Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อำเภอสามพราน

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อำเภอสามพราน

Published by Suvalai S, 2020-04-29 04:57:44

Description: แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อำเภอสามพราน

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.อาเภอสามพราน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสามพราน สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั นครปฐม สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

สำนักงำนปลดั กระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร กำรอนุมตั ิแผนปฏบิ ัตกิ ำรประจำปีงบประมำณ 2563 ศูนยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั อำเภอสำมพรำน เพอื่ ใหก้ ารส่งเสริมการจัดการศกึ ษาบรรลุเปา้ ประสงค์ตามยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การ ดาเนินงาน สานักงาน กศน. และของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสาม พราน จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อาเภอสามพราน ซ่ึง ประกอบด้วย ข้อมูลพืน้ ฐานของ กศน. อาเภอ ข้อมลู พืน้ ฐานเพอื่ การวางแผน ทศิ ทาง การ ดาเนินงาน รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ของ กศน. อาเภอสามพราน ซึ่งคณะกรรมการ กศน. อาเภอ ไดพ้ ิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อาเภอสามพราน และได้นาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังกล่าว ใช้ เปน็ กรอบในการดาเนนิ งานของ กศน. อาเภอสามพรานต่อไป ทง้ั น้ี ตง้ั แต่ เดอื น ตุลาคม 2562 ลงช่อื .....................................................ผเู้ ห็นชอบ (พระเทพศาสนาภิบาล) เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ พระอารามหลวง รองเจา้ คณะจังหวดั นครปฐม ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา ลงชอื่ ……….……...............…………………………...…ผูอ้ นมุ ตั ิ (นายสมมาตร คงชืน่ สนิ ) ผู้อานวยการ กศน. อาเภอสามพราน

คำนำ แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อาเภอสามพราน จัดทาข้ึนเพ่ือเป็น แนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม และยุทธศาสตร์และจุดเน้น การดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่เพ่ือกาหนดเป็นแนวปฏิบัติและแนวทางในการดาเนินงาน กศน. อาเภอสามพราน ให้เป็นไปตามเป้าหมายทตี่ ง้ั ไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อาเภอสามพราน เล่มนี้ สาเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เก่ียวข้องร่วมกันระดมความคิดเห็น โดย นาสภาพปัญหาและผลการดาเนินงานมาปรับปรุงเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน. อาเภอสามพราน เพือ่ สนองตอบความตอ้ งการของประชาชนใน พื้นท่ีอยา่ งแทจ้ รงิ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน. อาเภอสามพราน เล่มนี้ จะเป็นแนวทางในการดาเนินงานของบุคลากรและผู้เก่ียวข้อง เพ่ือให้การจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และมีคุณภาพตาม เป้าหมาย ตลอดจนเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้มสี ่วนเกีย่ วข้อง ประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศชาตติ อ่ ไป กศน. อาเภอสามพราน ตุลาคม 2563

บทสรปุ ผู้บริหาร ในการจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ 2563 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสามพราน กศน.อำเภอสำมพรำน เป็นสถำนศึกษำที่จัดกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย โดยมีระบบประกันคุณภำพภำยใน ท่ีใช้หลักกำรบริหำร และปฏิบัติงำนตำมวงจรคุณภำพ PDCA รองรับ กระบวนกำรดำเนินงำนทตี่ ้องมีแผนปฏิบัติงำนทช่ี ัดเจน บคุ ลำกร คณะกรรมกำรสถำนศึกษำมีส่วนรว่ มคิด รว่ มทำ และรว่ มรับผิดชอบ กศน.อำเภอสำมพรำน ได้จัดทำแผนปฏิบัติกำรประจำปี 2563 โดยกำรประชุมบุคลำกร เพื่อ วิเครำะห์นโยบำยสำคัญท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ นโยบำยกระทรวงศึกษำธิกำร ยุทธศำสตร์และจุดเน้นกำร ดำเนินงำน สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย สำนักงำนส่งเสริม กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั จงั หวดั นครปฐม ยุทธศำสตร์จงั หวัดนครปฐม พรอ้ มท้ังได้ นำข้อเสนอแนะจำกกำรประเมินคุณภำพภำยนอกรอบสำม ของ สมศ. ผลกำรประเมินคุณภำพ สถำนศึกษำโดยต้นสังกัด และผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำในปีงบประมำณ 2562 เป็นข้อมูล สำรสนเทศในกำรพัฒนำและปรับปรุงผลกำรดำเนินงำน ภำยใต้ทิศทำงกำรดำเนินงำนของแผนพัฒนำ คุณภำพกำรศึกษำ ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอำเภอสำมพรำน พ.ศ. 2562 – 2565 ดังนี้ ปรชั ญา เรยี นร้ตู ลอดชวี ติ คิดเป็น เน้นพอเพียง วิสยั ทัศน์ ภำยในปี 2565 ผู้เรียน และผู้รับบริกำรของ กศน. อำเภอสำมพรำน ได้รับบริกำร กำรศึกษำตลอดชีวิตที่มีมำตรฐำน สำมำรถดำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง โดย กำรจัดกำรเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีกำรบริหำรงำนแบบมีส่วนร่วม ของภำคีเครือข่ำย ชุมชน เกิดสังคมแห่งเรยี นรอู้ ย่ำงทว่ั ถงึ และเท่ำเทียมกัน อัตลักษณ์ เรียนรู้ มจี ติ อำสำ เอกลกั ษณ์ องค์กรแห่งกำรเรียนรู้

พันธกิจ 1. จดั กำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยให้ผู้เรยี น และผรู้ บั บริกำร มี มำตรฐำน และสำมำรถดำเนินชีวิตตำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. พฒั นำกระบวนกำรจดั กำรเรียนรู้ และส่อื กำรเรียนรู้ ท่ีส่งเสรมิ กำรเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญ 3. พัฒนำครผู ้สู อนใหม้ ีควำมรู้ ทกั ษะในกำรออกแบบ กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนร้ทู เ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั 4. พฒั นำหลกั สูตรกำรจดั กำรศึกษำให้มีคุณภำพสอดคลอ้ งกับควำมต้องกำร และกำร เปล่ียนแปลงของสังคม 5. พัฒนำระบบบริหำรจดั กำรให้มีประสทิ ธภิ ำพ โดยยดึ หลักธรรมำภบิ ำล และกำรมี ส่วนร่วมของภำคเี ครือข่ำย ชุมขน 6. สง่ เสริมให้ภำคีเครือข่ำย ชมุ ชน ร่วมจดั กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำม อัธยำศยั 7. รวบรวมองค์ควำมรใู้ นท้องถ่ิน และเผยแพรป่ ระชำสัมพันธ์สชู่ มุ ชน

เป้าประสงค์ พันธกจิ เป้าประสงค์ 1. จัดกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำม 1. ผ้เู รียนและผรู้ ับบรกิ ำรมีควำมรู้ ทกั ษะ และมี อธั ยำศัยใหผ้ ้เู รียน และผู้รบั บรกิ ำร มีมำตรฐำน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตำมมำตรฐำนที่ และสำมำรถดำเนนิ ชีวิตตำมหลักปรัชญำของ สถำนศกึ ษำกำหนด เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. พฒั นำกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ และสอื่ กำร 2. ผู้เรียนมที ักษะกำรแสวงหำควำมรู้ เรียนรู้ ท่ีส่งเสริมกำรเรยี นรูท้ เ่ี นน้ ผู้เรียนเปน็ กระบวนกำรคดิ และสำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ สำคัญ ตอ่ กำรพฒั นำตนเองไดอ้ ยำ่ งต่อเน่อื ง 3. พัฒนำครผู สู้ อนให้มีควำมรู้ ทกั ษะในกำร 3. ครูผ้สู อนมคี วำมรู้ ทกั ษะในกำรออกแบบกำร ออกแบบ กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรียน จดั กิจกรรมกำรเรียนรูท้ เี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญได้ เปน็ สำคญั อย่ำงมีคุณภำพ 4. ครูผสู้ อนมีควำมรู้ ทกั ษะในกำรจัดกจิ กรรม 4. พฒั นำหลักสูตรกำรจัดกำรศกึ ษำให้มคี ณุ ภำพ กำรเรียนร้ทู ี่เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญได้อยำ่ งมี สอดคล้องกบั ควำมตอ้ งกำร และกำรเปล่ียนแปลง คณุ ภำพ ของสังคม 5. หลักสตู รกำรจดั กำรศกึ ษำมีคณุ ภำพสอดคลอ้ ง 5. พฒั นำระบบบริหำรจดั กำรใหม้ ีประสิทธภิ ำพ กบั ควำมต้องกำร และกำรเปล่ยี นแปลงของสังคม โดยยึดหลักธรรมำภบิ ำล และกำรมสี ว่ นรว่ มของ ภำคเี ครอื ขำ่ ย ชมุ ขน 6. สถำนศึกษำมรี ะบบบรหิ ำรจดั กำรตำมหลัก 6. สง่ เสรมิ ใหภ้ ำคเี ครือข่ำย ชุมชน ร่วมจดั กำร ธรรมำภิบำล ศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั 7. รวบรวมองค์ควำมรู้ในท้องถ่ิน และเผยแพร่ 7. ภำคีเครือข่ำย ชมุ ชน ร่วมจดั กำรศึกษำนอก ประชำสัมพนั ธ์สูช่ มุ ชน ระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศยั 8. สถำนศกึ ษำเปน็ องคก์ รแห่งกำรเรยี นรู้ กลยทุ ธ์ 1. พัฒนำคณุ ภำพผู้เรียน 2. พฒั นำบุคลำกร 3. กำรบริหำรจัดกำร โดยในแต่ละกลยุทธ์ได้กำหนดวตั ถปุ ระสงค์กลยทุ ธไ์ วด้ ังนี้

โครงการทีบ่ รรจุในแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ 2563 1. โครงกำรจัดกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศกึ ษำขัน้ พ้ืนฐำน 2. โครงกำรจดั กำรศึกษำนอกระบบระดบั กำรศึกษำข้นั พืน้ ฐำนสำหรบั คนพิกำร 3. โครงกำรพัฒนำคุณภำพผเู้ รียน 4. โครงกำรจัดหำหนังสือเรยี น 5. โครงกำรกำรประเมินเทยี บระดบั กำรศึกษำ 6. โครงกำรส่งเสรมิ กำรศึกษำนอกระบบ 7. โครงกำรสง่ เสริมกำรร้หู นังสือ 8. โครงกำรกำรศึกษำเพอ่ื พัฒนำทักษะชีวติ 9. โครงกำรกำรศึกษำเพอ่ื พัฒนำสังคมและชมุ ชน 10. โครงกำรกำรเรยี นรตู้ ำมหลักปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียง 11. โครงกำรศนู ย์ฝกึ อำชีพชุมชน 12. โครงกำรสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั (กจิ กรรมสง่ เสริมกำรอ่ำนของห้องสมุดประชำชน) 13. โครงกำรส่งเสริมกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั (กิจกรรมส่งเสรมิ กำรอ่ำนของ กศน.ตำบล) 14. โครงกำรภำษำต่ำงประเทศเพื่อกำรสื่อสำรด้ำนอำชพี 15. โครงกำร Smart ONIE เพอื่ สร้ำง Smart Famer 16. โครงกำรพฒั นำบุคลำกร 17. โครงกำรพฒั นำระบบข้อมลู สำรสนเทศ 18. โครงกำรประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ 19. โครงกำรนิเทศติดตำมผลกำรจดั กำรศึกษำ 20. โครงกำรส่งเสรมิ กำรมีส่วนรว่ มของภำคเี ครือข่ำยในกำรจดั กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำม อธั ยำศัย 21. โครงกำรสง่ เสรมิ บทบำทหน้ำที่ของคณะกรรมกำรสถำนศกึ ษำ 22. โครงกำรประชำสัมพนั ธ์ เผยแพรอ่ งค์ควำมรู้ และกิจกรรม กศน.สู่ชุมชน รวมท้ังส้ิน 22 โครงกำร ซึ่งควำมสำเร็จของโครงกำร ดังกล่ำว แสดงถึงควำมสำเร็จของ กำรดำเนินงำนตำมมำตรฐำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย

สารบญั การอนมุ ัติแผนปฏบิ ตั กิ าร หนา้ คานา บทสรุปผบู้ ริหาร 1 สารบญั 1 ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐานของ กศน. อาเภอสามพราน 1 1 ความเป็นมา 2 ที่ต้งั 4 บทบาทหน้าทภี่ ารกจิ กศน. อาเภอ 5 คณะกรรมการ กศน. อาเภอ 9 อาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน 9 บคุ ลากรใน กศน. อาเภอ 11 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อการวางแผน 13 สภาพทัว่ ไปของอาเภอ 20 ข้อมลู ดา้ นประชากร 21 ข้อมลู ดา้ นสงั คม เศรษฐกจิ 34 ข้อมลู ด้านการศึกษา 36 นโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ 2563 36 ยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั นครปฐม 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) 36 สว่ นที่ 3 ทิศทางการดาเนนิ งาน 38 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน. อาเภอสามพราน (SWOT Analysis) 39 การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 42 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 45 แนวทาง/กลยุทธ์การดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน. อาเภอ 49 ตารางแสดงโครงการตามพนั ธกิจ เป้าประสงค์และกลยทุ ธ์ ในปงี บประมาณ 2563 52 ตารางแสดงความสอดคล้องของโครงการ ในปงี บประมาณ 2563 52 กบั มาตรฐาน ตวั บ่งชกี้ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย งบประมาณที่ไดร้ บั การจดั สรร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 59 สว่ นท่ี 4 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ บญั ชสี รปุ แผนการจัดกจิ กรรมกลมุ่ เปา้ หมายและการใช้จา่ ยงบประมาณ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

สารบญั (ต่อ) หนา้ 136 โครงการตามแผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 137 โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน 156 โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานสาหรับคนพกิ าร 168 โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน 189 โครงการจดั หาหนังสอื เรยี น 194 โครงการการประเมินเทียบระดับการศึกษา 202 โครงการสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบ 207 โครงการส่งเสริมการรหู้ นงั สือ 213 โครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต 222 โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชน 233 โครงการการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 242 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน 262 โครงการสง่ เสรมิ การศกึ ษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นของห้องสมดุ ) 271 โครงการสง่ เสริมการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กิจกรรมสง่ เสริมการอ่านของ กศน. ตาบล) 281 โครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการส่ือสารด้านอาชีพ 289 โครงการ Smart ONIE เพื่อสรา้ ง Smart Fsmer 301 โครงการพัฒนาบุคลากร 306 โครงการพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศ 312 โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 318 โครงการนเิ ทศตดิ ตามผลการจดั การศึกษา 324 โครงการสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของภาคีเครือขา่ ยในการจัดการศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั 329 โครงการสง่ เสริมบทบาทหน้าทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษา 333 โครงการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่องคค์ วามรู้ และกิจกรรม กศน. สู่ชุมชน 337 338 ภาคผนวก 342 คาสงั่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการจดั ทาแผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ 2562 คณะผ้จู ัดทา

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของ กศน. อาเภอสามพราน ความเปน็ มา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน (Sam Phran District Non-Formal and Informal Education Centre) จัดต้ังตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ วันท่ี 27 สิงหาคม 2536 ใช้ชื่อ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอาเภอสามพราน โดยมีสานักงานชั่วคราวอยู่ ณ ทว่ี า่ การอาเภอสามพราน วันท่ี 14 กันยายน 2537 ย้ายสานักงานชั่วคราว จากท่ีว่าการอาเภอสามพราน มาใช้อาคารโรง ครัว ช้นั 2 ของวดั ไรข่ งิ วันท่ี 25 ธันวาคม 2550 ย้ายสานักงานจากอาคารโรงครัว ชั้น 2 ของวัดไร่ขิง มาต้ังอยู่บนช้ัน 3 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม วันที่ 4 มีนาคม 2551 เปล่ียนชื่อเป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอสามพราน ทต่ี ั้ง เลขที่ 51 หม่ทู ่ี 2 ตาบลไร่ขงิ อาเภอสามพราน จังหวดั นครปฐม รหัสไปรษณีย์ 73210 พกิ ัดสถานที่ ละตจิ ดู : 13.747467 ลองตจิ ดู : 100.275913 หมายเลขโทรศพั ท์ 034-225195-6 หมายเลขโทรสาร 034-225195 Email : [email protected] Facebook : https://www.facebook.com/groups/225749084124860/ Website : http://nkp.nfe.go.th/7306/ บทบาทหนา้ ท่ีภารกิจ กศน. อาเภอ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน เป็นสถานศึกษาใน ราชการบริหารส่วนกลาง สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัด นครปฐม มีบทบาทหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พทุ ธศักราช 2551 ดังตอ่ ไปนี้ 1) จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือข่าย เพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 3) ดาเนินการตามนโยบายพเิ ศษของรฐั บาลและงานส่งเสริมความมนั่ คงของชาติ 4) จัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดารใิ นพืน้ ท่ี 5) จดั ส่งเสริม สนับสนนุ พัฒนาแหล่งการเรยี นรู้และภมู ิปัญญาท้องถิน่ 6) วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนรู้ และมาตรฐานการศึกษานอก ระบบ

2 7) ดาเนินการเทยี บโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ 8) กากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดาเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 9) พัฒนาครู และบคุ ลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 10) ระดมทรัพยากรเพ่ือใช้ในการจัดและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 11) ดาเนนิ การประกันคณุ ภาพภายในใหส้ อดคล้องกบั ระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการทกี่ าหนด 12) ปฏบิ ตั ิงานอืน่ ๆ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย คณะกรรมการ กศน.อาเภอสามพราน รูปถ่าย ชอื่ – สกุล บทบาท พระเทพศาสนาภบิ าล ประธานกรรมการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ (แยม้ กติ ฺตนิ ธฺ โร) ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม นายสกนธ์ วงศ์สุกฤต กรรมการ ผู้ทรงคุณวฒุ ิดา้ น การศึกษา นายฌาญา ปานเจริญ กรรมการ ผทู้ รงคณุ วุฒดิ า้ นพัฒนา สงั คม ชมุ ชน และสิง่ แวดลอ้ ม นายจารสั ตั้งตระกลู ธรรม กรรมการ ผทู้ รงคุณวุฒดิ ้าน การเมืองการปกครอง

3 รูปถ่าย ชอื่ – สกุล บทบาท นายมารุฒ มหายศนนั ท์ กรรมการ ผู้ทรงคณุ วุฒิด้าน ความมน่ั คง นายเนตร หงษ์ไกรเลิศ กรรมการ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิดา้ น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สารสนเทศ นายสนอง เนอ่ื งอาชา กรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิด้าน ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น นางพชั รี เกษรบุญนาค กรรมการ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิดา้ น สาธารณสุข นายสมมาตร คงช่ืนสนิ กรรมการและเลขานุการ

อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน ชื่อ – สกุล 4 รปู ถ่าย นางสาววิรติ า วจั นะรตั น์ บทบาท อาสาสมัครด้านการบรหิ าร การคัดเลือกหนงั สือและส่ือ นางสาวปภัสวรรณ อันทะปัญญา อาสาสมคั รด้านงานเทคนิค จดั หนังสือ วารสาร ใหบ้ ริการมมุ ชน้ั หรือมุม ใหบ้ ริการ นางสาววราภรณ์ ภพู บบญุ อาสาสมคั รดา้ นงานบรกิ าร จดั ทาส่ือ กิจกรรมสง่ เสรมิ เสริม การอา่ น นางสาวกลั ยา ตรวจมรรคา อาสาสมคั รดา้ นการบรหิ าร งานอาคารสถานท่ี จัดดูแล รกั ษาสภาพแวดล้อม

5 รปู ถ่าย ชอื่ – สกลุ บทบาท นางสาวชลดา โพธิกลัด อาสาสมัครดา้ นงานเทคนคิ ประทบั ตราหนังสือ และติดบารโ์ คด๊ บุคลากรใน กศน. อาเภอสามพราน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสามพราน มีบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จานวน 44 คน ดงั นี้ 1. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและข้าราชการครู 4 คน 2. บคุ ลากรทางการศกึ ษา ตามมาตรา 38 ค (2) 1 คน 3. ลูกจา้ งประจา 1 คน 4. พนักงานราชการ ตาแหน่ง ครอู าสาสมัครฯ 5 คน 5. พนกั งานราชการ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล 16 คน 6. ครศู ูนย์การเรยี นชมุ ชน 7 คน 7. เจ้าหนา้ ท่ีเทคโนโลยสี ารสนเทศ 1 คน 8. ครูประจากลุ่ม 4 คน 9. ครผู ้สู อนคนพกิ าร 1 คน 10. บรรณารกั ษ์ อตั ราจ้าง 3 คน 11. พนกั งานบรกิ าร อตั ราจ้าง 1 คน

6 ประเภท ชื่อ-สกุล ตาแหนง่ วุฒิการศึกษา สาขา 1) ผู้บรหิ าร นเิ ทศศาสตร นิเทศศาสตร 1) นายสมมาตร คงช่ืนสิน ผ้อู านวยการ มหาบัณฑิต พฒั นาการ 2) ครู ครศุ าสตร การบรหิ ารการศึกษา 1) นางสุวลยั แจ่มจนั ทรเ์ กษม ครู ชานาญการ มหาบัณฑิต 3) บคุ ลากร พิเศษ วทิ ยาศาสตร การวจิ ยั พฤติกรรม ทางการศึกษา มหาบัณฑิต ศาสตร์ประยกุ ต์ 4) ลกู จ้าง 2) นางสาวผณินทร มายนื ยง ครู ชานาญการ ครศุ าสตรบณั ฑติ บรรณารกั ษ์ศาสตร์ ประจา พิเศษ 5) พนกั งาน ครุศาสตรบัณฑิต การประถมศึกษา ราชการ 3) นางอรวรรณ มหายศนันท์ ครู ชานาญการ การศกึ ษา การศึกษาผู้ใหญ่ มหาบณั ฑิต 1) นางสาววรภทั ร บณุ ยพรหม บรรณารักษ์ บริหารธรุ กจิ การจัดการทั่วไป ชานาญการ บัณฑติ บรหิ ารธรุ กิจ บริหารงานบคุ คล 1) นายวิวัฒน์ กลัดสาเนียง พนักงานธุรการ บัณฑิต ส3 คหกรรมศาสตร คหกรรมศาสตร์ บัณฑิต 1) นางสาวสาวติ รี มุมสนิ ครอู าสาสมัคร ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต การพัฒนาชมุ ชน กศน. ศลิ ปศาสตรบัณฑติ บริหารทรพั ยากร 2) นางสาวอมรรัตน์ ครอู าสาสมัคร มนุษย์ ธนธนานนท์ กศน. ศลิ ปศาสตร ยทุ ธศาสตร์ มหาบัณฑติ การพัฒนา 3) นางประคองศรี โพธิ์เพชร์ ครอู าสาสมัคร ครศุ าสตรบณั ฑติ พลศึกษา กศน. 4) นางสาวศศยิ าพชั ญ์ ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ การพฒั นาชมุ ชน อินทรก์ รุงเกา่ ครูอาสาสมัคร กศน. ครุศาสตรบณั ฑติ สุขศกึ ษา 5) นางสาวมาลา กัณฑโ์ ย ครูอาสาสมัคร บริหารธุรกิจ บรหิ ารทรัพยากร กศน. บัณฑติ มนุษย์ 6) นายภรี ะ มายืนยง ครู กศน. ตาบล คลองใหม่ 7) นางบษุ กร พรมเพยี งช้าง ครู กศน. ตาบล บางช้าง 8) นางสาวอญั ชลยี ์ วอ่ งไว ครู กศน. ตาบล ตลาดจนิ ดา 9) นางอารีรตั น์ พุทธรกั ษา ครู กศน. ตาบล บ้านใหม่

7 ประเภท ชือ่ -สกุล ตาแหนง่ วฒุ กิ ารศึกษา สาขา 10) นางสาวชญานุช ชิ้นจ้ิน ครู กศน. ตาบล ครศุ าสตรบณั ฑิต เทคโนโลยีและ 7) พนกั งาน กระทุ่มลม้ นวตั กรรมทาง จา้ งเหมา 11) นางสาวทตั ติยา วิทยาศาสตรบัณฑติ การศึกษา บรกิ าร นอ้ ยพิทักษ์ ครู กศน. ตาบล ศึกษาศาสตรบณั ฑิต บริหารธรุ กจิ เกษตร 12) นางวันเพ็ญ ปิน่ ทอง บางเตย บริหารธรุ กิจบณั ฑิต บริหารธรุ กจิ บณั ฑติ ภาษาไทย 13) นางสาวจฑุ ารตั น์ ครู กศน. ตาบล วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต บุญปลกู อ้อมใหญ่ บรหิ ารธุรกจิ บัณฑติ การตลาด 14) นางสาวนาฏยา พรมพันธุ์ ศีกษาศาสตรบณั ฑติ ครู กศน. ตาบล ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต การจัดการทวั่ ไป 15) นายวรพจน์ ทา่ ขา้ ม ครศุ าสตรบัณฑติ ศรเี พช็ รธ์ าราพันธ์ วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต วิทยาการ 16) นางอารยี ์ ศรที ิพย์ ครู กศน. ตาบล ศิลปศาสตรบณั ฑติ คอมพวิ เตอร์ ท่าตลาด วิทยาศาสตรบัณฑติ การเงนิ และ 17) นายเมธา ประชุมพันธ์ุ การธนาคาร ครู กศน. ตาบล การศกึ ษาตลอดชวี ิต 18) นางสาวจิตรา เซ่ยี งเทศ สามพราน การพัฒนาชุมชน 19) นางสาวจนิ ตนา ครู กศน. ตาบล โพธิ์ศรที อง ไรข่ งิ การประถมศึกษา 20) นางสาวญาณิศา หมน่ื จง ครู กศน. ตาบล เทคโนโลยกี ารเกษตร 21) นางสาวอนงค์ ยายชา พว่ งทรพั ยส์ นิ รัฐประศาสนศาสตร์ 1) นางสาววราลี ครู กศน. ตาบล จิรวัฒน์ชัยนันท์ หอมเกรด็ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยกี ารอาหาร ครู กศน. ตาบล ทรงคนอง ครู กศน. ตาบล คลองจินดา ครู กศน. ตาบล บางกระทกึ ครศู ูนย์การ เรยี นชมุ ชน 2) นายมานพ ครศู ูนย์การ รฐั ประศาสนศาสตร รัฐศาสตรการ ปราชญอ์ ภญิ ญา เรยี นชุมชน มหาบัญฑิต ปกครอง

8 ประเภท ช่อื -สกุล ตาแหนง่ วฒุ กิ ารศึกษา สาขา 7) ครปู ระจา 3) นางสาวคณติ า ครศู นู ย์การ บรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ ภาษาองั กฤษ กลมุ่ สุทธโิ ยชน์ เรยี นชุมชน 4) นางสาวจินตนา ไชยะโอชะ ครูศนู ยก์ าร บรหิ ารธรุ กิจบณั ฑติ การจัดการทั่วไป เรยี นชมุ ชน 5) นายธนานาจ พวงสขุ ครูศนู ย์การ ศิลปศาสตรบัณฑติ การจดั การทั่วไป เรยี นชุมชน 6) นายชูเกยี รติ ครูศูนยก์ าร ศิลปศาสตรบณั ฑิต การพัฒนาชุมชน คลา้ ยสุบรรณ เรยี นชุมชน 7) นางสาววินิดา เบาะโท ครผู สู้ อน ครุศาสตรบณั ฑิต พลศกึ ษาและ คนพิการ การสง่ เสริมสขุ ภาพ 8) นายกษิด์ิเดช เจ้าหน้าท่ี วิทยาศาสตรบณั ฑิต (คณติ ศาสตรป์ ระยุกต์) เอย่ี มกระสนิ ธ์ุ เทคโนโลยี สารสนเทศ ศิลปศาสตร์บัณฑติ บรรณารกั ษ์ศาสตร์ 9) นางเอ้ือมเดอื น เปลีย่ นจัด ศลิ ปศาสตรบ์ ณั ฑติ และสารนิเทศศาสตร์ บรรณารกั ษ์ ศลิ ปศาสตร์บณั ฑติ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 บรรณารักษ์ศาสตร์ 10) นางสาวชนนั ท์ภทั ร์ บรรณารักษ์ และสารนเิ ทศศาสตร์ พันธ์ขนุ ทด บรรณารกั ษ์ บรรณารักษ์ศาสตร์ 11) นางสาวโรสิตา และสารนิเทศศาสตร์ ลาภอาภารตั น์ พนักงาน บรกิ าร วิทยาศาสตร์บณั ฑติ วิทยาศาสตร์การกฬี า 12) นางสาวเสาวลักษณ์ ครปู ระจา คานพลู กลมุ่ ครุศาสตรบณั ฑติ ธุรกจิ ศึกษา ครูประจา 1) นางสาวจันทรส์ ุดา กลุม่ วทิ ยาศาสตรบ์ ัณฑิต คหกรรมศาสตรท์ ั่วไป จาแนกมติ ร ครปู ระจา ครุศาสตรบณั ฑิต สังคมศึกษา กลุ่ม 2) นางสาวขวญั จติ ร ครูประจา เพชรเขาทอง กลุ่ม 3) นางสาวสทุ ิศา สุทธเิ ชนทร์ 4) นางสาวเนตรชนก มฤคานนท์

9 สว่ นที่ 2 ข้อมูลพน้ื ฐานเพือ่ การวางแผน 2.1 สภาพทวั่ ไปของอาเภอสามพราน มีตานานเล่าต่อกันมาว่าเดิมท้องที่เหล่าน้ีเป็นป่ารกชัฏ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด รวมทั้งเป็นท่ีชุมนุมของช้างโขลงใหญ่ด้วย ชา้ งโขลงน้ีชอบลงมาหากินและเหยียบย่าจนเส้นทางกลายเป็น ทางน้าและลาคลอง จนในท่ีสุดชาวบ้านในสมัยน้ันได้เรียกกันว่า \"คลองบางช้าง\" และในบริเวณนั้นก็ได้ กลายเป็นช่ือเรียกตาบลมาจนถึงปัจจุบันนี้ คือ \"ตาบลบางช้าง\" สาหรับโขลงช้างที่หากินในบริเวณเขต บางช้างน้ัน หัวหน้าโขลงช้างเกิดตกมัน ดุร้ายมาก และได้สร้างความเสียหายโดยออกอาละวาดทาลาย พืชผลของชาวบ้านจนชาวบ้านทนไม่ไหว ได้ร่วมมือกันปราบเจ้าช้างตกมันเชือกนั้น แต่ทว่าช้างตกมัน เชอื กน้ีมกี าลงั เหลือหลาย ชาวบา้ นไม่สามารถปราบไดถ้ ึงแม้จะพยายามสกั เพยี งใด ในขณะน้นั ไดม้ นี ายพรานสามคนเดินทางมายังคลองปากลดั (ปัจจุบันเรียกว่า \"วดั ท่าข้าม\") ซึ่งอยู่ ไม่ไกลจากเขตตาบลบางช้างมากนัก นายพรานสามคนได้เดินทางลัดคลองท่านาไปยังบริเวณที่โขลงช้าง น้ันอาศัยอยู่ นายพรานท้ังสามเปรียบเสมือนอัศวินม้าขาวของชาวบ้านคลองบางช้าง ได้ทาการปราบช้าง ตกมันเชือกนั้นโดยใช้ความเช่ียวชาญและความสามัคคี จนในท่ีสุดก็สามารถปราบช้างตกมันได้สาเร็จ ชาวบ้านจึงได้เรียกบริเวณที่นายพรานทั้งสามปราบช้างได้สาเร็จว่า \"สามพราน\" ซ่ึงในปัจจุบันเรียกว่า \"ตาบลสามพราน\" ในอดีตอาเภอสามพรานนั้นมีช่ือเรียกว่า อาเภอตลาดใหม่ ต้ังข้ึนในปี พ.ศ. 2439 รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยสร้างข้ึนในท่ีดินของพระยาสุนทรบุรีศรีพิชัยสงคราม รามภกั ดีสรุ ิยะพาหะ (อ้ี กรรณสูต) ซึง่ พนื้ ที่บริเวณนนั้ เรยี กวา่ ตลาดใหม่ ในปี พ.ศ. 2458 ได้ย้ายทีท่ าการไปสร้างใหม่ในตาบลสามพราน เนือ่ งจากที่ทาการเดิมคับแคบ ให้บริการประชาชนได้ไม่สะดวก พร้อมกับเปล่ียนชื่อเป็น อาเภอสามพราน ตามชื่อสถานท่ีต้ังที่ว่าการ อาเภอซ่งึ อย่ภู ายใต้การปกครองของมณฑลนครชัยศรี ตอ่ มาปี พ.ศ. 2474 ทางราชการยบุ มณฑลนครชัย ศรีลง อาเภอสามพรานจึงข้ึนอยู่กับเมืองราชบุรีอยู่ระยะหนึ่ง จนกระทั่งปี พ.ศ. 2476 ได้ยุบมณฑล ท้ังหมดทั่วราชอาณาจักร อาเภอสามพรานจึงได้ขึ้นอยู่กับจังหวัดนครปฐม ตามพระราชบัญญัติระเบียบ การบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2476 ลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์ อาเภอสามพรานตั้งอยู่ทางทิศใต้สุดของจังหวัดนครปฐม มีพ้ืนที่ประมาณ 249.347 ตารางกิโลเมตร สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปร้อนช้ืน มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงเรียง ตามเข็มนาฬกิ า ดงั น้ี ทศิ เหนือ ติดตอ่ กับอาเภอนครชัยศรแี ละอาเภอพทุ ธมณฑล ทิศตะวนั ออก ตดิ ต่อกับอาเภอพุทธมณฑล เขตทววี ัฒนา และเขตหนองแขม (กรงุ เทพมหานคร) ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอกระทมุ่ แบนและอาเภอบา้ นแพ้ว (จังหวัดสมุทรสาคร) ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อาเภอบางแพ (จังหวดั ราชบุรี) และอาเภอเมอื งนครปฐม ลักษณะพ้ืนที่เป็นที่ราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้าท่ีสาคัญไหลผ่าน 1 สาย คือ แม่น้าท่าจีน ไหล่ผ่านท้องท่ใี นเขตอาเภอสามพราน จานวน 12 ตาบล มบี ึงขนาดใหญ่ 1 บึง คอื บงึ บางช้าง ในด้านการปกครอง อาเภอสามพรานแบง่ การปกครองเปน็ 16 ตาบล 137 หมู่บา้ น

10 แผนทอ่ี าเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

11 2.2 ข้อมูลดา้ นประชากร จานวนประชากรจาแนกหมบู่ ้าน ครัวเรอื น เพศ และพื้นทอี่ าเภอสามพราน ที่ ตาบล จานวน จานวน จานวนประชากร (คน) จานวนครัวเรือนในพ้นื ท่ี หมู่บา้ น ครัวเรือน ชาย หญงิ รวม เขต อบต. เขตเทศบาล 1 กระทุ่มลม้ 9 17,749 12,539 14,541 27,080 17,749 2 คลองจินดา 14 3,496 5,400 6,006 11,406 3,496 3 คลองใหม่ 7 3,867 4,495 4,667 9,162 3,867 4 ตลาดจนิ ดา 11 2,642 3,865 4,125 7,990 2,642 5 ทรงคนอง 6 4,702 3,162 3,476 6,638 4,702 6 ทา่ ขา้ ม 6 4,731 5,022 5,509 10,531 4,731 7 ทา่ ตลาด 10 7,061 5,285 5,850 11,135 7,061 8 บางกระทกึ 8 8,117 5,859 6,760 12,619 8,117 9 บางชา้ ง 11 3,003 3,843 4,191 8,034 3,003 10 บางเตย 7 4,552 3,105 3,567 6,672 4,552 11 บ้านใหม่ 5 1,799 2,119 2,244 4,363 1,799 12 ยายชา 6 4,990 3,751 4,274 8,025 4,990 13 ไรข่ งิ 14 23,333 15,063 17,031 32,094 23,333 14 สามพราน 9 10,601 11,691 11,483 23,174 2,070 8,531 15 หอมเกรด็ 6 4,148 3,930 4,382 8,312 4,148 16 ออ้ มใหญ่ 8 21,097 11,450 12,538 23,988 21,097 รวม 137 125,888 100,579 110,644 211,223 47,061 78,827 ข้อมลู ณ เดือน ธันวาคม 2561 ระบบสถิตทิ างการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวง มหาดไทย อาเภอสามพราน มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จานวน 125,888 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครอง องค์การบริหารส่วนตาบล จานวน 47,061 ครัวเรือน และอยู่ในเขตพ้ืนท่ีการปกครองเทศบาล จานวน 78,827 ครวั เรือน มีประชากรทั้งส้ิน จานวน 211,223 คน แยกเป็นประชากรชาย จานวน 100,579 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 และประชากรหญิง จานวน 110,644 คน คิดเป็นร้อยละ 52.38 ความหนาแน่น เฉลี่ย 847.10 คน/ตารางกิโลเมตร

12 จานวนประชากรจาแนกตามชว่ งอายุ ช่วงอายุ (ปี) จานวน (คน) ร้อยละของประชากรทั้งหมด (คน) 0 - 5 12,258 5.93 6 - 14 22,086 10.68 15 - 39 73,627 35.61 40 - 59 67,175 32.49 60 - 69 18,675 9.03 70 - 79 8,530 4.13 80 - 89 3,663 1.77 90 ปีขน้ึ ไป 765 0.37 รวม 206,779 100.00 หมายเหตุ ประชากรเฉพาะผูม้ ีสญั ชาติไทย และมีชอ่ื อยูใ่ นทะเบยี นบ้าน จากตารางจานวนประชากรจาแนกตามช่วงอายุ พบว่า ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 15-39 ปี จานวน 73,627 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 35.61 รองลงมาอยู่ในช่วงอายุ 40-59 ปี จานวน 67,175 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 32.49 จานวนผ้พู กิ ารจาแนกตามประเภทความพิการ ประเภทผพู้ ิการ จานวนผพู้ กิ าร (คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ -ทางสติปัญญา ชาย หญิง รวม 10.50 -ทางการมองเหน็ 10.16 -ทางการไดย้ ิน 86 67 153 15.79 -ทางร่ายกาย 49.38 -ทางจติ ใจ 48 100 148 6.52 -พิการซ้าซ้อน 7.62 123 107 230 100.00 รวม 453 266 719 63 32 95 69 42 111 842 614 1,456 กลุ่มผู้พิการ เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการท่ีจะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ด้อยกว่าคนปกติท่ัวไป อันเน่ืองมาจากข้อจากัดทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาหรือ ความสามารถในการเรียนรู้ จากตารางข้อมูลจานวนคนพิการในพ้ืนที่อาเภอสามพราน อาเภอสามพราน มีผู้พกิ าร จานวน 1,456 คน จาแนกประเภทความพกิ าร ส่วนใหญ่มคี วามพิการทางร่างกาย จานวน 719 คน คดิ เป็นร้อยละ 49.38 รองลงมามีความพกิ ารทางการได้ยนิ จานวน 230 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.79

13 2.3 ข้อมูลดา้ นสังคม เศรษฐกจิ สภาพพ้ืนที่เป็นท่ีราบลุ่มภาคกลาง มีแม่น้าไหลผ่าน คือ แม่น้านครชัยศรี(แม่น้าท่าจีน) ไหลผ่าน 12 ตาบล ในเขตท้องที่ของอาเภอ มีบึงขนาดใหญ่ 1 บึง คือ บึงบางช้าง ซึ่งปัจจุบันข้ึนทะเบียนเป็นท่ี สาธารณะ อยู่ในความดแู ลของกระทรวงมหาดไทย มีเนอื้ ท่ี 173 ไร่ 3 งาน 22 ตารางวา นอกจากนน้ั ยงั มี คูคลองทใี่ ชเ้ ป็นเส้นทางในการเดนิ ทาง และใชป้ ระโยชน์ในทางเกษตรกรรมเปน็ จานวนมากถึง 150 คลอง สภาพภูมิอากาศโดยท่ัวไปของอาเภอสามพราน มีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุมโดยมี 3 ฤดู ดงั นี้ ฤดรู อ้ น เรมิ่ ตง้ั แต่ เดอื นกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม ฤดูฝน เร่ิมตงั้ แต่ เดอื นมิถุนายน – กนั ยายน ฤดูหนาว เริ่มตงั้ แต่ เดอื นตุลาคม – มกราคม โดยฤดูหนาวไม่หนาวจัด สว่ นฤดูรอ้ นอยูใ่ นเกณฑค์ อ่ นขา้ งร้อน อุณหภมู เิ ฉลย่ี 30 องศาเซลเซยี ส อาชพี ของประชาชนในอาเภอสามพราน อาชพี หลกั ของประชากร ได้แก่ อาชพี เกษตรกรรม สวน ผลไม้ สวนผัก กล้วยไม้ โดยมีผลผลิตการเกษตรท่ีสาคัญ คือ ส้มโอ ฝร่ัง ชมพู่ทับทิมจันทร์ มะพร้าว น้าหอม มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และเล็ก เป็นจานวนมาก มีโรงงานอตุ สาหกรรมหลายประเภท เช่น ทอผ้า ตัดเย็บเส้ือผ้า การแปรรูปผลไม้ การแปรรูปอาหารทะเล การก่อสร้าง การผลิตสุรา ฯลฯ ทา ให้เกิดการจ้างงานตามมา ประชาชนถิ่นอื่นได้เข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มขึ้นมากข้ึนเรื่อย ๆ ทาให้มีการก่อสร้าง บ้านพกั หอ้ งเชา่ ต่าง ๆ เกดิ ขึน้ จานวนมาก สถานที่สาคัญของอาเภอสามพราน ได้แก่ โรงเรียนนายร้อยตารวจ วัดไร่ขิงพระอารามหลวง โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรยี นยอแซฟอุปถัมภ์ บ้านผู้หวา่ น สถานที่ท่องเทยี่ วที่สาคัญ ได้แก่ สวนสามพราน ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพราน ตลาด รมิ นา้ ดอนหวาย ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ มีธนาคาร 9 แห่ง ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย จากัด ธนาคารกรุงไทยจากัด ธนาคารกรุงศรีอยุธยาจากัด ธนาคารกรุงเทพจากัด ธนาคารทหารไทยจากัด ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด ธนาคารออมสินจากัด ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารธนชาติ มีห้างสรรพสินค้า 4 แห่ง และโรงงานอุตสาหกรรมท่ีสาคัญ ได้แก่ โรงงานมาลี โรงงานโอตานิ บริษัท ผลิตภัณฑ์อาหารไทย (ไวไว) บริษัทแฟช่ันฟู้ด บรษิ ัทแฮคส์แสงอุดม โรงงานแสงโสม บริษัทเส้นหมี่ชอเฮง บริษทั เทพผดุงพรมะพรา้ ว แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน และทุนดา้ นงบประมาณทีส่ ามารถนามาใช้ประโยชน์เพ่อื การจัด การศึกษา ประเภทบคุ คล ประเภทสถานทแี่ ละองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกจิ กรรม ทางสังคม-วัฒนธรรมและตน้ ทนุ งบประมาณ

14 1. แหลง่ เรยี นรู้ประเภทบุคคล ไดแ้ ก่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ความรคู้ วามสามารถ ท่อี ยู่ พระครสู ังฆรักษ์เอนก สุชาโต ศาสนาและวฒั นธรรม วัดนครชน่ื ชมุ 104 หมู่ 7 ต. กระทุ่มลม้ นางเขมิกา เรอื นเพง็ ศลิ ปะประดิษฐผ์ ้าด้นมือ 106 หมู่ 7 ต. กระทุ่มลม้ นางสรอ้ ยทิพย์ ชมทอง ศลิ ปะประดิษฐ์ดอกไมด้ ิน 120 หมู่7 ต. กระทมุ่ ล้ม นางวรรณภร ศรกี ร ศลิ ปะประดิษฐด์ อกไมใ้ ยบัว 29 หมู่ 1 หมู่ 1 ต. กระทมุ่ ลม้ นางสาวศภุ วรรณ ศรอี า่ อว่ ม สมุนไพร 60/9 หมู่ 8 ต. กระทมุ่ ล้ม นายสนอง เนื่องอาชา เกษตรกรรม 128 หมู่ 4 ต. กระท่มุ ล้ม นายณฎั ฐาพล ยมพุก สาธารณสุข 129 หมู่ 7 ต. กระทมุ่ ล้ม นายลขิ ิต ทองผิว งานฝีมือ ต. งิ้วราย อ. นครชยั ศรี จ. นครปฐม นางสาวจันทนท์ พิ พวงสุดรัก ศลิ ปะประดิษฐ์ 53/1 หมู่ 2 ต. บางกระเบา อ.นครชัยศรี จ. นครปฐม นางสุภาพร เน่ืองอาชา การเพาะเหด็ 128 หมู่ 4 ตาบลกระทุม่ ล้ม นายวนั ชยั หลงสมบุญ ปุ๋ยชีวภาพ หมู่ 1 ต. คลองจินดา นายมนัส แสงพิทักษ์ สมนุ ไพร ,งานฝีมือ 33/4 หมู่ 1 ต. คลองจนิ ดา นายมงคล เกดิ เจริญ ช่างไม้ 127 หมู่ 2 ต. คลองจนิ ดา นายสริ วิ ชั ชูสุวรรณ ขยายพันธ์พุ ืช 241 หมู่ 3 ต. คลองจนิ ดา นางกฤษณา ปิ่นแกว้ หัตถกรรมประยกุ ต์ 118 หมู่ 3 ต. คลองจินดา นายไว ศรจี ันทร์โฉม ต่อเรอื หมู่ 4 ต. คลองจนิ ดา นายฉลาด บชู า ชา่ งไม้ หมู่ 8 ต. คลองจินดา นางสาวอษุ า ศรีคาภูมิ นวดแผนไทย 54 หมู่ 13 ต. คลองจินดา นางสาวเฉลิมศรี ศรีรตั นพิทักษ์ เกษตรธรรมชาติ 60 หมู่ 13 ต. คลองจินดา นางอารยี ์ แย้มจนิ ดา เสริมสวย 1 หมู่ 14 ต. คลองจนิ ดา นางวไิ ล สรอ้ ยมณี การจัดสาน การนวดสปา 4/1หมูท่ ่ี ต.คลองใหม่ สมนุ ไพร สขุ ภาพอนามยั นายสมพงษ์ ศรีตา่ งวงษ์ เศรษฐกิจพอเพยี ง เกษตร 79 หมู่ 5 ต.คลองใหม่ อนิ ทรีย์ การนวดแผนไทย นางสาวเดือนเพ็ญ แจ้งเวหา ศิลปวฒั นธรรม ประเพณชี าว 1 ม.11 ต.ตลาดจนิ ดา มอญ-รามัญ (การปักผา้ มอญ- นางอทุ ยั ธญั ญผล รามญั ) 25/3 ม.3 ต.ตลาดจินดา นายวิรยิ ะ ณะจินดา ศลิ ปะประดษิ ฐ์ คหกรรม 3 ม.3 ต.ตลาดจนิ ดา ศิลปะประดิษฐ์ พรมเชด็ เทา้ นางสาวอบุ ลศรี โพธสิ าร แฟนซี 12 ม.7 ต.ตลาดจนิ ดา นายทอม มดี ี ศิลปหัตถกรรม 25/7 ม.3 ต.ตลาดจนิ ดา การเมืองการปกครอง

15 ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ความรคู้ วามสามารถ ที่อยู่ นายบวั ณะจินดา พธิ กี รรมทางไทยทรงดา 3 ม.3 ต.ตลาดจนิ ดา นายสมทรง สนบา้ นเกาะ เกษตรกรรม (เกษตรอนิ ทรยี )์ 1 ม.11 ต.ตลาดจนิ ดา นางสาวกนษิ ฐา หลงสกุลณี ขนมไทย การทาพวงมาลยั การ บ้านเอื้ออาทรศาลายา 1,2 ม. 1 ทาภาพประดิษฐจ์ ากผา้ ต.ทรงคนอง นางศรีไพร ศรลี ิ้มตี๋ การแปรรปู สินคา้ เกษตร 38/4 ม. 5 ต.ทรงคนอง อาหารขนน คุณทิม ไทยทวี การปลกู สม้ โอ 41/2 บา้ นศาลเจ้า ม. 1 ต.ทรงคนอง นางอมร สงั ขฉ์ ายา การประดิษฐข์ องชาร่วย 90/54 ม. 6 ต.ทา่ ข้าม ศลิ ปะประดษิ ฐ์ นางนัยนา กจิ เจรญิ การเกษตร 90/3 ม. 2 ต.ทา่ ขา้ ม นางพรวลยั แตม้ ไชยสงค์ การปน้ั ดอกไมด้ นิ ไทย 61/49 ม.2 ต.ท่าตลาด นายอานาจ เวชศาล การทาเรือใบจาลอง 49/69 ม. 10 ต.ท่าตลาด นายอาทติ ย์ จเร การขยายพนั ธุพ์ ืช 100-101 ม.2 ต.ทา่ ตลาด นายสวัสดิ์ นมิ่ อนงค์ เรอื โบราณย้อนยุค 8 ม. 5 ต.บางกรกะทึก นายมานพ หวัน่ ประวตั ิ การขยายพนั ธ์พุ ชื 7 ม. 1 ต.กระทกึ นายสุวิน วุฒสิ งั คะ ประเพณวี ฒั นธรรมจนี ศาลเจ้าตลาดน้าดอนหวาย ต.บางกระทึก นางประหยัด ปานเจริญ เกษตรอินทรยี ์ ทาปุ๋ยชวี ภาพ 37/1 ม. 6 ต.บางช้าง นายฌาญา ปานเจริญ การขยายพนั ธุ์พืช 37/1 ม. 6 ต.บางช้าง นางสาวขวัญเรอื น เพ็ชรสีนวล การสานตะกรา้ จากทางมะพรา้ ว 20/1 ม.6 ต.บางชา้ ง นายชัยวุฒิ จรดล การเล้ยี งไสเ้ ดือนดิน 69/1 ม.6 ต.บางชา้ ง นางชศู รี จรดล การทาฮอรโ์ มนไข่ 69/1 ม.6 ต.บางช้าง นางมนต์ จรดล การทาขนมดอกจอก 69 ม.6 ต.บางช้าง นางบุญสม เพช็ รสนี วล การแปรรปู กลว้ ย 20/1 ม.6 ต.บางชา้ ง นายประยูร ค้มุ สวสั ดิ์ การทาบายศรี (ใบตอง) 66/1 ม.6 ต.บางช้าง นางสมุ าลี รอดอนันต์ การแปรรูปกลว้ ย การทาสบูฝ่ กั ขา้ ว 46 ม.6 ต.บางช้าง นางวงษจ์ ันทร์ งามเชือ้ ชิต การทาขนมเครื่องไข่ ขนมหวาน 6 ม.1 ต.บางช้าง นายสมพงษ์ เฟื่องบางหลวง ช่างไม้ การปลูกนาขา้ ว 52/2 ม.1 ต.บางเตย นายเสาะ การะเกตุ แพทยแ์ ผนไทย 50/3 ม.2 ต.บางเตย นายพศิ การะเกตุ ช่างแกะสลกั วาดภาพ 52/1ม.2 ต.บางเตย นางฮุน้ การะเกตุ ขนมไทย 52/1ม.2 ต.บางเตย นายอภชิ าติ สขุ สมยั การทาปยุ๋ อินทรยี ์ 35 ม.4 ต.บางเตย นายมนตรี การะเวก การเกษตร 34/5 ต.บางเตย นางล้นิ จี่ โพธ์ิแดง งานฝมี อื งานประดิษฐ์ อาหารขนม 13/1 ม.7 ต.บางเตย นางนารี ปอ้ มงาม การทาเกษตรอินทรยี ์ 4/2 ม.3 ต.บ้านใหม่ นางสนุ ีย์ อนิ ทรเ์ จรญิ การรอ้ ยมาลัยดอกไม้สด 18 หมทู่ ี่ 1 ต.บา้ นใหม่ นายลาจวน โสมะภรี ์ แกะสลกั ผลไม้ ภาษาอังกฤษ 43/4 ม.4 ต.ยายชา

16 ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ความรคู้ วามสามารถ ที่อยู่ นางลัดดา โสมะภรี ์ นางนภิ าภรณ์ พูลสมบัติ ขนมไทย,อาหารไทย 43/4 ม.4 ต.ยายชา นายธนั ส์พฒั น์ ธรรมธนจิตต์ นางสาวพรชนัน แช่คู ศลิ ปะประดิษฐ์ เสริมสวย 18/2 ม.5 ต.ยายชา นายบญุ รอด โพธ์แิ ดง นายบญุ มา ปัถวี การทาเกษตร 76 ม.6 ต.ยายชา นางสมควร คงประชา สเปยรก์ ันยุง นา้ หมักชีวภาพ ม.3 ต.ยายชา นางสาวนชุ นาท วรรณสวา่ ง นายอภิมขุ ชูเทยี น ทาของเล่นโบราณ ม.10 ต.ไร่ขิง นายประกติ สุนประชา นางสุพร จุกมงคล เกษตรอินทรยี ์ สารชวี ภัณฑ์ ม.3 ต.ไร่ขงิ นางบญุ ทรัพย์ อาจน้อย อาหาร การจัดการขยะ ม.7 ต.ไร่ขงิ อ.สามพราน นางเอื้อมพร บปู๊ ระเสรฐิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง นายณสทุ ิน สูนาสวน หัตถกรรม ม.5 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน คณุ สายวรุณ บุริมสิทธกิ ุล นางสาวถนอมรัตน์ บรุ ิมสิทธกิ ุล เบญจรงค์ ม.10 ต.ไรข่ งิ อ.สามพราน นางลดั ดาพร จิรโภคากุล การทานา อนิ ทรีย์ ม.3 ต.ไร่ขิง อ.สามพราน นางพรรณศิริ ชนุ ถนอม ขนมไทย อาหารวา่ ง การทาไม้ใบ 49/2 หมูท่ ี่ 4 ต.สามพราน นางปารดา แผว้ สอาด ศลิ ปะประดษิ ฐ์ รวมจานวน สอนขนมไทย อาหารวา่ ง 49/6 หมู่4 ต.สามพราน ศิลปะประดิษฐ์ ขนมไทย ขนมเครือ่ งไข่ ศิลปะ 38/8 หมทู่ ี่ 3 ต.หอมเกร็ด ประดษิ ฐ์ การปนั้ ของจิ๋ว 25/1 หม5ู่ ต.หอมเกรด็ จกั สานผลิตภัณฑ์ 90/219 หมู่ท่ี 4 ต.หอมเกร็ด จากใบลาน หัตถกรรมจากวัสดเุ หลือใช้ ขวด ศิลปะบ้านไพลนิ 128-129 ม.8 พลาสติกรีไซเคิล ต.อ้อมใหญ่ สมุนไพร และการแปร 14/137 หมู่ 4 ต. อ้อมใหญ่ รปู การแปรรปู น้าส้ม ก่ิงกา้ นน้าส้ม 64/183 หมู่ 8 ซอย พงษ์ศริ ิชัย 2 นา้ ส้มเกล็ดวุ้น ต.ออ้ มใหญ่ 78 คน

17 2. แหล่งเรียนรูป้ ระเภทสถานท่ี/ชมุ ชน/กลุ่มทางเศรษฐกจิ /สังคม ไดแ้ ก่ แหลง่ เรียนรู้อ่นื ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทตี่ ้ัง กลุ่มสตรีการปักผา้ มอญ-รามัญ กิจกรรมทางสงั คม 1 หมู่ 11 ต. ตลาดจินดา ศูนยเ์ รยี นรู้ตาบลตลาดจนิ ดา กิจกรรมทางสงั คม หมู่ 3 ต. ตลาดจินดา (ไทยทรงดา) วดั สามพราน (พุทโธภาวนา) กจิ กรรมทางสังคม หมู่ 7 ต. สามพราน วัดดงเกตุ กจิ กรรมทางสังคม หมู่ 6 ต. สามพราน บา้ นนายสุทิน สูนาสวน บคุ คล 25/1 หมู่ 5 ต. หอมเกรด็ วดั หอมเกร็ด กิจกรรมทางสงั คม 70 หมูท่ ่ี 4 ต. หอมเกร็ด วังมจั ฉา สิ่งท่ีมนษุ ยส์ รา้ งข้ึน 70 หม่ทู ่ี 4 ต. หอมเกร็ด สภาวฒั นธรรมตาบลคลองจนิ ดา กิจกรรมทางสงั คม 115 หมู่ 6 ต. คลองจินดา วัดปรดี าราม กจิ กรรมทางสงั คม 1 หมู่ 3 ต. คลองจินดา บา้ นนายลาจวน โสมะภรี ์ บคุ คล 43/4 หมู่ 4 ต. ยายชา วัดนักบุญเปโตร กิจกรรมทางสังคม หมู่ 3 ต. ทา่ ข้าม วดั ทา่ ข้าม กิจกรรมทางสงั คม หมู่ 3 ต. ทา่ ข้าม เรือศรสี วัสด์ยิ อ้ นยคุ สง่ิ ทม่ี นุษยส์ ร้างขน้ึ หมู่ 5 ต. บางกระทึก ตลาดน้าดอนหวาย กจิ กรรมทางสังคม หมู่ 5 ต.บางกระทกึ บ้านนายบุญสืบ สขุ ขงั บุคคล หมู่ 2 ต. คลองใหม่ ว้นุ มะพรา้ วโชคยืนยง บคุ คล หมู่ 5 ต. คลองใหม่ วดั นครชืน่ ชุม กิจกรรมทางสงั คม หมู่ 7 ต.กระทุ่มลม้ แหล่งเรยี นรศู้ ิลปะบ้านไพลนิ กิจกรรมทางสังคม 128-129 หมู่ 8 ต. ออ้ มใหญ่ กลมุ่ พัฒนาและแปรรปู สมนุ ไพร กจิ กรรมทางสังคม 14/137 หมู่ 4 ต. อ้อมใหญ่ พิพธิ ภัณฑว์ ัดทรงคนอง กิจกรรมทางสังคม หมู่ 5 ต. ทรงคนอง กลุ่มผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร (หมอเอี้ยง) กิจกรรมทางสงั คม 9/103 หมู่ 4 ต. ทา่ ตลาด กลุม่ หัตถกรรมปนั้ ดินขาวนครปฐม กิจกรรมทางสงั คม 69/49 หมู่ 2 ต. ท่าตลาด พิพธิ ภณั ฑ์วดั ทา่ พูด กิจกรรมทางสงั คม หมู่ 9 ต. ไร่ขิง ศูนย์การเรยี นรู้การปลูกพชื ระบบ กิจกรรมทางสังคม หมู่ 3 ต. ไรข่ งิ อินทรีย์ บา้ นนางสนุ ยี ์ อนิ ทรป์ ระดับ บคุ คล 18 หมู่ 1 ต. บ้านใหม่ ศนู ย์เรยี นรูเ้ กษตรอินทรีย์ กจิ กรรมทางสงั คม 4/2 หมู่ 3 ต. บ้านใหม่ กลุ่มสตรีบางเตย กจิ กรรมทางสงั คม หมู่ 7 ต. บางเตย วทิ ยาลัยผ้สู ูงอายุตาบลบางเตย กจิ กรรมทางสังคม องค์การบริหารสว่ นตาบลบางเตย หมู่ 1 ต.บางเตย ศูนย์การเรยี นรู้ชมุ ชนบา้ นหวั อา่ ว กิจกรรมทางสงั คม 73/1 หมทู่ ่ี 5 ต.บางช้าง 45 หมู่ที่ 1 ต.บางชา้ ง วดั บางช้างใต้ กิจกรรมทางสงั คม

18 แหลง่ เรยี นรอู้ นื่ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ทต่ี ั้ง วดั ธรรมปัญญารามบางมว่ ง กิจกรรมทางสงั คม หมูท่ ี่ 9 ต.บางชา้ ง วัดเชิงเลน กจิ กรรมทางสงั คม หม่ทู ่ี 10 ต.บางชา้ ง รวมจานวน 34 แห่ง 3. แหล่งสนบั สนุน ทนุ /งบประมาณ ประเภทองคก์ ร ไดแ้ ก่ ภาคเี ครือข่าย กิจกรรมทีด่ าเนนิ การ ทีว่ ่าการอาเภอสามพราน สนบั สนุนการดาเนนิ งาน ของ กศน.อาเภอ และ กศน. ตาบล วัดไร่ขิง สนบั สนนุ การดาเนินงาน และการจัดกจิ กรรม กศน. ของ กศน. อาเภอ และ กศน. ตาบล วดั ในแต่ละตาบล สนับสนุนการดาเนนิ งาน และการจัดกิจกรรม กศน. ของ กศน.ตาบล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแตล่ ะตาบล สนบั สนุนการดาเนินงานของ กศน. ตาบล สนับสนุนการจดั กิจกรรมการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอสามพราน สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเน่ือง ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กในแต่ละตาบล สนบั สนุนการจดั กิจกรรมการศึกษาตามอธั ยาศัย สาธารณสุขอาเภอสามพราน สนบั สนุนการจดั กจิ กรรม กศน. ของ กศน. อาเภอ และ กศน. ตาบล สานกั งานเกษตรอาเภอสามพราน สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน เกษตรตาบลทุกตาบล สนับสนุนการจดั กิจกรรม กศน. ของ กศน. อาเภอ และ กศน. ตาบล กลุ่มสตรีอาสาพัฒนาในชมุ ชนแต่ละตาบล สนบั สนุนการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง กล่มุ ผสู้ ูงอายุแตล่ ะตาบล สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง โรงเรียนผูส้ งู อายแุ ตล่ ะตาบล สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน กลมุ่ อสม. ตาบล แตล่ ะตาบล สนับสนนุ การจัดกิจกรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง สนับสนุนการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน กลุ่มอาสาสมคั รพฒั นาชมุ ชนแต่ละตาบล สนับสนุนการจัดกจิ กรรมการศึกษาต่อเน่ือง มหาวทิ ยาลยั มหามกุฎราชวทิ ยาลัย สนบั สนุนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั วิทยาเขตสิรนิ ธรฯ สนับสนนุ การจัดกิจกรรมการการจดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลทกุ สนับสนุนการดาเนนิ งาน และจดั กิจกรรมของ กศน.ตาบลอ้อมใหญ่ ตาบล สนบั สนุนการดาเนินงานของ กศน. ตาบล สถานีตารวจอาเภอสามพราน สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน สถานตี ารวจโพธ์ิแกว้ สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง สนบั สนุนการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย สนบั สนุนการดาเนินงานของ กศน.ตาบล สนับสนุนการดาเนินงานของ กศน.ตาบล

19 ภาคเี ครือขา่ ย กิจกรรมทดี่ าเนนิ การ ศนู ย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญงิ บา้ นปรานี สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน ศนู ย์ฝึกอาชีพหญงิ ตาบอดสามพราน สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการศึกษาต่อเน่ือง บริษทั เทพผดุงพรมะพรา้ ว จากัด สนบั สนุนการจัดกิจกรรมการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน สภาวฒั นธรรมตาบลคลองจนิ ดา สนับสนนุ การจดั กิจกรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง ผูน้ าชุมชน กานัน ผู้ใหญบ่ ้าน ของทุก ตาบล สนับสนุนการดาเนินงาน และจัดกิจกรรมของ กศน.ตาบลกระทุ่มล้ม ชมรมผู้สูงอายุ”แก่นไม”้ ตาบล สนบั สนุนการจดั กิจกรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง ตลาดจินดา บา้ นเออื้ อาทรศาลายา 1, 2, 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน สนับสนนุ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง วดั นักบุญเปโตร สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ตลาดน้าดอนหวาย สนับสนุนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ศนู ยก์ ารเรียนรชู้ มุ ชนตาบลบางกระทกึ สนับสนุนการจัดกจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ศนู ยก์ ารเรียนร้ชู มุ ชนบา้ นหวั อ่าว สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเน่ือง สนบั สนุนการจดั กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนเกาะลัดอีแท่น กล่มุ วิสาหกจิ ชมุ ชนโรงสขี า้ ว สนบั สนุนการดาเนนิ งานของ กศน. ตาบล หมู่บา้ นแฟคตอร่ีแลนด์ 1 สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน กองทนุ หมบู่ ้าน หมู่ 4 ต.อ้อมใหญ่ สนบั สนุนการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ท่เี ก่ียวกบั ประเพณี วัฒนธรรม ทางดา้ นศาสนาครสิ ต์ ชุมชนหมู่บ้านนศิ าชล สนับสนนุ การดาเนินงาน ของ กศน. ตาบลทุกกิจกรรม หมู่บ้านพฤกษา 48 สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง สนบั สนุนการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั กองทนุ หมู่บา้ นออ้ มใหญ่ หมู่ 8 ต.ออ้ มใหญ่ สนับสนนุ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาต่อเน่ือง กานันศริ ลิ กั ษณ์ พันธ์ทอง สนับสนนุ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ส.จ.สาเรงิ บุญอรุณรกั ษา สนับสนนุ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง สนับสนนุ การจดั กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนื่อง สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เนื่อง สนับสนุนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สนับสนุนการจดั กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง สนับสนุนการจัดกิจกรรมกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการศึกษาตามอัธยาศัย สนับสนุนการดาเนนิ งาน ของ กศน. ตาบลทกุ กจิ กรรม สนับสนุนการจดั กิจกรรม ของ กศน. ตาบลทกุ กิจกรรม

20 ภาคีเครือขา่ ย กิจกรรมท่ดี าเนนิ การ วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน โรงเรยี นวัดไรข่ ิง (สนุ ทรอุทิศ) สนบั สนนุ การจัดกิจกรรมการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน โรงเรยี นวดั ไรข่ งิ วทิ ยา สนบั สนนุ การจัดกิจกรรมการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน โรงเรียนบ้านฉาง สนบั สนนุ การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน โรงเรยี นบ้านคลองใหม่ สนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โรงเรียนบ้านตากแดด สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมในชุมชน ของ กศน.ตาบล โรงเรยี นวัดจินดาราม สนบั สนุนการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน สนับสนุนการจดั กิจกรรมในชมุ ชน ของ กศน.ตาบล โรงเรียนวดั ทา่ ขา้ ม สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน โรงเรยี นบา้ นบางประแดง สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน โรงเรยี นวดั เดชานสุ รณ์ สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตามอัธยาศยั โรงเรียนวัดหอมเกรด็ สนบั สนนุ การจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน สนับสนุนการจดั กิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง โรงเรยี นวดั อ้อมใหญ่ สนับสนนุ การจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง รวมจานวน สนับสนนุ การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 50 เครอื ขา่ ย 2.4 ข้อมูลด้านการศกึ ษา อาเภอสามพรานมีสถานศึกษาทุกระดับที่จะให้บริการทางการศึกษาตั้ งแต่ระดับก่อน ประถมศึกษาจนถงึ ระดับอดุ มศึกษา โดยแยกตามระดบั การศึกษา ดังนี้ อนบุ าลระดับเดียว 2 แหง่ อนุบาล – ประถมศกึ ษา 32 แหง่ อนุบาล – ม.ตน้ 11 แห่ง อนบุ าล – ม.ปลาย 2 แห่ง ประถมศกึ ษา – ม.ปลาย 1 แหง่ ม.ตน้ – ม.ปลาย 4 แห่ง ปวช. – ปวส. 2 แหง่ อดุ มศึกษา 2 แห่ง อดุ มศึกษา (มหาวิทยาลยั เอกชน) 1 แหง่ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 1 แห่ง โรงเรียนท่ีเปิดสอนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 8 แห่ง คือ โรงเรียนปรีดารามวิทยาคม โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา โรงเรียนสามพรานวิทยา โรงเรยี นนาคประสทิ ธิ์ โรงเรยี นมารยี ์อุปถมั ภ์ โรงเรยี นยอแซฟอุปถัมภ์ และโรงเรียนสคุ นธรี วิทย์

21 2.5 นโยบายและจดุ เน้นการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ประจาปงี บประมาณ 2563 วสิ ยั ทัศน์ คนไทยได้รบั โอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ สามารถ ดารงชวี ิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคลอ้ งกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะท่ีจาเป็นใน โลกศตวรรษท่ี 21 พันธกิจ 1. จดั และส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทีม่ ีคุณภาพ เพ่ือยกระดับ การศกึ ษา พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวยั พร้อมรับ การเปล่ยี นแปลงบริบททางสงั คม และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรูต้ ลอดชีวติ 2. สง่ เสริม สนับสนนุ และประสานภาคีเครือขา่ ย ในการมีส่วนรว่ มจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรียนร้ตู ลอดชวี ติ รวมทั้งการดาเนินกิจกรรมของศูนย์การเรียนและ แหล่งเรยี นรอู้ ื่น ในรูปแบบต่าง ๆ 3. สง่ เสรมิ และพัฒนานาเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใ้ หเ้ กิด ประสทิ ธภิ าพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับประชาชนอย่างทั่วถึง 4. พฒั นาหลกั สตู ร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื และนวัตกรรม การวดั และ ประเมินผลในทุกรูปแบบใหส้ อดคล้องกับบรบิ ทในปจั จบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื มุ่งจดั การศึกษาและ การเรียนรู้ท่มี ีคณุ ภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผดู้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทง้ั ประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศกึ ษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน การศกึ ษาต่อเนอื่ ง และ การศกึ ษาตามอัธยาศัย ที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทัว่ ถึง เป็นไปตามสภาพ ปญั หา และความต้องการ ของแต่ละกลุ่มเป้าหมาย 2. ประชาชนไดร้ ับการยกระดับการศกึ ษา สรา้ งเสรมิ และปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรม และ ความเป็นพลเมือง อันนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ให้ชมุ ชน เพ่อื พัฒนา ไปสู่ความม่ันคงและย่ังยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสง่ิ แวดลอ้ ม 3. ประชาชนไดร้ ับโอกาสในการเรียนรู้ และมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์แลเทคโนโลยที เ่ี หมาะสม สามารถคิด วเิ คราะห์ และประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน รวมท้ังแก้ปัญหา และพฒั นาคณุ ภาพชีวิตไดอ้ ย่าง สรา้ งสรรค์ 4. ประชาชนได้รบั การสร้างและส่งเสรมิ ใหม้ ีนสิ ัยรกั การอ่านเพอื่ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5. ชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ น รว่ มจดั ส่งเสริม และสนับสนนุ การดาเนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รวมทง้ั การขบั เคลอื่ นกิจกรรมการเรียนรขู้ องชมุ ชน 6. หน่วยงานและสถานศึกษาพฒั นา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยดี จิ ิทัล มาใชใ้ น การยกระดับคุณภาพในการจัดการเรยี นรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรใู้ ห้กับประชาชน 7. หนว่ ยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่ือและการจดั กระบวนการเรยี นรู้ เพื่อแกป้ ัญหาและ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ที่ตอบสนองกบั การเปล่ยี นแปลงบริบทดา้ นเศรษฐกิจ สัง่ คม การเมือง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทง้ั ตามต้องการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย

22 8. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การทเี่ ป็นไปตามหลักธรรมมาภบิ าล 9. บุคคลของหนว่ ยงานและสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างมีประสทิ ธิภาพ ตวั ชว้ี ัด ตัวชวี้ ัดเชิงปริมาณ 1. จานวนผเู้ รียนการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานทไี่ ด้รบั การสนับสนุน คา่ ใชจ้ ่ายตามสิทธิท่ีกาหนดไว้ 2. จานวนคนไทยกลุ่มเป้าหมายตา่ ง ๆ ท่เี ข้าร่วมกิจกรรมการเรียนร้/ู ได้รบั บริการกจิ กรรม การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัยท่สี อดคล้องกบั สภาพ ปญั หา และความต้องการ 3. รอ้ ยละของกาลงั แรงงานท่ีสาเร็จการศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้นข้ึนไป 4. จานวนภาคเี ครือข่ายทเ่ี ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจัด/พฒั นา/สง่ เสริมการศึกษา (ภาคี เครือข่าย: สถานประกอบการ องคก์ ร หนว่ ยงานท่มี ารว่ มจัด/พัฒนา/ส่งเสรมิ การศึกษา) 5. จานวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพนื้ ท่สี ูง และชาวไทยมอแกน ในพืน้ ที่ 5 จังหวัด 11 อาเภอ ไดร้ บั การบริการการศึกษาตลอดชวี ิตจาก ศูนย์การเรียนชมุ ชนสังกดั สานักงาน กศน. 6. จานวนผู้รับบรกิ ารในพื้นทีเ่ ปา้ หมายไดร้ ับการส่งเสรมิ ด้านการรหู้ นังสอื และการพัฒนา ทักษะชวี ติ 7. จานวนนักเรยี น/นกั ศกึ ษาที่ไดร้ ับบริการการตวิ เข้มเต็มความรู้ 8. จานวนประชาชนท่ไี ดร้ ับการฝึกอาชีพระยะสน้ั สามารถสร้างอาชีพเพอื่ สร้างรายได้ 9. จานวนครู กศน. ตาบล จากพนื้ ที่ กศน. ภาค ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการ เรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร 10. จานวนประชาชนที่ได้รบั การฝกึ อบรมภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการสื่อสารดา้ นอาชพี 11. จานวนผูส้ งู อายภุ าวะพึ่งพงิ ในระบบ Long Term Care มผี ดู้ ูแลทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน 12. จานวนประชาชนท่ีผา่ นการอบรมจากศนู ย์ดิจิทัลชุมชน 13. จานวนศูนยก์ ารเรยี นชุมชน กศน. บนพืน้ ทสี่ งู ในพ้ืนท่ี 5 จังหวดั ทสี่ ง่ เสรมิ การพัฒนา ทักษะการฟงั พดู ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ร่วมกนั ในสถานศกึ ษาสงั กดั สพฐ. ตชด. และ กศน. 14. จานวนบคุ ลากร กศน. ตาบลทีส่ ามารถจดั ทาคลงั ความรู้ได้ 15. จานวนบทความเพื่อการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ ในระดับตาบลในหัวขอ้ ต่าง ๆ 16. จานวนหลักสตู รและส่อื ออนไลน์ที่ให้บรกิ ารกับประชาชน ทัง้ การศกึ ษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอ่ เน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศยั ตัวชีว้ ดั เชิงคณุ ภาพ 1. รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุกรายวิชาทุกระดบั 2. ร้อยละของผูเ้ รียนที่ได้รับการสนับสนุนการจดั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานเทยี บกับคา่ เป้าหมาย 3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายทลี่ งทะเบยี นในทกุ หลกั สูตร/กจิ กรรมการศึกษาต่อเนอื่ ง เทียบกับเปา้ หมาย 4. ร้อยละของผ้ผู ่านการฝกึ อบรม/พัฒนาทักษะอาชพี ระยะส้ันสามารถนาความรู้ไปใชใ้ น การประกอบอาชีพ หรือพัฒนางานได้

23 5. รอ้ ยละของผู้เรียนในเขตพ้ืนท่จี ังหวดั ชายแดนภาคใต้ท่ีไดร้ บั การพฒั นาศกั ยภาพ หรือทกั ษะ ดา้ นอาชพี สามารถมีงานทาหรอื นาไปประกอบอาชีพได้ 6. รอ้ ยละของผ้จู บหลักสูตร/กจิ กรรมทีส่ ามารถนาความรคู้ วามเข้าใจไปใช้ไดต้ ามจุดมงุ่ หมาย ของหลักสูตร/กจิ กรรม การศึกษาต่อเนอื่ ง 7. ร้อยละของประชาชนท่ีได้รับการบรกิ ารมีความพึงพอใจการบริการ/เขา้ ร่วมกิจกรรมการ เรยี นรู้การศึกษาตามอัธยาศัย 8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายทีไ่ ดร้ ับบริการ/เขา้ รว่ มกจิ กรรมทม่ี ีความรู้ความเข้าใจ/ เจตคติ/ทกั ษะ ตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรมทก่ี าหนด ของการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 9. ร้อยละของนักเรียน/นักศึกษาทมี่ ีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในวชิ าท่ีไดร้ บั บรกิ ารตวิ เขม้ เต็ม ความรูเ้ พมิ่ สงู ขน้ึ 10. รอ้ ยละของผู้สูงอายุทเี่ ปน็ กลุ่มเปา้ หมาย มโี อกาสมาเขา้ ร่วมกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชีวติ นโยบายเรง่ ด่วนเพ่ือร่วมขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 1. ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง 1.1 พัฒนาและเสรมิ สรา้ งความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝังและสรา้ ง ความตระหนักรู้ถึงความสาคัญของสถาบันหลกั ของชาติ รณรงคเ์ สริมสร้างความรกั และความภาคภมู ใิ จ ในความเปน็ คนไทยและชาตไิ ทย น้อมนาและเผยแพร่ศาสตร์พระราชา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมถงึ แนวทางพระราชดารติ า่ ง ๆ 1.2 เสรมิ สรา้ งความรูค้ วามเข้าใจท่ีถกู ตอ้ ง และการมีส่วนร่วมอย่างถกู ต้องกับการปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ในบริบทของไทย มีความเปน็ พลเมืองดี ยอมรบั และเคารพความหลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ์ 1.3 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาเพือ่ ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาภัยคุกคามในรปู แบบ ใหม่ ทั้งยาเสพตดิ การค้ามนุษย์ ภยั จากไซเบอร์ ภัยพบิ ตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบัตใิ หม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและสร้างเสรมิ โอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษา การ พัฒนาทกั ษะ การสรา้ งอาชพี และการใช้ชีวิตในสงั คมพหวุ ัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ และพนื้ ทช่ี ายแดนอื่น ๆ 1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนมธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพอ่ื นบ้าน ยอมรบั และเคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกล่มุ ชาติพนั ธุ์ และชาวต่างชาตทิ ม่ี ีความหลากหลาย ใน ลักษณะพหสุ ังคมท่ีอยรู่ ่วมกัน 2. ยุทธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั 2.1 เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อยกระดับทักษะด้านอาชีพของ ประชาชนให้เป็นอาชีพท่ีรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S - curve) โดยบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาและเสริมทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาสในการสร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาดแรงงาน ทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพื้นท่ีเขตระเบียงเศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตาม ภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ สาหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้นการต่อยอดศักยภาพและตามบริบท ของพ้ืนท่ี 2.2 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาพ้ืนที่ภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบ การศึกษาอย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนาวุฒิท่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมทั้ง

24 พัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนอง ตอ่ บริบทของสงั คมและชุมชน รวมท้ังรองรับการพฒั นาเขตพื้นทีร่ ะเบยี บเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) 2.3 พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพ่อื ต่อยอดการผลติ และจาหน่ายสินค้าและผลติ ภัณฑ์ ออนไลน์ 1) เร่งจัดต้ังศูนย์ให้คาปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. เพ่ือยกระดับคุณภาพ ของสินค้าและผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการท่ีครบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสร้าง ช่องทางจาหน่าย) รวมทั้งส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในการเผยแพร่และจาหน่าย ผลิตภณั ฑ์ 2) พัฒนาและคัดเลือกสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ในแต่ละจังหวัด พร้อมท้ัง ประสานความร่วมมือกับสถานีบริการน้ามันในการเป็นช่องทางการจาหน่ายสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ให้กว้างขวางยงิ่ ขึ้น 3. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เช่ือมโยง ความรู้กับผู้เรียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการ เปล่ียนแปลงของสังคม และเป็น “ผู้อานวยการการเรียนรู้” ที่สามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรม และการเรียนรู้ทดี่ ี 1) เพ่ิมอตั ราข้าราชการครใู ห้กับ กศน. อาเภอทุกแหง่ โดยเรง่ ดาเนินการเร่ืองการหาอัตรา ตาแหนง่ การสรรหา บรรจุ และแตง่ ตงั้ ข้าราชการครู 2) พัฒนาขา้ ราชการครใู นรปู แบบครบวงจร ตามหลักสตู รที่เชือ่ มโยงกบั วทิ ยฐานะ 3) พฒั นาครู กศน. ตาบลให้สามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ โดยเนน้ เร่ือง การพฒั นาทักษะการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ทกั ษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจัดกระบวน การเรยี นรู้ 4) พฒั นาศึกษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบตั กิ ารนิเทศได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน. ทุกระดบั ทุกประเภทใหม้ ที ักษะความรเู้ รื่องการใช้ประโยชน์จาก ดิจทิ ลั และภาษาต่างประเทศที่จาเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม ในการให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง มี บรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พื้นท่ีการเรยี นรู้สาหรับคนทุกช่วงวัย มีส่ิงอานวยความสะดวก มี บรรยากาศสวยงาม มชี ีวติ ที่ดงึ ดดู ความสนใจ และมีความปลอดภัยสาหรับผู้ใช้บรกิ าร 1) เร่งยกระดับ กศน.ตาบลนาร่อง 928 แห่ง (อาเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรีเม่ียม ท่ีประกอบด้วย ครูดี สถานท่ีดี (ตามบริบทของพื้นที่) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรม การเรียนรทู้ ี่ดมี ีประโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็นพ้ืนที่ การเรียนรู้ (Co-Learning Space) ท่ีทันสมัยสาหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่าง ๆ อาทิ พ้ืนท่ีสาหรับการทางาน/การเรียนรู้ พ้ืนที่สาหรับกิจกรรมต่าง ๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมท้ังทางาน ร่วมกับห้องสมุดประชาชนในการให้บริการในรูปแบบห้องสมุดดิจิทัล บริการอินเทอร์เน็ต สื่อมัลติมีเดีย เพื่อรองรบั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning

25 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library โดยให้มีบริการ หนังสือในรูปแบบ e – Book บริการคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตความเร็วสงู รวมท้ัง Free Wi-Fi เพ่ือ การสบื ค้นขอ้ มลู 3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สาหรับทุกคน สามารถเรียนได้ทุกท่ีทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพ่ือ พัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมท้ังใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมกิจกรรม การเรียนรู้เพ่อื เชอ่ื มโยงความสมั พนั ธข์ องคนในชมุ ชนไปสู่การจดั การความรขู้ องชมุ ชนอยา่ งย่ังยนื 1) ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทีป่ ลูกฝังคณุ ธรรม สร้างวินยั จิตสาธารณะ ความรับผดิ ชอบ ต่อสว่ นรวม และการมีจิตอาสา ผา่ นกิจกรรมรปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนบั สนุนใหม้ ีการจัดกจิ กรรมเพ่ือปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรมใหก้ บั บคุ ลากรในองคก์ ร 2) จัดให้มีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก์ โดยให้สานักงาน กศน. จังหวัดทุกแห่ง/กทม. จัดตั้ง กองลูกเสือท่ีลูกเสือมีความพร้อมด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เป็นลูกเสือมัคคุเทศก์จังหวัดละ 1 กอง เพ่อื สง่ เสรมิ ลกู เสือจิตอาสาพัฒนาการท่องเที่ยวในแตล่ ะจงั หวดั 3.4 เสรมิ สร้างความร่วมมือกับภาคีเครือขา่ ย ประสาน สง่ เสรมิ ความร่วมมอื ภาคีเครือข่าย ท้ัง ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีสว่ นรว่ ม ของชมุ ชน เพ่อื สร้างความเข้าใจ และให้เกิดความรว่ มมือในการส่งเสรมิ สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการ เรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอย่างมีคุณภาพ 1) เร่งจัดทาทาเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่นในแต่ละตาบล เพื่อใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา ท้องถิ่นในการสร้างการเรียนรู้จากองค์ความรู้ในตัวบุคคลให้เกิดการถ่ายทอดภูมิปัญญา สร้างคุณค่าทาง วฒั นธรรมอย่างยง่ั ยืน 2) ส่งเสรมิ ภูมิปญั ญาท้องถ่ินสูก่ ารจัดการเรยี นรู้ชมุ ชน 3) ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายเพื่อการขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกกลุ่มอย่างกว้างขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุ่ม ผู้สงู อายุ กลุม่ อสม. 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มเปา้ หมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การ พฒั นาทักษะชีวิตและทักษะอาชพี การศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมท้งั การพฒั นาช่องทางการค้าออนไลน์ 2) ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏิบัติงาน การบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ 3) ส่งเสริมใหม้ ีการใช้การวจิ ัยอยา่ งง่ายเพ่ือสร้างนวตั กรรมใหม่ 3.6 พัฒนาศักยภาพคนดา้ นทกั ษะและความเข้าใจในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) 1) พฒั นาความรแู้ ละทักษะเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือพัฒนา รูปแบบการจัดการเรยี นการสอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจ และใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ที่สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั รวมทั้งสร้างรายไดใ้ หก้ บั ตนเองได้ 3.7 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทัง้ ในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว รวมทั้ง พฒั นาส่อื การเรียนการสอนเพ่ือสง่ เสริมการใชภ้ าษาเพื่อการสอื่ สารและการพัฒนาอาชีพ

26 3.8 เตรียมความพร้อมการเขา้ สู่สังคมผู้สูงอายทุ ี่เหมาะสมและมีคณุ ภาพ 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพ่ือสร้างความตระหนักถึงการเตรียมความ พร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมท้ังเรียนรู้และมี ส่วนร่วมในการดแู ลรบั ผดิ ชอบผูส้ งู อายุในครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความ พร้อมเข้าสวู่ ัยสงู อายทุ เี่ หมาะสมและมคี ุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและ สุขภาพจติ และรู้จกั ใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักด์ิศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนา และวฒั นธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพอื่ รองรับสงั คมผู้สงู อายุ โดยบรู ณาการความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานท่ี เก่ียวขอ้ งในทุกระดบั 3.9 การส่งเสริมวิทยาศาสตร์เพอ่ื การศึกษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุก และเน้นให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่ายกับประชาชน ในชุมชน ท้งั วทิ ยาศาสตร์ในวถิ ชี ีวิต และวทิ ยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจาวนั 2) พัฒนาส่ือนทิ รรศการและรูปแบบการจัดกิจกรรมทางวทิ ยาศาสตร์ให้ม่คี วามทนั สมยั 3.10 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขต พน้ื ทสี่ ูง ให้สามารถฟัง พดู อา่ น และเขียนภาษาไทย เพอ่ื ประโยชน์ในการใช้ชวี ิตประจาวันได้ 4. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและเสมอภาคทางสังคม 4.1 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้สาหรับทุกช่วงวัย ท่ีเป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สามารถ ให้บริการประชาชนได้ทุกคน ทุกช่วงวัย ทมี่ ีกิจกรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการในการเรียนรู้ ในแต่ละวัย และเป็นศูนย์บริการความรู้ ศูนย์การจัดกิจกรรมท่ีครอบคลุมทุกช่วงวัย เพื่อให้มีพัฒนาการ เรียนรทู้ ีเ่ หมาะสม และมีความสขุ กับการเรยี นร้ตู ามความสนใจ 1) เร่งประสานกับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อจัดทาฐานข้อมูล โรงเรยี นท่ถี กู ยุบรวม หรือคาดวา่ นา่ จะถกู ยุบรวม 2) ให้สานักงาน กศน. จังหวัดทุกแห่งท่ีอยู่ในจังหวัดที่มีโรงเรียนท่ีถูกยุบรวม ประสานขอ ใช้พ้ืนท่เี พ่อื จดั ตัง้ ศนู ย์การเรยี นรู้สาหรับทกุ ช่วงวัย กศน. 4.2 ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจัดการศึกษาและการเรียนรู้สาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายผ้พู กิ าร 1) จัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ และ การศึกษาตามอธั ยาศยั โดยเน้นรูปแบบการศึกษาออนไลน์ 2) ให้สานักงาน กศน. จังหวัดทุกแห่ง/กทม. ทาความร่วมมือกับศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวดั ในการใช้สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และครุภัณฑ์ด้านการศึกษา เพ่ือสนบั สนุนการจัดการศกึ ษา และการเรยี นรู้สาหรบั กลุ่มเปา้ หมายผพู้ กิ าร 4.3 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมท้ังกลุ่มเป้าหมาย พิเศษอื่น ๆ เช่น ผู้ตอ้ งขงั คนพิการ เด็กออกกลางคนั ประชากรวัยเรียนท่ีอยนู่ อกระบบการศึกษา ให้จบ การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน สามารถนาความรู้ท่ไี ด้รับไปพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

27 4.4 พัฒนาหลักสูตรการจดั การศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทนั สมยั เหมาะสม กับบริบทของพ้ืนท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผู้รับบรกิ าร 5. ยุทธศาสตร์ด้านสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม 5.1 ส่งเสริมให้มีการใหค้ วามรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพ่ือลดความเสียหายจาก ภยั ธรรมชาติและผลกระทบทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับ ประชาชนเก่ียวกับการคัดแยกตั้งแต่ต้นทาง การกาจัดขยะ และการนากลับมาใช้ซ้า เพื่อลดปริมาณและ ต้นทุนในการจัดการขยะของเมือง และสามารถนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้โดยง่าย รวมทั้งการจัดการ มลพษิ ในชุมชน 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลด การใช้ทรัพยากรท่ีส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัด ไฟฟ้า เปน็ ตน้ 6. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ บรหิ ารจัดการบนขอ้ มูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความโปร่งใส 6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและพัฒนา งาน สามารถเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ พร้อมทั้งพัฒนาโปรแกรม ออนไลน์ทส่ี ามารถเชื่อมโยงขอ้ มลู ต่าง ๆ ทท่ี าให้การบรหิ ารจดั การเปน็ ไปอย่างต่อเนื่องกนั ตั้งแต่ต้นจนจบ กระบวนการ และให้ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายสามารถเขา้ ถึงบริการได้อย่างทันที ทกุ ทแี ละทุกเวลา 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตาแหนง่ ให้ตรงกบั สายงาน ความชานาญ และความตอ้ งการของบุคลากร ภารกิจตอ่ เนอื่ ง 1. ด้านการจดั การศึกษาและเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดย การดาเนินการให้ผเู้ รยี นได้รับการสนับสนุนค่าจดั ซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และค่าจัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและพอพียง เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการเข้าถึงบริการทาง การศึกษาทมี่ คี ณุ ภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ า่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ท้ังระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและ ประเมินผลการเรียน ผ่านการเรียน แบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการ จัดการศึกษาทางไกล 3) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามท่ีกาหนด และสามารถตอบสนอง ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วม ปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรม เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริม

28 การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนากิจกรรม การบาเพญ็ ประโยชนอ์ ืน่ ๆ นอกหลกั สูตร มาใช้เพม่ิ ชัว่ โมงกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นจบตามหลักสตู รได้ 1.2 การสง่ เสริมการรู้หนังสือ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผูไ้ มร่ หู้ นังสอื ให้มีความครบถ้วน ถกู ต้อง ทันสมยั และเป็น ระบบเดยี วกัน ทัง้ สว่ นกลางและสว่ นภมู ิภาค 2) พัฒนาหลกั สตู ร ส่อื แบบเรยี น เคร่ืองมือวัดผลและเคร่ืองมอื การดาเนนิ งานการ ส่งเสรมิ การรู้หนังสือที่สอดคล้องกับสภาพแต่ละกลุ่มเปา้ หมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคเี ครือข่ายทรี่ ่วมจดั การศึกษา ใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะการจัดกระบวนการเรียนรู้ใหก้ ับผู้ไมร่ ้หู นังสืออย่างมีประสทิ ธิภาพ และอาจจดั ใหม้ อี าสาสมัคร สง่ เสรมิ การรู้หนังสอื ในพ้ืนที่ท่ีมคี วามต้องการจาเป็นเปน็ พิเศษ 4) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การร้หู นังสอื การคงสภาพการรู้ หนงั สอื การพัฒนาทกั ษะการรู้หนังสอื ใหก้ บั ประชาชนเพื่อเปน็ เครื่องมือในการศึกษาและเรยี นรูอ้ ยา่ ง ต่อเนอ่ื งตลอดชีวิตของประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน โดยให้ความสาคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และ อาชีพเฉพาะทาง หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการ และศักยภาพของแต่ละพ้ืนที่ ตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดย จัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่นต่อหนึ่งศูนย์ฝึกอาชีพ รวมท้ังให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัด การศึกษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาอย่างเปน็ ระบบและต่อเนื่อง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะ การดารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหาร จัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงของ ขา่ วสารขอ้ มูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกจิ กรรมท่ีมีเนื้อหาสาคัญต่าง ๆ เช่น สุขภาพกาย และจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนุม การสง่ เสรมิ ความสามารถพิเศษต่าง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการ เรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรา้ งชุมชนนกั ปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และ บริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนที่ เคารพความคิดของผู้อ่ืน ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทาง ความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้ง สังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพ่ือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การ

29 บาเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน้า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ช่วยเหลอื ซงึ่ กนั และกันในการพฒั นาสังคมและชุมชนอย่างย่งั ยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการ เรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้ อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความ สมดลุ และยัง่ ยืน 1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศัย 1) ส่งเสรมิ ให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตาบล เพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัดกจิ กรรม เพ่อื เผยแพรอ่ งคค์ วามรใู้ นชุมชนไดอ้ ยา่ งท่วั ถงึ 2) จดั กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอา่ น และพัฒนาความสามารถ ใน การอา่ น และศกั ยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทกุ กล่มุ เป้าหมาย 3) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือต่อการอ่านให้เกิดขึ้นใน สังคมไทย โดยสนับสนุนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนา ห้องสมุดประชาชน ทุกแห่งให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุน อาสาสมัคร ส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคล่ือนท่ีพร้อมอุปกรณ์เพื่อจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ให้บริการกับประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่าง ทั่วถึง สม่าเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์ เพ่ือสนับสนุนการอ่าน และการจัด กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสริมการอ่านอย่างหลากหลาย 4) จัดสร้างและพัฒนาศูนยว์ ิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ตลอดชีวิตของประชาชน และเป็นแหล่งท่องเท่ียวประจาท้องถิ่น โดยจัดทา และพัฒนานิทรรศการ สื่อ และกิจกรรม การศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ สอดแทรกวิธีการคิดและ ปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการฝึกทักษะกระบวนการท่ีบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมท้ังสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้งการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อให้ ประชาชนมีความรู้และความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีทักษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 มี ความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบ จากการเปล่ียนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนาความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ใน การดาเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษา สงิ่ แวดล้อม การบรรเทาและปอ้ งกันภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ 1.5 พัฒนา กศน. ตาบล สู่ “กศน.ตาบล 4G” 1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการ เรียนรู้ : Good Teacher ให้เป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงความรู้กับผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมือ อาชีพ” มีจิตบรกิ าร มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นผู้จัดกิจกรรมการเรยี นรู้และ บริหารจดั การความรทู้ ี่ดี รวมทงั้ เป็นผปู้ ฏบิ ตั ิงานอยา่ งมคี วามสุข 2) พัฒนา กศน.ตาบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้อย่าง ตอ่ เน่ือง : Good Place Best Check-In มีความพรอ้ มในการใหบ้ ริการกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู้ เป็นแหล่ง ข้อมูลสาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง และสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์ มีสิ่ง อานวยความสะดวก ดึงดดู ความสนใจ และมีความปลอดภัยสาหรบั ผ้รู บั บริการ

30 3) ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูภ้ ายใน กศน.ตาบล : Good Activities ให้มีความ หลากหลาย น่าสนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทง้ั เปดิ โอกาสให้ชมุ ชนเขา้ มาจดั กิจกรรมเพ่อื เช่ือมโยงความสมั พันธ์ของคนในชมุ ชน 4) เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย : Good Partnership ท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อ สรา้ งความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมอื ในการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ใหก้ ับ ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ 1.6 ประสานความร่วมมือหนว่ ยงาน องค์กร หรอื ภาคสว่ นต่าง ๆ ท่ีมแี หลง่ เรียนรู้อนื่ ๆ เชน่ พิพิธภณั ฑ์ ศูนยเ์ รียนรู้ แหล่งโบราณคดี หอ้ งสมุด เพ่ือสง่ เสริมการจัดการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหม้ ี รปู แบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน 2. ดา้ นหลักสตู ร ส่ือ รปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล งานบรกิ ารทาง วิชาการ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สง่ เสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ และกจิ กรรมเพ่ือส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถิ่นท่ี สอดคลอ้ งกบั สภาพบริบทของพ้นื ท่ี และความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายและชุมชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออ่ืน ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของ ผเู้ รียน กลุ่มเปา้ หมายทวั่ ไปและกลุ่มเป้าหมายพเิ ศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและ การควบคมุ การสอบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.5 พฒั นาระบบการวดั และประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สตู ร โดยเฉพาะหลักสตู ร ในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้มีการนาไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสม กบั บรบิ ทอย่างต่อเนื่อง 2.7 พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐาน เพ่อื พร้อมรับการประเมิน คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบการ ประกัน คุณภาพ และสามารถดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้ การประเมิน ภายในด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่เี ล้ยี งเข้าไปสนับสนุนอยา่ งใกล้ชิด สาหรับ สถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมินคุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาให้ได้ คุณภาพตามมาตรฐานทีก่ าหนด 3. ด้านเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพ่ือการศึกษาให้เชื่อมโยงและ ตอบสนองต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพื่อ

31 กระจายโอกาสทางการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้มที างเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมี คุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการส่ือสาร เช่น รายการ พัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทา รายการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานี วทิ ยโุ ทรทศั น์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอรเ์ นต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผ่านระบบ เทคโนโลยีดิจทิ ัล และช่องทางออนไลน์ตา่ ง ๆ เช่น YouTube Facebook หรือ Application อ่ืน ๆ เพื่อ สง่ เสรมิ ให้ครู กศน. นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใ้ นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศให้กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างตอ่ เนื่องตลอด ชีวิต โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทกุ เวลา ครอบคลุมพื้นทีท่ ่ัวประเทศ และเพ่ิม ช่องทาง ให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทาง อนิ เทอร์เนต็ พรอ้ มทจี่ ะรองรับการพัฒนาเป็นสถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์เพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาให้ได้หลายช่องทางทั้งทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบอ่ืน ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ได้ตาม ความตอ้ งการ 3.5 สารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และนาผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มคี วามถกู ต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชวี ติ ของประชาชนไดอ้ ย่างแท้จรงิ 4. ดา้ นโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หรอื โครงการอนั เก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการ อันเกีย่ วเนือ่ งจากราชวงศ์ 4.2 จัดทาฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ หรือโครงการอันเกย่ี วเนอื่ งจากราชวงศ์ ท่ีสามารถนาไปใชใ้ นการวางแผน การตดิ ตามประเมินผล และการพฒั นางานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดาเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ เพอื่ ใหเ้ กิดความเขม้ แขง็ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพร้อมในการจัด การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตามบทบาทหนา้ ท่ีท่กี าหนดไว้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 4.5 จัดและส่งเสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชีวิตใหส้ อดคล้องกับวถิ ีชวี ิตของประชาชนบนพ้ืนท่ีสูงถิ่น ทรุ กนั ดาร และพื้นทชี่ ายขอบ 5. ด้านการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพน้ื ที่บริเวณชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนอง ปญั หา และความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย รวมทั้งอัตลักษณ์และความเป็นพหวุ ฒั นธรรมของพน้ื ท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอย่างเข้มข้นและ ตอ่ เน่อื ง เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนสามารถนาความรู้ทไี่ ด้รับไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง

32 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากร และนักศึกษา กศน. ตลอดจนผมู้ าใช้บริการอยา่ งทวั่ ถึง 5.2 พฒั นาการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตาม ยทุ ธศาสตร์ และบริบทของแตล่ ะจังหวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทาหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนท่ี โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของ ตลาด ให้เกิดการพัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพน้ื ท่ี 5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดนให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริ ปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง สาหรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวธิ ีการเรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการ เขา้ ถึงกลมุ่ เปา้ หมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชพี การประสานความรว่ มมอื กบั เครือขา่ ย การจัดอบรมแกน นาด้านอาชีพ ท่ีเน้นเรื่องเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตาม แนวชายแดน 6. ด้านบคุ ลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ น 6.1 การพัฒนาบุคลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง ท้ังก่อนและ ระหว่างการดารงตาแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ ดาเนินงาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกัด พฒั นาตนเอง เพอื่ เลอ่ื นตาแหนง่ หรอื เลอ่ื นวทิ ยฐานะ โดยเน้นการประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยในสถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงข้ึน เพื่อการบริหารจดั การ กศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการ ความรู้และผู้อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้เพื่อใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนร้ทู ่มี ปี ระสิทธภิ าพอยา่ งแท้จรงิ 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบ การเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจัด กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล และการวจิ ัยเบอื้ งตน้ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มี ความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน 6) ส่งเสรมิ ให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วม ในการบรหิ ารการดาเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

33 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่าย ทั้งในและต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพ่ิมประสิทธิภาพใน การ ทางานร่วมกันในรปู แบบทีห่ ลากหลายอย่างตอ่ เนื่อง 6.2 การพัฒนาโครงสรา้ งพื้นฐานและอัตรากาลัง 1) จัดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุ อุปกรณ์ ใหม้ ีความพรอ้ มในการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 2) บริหารอัตรากาลังท่ีมีอยู่ ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้ เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สุดในการปฏิบตั งิ าน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนามาใช้ ในการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย และการสง่ เสริมการเรยี นรู้สาหรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่ว ประเทศ อย่างเป็นระบบ เพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใช้เป็นเครื่องมือสาคัญ ในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมท้ังจัดบริการการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรง่ รดั การเบกิ จ่ายงบประมาณใหเ้ ป็นตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัด การศกึ ษา ใหก้ บั ผู้เรยี นและการบรหิ ารจัดการอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษา วิจัย เพื่อสามารถนามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ ประชาชน และชุมชนพรอ้ มทัง้ พฒั นาขดี ความสามารถเชงิ การแข่งขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและ ส่งเสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชีวติ 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใชห้ อ้ งประชุม เปน็ ต้น 6.4 การกากบั นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้เช่อื มโยงกับหนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครอื ข่ายทงั้ ระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศกึ ษาที่เก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากับ ติดตาม และรายงานผลการนานโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละ เรื่อง ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออ่ืน ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการ กากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิราชการตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการ ประจาปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคารับรองการปฏิบัติราชการ

34 ประจาปี ของสานักงาน กศน. ให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และ ระยะเวลาทก่ี าหนด 5) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตง้ั แต่ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจงั หวัด จงั หวัด อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการ ใช้ข้อมลู และการพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2.6 ยุทธศาสตร์จงั หวัดนครปฐม 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) วสิ ยั ทศั น์ (Vision) “เมืองเกษตรและอุตสาหกรรมปลอดภัย แหล่งท่องเท่ยี วเชิงประวัตศิ าสตร์ ศาสนา วัฒนธรรม ศนู ย์กลางการศึกษา และประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี” พันธกจิ (Misson) เพ่ือใหก้ ารพฒั นาจงั หวัดนครปฐมมุ่งสู่การเป็น “เมอื งเกษตรและอตุ สาหกรรมปลอดภยั แหล่งทอ่ งเที่ยวเชงิ ประวัตศิ าสตร์ ศาสนา วฒั นธรรม ศูนยก์ ลางการศึกษา และประชาชนมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ี ดี” ภารกิจหลักและการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน ซ่ึงจะนาไปสู่การพฒั นาเพ่ือประโยชน์สุขของ ประชาชนและการพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื มีดงั นี้ 1. สง่ เสริมพฒั นามาตรฐานด้านคณุ ภาพและความปลอดภัยของผลผลิตทางการเกษตรและ อตุ สาหกรรมตลอดหว่ งโซค่ ุณค่า 2. สง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวเชงิ ประวัตศิ าสตร์ ศาสนา และวฒั นธรรมใหม้ คี ณุ ภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานการท่องเทย่ี ว 3. พัฒนาคุณภาพชวี ติ สรา้ งความมนั่ คงทางสงั คม ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา และบรหิ าร จดั การทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอย่างย่ังยืน เป้าประสงคร์ วม (Overall Goals) 1. มูลคา่ การจาหนา่ ยผลผลติ การเกษตร และสนิ คา้ เกษตรปลอดภยั เพิม่ ข้นึ 2. จานวนแปลง/ฟาร์ม ท่ีผ่านการรับรองมาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) และเกษตร อินทรยี ์ 3. จานวนโรงงานทผี่ ่านเกณฑ์ตัวชี้วดั อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศเพ่มิ ข้นึ 4. รายไดจ้ ากการท่องเที่ยวเพิ่มข้นึ และมีแหล่งท่องเทย่ี วเชิงประวตั ศิ าสตร์ ศาสนา และ วัฒนธรรมที่ไดร้ ับการพัฒนาตามเกณฑม์ าตรฐานการท่องเท่ียวเพ่มิ ขึ้น 5. การพฒั นาคุณภาพทางการศกึ ษาให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสงู กวา่ เกณฑ์มาตรฐานใน ระดับประเทศ 6. ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ท่ีดี มคี วามปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ ิน และคุณภาพ สง่ิ แวดล้อมอยู่ในเกณฑม์ าตรฐานทก่ี าหนด ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategy Issues) 1. พฒั นาการจดั การห่วงโซค่ ุณค่าสนิ คา้ เกษตร อาหารปลอดภยั และส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ 2. ยกระดับการท่องเท่ยี วเชิงประวตั ศิ าสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมใหม้ คี ุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานการท่องเทย่ี ว

35 3. พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและความมน่ั คงทางสงั คม ยกระดับการศึกษา และบรหิ ารจดั การ สงิ่ แวดลอ้ มอย่างย่ังยืน เป้าประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ และกลยทุ ธ์ 1. ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 พฒั นาการจัดการหว่ งโซค่ ุณคา่ สนิ คา้ เกษตร อาหารปลอดภยั และ สง่ เสริมอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ 1.1 เป้าประสงค์เชงิ ยุทธศาสตร์ 1 มูลค่าสนิ ค้าเกษตรและอาหารปลอดภัยเพ่มิ ขึ้น และ อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศได้รับการสง่ เสรมิ อยา่ งต่อเนื่อง 1.2 กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ 1 พัฒนาศักยภาพเกษตร ปจั จยั พ้ืนฐาน และเทคโนโลยีนวตั กรรมทีเ่ อ้ือต่อการ ผลติ กลยทุ ธ์ 2 พฒั นามาตรฐานการผลติ การแปรรูป การลดตน้ ทุน และส่งเสริมอตุ สาหกรรม เชิงนเิ วศ กลยุทธ์ 3 สร้างมูลคา่ เพ่ิมแก่ผลผลิตและพฒั นาความแตกต่างของผลิตภณั ฑ์ กลยุทธ์ 4 ส่งเสริมการค้า การตลาด และเช่ือมโยงเครือข่ายผู้ประกอบการท้ังในและ ตา่ งประเทศ 2. ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 2 ยกระดับการท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรมให้ มคี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการท่องเทีย่ ว 2.1 เปา้ ประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ 2 การทอ่ งเทีย่ วเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม ไดร้ ับการพฒั นาและยกระดบั ใหม้ คี ณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการทอ่ งเทย่ี ว 2.2 กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ 5 พัฒนาโครงสร้างและปัจจัยพ้ืนฐานท่ีเอ้ือต่อการท่องเท่ียว และพัฒนาแหล่ง ทอ่ งเทีย่ ว กจิ กรรมสินคา้ ดา้ นการทอ่ งเทีย่ ว กลยุทธ์ 6 พัฒนามาตรฐานและบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วอย่างมีประสทิ ธิภาพ กลยุทธ์ 7 พฒั นาการตลาดและประชาสมั พันธ์การทอ่ งเทยี่ วเชงิ รุก 3. ประเด็นยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงทางสังคม ยกระดับการศึกษา และบรหิ ารจัดการสิ่งแวดล้อมอยา่ งยงั่ ยนื 2.1 เป้าประสงค์เชิงยทุ ธศาสตร์ 3 ประชาชนมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี สงั คมเขม้ แข็ง การศึกษามี คณุ ภาพ และบรหิ ารจดั การสิง่ แวดล้อมอย่างยั่งยืน 2.2 กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ 8 พัฒนาโครงสรา้ งและปจั จัยพ้ืนฐานรองรบั เศรษฐกจิ และคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี กลยุทธ์ 9 เสรมิ สร้างความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตทรัพย์สินของประชาชน และสร้างความ เขม้ แข็งทางสังคม กลยุทธ์ 10 พฒั นาการใหบ้ รกิ ารทางการศึกษาและสาธารณสขุ อย่างมีประสทิ ธิภาพ กลยุทธ์ 11 บรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยืน

36 สว่ นที่ 3 ทิศทางการดาเนินงาน การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน. อาเภอสามพราน (SWOT Analysis) สถานศึกษาได้ประชุมบุคลากรเพ่ือร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา โดยใช้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกาหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจาก สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือนาผลไปใช้ในการกาหนดทิศทางการดาเนินงาน ของสถานศึกษา ซึง่ ได้ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา ดังนี้ 1. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จดุ แข็งของ กศน. อาเภอ (Strengths - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตาบล/อาเภอ คณะกรรมการ กศน.ตาบล/อาเภอ) ด้าน งบประมาณ ด้านอาคารสถานที่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านิยม องคก์ ร ด้านหลกั สตู ร 1. มหี ลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ท่มี ี โครงสรา้ งยืดหยดุ ด้านสาระการเรียนรู้ เวลาเรยี น และการจัดการเรยี นรู้ และมีการปรับปรุง 2. มหี ลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่องที่ได้รับการรบั รองจากสานักงาน กศน.และจาก หนว่ ยงานอืน่ ๆ เชน่ สานกั งานทดสอบฝีมือแรงงาน วิทยาลัยในวัง เป็นต้น 3. ครูส่วนใหญ่สามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย โดยมุ่งเน้นผ้เู รยี นเป็น สาคัญ 4. พื้นท่อี าเภอสามพรานมวี ทิ ยากร การศึกษาต่อเนื่องอย่างเพียงพอตอ่ การจดั กจิ กรรม 5. วทิ ยากรการศกึ ษาต่อเนอ่ื งมีความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอดความรูแ้ ละทักษะ ใหก้ บั กลุ่มเป้าหมายเป็นอย่างดี 6. ผู้เรียนเม่อื จบการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ไดน้ าวฒุ กิ ารศึกษาไปพฒั นาตนเอง เชน่ เรียน ตอ่ ในระดับทส่ี งู ขึ้น หรอื มีทางเลือกในการประกอบอาชีพมากข้ึน 7. ผ้เู รียนการศกึ ษาต่อเนื่อง เมอื่ เรียนจบหลกั สูตรสามารถนาความรูไ้ ปประกอบอาชีพ พฒั นาอาชีพ และดารงชวี ติ ได้ ดา้ นครู / บุคลากร 8. ผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ ในการปฏบิ ตั งิ าน 9. บุคลากรมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ีมีความสามัคคี ทางานเป็นทมี และมีจติ สาธารณะ 10. บุคลากรได้รับการอบรมและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง และนามาใช้ในการพัฒนางาน 11. บคุ ลากรมีทักษะในการประสานงานและทางานรว่ มกบั ภาคเี ครือขา่ ย 12. บุคลากรปฏบิ ัตหิ นา้ ทีโ่ ดยยดึ หลกั ธรรมภิบาลและดาเนนิ ชวี ติ ตาม หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

37 13. บุคลากรมกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์รว่ มกันอย่าง ต่อเนอ่ื ง ดา้ นงบประมาณ 14 ไดร้ บั งบประมาณในการจัดกิจกรรมอยา่ งเพียงพอ 15. ภาคีเครือขา่ ยสนับสนุนค่าสาธารณูปโภค ด้านบริหาร 16. มีโครงสร้างการบริหารงานทชี่ ัดเจน และมอบหมายงานตามโครงสรา้ ง 17. มีภาคีเครอื ข่ายคณะกรรมการสถานศกึ ษาและคณะกรรมการ กศน. ตาบล สง่ เสริมสนับสนนุ การจดั การศึกษา 18. มีแผนการปฏิบตั งิ านทีช่ ัดเจน สามารถปฏิบตั งิ านไดต้ ามแผนอย่างมปี ระสิทธิภาพ 19. กศน.อาเภอสามพราน และ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน ตง้ั อยใู่ นแหลง่ ชุมชน การคมนาคมสะดวก 20. หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อาเภอสามพรานเปน็ แหลง่ รวบรวมองค์ ความรู้ทหี่ ลากหลายเอือ้ ต่อการจดั กิจกรรมและให้บริการแก่กล่มุ เปา้ หมาย 21. มี กศน.ตาบล ครบทุกตาบลสามารถจดั การศกึ ษาให้ประชาชนไดอ้ ย่างทั่วถงึ 22. มวี ัสดุ อปุ กรณ์สือ่ การเรียนร้ทู หี่ ลากหลายและเพียงพอต่อการจดั กิจกรรม 23. มีการนิเทศ ติดตามผลในทกุ กิจกรรม 1.2 จุดอ่อนของ กศน. อาเภอ (Wesknesses - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตาบล/อาเภอ คณะกรรมการ กศน.ตาบล/อาเภอ) ด้าน งบประมาณ ด้านอาคารสถานท่ี สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านิยม องคก์ ร ด้านหลักสูตร 1. การประเมินหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 และหลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งยงั ไมเ่ ปน็ ระบบ ด้านบคุ ลากร 2. ครูบางคนมคี วามสามารถในการออกแบบการจัดกระบวนการเรยี นรูท้ เ่ี น้นผู้เรียน เปน็ สาคัญในรายวิชาหลักค่อนข้างน้อย 3. ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนปลายภาค รายวิชาหลกั ไดแ้ ก่ วชิ าภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ค่อนข้างตา่ 4. บุคลากรบางส่วนยังขาดความรูแ้ ละทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีท่ีทันสมยั ในการจัดการ เรียนรู้ทเ่ี หมาะสมกับผู้เรียน 5. ครบู างคนไม่ไดน้ าส่ือที่เป็นรูปแบบนวัตนกรรมใหม่ ๆ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สง่ ผล ใหผ้ ู้เรยี นไมส่ นใจเทา่ ทีค่ วร 6. สถานศึกษายงั ขาดการอบรมวิทยากรการศกึ ษาต่อเนื่อง ด้านงบประมาณ 7. ไม่ได้รบั การจดั สรรเงนิ งบประมาณในการจัดหาครภุ ณั ฑส์ านักงานการจัดการเรยี น การสอนและการจดั การศึกษาตามอธั ยาศัย

38 8. สานกั งาน กศน. จดั สรรงบประมาณ การศึกษาตามอัธยาศยั มาแบบไมต่ รงกบั ความ ตอ้ งการ รับรู้ส่ือของผ้รู ับบรกิ ารยุคใหม่ เช่น คา่ วารสารหนังสือพิมพ์ห้องสมดุ ด้านบริหารงาน 9. กศน.อาเภอสามพราน และ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิราชกมุ ารี” อาเภอสามพราน มีสถานท่ีไม่เป็นเอกเทศ คือ ใช้รว่ มกบั หนว่ ยงานอน่ื ทาให้ไมส่ ามารถบรหิ ารจดั การได้อย่างคลอ่ งตวั 10. กศน. ตาบลบางแหง่ ไม่เป็นเอกเทศทาให้ไม่สามารถจัดกจิ กรรมตามภารกิจบาง กิจกรรมไดอ้ ย่างคล่องตัว 11. สถานศกึ ษายังไม่ได้นาผลการนเิ ทศตดิ ตามมาใชใ้ นการปรับปรุงพัฒนาการจัด กจิ กรรมอย่างเปน็ ระบบ 2. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ด้านนโยบาย กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพ้ืนที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ต่อสอื่ สาร และด้านสิง่ แวดลอ้ ม 1. บางพ้ืนทข่ี องอาเภอสามพรานเป็นลกั ษณะของชมุ ชนทเ่ี ขม็ แข็ง 2. ภาคีเครอื ขา่ ยและผู้นาชมุ ชนส่วนใหญ่ใหค้ วามรว่ มมือเป็นอยา่ งดี และใหก้ าร สนบั สนนุ ดา้ นตา่ ง ๆ เช่น สถานที่ บคุ ลากร วัสดุอุปกรณ์ และ การประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรม กศน. 3. ประชาชนสว่ นใหญ่ยงั ไมม่ ีการนาเทคโนโลยมี าใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ การดารงชีวิต และการประกอบอาชพี 4. พน้ื ทอ่ี าเภอสามพราน มแี หลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ที่หลากหลายท้ังด้าน การเกษตร ศิลปวัฒนธรรม สาธารณสุข ด้านการศึกษาตลอดด้านการปกครอง และอื่น ๆ 5. พน้ื ทอ่ี าเภอสามพรานบางพื้นมปี ระเพณี วฒั นธรรมท้องถิ่น 6. มีเครือขา่ ยให้บรกิ ารอนิ เตอรเ์ น็ตครอบคลุมทกุ พืน้ ที่ทาให้ประชาชนเขา้ ถงึ ข้อมูลได้ งา่ ยและเกดิ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ 6. พนื้ ท่ขี องอาเภอสามพราน เปน็ พนื้ ท่เี กษตรกรรมมผี ลผลติ มาก ทาให้ราคาสนิ ค้า เกษตรตกตา่ 7. อาเภอสามพราน บางพน้ื ที่เปน็ เขตอุตสากรรมทาใหม้ ีประชากรแฝงค่อนข้างมาก และสว่ นใหญต่ ้องการวฒุ ิการศกึ ษา เพื่อนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ 8. ลักษณะพ้ืนท่ใี นบางพ้นื ท่เี ปน็ การอย่รู ่วมกันเปน็ ชมุ ชน 9. พนื้ ท่ีอาเภอสามพรานเข้าสูส่ งั คมผู้สูงอายุ 2.2 อุปสรรค/ความเสย่ี ง (Threats - T) ด้านนโยบาย กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ตอ่ ส่ือสาร และด้านสง่ิ แวดลอ้ ม 1. พ้นื ทอ่ี าเภอสามพรานเป็นลักษณะกึง่ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ทาให้การรวมตวั ของคนในชมุ ชนบางชุมชน ในการจัดกิจกรรม กศน. ทาได้ยาก 2. ประชาชนทเี่ ป็นแรงงานในภาคอตุ สาหกรรมยา้ ยถน่ิ ฐานบ่อย 3. ครู กศน.ตาบลไดร้ ับมอบหมายภารกิจจากตน้ สงั กัดหลายด้าน และภารกิจจาก หนว่ ยงานอน่ื ท่ที า MOU รว่ มกนั ทาให้มีปรมิ าณของงานมาก แตค่ ณุ ภาพของงานไมส่ มบูรณเ์ ทา่ ที่ควร 4. ผู้นาชมุ ชน/ท้องถิ่น บางพ้ืนที่ ไมส่ นับสนนุ การจัดกิจกรรมของ กศน.

39 5. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มี รายวิชาเลือกจานวนมาก เปน็ อุปสรรคในการบริหารจัดการ และการจัดการเรยี นรู้ 6. ลกั ษณะพ้ืนที่ในบางพ้นื ทเ่ี ปน็ ลักษณะกระจาย 7. ประชาชนส่วนใหญม่ อี าชีพหลัก 8. สถานประกอบการบางแห่งไม่สนบั สนนุ แรงงานในสถานประกอบการศึกษาต่อ หรือ ไม่ใหผ้ ู้เรียนเข้ากิจกรรม แนวทาง/กลยุทธก์ ารดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน. อาเภอ วสิ ัยทัศน์ ภายในปี 2565 ผู้เรียน และผู้รับบริการของ กศน. อาเภอสามพราน ได้รับบริการ การศึกษาตลอดชีวิตท่ีมีมาตรฐาน สามารถดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่าย ชุมชน เกิดสงั คมแหง่ การเรยี นรู้อย่างทั่วถงึ และเทา่ เทียมกัน ปรัชญา เรยี นรตู้ ลอดชวี ิต คดิ เปน็ เน้นพอเพียง อัตลักษณ์ เรียนรู้ มีจติ อาสา เรียนรู้ คอื ผเู้ รียนสามารถและแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ผา่ นชอ่ งทางตา่ ง ๆ จติ อาสา คือ ผู้เรียนช่วยเหลือสถานศกึ ษา ชมุ ชน สงั คม โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน เอกลกั ษณ์ องค์กรแหง่ การเรยี นรู้ องค์กรแห่งการเรยี นรู้ หมายถึง สถานศกึ ษา ภาคีเครือขา่ ย รวมรวมองค์ความรู้ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้รว่ มกัน พันธกจิ 1. จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหผ้ ู้เรยี น และผรู้ ับบรกิ าร มี มาตรฐาน และสามารถดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. พัฒนากระบวนการจดั การเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ ที่สง่ เสรมิ การเรียนรทู้ เี่ น้น ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั 3. พฒั นาครผู ้สู อนให้มีความรู้ ทักษะในการออกแบบ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่เี น้น ผ้เู รียนเปน็ สาคัญ 4. พฒั นาหลักสูตรการจดั การศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพสอดคลอ้ งกับความต้องการ และการ เปล่ยี นแปลงของสงั คม 5. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล และการมี สว่ นร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมขน 6. สง่ เสรมิ ใหภ้ าคีเครือข่าย ชมุ ชน ร่วมจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย 7. รวบรวมองคค์ วามรใู้ นท้องถิน่ และเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์สู่ชมุ ชน

40 เป้าประสงค์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ 1. จดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม 1. ผ้เู รยี นและผ้รู ับบรกิ ารมีความรู้ ทักษะ และมี อัธยาศัยใหผ้ ้เู รยี น และผรู้ บั บรกิ าร มมี าตรฐาน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามมาตรฐานท่ี และสามารถดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของ สถานศกึ ษากาหนด เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นรู้ และส่อื การ 2. ผู้เรยี นมีทกั ษะการแสวงหาความรู้ เรียนรู้ ที่สง่ เสรมิ การเรียนร้ทู ี่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ กระบวนการคิด และสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ สาคัญ ต่อการพัฒนาตนเองไดอ้ ยา่ งต่อเนอื่ ง 3. พัฒนาครผู ู้สอนให้มีความรู้ ทักษะในการ 3. ครูผู้สอนมคี วามรู้ ทักษะในการออกแบบการ ออกแบบ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทเี่ น้นผเู้ รียน จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ เปน็ สาคัญ อย่างมีคุณภาพ 4. ครผู สู้ อนมคี วามรู้ ทกั ษะในการจัดกจิ กรรม 4. พฒั นาหลักสูตรการจดั การศกึ ษาให้มคี ุณภาพ การเรยี นรู้ท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั ได้อยา่ งมี สอดคล้องกับความต้องการ และการเปลยี่ นแปลง คุณภาพ ของสังคม 5. หลกั สูตรการจัดการศึกษามคี ณุ ภาพสอดคล้อง 5. พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธิภาพ กบั ความต้องการ และการเปลยี่ นแปลงของสังคม โดยยึดหลักธรรมาภิบาล และการมสี ว่ นร่วมของ ภาคีเครอื ขา่ ย ชมุ ขน 6. สถานศึกษามรี ะบบบรหิ ารจดั การตามหลกั 6. สง่ เสริมใหภ้ าคเี ครอื ข่าย ชมุ ชน รว่ มจดั การ ธรรมาภิบาล ศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 7. รวบรวมองค์ความรใู้ นท้องถิน่ และเผยแพร่ 7. ภาคีเครือข่าย ชุมชน รว่ มจดั การศกึ ษานอก ประชาสัมพนั ธส์ ชู่ ุมชน ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 8. สถานศกึ ษาเป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ กลยุทธ์ 1. พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน 2. พัฒนาบุคลากร 3. การบรหิ ารจดั การ โดยในแต่ละกลยุทธ์ได้กาหนดวัตถุประสงค์กลยุทธ์ไว้ดงั นี้

41 ที่ กลยุทธ์ วตั ถปุ ระสงคก์ ลยุทธ์ 1 พฒั นาคุณภาพ 1. เพื่อให้ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมที่พงึ ประสงค์ ผู้เรียน 2. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะกระบวนการคดิ ทักษะการแสวงหาความรู้ เรยี นรู้ อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการดารงชวี ติ 3. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษาตามนโยบายสถานศึกษากาหนด 4. เพือ่ ให้ผู้เรียน หรือผ้รู ับบริการมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการ ประกอบอาชีพ 5. เพื่อใหผ้ ู้เรยี น หรือผรู้ ับบริการปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6. เพื่อใหผ้ เู้ รยี น หรอื ผู้รับบริการสามารถใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม 7. เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั บริการได้รบั ความร้แู ละ/หรือประสบการณ์จากการเข้ารว่ ม กิจกรรม/โครงการการศึกษาตามอัธยาศยั 2 พฒั นาบุคลากร 1. เพอื่ ให้บุคลากรเปน็ บคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ 2. เพ่อื ให้บุคลากรสามารถออกแบบการจดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั 3. เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรมีความรู้ ทักษะการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคญั 4. เพ่ือให้บคุ ลากรมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถพัฒนาหลักสตู รการจัด การศึกษาใหม้ ีคุณภาพสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการและการเปล่ียนแปลงทาง สังคม 3 การบริหารจดั การ 1. เพ่อื ให้สถานศึกษามรี ะบบสารสนเทศสาหรบั การบรหิ ารและจดั การศกึ ษา อยา่ งมีคณุ ภาพตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และหลกั ธรรมาภบิ าล 2. เพื่อใหบ้ ุคลากร ภาคีเครือข่าย และคณะกรรมการสถานศึกษามีสว่ นรว่ มใน การบริหารจัดการศกึ ษา 3. เพื่อพฒั นาระบบการปฏิบัตงิ านใหม้ กี ารตดิ ตาม ประเมินผล ตามวงจร คณุ ภาพ PDCA 4. เพื่อประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรอ่ งคค์ วามรู้ และกจิ กรรม กศน. ส่ชู มุ ชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook