Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่

คู่มือ วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่

Published by กศน.ตำบลบางใหญ่, 2020-05-21 01:34:11

Description: คู่มือ วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่

Search

Read the Text Version

คูม่ ือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางใหญ่ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดนนทบรุ ี สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนิยม เอกสารคู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เป็นเอกสารที่มีความสาคัญต่อครูผู้รับผิดชอบจัดประสบการณ์การเรียนรู้หลักสูตรนี้ ให้สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร รวมทั้งมาตรฐาน การศึกษา ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน ที่มุ่งให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ คอื มคี วามภาคภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย ท้ังยังช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร โดยเฉพาะการสร้างอัตลักษณ์ ให้แก่ผู้เรียน และสร้างเอกลักษณ์ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของศูนย์ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี ได้อกี ด้วย ขอช่ืนชมรองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ภาควิชาสังคมศึกษา คณะ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ และนายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษาเช่ียวชาญ สานักงานเขตการศึกษาพ้ืนที่ มัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการ บานาญ ท่ีปรึกษาการจัดทาเอกสารคู่มือการใช้หลักสูตร ที่ให้ความรู้และฝึกทักษะให้แก่คณะผู้จัดทา สามารถจัดทาเอกสารคู่มือการใช้หลักสูตรน้ีได้อย่างถูกต้อง สมบูรณ์ และขอช่ืนชม นางฤดี ศิริภาพ ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี นางพิสมัย รัตนมณี ครูชานาญการพิเศษ นางวันทนาภรณ์ แคว้นพุทรา ครู กศน.ตาบล นายอภิชัย วภิ าภรณ์ ครู กศน.ตาบล นายนยั สรณ์ คาทอง ครู กศน.ตาบล นายปิยะพงค์ เอี่ยมกุล ครู กศน.ตาบล นางวิริยา นานไธสง ครู กศน.ตาบล และนายรังสรรค์ บัวชุม ครูศูนย์การเรียนชุมชน สังกัดศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ที่ร่วมมือกันจัดทา เอกสารคู่มือจนสาเร็จลุล่วง ตลอดจน นางสาวธนกฤตา ทองแผ่น นักจัดการงานทั่วไป นางกาญจนา สุขกาย นักจัดการงานทั่วไป และนางสาวสโรชินี วรธงไชย นักวิชาการตรวจสอบภายใน สังกัด สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนนทบุรี ท่ีช่วยเอื้ออานวย ความสะดวกให้กับคณะผู้จัดทา จนสามารถจัดทาเอกสารคู่มือฉบับน้ีจนสมบูรณ์ ส่งผลให้ครูที่ รับผิดชอบจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี บรรลุจุดหมายของหลักสูตรได้ อย่างแทจ้ รงิ (นางสพุ รพรรณ นาคปานเอ่ียม) ผูอ้ านวยการสานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดนนทบรุ ี

คำนำ เอกสารคู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี จัดทาขึ้นเพ่ือให้ครูผู้รับผิดชอบจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนที่ลงทะเบียน หลกั สตู รรายวชิ านี้ ไดศ้ ึกษาก่อนจัดประสบการณ์ และครูทรี่ บั ผดิ ชอบการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ สถานศกึ ษาได้ศกึ ษาเพ่ือจัดการศึกษาไดถ้ ูกตอ้ งตามหลักสูตร เอกสารฉบบั นี้ ประกอบดว้ ย 12 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ (1) คาช้แี จง (2) บทนา (3) วัตถปุ ระสงค์ (4) ประมวลการสอน (5) สาระสาคญั (6) แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ จานวน 8 หวั เรอื่ ง (7) แผนการพบกลุ่ม (8) ส่อื การเรียนรู้ (9) การวัดและประเมนิ ผล (10) การเทียบโอนผล การเรยี นรู้ (11) บรรณานกุ รม และ (12) ภาคผนวก การจัดทาเอกสารฉบับน้ีสาเร็จลงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับคาปรึกษาในการจัดทาจาก นางสุพรพรรณ นาคปานเอี่ยม ผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดนนทบุรี นางภคภัทร แก้วมีศรี รองผูอ้ านวยการสานกั งาน กศน.จังหวัดนนทบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรี ศรีสังข์ อาจารย์ภาควิชา สังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ข้าราชการบานาญ และนายสังคม โทปุรินทร์ ผู้อานวยการสถานศึกษาเชี่ยวชาญ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 36 ข้าราชการบานาญ และได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจาก นางพิสมัย รัตนมณี ครูชานาญการพิเศษ นางวันทนาภรณ์ แคว้นพุทรา ครู กศน.ตาบล นางวิริยา นานไธสง ครู กศน.ตาบล นายอภิชัย วิภาภรณ์ ครู กศน.ตาบล นายปิยะพงค์ เอ่ียมกุล ครู กศน.ตาบล นายนัยสรณ์ คาทอง ครู กศน. ตาบล และนายรังสรรค์ บัวชุม ครูศูนย์การเรียนชุมชน ขอขอบพระคุณ และขอบคุณทุกท่านมา ณ ท่ีนีด้ ้วย (นางฤดี ศิริภาพ) ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอบางใหญ่

สารบัญ คำชแี้ จงคู่มือกำรใชห้ ลักสตู ร..................…………………….………………………………………..…..….. หนา้ บทนำ……………………………………………………………………………………………………………..…..….. 1 วัตถุประสงค์………………………………………………………………………………………………..…..…...... 4 ประมวลกำรสอน……………………………………………………………………………………………………… 6 สำระสำคญั ………………………………………………………………………………………………………......... 7 22 หัวเรอื่ งที่ 1 วัดปรำงค์หลวง………………………………………………………………………………….. 22 หวั เรอ่ื งท่ี 2 วดั เสำธงหิน………………………………………………………………………………………. 24 หัวเรอ่ื งท่ี 3 วัดตน้ เชือก………………………………………………………………………………………... 25 หัวเรอ่ื งท่ี 4 วดั ท่ำบนั เทิงธรรม………………………………………………………………………………. 27 หวั เรอ่ื งที่ 5 วัดบำงโค…………………………………………………………………………………………... 28 หัวเรือ่ งที่ 6 วัดยุคนั ธรำวำส………………………………………………………………………………….. 29 หวั เรื่องที่ 7 วิธกี ำรทำงภูมศิ ำสตรแ์ ละประวัตศิ ำสตรใ์ นกำรศึกษำ วดั สวยงำม คนู่ ำมบำงใหญ่…………………………………………………………………………………............................ 31 หวั เร่อื งที่ 8 กำรสืบสำนและกำรอนรุ ักษ์วดั สวยงำม คู่นำมบำงใหญ่............................... 34 แผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้……………………………………………………………………….…… 37 แผนกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ หวั เรือ่ งท่ี 1 วัดปรำงค์หลวง.................................... 37 แผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ หวั เรือ่ งท่ี 2 วดั เสำธงหิน.......................................... 50 แผนกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ หัวเร่ืองที่ 3 วัดตน้ เชอื ก........................................... 63 แผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ หัวเรือ่ งที่ 4 วัดทำ่ บนั เทงิ ธรรม................................ 76 แผนกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ หวั เรอื่ งที่ 5 วดั บำงโค.............................................. 89 แผนกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ หวั เรื่องที่ 6 วัดยคุ ันธรำวำส.................................... 101 แผนกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรยี นรู้ หวั เรอ่ื งท่ี 7 วธิ กี ำรทำงภูมศิ ำสตร์และ 114 ประวตั ศิ ำสตร์ในกำรศึกษำ วัดสวยงำม คนู่ ำมบำงใหญ.่ ........................................... แผนกำรจดั ประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ หวั เรือ่ งท่ี 8 กำรสบื สำนและกำรอนุรกั ษ์ 130 146 วัดสวยงำม คนู่ ำมบำงใหญ่…………………………………………………………………………..… แผนกำรพบกลุ่ม.....................................................................................................................

ค สารบัญ (ตอ่ ) หน้า สอื่ กำรเรียนร้.ู ......................................................................................................................... 164155 กำรวัดและประเมินผล........................................................................................................... 164164 กำรเทยี บโอนผลกำรเรียน...................................................................................................... 166 บรรณำนกุ รม.......................................................................................................................... 167 ภำคผนวก............................................................................................................................. .. 169 ก ใบควำมรู้............................................................................................................... 170 ข ใบงำน................................................................................................................... 212 ค เครอ่ื งมอื วดั ควำมก้ำวหนำ้ .................................................................................... 229 ง เคร่ืองมือวัดผลรวม................................................................................................ 231 จ เฉลยคำตอบแบบฝกึ หัด และแบบทดสอบวดั ควำมรู้ วัดสวยงำม ค่นู ำมบำงใหญ.่ . 269 ฉ ประกำศแต่งต้ังที่ปรึกษำจัดทำค่มู ือกำรใชห้ ลักสูตร............................................... 285 ช คำส่งั แต่งตั้งคณะทำงำนจัดทำคู่มอื กำรใช้หลักสตู ร............................................... 287

คำชี้แจง เอกสารคู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอาเภออาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี จัดทาข้ึนเพ่ือให้ครูผู้สอนหลักสูตรน้ี หรือครูผู้รับผิดชอบจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐานของสถานศึกษา ได้ศึกษาก่อนจัดประสบการณ์การเรียนรู้จริงให้กับผู้เรียน หรือปฏิบัติตาม บทบาทหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องได้ถูกต้องอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ส่งผลให้ผู้เรียนบรรลุ มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร และมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คือ ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในท้องถ่ิน และความ เป็นไทย โดยมีสาระสาคญั พอสังเขปท่คี วรศกึ ษาต่อไปน้ี 1. เอกสารน้ีประกอบด้วย (1) คาช้ีแจง (2) บทนา (3) วัตถุประสงค์ (4) ประมวลการ สอน (5) สาระสาคัญ (6) แผนจัดประสบการณ์การเรียนรู้ (7) แผนการพบกลุ่ม (8) สื่อการเรียนรู้ (9) การวัดและประเมินผล (10) การเทยี บโอนผลการเรียน (11) บรรณานุกรม และ (12) ภาคผนวก 2. องค์ประกอบบทนา เป็นการนาเสนอหลักการและเหตุผลของการจัดทาเอกสารคู่มือ การใช้หลักสูตร โดยนาเสนอสามย่อหน้า กล่าวคือ ย่อหน้าแรก เป็นการนาเสนอความสาคัญของ หลกั สูตรท้องถิ่นที่สถานศึกษาต้องดาเนินการ ย่อหน้าท่ีสอง เป็นการนาเสนอสภาพปัญหาของการจัด การศึกษาตามหลักสูตรท้องถ่ินของสถานศึกษาและวิธีการแก้ไข ตลอดจนแนวทางท่ีครูผู้สอนต้อง ดาเนินการให้หลักสูตรมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล และ ย่อหน้าท่ีสาม เป็นการนาเสนอ ข้อสรุปที่ครูผู้สอนต้องดาเนินการเพื่อแก้ไขสภาพปัญหาการจัดการศึกษาตามหลักสูตรท้องถ่ินที่ได้ พฒั นาขึ้น 3. องค์ประกอบวัตถุประสงค์ เป็นการนาเสนอจุดหมาย หรือเป้าหมายของการใช้ เอกสารคู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ให้ครูผู้ใช้หลักสูตร หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับหลักสูตรได้ยึดเป็นแนวทางการปฏิบัติ ให้บรรลุ วตั ถปุ ระสงคข์ องค่มู อื การใชห้ ลักสูตร 4. องค์ประกอบประมวลการสอน เป็นการนาเสนอหลักสูตรรายวิชาน้ีหรือคาอธิบาย รายวิชา ให้ผู้เรียนหรือผู้เก่ียวข้องกับหลักสูตรได้รับรู้พอสังเขป ประกอบด้วย ช่ือหลักสูตร รหัส รายวิชา จานวนหน่วยกิต เนื้อหาในแต่ละช่ัวโมง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สื่อการเรี ยนรู้ การวัดและประเมินผล เพ่ือให้ผู้เรียนได้เข้าใจและเรียนรู้ ครูผู้สอนหลักสูตรรายวิชานี้ ควรนาเสนอ ประมวลการสอนให้ผูเ้ รยี นรบั ร้ใู นวนั ปฐมนิเทศเปดิ ภาคเรียน

5. องค์ประกอบสาระสาคัญ เป็นการนาเสนอแก่นของเน้ือหาที่สรุปได้ในแต่ละหัวเร่ือง ในหลกั สูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ช่วยครูผู้สอน ในการสรปุ เนื้อหาของแตล่ ะหวั เร่อื งให้กบั ผ้เู รยี นไดเ้ ข้าใจหลงั เรยี นรู้หัวเรือ่ งน้ันเสรจ็ สน้ิ ลง 6. องค์ประกอบแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เป็นการนาเสนอการจัด ประสบการณ์เรียนรู้จากหลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ในแต่ละหัวเรื่องสู่การปฏิบัติจริงอย่างเป็นรูปธรรม ที่ครูผู้สอนหลักสูตรรายวิชาน้ีต้อง นาไปใช้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับผู้เรียนตามแผนการพบกลุ่มท่ีไ ด้นัดหมายไว้ล่วงหน้า ประกอบดว้ ย 8 แผน โดยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้จะเน้นให้ผู้เรียนได้มีกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ONIE MODEL เพ่ือสง่ เสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2 ข้อ คือ (1) ผู้เรียนเกิดทักษะการ แสวงหาความรู้ และ (2) ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ หรือคิดเป็น ดังนั้นครูผู้สอนหลักสูตร รายวิชาน้ีต้องศึกษาแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในแต่ละแผนให้เข้าใจชัดเจน และมีการ เตรียมการออกแบบไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะมีการพบกลุ่ม จึงจะมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลได้อย่าง แท้จริง 7. องค์ประกอบแผนการพบกลมุ่ เปน็ การนาเสนอปฏทิ ินการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ให้กับผู้เรียนได้มาพบกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับครูผู้สอน ตามประเด็นศึกษาท่ีให้ผู้เรียนได้ศึกษาตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ข้างต้น นอกจากนี้ ผเู้ รียนต้องปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทไ่ี ด้ออกแบบไว้ตามแผนการพบกลมุ่ ด้วย 8. องค์ประกอบส่ือการเรียนรู้ เป็นการนาเสนอสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในการศึกษาแต่ละหัว เร่ืองในหลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ (1) สอื่ เอกสาร (2) สอ่ื อิเลก็ ทรอนคิ ส์ (3) สื่อบุคคลหรอื ภูมปิ ัญญา และ (4) สื่อแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน 9. องค์ประกอบการวัดและประเมินผล เป็นการนาเสนอแนวทางการวัดและประเมินผล หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย (1) การประเมินความก้าวหน้า และ (2) การประเมินผลรวม ท่ีครูผู้สอนต้องศึกษาและยึดเป็นแนว ทางการวดั และประเมินผลหลกั สตู รรายวิชาน้ี เพอ่ื ความถกู ต้องและเพ่ิมความน่าเชอ่ื ถือ 10. องค์ประกอบการเทียบโอนผลการเรียน เป็นการนาเสนอแนวทางการเทียบโอนผล การเรียน หรือประสบการณ์ของผู้เรียนกับผลการเรียนหลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ที่ครูผู้สอนตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ผู้เรียนได้ เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ผเู้ รียนเกิดคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คอื เกิดความภาคภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย 11. องค์ประกอบบรรณานุกรม เป็นการนาเสนอแหลง่ ข้อมลู ท่ีใชอ้ ้างอิงในการจดั ทา เอกสารอ้างอิงคมู่ ือการใชห้ ลักสตู รรายวิชา สค33162 วดั สวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ ระดับมธั ยมศกึ ษา

ตอนปลาย เพื่อให้ผู้สนใจที่ศึกษาเอกสารคู่มือฉบบั นี้ ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เพ่ิมเติมจากแหลง่ ข้อมลู ในระดบั ลกึ และกวา้ งมากย่ิงข้ึนไดศ้ ึกษาค้นควา้ ตอ่ ไป และเปน็ การสนบั สนนุ ความน่าเช่อื ถือของเอกสารคู่มือ การใช้หลกั สตู รฉบบั นว้ี ่าได้จัดทาขึ้นบนฐานข้อมูลทางวิชาการ 12. องค์ประกอบภาคผนวก เป็นการนาเสนอขอ้ มูลทเี่ ก่ียวข้องกบั การจัดประสบการณ์ การเรยี นรู้ สือ่ การเรียนรู้ และการวัดและประเมนิ ผล โดยใช้เอกสารในภาคผนวกในการดาเนนิ การ ประกอบด้วย ภาคผนวก ก. ใบความรู้ ภาคผนวก ข. ใบงาน ภาคผนวก ค. เครอื่ งมือวัดความก้าวหน้า ภาคผนวก ง. เคร่ืองมือวดั ผลรวม และภาคผนวก จ. เฉลยคาตอบแบบฝึกหดั และแบบทดสอบวดั ความรู้ นอกจากน้ียงั มี ภาคผนวก ฉ.ประกาศแตง่ ตัง้ ทป่ี รกึ ษาจัดทาใชค้ ู่มือการใช้หลกั สตู ร และ ภาคผนวก ช. คาสง่ั แต่งต้ังคณะทางานจัดทาคมู่ ือการใช้หลกั สูตร 13. ก่อนจัดประสบการณ์การเรยี นรหู้ ลกั สตู รรายวชิ า สค33162วัดสวยงาม คนู่ าม บางใหญ่ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ครผู ้สู อนหลกั สูตรรายวชิ านต้ี ้องศึกษาคู่มอื การใช้หลักสตู รฉบับ นก้ี อ่ นให้เขา้ ใจ ชดั เจน 14. ในกรณีท่ีครูผู้สอนหลกั สูตรรายวิชา สค33162วัดสวยงาม คูน่ ามบางใหญ่ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ไม่เข้าใจหรือมีข้อสงสยั ประการใด สามารถสอบถามข้อมูลไดจ้ ากคณะทางาน จัดทาค่มู ือการใช้หลกั สตู รฉบับนี้ ประกอบดว้ ย 14.1 นางฤดี ศิริภาพ ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอบางใหญ่ 14.2 นางพสิ มัย รตั นมณี ครูชานาญการพเิ ศษ 14.3 นางวนั ทนาภรณ์ แควน้ พทุ รา ครู กศน.ตาบล 14.4 นายอภชิ ยั วภิ าภรณ์ ครู กศน.ตาบล 14.5 นายนยั สรณ์ คาทอง ครู กศน.ตาบล 14.6 นางวิรยิ า นานไธสง ครู กศน.ตาบล 14.7 นายปยิ ะพงค์ เอย่ี มกุล ครู กศน.ตาบล 14.8 นายรังสรรค์ บวั ชมุ ครู ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน

บทนำ หลักสูตรทอ้ งถ่นิ เป็นหลกั สูตรทีต่ อบสนองความต้องการการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ตรงตาม สภาพปัญหาที่พบในชุมชนท้องถ่ิน ช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้เรียนรู้ในสิ่งท่ีมี ความหมายท่ีอยู่ในวิถีชีวิตของตนเอง จากชุมชนในท้องถิ่นที่มีภูมิปัญญา องค์ความรู้ ซ่ึงมีการสั่งสม ถ่ายทอด สืบต่อกันมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน ภูมิปัญญา องค์ความรู้ดังกล่าวเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างยิ่ง ซึ่งบุคคลในชุมชนควรได้ศึกษาเรียนรู้ อันจะช่วยให้ผู้รู้ หรือภูมิปัญญา หรือภาคีเครือข่ายในชุมชน ท้องถิ่น ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรท้องถ่ิน รวมถึงการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอีกด้วย หลักสูตรท้องถิ่นมีเนื้อหาท่ีส่งเสริมผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิต ที่พบได้ในชุมชนท้องถ่ิน ซ่ึงจะส่งผลต่อการหล่อหลอมคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่ ประชาชนในท้องถิ่นควบคู่ไปกับการได้รับองค์ความรู้ดังกล่าวข้างต้น นอกจากนี้หลักสูตรท้องถิ่นยังมี ความสาคัญต่อหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ช่วยให้ หลักการและจุดหมายของหลักสูตรบรรลุผลได้ รวมทั้งส่งเสริมให้การจัดการศึกษาเป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพของผู้เรียน ที่กาหนดให้ ผู้เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มที่ดตี ามสถานศึกษากาหนด และมีความภาคภมู ิใจในท้องถ่ินและความ เป็นไทย ดังน้ันสถานศึกษาจึงมีหน้าที่จัดทาและพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นขึ้น เพ่ือให้การจัดการศึกษา เป็นไปตามหลักสตู รแกนกลาง และมาตรฐานการศึกษาไดบ้ รรลผุ ลอยา่ งสมบูรณ์ แต่สภาพการจัดการศึกษาในหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัด นนทบุรี ในฐานะสถานศึกษาแห่งหนึ่งยังจัดการศึกษามีสัมฤทธิผลไม่ดีเท่าที่ควร ท้ังน้ีสืบเน่ืองมาจาก ยังไม่มีการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรท้องถ่ิน แต่ได้นาหลักสูตรท่ีสานักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยพัฒนาขึ้นมาจัดการศึกษาแทน ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ ได้ตระหนักถึงความสาคัญของหลักสูตรท้องถิ่น จึงได้จัดทา และพัฒนาหลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายข้ึน และให้นักศึกษาท่ีลงทะเบียนเรียน ได้ศึกษาเรียนรู้ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เพ่ือให้ การศึกษาตามหลักสูตรรายวิชาน้ี เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ผู้เรียนสามารถ บรรลุมาตรฐานของหลักสูตรนี้ได้ จึงจัดทาคู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นาม บางใหญ่ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลายขน้ึ เพอ่ื ให้ครผู สู้ อนไดศ้ กึ ษาก่อนการจัดการเรียนรู้ และสามารถ จัดการเรียนรู้ได้ตรงตามเน้ือหาและวิธีการที่กาหนดในหลักสูตรรายวิชาน้ี ซ่ึงจะส่งผลให้การจัด การศึกษาเรียนรบู้ รรลุมาตรฐานไดใ้ นทีส่ ุด

ดังน้ัน ครูผู้สอนทุกคนต้องศึกษาคู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการ จัดการเรียนรู้ และปฏิบัติการอย่างครบถ้วน ตามท่ีกาหนดไว้ในเอกสารคู่มือการใช้หลักสูตรฉบับนี้ จึงจะทาใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ และบรรลุผลตามมาตรฐานของหลกั สูตรน้ีได้อย่างแท้จริง

วัตถุประสงค์ กกกกกกกคู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี มวี ัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี กกกกกกก1. เพือ่ ให้ครูผสู้ อนมคี วามรู้ความเขา้ ใจ ในหลักสูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นาม บางใหญ่ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กกกกกกก2. เพื่อใหค้ รูผสู้ อนสามารถจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ตามหลกั สูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ถูกต้องเป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลักสตู ร กกกกกกก3. เพ่ือให้ครูผู้สอนสามารถใช้สื่อการเรียนรู้ได้ถูกต้อง เหมาะสมกับเนื้อหาและตัวช้ีวัดของ หลักสตู ร กกกกกกก4. เพ่ือให้ครูผู้สอนสามารถวัดและประเมินผลได้ถูกต้อง เป็นไปตามตัวช้ีวัดและมาตรฐาน การเรียนรู้ของหลักสตู ร กกกกกกก5. เพื่อให้ครูผู้สอนสามารถเทียบโอนประสบการณ์ความรู้ท่ีมีของผู้เรียนกับ หลักสูตร รายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้ถูกต้องตามแนว ทางการเทียบโอนผลการเรยี นทส่ี ถานศกึ ษากาหนดไว้

7 - ประมวลการสอน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ชอ่ื วิชา วดั สวยงาม คูน่ ามบางใหญ่ รหสั วิชา สค33162 จานวนหนว่ ยกิต 3 หน่วยกติ ชื่อครูผสู้ อน 1. .................................... 6………………………………….. 2. .................................... 7………………………………….. วนั เวลา สอน 3. ................................... 8………………………………….. 4. ................................... 9………………………………….. สถานที่ 5. ................................... ครง้ั ท.่ี ..........เดือน.................................พ.ศ.................เวลา.......................... ครงั้ ท่ี...........เดอื น.................................พ.ศ.................เวลา.......................... ครั้งท.่ี ..........เดอื น.................................พ.ศ.................เวลา.......................... 1. ………………………………………. 5............................................................ 2. ……………………………………… 6……………………………………………………. 3. ……………………………………… 7……………………………………………………. 4. ………………………………………

8 คาอธบิ ายรายวิชา กกกกกกก1. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ 5.1 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และตระหนักถึงความสาคญั เกีย่ วกับภูมศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนามาปรบั ใชใ้ นการดารงชีวติ มาตรฐานที่ 5.2 มีความรู้ ความเข้าใจ เหน็ คุณค่า และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพ่ือการอย่รู ว่ มกันอยา่ งสันติสขุ กกกกกกก2. ศึกษาและฝกึ ทักษะ วดั ปรางคห์ ลวง วัดเสาธงหิน วัดต้นเชือก วัดท่าบันเทิงธรรม วัดบางโค วัดยุคันธราวาส วิธีการทางภูมิศาสตร์และประวตั ิศาสตรใ์ นการศกึ ษาวัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ และการสืบสาน และ การอนรุ กั ษว์ ัดสวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ สามารถใช้ วิธีการทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ ในการศึกษาวัด และสามารถจัดทา แผ่นพับ คลิปวีดิทัศน์ (Video) เพ่ือเผยแพร่ สืบสาน และอนุรักษ์ได้ และตระหนักถึงคุณค่าความสาคัญของวัดในอาเภอ บางใหญ่ ตลอดจนมีความภาคภูมิใจท่ีได้อาศัยอยู่ และหรือประกอบอาชีพอยู่ในอาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบุรี กกกกกกก3. การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ บรรยายสรปุ กาหนดประเดน็ ศึกษาค้นควา้ รว่ มกนั ศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองจากสื่อการ เรยี นรทู้ ีห่ ลากหลาย บนั ทึกผลการศึกษาค้นคว้าลงในเอกสารการเรียนร้ดู ้วยตนเอง (กรต.) พบกลุ่ม อภิปรายแลกเปล่ียนเรียนร้จู ากผลการศกึ ษาคน้ ควา้ คดิ วเิ คราะห์ข้อมลู ที่ไดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนรู้ คดิ สังเคราะหส์ รุปผลการเรยี นรู้ทไี่ ดใ้ หม่ร่วมกัน บนั ทึกลงในเอกสารการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.) นาสรปุ ผลการเรียนรทู้ ี่ได้ไปทาแบบฝกึ หดั หรือกิจกรรมตามใบงานท่ีมอบหมาย และบนั ทกึ ผลการ เรียนรู้ทไี่ ดจ้ ากการศึกษา และฝกึ ปฏิบตั ิ บนั ทกึ ลงในเอกสารการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) กกกกกกก4. ประเมินความก้าวหน้าด้วยวธิ ีการสงั เกต การซักถาม ตอบคาถาม ตรวจเอกสารการ เรยี นรู้ด้วยตนเอง (กรต.) ตรวจชน้ิ งาน แผ่นพบั คลปิ วดี ิทศั น์ เพื่อเปน็ การเผยแพรก่ ารอนรุ กั ษ์ วัดสวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ และการประเมินผลรวมด้วยวิธี ใหต้ อบแบบทดสอบวดั ความรู้ ตอบแบบ สอบถามวัดทักษะ และตอบแบบสอบถามวัดเจตคติ เน้อื หา จานวน 20 ชั่วโมง กกกกกกก1. หัวเรือ่ งที่ 1 วดั ปรางคห์ ลวง กกกกกกก 1.1 ทตี่ ั้ง แผนที่ และพกิ ัดทางภูมิศาสตร์ กกกกกกก 1.2 ประวัตคิ วามเป็นมาของวดั ปรางค์หลวง

9 กกกกกกก 1.3 ความสาคัญของวดั ปรางค์หลวง จานวน 20 ช่ัวโมง กกกกกกก 1.4 บคุ คลสาคัญทเ่ี กีย่ วข้องกับปรางค์หลวง จานวน 15 ช่ัวโมง กกกกกกก 1.5 โบราณสถานและโบราณวตั ถุของวดั ปรางคห์ ลวง จานวน 10 ชั่วโมง กกกกกกก 1.6 ประเพณีสาคัญท่จี ัดข้นึ ในปรางค์หลวงกกกกกกก จานวน 10 ชว่ั โมง ddddddd2. หัวเรอ่ื งที่ 2 วัดเสาธงหนิ กกกก 2.1 ท่ตี ั้ง แผนที่ และพกิ ดั ทางภมู ศิ าสตร์ 2.2 ประวตั ิความเปน็ มาของวดั เสาธงหนิ 2.3 ความสาคญั ของวดั เสาธงหิน 2.4 บุคคลสาคญั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั วัดเสาธงหิน 2.5 ส่ิงก่อสร้างและวัตถุของวัดเสาธงหนิ 2.6 ประเพณสี าคัญที่จดั ขนึ้ ในวัดเสาธงหิน กกกกกกก3. หวั เร่อื งท่ี 3 วดั ตน้ เชือก 3.1 ทตี่ ั้ง แผนท่ี และพิกัดทางภมู ิศาสตร์ 3.2 ประวตั ิความเปน็ มาของวัดตน้ เชอื ก 3.3 ความสาคัญของวัดต้นเชือก 3.4 บุคคลสาคัญท่ีเกยี่ วขอ้ งกับวดั ตน้ เชอื ก 3.5 สิง่ ก่อสรา้ งและวัตถุของวดั ต้นเชอื ก 3.6 ประเพณีสาคัญทจ่ี ัดขึ้นในวัดตน้ เชือก กกกกกกก4. หวั เรอ่ื งที่ 4 วดั ท่าบันเทิงธรรม 4.1 ท่ีตง้ั แผนที่ และพกิ ัดทางภมู ิศาสตร์ 4.2 ประวตั ิความเปน็ มาของวดั ทา่ บนั เทงิ ธรรม 4.3 ความสาคัญของวัดท่าบันเทิงธรรม 4.4 บุคคลสาคญั ทเ่ี ก่ียวข้องกบั วัดทา่ บนั เทิงธรรม 4.5 สิ่งก่อสรา้ งและวตั ถขุ องวดั ทา่ บนั เทิงธรรม 4.6 ประเพณสี าคัญท่จี ดั ขึ้นในวัดท่าบนั เทิงธรรม กกกกกกก5. หวั เรอ่ื งที่ 5 วัดบางโค กกกกกกก 5.1 ที่ตัง้ แผนที่ และพิกดั ทางภมู ิศาสตร์ 5.2 ประวตั คิ วามเป็นมาของวดั บางโค 5.3 ความสาคัญของวัดบางโค 5.4 บคุ คลสาคัญทเ่ี ก่ียวข้องกับวดั บางโค 5.5 สง่ิ กอ่ สร้างและวัตถุของวัดบางโค

10 5.6 ประเพณีสาคัญท่ีจดั ข้นึ ในวัดบางโค กกกกกกก6. หัวเร่ืองท่ี 6 วดั ยคุ ันธราวาส จานวน 10 ช่วั โมง 6.1 ทตี่ ั้ง แผนที่ และพิกดั ทางภูมศิ าสตร์ 6.2 ประวัติความเป็นมาของวัดยุคันธราวาส 6.3 ความสาคัญของวดั ยคุ ันธราวาส 6.4 บคุ คลสาคญั ท่เี กย่ี วข้องกับวดั ยคุ นั ธราวาส 6.5 โบราณสถานและโบราณวัตถขุ องวัดยุคนั ธราวาส 6.6 ประเพณสี าคญั ทจ่ี ัดข้นึ ในวัดยคุ ันธราวาส กกกกกกก7. หัวเรื่องท่ี 7 วิธกี ารทางภูมศิ าสตรแ์ ละประวตั ศิ าสตร์ในการศึกษา วดั สวยงาม ค่นู ามบางใหญ่ จานวน 15 ชัว่ โมง 7.1 วิธกี ารทางภูมิศาสตร์ 7.1.1 วตั ถปุ ระสงค์ในการศึกษา 7.1.2 การเก็บรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยการออกแบบปฏบิ ัติภาคสนามและสมั ภาษณ์ 7.1.3 นาขอ้ มลู วิเคราะห์และจดั หมวดหมู่ 7.1.4 นาเสนอข้อมูลและเขยี นรายงาน 7.2 วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ 7.2.1 การตัง้ ประเด็นทีจ่ ะศกึ ษา 7.2.2 สืบคน้ และรวบรวมข้อมลู 7.2.3 การวิเคราะหแ์ ละตคี วามขอ้ มลู ทางประวตั ิศาสตร์ 7.2.4 คัดเลอื กและประเมินข้อมูล 7.2.5 การเรียบเรียงรายงานข้อเทจ็ จริงทางประวตั ิศาสตร์ กกกกกกก8. หัวเรื่องที่ 8 การสบื สานและการอนุรกั ษ์ วดั สวยงาม คูน่ ามบางใหญ่ จานวน 20 ชว่ั โมง 8.1 การสืบสานและอนุรักษด์ ว้ ยการทาแผน่ พบั เผยแพร่ 8.2 การสบื สานและอนรุ ักษ์ดว้ ยการทาคลิปวดี ิทัศน์ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กกกกกกก1. บรรยายสรุป กกกกกกก2. กาหนดประเดน็ ศึกษาค้นควา้ ร่วมกนั กกกกกกก3. ศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองจากส่อื การเรียนรูท้ ่หี ลากหลาย กกกกกกก4. บนั ทึกผลการศึกษาคน้ คว้าลงในเอกสารการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.)

11 กกกกกกก5. พบกลุ่ม อภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรู้จากผลการศึกษาค้นคว้า คิดวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ คิดสังเคราะห์สรุปผลการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่ร่วมกัน บันทึกลงในเอกสารการเรียนรู้ ด้วยตนเอง (กรต.) กกกกกกก6. สรุปผลการเรียนร้ทู ไ่ี ด้ไปทาแบบฝึกหัด หรือกิจกรรมตามใบงานที่มอบหมาย กกกกกกก7. บันทึกผลการเรียนรู้ที่ได้จากการศึกษาและฝึกปฏิบัติ บันทึกลงในเอกสารการเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง (กรต.) สอื่ และแหล่งเรยี นรู้ กกกกกกกหวั เร่ืองที่ 1 วดั ปรางค์หลวง กกกกกกก1. ส่อื เอกสาร ไดแ้ ก่ กกกกกกกกก1.1 ใบความรทู้ ่ี 1 ประวตั ิของตาบลและวัดในตาบลบางม่วง กกกกกกกกก1.2 ใบงานท่ี 1 วัดปรางคห์ ลวง กกกกกกกกก1.3 หนงั สอื เรียน สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ า สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย กกกกกกกกก1.4 หนังสอื ทเ่ี ก่ยี วข้อง กกกกกกกกกกก 1.4.1 วฒั นธรรมพัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณ์และภมู ิปญั ญา จังหวดั นนทบรุ ี กรมศลิ ปากร ปที ่ีพมิ พ์ 2542 กกกกกกกกกกก 1.4.2 อยุธยาในย่านกรุงเทพฯ ศลิ ปกรรมที่สัมพันธก์ ับแม่น้าลาคลอง ผศ.ดร.ประภสั สร์ ชวู ิเชยี ร ปที ่พี ิมพ์ 2561 กกกกกกกกกกก 1.4.3 รายงานการขุดแตง่ ขุดคน้ และบรู ณะพระปรางค์ วดั ปรางค์หลวง ตาบล บางมว่ ง อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี สานกั งานโบราณคดแี ละพพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติที่ 2 จังหวัดสพุ รรณบุรี ปีท่พี ิมพ์ 2499 กกกกกกกกกกก 1.4.4 รายงานการบูรณะวิหารวดั ปรางค์หลวง ตาบลบางม่วง อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบุรี ปีท่ีพิมพ์ 2543 กกกกกกกกกกก 1.4.5 รายงานการขดุ แตง่ ทางโบราณคดี โบราณสถานวดั ปรางค์หลวง ตาบลบางม่วง อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี องค์การบริหารสว่ นตาบลบางม่วง อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบุรี และสานักงานโบราณคดแี ละพิพธิ ภัณฑสถานแหง่ ชาตทิ ่ี 2 จังหวดั สุพรรณบรุ ี ปที ่พี มิ พ์ 2550

12 กกกกกกก2. สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ได้แก่ 2.1 ตักบาตรเทโว สบื ค้นจาก https://db.sac.or.th กกกกกกก3. ภูมปิ ัญญา 3.1 พระครูปลัดคณุ วัฒน์ (อานนท์ เขมทตโฺ ต) เจา้ อาวาสวัดปรางค์หลวง ที่อยเู่ ลขท่ี 32 หมู่ที่ 1 ตาบลบางมว่ ง อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-924-8439 3.2 นายนภดล ภ่ขู า ท่อี ยู่เลขที่ 3/13 หมทู่ ี่ 1 ตาบลบางม่วง อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 086-829-4279 กกกกกกก4. สอื่ แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน 4.1 หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอบางใหญ่ ตั้งอยู่ท่ีเลขที่ 47 หมู่ 4 อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 02-926-5846 4.2 วัดปรางคห์ ลวง ตง้ั อย่ทู ี่เลขท่ี 32 หมู่ท่ี 1 ตาบลบางมว่ ง อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-276-2720-1 กกกกกกกหัวเร่อื งท่ี 2 วัดเสาธงหิน กกกกกกก1. สือ่ เอกสาร ไดแ้ ก่ กกกกก 1.1 ใบความรู้ท่ี 2 ประวัติของตาบลและวดั ในตาบลเสาธงหิน กกกกก 1.2 ใบงานที่ 2 วดั เสาธงหนิ กกกกก 1.3 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33162 วดั สวยงาม ค่นู ามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กกกกกก 1.4 หนงั สือท่ีเกีย่ วข้อง ไดแ้ ก่ กกกกกกกกกกก 1.4.1 วฒั นธรรมพฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ เอกลักษณ์ และ ภูมิปัญญา จังหวัดนนทบุรี กรมศลิ ปากร ปีทีพ่ มิ พ์ 2542 ชอื่ โรงพมิ พ์ ม.ป.ท. กกกกกกกกกกกกก1.4.2 เที่ยวใกลก้ รงุ เทพ นนทบรุ ี มีดีน่าเที่ยว นางณัฏฐริ า แพงคุณ ปที ี่พมิ พ์ ม.ป.ป. ช่อื โรงพิมพ์ บรษิ ทั วาสนาดี อาร์ตมเี ดีย จากดั กกกกกกกกกกกกก1.4.3 ชอื่ บ้านนามเมอื ง จังหวดั นนทบรุ ี นางสปุ ราณี หลกั คา ปที ่ีพมิ พ์ 2550 ช่อื โรงพมิ พ์ บรษิ ัทบอลพรน้ิ ติ้ง จากัด กกกกกกก2. สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ กกกกกกกกกก2.1 ปาฏหิ ารยิ ์น้าทะเลลึก หลวงพ่อโต วัดเสาธงหิน สบื คน้ จาก http://www.komchadluek.net/news/knowledge/226331 กกกกกกกกกก2.2 ประเพณีตักบาตรพระ 108 สบื คน้ จาก www.travelnonthab.com กกกกกกกกกก2.3 วัดเสาธงหนิ สืบค้นจาก www.thailandtourismdirectory.go.th กกกกกกกกกก2.4 วดั เสาธงหิน จังหวัดนนทบุรี สบื ค้นจาก www.touronthai.com

13 กกกกกกกกกก2.5 โครงการบวชสามเณร ภาคฤดรู ้อน สืบค้นจาก www.dhammakaya กกกกกกกกกก2.6 พระครกู ิตติวริ ยิ าภรณ์ สบื คน้ จาก https://www.khaosod.co.th กกกกกกกกกก2.7 พธิ ีวางหนิ หลกั ปกั ธง สบื คน้ จาก http://nonthaburi.go.thกกกกกกก 3. ส่อื ภูมปิ ญั ญา ไดแ้ ก่ กกกกกกกกกก3.1 พระครูกิตติวิรยิ าภรณ์ เจา้ คณะอาเภอบางใหญ่ อยู่ทเี่ ลขที่ 63/1 ริมคลองอ้อม ตาบลเสาธงหนิ อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี 11140 หมายเลขโทรศัพท์ 02-595-1456 กกกกกกกกกก3.2 พระครูปลัดไพฑูรย์ ฐิตาวทิ โู ร เจ้าอาวาสวัดเสาธงหิน อยูท่ เี่ ลขที่ 38 หมู่ที่ 1 ตาบลเสาธงหิน อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-595-1449 กกกกกกก4. สื่อแหล่งเรยี นร้ใู นชุมชน ไดแ้ ก่ กกกกกกกกกก4.1 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบางใหญ่ ตัง้ อยู่เลขท่ี 47 หมทู่ ี่ 4 กศน.อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-926-5846 กกกกกกกกกก4.2 วดั เสาธงหิน ต้ังอยเู่ ลขท่ี 38 หมู่ที่ 1 ตาบลเสาธงหิน อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 02-595-1449 กกกกกกกหัวเรื่องที่ 3 วดั ต้นเชอื ก กกกกกกก1. สอ่ื เอกสาร ได้แก่ 1.1 ใบความรู้ที่ 3 ประวตั ขิ องตาบลและวดั ในตาบลบา้ นใหม่ 1.2 ใบงานท่ี 3 วัดต้นเชือก 1.3 หนงั สือเรียน สาระการพัฒนาสังคมรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 1.4 หนังสือท่เี กีย่ วขอ้ ง กกกกกกกกกกก 1.4.1 นนทบรุ ศี รมี หานคร ช่ือผูแ้ ตง่ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมธริ าช ปีทีพ่ ิมพ์ 2561 กกกกกกกกกกก 1.4.2 วฒั นธรรมพฒั นาการทางประวัตศิ าสตรเ์ อกลกั ษณ์ และภูมปิ ัญญา จงั หวดั นนทบุรี กรมศิลปากร ปที ่ีพิมพ์ 2542 กกกกกกกกกกก 1.4.3 เทย่ี วใกลก้ รงุ เทพฯนนทบรุ ี มีดีน่าเที่ยว จัดทาโดย จังหวดั นนทบรุ ี กกกกกกกกกกก 1.4.4 ที่ระลกึ งานพระราชทานเพลงิ ศพ พระครูนนทกิจพิศาล อดตี เจ้าคณะ ตาบลบางแมน่ าง และอดตี เจ้าอาวาสวดั ต้นเชือก วนั เสารท์ ่ี 19 เมษายน พ.ศ. 5240 สานักงาน การท่องเทย่ี วและกีฬาจังหวดั นนทบุรี บรษิ ทั วาสนาดี อาร์ตมเี ดียว จากดั ม.ป.ป

14 กกกกกกก2. ส่อื อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ กกกกกกกกก2.1 วดั ตน้ เชอื กนนทบุรี การท่องเที่ยวแหง่ ประเทศไทย สานักงานกรุงเทพฯ หมายเลขโทรศัพท์ 02-250-5500 สืบคน้ จาก www.tourismthailand.org/bangkok กกกกกกกกก2.2 กรมทางหลวงชนบท ถนน ทางหลวงชนบท นนทบรุ ี 3103 ตาบลบา้ นใหม่ อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบุรี 11140 สืบคน้ จาก www.google.com ก กกกกกกกกก2.3 พพิ ธิ ภัณฑ์วดั ต้นเชือก สบื คน้ จาก www.museumthailand.com กกกกกกกกก2.4 สถานที่สาคัญตาบลบา้ นใหม่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบา้ นใหม่ อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบุรี กกกกกกกกก2.5 บรม บุตรศิริ ครูใหญ่โรงเรียนวดั ต้นเชอื ก เน่ืองในงานวางศิลาฤกษ์พระวิหารของ หลวงพอ่ วิหาร สืบค้นจาก http://non2550.tripod.com กกกกกกก3. สอ่ื บุคคลและภูมิปัญญา กกกกกก 3.1 พระอธกิ ารวันชัย ธมมปูชโก ท่ีอยู่เลขท่ี 8 หมู่ท่ี 4 ตาบลบา้ นใหม่ อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 083-5445-726 กกกกกก 3.2 นายวสุ ผันเงนิ อดตี นายกองค์การบริหารสว่ นตาบลบ้านใหม่ ท่อี ยู่เลขท่ี 44 หมู่ที่ 6 ตาบลบ้านใหม่ อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 092-893-5650 กกกกกก 3.3 นายพนม พึ่งสขุ แดง กานันตาบลบา้ นใหม่ อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 094-654-4991 กกกกกก 3.4 นายอนชุ า โอสถ ผ้ใู หญ่บา้ นหมทู่ ี่ 4 ตาบลบา้ นใหม่ อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 089-787-2676 กกกกกก 3.5 นายสรเดช คลงั ทอง ผู้จดั การพิพิธภัณฑ์วัดต้นเชอื ก เลขท่ี 14/1 หมู่ที่ 6 ตาบลบ้านใหม่ อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 087-532-7967 4. สอื่ แหลง่ เรียนรูใ้ นชมุ ชน กกกกกก 4.1 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบางใหญ่ ตั้งอยู่เลขที่ 47 หม่ทู ่ี 4 กศน.อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-926-5846 กกกกกก 4.2 วัดต้นเชอื ก ตง้ั อยู่เลขท่ี 8 หมทู่ ่ี 4 ตาบลบ้านใหม่ อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 083-5445-726 กกกกกกกหัวเร่ืองท่ี 4 วัดทา่ บันเทิงธรรม กกกกกกก1. สอื่ เอกสาร ได้แก่ กกกกกกกกกd 1.1 ใบความรทู้ ี่ 4 ประวตั ขิ องตาบลและวดั ในตาบลบางใหญ่ กกกกกกกกกd 1.2 ใบงานที่ 4 วัดท่าบนั เทงิ ธรรม

15 กกกกกกกกกd 1.3 หนงั สือเรียน สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กกกกกกกกกd 1.4 หนงั สอื ท่เี กีย่ วข้อง 1.4.1 วฒั นธรรม พฒั นาการทางประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์ และภมู ิปญั ญา จังหวัดนนทบรุ ี กรมศิลปกร ปที พี่ มิ พ์ 2542 1.4.2 นนทบรุ ีศรมี หานคร นิศาล บญุ ผกู ปีที่พิมพ์ 2561 ชอื่ โรงพิมพ์ มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช 2. สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ 2.1 ประเพณีสาคญั ของวดั ท่าบันเทงิ ธรรม มาตรฐานการท่องเทย่ี ว กรมการท่องเท่ียว สบื ค้นจาก http:// kanchanapisek.or.th/ kp8/culture/nbr/n3.html) 2.2 วัดท่าบันเทงิ ธรรม จังหวัดนนทบุรี สืบคน้ จาก http: wattabunteongtom 2011.blogspot.com 2.3 ประวตั วิ ัดทา่ บันเทิงธรรม จงั หวดั นนทบุรี สบื ค้นจาก https://www. youtube.com /watch?v=8pVZxkMTpsw กกกกกก3. ส่ือบคุ คลและภมู ปิ ัญญา 3.1 พระคมน์ ขนตฺ วิ โร ท่อี ย่เู ลขท่ี 41 หม่ทู ี่ 1 ตาบลบางใหญ่ อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศพั ท์ 085-130-7270 กกกกกกก4. ส่ือแหล่งเรยี นรู้ในชุมชน 4.1 หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอบางใหญ่ ตง้ั อยูเ่ ลขที่ 47 หมทู่ ี่ 4 กศน.อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 02 9265846 กกกกกกกกก 4.2 วัดทา่ บันเทงิ ธรรม ตงั้ อยเู่ ลขที่ 1 หมู่ที่ 1 อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 085-130-7270 กกกกกกกหัวเรอื่ งท่ี 5 วดั บางโค กกกกกกก1. สอื่ เอกสาร ไดแ้ ก่ กกกกกกกdd1.1 ใบความรู้ท่ี 5 ประวัตขิ องตาบลและวดั ในตาบลบางแม่นาง กกกกกกกdd1.2 ใบงานท่ี 5 วดั บางโค กกกกกกกdd1.3 หนังสือเรยี น สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ า สค33162 วดั สวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย กกกกกกกdd1.4 หนังสือท่เี กยี่ วขอ้ ง 1.4.1 วัฒนธรรม พฒั นาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญา จงั หวัดนนทบรุ ี ผ้แู ต่ง กรมศลิ ปากร (2542)

16 1.4.2 ประวตั ิวัดทว่ั ราชอาณาจักร ผู้แต่ง กรมการศาสนา ม.ป.พ. 1.4.3 พัฒนา สานักงาน พระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ 2545 กรงุ เทพมหานคร โรงพมิ พ์การศาสนา กกกกกกก32. ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ 2.1 วดั บางโค สืบคน้ จาก www.facebook.com./pg/k chaichinnaphat/about/ref=page-internal 2.2 วัดบางโค สบื คน้ จาก www bangmaenang.go.th 2.3 วดั บางโค สบื คน้ จาก http://www.crowniproper ty.or.th/pubtic/upload/media/ Re mende%20Books 3. บุคคลและภูมปิ ญั ญา 3.1 พระปลดั ประจวบ โชตคโุ ณ เจ้าอาวาสวดั บางโค รูปปัจจุบนั ท่ีอยู่วดั บางโค เลขท่ี 1 หมู่ 14 ตาบลบางแมน่ าง อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 089-007-9726 3.2 พระไชยชนิ พฒั น์ อุทโย ทอี่ ยวู่ ดั บางโค เลขที่ 1 หมู่ที่ 14 ตาบลบางแม่นาง อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศพั ท์ 085-917-8029 กกกกกกก4. สือ่ แหล่งเรยี นรู้ในชุมชน กกกกกกกกก 4.1 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบางใหญ่ ต้งั อยทู่ ี่เลขที่ 47 หมู่ที่ 4 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลข โทรศพั ท์ 02-926-5846 กกกกกกกกก 4.2 วัดบางโค เลขที่ 1 หมู่ท่ี 14 ตาบลบางแม่นาง อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 02-833-138 กกกกกกกหัวเรอ่ื งที่ 6 วดั ยุคนั ธราวาส กกกกกกก1. สือ่ เอกสาร ไดแ้ ก่ 1.1 ใบความรู้ท่ี 6 ประวตั ขิ องตาบลและวัดในตาบลบางเลน 1.2 ใบงานท่ี 6 วัดยุคันธราวาส 1.3 หนังสือเรยี น สาระการพฒั นาสังคม รายวิชา สค33162 วดั สวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1.4 หนังสอื ที่เกี่ยวข้อง 1.4.1 พระประวตั สิ มเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ (สา ปสุ ฺสเทโว) สมเด็จพระสงั ฆราช พระองค์ท่ี 9 แห่งกรุงรัตนโกสนิ ทร์ วัดราชประดษิ ฐสถิตมหาสีมาราม ปที ีพ่ ิมพ์ 2558 พมิ พ์คร้ังท่ี 3 ธันวาคม 2558

17 กกกกกกก2. ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ 2.1 พระนริ นั ตราย สืบคน้ จาก ttps://siamrath.co.th กกกกกกก3. ภูมิปัญญา 3.1 พระมหาบุญธาตุ ธัมมธโร เจ้าอาวาสวดั ยคุ นั ธราวาส ทอ่ี ยู่เลขที่ 22 หมู่ท่ี 7 ตาบลบางเลน อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 081-732-9882 3.2 นางเรวณี คาปู่ ท่ีอยู่เลขที่ 87/1 หมู่ท่ี 7 ตาบลบางเลน อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 085-252-4384 กกกกกกก4. สอื่ แหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน 4.1 หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอบางใหญ่ ตงั้ อยู่เลขท่ี 47 หมู่ท่ี 4 กศน.อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-926-5846 4.2 วัดยคุ ันธราวาส ตงั้ อยู่เลขท่ี 22 หมู่ท่ี 7 ตาบลบางเลน อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 02-276-2720-1 กกกกกก หวั เรื่องที่ 7 วิธกี ารทางภูมศิ าสตรแ์ ละประวัติศาสตร์ในการศึกษาวดั สวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ กกกกกก 1. ส่ือเอกสาร ได้แก่ 1.1 ใบความรทู้ ี่ 7 วธิ ีการทางภมู ศิ าสตรแ์ ละประวตั ิศาสตรใ์ นการศึกษา วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ 1.2 ใบงานที่ 7 วธิ กี ารทางภมู ิศาสตร์และประวตั ศิ าสตร์ในการศึกษา วดั สวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ 1.3 หนังสอื เรียน สาระการพัฒนาสังคม รายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 1.4 หนังสือท่ีเกยี่ วข้อง ไดแ้ ก่ กกกกกกกก 1.4.1 การร้เู รอื่ งภมู ิศาสตร์ ถอดบทเรียนจากประสบการณ์ในชน้ั เรียน (Geo-literacy : Learning for our planet) กนก จนั ทรา ปีที่พมิ พ์ 2561 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั กกกกกกกก 1.4.2 คู่มือครปู ระวัตศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 สถาบันพฒั นาวิชาการ (พว.) ปีที่พมิ พ์ 2555 บรษิ ัทพัฒนาวชิ าการ (พว.) จากัด กกกกกกกกกกกกกกกก 1.4.3 ประวตั ิศาสตร์ เคน จนั ทร์วงษ์ ปีทีพ่ มิ พ์ 2551 ภมู ิบณั ฑติ กกกกกกกก 1.4.4 การวิจัยทางภมู ศิ าสตร์ ประมาณ เทพสงเคราะห์ ปีท่ีพิมพ์ 2561 มหาวทิ ยาลัยทักษณิ กกกกกกกก 1.4.5 ประวัติศาสตร์ ปีทพี่ ิมพ์ 2557 โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว กกกกกกกก 1.4.6 ประวตั ิศาสตร์ วงเดอื น นาราสัจจ์ และชมพูนทุ นาครี กั ษ์ ปีทีพ่ มิ พ์ 2555 บริษัทพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ

18 กกกกกกกก 1.4.7 การจัดการเรียนการสอนวชิ าประวตั ศิ าสตรใ์ นสถานศกึ ษา สริ วิ รรณ ศรีพหล ปีทพ่ี ิมพ์ 2553 โครงการส่งเสรมิ การแต่งตารา สานกั วชิ าการมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช กกกกกกก2. ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ได้แก่ กกกกกกก 2.1 ภมู ิศาสตรเ์ ป็นศาสตรท์ ่มี ีความสาคญั อย่างไร สืบค้นจาก www.https:// wachirapong1991.blogspot.com กกกกกกก 2.2 ขน้ั ตอนวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ สืบคน้ จาก www.https://sites.google.com กกกกกกก 2.3 ภูมิศาสตร์ สืบคน้ จาก www.https://th.wikipedia.org/wik กกกกกกก3. สื่อแหล่งเรยี นรู้ในชุมชน กกกกกกก 3.1 ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอบางใหญ่ ตง้ั อยู่เลขท่ี 47 หมู่ที่ 4 กศน.อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 02-926-5846 กกกกก ก หัวเร่ืองท่ี 8 การสบื สานและการอนุรักษ์ วัดสวยงาม คูน่ ามบางใหญ่ กกกกกก 1. สอื่ เอกสาร ได้แก่ กกกกกกก 1.1 ใบความรู้ที่ 8 การสบื สานและการอนุรักษ์ วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ กกกกกกก 1.2 ใบงานท่ี 8 การสืบสานและการอนุรักษ์ วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ กกกกกกก 1.3 หนังสอื เรยี น สาระการพัฒนาสงั คม รายวิชา สค33162 วัดสวยงาม ค่นู ามบางใหญ่ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กกกกกก 2. สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ กกกกกกก 2.1 องคป์ ระกอบของแผ่นพับ สบื ค้นจาก https: //cho mchompoo noot. files.wordpress.com กกกกกกก 2.2 คลิปวีดิทัศน์ สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org กกกกกกก3. สือ่ แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน กกกกกกก 3.1 ห้องสมุดประชาชนอาเภอบางใหญ่ ตงั้ อยู่เลขที่ 47 หมทู่ ี่ 4 กศน.อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 02-926-5846 กกกกกกก 3.2 วดั ปรางค์หลวง ต้งั อยู่เลขที่ 32 หมทู่ ่ี 1 อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 02-595-1477 3.3 วดั เสาธงหนิ ต้ังอยู่เลขท่ี 38 หมู่ที่ 1 ตาบลเสาธงหนิ อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 02-595-1449 3.4 วดั ตน้ เชอื ก ต้งั อยู่เลขท่ี 8 หมทู่ ี่ 4 ตาบลบา้ นใหม่ อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 083-544-5726 3.5 วัดท่าบันเทงิ ธรรม ตงั้ อยู่เลขท่ี 1 หมูท่ ่ี 1 ตาบลบางใหญ่ อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศัพท์ 02-595-1525

19 3.6 วดั บางโค ตั้งอยู่เลขท่ี 1 หมู่ท่ี 14 ตาบลบางแม่นาง อาเภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-595-2145 3.7 วดั ยุคันธราวาส ตั้งอยู่เลขที่ 22 หมทู่ ่ี 7 ตาบลบางเลน อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบรุ ี หมายเลขโทรศพั ท์ 02-276-2720-1 4. ส่ือแหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน ไดแ้ ก่ กกกกกกกกก 4.1 หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบางใหญ่ ต้ังอยู่เลขท่ี 47 หมูท่ ่ี 4 กศน.อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 02-926-5846 กกกกกกกกก 4.2 วัดปรางค์หลวง วดั เสาธงหนิ วดั ตน้ เชอื ก วดั ท่าบันเทิงธรรม วัดบางโค และ วัดยคุ ันธราวาส การวัดและประเมนิ ผล กกกกกกกหลักสูตรรายวชิ า สค33162 วัดสวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มีแนวการวดั และประเมนิ ผลดังนี้ กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหนา้ 60 คะแนน ดว้ ยวิธีการต่อไปนี้ กกกกกกกdd 1.1 การสังเกต กกกกกกกdd 1.2 การซักถาม การตอบคาถาม ddddd กกกกกกกdd 1.3 ตรวจเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.) 40 คะแนน กกกกกกกdd 1.4 ตรวจชิน้ งาน แผน่ พับ เพื่อเผยแพร่ การสืบสาน และการอนุรกั ษ์ วัดสวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ 10 คะแนน 1.5 ตรวจช้ินงาน คลิปวีดทิ ศั น์ (Video) เพ่ือเผยแพร่ การสบื สานและการอนุรกั ษ์ วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ 10 คะแนน กกกกกกก2. ประเมินผลรวม 40 คะแนน ด้วยวธิ กี ารตอ่ ไปน้ี 2.1 ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ 40 คะแนน 2.2 ตอบแบบสอบถามวัดทกั ษะ 2.3 ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ

20 กกกกกกก3. ใหน้ าคะแนนที่ไดจ้ ากข้อ 1 (1.3,1.4,1.5) และ ข้อ 2 (2.1) มารวมกัน แล้วตัดสิน ผลการเรียนออกมาเป็น 8 ระดบั ดังนี้ กกกกกกกกก ได้คะแนนร้อยละ 80 - 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถงึ ดเี ย่ยี ม ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 75 - 79 ให้ระดบั 3.5 หมายถงึ ดีมาก ได้คะแนนร้อยละ 70 - 74 ให้ระดับ 3 หมายถงึ ดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 65 - 69 ใหร้ ะดับ 2.5 หมายถงึ ค่อนขา้ งดี ได้คะแนนรอ้ ยละ 60 - 64 ให้ระดับ 2 หมายถึง ปานกลาง ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 - 59 ให้ระดับ 1.5 หมายถงึ พอใช้ ได้คะแนนรอ้ ยละ 50 - 54 ให้ระดับ 1 หมายถงึ ผ่านเกณฑ์ข้ันต่าทีก่ าหนด ได้คะแนนร้อยละ 0 - 49 ใหร้ ะดับ 0 หมายถึง ตา่ กวา่ เกณฑข์ ้ันต่าทก่ี าหนด กกกกกกก4. การประเมินทักษะของผู้เรียน รายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้เรียนต้องมีทักษะอยู่ในระดับพอใช้ ถึง มาก ถือว่า ผ่านการประเมิน หากผู้เรียนทาไม่ได้ ถึง น้อย ถือว่า ไม่ผ่านการประเมิน ให้ครูผู้สอนนาข้อมูลท่ีได้ไปปรับปรุงเพ่ือจัด ประสบการณ์การเรยี นรใู้ นภาคเรยี นต่อไป ใหผ้ เู้ รียนมที ักษะตรงตามหลักสูตรในระดบั ทีส่ ูงข้ึน กกกกกกก5. การประเมินเจตคติของผูเ้ รยี น รายวชิ า สค33162 วดั สวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ผเู้ รียนตอ้ งมีเจตคติอยู่ในระดบั พอใช้ ถงึ ดี ถอื วา่ ผา่ นการประเมิน ถา้ ได้ระดับ ไมด่ ี ถงึ น้อย ถือว่าไม่ผา่ นการประเมิน ใหค้ รผู ้สู อนนาข้อมูลทไ่ี ดไ้ ปปรับปรุง เพื่อจัดประสบการณก์ าร เรียนรู้ หรือปรบั ปรุงเนื้อหาหลักสูตรในภาคเรียนต่อไป เพ่ือให้ผู้เรียนมเี จตคติที่ดีต่อหลักสูตร

21 แผนการเรียน หลกั สูตรรายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ครั้งที่ หวั เรอ่ื ง จานวน ครูผ้สู อน ชว่ั โมง 1 หัวเรอ่ื งท่ี 1 วดั ปรางคห์ ลวง หัวเรื่องที่ 2 วดั เสาธงหนิ 20 1................................... หัวเรื่องที่ 7 วิธีการทางภูมศิ าสตรแ์ ละ 20 2................................... ประวตั ิศาสตรใ์ นการศกึ ษา วดั สวยงาม คู่นามบางใหญ่ 3................................... 4…................................ 2 หวั เรื่องท่ี 3 วัดตน้ เชือก 15 5................................... หัวเรื่องที่ 4 วดั ทา่ บันเทิงธรรม 15 6................................... หวั เรื่องที่ 5 วัดบางโค 10 7…................................ 10 8…................................ 3 หวั เรื่องท่ี 6 วดั ยคุ ันธราวาส 10 9…................................ หวั เรื่องที่ 8 การสบื สานและการอนรุ ักษ์ วดั สวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ 20

22 สาระสาคัญ หลักสูตรรายวชิ า สค33162 วดั สวยงาม ค่นู ามบางใหญ่ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบรุ ี มสี าระสาคัญ ของหัวเร่ืองในหลักสตู ร ดงั น้ี กกกกกกก1. หวั เรือ่ งที่ 1 วัดปรางค์หลวง กกกกกกกกก 1.1 ทีต่ ้งั แผนท่ี และพิกัดทางภูมศิ าสตร์ วัดปรางคห์ ลวง ตั้งอยเู่ ลขที่ 32 หมูท่ ่ี 1 ตาบลบางม่วง อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี ตั้งอยู่ริมถนนกาญจนาภเิ ษก มีพิกัดทางภูมศิ าสตร์อยู่ท่ี ละตจิ ูด 13.8340004 ลองจจิ ูด 100.422618 มีคลองอ้อมนนท์อยทู่ างด้านทศิ ตะวันออก และมีคลองบางมว่ งอยู่ทาง ทศิ เหนือ มีพนื้ ท่ี 1 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา กกกกกกก 1.2 ประวัติความเป็นมาของวัดปรางคห์ ลวง กกกกกกกกก วัดปรางค์หลวง ในสมัยของพระรามาธิบดีท่ี 1 หรือ สมเด็จพระเจ้าอู่ทองแห่ง กรุงศรีอยุธยาตอนต้น โดยกษัตริย์หรือผู้มีบรรดาศักดิ์ในสมัยนั้นเป็นผู้สร้างขึ้น เดิมช่ือ วัดหลวง สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้เสด็จมาทอดพระเนตรองค์พระปรางค์ของวัด หลวง ที่สรา้ งขึ้นไวพ้ รอ้ มกับการสร้างวัด จึงได้เปล่ียนนามวัดจาก วัดหลวง เป็น วัดปรางค์หลวง ตาม ลักษณะพระปรางค์ซ่ึงเป็นปูชนียสถานสาคัญของวัด เจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน คือ พระครูปลัดคุณวัฒน์ (อานนท์ เขมทตโฺ ต) กกกกกกก 1.3 ความสาคัญของวัดปรางคห์ ลวง วัดปรางค์หลวง สร้างข้ึนในปี พ.ศ. 1904 เป็นวัดที่มีอายุเก่าแก่ท่ีสุดในอาเภอ บางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี มีโบราณสถาน ได้แก่ พระปรางค์มีรูปแบบศิลปกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนตน้ ลักษณะองค์พระปรางค์กอ่ อิฐแบบแถวสัน้ สลบั ดา้ นยาว และสออิฐด้วยดินผสมยางไม้ สูงยอด เจด็ ช้ัน ยอ่ มุมไม้ย่สี ิบ ประดับลายปนู ปั้น และมพี ระวิหารน้อย ลักษณะเปน็ อาคารไม้ อิฐถือปูน 2 หลัง และโบราณวัตถุ คือ หลวงพ่ออู่ทอง เป็นพระพุทธรูปปูนป้ันปางมารวิชัยลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 9 คืบ หรอื 225 เซนตเิ มตร มคี วามศักด์ิสิทธิ์และเป็นท่ีเคารพสักการะของประชาชนในชุมชน และได้ ข้ึนทะเบียนกรมศิลปากรเป็นโบราณสถานแห่งชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 110 ตอนท่ี 175 วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2536 กกกกกกก 1.4 บคุ คลสาคญั ที่เกีย่ วขอ้ งกบั วัดปรางค์หลวง บคุ คลสาคญั ทเี่ กีย่ วของกับวดั ปรางค์หลวง ได้แก่ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรม พระยาวชริ ญาณวโรรส ไดเ้ สด็จมาทอดพระเนตรองค์พระปรางคข์ องวดั หลวง จึงทรงเปล่ียนนามวัด จากวัดหลวง เปน็ วัดปรางค์หลวง และพระครปู ลดั คณุ วัฒน์ (อานนท์ เขมทตโฺ ต) เกดิ เมื่อวันที่

23 7 ตุลาคม พ.ศ. 2520 อปุ สมบทเม่อื วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ปจั จบุ นั ดารงตาแหนง่ เจา้ อาวาส วดั ปรางค์หลวง ตาบลบางมว่ ง อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรีกผลงานที่สาคัญ สรา้ งศาลา อเนกประสงค์ หน้าพระอุโบสถหลงั เกา่ บรู ณะศาลาการเปรียญให้สูงขึน้ และจดั กิจกรรมสวดมนต์ ถวายเปน็ พระราชกศุ ลแดร่ ชั กาลท่ี 9 และรชั การที่ 10 ทกุ วันจันทร์เปน็ ประจากกกกกก กกกกกกก 1.5 โบราณสถานและโบราณวตั ถขุ องวัดปรางค์หลวง กกกกกกกกก วัดปรางค์หลวงมีโบราณสถานสาคัญ ได้แก่ พระปรางค์ ซ่ึงเป็นศิลปกรรมสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนต้น มลี กั ษณะก่ออฐิ แบบแถวสนั้ สลับด้านยาว และสออิฐด้วยดินผสมยางไม้ สูงยอด เจ็ดช้ัน ย่อมุมไม้ย่ีสิบ ประดับลายปูนป้ัน เรือนธาตุมีซุ้มจระนาทั้ง 4 ทิศ ประดิษฐานพระพุทธรูปยืน ปูนปั้นลงรักปิดทอง และพระวิหารน้อย เป็นอาคารขนาดเลก็ กอ่ ด้วยอิฐ ลักษณะของอาคารแต่ละหลัง มีผังรูปสี่เหล่ียมผืนผ้า ประกอบด้วย อาคาร 2 หลัง อาคารหลังเล็กต้ังอยู่ด้านหน้า และอาคารหลัง ใหญต่ ้ังอยู่ดา้ นหลัง ด้านหน้ามีมุขย่ืนออกมาคล้ายระเบียง อาคารทั้ง 2 หลัง มีประตูทางเข้าเพียงทาง เดียว ลักษณะในการก่อสร้างใช้ระบบผนังรองรับเครื่องบน ไม่มีคาน ไม่มีเสา หลังคามุงกระเบื้องดิน เผาและวัดปรางคห์ ลวงมีโบราณวัตถสุ าคัญ ไดแ้ ก่ หลวงพ่ออทู่ อง เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนปิดทอง ปางมารวชิ ัยหนา้ ตักกวา้ ง 9 คืบ หรือ 225 เซนติเมตร หลวงพ่ออู่ทองได้รับการซ่อมแซม โดยฝีมือช่าง ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จนเปลี่ยนแปลงไปจากแบบเดิม แต่ยังมีเค้าร่องรอยของพระพุทธรูปในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนต้น พุทธลักษณะงดงาม อีกทั้งหลวงพ่ออู่ทองยังเป็นพระพุทธรูปท่ีประชาชนใน ชมุ ชนนับถอื เปน็ อยา่ งมาก และใบเสมา วัดปรางคห์ ลวง มีใบเสมาอยู่ภายในเขตกาแพงแก้วปักอยู่ตาม ตาแหน่งต่าง ๆ รอบพระอุโบสถจานวน 4 แห่ง คือ บริเวณด้านหลังของพระอุโบสถ 3 แห่ง และตรง กลางด้านทิศตะวันตกของพระอุโบสถ ใบเสมามีขนาดใหญ่ทาจากหินชนวน ประชาชนในชุมชน เรียกว่า หินกาบ ไม่มีลวดลาย ใบเสมาที่มีสภาพสมบูรณ์เหลือเพียง 1 ใบ ต้ังอยู่ท่ีด้านหน้าของพระ อโุ บสถกกกกกกกกก ddddddd 1.6 ประเพณีสาคัญของวดั กกกกกก ประเพณีสาคัญของวัดปรางค์หลวง ได้แก่ ประเพณีตักบาตรเทโว เป็นประเพณี ของชาวพุทธที่ได้ร่วมใจกันทาบุญตักบาตรสืบทอดกันมา ถือเอาวันหลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงมา จากดาวดึงส์ หรือเทวโลกมาสู่โลกมนุษย์ ในวันมหาปวารณา คือ วันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 พอวันรุ่งขึ้น แรม 1 คา่ เดอื น 11 ชาวพุทธก็จะตกั บาตรเทโวเป็นประเพณีมาแต่ครั้งโบราณ มีขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ คอื เตรยี มอาหารเพื่อตกั บาตรเปน็ พเิ ศษ เช่น ขา้ วต้มมดั ขา้ วตม้ ลูกโยน การอาราธนาศีล สมาทานศีล รักษาศีล ฟังธรรมเทศนา ทาสมาธิ แผ่เมตตา และกรวดน้าอุทิศส่วนกุศลให้กับญาติสนิทผู้ล่วงลับ และสรรพสัตว์ทั้งหลาย และประเพณีการทาบุญตักบาตรพระ 108 ทางน้า เป็นประเพณีหลังวันออก พรรษาเริ่มในวันแรม 8 ค่า เดือน 12 ซึ่งถือว่าเป็นวันทาบุญที่แท้จริง พิธีจะเริ่มต้ังแต่ช่วงบ่ายของวัน แรม 7 ค่า เดือน 12 วัดตามริมคลองจะมีการแห่พระพุทธรูปท่ีมีช่ือเสียงของแต่ละวัดแห่ไปตามลาน้า

24 โดยการจัดขบวนแห่อย่างสวยงามมีการราประกอบ การจัดขบวนแห่เพ่ือประกาศให้ประชาชน ได้ทราบท่ัวกันว่าจะมีพิธีทาบุญตักบาตรพระ 108 ข้ึนในวันรุ่งขึ้น คือ วันแรม 8 ค่า เดือน12 เป็น ประเพณีทีป่ ฏิบัตกิ นั มาอยา่ งช้านาน ในอาเภอบางกรวย และอาเภอบางใหญ่ กกกกกกก2. หัวเรื่องท่ี 2 วดั เสาธงหิน กกกกกกกกก 2.1 ที่ตั้ง แผนที่ และพิกดั ทางภูมิศาสตร์ วัดเสาธงหนิ ตั้งอย่เู ลขที่ 38 หมทู่ ี่ 1 ตาบลเสาธงหนิ อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบุรี และมีพกิ ัดทางภมู ศิ าสตร์ ต้ังอยู่ท่ี ละติจดู 13.856441 ลองจิจดู 100.424464 กกกกกกก 2.2 ประวัตคิ วามเปน็ มาของวัดเสาธงหนิ วัดเสาธงหนิ เปน็ วัดเกา่ แก่วัดหนึ่งมีมาแตส่ มัยคร้งั กรงุ ศรีอยุธยาเปน็ ราชธานี แตเ่ ดิมเรยี กว่า วดั สัก ในสมยั สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช พระองคไ์ ด้นากองทัพผ่านมาทางวดั สัก เพ่ือจะไปกอบกู้เอกราชที่กรุงศรีอยธุ ยา เมื่อ ปี พ.ศ. 2310 ขณะพกั ทพั ได้นาธงประจากองทพั ปักไว้ โดยใชก้ อ้ นหนิ ทบั เสาธงไว้เพอ่ื ไม่ให้เสาธงล้ม ต่อมาหลงั จากไดร้ ับชยั ชนะสามารถกอบกูเ้ อกราชได้ สาเร็จ พระองค์ได้เสดจ็ กลับมาบูรณะวดั สกั ให้มคี วามเจริญรุง่ เรือง และได้เปล่ียนชอ่ื วดั สกั มาเป็น วดั เสาธงหิน ในปัจจุบนั กกกกกกกกก2.3 ความสาคัญของวดั เสาธงหิน วัดเสาธงหินเป็นวัดสาคัญหนึ่งในสามวัดของจังหวัดนนทบุรี ที่มีความสาคัญ เกี่ยวข้องกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คือ ในสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้มีรับส่ัง ให้ปักธงประจาทัพของพระองค์ลงบนกองทราย ณ ตาบลเสาธงหิน โดยให้ทหารนาหินก้อนใหญ่ ๆ มากองทับเสาธง และล้อมรอบธงไว้มิให้ธงล้ม เพ่ือเป็นเอกลักษณ์ของกองทัพ และเป็นสัญลักษณ์จุด นัดหมายของทหาร และเมื่อได้ชัยชนะก็ได้กลับมาทาการบูรณะ และเปลี่ยนชื่อจากวัดสัก เป็น วัดเสาธงหิน วัดเสาธงหินได้ร่วมจัดกิจกรรมสาคัญเนื่องในโอกาสครบรอบ 250 ปี เส้นทางอิสรภาพ “สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช”รัฐบาลได้จัดงาน 250 ปี ตามรอยกองเรือยกพลข้ึนบก สมเด็จพระ เจา้ ตากสินมหาราช จากจันทบุรีส่อู ยุธยาเพ่อื เทดิ พระเกยี รติ และเผยแพร่ให้สาธารณชนทั่วไปให้ได้รับ ทราบถงึ ประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทย กกกกกกกกก 2.4 บุคคลสาคญั ทเี่ กีย่ วข้องกับวดั เสาธงหนิ กกกวัดเสาธงหินมีบุคคลสาคัญที่เก่ียวข้องดังน้ี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้นากองทัพมาพักทัพ และรวบรวมไพร่พลท่ีวัดสัก เพื่อเดินทางไปกอบกู้เอกราชท่ีกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2310 เม่ือได้รับชัยชนะก็ได้กลับมาทาการบูรณะและเปลี่ยนชื่อจาก วัดสัก เป็น วัดเสาธงหิน และพระครูปลัดไพฑูรย์ ฐิตาวิทูโร เกิดเมื่อวันท่ี 19 มกราคม 2520 ปีมะเส็ง อุปสมบทเม่ือวันท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ.2544 เจ้าอาวาสวัดเสาธงหินรูปปัจจุบัน ผลงานท่ีสาคัญ สร้างพระอุโบสถ์หลังใหม่

25 และสร้างจุดวางหนิ หลักปักธง ตามโครงการ 250 ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบกสมเด็จพระเจ้าตาก สนิ มหาราช กกกกกกกกก2.5 วัตถแุ ละส่ิงกอ่ สรา้ งของวดั เสาธงหิน กกกกกกกกกกกก วัตถขุ องวัดเสาธงหิน ได้แก่ หลวงพอ่ โต เปน็ พระพุทธรปู ปางปา่ เลไลยก์ สร้างโดย พระภิกษโุ ต และเหรยี ญหลวงพ่อโต สรา้ งขน้ึ เมื่อปี พ.ศ. 2500 และส่ิงกอ่ สรา้ งของวดั เสาธงหนิ คือ พระอุโบสถหลังเกา่ มลี กั ษณะ อิฐกอ่ ผนัง และฐานชุกชี หรอื ฐานพระประธาน ทามาจากอฐิ ก้อนใหญ่ เหมือนกบั อฐิ ท่ีใชส้ ร้างวดั ในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา 2.6 ประเพณีสาคัญของวดั เสาธงหนิ วัดเสาธงหินมีประเพณีที่สาคัญ คือ ประเพณีตักบาตรพระ 108 ทางน้า ซ่ึงเป็น ประเพณีหลังวันออกพรรษา เริ่มในวันแรม 8 ค่า เดือน 12 พิธีเริ่มต้ังแต่ช่วงบ่ายของวันแรม 7 ค่า เดือน 12 วัดตามริมคลอง จะมีการแห่พระพุทธรูปที่มีชื่อเสียงของแต่ละวัดไปตามลาน้า เป็นประเพณี ทป่ี ฏิบตั กิ ันมาอย่างยาวนานในอาเภอบางกรวย และ อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี นอกจากน้ียังมี พธิ ีบรรพชาสามเณร ภาคฤดูร้อนเป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้เยาวชนจานวนมาก ได้เรียนรู้หลักธรรม คาสอนในทางพระพุทธศาสนาในช่วงปิดภาคเรียนพร้อมกัน และพิธีวางหินหลักปักธง วัดเสาธงหินได้ ร่วมจัดกิจกรรมพธิ ีวางหนิ หลักปักธง ในวันท่ี 1 พฤศจิกายน 2561 โดยนายภานุ แย้มศรี ผู้ว่าราชการ จังหวัดนนทบุรี เป็นประธานในพิธีตามโครงการ “250 ปี ตามรอยกองเรือยกพลขึ้นบก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช” เพื่อเทิดพระเกียรติและเผยแพร่ให้สาธารณชนท่ัวไปทราบถึง ประวตั ิศาสตรช์ าติไทย และทาให้วดั เสาธงหนิ เป็นท่ีรจู้ ักอยา่ งกว้างขวางมากยงิ่ ข้ึน หหหหหห 3. หวั เร่อื งที่ 3 วัดต้นเชอื ก กกกกกกกกก 3.1 ที่ต้ัง แผนที่ และพิกดั ทางภมู ศิ าสตร์ วัดต้นเชอื ก ตงั้ อยเู่ ลขท่ี 8 หมู่ท่ี 4 คลองบางใหญ่ ตาบลบ้านใหม่ อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี มีพืน้ ที่ขนาด 25 ไร่ 2 งาน มีพิกดั ทางภูมศิ าสตร์อยู่ท่ี ละตจิ ูด 13.839231 ลองจจิ ดู 100.338447 กกกกกก 3.2 ประวัติความเป็นมาของวัดต้นเชือก วดั ตน้ เชือก สรา้ งขน้ึ เมื่อ พ.ศ. 2324 ในสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ไม่ปรากฏนามและประวัติของผู้สร้าง วัดต้นเชือก มีการบูรณะและพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จนมีความ เจริญรุ่งเรืองเร่ือยมา ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2490 และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2493 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 15 เมตร ยาว 30 เมตร ได้ผูกผ้าพัทธสีมา เม่ือวันท่ี 15 มีนาคม พ.ศ. 2497 วัดต้นเชอื กต้งั อยรู่ มิ คลองบางใหญ่ ซง่ึ เป็นเสน้ ทางสัญจรระหว่างแม่น้าสองสาย คือ แม่น้า นครชัยศรี กับแม่น้าเจ้าพระยา เดิมเป็นเส้นทางท่ีใช้ไปนมัสการพระปฐมเจดีย์ วัดต้นเชือกเป็นวัด เก่าแก่ ได้รับการกล่าวถงึ จนเปน็ ที่รจู้ ัก สามารถศกึ ษาได้จากบทกลอนของพระบรมวงศ์เธอ กรมหลวง

26 วงษานิราศสนิท พระศรีสุนทรโวหาร (ภู่) และ“นายมี”หรือเสมียนมี หม่ืนพรหมสมพัตสรจากเร่ือง นิราศพระประธม นิราศสุพรรณ และนริ าศพระแทน่ ดงรัง กกก 3.3 ความสาคัญของวัดตน้ เชือก วดั ตน้ เชอื ก สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2324 ในสมยั ของสมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชใน สมยั รัชกาลท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย มีกวีทั้ง 3 ท่านได้กลา่ วถึงวัดต้นเชอื กไว้ใน บทกลอน ได้แก่ พระบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษานริ าศสนิท พระสุนทรโวหาร (ภู)่ และ“นายมี” หรือ เสมียนมี หมืน่ พรหมสมพัตสร นอกจากน้ีมีหลวงพ่อวหิ าร สรา้ งในสมัยกรงุ ศรีอยุธยาเป็นพระพุทธรูป ศกั ด์สิ ิทธ์ิ มีกฏุ ิสามเจ้าอาวาส อาคารบรมครูกวีศรีสยามหรือพิพิธภณั ฑห์ ่นุ ขี้ผงึ้ วัดตน้ เชือก มปี ระเพณี ประมลู ชะลอม ซงึ่ เปน็ ประเพณที ช่ี ุมชนจัดขนึ้ เพือ่ รวบรวมปจั จัยบารุงวัด 3.4 บุคคลสาคัญทเี่ ก่ียวข้องกบั วัดตน้ เชือก ต้นเชือก มีบุคคลสาคัญท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ พระอาจารย์เพลิน (พระครูนนทกิจ พิศาล) เจ้าคณะตาบลบ้านบางแม่นาง พระอุปัชฌาย์ และเจ้าอาวาสวัดต้นเชือก ผู้ริเริ่มให้มีการ ก่อสร้างเมรุ สร้างศาลาอเนกประสงค์ สร้างโรงเรียนวัดต้นเชือก และโรงเรียนราชวินิตนนทบุรี พระ เจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนิท ทรงนพิ นธ์ “นริ าศพระประธม” ในปี พ.ศ. 2377 ขณะทรง มีพระชันษา 26 ปี กล่าวถึงวิถีชีวิตคน“บางเชือก” (วัดต้นเชือก) พระสุนทรโวหาร (ภู่) หรือสุนทรภู่ เม่ือปี พ.ศ. 2374 ได้แต่งโคลงนิราศสุพรรณ และนิราศพระประธม และเสมียนมี หรือหม่ืนพรหม สมพัตสร ลูกศิษย์ของท่านสุนทรภู่ ได้แต่ง นิราศพระแท่นดงรัง และนิราศสุพรรณ จากบทกลอน เหลา่ น้ี ทาให้สะท้อนเหน็ ภาพในอดตี ของชุมชนบางเชือกและวดั ตน้ เชือกไวอ้ ย่างชัดเจน กกกกกกก ก3.5 วตั ถุและสิ่งก่อสรา้ งวดั ตน้ เชือก กกกกกกกก วัตถขุ องวัดตน้ เชอื ก ไดแ้ ก่ หลวงพ่อวิหาร เปน็ พระพุทธรปู ท่ีมีคุณลักษณะพิเศษ คือ หลวงพ่อวิหารมอี ยู่ 2 องค์ โดยประทบั นง่ั เรียงซ้อนหลังกนั เรยี กรวมกันว่า หลวงพ่อวหิ ารทั้งคู่ สรา้ งขึ้นดว้ ยโลหะทองเหลืองบริสุทธ์ิ เป็นพระพทุ ธรูปปางมารวชิ ัยสมยั อทู่ อง เหรยี ญหลวงพ่อ พระวิหาร เป็นวตั ถุมงคลที่พระอาจารย์เพลิน หรือพระครนู นทกิจพิศาลสรา้ งไว้ สิ่งกอ่ สร้าง คอื กฏุ ิ สามเจา้ อาวาส เป็นอาคารทรงไทยใชส้ าหรบั จัดแสดงหนุ่ ข้ีผ้ึงของอดีตเจา้ อาวาสทั้งสามองค์ ได้แก่ พระอาจารยไ์ พล หรือพระอธิการไพล พระอาจารย์ทองย้อย หรอื พระครูบริหารวิสิทธิ์ และ พระอาจารยเ์ พลิน หรอื พระครนู นทกจิ พิศาล อาคารบรมครูกวีศรีสยาม หรอื พพิ ิธภัณฑ์หุ่นขผ้ี ้ึงวดั ตน้ เชือก ใช้เปน็ ทีจ่ ดั แสดงหนุ่ ข้ีผึ้งและเรอ่ื งราวการผา่ นมาของกวีทง้ั 3 ทา่ น ไดแ้ ก่ พระบรมวงศเ์ ธอกรม หลวงวงษาธริ าชสนิท หรอื เจา้ ชายนวม พระสุนทรโวหาร หรอื สนุ ทรภู่ และนายมี หมนื่ พรหมสมพัตสร เสาหงส์ ท่ีบ่งบอกถึงความเป็นสญั ลกั ษณ์ของวัดมอญ หอระฆงั ตั้งอยบู่ รเิ วณท่าน้ามีลักษณะเปน็ อาคารสงู มยี อดแหลมเหมือนเรอื นยอด และหอไตรมลี ักษณะอาคารเปน็ หอสูง หอไตรหรือหอ พระธรรมใชส้ าหรบั เกบ็ คมั ภีร์พระไตรปิฎก หรอื หนังสือธรรมะทางพุทธศาสนา

27 กกกกกกก33 3.6 ประเพณีสาคัญ วัดต้นเชือกมีประเพณีท่ีสาคัญ และถือปฏิบัติมาช้านาน ได้แก่ ประเพณี ประมูลชะลอม ซ่ึงจัดขึ้นเป็นประจาในช่วงขึ้น 8 ค่า เดือน 3 ของทุกปี เพื่อให้ประชาชนมา ประมูลส่ิงของในชะลอมตามราคาท่ีเจ้าของชะลอมตั้งขึ้น และนาเงินจากการประมูลถวายให้กับ วดั ต้นเชือก เพื่อนาไปบรู ณปฏิสังขรณว์ ดั ต่อไป กกกกกกก4. หวั เรอ่ื งที่ 4 วัดท่าบนั เทงิ ธรรม กกกกกกกก 4.1 ที่ต้งั แผนที่ และพิกดั ทางภมู ิศาสตร์ วัดท่าบนั เทิงธรรม ต้งั อยูเ่ ลขท่ี 1 หม่ทู ่ี 1 ซอยเทศบาล 1 ตาบลบางใหญ่ อาเภอ บางใหญ่ จงั หวัดนนทบุรี และมีพกิ ัดทางภมู ิศาสตร์ ต้ังอยู่ที่ ละตจิ ดู 13.847674 ลองจจิ ดู 100.393984 กกกกกกก ก4.2 ประวัติความเปน็ มาของวดั ทา่ บนั เทงิ ธรรม วัดท่าบันเทิงธรรม สันนิษฐานว่าสร้างข้ึนมาในสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จ พระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ประมาณปี พ.ศ. 2385 หรือประมาณปี พ.ศ. 2386 โดยผู้สร้างอยู่ในราชสกุล “ปราโมช” ช่ือ หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมท จึงได้ต้ังชื่อวัดว่า “วัดท่า” ต่อมาวัดได้รับการทานุ บารุงให้เจริญขึ้นมาตามลาดับเริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2491 เป็นต้นมา จึงได้เพ่ิมเติมนามวัดเป็น “วัดท่า บันเทิงธรรม” วัดน้ีได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ประมาณ พ.ศ. 2389 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 8 เมตร ยาว 22 เมตร ประกอบพธิ ีผกู พทั ธสมี า พ.ศ. 2389 สงั กดั คณะสงฆธ์ รรมยุติกนกิ าย กกกกกก กก4.3 ความสาคญั ของวดั ทา่ บันเทิงธรรม วัดท่าบันเทิงธรรม เป็นวัดที่เก่าแก่สร้างข้ึนมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระน่ัง เกล้าเจ้าอยหู่ ัว (รชั กาลที่ 3) สนั นษิ ฐานว่าสรา้ งขน้ึ ประมาณปี พ.ศ. 2385 หรือประมาณปี พ.ศ. 2386 จนถงึ ปัจจบุ นั มอี ายุรวม 177 ปี 4.4 บุคคลสาคญั ของวัดท่าบันเทิงธรรม มีดังนี้ (1) พระวิจิตรธรรมภาณี (สิงห์ สุขปุญ โญ) เป็นเจา้ อาวาสรปู แรก วดั ท่าบันเทงิ ธรรมเป็นวัดรา้ ง ไดพ้ ฒั นาจนประชนชนกลับมาศรัทธาและได้ ก่อต้ัง โรงเรียนวัดท่าบันเทิงธรรม ในปี พ.ศ.2498 (2) พระครูมงคลธรรมมานุวัตร (จานงค์) ได้ซ่อม บารุงพระอุโบสถ์เก่า ซ่ึงสร้างขึ้นต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ 4 มีลักษณะเป็นแบบพระราชนิยม และได้สร้าง ศาลาการเปรยี ญ เมรุ เข่ือนไม้สักรอบวัด เป็นต้น (3) พระครูประสานวัตรคุณ (ประสาน พัฒนาดี) ได้ กราบทูลเชิญสมเด็จพระญาณสังวร สมเดจ็ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นประธานในพิธี วางศิลาฤกษ์ พระอุโบสถหลวงพ่อหมอหลังใหม่ สร้างกุฏิไม้ทรงไทย 4 หลังติดกัน สร้างวิหารหินอ่อน ประดิษฐานหลวงพ่อขาว สร้างกุฏเิ จา้ อาวาสหลงั ใหมส่ งู 3 ชน้ั สร้างเหรยี ญหลวงพอ่ หมอท่ีโด่งดัง และ (4) พระครวู ฒุ กิ ารโกศล เจ้าอาวาสรปู ปจั จุบัน

28 4.5 วดั ท่าบนั เทงิ ธรรมมีวัตถุทส่ี าคญั คือหลวงพอ่ หมอ เป็นเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ตง้ั อยู่ภายในพระวิหาร เป็นทเี่ คารพสักการะบชู าของประชาชนในชมุ ชน และมีสิ่งก่อสร้างสาคัญ ได้แก่ พระอุโบสถทรงไทยของวัดสร้างขึ้นใน พ.ศ. 2540 มีลักษณะหลังคาลด 3 ช้ัน ประดับช่อฟ้า ใบระกา และหางหงส์หน้าบันด้านหน่ึงประดิษฐานพระพุทธรูปปางห้ามพระแก่นจันทน์พระวิหารของวัดท่า บันเทิงธรรม สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยสังเกตจากการตกแต่งแบบพระราชนิยมคือ หลังคาไม่มี ช่อฟ้า ใบระกา หน้าบันประดบั ด้วยกระเบ้ืองเคลือบเป็นรูปสัตว์ต่าง ๆ ของจีน และรอยพระพุทธบาท ของวัดท่าบันเทิงธรรม มีภาพมงคล 108 ท่ีส่ือความหมายถึงภาพสวรรค์ และรูปพรหมมี 24 ภาพ ประกอบด้วย สวรรค์ 6 ช้ัน รูปพรหม 16 ชั้น รอยพระพุทธบาทนี้สร้างในสมัยปลายรัชกาลท่ี 3 พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อยู่หัว แหง่ กรงุ รัตนโกสินทร์ 4.6 ประเพณีสาคัญของวัดท่าบันเทิงธรรม วัดท่าบันเทิงธรรม มีประเพณีที่สาคัญ คือ ประเพณีเทศน์มหาชาติพระเวสสันดรชาดก เป็นประเพณีท่ีจัดมาแต่โบราณ จะจัดหลังฤดูทอดกฐิน ผ่านไปแล้วจนตลอดฤดูหนาว โดยนิยมจัดเป็นงานสองวัน คือ วันแรกเป็นวันเทศน์เวสสันดรชาดกทั้ง 13 กัณฑ์ และวันที่สองเป็นวันเทศน์จตุราริยสัจจกถาท้ายเวสสันดรชาดก การเทศน์มหาชาติ พระเวสสันดรชาดก มีระเบียบพิธีการเทศน์มหาชาติ โดยเริ่มต้นจากการตกแต่งบริเวณพิธีให้มี บรรยากาศคล้ายอยู่ในป่า ตามเนื้อเร่ืองเวสสันดรชาดก โดยนาเอาต้นกล้วย ต้นอ้อย ใบมะพร้าว และ ก่ิงไม้มาผูกตามเสาและบริเวณรอบ ๆ ธรรมาสน์ ประดับธงทิวราวัติ ฉัตรธงปักไว้ตามสมควร ต้ังขัน สาครใหญ่กลางบริเวณพิธีใส่น้าสะอาด สาหรับปักเทียนบูชาประจากัณฑ์ เตรียมเทียนเล็ก ๆ จานวน 1,000 เล่ม แล้วนับแยกจานวนเป็นมัด มัดหน่ึงมีจานวนเท่าคาถาของกัณฑ์หน่ึง เมื่อถึงคราวเทศน์ กัณฑ์น้ันก็จะเอาเทียนมัดน้ันออกจุดบูชาติดรอบ ๆ ภาชนะน้า ต่อกันไปจนจบกัณฑ์ให้หมดมัดพอดี ครบ 13 กัณฑ์ จานวน 1,000 เล่ม เทา่ จานวนคาถา กกกกกกก5. หัวเรอ่ื งที่ 5 วัดบางโค กกกกกกกก 5.1 ที่ตั้ง แผนท่ี และพกิ ดั ทางภูมิศาสตร์ วัดบางโค ตง้ั อยูเ่ ลขที่ 1 หมทู่ ี่ 14 ตาบลบางแมน่ าง อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี และมีพิกดั ทางภมู ศิ าสตร์ตงั้ อยู่ที่ ละตจิ ูด 13.850297 ลองจจิ ูด 100.402489 กกกกกกกก 5.2 ประวัตคิ วามเป็นมาของวดั บางโค วัดบางโค สร้างขึ้นเม่ือสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันท่ี 9 มีนาคม พ.ศ. 2399 ไม่ทราบนามและประวัติผู้สร้าง ต้ังอยู่บริเวณริมคลองบางโค ได้รับ พระราชทานวสิ ุงคามสีมา เมื่อวนั ท่ี 10 เมษายน พ.ศ. 2432 สังกดั คณะสงฆ์มหานิกาย มีพ้ืนท่ี 12 ไร่ 2 งาน 12 ตารางวา มีคลองผ่าน 2 สาย คือ คลองบางโค ผ่านทางทิศตะวันตก และคลองบางใหญ่ ผา่ นทางทิศไต้

29 ก 5.3 ความสาคัญของวัดบางโค วัดบางโคเป็นวัดที่สร้างข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เม่ือปี พ.ศ. 2399 ปัจจุบันมีอายุรวม 163 ปี เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวตาบลบางแม่นาง มีพระพุทธรูป ปางมารวิชัยองค์ใหญ่ ประดิษฐานอยู่ในพระอุโบสถ มีหลวงพ่อขาวศักด์ิสิทธ์ิ มีมณฑป และรอยพระพุทธบาทจาลอง กกกกกกกก 5.4 บุคคลสาคญั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั วัดบางโค วัดบางโคมบี คุ คลสาคญั ดังนี้ (1) พระครูนนทสิกขกจิ (หลวงป่ยู อด ธัมมธโร) เป็นผู้สร้างรอยพระพุทธบาทจาลอง (2) พระครูสุภัทวราภรณ์ หรือหลวงพ่อประเสริฐ สุภทโท (ศรพี ฒุ ) เป็นผสู้ ร้างวิหารหลวงพอ่ ขาว และ (3) พระปลดั ประจวบ โชติคุโณ เป็นเจ้าอาวาสรูปปัจจุบัน มีผลงานที่สาคัญ เช่น ให้อาคารเอนกประสงค์ใช้เป็นที่ทาการ กศน.ตาบลบางแม่นาง ปรังปรุงเมรุให้ เปน็ แบบไฟฟา้ สรา้ งห้องนา้ ซอ่ มแซมถนน ซอ่ มแซมซุ้มประตทู างเข้าวดั เปน็ ตน้ กกกกกกกก 5.5 วัตถแุ ละสง่ิ ก่อสร้างของวัดบางโค กกกกกกกก วัตถุสาคัญของวัดบางโค ได้แก่ รปู ปน้ั หลวงพอ่ ขาว เป็นพระพทุ ธปฏิมากรปูนป้ัน ที่ศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ ส่ิงกอ่ สรา้ งทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ พระอโุ บสถ เป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปปางมารวิชัยองค์ใหญ่ และวิหารหลวงพ่อขาว ซ่ึงเป็นที่ประดิษฐานรูปป้ันหลวงพ่อขาว อันเป็นที่เคารพสักการะของ ประชาชนในชุมชนบางแม่นาง และรอยพระพุทธบาทจาลอง สร้างขึ้นในสมัยพระครูนนทสิกขกิจ (หลวงปยู่ อด ธมมฺ ธโร) เป็นเจา้ อาวาส 5.6 ประเพณีสาคัญ ประเพณีที่สาคัญที่วัดบางโคจัดขึ้นคือ ประเพณีการทาบุญตักบาตรพระ 108 ทางน้า เริ่มในวันแรม 8 ค่า เดือน 12 และประเพณีสรงน้าพระวันสงกรานต์ ซึ่งตรงกับวันท่ี 13 เมษายน ของทุกปี ถือเป็น “วันข้ึนปีใหม่” ตามธรรมเนียมไทย โดยในวันสงกรานต์ นอกจาก ประเพณรี ดน้าดาหัวขอพรญาติผ้ใู หญ่ ตามทป่ี ระชาชนชาวไทยถอื ปฏบิ ตั ิสบื ทอดกันมา เป็นระยะเวลา ที่ยาวนานแล้วก็ยังมีกิจกรรมที่ควรปฏิบัติ เพื่อสืบทอดความดีงามและคุณค่าของประเพณีวัน สงกรานต์ คือ การทาบุญตักบาตร การทาบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษ การสรงน้าพระ การรด นา้ ขอพร การเลน่ รดน้า และกิจกรรมรืน่ เรงิ อื่น ๆ กกกกกกก6. หัวเรื่องท่ี 6 วดั ยุคนั ธราวาส มสี าระสาคัญ ดังนี้ กกกกกกกก 6.1 ทตี่ ง้ั แผนท่ี และพกิ ดั ทางภมู ิศาสตร์ วดั ยคุ ันธราวาส ตั้งอย่เู ลขที่ 22 หมู่ที่ 7 ตาบลบางเลน อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบรุ ี และพกิ ดั ทางภูมศิ าสตร์ อย่ทู ี่ ละตจิ ดู 13.837159 ลองจจิ ดู 100.429580 กกกกกกกก 6.2 ประวตั คิ วามเป็นมาของวัดยุคนั ธราวาส

30 วัดยุคันธราวาส สนั นิษฐานวา่ สรา้ งข้นึ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2410 โดยพระบาทสมเด็จพระ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) และสมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) พระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจา้ อย่หู ัว (รัชกาลท่ี 4) ได้โปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมสรา้ งวัดราชประดษิ ฐส์ ถติ มหาสีมารามข้ึนที่ กรุงเทพมหานคร และมีวัสดุสัมภาระต่าง ๆ ที่เหลือจากการก่อสร้าง จึงนามาสร้างวัดยุคันธราวาส เดิมชื่อว่า วัดยุคันธร เป็นวัดปริวาสกรรม หรือวัดที่พระสงฆ์ต้องอาบัติสังฆาทิเสสทาตนให้บริสุทธิ์ ของพระสงฆ์ฝา่ ยธรรมยตุ ิกนิกาย ได้รบั พระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ. 2440 และภายในวัดมี พระแท่นท่ีประทับของรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพ่ือให้ราลึกถึงพระองค์ อกี ด้วย กกกกกกก 6.3 ความสาคญั ของวดั ยุคันธราวาส วัดยุคันธราวาส เป็นวัดเก่าแก่สร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2410 ปัจจุบันมีอายุรวม152 ปี สร้างโดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว (รชั กาลท่ี 4) และสมเด็จพระสงั ฆราช (สา ปุสฺสเทโว) และวัดยุคันธราวาส เป็นวัดหนึ่งใน 18 วัด ที่ได้รับพระราชทาน”พระนิรันตราย”จากรัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว กกกกกกก6.4 บคุ คลสาคัญท่เี กย่ี วข้องกับวัดยคุ นั ธราวาส บุคคลสาคัญที่เกี่ยวข้องกับวัดยุคันธราวาส พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี 4) และสมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) ได้โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมสร้างวัด ราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมารามข้ึนที่กรุงเทพมหานคร และเน่ืองจากมีวัสดุสัมภาระต่าง ๆ ท่ีเหลือจาก การก่อสร้างจานวนหนง่ึ จงึ นามาก่อสร้างวัดยุคันธราวาส และวัดยุคันธราวาสเป็นวัดที่ใช้ปริวาสของ พระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ในพระวินัย ปริวาส แปลว่า อยู่กรรม หรืออยู่ชดใช้ ซ่ึงพระสงฆ์ต้อง อาบัติสังฆาทิเสสแล้วปกปิดไว้จะต้องประพฤติ เป็นการลงโทษตนเองชดใช้ให้ครบเท่าจานวนวันที่ ปิดอาบัติ ทาตนให้บริสุทธิ์อยู่กรรมจึงจะพ้นได้ ระหว่างอยู่ปริวาสต้องประพฤติวัตรต่าง ๆ เช่น งดใช้ สทิ ธบิ างอย่าง ลดฐานะของตน และประจานตน และพระมหาบญุ ธาตุ ธัมมธโร เปน็ ตน้ กกกกกกก6.5 โบราณสถานและโบราณวัตถุของวดั ยคุ ันธราวาส วัดยุคันธราวาสมีโบราณสถาน คือ พระอุโบสถสร้างข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2410 และ โบราณวัตถุ คือ พระนริ ันตราย อนั หมายถงึ ปราศจากอนั ตรายนริ ันดร์ พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ทรงพระราชทานพระนามด้วยพระองค์เอง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั (รชั กาลที่ 5) จึงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้นายช่างทาการกะไหล่ทองทั้ง 18 องค์ให้แล้วเสร็จ และพระราชทานไปตามวัดคณะธรรมยุติกนิกาย จานวน 18 วัด ตามพระราช ประสงค์ของพระบรมราชชนก โดยวัดยุคันธราวาส ตาบลบางเลน อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี เป็น 1 ใน 18 วดั ทไ่ี ด้รับพระราชทานพระนิรันตราย

31 กกกกกกก 6.6 ประเพณีสาคัญ ประเพณีสาคัญของวัดยุคันธราวาส คือ ประเพณีสรงน้าพระนิรันตราย จัดขึ้นทุกวันท่ี 16 เมษายน ของทุกปี การสรงน้าพระเป็นพิธีกรรมที่พึงกระทาเป็นประจาทุกปีในวัน สงกรานต์ ซ่ึง “การสรงน้าพระ” ศาสนาพุทธ ใช้คาว่า ถวายเครื่องเถราภิเษก (สรงน้าพระ) หรือการ ทาความเคารพ ถ้า สรงน้าพระด้วยจิตศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย ผลบุญก็จะส่งผลให้เรา ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บและมีความสุขจิตใจผ่องใส สะอาดบริสุทธิ์ปราศจากมลทิน ทาให้อยู่เย็นเป็น สุขเป็นมงคลแก่ตนเองและ ครอบครัว รวมถึงแผ่ผลบุญให้แก่บรรพบุรุษ ญาติมิตร สรรพสัตว์และเจ้า กรรมนายเวรได้อีกด้วย โดยขั้นตอนการสรงน้าพระมี 2 ขั้นตอน คือ การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และ เตรยี มน้าโรยดอกไม้ น้าอบลงในขนั และเริม่ สรงนา้ พระพร้อมอธษิ ฐาน กกกกกกก7. หวั เรือ่ งท่ี 7 วิธีการทางภูมิศาสตร์ และประวัตศิ าสตร์ในการศกึ ษา วดั สวยงาม คนู่ ามบางใหญ่ 7.1. วธิ กี ารทางภูมิศาสตร์ ประกอบดว้ ย 4 ขน้ั ตอน ได้แก่ 7.1.1 การกาหนดวัตถุประสงค์ คือ การพัฒนาการคดิ วิเคราะหห์ าความสัมพนั ธ์ ความเชื่อมโยง เปรียบเทียบและให้ เหตผุ ลทางภูมศิ าสตร์ โดยเปิดโอกาส ให้นักศึกษาสืบคน้ รวบรวม ตีความสารสนเทศทางภมู ศิ าสตรจ์ ากแหลง่ สารสนเทศ ทางภูมศิ าสตรแ์ ละ ใชเ้ คร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ทเี่ หมาะสมประกอบด้วยธรณีภาค อุทกภาค บรรยากาศภาค และชีวภาค มี ผลต่อการเกิดปรากฏการณ์ ต่าง ๆ ทางธรรมชาติของโลก 7.1.2 การเก็บรวบรวมข้อมลู ดว้ ยการออกแบบปฏบิ ตั ิภาคสนามและสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการออกแบบปฏบิ ตั ภิ าคสนามและสัมภาษณ์ คือ การรวบรวมหลกั ฐานทีผ่ ู้ศึกษากาหนดประเดน็ ศึกษาได้แล้ว ขัน้ ตอ่ ไปคอื การสืบคน้ ว่ามใี ครรู้ เรื่องราวดังกลา่ วบา้ ง มหี นังสอื หรือเอกสารใดเก่ียวข้องบ้าง แหล่งสบื คน้ ขอ้ มลู อยทู่ ่ีใด ท้งั นีอ้ าจสบื ค้น ขอ้ มูลเบ้ืองต้นจากอินเตอรเ์ น็ต หรอื สมั ภาษณบ์ ุคคลในท้องถน่ิ การดาเนินงานเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนนิ การโดยการสังเกตและการสอบถาม 7.1.3 นาข้อมลู วิเคราะหแ์ ละจดั หมวดหมู่ นาข้อมลู วิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ คือเปน็ การศึกษาแบบรปู ความสมั พนั ธ์ และความเชอ่ื มโยงทีเ่ กดิ ขน้ึ ของปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนศกึ ษา แนวโนม้ ความสัมพนั ธ์ และความต่อเนื่องของปรากฏการณ์หาความสัมพันธส์ อดคล้อง ลักษณะท่ี คล้ายกนั ระหว่างพืน้ ท่ี เปรยี บเทียบกบั ข้อมูลจากแผนที่ กราฟ แผนภาพ ตาราง และอนื่ ๆ ดว้ ยการใช้ สถติ ิอยา่ งง่าย ๆ เพ่ือให้ได้คาตอบสาหรับคาถาม

32 7.1.4 นาเสนอข้อมลู และเขยี นรายงาน การนาเสนอข้อมูลและเขยี นรายงาน คือ การสรุปขอ้ มลู เพอ่ื หา คาตอบ การสรปุ คาตอบบนฐานขอ้ มลู ท่ถี ูกเก็บรวบรวม จัดการและการวเิ คราะห์อยา่ งเป็นขั้นตอน โดยอา้ งองิ ข้อมูล ด้วยการนาเสนอด้วยวาจา และข้อเขียน แสดงคาตอบที่แสดงออกถงึ ความสามารถ ในการให้เหตุผล และความสามารถในการส่ือสารที่ชดั เจน การนาเสนอขอ้ มลู อาจทาไดท้ ้ังอย่างไม่มี แบบแผนและอย่างมีแบบแผน การนาเสนออยา่ งไมม่ ีแบบแผน หมายถึง การนาเสนอท่ีไมม่ กี ฎเกณฑ์ อะไรท่จี ะตอ้ งถือเปน็ หลักมากนัก การนาเสนอแบบน้ไี ดแ้ ก่ การแทรกข้อมูลในบทความ และขอ้ เขยี น ต่าง ๆ สว่ นการนาเสนออยา่ งมีแบบแผนนนั้ เปน็ การนาเสนอทจี่ ะต้องปฏบิ ตั ิตามหลักเกณฑท์ ่ีได้ กาหนดไว้เปน็ มาตรฐาน การเขียนรายงานไดจ้ ากกการศึกษาคน้ คว้าตามระเบียบวธิ ีการเขียนรายงาน ทเ่ี ปน็ ระบบ มเี นื้อหาของรายงานมุ่งเสนอแตผ่ ลท่ีไดจ้ ากการศึกษา ค้นควา้ ไม่มกี ารต่อเติม สาหรับการประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีการศึกษาทางภูมิศาสตร์ใน การศึกษาวิธีทางภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ในการศึกษาวัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ให้ครูผู้สอน แนะนาผู้เรียนขั้นตอนการกาหนดประเด็นศึกษาแล้วให้ไปศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล โดยผู้เรียนต้อง ประยุกต์ใช้ด้วยการกาหนดวัตถุประสงค์ในการศึกษาประเด็นศึกษาท่ีกาหนด ต่อจากน้ันให้ไป ณ แหล่งเรียนรู้ในชุมชนหรือแหล่งเรียนรู้ที่ต้องศึกษา สัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้รู้ ภูมิปัญญา หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวบรวมข้อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์และจัดหมวดหมู่สรุปผลการศึกษาค้นคว้า และ บนั ทึกในเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เพ่ือนาไปพบกลมุ่ ตามทน่ี ัดหมายไว้กับครผู ู้สอน 7.2 วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ประกอบดว้ ย 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 7.2.1 การตัง้ ประเด็นทจ่ี ะศกึ ษา การตั้งประเด็นที่จะศึกษา เป็นการกาหนดหัวข้ออย่างกว้าง ๆ ก่อน แล้วตีกรอบให้แคบลง เป็นแนวทางที่นาไปสู่การสืบค้นข้อมูลจากหลักฐานประเภทต่าง ๆ เป็น เร่ืองราวที่เก่ียวข้องกับตนเองและครอบครัว หรือเกิดจากปัญหาที่พบเห็นในชุมชน หรือท้องถ่ินของ ตนเอง ตามประเด็นคาถามว่า “ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เม่ือไหร่ ทาไม และอย่างไร” ซ่ึงจะนาไปสู่วิธีการ สบื ค้นและแหลง่ ข้อมูลหลกั ฐานต่อไป 7.2.2 สืบค้นและรวบรวมขอ้ มูล การสืบค้นและรวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมข้อเท็จจริงท่ีเก่ียวข้อง กับประเด็นศึกษาท่ีเราต้องการสืบค้น โดยวิธีการสืบค้นข้อมูลทาได้หลายวิธี เช่น การสอบถาม การ สัมภาษณ์ การศึกษาวิเคราะห์เอกสารหรือหนังสือ การไปชมสถานท่ีจริง การรับฟังคาบรรยายจาก ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ การวเิ คราะห์จากรปู ภาพ แผนท่ี กราฟ สถิติ

33 7.2.3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวตั ศิ าสตร์ การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือ การนาข้อมูลมา จัดให้เป็นระบบแล้วแล้วจึงนาหลักฐานข้อมูลน้ันมาศึกษาอย่างละเอียดถี่ถ้วน และพิจารณาความ น่าเชอ่ื ถือของข้อมลู เหลา่ น้ัน เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ เท็จจริง ท่ีน่าเช่ือถือและได้รับการยอมรับมากที่สุด สามารถ ตอบประเด็นปญั หาหรือครอบคลุมหัวขอ้ ในการศึกษาได้ โดยปราศจากอคติและมีความซื่อสัตย์ในการ ตคี วามหลักฐาน 7.2.4 การคดั เลือกและประเมนิ ข้อมลู การคัดเลือกและประเมินข้อมูล คือ การประเมินความสาคัญของ ขอ้ มูลหรอื หลักฐาน โดยการประเมินความสาคัญของข้อมูลแต่ละชิ้นที่คัดเลือกมาว่า มีความน่าเช่ือถือ ที่แท้จริงเพียงไร มีอคติในข้อมูลหรือหลักฐานนั้นหรือไม่ และข้อมูลหรือหลักฐานนั้นมีความสาคัญ เพียงพอต่อการนามาอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตหรือไม่ ทั้งน้ีผู้ศึกษาต้องทาการวิเคราะห์ ตีความ และประเมินข้อมูลหรือหลกั ฐานน้ัน ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ 7.2.5 การเรียบเรยี งรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ การเรียบเรียงรายงานข้อเทจ็ จรงิ ทางประวัติศาสตร์ คือ ข้ันสุดท้ายของ วิธีการทางประวัติศาสตร์ การเรียบเรียงเป็นการนาส่ิงที่ได้ศึกษามา วิเคราะห์ และตีความ แล้วนามา เรยี บเรียงขึ้นด้วยภาษาที่เขา้ ใจงา่ ย มีความตอ่ เนือ่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผลกนั วิธีการนาเสนอท่ีเหมาะสม เช่น การเรียงลาดับเหตุการณ์ก่อน - หลัง เพ่ือให้เข้าใจง่าย รวมทั้งมีการวิเคราะห์และสรุปประเด็นให้ ชัดเจน มีการอ้างอิงหลักฐาน ผู้ศึกษาจะต้องบอกท่ีมาของหลักฐานหรือแหล่งข้อมูลอย่างถูกต้อง เพอื่ ให้สามารถตรวจสอบได้ กล่าวโดยรวมวิธีการประวัติศาสตร์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ (1) การตั้งประเด็นที่จะศึกษา (2) สืบค้นและรวบรวมข้อมูล (3) การวิเคราะห์และการตีความข้อมูล ทางประวัติ ศาสตร์ (4) การคดั เลอื กและประเมนิ ขอ้ มลู และ (5) การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทาง ประวัติ ศาสตร์ สาหรับการประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ให้ครูผู้สอนแนะนาผู้เรียนในขั้นตอนการกาหนดประเด็นศึกษา แล้วให้ไป ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล โดยผู้เรียนต้องประยุกต์ใช้วิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์กับ ข้อมูลท่ีค้นคว้าได้ ต่อจากน้ันให้ผู้เรียนคัดเลือกและประเมินข้อมูล นามาเปรียบเทียบสรุปผล การศึกษาค้นคว้าลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) เพ่ือนาไปพบกลุ่มตามที่นัดหมายไว้กับ ครผู ้สู อน กก

34 กกกกกกก8. หวั เร่อื งที่ 8การสืบสานและการอนรุ กั ษ์ วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ 8.1 การสืบสานและอนุรักษด์ ้วยการทาแผ่นพับเผยแพร่ 8.1.1 ความหมายของแผ่นพบั ความหมายของแผ่นพับ คือ แผ่นกระดาษท่ีใช้พิมพ์ภาพ ข้อความ และ องค์ประกอบอื่น เพื่อใช้ในการเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ในการโฆษณา ลักษณะเป็นใบ แล้วพับ ทบไปมา พับได้มากกว่าหน่ึงคร้ังข้ึนไป มีขั้นตอนที่ซับซ้อนกว่าใบปลิว วิธีการพับมีหลายแบบ เช่น พบั ทบกันไปมาเทา่ กนั ทุกด้านพับไม่เท่ากันทุกด้านรูปแบบของแผ่นพับจะเป็นกระดาษแผ่นเดียวพิมพ์ ทง้ั 2 ด้าน แล้วพับอย่างน้อย 1 พับ รปู แบบท่นี ยิ มทีส่ ดุ คือ เป็นกระดาษขนาด A4 แล้วพับ 2 ครั้ง 8.1.2 องค์ประกอบของแผ่นพับ แผน่ พับประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบ คือ (1) พาดหวั มกั เปน็ ตวั อกั ษรท่ี ใหญห่ รืออยู่ ในตาแหนง่ ท่เี ด่นอยู่ดา้ นหนา้ ของแผน่ พบั และนิยมวางไวใ้ นส่วนบนของหน้าแผ่นพับเป็น ข้อความสั้น ๆ เข้าใจง่าย (2) ภาพประกอบมักวางอยหู่ น้าเดยี วกับพาดหวั (แต่ไมจ่ าเปน็ ต้องมีค่กู ัน เสมอ) เปน็ ภาพทีจ่ ะช่วยดงึ ความสนใจของผู้อา่ น ตามข้อความ อาจมีภาพประกอบเลก็ ๆ เพือ่ ใช้ ประกอบเนือ้ หา (3) ข้อความ เนอื่ งจากพื้นที่มีจากัดขอ้ ความเน้อื หาจงึ มักมีขนาดเล็ก แต่ไมค่ วรเลก็ กว่า 12 พอยต์ ควรใชต้ วั อกั ษรสีเข้มบนพื้นสีออ่ น การวางข้อมูลต้องคานึงถงึ ลาดบั การอา่ นให้ถกู ต้อง และ (4) ภาพสินค้า และตราสัญลักษณ์ ภาพสินคา้ อาจนามาเป็นภาพประกอบในหนา้ แรกของแผน่ พบั ได้ หากภาพสนิ ค้าไม่ใช่ภาพหลกั ควรมภี าพสินคา้ อยู่ในแผน่ พับดว้ ย ตราสัญลักษณ์ควรอยูท่ ่ี ดา้ นหน้าแผน่ พบั รวมกับพาดหวั หรอื ภาพประกอบหลกั ควรมตี ราสัญลกั ษณใ์ นตอนทา้ ยของแผ่นพบั ด้วยเพื่อเป็นการย้าเตือนถงึ สินค้า 8.1.3 ข้นั ตอนการทาแผน่ พับดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ขัน้ ตอนการทาแผ่นพับด้วยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์มี 3 ขัน้ ตอน คอื (1) เขา้ โปรแกรม Microsoft OfficeWord เลอื กไปท่ีเค้าโครงหน้ากระดาษ ปรับแนวกระดาษเป็น แนวนอน โดยคลกิ ที่คาสัง่ การวางแนวกระดาษเสร็จแลว้ คลกิ คาสงั่ คอลมั น์เลือกไปที่ 3 คอลมั น์ (2) เตรยี มเนือ้ หาและรปู ของเนื้อหาใหเ้ รียบร้อย แล้วนามาใส่ในหนา้ กระดาษท่ีเราแบ่งคอลัมน์ไวแ้ ล้ว โดยเรยี งเนื้อตามหนา้ กระดาษแรกและหน้ากระดาษทส่ี อง และ (3) แทรกรปู ภาพตา่ ง ๆ หรือตาราง ในแผ่นพบั ให้เราคลิกที่คาสั่งแทรกแลว้ จะมีคาส่งั ให้เลือกรูปลงได้

35 8.2. การสืบสานและอนุรักษ์ด้วยการทาคลิปวดี ิทัศน์ (Video) เผยแพร่ 8.2.1 ความหมายคลิปวดี ทิ ัศน์ (Video) คลปิ วดี ทิ ัศน์ (Video) คือ ไฟล์คอมพิวเตอร์ทบ่ี รรจเุ นอ้ื หาเป็นภาพยนตร์ แบบส้นั ๆ มักจะตัดต่อมาจากภาพยนตร์ทัง้ เรื่อง ซึ่งมีขนาดความยาวปกติ คลปิ มกั จะเป็นส่วนที่ สาคญั หรอื ต้องการนามาแสดง เช่น มคี วามขบขนั หรืออาจเปน็ เรื่องความลับที่ตอ้ งการนามาเผยแพร่ จากต้นฉบับเดิมเปน็ ต้น แหลง่ ของคลปิ วดี ทิ ัศน์ (Video) ไดแ้ ก่ ข่าว มวิ สิค วิดโี อ รายการโทรทศั น์ หรือภาพยนตรโ์ ดยคลปิ วดี ิทัศน์ (Video) จะเป็นไฟล์ทมี่ รี ปู แบบการบีบอัดข้อมลู ท่ีแตกต่างกันไปตาม โปรแกรมที่ผูผ้ ลติ สรา้ งขน้ึ มา ปจั จุบันมกี ารใช้คลิปวดี ทิ ัศน์ (Video) แพร่หลาย เน่อื งจากไฟล์คลิปน้ีมี ขนาดเลก็ สามารถส่งผ่านอเี มล์ หรอื ดาวน์โหลดจากเวบ็ ไซตไ์ ด้สะดวก ในประเทศตะวันตกเรยี กการ แพร่หลายของคลปิ วีดทิ ัศน์ (Video) นวี้ า่ วัฒนธรรมคลปิ (Clip Culture) กกกกกก ก 8.2.2 องค์ประกอบคลิปวีดิทัศน์ (Video) องค์ประกอบของคลิปวดี ีทศั น์ (Video) ประกอบดว้ ย 5 องค์ประกอบ คือ (1) ข้อความหรือตัวอักษร (Text) ข้อความหรือตัวอักษรถือว่าเปน็ องคป์ ระกอบพน้ื ฐานท่ีสาคัญ ของมลั ติมีเดยี (2) ภาพนิง่ (Still Image) ภาพนงิ่ เปน็ ภาพท่ีไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถา่ ย ภาพวาด และภาพลายเส้น (3) ภาพเคลอื่ นไหว (Animation) หมายถึง ภาพกราฟกิ ท่ีมีการเคลอื่ นไหว เพอื่ แสดงข้ันตอนหรอื ปรากฏการณต์ ่าง ๆ ที่เกดิ ขึน้ อย่างต่อเน่ือง (4) เสยี ง (Sound) เสียงจะถูก จดั เกบ็ อยู่ในรปู ของสัญญาณดิจิตอล ซง่ึ สามารถเล่นซ้ากลับไป กลบั มาได้ และ (5) ภาพวดี ิโอ (Video) วีดิโอเปน็ องคป์ ระกอบของมัลติมีเดียทม่ี ีความสาคัญโดยสามารถนาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพน่ิงหรือภาพเคล่ือนไหว) ประกอบกบั เสียงได้สมบรู ณม์ ากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่น ๆ กกกกกกก 8.2.3 ขนั้ ตอนการทาคลิปวีดิทัศน์ (Video) การทาคลปิ วีดทิ ัศน์ (Video) ดว้ ยสมาร์ทโฟน (Smart Phone) โดยใช้ระบบแอปพลเิ คช่ัน ViVa Vidao ซงึ่ สามารถใช้ไดก้ บโทรศัพท์ทัง้ 2 ระบบ คอื (1) ระบบปฏิบตั ิการแอนดรอย์ (Android) และ (2) ระบบปฏบิ ตั ิการไอโอเอส (IOS) โดยมีขน้ั ตอน การตดั ต่อวีดโิ ออยา่ งง่าย มี 7 ขัน้ ตอน ดงั น้ี (1) เปดิ หนา้ จอโทรศัพท์ (2) เลอื กโปรแกรมดาวโ์ หลด แอปพิเคชัน่ พิมพ์คาวา่ ViVa Video แล้วกด ดาวนโ์ หลดติดตง้ั โปรแกรม ViVa Video (3) กดเข้าโปรแกรม ViVa Video กดเลอื กปุ่มตดั ต่อวิดีโอ ((4) กดเลือกไฟลว์ ิดีโอ ทต่ี อ้ งการตัดต่อ หน้าจอทต่ี ดั ต่อคลิปวดิ โี อจะแสดงด้านลา่ งของหน้าจอ (5) ถา้ ต้องการเพม่ิ ไฟลว์ ิดโี อท่ี 2

36 ใหเ้ ลือกปุ่มเพิ่ม (6) ถ้าตอ้ งการตดั วดิ โี อท่ีให้เลอื กป่มุ ตดั ไฟล์วดิ โี อ ไดต้ ามต้องการ (7) เม่อื ตัดตอ่ ไฟล์ วิดโี อไดต้ ามต้องการ ใหก้ ดป่มุ play video

37

38

37 แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ รายวิชา สค33162 วัดสวยงาม คู่นามบางใหญ่ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สาระ การพฒั นาสังคม จานวน 20 ชัว่ โมง หัวเร่อื งที่ 1 วัดปรางค์หลวง สถานทจ่ี ัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ กศน.ตาบลบางใหญ่ กศน.ตาบลบา้ นใหม่ กศน.ตาบลเสาธงหิน กศน.ตาบลบางแมน่ าง กศน.ตาบลบางเลน กศน.ตาบลบางม่วง และศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย อาเภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี ชือ่ ครูผูส้ อน/วิทยากร/ภูมิปญั ญา 1. ………………………………………………………………………….. 2. ………………………………………………………………………….. 3. ………………………………………………………………………….. 4. ………………………………………………………………………….. 5. ………………………………………………………………………….. 6. ………………………………………………………………………….. 7. ………………………………………………………………………….. 8. ………………………………………………………………………….. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสาคัญเก่ียวกับ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถ นามา ปรับใชใ้ นการดารงชีวิต มาตรฐานท่ี 5.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คุณค่า และสบื ทอดศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี เพอ่ื การอย่รู ว่ มกนั อย่างสนั ติสุข

38 ตัวช้วี ดั 1. สามารถจัดทาพิกดั ทางภูมิศาสตร์ของวดั ปรางคห์ ลวงได้ 2. บอกประวตั คิ วามเปน็ มาของวดั ปรางค์หลวงได้ 3. อธบิ ายความสาคัญของวัดปรางค์หลวงได้ 4. บอกรายละเอยี ดของบคุ คลสาคัญทีเ่ กี่ยวข้องกบั วดั ปรางค์หลวงได้ 5. บอกความแตกต่างระหวา่ งโบราณสถาน และโบราณวตั ถุของวดั ปรางคห์ ลวงได้ 6. บอกการปฏิบตั ิตนเมื่อเขา้ รว่ มประเพณีที่สาคญั ของวดั ปรางคห์ ลวงทจี่ ดั ข้ึนได้ 7. เห็นคณุ ค่าความสาคญั ของวัดปรางค์หลวง จดุ ประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจัดทาพกิ ัดทางภมู ิศาสตรข์ องวัดปรางคห์ ลวงได้ (K นาไปใช้) 2. เพ่อื ให้ผเู้ รยี นบอกประวัติความเป็นมาของวัดปรางคห์ ลวงได้ (K จา) 3. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนอธิบายความสาคญั ของวัดปรางค์หลวงได้ (K เขา้ ใจ) 4. เพ่ือให้ผู้เรยี นบอกรายละเอยี ดของบุคคลสาคัญท่ีเกีย่ วข้องกบั วดั ปรางคห์ ลวงได้ (K จา) 5. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนบอกความแตกตา่ งระหว่างโบราณสถาน และโบราณวัตถขุ องวดั ปรางคห์ ลวงได้ (K วิเคราะห์) 6. เพื่อใหผ้ ้เู รยี นบอกการปฏิบัติตนเม่ือเข้ารว่ มประเพณีทีส่ าคัญของวัดปรางค์หลวงที่จัดข้นึ ได้ (K นาไปใช้) 7. เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนเหน็ คุณค่าความสาคญั ของวดั ปรางค์หลวง (A) 8. เพื่อให้ผ้เู รียนเกดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ (A คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์) 9. เพื่อให้ผู้เรยี นเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ (A คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์) สาระสาคัญ กกกกกกกหวั เรอื่ งที่ 1 วัดปรางคห์ ลวง มีสาระสาคญั ดังน้ี กกกกกกก1. ท่ตี ง้ั แผนท่ี และพกิ ดั ทางภมู ศิ าสตร์ วดั ปรางคห์ ลวง ตงั้ อยเู่ ลขท่ี 32 หมทู่ ี่ 1 ตาบลบางม่วง อาเภอบางใหญ่ จงั หวดั นนทบรุ ี ต้งั อยรู่ ิมถนนกาญจนาภิเษก มีพกิ ัดทางภมู ิศาสตร์ อยูท่ ล่ี ะติจูด 13.8340004 ลองจิจูด 100.422618 มคี ลองอ้อมนนท์อยทู่ างด้านทิศตะวนั ออก และมีคลองบางมว่ งอยทู่ างทศิ เหนือ มีพน้ื ที่ 1 ไร่ 3 งาน 15 ตารางวา

39 กกกกกกก2. ประวัตคิ วามเป็นมาของวดั ปรางคห์ ลวง กกกกกกกวดั วัดปรางคห์ ลวง สรา้ งขน้ึ เม่อื ประมาณปี พ.ศ.1904 ในสมยั ของพระรามาธิบดที ี่ 1 หรือ สมเดจ็ พระเจ้าอู่ทองแหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยาตอนตน้ โดยกษตั ริย์หรอื ผู้มีบรรดาศักดใ์ิ นสมยั น้นั เป็นผู้สรา้ ง เดมิ ช่ือ วัดหลวง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ได้เสด็จมาทอดพระเนตรองค์ พระปรางคข์ องวัดหลวง ทีส่ รา้ งข้ึนไว้พร้อมกับการสรา้ งวดั จึงได้เปลี่ยนนามวดั จาก วัดหลวง เปน็ วัดปรางค์หลวง ตามลักษณะพระปรางคซ์ ง่ึ เป็นปชู นียสถานสาคญั ของวัด เจ้าอาวาสรปู ปจั จุบนั คอื พระครูปลดั คณุ วฒั น์ (อานนท์ เขมทตฺโต) กกกกกกก3. ความสาคญั ของวดั ปรางค์หลวง วัดปรางค์หลวง เป็นวัดท่ีมีอายุเก่าแก่ที่สุดในอาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรีมี โบราณสถาน ได้แก่ พระปรางค์มีรูปแบบศิลปกรรมสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ลักษณะองค์ พระปรางคก์ อ่ อฐิ แบบแถวสน้ั สลับด้านยาว และสออิฐด้วยดนิ ผสมยางไม้ สูงยอดเจ็ดช้ัน ย่อมุมไม้ยี่สิบ ประดบั ลายปนู ปน้ั และมีพระวิหารน้อย ลักษณะเป็นอาคารไม้ อิฐถือปูน 2 หลัง และโบราณวัตถุ คือ หลวงพ่ออู่ทอง เป็นพระพุทธรูปปูนป้ันปางมารวิชัยลงรักปิดทอง หน้าตักกว้าง 9 คืบ หรือ 225 เซนตเิ มตร มคี วามศกั ด์ิสทิ ธิ์และเป็นทเ่ี คารพสักการะของประชาชนในชุมชน และได้ขึ้นทะเบียน กรมศิลปากรเป็นโบราณสถานแห่งชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 110 ตอนที่ 175 วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2536 กกกกกกก4. บุคคลสาคัญท่ีเกยี่ วข้องกบั วดั ปรางค์หลวง กกกกกกกกก บคุ คลสาคัญที่เก่ียวของกับวัดปรางค์หลวง ได้แก่ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส ได้เสด็จมาทอดพระเนตรองค์พระปรางค์ของวัดหลวงจึงทรงเปลี่ยนนามวัดจาก วัดหลวง เป็น วัดปรางค์หลวง และพระครูปลัดคุณวัฒน์ (อานนท์ เขมทตฺโต) เกิดเมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม พ.ศ. 2520 อุปสมบทเม่ือวันท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 ปัจจุบันดารงตาแหน่ง เจ้าอาวาสวัดปรางค์ ตาบลบางม่วง อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรีกผลงานที่สาคัญ สร้างศาลาอเนกประสงค์ หน้าพระ อุโบสถหลังเก่า บูรณะศาลาการเปรียญให้สูงข้ึน และจัดกิจกรรมสวนมนต์ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ รชั กาลท่ี 9 และรชั การท่ี 10 ทุกวนั จันทรเ์ ปน็ ประจากกก 5. โบราณสถานและโบราณวัตถขุ องวัดปรางคห์ ลวง วัดปรางค์หลวงมีโบราณสถานสาคัญ ได้แก่ พระปรางค์ ซึ่งเป็นศิลปกรรมสมัยกรุงศรี อยธุ ยาตอนต้น มลี ักษณะก่ออฐิ แบบแถวสั้นสลับด้านยาว และสออฐิ ด้วยดินผสมยางไม้ สูงยอดเจ็ดชั้น ย่อมุมไม้ย่สี บิ ประดบั ลายปูนปัน้ เรือนธาตุมีซุ้มจระนาทั้ง 4 ทิศ ประดิษฐานพระพุทธรูปยืนปูนปั้นลง รักปิดทอง และพระวิหารน้อย เป็นอาคารขนาดเล็กก่อด้วยอิฐ ลักษณะของอาคารแต่ละหลังมีผังรูป สเี่ หลยี่ มผืนผา้ ประกอบด้วย อาคาร 2 หลงั อาคารหลังเล็กตั้งอยู่ด้านหน้า และอาคารหลังใหญ่ต้ังอยู่ ด้านหลัง ด้านหน้ามีมุขย่ืนออกมาคล้ายระเบียง อาคารทั้ง 2 หลัง มีประตูทางเข้าเพียงทางเดียว

40 ลักษณะในการก่อสร้างใช้ระบบผนังรองรับเครื่องบน ไม่มีคาน ไม่มีเสา หลังคามุงกระเบื้องดินเผา และวัดปรางค์หลวงมีโบราณวัตถุสาคัญ ได้แก่ หลวงพ่ออู่ทอง เป็นพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูนปิดทอง ปางมารวิชยั หน้าตักกวา้ ง 9 คืบ หรือ 225 เซนติเมตร หลวงพ่ออู่ทองได้รับการซ่อมแซม โดยฝีมือช่าง ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จนเปล่ียนแปลงไปจากแบบเดิม แต่ยังมีเค้าร่องรอยของพระพุทธรูปในสมัย กรุงศรีอยุธยาตอนต้น พุทธลักษณะงดงาม อีกท้ังหลวงพ่ออู่ทองยังเป็นพระพุทธรูปท่ีประชาชนใน ชมุ ชนนบั ถือเปน็ อย่างมาก และใบเสมา วดั ปรางคห์ ลวง มใี บเสมาอยู่ภายในเขตกาแพงแก้วปักอยู่ตาม ตาแหน่งต่าง ๆ รอบพระอุโบสถจานวน 4 แห่ง คือ บริเวณด้านหลังของพระอุโบสถ 3 แห่ง และ ตรงกลางด้านทิศตะวันตกของพระอุโบสถ ใบเสมามีขนาดใหญ่ทาจากหินชนวน ประชาชนในชุมชน เรียกว่า หินกาบ ไม่มีลวดลาย ใบเสมาที่มีสภาพสมบูรณ์เหลือเพียง 1 ใบ ตั้งอยู่ท่ีด้านหน้าของ พระอุโบสถ กกกกกกก6. ประเพณีสาคัญของวัด ประเพณสี าคัญของวดั ปรางค์หลวง ไดแ้ ก่ ประเพณีตักบาตรเทโว เป็นประเพณีของชาว พุทธที่ได้ร่วมใจกันทาบุญตักบาตรสืบทอดกันมา ถือเอาวันหลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจาก ดาวดึงส์ หรือเทวโลกมาสู่โลกมนุษย์ ในวันมหาปวารณา คือ วันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 พอวันรุ่งขึ้น แรม 1 ค่า เดือน 11 ชาวพุทธก็จะตักบาตรเทโวเป็นประเพณีมาแต่คร้ังโบราณ มีข้ันตอนการปฏิบัติ คือ เตรยี มอาหารเพือ่ ตกั บาตรเปน็ พเิ ศษ เช่น ข้าวต้มมัด ขา้ วต้มลูกโยน การอาราธนาศีล สมาทานศีล รกั ษาศลี ฟังธรรมเทศนา ทาสมาธิ แผเ่ มตตา และกรวดน้าอทุ ศิ ส่วนกศุ ลให้กบั ญาติสนิทผู้ล่วงลับ และ สรรพสัตว์ท้ังหลาย และประเพณีการทาบุญตักบาตรพระ 108 ทางน้า เป็นประเพณีหลังวัน ออกพรรษาเรมิ่ ในวันแรม 8 ค่า เดือน 12 ซ่งึ ถอื วา่ เป็นวนั ทาบญุ ที่แท้จริง พิธีจะเร่ิมตั้งแต่ช่วงบ่ายของ วันแรม 7 ค่า เดือน 12 วัดตามริมคลองจะมีการแห่พระพุทธรูปท่ีมีชื่อเสียงของแต่ละวัดแห่ไปตามลา น้า โดยการจัดขบวนแห่อย่างสวยงามมีการราประกอบ การจัดขบวนแห่เพื่อประกาศให้ประชาชนได้ ทราบท่ัวกันว่าจะมีพิธีทาบุญตักบาตรพระ 108 ขึ้นในวันรุ่งข้ึน คือ วันแรม 8 ค่า เดือน 12 เป็น ประเพณีท่ีปฏบิ ัติกนั มาอยา่ งช้านาน ในอาเภอบางกรวย และอาเภอบางใหญ่ ชิน้ งาน ภาระงาน กกกกกกกช้ินงาน ไดแ้ ก่ เอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) สาระการเรยี นรู้ กกกกกกก1. ทีต่ ั้ง แผนที่ และพกิ ัดทางภูมศิ าสตร์ กกกกกกก2. ประวัตคิ วามเปน็ มาของวัด กกกกกกก3. ความสาคัญของวัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook