่าวถึงความสําคัญและ ความหมายของสภาพแวดล้อมไว้ต่างๆ กนั ดังน้ี 1) พัชราภรณ์ โพธิสัย (2558) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมการ เรียนรู้ความว่าเปน็ ลกั ษณะหรือสภาพที่จะส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองในทุก ด้าน เป็นสิ่งที่มีอยู่โดยรอบท้ังที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นทําให้นักเรียนเกิด การเรียนรตู้ ่อลักษณะต่างๆ ของโรงเรยี นท้ังอาคารสถานที่ การบริหารบรรยากาศทางการ เรียน การมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างครู นกั เรียนและผบู้ ริหาร ซึง่ มีอทิ ธิพลและผลกระทบต่อการ เรียนการสอนท้ังทางตรงและทางอ้อม

80 Learning Design and Classroom Management 80 2) วิชิต เทพประสิทธิ์ (2558) มีแนวคิดเกี่ยวกับความหมายของ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ความว่าเป็นสภาวะแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวผู้เรียนทั้งที่เป็น รูปธรรมและนามธรรม มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อผู้เรียนในการ เรียนรู้ 3) วนิดา ปณุปิตตา (2561) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ได้ความว่า เป็นสิ่งรอบๆ ตัวที่มีผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยที่ มนุษย์สามารถที่จะนําเอาหลักการดังกล่าวแปลงไปสู่การปฏิบัติได้ตามวัตถุประสงค์และ จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ในระดับหรือประเภทน้ันๆ จากที่กล่าวมาข้างต้นเห็นได้ว่า สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ จึงหมายถึง สิ่งแวดล้อมรอบตัวทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ท้ังที่มีอยู่ตามธรรมชาติหรือเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้น ท้ังอาคารสถานที่ ตลอดจนบรรยากาศ ทางการเรยี นรู้ ซึง่ มีผลต่อการเรยี นรู้ของมนษุ ย์ท้ังทางตรงและทางอ้อมมีอิทธิพลต่อผู้เรียน ทีไ่ ด้เรียนรู้นัน่ เอง 4) ประวีณา โภควณิช (2559) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของสภาพแวดล้อม ในสถานศึกษาว่าประกอบไปด้วย การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ดังเช่น บรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมทีเ่ ปน็ รูปธรรมท้ังบริเวณสถานศึกษา อาคารเรียน ห้องปฏิบัติการต่างๆ ท้ัง ที่สามารถมองเห็นและจับต้องได้ในสถานศึกษา และการจัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ซึ่ง เป็นองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมที่เป็นความรู้สึกที่เกิดจากการอยู่และ ปฏิบตั ิงานรว่ มกนั ของบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 5) ธเนศ ขาเกิด (2558) และกฤษณา ทบชิน (2556) ได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับ การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ไว้ว่า เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก รวมถึงสมั พันธภาพด้านการสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ 6) กิตติยา โพธิสาเกตุและธัชชัย จิตรนันท์ (2561) มีแนวคิดเกี่ยวกับ องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ภายในสถานศึกษาไว้ว่า มี 2 องค์ประกอบคือ ด้านกายภาพประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัดคือสภาพภายนอกห้องเรียนและสภาพภายใน ห้องเรียน และองค์ประกอบด้านสัมพันธภาพ ประกอบไปด้วย 2 ตัวชี้วัดคือ ความสัมพันธ์ ระหว่างครูกบั ผบู้ ริหารและความสัมพนั ธ์ครกู บั นกั เรียน 7) Robbins (1990) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อม(environment) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ภายนอกองค์การ คือ เป็นภาพรวมท้ังหมด ส่วนองค์การ

การออกแบบการเรียนรแู้ ละการจดั การชั้นเรยี น 8811 ถือว่า่าเเปป็น็นสส่ว่วนนปปรระะกกออบบยย่อ่ยอทยี่อทย่ีอู่ภยาู่ภยาใยตใ้สตภ้สาภพาแพวแดวลด้อลม้อภมาภยนายอนกอนก้ันนแั้นละแอลงะคอ์กงาคร์กจาะรอจยะู่โดอดยู่ เโดี่ยดวเดไี่มย่วไดไม้ต่ไ้อดง้ตม้อีปงฏมิีสปัมฏิสพัมนพธั์นกธับ์กสับภสาภพาแพวแดวลด้อลม้อภมาภยานยอนกอกดด้ว้ยวยจจาากกคคววาามมหหมมาายยของ สภาพแวดล้อมที่ได้กล่าวมาข้างต้น สามารถที่จะสรุปได้ว่าสภาพแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่ อยู่รอบๆ ตัวเราในขณะที่ปฏิบัติงานท้ังสิ่งมีชีวิตและสิ่งที่ไม่ มีชีวิตหรือที่สามารถสัมผัสจับ ต้องได้และไม่สามารถสมั ผัสจับต้องได้ซึ่งมีผลต่อผปู้ ฏิบตั ิงานและผเู้ รียน 8) อรพันธุ์ ประสิทธิรัตน์ (2545 : 54-55) ได้กล่าวถึงสภาพแวดล้อม ทางการเรียน (Learning Environment) ว่าหมายถึงสภาวะใดๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของ มนุษย์ท้ังทางตรงและทางอ้อมทท้ังท้ังที่เปี่เป็น็นรูปรูปธธรรรมมแแลละะนนาามมธธรรรมมสสภภาาพพแแววดดลล้อ้อมมทที่ เี่ปเป็น็น รูปธรรม ((CCoonncrcerteete EEnnvviriroonnmentall)) หรหือรือสภสาภพาพแวแดวลด้ลอ้อมมททางากงกายายภภาพาพ(P(Phhyyssiical Environment) ไดไดแ้ ้แกกส่ ่สภภาพาพตตา่ ง่าๆงๆทมี่ทนี่มษุนยุษท์ ยำ� ์ทขําน้ึ ขเึ้นชน่เชอ่นาอคาาคราสรถสานถทาน่ี โทตะ๊ี่ โเตก๊ะา้ เอกี้ ว้าสัอดี้ วอุ ัสปุ ดกุอรุปณกห์ รรณอื ์ หสร่ือือตส่าื่องๆต่ารงวๆมรทวมั้งสท่ิงั้งตส่าิ่งงตๆ่างทๆี่อทยี่อู่ตยาู่ตมาธมรธรรมรชมาชตาิอตันิอไันดไ้แดก้แ่ตก้น่ตไ้นมไ้ มพ้พืชืชภูมิปปรระะเทเทศศภูมิอากาศ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม (Abstract Environment) หรือสภาพแวดล้อม ทางด้าน จิตวิทยา (Psychological Environmental) ได้แก่ระบบคุณค่าที่ยึดถือซึ่งเป็นส่วนสําคัญของ วัฒนธรรมของกลุ่มสังคมข่าวสารความรู้ความคิดตลอดจนความรู้สึกนึกคิดและเจตคติ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นของตวั เองหรอื คนอื่นก็ตาม แมคเวย์ (McVey, 1989 : 124) ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการเรียนไว้ ว่า สภาพแวดล้อมในการเรียนทางด้านกายภาพซึ่งประกอบด้วยแสงสว่าง สี เสียง บริเวณ ทีว่ า่ ง เฟอร์นิเจอร์ และลกั ษณะของสถานที่ที่ใช้เรียนรู้ ส่วนสภาพแวดล้อมที่เป็นนามธรรม หรอื สภาพแวดล้อมทางดา้ นจติ วิทยากค็ ือบรรยากาศของช้ันเรยี น จากแนวคิดของนักการศึกษาดังกล่าว พอสรุปได้ว่า“สภาพแวดล้อมการเรียนรู้” แบ่ง่งไไดด้เ้เปป็น็น 2 อ2งอคง์ปคร์ปะรกะอกบอดบ้วดย้วกยันกันน่ัน่ันคืคอืออองงคค์ป์ปรระะกกออบบททาางงดด้า้านนกกาายยภภาาพพ เช่น สภาพแวดล้อมทั้งภายในห้องเรียนตลอดจนนอกห้องเรียน และองค์ประกอบทางด้าน จิตวิทยา ซึ่งมีผลต่อความรู้สึกของผู้เรียนท้ังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และความสมั พันธ์ระหว่างกันทั้งผบู้ ริหาร ครู นักเรียนและชุมชน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (Learning Environment) จจงึ ึงมมคี ีคววาามมหหมมาายยวว่า่าสสง่ิ ิ่งตต่า่างงๆๆสภาวะแแววดดลล้อ้อมมทท่อี ี่อยยู่รู่รออบบๆๆตัวผู้เรียน ทั้งทีเ่ ปน็ รูปธรรรรมมแแลละะนนาามมธธรรรรมมสส่ง่งผผลลตตอ่ ่อผผเู้ รู้เรียียนนททั้งั้งททาางงบบววกกแแลละะททาางงลบและมีผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการเรียนรู้ของผู้เรียนเช่นห้องเรียนที่ถูกสุขลักษณะ มีแสง สว่างพอเพียงสะอาดสงบอากาศถ่ายเทมีส่งิ อาํ นวยความสะดวกที่มีคุณภาพ เหมาะสมและ

82 Learning Design and Classroom Management 82 สนบั สนนุ การเรียนรู้มีบรรยากาศในการเรียนที่ดีก็จะส่งผลทางบวกต่อผู้เรียนทําให้ ผู้เรียน เรียนรู้อย่างมคี วามสขุ มคี วามตงั้ ใจและกระตอื รอื ร้นในการเรียนหากบรรยากาศเต็มไปด้วย ความสกปรกรกรุงรังสกปรกเต็มไปด้วยข้าวของที่ไม่เป็นระเบียบก็จะส่งผลทางลบต่อ ผู้เรียนทําให้บรรยากาศในการเรียนเต็มไปด้วยความเคร่งเครียดผู้สอนก็จะรู้สึกท้อถอยไม่ เป็นผลดีตอ่ การเรียนการสอน 4.2 อิทธิพลของสิง่ แวดลอ้ มทางการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมทางการเรียน มีความสําคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนมาก มี ผลกระทบโดยตรงและมีผลสนบั สนนุ ช่วยเหลือผู้เรยี น ผลกระทบโดยตรง สภาพแวดล้อมมี ผลกระทบโดยตรงต่อการกระทํากิจกรรมของผู้เรียน คือช่วยอํานวยความสะดวก หรือ ขัดขวางการ กระทําของผู้เรียน การจัดเฟอร์นิเจอร์ และเคร่ืองมือบางอย่างอาจเหมาะกับ ผู้เรียนกลุ่มใหญ่ แต่ไม่เหมาะกับกลุ่มเล็ก ผลกระทบด้านสนับสนุนผู้เรียนส่งผลในด้าน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน คือช่วยทําให้เกิดการตื่นตัวในการเรียน และสร้างเสริม ความสัมพันธ์อันดีที่สอดคล้องตามความ แแตตกกตต่า่างงขขอองงแแตต่ละบุคคล และลักษณะของ กิจกรรม ดังที่ อรพนั ธุ์ ประสิทธิรัตน์ (2545) ได้กล่าวถึงอิทธิพลของสภาพแวดล้อมที่มีต่อ การเรียน การสอนในชน้ั เรียน แบ่งออกได้ 6 ประเภท ดงั น้ี คือ 4.2.1 อทิ ธิพลทางดา้ นเทคโนโลยี (Technological Influences) ในปัจจุบันอัตราการเพิ่มของประชากร ดูเหมือนจะเป็นปัญหาในเกือบทุกเร่ือง แม้แต่ ในวงการศึกษา การเพิ่มจํานวนนักเรียนในขณะที่ขนาดของอาคารสถานที่และ จาํ นวนครูเท่าเดิม ก็เป็นภาระอย่างยิง่ แก่โรงเรียน จึงทาํ ให้ครูแสวงหาวิธีการที่จะแก้ปัญหา ในเร่ืองการเรียนการสอน การจัดดําเนินการในช้ันเรียนโดยนําเอาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ อิทธิพลของเทคโนโลยีบางประการจะแผ่ครอบคลุมเข้าไปจนยากที่ครูจะรู้สึกได้ อิทธิพล เหล่านที้ ําให้ครสู ่งั สมเจตคติ ความรสู้ ึกนึกคิด และใช้เป็นแนวทางในการจัดชั้นเรียน ในช่วง 2 ศตวรรษที่ผ่านมานั้นจะเห็นได้ว่าความเคลื่อนไหว ทางด้านเทคโนโลยีกําลังเฟื่องฟูมาก คนส่วนใหญ่จึงได้มีความพยายาม ที่จะดําเนินชีวิตที่ดีกว่าเดิม รวมถึงมีความคิดว่า

การออกแบบการเรียนรแู้ ละการจดั การชน้ั เรยี น 8833 เทคโนโลยีจะช่วยให้การดําเนินการต่างๆ ดีขึ้น โดยเฉพาะในด้านอุตสาหกรรม ส่วนในด้าน ครูน้ันเริ่มมองเห็นว่าการศึกษาไม่มีผลิตผลออกมาชัดเจนเหมือนอุตสาหกรรมการเรียน การสอนจึงเพียงแค่ให้นักเรียนเลื่อนชั้นเท่าน้ัน แต่ที่จริงการเรียนการสอนในช้ันเรียน มี ความหมาย มากกว่าการเลื่อนช้ัน หรือสอบได้ ดังนั้นนักการศึกษาจึงมองไปว่าปัญหานี้ น่าจะต้องแก้ไขโดยการ นําเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนในหลายๆ รูปแบบมากขึ้น รูปแบบแรก คือ วิธีการเยียวยา เน้นที่การวินิจฉัยปัญหาดําเนินการ เพื่อ แก้ปัญหาและประเมินผลที่ได้วิธีนี้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการศึกษาจะพยายามช่วยครูที่มี ปัญหาในเร่ืองการเรียนการสสออนน พบว่าวิธีการนี้ไม่ค่อยจะได้ผลเท่าใดนัก เพราะการที่จะ เทียบโรงเรียนให้เหมือนกับ โโรรงงพพยยาาบบาาลลนนั้นั้นเเปป็นสิ่งท่ีเป็นไปได้ยาก อีกประการหนึ่งคือการ ฝกึ หดั ครใู หพ้ ยายามมองปญั หาต่างๆ น้ันเป็นเรื่องทีท่ ําได้ยากอีกเช่นกนั รูปแบบที่สอง คือ การใช้ยุทธวิธีที่อาศัยการวิจัยอย่างมีระบบ เพื่อดําเนินการ เกี่ยวกับปปัญัญหหาา ทางด้านพฤติกรรมของนักเรียน วิธีการนี้เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้า ของนักจิตวิทยา นักสสังังคคมมววิทิทยยาา และนักจิตตววิเิเคครราาะะหห์ ์ ซ่ึงเพ่งความสนใจมาท่ี “\"พฤติกรรรรมม”\" ครูจะได้รับการฝึกฝนอบรม ให้รู้จักการใช้การเสริมแรงและการดําเนินการตามกรณี พฤติกรรมที่เหมาะสมของนักเรียนจะต้องได้รับการเสริมแรง ในขณะเดียวกันพฤติกรรมที่ ไม่พึงปรารถนาจะถูกกระตุ้นให้ปรับปรุงโดยวิธีการที่ ใช้เคร่ืองเสริมแรงเช่นเดียวกัน ใน รูปแบบนี้พบว่านักเรียนได้มีการเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่น่าพอใจ และลดปัญหาใน หอ้ งเรียน รูปแบบที่สาม ได้แก่ การใช้เคร่ืองมือเพื่อประหยัดเวลาและแรงงาน ตัวอย่างที่ เห็นได้ ชัด ได้แก่ คอมพิวเตอร์และโทรทัศน์ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนช่วย ให้การเรยี นเปน็ รายบคุ คลบรรลุวัตถุประสงค์ยิ่งขึ้น การเรียนเป็นรายบุคคล หรือการเรียน ด้วยตนเองจะลดความคับข้องใจของผู้เรยี นในเรอ่ื งเวลาในการเรียนหรือการแข่งขันกับผู้อื่น ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตาม ความสามารถของตนเอง ขณะเดียวกันครูก็จะมีเวลาว่างมาก พอที่จะให้ความสนใจและเอาใจใส่ นักเรียนแต่ละคนมากขึ้น นอกจากนี้คอมพิวเตอร์ยังใช้ ช่วยในการคิดคะแนน การเก็บระเบียนต่างๆ ตลอดจนการให้คะแนนด้วย ซึ่งก็จะช่วยลด ภาระของครใู นด้านธรุ การ

84 Learning Design and Classroom Management 84 อย่างไรก็ตามเน่ืองจากคอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือที่มีราคาแพง ดังน้ันจึงจําเป็น จะต้อง มมี าตรการรกั ษาความปลอดภัยทีเ่ ข้มแขง็ ด้วย สําหรบั โทรทัศน์น้ันสามารถนํามาใช้ ในห้องเรียนได้ แม้ว่าจะอยู่ห่างไกลแค่ไหน นักเรียนจากจุดต่างๆ ท่ัวประเทศนั้นสามารถ นาํ มาใช้ในหอ้ งเรียนได้ สามารถเรียนกับโทรทศั น์ที่มาจากแหล่งเดียวกันได้ นอกจากนี้ยังได้ มีการใช้สื่อการสอนอื่นๆ เข้ามาช่วยในการเรียนรู้ได้มากยิ่งขึ้น รูปแบบสุดท้าย ได้แก่ การ เปลี่ยนสภาพแวดล้อมทางการเรียนด้านกายภาพ ทั้งสถาปนิก ผู้ออกแบบห้องเรียนและ โรงเรียน ได้ให้ความสนใจและปรับปรุงแบบอาคารสถานที่เพื่ออํานวยความสะดวกแก่ ผู้สอนและผู้เรียน ในอันที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ สะดวกและรวดเร็ว นอกจากนี้ยังได้พยายามออกแบบให้นักเรียนมีความสบายใจ มีบรรยากาศที่เอื้อแก่ การศึกษาหาความรู้ การสร้างห้องเรียนอเนกประสงค์ที่สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อใช้ในการ เรียนที่เป็นกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อยได้สะดวก การออกแบบทางเดินระหว่างห้องเรียนให้มี การเคลือ่ นย้ายสถานที่เรียนได้คล่องแคล่วและรวดเร็ว 4.2.2 อทิ ธิพลทางด้านกฎหมาย (Legal Influences) อิทธิพลทางด้านกฎหมายมีแนวโน้มเข้ามามีบทบาทในโรงเรียนของประเทศ อุตสาหกรรมมากกว่าแห่งอื่น ในประเทศที่กําลังพัฒนาน้ันมักจะมีความพยายามที่จะให้ อํานาจจัดการศึกษาขึ้นอยู่กับส่วนกลาง ทั้งนี้เพื่อไม่ให้มีความแตกต่างกันในเร่ืองระเบียบ หรือกฎข้อบังคับ มากมายในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ส่วนในประเทศที่พัฒนา แล้วน้ัน อิทธิพลทางกฎหมายจะเข้ามามีบทบาทมาก เพื่อขจัดอิทธิพลของสมาคม ผู้ปกครองที่มักจะก่อให้เกิดความ ยุ่งยากแก่นักศึกษาในหลายๆด้าน สําหรับในประเทศ สหรัฐอเมริกา อิทธิพลของสมาคมผู้ปกครองที่เห็นได้ชัด ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยสิทธิของ นักเรียน พระราชบัญญัติครู ข้อห้ามลงโทษนักเรียน ทางด้านร่างกาย เช่น การเฆี่ยนตี หากทําเกินเลยก็เป็นความผิดกฎหมาย นอกจากนี้อิทธิพลทางด้านกฎหมายที่เป็นส่วน สําคัญในด้านการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การให้สิทธิและโอกาสทางการศึกษาแก่เด็ก เท่าเทียมกัน การจัดการศึกษาพิเศษแก่เด็กพิการ หรือเด็กผิดปกติ การจัดการศึกษาภาค บังคับ กฎหมายที่ระบุไว้ว่า บิดามารดาจะต้องส่งบุตรหลานเข้ารับการศึกษาเม่ือมีอายุ

การออกแบบการเรียนรู้และการจดั การช้นั เรียน 8855 ตามที่กฎหมายกําหนดและจะต้องอยู่ในโรงเรียนหรือเรียนจบการศึกษาภาคบังคับ หรือ จนกว่าจะมีอายรุ ะดับหนึง่ จงึ จะใหอ้ อกไปได้ 4.2.3 อทิ ธิพลทางดา้ นการเมือง (Political Influences) การจัดการศึกษาเพื่อให้ได้คุณภาพนั้นเป็นองค์ประกอบที่สําคัญ แต่สิ่งสําคัญที่ จะช่วยเสริมให้ได้คุณภาพตามที่ต้องการหรือคาดหวังไว้น้ันก็คือจํานวนเงินงบประมาณ หากมีงบประมาณมากเพียงพอก็สามารถจัดหาครู หรืออาจารย์ผู้สอนที่มีความรู้ ความสามารถ สามารถจัดซื้ออุปกรณ์ การสอนที่ดีในจํานวนที่เพียงพอ และหากเป็น โรงเรียนเอกชนก็จะสามารถจ้างผู้บริหารที่มีความสามารถในการบริหาร จัดจ้างครู อาจารย์ดี ๆและมอี าคารสถานที่ อุปกรณ์การสอนดี ๆ ได้ แตใ่ นความเป็นจริงแล้วจะพบว่า สถานศึกษาของรัฐบาลมักจะประสบปัญหาในเร่ืองที่มีความเกี่ยวข้องกับงบประมาณอยู่ เสมอและบางครั้งที่มักจะพบเสมอว่าจํานวนของครู อาจารย์ที่มีอยู่น้อย จึงทําให้ครู อาจารย์ต้องทํางานหนัก จํานวนนักเรียนในช้ันต้องเพิ่มขึ้น ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมชั้น เรียนที่มีนักเรียนจํานวนมากนั้นจะทําให้ครูเสียเวลาไปมาก เวลาที่จะใช้ในเร่ืองเนื้อหา บทเรียนที่น้อยลง ผลที่ตามมากค็ ือการเรียนการสอนทําไม่ได้เตม็ เม็ดเต็มหน่วย ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นจะลดลงตามไปด้วย และรายได้ของครู หรืออาจารย์ในฐานะที่เป็นข้าราชการ ค่อนขา้ งนอ้ ย ถ้าเปรียบเทียบกับความเจริญทางด้านเศรษฐกิจท่ัวๆ ไปในปัจจุบัน ทําให้ครู อาจารย์มักมีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจส่วนตัวแทนที่ครู อาจารย์จะอุทิศเวลาทั้งหมดเพื่อ การเรียนการสอน ครู อาจารย์ กลับพยายามหารายได้เพิ่มเติมด้วยการออกไปสอนพิเศษ หรือประกอบอาชีพอื่นๆเสริม สิ่งเหล่านี้จะกระทบต่อผลการเรียนของนักเรียน นักศึกษา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังน้ันปัญหาด้านเศรษฐกิจจึง เป็นสภาพแวดล้อมอันหนึ่งที่มีอิทธิพล ต่อการจัดการเรยี นการสอนเปน็ อย่างยิง่ 4.2.4 อทิ ธิพลทางดา้ นประชากร (Demographic Influences) การเพิ่มของประชากรอย่างรวดเร็ว มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน อย่างมาก เม่ือประชากรเพิ่มจํานวนมากขึ้น จํานวนเด็กที่อยู่ในวัยเรียนก็เพิ่มตาม ใน ขณะเดียวกนั อาคาร สถานที่เรียน ห้องเรียน รวมถึงครู อาจารย์ไม่สามารถเพิ่มตามอัตราที่

86 Learning Design and Classroom Management 86 ได้สัดส่วนกันได้ ดงั นนั้ ครู อาจารย์จงึ ตอ้ งรับภาระหนัก จํานวนนักเรียนล้นชั้น อุปกรณ์การ สอนไม่เพียงพอปญั หาทางดา้ น ความประพฤติของนักเรียนเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันมีปัญหา อื่นแทรกซ้อนเม่ือมีปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจและสงครามทําให้เกิดการอพยพของ ประชากร มีการย้ายถิ่นที่อยู่เพื่อการอยู่รอดและเพื่อชีวิตที่ดีกว่า เช่น ประชากร ในส่วน ภมู ภิ าคโยกย้ายถิ่นที่อยู่มาทํากินในเมืองหลวง ทําให้เกิดความแออัด นักเรียน นักศึกษาใน แตล่ ะโรงเรยี น หรอื สถาบนั การศึกษามักมาจากครอบครัวต่างๆ บางคน มาจากครอบครัว ที่ถึงแม้จะมีท้ังบิดามารดา แต่บิดามารดาทํางานนอกบ้าน ไม่มีเวลาอบรมดูแลลูก ผู้ที่ จะต้องรบั ภาระก็คือครูผู้สอน และหากครผู ู้สอนไม่มีทักษะในการปกครองช้ันเรียน ยิ่งจะทํา ให้เกิดปัญหาต่อไปไม่สิ้นสุด เด็กบางคนที่มีความประพฤติดี ต้ังใจเรียน อาจต้องพลาด เสียเวลากับการ ทีค่ รตู อ้ งใชเ้ วลาอบรมควบคุมเด็กทีม่ ปี ญั หา ดงั นั้นในการจัดการเรียนการ สอน ที่จะต้องปะทะกบั อิทธิพลของสภาพแวดล้อมเช่นนี้ จึงมีความจําเป็นที่จะต้องหาทาง ปรับปรุงแก้ไข เช่น ครูผู้สอน จะต้องมีความสามารถและมีความชํานาญเพียงพอที่จะ ควบคมุ ดแู ล อบรมส่ังสอนนักเรียนที่มาจากหลายกลุ่ม ทางโรงเรียนจะต้องมีอุปกรณ์การ เรียนการสอนเพียงพอ มีบคุ ลากรพิเศษที่จะคอยช่วยแก้ปัญหา เชน่ มีผู้แนะแนว เปน็ ต้น 4.2.5 อทิ ธิพลทางด้านนิเวศวิทยา (Ecological Influences) อิทธิพลทางด้านนิเวศวิทยา หรือสิ่งแวดล้อมน้ันครอบคลุมไปถึงสภาพและสิ่ง ต่างๆ ที่เกีย่ วข้องกบั ห้องเรยี น เชน่ องค์การตา่ ง ๆ หนว่ ยงานที่เกี่ยวกับการบริหารโรงเรียน หน่วยงานของรัฐบาลและเอกชนที่มีส่วนช่วยเหลือโรงเรียน รวมท้ังหน่วยงานด้านสังคม สงเคราะห์ องค์การ เกี่ยวกับเยาวชน องค์การต่างๆเหล่านี้จะเข้ามามีบทบาทในการ แก้ปัญหา หรือควบคุมปัญหาความประพฤติของเด็กมาก ซึ่งมีท้ังผลดีและผลเสีย ผลดีก็ คือจะช่วยแก้ปัญหาเด็ก ผลเสียก็คือจะทําให้ครูปล่อยวางในหน้าที่นี้ เพราะเห็นว่ามี หน่วยงานหรือองค์การอื่นเข้ามาทําหน้าที่แล้ว นอกจากนี้การที่หน่วยงานอื่นเข้ามายุ่ง เกี่ยวกบั ชั้นเรยี นมากๆ ก็มักจะทาํ ใหค้ รตู ้องให้ความสนใจในหน่วยงานน้ัน ๆ เสียเวลาไปกับ เรื่องทีไ่ ม่ใชง่ านทางดา้ นวิชาการมากไป

การออกแบบการเรียนร้แู ละการจดั การช้นั เรยี น 8877 4.2.6 อทิ ธิพลดา้ นวฒั นธรรม (Culture Influences) วฒั นธรรมมีอทิ ธิพลต่อการจดั การเรียนการสอน เน่ืองจากในแต่ละห้องเรียน ครู และนักเรียนตา่ งกน็ าํ เอาคุณลักษณะต่างๆ ติดตัวมา เช่น ค่านิยม ความเชื่อทางสังคม และ ประสบการณเ์ ก่าๆ สิง่ ต่างๆ เหล่านีถ้ ือเป็นวัฒนธรรมของแต่ละคน ที่แต่ละคนสังกัดอยู่ ใน ต่างประเทศ วัฒนธรรมมีผลกระทบต่อการเรียนการสอนมาก โดยเฉพาะในประเทศที่มี ประชากรต่างเชื้อชาติ ต่างเผ่าพันธ์ุอาศัยอยู่ เช่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา ครูชาวผิวขาว อาจตีพฤติกรรมของเด็กผิวดําผิดๆ หรือเด็กผิวดําถูกกีดกันไม่ให้เสมอภาคกับเด็กผิวขาว โดยทีค่ รูไม่ได้ตงั้ ใจ สง่ิ เหล่านีเ้ ปน็ ปัญหาใน เรื่องการจัดการเรียนการสอนมาก อีกสิ่งหนึ่งที่ มีอิทธิพลก็คือ ความเชื่อของครู ครูบางคนเชื่อในธรรมชาติของมนุษย์ว่าคนมีความ รับผิดชอบทุกคน ครูก็ปฏิบัติต่อนักเรียนโดยให้นักเรียนเป็นอิสระในด้านความคิดและการ กระทํา แต่ถ้าครูมีความเชื่อว่ามนุษย์ส่วนใหญ่มีความเกียจคร้านเป็นนิสัย จะทําสิ่งใด จะต้องได้รับคําสั่งจึงจะทํา ดังนี้ครูก็จะปฏิบัติต่อนักเรียนเหมือนเป็นผู้บังคับบัญชา ออก คําสั่งนักเรียน ถ้านักเรียนขัดขืนไม่ปฏิบัติตามก็จะถูกลงโทษ ความเชื่อของครูซึ่งเป็นส่วน หน่งึ ของวัฒนธรรม จงึ มอี ิทธิพลต่อการเรียนการสอนดังกล่าว 4.3 การจดั สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นรู้ การเรียนรู้ น้ันเกิดจากกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวคน กับสิ่งที่อยู่รอบตัว เรา หรือจะเรียกว่าสภาพแวดล้อม โดยมีผู้สอน(ครู) ซึ่งแต่เดิมอาจทําหน้าที่เป็นผู้ส่งสาร (ความรู้) ไปสู่ผู้เรียน ซึ่งจะนําสารที่รับไปสร้างสรรค์เป็นความรู้ ส่งต่อ นําไปใช้หรือไปช่วย ในการตัดสินใจในชีวิตประจําวันต่อไป ซึ่งการเรียนรู้จะประสบผลสําเร็จหรือไม่นั้น สภาพแวดล้อมการเรียนรู้นับว่ามีส่วนสําคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นช่องทางที่จะทําให้ เกิดการยอมรับซึ่งข่าวสารที่ถูกส่งมา ไม่ว่าจะโดยผู้สอนหรือผู้เรียน เพราะในรูปแบบการ เรียนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ผู้สอนย่อมต้องรับข่าวสารที่ถูกส่งกลับมาจากผู้เรียนอีกทาง หนง่ึ ดว้ ยอาจแบ่งได้เป็นดงั น้ี 4.3.1 รัฐสภา พงษ์ภิญโญ (2556) ได้แบ่งสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เป็น 2 ลกั ษณะด้วยกัน นัน่ คือ

88 Learning Design and Classroom Management 88 1) สภาพแวดล้อมด้านกายภาพ หมายถึง สภาพต่าง ๆ ที่มนุษย์ได้ทําขึ้น และ สิ่งต่างๆๆทท่ีอี่อยยู่ตู่ตามามธธรรมรมชาชตาติ มิ ผีมลีผตล่อตก่อากราเรยีเรนียรนู้ขรอู้ขงอคงนคดนังดเชัง่นเช(่น1) (ส1ภ) าพสแภวาดพลแ้อวมดใลน้อชมนั้ ใเนรยีชน้ั เหรมียานยถหงึ มโตา๊ะยถเกึง้าอโ้ีตว๊ะสั ดเุกอ้าปุ อกี้ รวณัส์สด่ือุ ตอ่าุปงๆกรภณาย์สในื่อหต้อ่างงเรยีๆนภแาลยะใ(น2ห) ้อสภงเารพียแนวดลแ้อลมะน(อ2ก) สชน้ัภเารพยี แนวหดมลา้อยมถนงึ อแกสงชสั้นวเร่าีงยนสี เหสมยี างยแถลึงะอแาสคงาสรวส่าถงานสที เตี่ ส่าียงงๆ แในลสะถอาานคศากึ รษสาถทานงั้ แทหี่ตล่า่งงเรๆยี นในรู้ สตถลาอนดศจกึนษบารเิ ทวณั้งแเหพลอื่ ง่ กเราียรจนัดรู้กตจิ ลกอรดรจมนแบลระิเนวทิ ณรเรพศือ่ กกาารรตจ่าดั งกๆิจกรรมและนิทรรศการต่าง ๆ 2) สภาสพภแาวพดแลว้อดมลก้อามรกเรายี รนเรรียู้ดน้ารนู้ดจ้าติ นวจิทิตยวาิทหยมาาหยมถงึายกถาึงรจกัดากรจิ กัดรกริจมกกรารรมเรกียานร เกราียรนสกอานรทสั้งอในแทลั้งใะนนแอลกะหน้อองกเรหีย้อนงทเรี่ชีย่วนยทสี่ชงเ่วสยรสิม่งผเสู้เรรียิมนผใู้เหร้เียกนิดใกหา้เรกเิดรียกนารเู้แรลียะนพรัฒู้แลนะาพตัฒนเนอาง ตไดน้อเอยง่าไงดส้อมยบ่ารู งณสม์ปบรรูะณกอ์ปบรไะปกดอ้วบยไปด้วย 2.1 คณุ ลักษณะของครหู รือพฤติกรรมที่ครแู สดงออกต่อนักเรียน 2.2 การจดั กระบวนการเรียนการสอนท้ังในและนอกห้องเรยี น และ 2.3 ความสมั พันธ์ระหว่างครกู บั ผปู้ กครองและชุมชน 4.3.2 ไพฑรู ย์ ศรีฟ้า (ออนไลน์) ได้แบ่งสภาพแวดล้อมทางการเรียนแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะ ดงั น้ี 1) สภาพแวดลอ้ มททาางงดดา้ ้านนกกาายยภภาาพพหหมมายาถยงึถสึงภสาภพาแพวแดวลดอ้ ลม้อทมม่ี ทนี่มษุ นยุษส์ ยร์สา้ งรข้าน้ึง ขไดึ้น้แไกด่อ้แากค่อาารคสาถราสนถทา่ีนโตท๊ะี่โเตก๊ะ้าเกอ้ีาสอ่ือี้สอื่อุปอกุปรกณร์กณา์กราสรอสนอตน่างตๆ่างรๆวรมวทม้ัทงส้ังิ่สงติ่งต่า่งาๆงๆที่อยู่ตาม ธรรมชาติได้แก่ตน้ ไม้พืชภูมอิ ากาศภูมิประเทศเปน็ ต้นซึง่ จะส่งผลตอ่ การเรียนการสอนและ ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ข อ ง นั ก เ รี ย น แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ห้ อ ง เ รี ย น แ ล ะ สภาพแวดล้อมภายนอกหอ้ งเรียน (1) สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรียน ดังตวั อย่างตอ่ ไปนี้ 1.1 ห้อหง้อเรงียเรนียแนลแะลอะุปอกุปรกณร์ณกา์กราเรียเรนียนไดไ้แดก้แ่ กห่ ห้อ้องงพพ้ืนื้นหห้อ้องงผผนนังัง ประะตตู ู หนา้ ต่างและพน้ื ที่ว่างภายในหอ้ งเรียน โต๊ะ เก้าอี้ กระดานดําและอุปกรณ์ตกแต่งห้องเรียน เชน่ แจกันดอกไม้ ภาพวาด เป็นต้น 1.2 แสงสว่าง ได้แก่ แสงธรรมชาติจากดวงอาทิตย์และแสงประดิษฐ์จาก หลอดไฟ 1.3 เสเสียียงงไไดด้แ้แกก่ ่ เสสียงงบบรรรยยาายยขขอองงผผู้สู อนเสียงงกการรสสนนททนนาารระะหหวว่างผู้สอน และผู้เรียน หรือผู้เรียนกับผู้เรียนเสียงจากเคร่ืองขยายเสียงซึ่งจะต้องมีระดับความดังที่ พอเหมาะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook