Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย

Published by Guset User, 2023-06-30 18:20:38

Description: สัญลักษณ์พุทธฯ

Search

Read the Text Version

การศึกษาวิเคราะหส์ ญั ลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนาในสงั คมไทย AN ANALYTICAL STUDY OF THE BHUDDHIST SYMBOLS IN THAI SOCIETY พระครูศรปี ญั ญาวิกรม (บุญเรอื ง ปญญฺ าวชิโร/เจนทร) วิทยานพิ นธน์ ี้เปน็ สว่ นหนึ่งของการศกึ ษา ตามหลกั สตู รปรญิ ญาพุทธศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพระพทุ ธศาสนา บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

AN ANALYTICAL STUDY OF THE BUDDHIST SYMBOLS IN THAI SOCIETY Phrakrusripanyawikrom (Bunruang Paññâvajiro/Jentorn) A Dissertation Submitted in Partial Fulfillment of The Requirement for The Degree of Doctor of Philosophy (Buddhist Studies) Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University Bangkok, Thailand C.E.2014 (Copyright by Mahachulalongkornrajavidyalaya University

บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย อนมุ ัตใิ หน้ บั วทิ ยานิพนธ์ เร่ือง “การศึกษาวิเคราะห์สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทย” เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตาม หลกั สตู รปรญิ ญาพทุ ธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพระพุทธศาสนา .................................................. (พระมหาสมบูรณ์ วฑุ ฺฒิกโร,ดร.) คณบดีบณั ฑิตวิทยาลยั คณะกรรมการตรวจสอบวทิ ยานิพนธ์ ....................................................................ประธานกรรมการ (พระมหาสมบูรณ์ วฑุ ฺฒกิ โร,ดร.) .............................................................. กรรมการ (พระครภู าวนาโพธคิ ณุ ,ดร.) .............................................................. กรรมการ (รองศาสตราจารย์ ดร.ประจติ ร มหาหิง) .............................................................. กรรมการ (รองศาสตราจารยจ์ ริ ภัทร แก้วกู่) .............................................................. กรรมการ (ดร.อดุ ร จนั ทวนั ) คณะกรรมการควบคุมวทิ ยานิพนธ์ พระครูภาวนาโพธคิ ุณ,ดร. ประธานกรรมการ รองศาสตราจารยจ์ ิรภทั ร แกว้ กู่ กรรมการ ดร.อดุ ร จันทวนั กรรมการ ชอ่ื ผวู้ ิจยั ................................................. ....(.พ...ร..ะ..ครูศรปี ัญญาวกิ รม)

ก วทิ ยานพิ นธ์ : การศึกษาวเิ คราะห์สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสงั คมไทย ผวู้ ิจยั : พระครูศรีปัญญาวกิ รม (บุญเรอื ง ปญฺญาวชิโร/เจนทร) ปรญิ ญา : พุทธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ (พระพุทธศาสนา) คณะกรรมการควบคมุ วิทยานิพนธ์ : พระครูภาวนาโพธคิ ุณ พธ.บ. (ศาสนา),M.A. (Phil.),M.Phill., Ph.D.(Phill.) : รองศาสตราจารย์จริ ภัทร แก้วกู่ ป.ธ.๕,ป.ศศ.,พธ.บ., ศศ.ม. : ดร.อดุ ร จนั ทวัน พ.ม., พธ.บ., M.A.(Pol.Sc.), พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) วนั เสรจ็ สมบรู ณ์ : ............./มีนาคม/๒๕๕๘ บทคัดยอ่ งานวิจัยนีม้ วี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ๑. ศึกษาสญั ลกั ษณใ์ นคัมภรี ์พระพทุ ธศาสนา ๒. ศึกษาสญั ลักษณ์ ทางพระพทุ ธศาสนาในสังคมไทย และ ๓. วิเคราะห์สัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาท่ีมีอทิ ธิพลต่อสงั คมไทย โดยประยกุ ตใ์ ช้ระเบียบวธิ วี ิจยั เชิงคณุ ภาพ ผลการวิจัยพบว่า สัญลักษณ์ หมายถึง สิ่งใด ๆ ที่มนุษย์กาหนดขึ้นเพื่อส่ือถึง หรือให้มีความ หมายถึงส่ิงอีกอย่างหนึ่งนอกเหนือจากตัวมันเอง สัญลักษณ์หนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยส่วนประกอบ ๒ ประการเสมอ กล่าวคือ รูปสญั ญะ กบั ความหมายสญั ญะ รปู สัญญะ หมายถงึ รปู ท่ีนามาใช้เพ่ือถ่ายทอดหรอื สือ่ ความหมาย อาจเปน็ ตวั หนังสือ ภาพ เสยี ง หรือวัตถใุ ด ๆ ก็ตามที่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส ส่วนความหมายสัญญะหมายถึง ความหมายใด ๆ ทีถ่ ูกสื่อผ่านรูปสญั ญะ คัมภีร์พระพุทธศาสนามีการใช้สัญลักษณ์เพื่อการส่ือสารอยู่ท่ัวไป รูปแบบของสัญลักษณ์มีท้ัง ส่วนท่ีได้รับอิทธิพลจากบริบทสังคม และที่กาหนดขึ้นใช้เฉพาะในกลุ่มพุทธบริษัท ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อบุ าสกิ า ส่วนท่ีกาหนดขน้ึ ใช้เฉพาะกลมุ่ มีทั้งท่กี าหนดขึ้นแบบอิสระ ใชเ้ ฉพาะกิจ เฉพาะกรณี และ มสี ่วนท่ีกาหนดข้นึ โดยอาศยั ธรรมวนิ ัย ซึ่งถือเป็นหลักการทใี่ ช้ร่วมกนั การศึกษาสัญลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสังคมไทยพบว่า มีการนาสัญลักษณ์ทาง พระพุทธศาสนาไปใช้ในสังคมอย่างกว้างขวาง ครอบคลุมสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมไปถึง งานจติ รกรรม ประติมากรรม สถาปตั ยกรรม และวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรมตา่ ง ๆ ในแง่ของอิทธิพลพบว่า สัญลักษณ์ในคัมภีร์พระพุทธศาสนา มีอิทธิพลต่อการใช้สัญลักษณ์ใน สงั คมไทยไม่มากนัก แต่กลับพบว่า พระพุทธศาสนามีบทบาทสาคัญในการสร้าง หรือการกาหนดสัญลักษณ์ ใช้ในสงั คมไทย และสัญลกั ษณเ์ หล่านนั้ ก็มอี ิทธิพลต่อสงั คมไทยอย่างกวา้ งขวาง ทานองกลับกัน คติความเช่ือ ของสังคมไทย กม็ อี ิทธพิ ลสาคัญต่อการกาหนดสัญลกั ษณ์ทางพระพุทธศาสนาเพื่อรบั ใช้สังคมดว้ ยเช่นกัน จาการศึกษาวิเคราะหเ์ ชิงสัญลักษณ์พระพุทธศาสนาในสังคมไทย พบข้อมูลเกี่ยวกับสัญลักษณ์ หลากหลาย และกว้างขวาง ยังไม่สามารถประมวลมาศึกษาได้ทุกมิติอย่างละเอยี ดเชงิ ลึกได้ ไมว่ ่าจะในส่วน ของสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมถึงงานจิตรกรรม ประติมากรรม วัฒนธรรม ประเพณี และ พิธกี รรมตา่ ง เห็นว่าสามารถวิจยั ตอ่ ยอดได้อกี หลายประเด็น

ข Thesis Title : An analytical Study of Buddhist Symbols in Thai-Society Researcher : Phrakrusripanyawikrom (Bunruang Pańńāvajiro/Jentorn) Degree : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies) Thesis Supervisor : Phrakrubhawanabhodhikun B.A, M.A (Phil.), M.A.(Pol.Sc.),Ph.D. (Phil.) : Assoc.Prof. Jirapathara Keawku Pali V, B.A., M.A. : Udorn Chandawan B.A., M.A. .(Pol.Sc.), Ph.D. (Buddhist Studies) Date of Completion : ............./March/2015 Abstracts The objectives of the research are 1) to study the symbols on Buddhist Canon, 2) to study the Buddhist Symbols in Thai-society, and to analyze the influence of Buddhist Symbols on Thai-society, under which qualitative methodology was used. The findings were as follows:- Symbol means anything that represents or stands for something else. A Symbols must have both a signifier and a signified. Signifier means the form which the sign takes such as form of words, images, sounds, acts or objects. Signified means the thing or concept denoted by a sign. In Buddhist Canon, both Tipitaka and Commentaries, Symbols are used for communication thoroughly. The symbolic forms influenced by social context, and some were provided for using only in Buddhist Companies, namely monks, nuns, laymen and laywomen. Some provided from were Independent and some were based on Dhamma- Vinaya. According to Buddhist Symbols in Thai society, Thai society by and large went for using the Buddhist symbols spaciously, lied over a national, religious, and monarchy institution, also over a painting, architecture, culture, tradition, and rite. On the influence of Buddhist symbol to Thai society, the researcher found a little bit. But Buddhism played the important role to specified symbolic form in Thai society. In the same time, the way of life of Thai people played the key role to specified Buddhist symbolic form for using in Thai society too. As the result of study, it was found that various symbols can be furthermore studied on many of social contexts and on many of dimensions.

ค กติ ตกิ รรมประกาศ วิทยานิพนธ์เล่มน้ีสาเร็จลุล่วงด้วยดี ก็ด้วยได้รับการสนับสนุน และช่วยเหลือจากหลาย ฝา่ ย จงึ ขอประกาศอนโุ มทนา และขอบคุณไว้ ณ โอกาสน้ี กราบขอบพระคุณพระครูภาวนาโพธิคุณ,ดร. ผู้อานวยการวิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ที่รับ เป็นประธานคณะกรรมการคุมวิทยานิพนธ์ พร้อมทั้งพรพิเศษที่ทาให้เกิดความสะดวกสบายในการ บริหารจดั การตน้ ฉบับเพื่อตรวจทาน เช่นเดยี วกันกบั ดร.อดุ ร จนั ทวัน ขออนุโมทนาขอบคุณรองศาสตราจารย์จิรภัทร แก้วกู่ อาจารย์ท่ีปรึกษาผู้เป็นกาลังหลัก คอยเอ้ือเฟื้อ ให้คาแนะนาท่ีเป็นประโยชน์ ขณะเดยี วกัน ก็ได้ให้บทเรียนที่สาคัญ ๆ แก่ผ้วู ิจัยอยู่เสมอ โดยเฉพาะเร่ืองความพิถีพิถันในการใช้ภาษา การอ้างอิง การลาดับข้อมูล ทาให้ผู้วิจัยให้เรียนรู้งาน วิชาการที่มรี ะดับ และมีระบบมากย่ิงขนึ้ ขออนุโมทนาขอบคุณ ศาสตราจารย์ ดร.ประยงค์ แสนบุราณ, รองศาสตราจารย์ ดร.ประ จิตร มหาหิง คณุ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิวิจารณ์ผลงาน ท่ไี ด้ชชี้ อ่ ง และเติมเต็ม ทาใหง้ านมีความสบูรณ์ ย่ิงขน้ึ ขอขอบคุณผู้ช่วยศาสตรารย์ ดร.ธีรโชติ เกิดแก้ว บรรณาธิการวารสารศึกษาศาสตร์ ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติท่ีอานวยความสะดวกในการตีพิมพ์เผยแพร่บทความ วิจยั ขอขอบพระคุณพระมหาสาราญ กมมมสุทมโธ, ผศ.ดร. ท่ีช่วยตรวจทาน และขัดเกลา บทคัดย่อภาษาอังกฤษให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งข้ึน พร้อมกันน้ีขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์บัณฑิตทุก ทา่ น ทอี่ านวยความสะดวกดา้ นตา่ ง ๆ เปน็ อยา่ งดีเสมอตน้ เสมอปลาย ขอบคุณ ดร.ชยาภรณ์ สขุ ประเสรฐิ , คุณอุไร พรมสรุ ินทร์, นางประภาพร เฮียบสวุ รรณ ท่ี ขวนขวายคอยช่วยเหลอื ด้านปัจจยั ๔ หลายต่อหลายครั้ง ขออนุโมทนากบั ชาวบา้ นดา่ น บ้านหนองหวา้ ท่เี สยี สละทากิจกรรมต่าง ๆ ภายในวดั อย่าง ไม่ขาดตกบกพร่อง แม้ในยามท่ีผู้วิจยั ไม่ได้อยู่วัด ทาใหร้ ู้สึกเบาใจ และไมก่ งั วลในยามทต่ี ้องทิ้งภารกิจ ภายในวัดเพ่อื จดั แจง จัดการกบั งานวิจยั ชนิ้ น้ีใหล้ ลุ ว่ ง บุญกุศลใดท่ีเกิดข้ึนจากความดีงามของงานวิจัยชิ้นน้ี ผู้วิจัยขอน้อมบูชาแด่พ่อผู้เป็น แบบอย่างที่ดีให้กับชีวิตอย่างเสมอต้นเสมอปลายตราบเท่าถึงปัจจุบัน อีกท้ังความดีส่วนน้ีขออุทิศ ใหแ้ กโ่ ยมแมผ่ ลู้ ว่ งลับไปแลว้ ขอท่านผู้มีส่วนทาให้งานวิจัยน้ีสาเร็จลุล่วง ไม่ว่าโดยตรง หรือโดยอ้อม จงได้รับความ ขอบคณุ และอนุโมทนาดว้ ยความจรงิ ใจ พระครูศรีปญั ญาวิกรม ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

สารบัญ ง บทคัดย่อภาษาไทย ก บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญรปู ฉ สารบัญตารางและแผนผงั ฏ คาอธิบายสัญลกั ษณ์คมั ภรี ์ ฐ บทที่ ๑ บทนา ๑ ๑.๑ ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา ๘ ๑.๒ วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา ๘ ๑.๓ ขอบเขตของการศึกษา ๘ ๑.๔. ปัญหาที่ตอ้ งการทราบ ๘ ๑.๕ นิยามศพั ทเ์ ฉพาะทใี่ ช้ในการศึกษา ๙ ๑.๖ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ๑๐ ๑.๗ ทบทวนเอกสารและรายงานการวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ๒๐ ๑.๘ วิธดี าเนินการศึกษา ๒๑ ๑.๘ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั ๒๒ บทท่ี ๒ แนวคดิ และทฤษฎีสัญลักษณ์ ๒๒ ๒.๑ บทนิยามและความหมายสัญลกั ษณ์ ๒๓ ๒.๒ แนวคิดและทฤษฎสี ัญศาสตร์ ๓๒ ๒.๓ ทฤษฎีปฏสิ มั พันธเ์ ชงิ สัญลักษณ์ ๓๕ ๒.๔ ทฤษฎีสัญลักษณแ์ ละการตคี วาม ๓๘ ๒.๕ สรุปท้ายบท ๓๙ บทที่ ๓ สญั ลักษณใ์ นคมั ภรี ์พระพทุ ธศาสนา ๓๙ ๓.๑ กาเนดิ พุทธสญั ลกั ษณ์ ๔๐ ๓.๒ สญั ลกั ษณ์ในพระวินยั ปิฎก ๔๕ ๓.๓ สญั ลักษณใ์ นพระสุตตนั ตปิฎก ๕๕ ๓.๔ สัญลกั ษณ์ในอรรถกถาพระวนิ ัยปฎิ ก ๖๒ ๓.๕ สญั ลกั ษณ์ในอรรถกถาพระสตุ ตนั ตปฎิ ก ๗๔ ๓.๖ สัญลกั ษณ์ในอรรถกถาพระอภธิ รรมปฎิ ก ๗๕ ๓.๗ วิเคราะหบ์ ทบาทสัญลักษณ์ ๗๗ ๓.๘ สรปุ ทา้ ยบท

จ บทที่ ๔ สญั ลักษณ์ทางพระพุทธศาสนาในสงั คมไทย ๗๘ ๔.๑ สัญลกั ษณ์สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ ๗๘ ๔.๒ สญั ลักษณ์หนว่ ยงานของรฐั ๘๗ ๔.๓ สญั ลกั ษณส์ ถาบันและองค์กรทางพระพุทธศาสนา ๙๒ ๔.๔ สัญลกั ษณ์ประจาจังหวัด ๑๐๐ ๔.๕ สัญลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนาในจติ รกรรม ๑๒๔ ๔.๖ สญั ลักษณ์ทางพระพทุ ธศาสนาทป่ี รากฏในประตมิ ากรรม ๑๓๙ ๔.๗ สญั ลกั ษณท์ างพระพุทธศาสนาในสถาปตั ยกรรมไทย ๑๗๘ ๔.๘ สัญลกั ษณ์ทางพระพุทธศาสนาประเพณี และพธิ กี รรม ๑๘๙ ๔.๙ วิเคราะห์ความหมายสัญลักษณ์ ๒๐๖ ๔.๙.๑ สัญลกั ษณ์แทนพระพุทธศาสนา ๒๐๖ ๔.๙.๒ สัญลกั ษณ์แทนพระพทุ ธเจ้า ๒๐๘ ๔.๙.๓ สญั ลักษณแ์ ทนพระธรรม ๒๑๒ ๔.๙.๔ สญั ลกั ษณแ์ ทนพระสงฆ์ ๒๑๓ ๔.๙.๕ สญั ลกั ษณ์แทนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา ๒๑๓ ๔.๙.๖ สัญลกั ษณ์แทนข้อวัตรปฏิบตั ิต่าง ๆ ๒๑๖ ๔.๙.๗ สญั ลกั ษณแ์ ทนสงิ่ อื่น ๒๑๗ ๔.๑๐ สรปุ ท้ายบท ๒๒๓ บทท่ี ๕ สญั ลักษณท์ างพระพทุ ธศาสนาทม่ี ตี อ่ การใช้สัญลักษณใ์ นสงั คมไทย ๒๒๕ ๕.๑ อิทธพิ ลทม่ี ตี อ่ สถาบันชาติ ๒๒๕ ๕.๒ อิทธพิ ลทม่ี ตี ่อสถาบนั ศาสนา ๒๓๕ ๕.๓ อิทธพิ ลทม่ี ตี ่อสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ๒๓๙ ๕.๔ อทิ ธพิ ลทม่ี ตี ่องานศลิ ปะ ๒๔๓ ๕.๕ อิทธพิ ลที่มีตอ่ ประเพณี และพธิ ีกรรม ๒๕๓ ๕.๖ สรุปท้ายบท ๒๕๖ บทที่ ๖ สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ๒๕๗ ๖.๑ สรปุ ๒๕๗ ๖.๒ อภปิ รายผล ๒๖๑ ๖.๓ ขอ้ เสนอแนะ ๒๖๓ บรรณานกุ รม ๒๖๔ ประวัติผูว้ ิจยั ๒๗๔

สารบัญรูป ฉ ภาพประกอบที่ ๒.๑ แสดง Iconic mode หน้า ภาพประกอบท่ี ๒.๒ แสดง Indexical mode ๒๙ ภาพประกอบท่ี ๒.๓ แสดง Signic mode ๓๐ ภาพประกอบท่ี ๒.๔ แสดง Signal,Code ๓๐ ภาพประกอบที่ ๒.๕ แสดง Sign,symbol ๓๑ ภาพประกอบที่ ๒.๖ สญั ลักษณ์ชนเผ่า Dogon ๓๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑ พระราชลญั จกรประจารัชกาลที่ ๑ ๔๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๒ พระราชลัญจกรประจารัชกาลท่ี ๘ ๗๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๓ ตราแผ่นดนิ สยาม ๗๙ ภาพประกอบที่ ๔.๔ ตรามหาจักรบี รมราชวงศ์ ๘๐ ภาพประกอบที่ ๔.๕ เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์นพรตั นราชวราภรณ์ ๘๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๖ เหรียญศานตมิ าลา ๘๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๗ เหรยี ญราชนยิ ม ๘๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๘ เหรียญบรมราชาภิเศก ๘๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๙ เหรยี ญชยั วัฒน์ ๘๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐ พระที่นัง่ บุษบกมาลามหาจักรพรรดิพิมาน ๘๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑ พระแท่นราชบัลลงั ก์ประดบั มกุ ๘๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑ ธงท่มี ีความหมายถึงประเทศไทยและชาติไทย ๘๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒ ธงชัยเฉลมิ พล ๓ เหลา่ ทัพ ๘๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓ ธงพทิ ักษ์สันตริ าษฎร์ ๘๘ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔ ธงกองอาสารกั ษาดนิ แดน ๘๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕ ธงคณะลกู เสือแหง่ ชาติ ๘๙ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖ ตรากระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ๙๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗ ตรากระทรวงพลังงาน ๙๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘ ตรากระทรวงศึกษาธกิ าร ๙๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙ ตราราชการคณะสงฆ์ไทย ๙๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐ ตราประจาตาแหน่งสมเด็จพระสงั ฆราช ๙๓ ภาพประกอบที่ ๔.๒๑ ตราประจาตาแหนง่ เจ้าคณะปกครอง ๙๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๒ ตราสนามหลวงแผนกธรรม บาลี ๙๔ ภาพประกอบที่ ๔.๒๓ ตรามหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๙๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๔ ตรามหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย ๙๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๕ ตราสานักงานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ ๙๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๖ ตราพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ๙๖ ๙๗

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ช ภาพประกอบที่ ๔.๒๗ ตราองค์การพทุ ธศาสนิกสัมพันธ์แหง่ โลก ๙๘ ภาพประกอบที่ ๔.๒๘ ตรายุวพทุ ธกิ สมาคมแห่งประเทศไทย ๙๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๙ ตราเปรยี ญธรรมสมาคมแหง่ ประเทศไทย ๙๙ ภาพประกอบที่ ๔.๓๐ ตราโรงเรยี นวดั ธรรมจักรวทิ ยา ๙๙ ภาพประกอบที่ ๔.๓๑ ตราประจาจังหวัดกาญจนบุรี ๑๐๐ ภาพประกอบที่ ๔.๓๒,๕๘ ตราและธงประจาจังหวัดขอนแก่น ๑๐๑,๑๑๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๓,๕๙ ตราและธงประจาจังหวดั ฉะเชงิ เทรา ๑๐๑,๑๑๔ ภาพประกอบที่ ๔.๓๔,๖๐ ตราและธงประจาจังหวดั ชยั นาท ๑๐๒,๑๑๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๕,๖๑ ตราปและธงประจาจังหวดั เชยี งใหม่ ๑๐๒,๑๑๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๖,๖๒ ตราและธงประจาจังหวัดนครปฐม ๑๐๒,๑๑๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๗,๖๓ ตราและธงประจาจังหวัดนครพนม ๑๐๓,๑๑๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๘,๖๔ ตราและธงประจาจังหวัดนครศรีธรรมราช ๑๐๓,๑๑๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๓๙,๖๕ ตราและธงประจาจังหวดั นา่ น ๑๐๔,๑๑๖ ภาพประกอบที่ ๔.๔๐,๖๗ ตราและธงประจาจังหวดั ปราจนี บรุ ี ๑๐๔,๑๑๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๑,๖๘ ตราและธงประจาจังหวัดพะเยา ๑๐๔,๑๑๗ ภาพประกอบที่ ๔.๔๒,๖๙ ตราและธงประจาจังหวดั พิษณโุ ลก ๑๐๕,๑๑๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๓ ตราประจาจงั หวดั มกุ ดาหาร ๑๐๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๔,๗๑ ตราและธงประจาจังหวดั ยโสธร ๑๐๖,๑๑๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๕ ตราประจาจงั หวดั ร้อยเอด็ ๑๐๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๖,๗๒ ตราและธงประจาจังหวดั ลพบุรี ๑๐๗,๑๑๙ ภาพประกอบที่ ๔.๔๗,๗๓ ตราและธงประจาจังหวัดลาปาง ๑๐๘,๑๑๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๔๘,๗๔ ตราและธงประจาจังหวดั ลาพูน ๑๐๘,๑๒๐ ภาพประกอบที่ ๔.๔๙,๗๕ ตราและธงประจาจังหวัดเลย ๑๐๙,๑๒๐ ภาพประกอบที่ ๔.๕๐,๗๖ ตราและธงประจาจังหวัดสกลนคร ๑๐๙,๑๒๐ ภาพประกอบที่ ๔.๕๑,๗๗ ตราและธงประจาจังหวดั สมุทรปราการ ๑๐๙,๑๒๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๒ ตราประจาจังหวดั สระแก้ว ๑๑๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๓,๗๘ ตราและธงประจาจังหวดั สระบุรี ๑๑๐,๑๒๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๔ ตราประจาจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ๑๑๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๕,๘๑ ตราและธงประจาจังหวัดอุตรดิตถ์ ๑๑๑,๑๒๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๕๖ ตราประจาจงั หวัดอานาจเจริญ ๑๑๒ ภาพประกอบที่ ๔.๕๗ ธงประจาจังหวดั กาแพงเพชร ๑๑๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๖๖ ธงประจาจังหวัดปทมุ ธานี ๑๑๗ ภาพประกอบที่ ๔.๗๐ ธงประจาจงั หวัดแพร่ ๑๑๘ ภาพประกอบที่ ๔.๗๙ ธงประจาจังหวัดสุโขทัย ๑๒๑ ภาพประกอบที่ ๔.๘๐ ธงประจาจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ๑๒๒

ซ สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพประกอบที่ ๔.๘๑ ธงประจาจังหวัดหนองบัวลาภู ๑๒๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๒ ภาพสลกั ศิลาคนมีมงคลท้ัง ๔ ๑๒๕ ภาพประกอบที่ ๔.๘๓ ภาพจิตรกรรมฝาผนังถา้ ศิลป์ ๑๒๕ ภาพประกอบที่ ๔.๘๔ ภาพสลักลายเสน้ บนหินชนวนวัดศรีชมุ ๑๒๖ ภาพประกอบที่ ๔.๘๕ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั วัดเจดีย์เจ็ดแกว้ ๑๒๗ ภาพประกอบที่ ๔.๘๖ ภาพจิตกรรมฝาผนังพระปรางค์วดั ราชบูรณะ ๑๒๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๗ ภาพจิตกรรมฝาผนังพระเจดีย์วัดราชบรู ณะ ๑๒๙ ภาพประกอบที่ ๔.๘๘ ภาพจิตกรรมฝาผนังในองค์พระปรางค์วัดมหาธาตุ ๑๒๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๘๙ ภาพจิตกรรมฝาผนงั บนแผ่นชินบุ ๑๓๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๐ ภาพจิตกรรมในสมดุ ภาพไตรภูมคร้งั กรุงเกา่ ๑๓๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๑ ภาพจิตกรรมฝาผนงั ในพระอโุ บสถวดั ใหญ่สุวรรณาราม ๑๓๐ ภาพประกอบที่ ๔.๙๒ ภาพจิตกรรมฝาผนังในตาหนักสมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ ๑๓๑ ภาพประกอบที่ ๔.๙๓ ภาพจิตกรรมฝาผนงั พระอุโบสถวัดเกาะแกว้ สุทธาราม ๑๓๒ ภาพประกอบที่ ๔.๙๔ ภาพจิตกรรมฝาผนังในพระวหิ ารหลวงวดั พระบรมธาตุ ๑๓๓ ภาพประกอบที่ ๔.๙๕ ภาพจิตกรรมในสมดุ ภาพไตรภูมิ ครั้งกรงุ ธนบุรี ๑๓๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๖ ภาพจิตกรรมฝาผนังในพระท่ีนงั่ พุทไธสวรรค์ ๑๓๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๗ ภาพจิตกรรมฝาผนงั ในมณฑปและพระอุโบสถวัดใหญ่อินทาราม ๑๓๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๙๘ ภาพจิตกรรมฝาผนงั ในพระอโุ บสถวดั ดุสติ าราม ๑๓๕ ภาพประกอบที่ ๔.๙๙ ภาพจิตกรรมฝาผนงั ในพระอุโบสถวดั สวุ รรณาราม ๑๓๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๐ ภาพจิตกรรมฝาผนงั ในพระวหิ ารหลวงวัดสทุ ศั น์ ๑๓๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๑ ภาพจติ กรรมฝาผนังในวิหารลายคา วัดพระสงิ ห์ ๑๓๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๒ ภาพจติ กรรมฝาผนงั ในโบสถแ์ ละหอไตรวัดพระธาตุ ๑๓๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๓ ภาพจิตกรรมฝาผนังพระวหิ ารและโบสถว์ ดั ภมู นิ ทร์ ๑๓๘ ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๔ พระพทุ ธรูปปางประสูติ ๑๔๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๕ พระพุทธรปู ปางสมาธิ ๑๔๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๖ พระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั ๑๔๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๗ พระพุทธรูปปางถวายเนตร ๑๔๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๐๘ พระพุทธรปู ปางนาคปรก ๑๔๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑๐๙ พระพุทธรปู ปางราพงึ ๑๔๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๐ พระพทุ ธรปู ปางปฐมเทศนา ๑๔๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๑ พระพุทธรปู ปางหา้ มสมุทร ๑๔๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๒ พระพุทธรปู ปางอมุ้ บาตร ๑๔๓ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๓ พระพทุ ธรปู ปางเสดจ็ งลงจากดาวดึงส์ ๑๔๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๔ พระพุทธรปู ปางห้ามแก่นจนั ทร์ ๑๔๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๕ พระพทุ ธรปู ปางห้ามญาติ ๑๔๔

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ฌ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๖ พระพทุ ธรูปปางลลี า ๑๔๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๗ พระพทุ ธรูปปางปาลิไลยก์ ๑๔๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๑๘ พระพุทธรูปปางปรนิ ิพพาน ๑๔๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๑๙ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร ร.๑,ร.๒,ร.๗ ๑๔๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๐ พระพทุ ธรปู ประจาพระชนมวาร ร.๓ ๑๔๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๑ พระพุทธรูปประจาพระชนมวาร ร.๔ ๑๔๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒๒ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร ร.๕ ๑๔๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๓ พระพทุ ธรูปประจาพระชนมวาร ร.๖ ๑๔๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒๔ พระพุทธรูปประจาพระชนมวาร ร.๘ ๑๔๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๕ พระพทุ ธรปู ประจาพระชนมวาร ร.๙ ๑๔๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๖ พระพทุ ธรปู ประจาวันเกดิ วันอาทิตย์ ๑๔๙ ภาพประกอบที่ ๔.๑๒๗ พระพทุ ธรูปประจาวันเกดิ วนั จนั ทร์ ๑๔๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๘ พระพุทธรปู ประจาวันเกดิ วนั อังคาร ๑๔๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๒๙ พระพุทธรปู ประจาวนั เกิด วนั พธุ (กลางวนั ) ๑๕๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๐ พระพทุ ธรูปประจาวันเกดิ วันพุธ (กลางคืน) ๑๕๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๑ พระพุทธรูปประจาวันเกิด วันพฤหสั บดี ๑๕๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๒ พระพุทธรปู ประจาวนั เกดิ วันศุกร์ ๑๕๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๓ พระพทุ ธรปู ประจาวันเกิด วันเสาร์ ๑๕๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๔ พระพุทธมหามณีรัตนปฏมิ ากร ๑๕๒ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๕ พระพุทธสหิ งิ ค์ ๑๕๒ ภาพประกอบที่ ๔.๑๓๖ พระเจา้ แข้งคม ๑๕๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๗ พระเจา้ เจ้าฝนแสนหา่ ๑๕๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๘ พระพุทธป้านปงิ ๑๕๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๓๙ พระเจา้ ตนหลวง ๑๕๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๐ พระหลวงพอ่ เพชร ๑๕๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๑ พระพทุ ธชินราช ๑๕๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๒ พระเจ้าพร้าโต้ ๑๕๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๓ พระพุทธสิหงิ ค์ ๑๕๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๔ หลวงพ่อโต ๑๕๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๕ พระมงคลบพิตร ๑๕๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๖ พระศาสดา ๑๕๗ ภาพประกอบที่ ๔.๑๔๗ หลวงพอ่ โต ๑๕๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๘ พระเสรมิ ๑๕๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๔๙ พระพุทธโสธร ๑๕๘ ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๐ หลวงพ่อโต ๑๕๙

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ญ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๑ พระพุทธมหาธรรมราชา ๑๕๙ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๒ หลวงพอ่ บ้านแหลม ๑๕๙ ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๓ พระคันธาราษฎร์ ๑๖๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๔ หลวงพอ่ พทุ ธวิเศษ ๑๖๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๕ พระเจา้ ใหญ่อินทร์แปลง ๑๖๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๖ หลวงพอ่ ดา ๑๖๑ ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๗ หลวงพอ่ พระใส ๑๖๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๕๘ พระเจา้ องค์แสน ๑๖๒ ภาพประกอบที่ ๔.๑๕๙ หลวงพอ่ องค์แสน ๑๖๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๐ พระพทุ ธสมั ฤทธิน์ ริ โรคนั ตราย ๑๖๓ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๑ หลวงพอ่ พระยนื มง่ิ มงคล ๑๖๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๒ พระต้วิ -พระเทียม ๑๖๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๓ พระนอนวัดไสไทย ๑๖๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๔ หลวงพ่อแก่ ๑๖๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๕ หลวงพอ่ น้ารอบ ๑๖๕ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๖ หลวงพอ่ ทุง่ คา ๑๖๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๗ พระพทุ ธทกั ษิณม่ิงมงคล ๑๖๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๖๘ พระศรีศากยมนุ ศี รีธรรมราช ๑๖๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๖๙ หลวงพ่อโต ๑๖๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๐ พระทอง ๑๖๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๑ พระพุทธปฏิมากร ๑๖๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๒ ธรรมจกั ร ๑๖๙ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๓ เสมา,ใบเสมา ๑๗๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๔ ภาพพุทธประวตั หิ ินสลัก ๑๗๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๕ รอยพระพุทธบาท ๑๗๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๖ ลายเทพพนม ๑๗๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๗๗ ลายธรรมจกั ร ๑๗๓ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๘ ธรรมาสน์ ๑๗๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๗๙ พระปรางคว์ ดั อรุณ ๑๗๔ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๐ ประตมิ ากรรมวัดบางกระพ้อม ๑๗๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๑ ประติมากรรมหนา้ วหิ ารวัดไลย์ ๑๗๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๒ ประติมากรรมหลงั วิหารวดั ไลย์ ๑๗๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๓ ประติมากรรมวดั ตระพังทองหลาง ๑๗๖ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๔ การแกะสลักเทียนพรรษา ๑๗๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๕ ปราสาทน้าผง้ึ จงั หวัดสกลนคร ๑๗๘

ฎ สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ๑๗๙ ๑๗๙ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๖ พืน้ ที่ทางสถาปตั ยกรรม ๑๘๐ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๗ ผงั สถาปตั ยกรรมท่ีกาหนดใหเ้ จดีย์อยู่กลางวัด ๑๘๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๘๘ ผังสถาปตั ยกรรมที่กาหนดให้อโุ บสถมวี ิหารลอ้ มรอบ ๑๘๒ ภาพประกอบที่ ๔.๑๘๙ การกาหนดพ้นื ทตี่ งั้ กุฏเิ จ้าอาวาสใหส้ มั พันธ์กับท่ตี ้ังอโุ บสถ ๑๘๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๐ ตัวอย่างซมุ้ ประตูโขงแบบลานนา ๑๘๓ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๑ สถาปัตยกรรมพระอุโบสถและวหิ ารวดั สทุ ศั นเ์ ทพวนาราม ๑๘๔ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๒ คตินยิ มเรอ่ื งการซอ้ นช้ันทางสถาปตั ยกรรม ๑๘๕ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๓ ชอ่ ฟา้ หรือสตั ตะบรู ิพัน ๑๘๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๔ องค์ประกอบพระสถูปและส่อื สญั ลกั ษณ์ ๑๘๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๑๙๕ พระปฐมเจดยี ์ ๑๘๙ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๖ ปล,ี ปลยี อด ๑๙๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๗ ก่อพระเจดยี ท์ ราย ๑๙๐ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๘ การสรงนา้ พระ ๑๙๒ ภาพประกอบที่ ๔.๑๙๙ ภาพตกั บาตรเทโวโรหณะ ๑๙๓ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๐ การจุดเทียนส่องธรรมหนา้ ธรรมาสน์ ๑๙๕ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๑ การจดั โต๊ะหม่บู ูชา ๑๙๖ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๒ พระพุทธรปู ปางคันธารราฐ ๑๙๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๓ พระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวญั ๑๙๗ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๔ ผางประทิศ ๑๙๘ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๐๕ สะเปา ๑๙๘ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๖ ซุ้มประตูปา่ ๑๙๙ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๗ ว่าวโฮม,ว่าวไฟ ๑๙๙ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๘ ตานขนั ขา้ ว ๒๐๐ ภาพประกอบที่ ๔.๒๐๙ การอุ้มพระดานา้ ๒๐๑ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๐ ตุงชนิดตา่ ง ๆ ๒๐๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๑ ดอกเข้าพรรษา ๒๐๒ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๒ ขบวนแหผ่ ตี าโขน ๒๐๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๓ ภาพประเพณหี ่มุ ผา้ พระธาตุ ๒๐๓ ภาพประกอบท่ี ๔.๒๑๔ ภาพประเพณชี ักพระ ภาพประกอบที่ ๔.๒๑๕ การจัดหมฺรบั

แผนผังและตาราง สารบญั ตารางและแผนผงั ฏ แผนผังประกอบท่ี ๑.๑ แผนผังประกอบท่ี ๒.๒ หน้า แผนผังและตาราง หนา้ แผนผงั ประกอบท่ี ๒.๔ ๙ แผนผังประกอบท่ี ๒.๑ ๒๔ ตารางที่ ๓.๑ ๒๕ แผนผงั ประกอบที่ ๒.๓ ๒๕ ตารางที่ ๓.๓ ๓๖ แผนผงั ประกอบที่ ๒.๕ ๓๔ ตารางที่ ๓.๕ ๔๐ ตารางท่ี ๓.๒ ๔๔ ตารางที่ ๓.๗ ๔๕ ตารางที่ ๓.๔ ๕๓ ตารางที่ ๓.๙ ๕๕ ตารางท่ี ๓.๖ ๖๐ ตารางท่ี ๔.๑ ๖๒ ตารางที่ ๓.๘ ๗๒ ตารางท่ี ๔.๓ ๗๔ ตารางท่ี ๓.๑๐ ๗๕ ตารางที่ ๔.๕ ๒๐๖ ตารางท่ี ๔.๒ ๒๐๘ ตารางที่ ๔.๗ ๒๑๒ ตารางที่ ๔.๔ ๒๑๓ ตารางท่ี ๔.๙ ๒๑๓ ตารางที่ ๔.๖ ๒๑๖ ตารางที่ ๔.๑๑ ๒๑๗ ตารางที่ ๔.๘ ๒๑๘ ตารางท่ี ๕.๑ ๒๑๙ ตารางที่ ๔.๑๐ ๒๑๙ ตารางท่ี ๕.๓ ๒๒๐ ตารางที่ ๔.๑๒ ๒๒๑ ตารางที่ ๕.๕ ๒๒๕ ตารางท่ี ๕.๒ ๒๒๖ ตารางท่ี ๕.๗ ๒๒๘ ตารางท่ี ๕.๔ ๒๒๙ ตารางที่ ๕.๙ ๒๓๐ ตารางท่ี ๕.๖ ๒๓๐ ตารางท่ี ๕.๑๑ ๒๓๑ ตารางที่ ๕.๘ ๒๓๒ ตารางที่ ๕.๑๓ ๒๓๓ ตารางที่ ๕.๑๐ ๒๓๓ ตารางท่ี ๕.๑๕ ๒๓๔ ตารางท่ี ๕.๑๒ ๒๓๕ ตารางท่ี ๕.๑๗ ๒๓๖ ตารางท่ี ๕.๑๔ ๒๓๖ ตารางท่ี ๕.๑๙ ๒๓๗ ตารางที่ ๕.๑๖ ๒๓๘ ตารางที่ ๕.๒๑ ๒๔๐ ตารางที่ ๕.๑๘ ๒๔๑ ตารางท่ี ๕.๒๓ ๒๔๒ ตารางที่ ๕.๒๐ ๒๔๓ ๒๔๖ ตารางที่ ๕.๒๒ ๒๕๐ ๒๕๓

ฐ คำอธิบำยสัญลกั ษณแ์ ละคำยอ่ อกั ษรย่อในสารนิพนธฉ์ บับนี้ ใชอ้ ้างอิงจากคมั ภีร์พระไตรปิฎก ฉบบั มหาจุฬาเตปฏิ กํ พ.ศ. ๒๕๐๐ และพระไตรปฎิ ก ฉบับภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั เฉลมิ พระเกียรติ สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พ.ศ.๒๕๓๙ โดยไดก้ ลา่ วถึงแหล่งทีม่ า /เลม่ /ขอ้ /หน้า ตามลําดับ วิ.ป.(ไทย) ๘/๓๖๖/๕๕๑ หมายถึง วนิ ัยปิฎก ปริวาร ภาษาไทย เล่มท่ี ๘ ขอ้ ๓๖๖ หนา้ ๕๕๑ ฉบบั มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๓๙ เลม่ คำย่อ ชื่อคัมภรี ์ ๑-๒ วิ.มหา. (บาล)ี = วินยปิฏก มหาวิภงคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี วิ.มหา. (ไทย) = วนิ ยั ปฎิ ก มหาวภิ ังค์ (ภาษาไทย) ๔-๕ ว.ิ ม. (บาลี) = วินยั ปฎิ ก มหาวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี ว.ิ ม. (ไทย) = วนิ ยั ปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย) ๖-๗ วิ.จู. (บาลี) = วนิ ยปฏิ ก จฬู วคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี วิ.จ.ู (ไทย) = วนิ ัยปฎิ ก จฬู วรรค (ภาษาไทย) ๘ ว.ิ ป. (บาลี) = วนิ ยปฏิ ก ปรวิ ารวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี วิ.ป. (ไทย) = วินัยปิฎก ปริวารวรรค (ภาษาไทย) พระสตุ ตนั ตปิฎก ๙ ที.ส.ี (บาลี) = สุตตนั ตปฎิ ก ทีฆนิกาย สลี ขนธฺ วคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี ที.ส.ี (ไทย) = สุตตนั ตปิฎก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค (ภาษาไทย) ๑๐ ที.ม. (บาลี) = สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาล)ี ที.ม. (ไทย) = สตุ ตันตปิฎก ทฆี นกิ าย มหาวรรค (ภาษาไทย) ๑๑ ที.ปา. (บาลี) = สตุ ตนั ตปิฎก ทฆี นิกาย ปาฏกิ วคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี ท.ี ปา. (ไทย) = สตุ ตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย) ๑๓ ม.ม. (บาลี) = สุตตันตปฎิ ก มชฌฺ ิมนกิ าย มชฌฺ ิมปณณฺ าสกปาลิ (ภาษาบาล)ี ม.ม. (ไทย) = สุตตันตปิฎก มัชฌมิ นกิ าย มัชฌิมปณั ณาสก์ (ภาษาไทย) ม.อุ. (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก มชั ฌมิ นกิ าย อุปรปิ ัณณาสก์ (ภาษาไทย) ๑๙ สํ.ม. (บาล)ี = สตุ ตันตปฎิ ก สํยตุ ตฺ นกิ าย มหาวารวคคฺ ปาลิ (ภาษาบาล)ี สํ.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก สงั ยตุ ตนกิ าย มหาวารวรรค (ภาษาไทย) ๒๐ อง.ฺ เอกก. (บาลี) = สุตตันตปิฎก องฺคตุ ฺตรนิกาย เอกกนปิ าตปาลิ (ภาษาบาล)ี อง.ฺ เอกก. (ไทย) = สตุ ตันตปิฎก องั คตุ ตรนิกาย เอกกนิบาต (ภาษาไทย) องฺ.ทกุ . (บาลี) = สตุ ตันตปิฎก องคฺ ตุ ฺตรนิกาย ทกุ นิปาตปาลิ (ภาษาบาล)ี อง.ฺ ทกุ . (ไทย) = สุตตันตปฎิ ก อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย) ๒๕ ขุ.ขุ. (บาล)ี = สตุ ตนั ตปฎิ ก ขุททฺ กนกิ าย ขทุ ทฺ กปาฐปาลิ (ภาษาบาล)ี ข.ุ ขุ. (ไทย) = สตุ ตันตปฎิ ก ขทุ ทกนิกาย ขทุ ทกปาฐะ (ภาษาไทย) ข.ุ ส.ุ (บาล)ี = สุตตันตปฎิ ก ขุททฺ กนิกาย สุตฺตนปิ าตบาลี (ภาษาบาลี) ขุ.ส.ุ (ไทย) = สตุ ตนั ตปฎิ ก ขทุ ทกนกิ าย สตุ ตนบิ าต (ภาษาไทย)

ฑ พระอภิธรรมปฎิ ก (ภาษาบาลี) ๓๔ อภ.ิ วิ. (บาล)ี = อภิธมมฺ ปิฏก วิภงฺคปาลิ (ภาษาไทย) อภิ.วิ. (ไทย) = อภิธรรมปฎิ ก วภิ ังค์ อรรถกถำ อรรถกถา ผ้วู ิจยั ใช้พระไตรปิฎกฉบับมหามกฏราชวิทยาลัย โดยสญั ลักษณ์และคาํ ยอ่ ตาม พระไตรปฎิ กฉบับภาษาไทย ส่วนตวั เลขอนุวัติให้เป็นไปตามพระไตรปิฎกและอรรถกถาฉบบั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย เช่น ที.ส.ี อ. (ไทย) ๑/๑/๔๑๕ หมายถึง พระสูตรและอรรถกถาแปล ทฆี นิกาย สีล ขันธวรรค อรรถกถา เลม่ ๑ ภาค ๑ หน้า ๔๑๕ ฉบบั มหา มกฏุ ราชวิทยาลยั ๒๕๒๕ เล่มท่ี เลม่ ภำค ตอน คำย่อ ช่อื อรรถกถำ วิ.มหา.อ. (ไทย) = วนิ ัยปฎิ ก สมนั ตปาสาทกิ ามหาวภิ ังคอรรถกถา (ภาษาไทย) ว.ิ จ.ู อ. (บาล)ี = วิ.จู.อ. (ไทย) = วินยปิฏก สมนฺตปาสาทกิ า จฬู วคคฺ อฏฺฐกถา (ภาษาบาล)ี ว.ิ ป.อ. (บาล)ี = วิ.ป.อ. (ไทย) = วนิ ยั ปฎิ ก สมนั ตปาสาทิกา จฬู วรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) ที.สี.อ. (ไทย) = วนิ ยปิฏก สมนตฺ ปาสาทิกา ปรวิ ารวคฺคอฏฐฺ กถา (ภาษาบาลี) ท.ี ม.อ. (ไทย) = ท.ี ปา.อ. (ไทย) = วินัยปิฎก สมนั ตปาสาทกิ า ปรวิ ารวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) ม.มู.อ. (ไทย) = ม.ม.อ. (ไทย) = อรรถกถำพระสุตตันตปฎิ ก ม.อุ.อ. (ไทย) = สํ.สฬา.อ. (ไทย) = ทฆี นกิ าย สมุ งั คลวิลาสนิ ี สลี ขนั ธวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) องฺ. สตตฺ ก.อ. (ไทย) = สตฺตก.อ. (ไทย) = ทฆี นกิ าย สมุ งั คลวลิ าสินี มหาวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) ทฆี นกิ าย สุมงั คลวลิ าสินี ปาฏกิ วรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) มชั ฌมิ นิกาย ปปัญจสทู นี มูลปัณณาสกอรรถกถา (ภาษาไทย) มชั ฌมิ นิกาย ปปัญจสูทนี มัชฌิมปัณณาสกอรรถกถา(ภาษาไทย) มชั ฌมิ นิกาย ปปญั จสทู นี อุปริปณั ณาสก์อรรถกถา (ภาษาไทย) สังยุตตนิกาย สารัตถปกาสินี สฬายตนวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) อังคุตตรนิกาย มโนรถปรู ณี สตั ตกนิบาตอรรถกถา (ภาษาไทย) องั คุตตรนิกาย มโนรถปรู ณี สัตตกนบิ าตอรรถกถา (ภาษาไทย)

๑ บทที่ ๑ บทนำ ๑. ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ สญั ลักษณ์ คือสิ่งที่ถูกกำหนดข้ึน หรอื นิยำมขน้ึ เพ่อื ใช้สื่อควำมหมำยแทนอกี ส่งิ หน่งึ ๑ โดย ควำมหมำยอย่ำงกว้ำง ท่ำนกำหนดเอำทั้งท่ีเป็นวัตถุ (object) กำรกระทำ (action) และควำมคิด (idea)๒ ตรงกับคำในภำษำองั กฤษ ๒ วำ่ sign และ symbol ปจั จบุ ันเปน็ หน่วยหนงึ่ ในวิชำสัญศำสตร์๓ (semiotics) ซึ่งศึกษำเก่ียวกับสัญญะ และวิธีกำร (process) เคร่ืองหมำย (indication) เครื่องบ่งช้ี (designation) สิ่งเสมือน (likeness) รวมไปถึงคำอุปมำ (analogy) คำอุปมัย (metaphor) ระบบสัญญะ (symbolism) เคร่ืองแสดง(signification) และกำรสื่อสำร(communication)๔ ที่ มนุษย์สรำ้ งขนึ้ เพื่อส่ือควำมถึงส่งิ ใดสิง่ หน่ึงนอกเหนอื จำกตวั มันเอง แม้วิชำสญั ศำสตร์จะเพ่ิงเกิดมำได้ไม่นำน (ศตวรรษที่ ๑๙) แต่จำกหลักฐำนทำงโบรำณคดี พบว่ำ มนุษย์รู้จักใช้สัญลักษณ์สื่อสำรมำตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศำสตร์๕ คือก่อนท่ีจะมีกำรประดิษฐ์ ตวั อักษรขน้ึ ตัวอยำ่ งเชน่ ระบบควำมเชือ่ และเครื่องรำง๖ จำกหลักฐำนทำงโบรำณคดี ทำให้ทรำบว่ำ ส่ิงท่ีมนุษย์ใช้เป็นสัญลักษณ์นั้นมีหลำย ประเภท เช่น พืช คน สัตว์ วัตถุสิ่งของ รูปทรงเรขำคณิต และอักษรภำพ๗ และระบบสัญลักษณ์ที่ ชัดเจนที่สุด Geertz ได้สำธิตให้เห็นจำกศิลปะกำรแสดงของชำวบำหลี ในอินโดนีเซีย L’evi Strauss ได้แสดงให้เห็นในระบบศำสนำพน้ื ฐำน เชน่ ระบบโทเท็ม (Totemism) ระบบนิทำนปรัมปรำ (myth) และในระบบกำรบชู ำยัญ (Sacrifice)๘ สัญลักษณ์จึงเป็นวัฒนธรรมยุคแรก ๆ และเป็นสำมัญรูปอย่ำงหนึ่งท่ีมนุษย์ใช้สำหรับสื่อ ควำมหมำย และสัญลักษณ์เหล่ำน้ันมีอยู่ไม่น้อยท่ีได้วิวัฒนำกำรมำจนถึงปัจจุบัน เช่น สัญลักษณ์ คู ๑พรหมำ พิทักษ์,บรรณำธิกำรแปล, นัยแห่งสัญลักษณ์, (กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพ์ต้นธรรม, ๒๕๕๐), หนำ้ ๕. ๒ http://en.wikipedia.org/wiki/Symbolism [๒๕ กนั ยำยน ๒๕๕๕]. ๓สญั ศำสตร์ นอกจำกจะเกี่ยวข้องกับภำษำศำสตรแ์ ลว้ ต่อมำได้กลำยเป็นเคร่อื งมือสำคญั ในกำรศึกษำ เชิงวฒั นธรรม (cultural studies) ดรู ำยละเอยี ดใน Daniel chandler, “Semiotics of Beginners”, (ออนไลน์). แหลง่ ที่มำ : http://www.dominicpetrillo.com/ed/Semiotics_for_Beginners.pdf. [๒๑ กนั ยำยน ๒๕๕๕]. ๔ http://en.wikipedia.org/wiki/Semiotics. [๒๒ กนั ยำยน ๒๕๕๕]. ๕ปรีชำ นุ่นสุข, “หลั กฐำนโบรำณคดีที่เ ก่ียวกับสัญลักษณ์ ”, [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมำ : http://tdc.thailis.or.th [วนั ท่ี ๙ กนั ยำยน ๒๕๕๕]. ๖เสฐียร พันธรังษี, ศำสนำโบรำณ, (กรุงเทพมหำนคร: มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๓๔), หน้ำ ๒๙. ๗เสฐยี ร พันธรงั ษี, ศำสนำโบรำณ, อ้ำงแล้ว, หนำ้ ๒๙. ๘ธญิ ำดำ ยอดแก้ว, “กำรศึกษำสัญลักษณ์ทำงวัฒนธรรมในประเทศกลุ่มอำเซียน”, วิทยำนพิ นธ์ศิลป ศำสตรมหำบณั ฑติ , (บัณฑติ วทิ ยำลัย: มหำวิทยำลัยศลิ ปำกร, ๒๕๔๗), หนำ้ ๙.

๒ คูลลู (Kululla) ของชำวอัสซีเรียในเมโสโปเตเมีย ซึ่งใช้รูปครึ่งมนุษย์คร่ึงปลำประดับไว้ตำมสถำนท่ี ก่อสร้ำง และตึกอำคำรต่ำง ๆ เน่ืองจำกเช่ือกันว่ำ สัญลักษณ์ดังกล่ำวจะสำมำรถช่วยคุ้มครองส่ิงปลูก สร้ำงไม่ให้พังทะลำยขณะที่ทำกำรก่อสร้ำง๙ สัญลักษณ์สฟิงซ์ของชำวไอคุปต์และอำณำจักรบำบิโลน ใชส้ ตั วท์ ่ีมีรูปประหลำด ร่ำงกำยท่อนบนเปน็ มนษุ ย์ ลำตัวเป็นสุนัข มีหำงเปน็ งู เท้ำแบบเดียวกับสิงโต และพูดภำษำมนษุ ย์ได้ สฟิงสม์ ักจบั ผูค้ นที่เดินผำ่ นไปผ่ำนมำกินเป็นอำหำร หำกคนนน้ั ไมส่ ำมำรถตอบ คำถำมได้ สฟิงซ์จงึ เปน็ สัญลกั ษณแ์ ทนสติปัญญำ๑๐ ชำวยิวโบรำณ ใช้สัญลักษณ์ “ซำย” หมำยถึงชีวิต โดยสัญลักษณ์ดังกล่ำวน้ีมำจำกคำว่ำ เฮ็ธ (เลข ๘)+ยูด (เลข ๑๐) เมื่อบวกกันจึงเท่ำกับเลข ๑๘ และออกเสียง “ซำย” นอกจำกนี้ ยังไป พ้องกับศัพท์ภำษำยิวอีกคำหนึ่งคือ “Chaim” ซึ่งหมำยถึงชีวิตเช่นกั้น ด้วยเหตุนี้ ชำวยิวจึงใช้คำอวย พรว่ำ “L’Chaim” (ลำชำม) ซ่ึงมีควำมหมำยเท่ำกับคำว่ำ “to life” หรือขอให้มีชีวิตที่โชคดีและมี อนำคตท่ีดีสืบไปปัจจุบันเรำจะเห็นชำวยิวนิยมนำสัญลักษณ์ดังกล่ำวทำสร้อยคอ หรือสร้อยข้อมือ เพือ่ ใหเ้ กิดควำมโชคดีตำมควำมเชื่อดังกลำ่ ว๑๑ คนจีนใช้สัญลักษณ์หยิน-หยำงแทนควำมเป็นทวิภำวะที่มีอยู่ในธรรมชำติของสรรพส่ิง๑๒ ในออสเตเลีย ซ่ึงถือเป็นแหล่งอำรยธรรมเก่ำแก่แห่งหนึ่งของโลก มีกำรค้นพบรูปหินแกะสลักอำยุ ประมำณ ๒๔,๐๐๐-๒๒,๐๐๐ ปี ก่อนพุทธกำล เป็นรูปป้ันเทพวีนัส ซึ่งนักโบรำณคดีทั้งหลำยให้ ควำมเห็นว่ำ เป็นสัญลกั ษณ์ของกำรให้กำเนิด ทั้งนเ้ี พรำะมีลักษณะทอ้ งใหญ่ และบริเวณองค์กำเนิดมี กำรปำ้ ยสีแดง สัญลกั ษณเ์ ลือดประจำเดือน๑๓ อนิ เดียนับเป็นอู่วฒั นธรรมตะวนั ออกสำคญั สำยหน่ึงของโลก มีควำมเกำ่ แก่ไมน่ อ้ ยไปกว่ำ วัฒนธรรมสำยอ่ืนๆ เช่น เมโสโปเตเมีย (อียิปต์) ในลุ่มแม่น้ำไทกริสและแม่น้ำยูเฟรติส อินเดียสมัย โบรำณถือวำ่ เป็นแหลง่ เทพเจ้ำ มรี ปู เคำรพปรำกฏอยู่มำกมำยและเป็นมรดกทำงวฒั นธรรมทม่ี ีรอ่ งรอย ตกทอดมำจนถงึ ปัจจุบัน เม่อื อินเดียยอมรับและนบั ถือพระพุทธศำสนำ เช่อื วำ่ สัญลักษณเ์ หลำ่ นีส้ ว่ นหนึ่งคงสภำพ เดมิ ไว้ส่วนหน่งึ จะถูกดัดแปลงและสร้ำงสรรค์ข้นึ ใหมใ่ ห้สอดคล้องกบั คติทำงพระพทุ ธศำสนำ เช่น จำก หลักฐำนทำงโบรำณคดีท่ีค้นพบในประเทศอินเดีย ก่อนหน้ำท่ีจะมีกำรสร้ำงรูปเคำรพน้ัน ได้มีกำรใช้ สัญลกั ษณ์แทนรูปเคำรพ ดงั ปรำกฏในศิลปกรรมทำงพระพุทธศำสนำ เช่น สถปู ที่ภำรหุต และ ศำญจิ ซึง่ เชอ่ื กันว่ำเป็นท่บี รรจุพระบรมสำรรี กิ ธำตุ บรเิ วณเหลำ่ น้ีไม่ไดค้ น้ พบประติมำกรรมของพระพทุ ธองค์ เลย ปรำกฎแต่ว่ำมีสัญลักษณ์ต่ำง ๆ อยู่ เช่น สถูปที่มีฉัตรปักอยู่ ต้นไม้ นำค ยักษำ และยักษิณี เป็น ตน้ ๑๔ ๙ พรหมำ พิทักษ์, นยั แหง่ สัญลกั ษณ,์ (กรงุ เทพมหำนคร: สำนกั พมิ พ์ต้นธรรม, ๒๕๕๐), หน้ำ ๒๒๓. ๑๐เรอื่ งเดยี วกนั , หนำ้ ๒๕๗. ๑๑ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศำล, ผู้แปล. มหัศจรรย์แห่งสัญลักษณ์ เครื่องลำง และเคล็ดลับนำโชค, (กรุงเทพมหำนคร: ซเี อด็ ยูเคชั่น, ๒๕๕๒), หน้ำ ๕๘. ๑๒ดูรำยละเอียดใน พลูหลวง (นำมแฝง), หยิน-หยำง ภูมิพยำกรณ์ และฮวงจุ้ย, (กรุงเทพมหำนคร: สำนกั พมิ พข์ ำ้ วฟำ่ ง, ๒๕๔๖), หนำ้ ๒๑-๓๕. ๑๓พรหมำ พทิ กั ษ,์ นัยแห่งสัญลักษณ,์ อำ้ งแล้ว, หนำ้ ๓๔. ๑๔ปรชี ำ นุ่นสุข, “หลักฐำนโบรำณคดีท่เี ก่ียวกบั สญั ลกั ษณ์”, อ้ำงแล้ว.

๓ จำกกำรสืบค้นคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำ เบื้องต้นพบว่ำมีกำรใช้สัญลักษณ์เพื่อส่ือ ควำมหมำยตำ่ ง ๆ อยู่ทัว่ ไป เชน่ ในพระวินัยปิฎก พบกำรใช้หนังเสือเป็นสัญลักษณ์ของเดียรถีย์ ปรับอำบัติแก่ภิกษุผู้ใช้ สัญลักษณ์ดังกล่ำว๑๕ ใช้ต้นไม้ ก้อนศิลำ ถนน จอมปลวก เป็นต้น เป็นสัญลักษณ์บอกเขต๑๖ ใช้ขวำ เป็นสัญลักษณ์แทนควำมเคำรพ๑๗ ใช้ดอกบัวแทนสัญลักษณ์แทนบุคคลระดับต่ำง ๆ๑๘ใช้กำรปลงผม และหนวดแล้วนุ่งห่มด้วยผ้ำกำสำวะ เป็นสัญลักษณ์ของกำรบรรพชำ-อุปสมบท๑๙ กำรใช้ไฟเป็น สัญลักษณ์ของกำรบูชำ๒๐ใชก้ ำรนง่ิ เป็นสญั ลักษณ์ของกำรยอมรับ เห็นชอบ๒๑ ในพระสุตตันตปฎิ ก พบกำรใช้สญั ลักษณ์ซำ้ ยแทนกำรไม่เคำรพ๒๒ซำ้ ย-ขวำแทนกุศลกรรม และอกุศลกรรม๒๓แทนเพศชำย-เพศหญิง๒๔แทนลำดับอำวุโสมำกน้อย๒๕ กำรใช้ผมหงอกเป็น สัญลักษณ์ในกำรสละรำชสมบัติ๒๖ กำรใช้ธงเป็นสัญลักษณ์ของรถในกำรศึกสงครำม๒๗เรียกว่ำ ธงชัย เฉลิมพล๒๘ และสญั ลักษณ์ธงนี้เอง เม่ือนำไปใช้กับภกิ ษุผู้ชนะข้ำศกึ ปรำศจำกกิเลสท้ังปวงแล้ว ท่ำนก็ ใช้ในเชิงเปรยี บเทียบว่ำ “ผู้ปลดธงลงได้แล้ว”๒๙ นอกจำกนั้น ธงยังใช้แสดงเป็นเคร่ืองหมำยของธรรม ดังข้อควำมในขุททนกิ ำย ปฏสิ ัมภิทำมรรคว่ำ “เพรำะพระผมู้ ีพระภำคทรงมีธรรมเป็นธงให้จักรเป็นไป ชื่อว่ำธรรมจกั ร”๓๐ กำรเกดิ ธงธรรมจักรที่เห็นกนั อยู่ในปจั จบุ ัน ก็คงจะถือคติน้ี ๑๕วิ.มหำ. (ไทย) ๕/๓๗๑/๒๔๗. ๑๖วิ.มหำ. (ไทย) ๔/๑๓๘/๒๑๕. ๑๗เช่น วิ.มหำ. (ไทย) ๑/๑๕/๘, ว.ิ มหำ. (ไทย) ๒/๕๗๖/๑๐๑, ว.ิ มหำ.(ไทย) ๔/๙๐/๑๔๖. เป็นต้น ซึ่ง จำกกำรสำรวจ พบคำนี้ใน ๙๑ หน้ำ จำนวน ๑๐๔ คร้ัง โดยพบทั้งในพระวินัยปิฎก พระสัตตันตปิฎก และพระ อภิธรรมปิฎก ๑๘ว.ิ มหำ.(ไทย) ๔/๙/๑๔. ๑๙วิ.มหำ. (ไทย) ๔/๓๔/๔๓. ๒๐ว.ิ มหำ. (ไทย) ๔/๓๗/๔๗. ๒๑เช่น เมื่อมีผู้มำนิมนต์ หำกพระพุทธเจ้ำนิ่ง กเ็ ท่ำกับว่ำ พระองค์ทรงรับนมิ นต์นั้น ดูตวั อย่ำง วิ.มหำ. (ไทย) ๑/๒๒/๑๕, พระสงฆร์ ูปอืน่ ๆ กร็ ับนิมนต์โดยใช้สัญลกั ษณ์น่ิงเช่นเดียวกัน เช่น กรณีของพระสุทินน์รบั นมิ นต์ ยอมบดิ ำ ว.ิ มหำ.(ไทย) ๑/๓๒/๒๒, หรอื กรณีกำรทำสงั ฆกรรม หำกมกี ำรลงมติ ก็ถอื อำกำรน่งิ เปน็ สญั ลกั ษณ์ของกำร ยอมรบั มตินั้น ดู ว.ิ มหำ.(ไทย)๒/๖๑๔/๑๓๒,๖๖๒/๑๘๔,๙๕/๒๘๒,๙๗/๒๘๔เปน็ ตน้ ๒๒ข.ุ อ.ุ (ไทย) ๒๕/๔๓/๒๕๘. ๒๓อง.ฺ ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๕๖/๔๐๐. ๒๔ส.นิ.อ. (ไทย) ๒/๖๒๒. ๒๕ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๒/๑/๙๙. ๒๖ม.ม. (ไทย) ๑๓/๓๐๙/๓๗๓. ในคัมภีร์ระบวุ ำ่ รำชวงศ์น้ีไดใ้ ช้ “ผมหงอก” เป็นสัญลกั ษณ์ในกำรสละ รำชสมบตั สิ ืบทอดกนั มำถงึ ๘๔,๐๐๐ พระองค์ ดรู ำยละเอยี ด ม.ม. (ไทย) ๑๒/๓๑๑/๓๗๖. ๒๗ข.ุ ชำ. (ไทย) ๒๘/๑๘๔๑/๔๗๓. ๒๘ข.ุ ชำ. (ไทย) ๒๘/๑๗๒/๒๑๑. ๒๙อง.ฺ ปญฺจก. (ไทย) ๒๒/๗๑/๑๒๑. ๓๐ขุ.ปฏ.ิ (ไทย) ๓๑/๔๐/๕๐๒.

๔ แม้ในคัมภีร์อรรถกถำ ก็ปรำกฎใช้สัญลักษณ์แตกต่ำงกันออกไป เช่น ในอรรถกถำขุททก นกิ ำย ธรรมบท กพ็ บกำรใช้ธงเป็นสัญลักษณ์ในกำรประกอบพิธีกรรมตำมลัทธิควำมเชื่อ๓๑กำรใช้ควัน ไฟเป็นสัญลักษณ์บอกเหตุ๓๒ กำรใช้ดวงดำวเป็นสัญลักษณ์ในกำรเดินทำง๓๓ และกำรพยำกรณ์ เหตุกำรณ์บ้ำนเมือง๓๔กำรใช้ตรำพระรำชลัญจกร เป็นเคร่ืองหมำยประดบั ยศ หรือประทับตรำประจำ ตำแหน่งเพ่ือแสดงถึงอำนำจ๓๕ ใช้เป็นเคร่ืองประกอบอิสรยศของพระเจ้ำแผ่นดินเรียกว่ำ พระรำช กกธุ ภัณฑท์ ้งั ๕ ประกอบด้วย แส้จำมะรี, มงกฎุ , พระขรรค์, ธำรพระกร, ฉลองพระบำท๓๖ ในคัมภีร์อรรถกถำยังพบกำรใช้รอยพระบำทเป็นสัญลักษณ์สื่อถึงพระพุทธเจ้ำ๓๗ โดยถือ เป็นเจดีย์อย่ำงหนึ่ง ทำนองเดียวกับกำรใช้ต้นไม้ เช่น ต้นโพธิ์ เป็นสัญลักษณ์ของกำรตรัสรู้๓๘ และ เป็นสัญลักษณ์แทนองค์สมเด็จพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ในคัมภีร์ระบุถึงภิกษุผู้ทรงกัมมัฏฐำนรูปหน่ึง ทรำบขำ่ ววำ่ พระพุทธเจำ้ ปรินิพพำนแล้ว เกดิ อนิจจสญั ญำ เปน็ ผู้ไมป่ ระมำท ระลกึ ถึงพุทธคุณ และทำ กำรบชู ำตน้ โพธิ์ แลว้ บำเพ็ญสมณธรรม๓๙ ส่วนของสังคมไทย จำกกำรสืบค้นข้อมูลเบื้องต้นก็พบว่ำ ได้มีกำรนำสัญลักษณ์ในทำง พระพุทธศำสนำไปใช้ในมิติต่ำง ๆ อย่ำงกว้ำงขวำงนับตั้งแต่สถำบันหลักคือ สถำบันชำติ ศำสนำ พระมหำกษัตริย์ ตลอดถึงงำนศิลปะ ประเพณี และวัฒนธรรมในท้องถ่ินต่ำง ๆ เช่น ในส่วนของ สถำบันชำติ ธงชำติไทย กำหนดให้สีขำวเป็นสัญลักษณ์แทนพระพุทธศำสนำ๔๐ธงสัญลักษณ์ประจำ จังหวัดสุโขทัย มี ๓ สี คือ เหลือง แดง เขียว โดยกำหนดให้สีเหลือง เป็นสัญลักษณ์แทน พระพทุ ธศำสนำ๔๑ ๓๑ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๑/๔. ๓๒ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๒/๒. ๓๓ขุ.ชำ.อ. (ไทย)๓/๑/๑๗๓. ๓๔ขุ.ธ.อ.(ไทย) ๒/๘. ๓๕มงั คล. (ไทย) ๒/๗๗.,วสิ ทุ ธ.ิ (ไทย) ๑/๑/๗๙. ๓๖ข.ุ ธ.อ.(ไทย) ๓/๓๑. ๓๗ข.ุ ธ.อ. (ไทย) ๒/๕๕. ๓๘เดิมต้นโพธิ์มีชื่อเรียกว่ำ อัสสัตถะ แต่เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งกำรตรัสรู้ของพระพุทธเจ้ำ ท่ำนจึง เปลีย่ นช่อื ใหม่วำ่ โพธิ ดู ข.ุ พทุ ธ.อ. ๙/๒/๓๗๘. ๓๙ขุ.เถร.อ.(ไทย) ๒/๓/๒/๒๖๖. ๔๐พระบำทสมเด็จพระมงกุฏเกลำ้ เจ้ำอยู่หวั ทรงพระรำชนิพนธ์อธิบำยไว้ว่ำ “ขำวคือบริสุทธ์ิศรีสวัสดิ์ หมำยพระไตรรัตน์ และธรรมะคุ้มจิตใจ” ดูคำอธิบำยพระนิพนธ์ในสมเด็จฯ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ เพม่ิ เติมใน http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=rattanakosin225&group=9&date=03-04-2007&gblog=1 [วนั ที่ ๒๗ กันยำยน ๒๕๕๕]. ๔๑คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญำ จังหวัดสุโขทัย. (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำย เหตุใน คณะอำนวยกำรจดั งำนเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยู่หัวฯ จัดพมิ พ์, ๒๕๔๒), หนำ้ ๑๖๕.

๕ กำรใช้สัญลักษณ์ทำงพระพุทธศำสนำเป็นตรำสัญลักษณ์ประจำจังหวัด เช่น จังหวัด สุรำษฎร์ธำนี ใช้พระบรมธำตุไชยำ๔๒ จังหวัดสกลนคร ใช้พระธำตุเชิงชุม๔๓ จังหวัดขอนแก่น ใช้พระ ธำตุขำมแก่น๔๔จังหวัดนครศรีธรรมรำช ใช้พระบรมธำตุเจดีย์๔๕จังหวัดปรำจีนบุรี ใช้ต้นพระศรีมหำ โพธิ เป็นสญั ลักษณ์สำคัญคูบ่ ้ำนคู่เมือง๔๖ธงคณะลูกเสือแห่งชำติ มลี กั ษณะและสีอยำ่ งเดียวกับธงชำติ แตต่ รงกลำงผืนธงมีตรำธรรมจักรสีเหลืองเส้นผำ่ ศูนย์กลำง ๓๒ เซนติเมตร๔๗ สำนักนำยกรัฐมนตรี ได้ออกระเบียบ ว่ำด้วยกำรใช้ กำรชัก หรือกำรแสดงธงชำติ และธง ตำ่ งประเทศในรำชอำณำจักร พ.ศ. ๒๕๒๙ กำหนดให้วันสำคัญทำงพระพุทธศำสนำ ประกอบด้วยวัน มำฆบูชำ วันวิสำขบูชำ วันอำสำฬบูชำ และวันเข้ำพรรษำเป็นวันท่ีต้องชัก และประดับธงชำติ ณ อำคำรสถำนท่ี ยำนพำหนะ และสำธำรณสถำน และในส่วนท่ี ๔ ของระเบียบดังกล่ำว ยังกำหนดกำร ใช้ กำรชัก หรือกำรแสดงธงชำตคิ กู่ ับธงอ่นื หรอื กบั พระพทุ ธรูป และพระบรมรูป โดยกำหนดใหธ้ งชำติ อย่ดู ้ำนขวำพระพุทธรปู พระบรมรปู อยู่ด้ำนซำ้ ย๔๘ ในสว่ นของสถำบันศำสนำ คณะสงฆ์ไทยประกำศใช้ตรำธรรมจักรในกิจกำรของคณะสงฆ์ ท่วั ไปอยำ่ งเป็นทำงกำรเม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๑๔๙ องคก์ รทำงพระพทุ ธศำสนำ มักนิยมกำหนดตรำสัญลักษณ์ ๔๒คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญำ จังหวัดสุรำษฎร์ธำนี. (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและ จดหมำยเหตุใน คณะอำนวยกำรจัดงำนเฉลิมพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒),หน้ำ ๑๘๓. ๔๓คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญำ จังหวัดสกลนคร. (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำย เหตุในคณะอำนวยกำรจัดงำนเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบำทสมเดจ็ พระเจำ้ อยู่หวั ฯ จดั พิมพ์, ๒๕๔๒), หน้ำ ๑๙๗. ๔๔คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ิปญั ญำ จังหวัดขอนแก่น. (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำย เหตใุ นคณะอำนวยกำรจดั งำนเฉลิมพระเกยี รติพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯ จดั พิมพ์, ๒๕๔๒),หนำ้ ๒๒๙ . ๔๕คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปัญญำ จังหวัดนครศรีธรรมรำช. (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและ จดหมำยเหตุในคณะอำนวยกำรจัดงำนเฉลิมพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒),หน้ำ ๒๐๓. ๔๖คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลกั ษณ์ และภูมิปัญญำ จังหวัดปรำจนี บรุ ี. (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝำ่ ยประมวลเอกสำรและจดหมำย เหตุในคณะอำนวยกำรจัดงำนเฉลิมพระเกยี รติพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยู่หัวฯ จดั พิมพ์, ๒๕๔๒),หนำ้ ๑๔๗. ๔๗พระรำชบญั ญตั ิธง พ.ศ.๒๕๒๒, หมวด ๖ มำตรำ ๓๘. ๔๘ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยกำรใช้ กำรชัก หรือกำรแสดงธงชำติ และธงต่ำงประเทศใน รำชอำณำจักร พ.ศ.๒๕๒๙, ข้อ ๑๓,ข้อ ๒๐. ๔๙ ธงศำสนำพุทธ, [ออนไลน์]. แหล่งที่มำ: http://th.wikipedia.org/wiki/ [วันที่ ๒๗ กันยำยน ๒๕๕๕].

๖ ให้มีสัญลักษณ์ทำงพระพุทธศำสนำอย่ำงใดอย่ำงหน่ึงเป็นส่วนหนึ่งของตรำสัญลักษณ์น้ัน เช่น ตรำ สำนักงำนแมก่ องธรรมสนำมหลวง๕๐ ตรำประจำสำนกั งำนแม่กองบำลีสนำมหลวง๕๑ สถำบันพระมหำกษัตริย์ เช่น ธงชัยเฉลิมพลของกองทัพบก ยอดคันธง เป็นซุ้มเรือนแก้ว ประดษิ ฐ์สถำนพระพุทธรูปภำยในทำด้วยโลหะสที อง คันธงตอนทต่ี รงกับธง มีสักหลำดสีแดงต่อกับริม ธงหุ้มรอบคันธงมีหมุดทำด้วยโลหะสีทอง ๑๕ หมุด หมุดท่ี ๑ เป็นรูปประเทศไทย หมุดท่ี ๒ เป็นรูป เสมำธรรมจักร หมุดท่ี ๓ เป็นรูปพระปรมำภิไธยย่อ หมุดท่ี ๔ เป็นรูปรัฐธรรมนูญ หมุดต่อไปเป็นรูป เคร่ืองหมำยกองทัพบก๕๒แม้ธงชัยเฉลิมพลของกองทัพเรือ และกองทัพอำกำศก็มีสัญลักษณ์ทำง พระพทุ ธศำสนำเชน่ เดียวกัน ตำ่ งตรงที่ของกองทพั เรือ ไม่มซี มุ้ เรือนแก้วประดิษฐ์สถำนพระพทุ ธรปู ด้ำนงำนศิลปะ พบจำนวนไม่น้อยท่ีถูกสร้ำงสรรค์ข้ึนมำโดยสื่อถึงสัญลักษณ์ทำง พระพุทธศำสนำ งำนศิลปะบำงชิน้ มีกำรเพม่ิ เติมสัญลักษณ์พิเศษเพ่ือสื่อควำมหมำยบำงประกำร เช่น รูปพระอรหันต์ ๖๐ องค์ (พระมีหนวด) บนเจดีย์กู่กุดทจี่ ังหวัดลำพูน หำกพิจำรณำผิวเผนิ ก็อำจจะมอง ว่ำเป็นพระพุทธรูปทั้งหมด ท้ังน้ีเพรำะบนเศียรทำเกตุมำลำนูนอยู่เหนือเศียร พระสำวกโดยท่ัวไปไม่ นิยมเช่นนี้ อย่ำงไรก็ตำม เม่ือมีกำรวิเครำะห์อย่ำงละเอียด โดยเช่ือมโยงกับตำนำนเรื่องเร่ืองพระ อรหนั ต์เกดิ ขึน้ ครั้งแรกในโลก ๖๐ องค์ (๖๑ รวมทง้ั พระพุทธเจ้ำ) ก็จะทำใหท้ รำบว่ำ รูปพระ ๖๐ องค์ เป็นพระอรหันตสำวก เนื่องจำกเพรำะช่ำงหริภุญไชยได้สร้ำงรูปลักษณ์พระอรหันต์ให้มีเกตุมำลำ เหมือนพระพุทธรูป เท่ำกับเป็นกำรทำลำยสื่อควำมหมำยสำคัญที่ทำให้คนทั่วไปทรำบควำมแตกต่ำง ทำงรูปธรรม ซึง่ ในกำรน้ี ชำ่ งชำวหริภุญไชยได้แก้ปัญหำโดยเพมิ่ สญั ลักษณพ์ เิ ศษท่ีไมม่ ีในพุทธรูปใหแ้ ก่ พระอรหนั ต์คือ “หนวด”๕๓ ด้ำนประเพณี วัฒนธรรม เช่น ในฮีตสิบสอง คลองสิบส่ี พิธีบุญข้ำวสำก มีกำรใช้กลองตี เป็นสัญญำณ หรือสัญลักษณ์เพื่อบอกให้ผีญำติพี่น้อง รุกขเทวดำ ผีเปรตมำรับเอำห่อน้อยท่ีแขวนไว้ ตำมต้นไม้ ตำมเสำ หรือตำมเจดีย์ ๕๔ พิธีกรรมทำงภำคเหนือ นิยมใช้ตุง(ธง)เป็นสัญลักษณ์ของ พิธีกรรมต่ำง ๆ เช่น ตุงช่อ ให้ประดับท่ัวไป ตุงร้อยแปด ใช้ในกำรสะเดำะเครำะห์ ตุงค่ำคิง ใช้ในพิธี สะเดำะเครำะห์ และงำนสงกรำนต์ ตุงใส้หมู ใช้ในพิธีกรรมทำงศำสนำ ตุงไย ใช้แขวนบูชำหน้ำ พระพทุ ธรูป ตงุ สำมหำง ใช้แขวนบูชำพระรตั นตรัย๕๕ ในแง่อิทธิที่มีต่อกำรใช้สัญลักษณ์ในสังคมไทย จำกกำรสืบค้นเบื้องต้น พบมีหลำยมิติ เช่นกันที่สัญลักษณท์ ำงพระพทุ ธศำสนำมีอิทธิพลต่อกำรใช้สัญลักษณ์ในสังคมไทย เชน่ ในพระรำชพิธี ๕๐ แมก่ องธรรมสนำมหลวง, [ออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี ำ: http://www.gongtham.net/web/news.php [วันที่ ๒๗ กันยำยน ๒๕๕๕]. ๕๑ แม่กองบำลีสนำมหลวง, [ออนไลน์]. แหล่งที่มำ: http://www.infopali.net/ [วันท่ี ๒๗ กันยำยน ๒๕๕๕]. ๕๒กฎกระทรวง (พ.ศ.๒๕๒๔) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติธง พ.ศ. ๒๕๒๒, ขอ้ ๑ (๑),(๔). ๕๓ดูรำยละเอียดใน พิเศษ เจียจันทร์พงษ์, “พระมีหนวด”, ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ ๑๖ ฉบับท่ี ๗, (พฤษภำคม ๒๕๓๗): ๑๑๒-๑๑๕. ๕๔เอกวิทย์ ณ ถลำง, ภูมิปัญญำอีสำน, (กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพ์อมรินทร์, ๒๕๔๖), หน้ำ ๗๑- ๗๒. ๕๕วิมล จิโรจพันธ์ และคณะ. มรดกทำงวัฒนธรรม ภำคเหนือ. (กรุงเทพมหำนคร: สำนักพิมพ์แสดง ดำว,๒๕๕๑),หน้ำ ก่อนบทนำ.

๗ พชื มงคลจรดพระนงั คัล แต่เดมิ จะมเี ฉพำะพิธีแห่เทวรปู มำประดิษฐำนในพธิ ี แตป่ จั จบุ ันมีพิธขี บวนแห่ พระพุทธรูปปำงคันธำระมำประดิษฐำนยังบริเวณพิธีด้วย๕๖ กำรใช้พระพทุ ธรปู ปำงคันธำระเพอื่ ใหเ้ ข้ำ กับบริบทของพิธีและเป็นสัญลักษณ์ของกำรขอฝนตำมคติควำมเช่ือที่ส่ือผ่ำนพระพุทธรูปคติดังกล่ำว น่ำจะได้รับอิทธิพลมำจำกเหตุกำรณ์ที่กษัตริยิ์ลิจฉวีทูลเชิญพระพุทธเจ้ำเสด็จเมืองเวสำลีเพื่อขจัด ปัญหำทุพภิกขภัยแล้วทำให้สถำนกำรณ์คล่ีคลำยไปในทำงที่ดี เพรำะทันทีที่พระพุทธเจ้ำเหยียบพระ บำทลงบนพืน้ ดินเท่ำนั้น(ตำมประวัตเิ สด็จมำเรือ) ฝนโบกขพรรษก็โปรยลงมำ๕๗ กำรถือคติในลักษณะ นี้ยังพบในพระสำวกด้วย เช่น กำรใช้พระสังกัจจำยน์เป็นสัญลักษณ์ของควำมอุดมสมบูรณ์๕๘ และใช้ พระสวี ลีเป็นสญั ลกั ษณ์ของโชคลำภ๕๙ กำรใช้ช้ำงเป็นสัญลักษณ์ โดยเฉพำะช้ำงท่ีต้องตำมคชลักษณ์ เช่นช้ำงเผือก ช้ำง คู่บ้ำนคู่เมือง เป็นสัญลักษณ์ของควำมอุดมสมบูรณ์ หรือสัญลักษณ์คู่บำรมีองค์กษัตริย์ ในรัชกำลใดมี มำก ถือว่ำพระมหำกษัตริย์พระองค์น้ันมพี ระบำรมีมำกลน้ กำรถือคติเช่นน้ี มีมำต้ังแต่โบรำณ ผใู้ ดนำ ช้ำงเผือก หรือช้ำงมงคลมำถวำย ย่อมได้รับปูนบำเน็จเป็นพิเศษ เช่น กรณีของนำยบุญเกิดในรัชกำล ของพระเพทรำชำ ถึงกับได้รับพระรำชทำนบรรดำศักด์ิเป็นขุนอินทคชประเสริฐ และได้รับ พระรำชทำนทอง เงินตรำ เส้ือผ้ำ ทั้งได้รับกำรยกเว้นภำษีตลอดชีวิต๖๐ ข้อน้ีก็สอดคล้องกับคติควำม เช่อื เรอื่ งชำ้ งมงคลคบู่ ำ้ นคู่เมอื งท่ปี รำกฏในเวสสนั ดรชำดก๖๑ จำกตัวอย่ำงข้ำงต้นสะท้อนให้เห็นว่ำ สัญลัษณ์ทำงพระพุทธศำสนำมีอิทธิพลต่อกำรใช้ สัญลักษณ์ในสังคมไทย แต่จะมีในลักษณะใดบ้ำง จำเป็นต้องศึกษำกำรใช้สัญลักษณ์ทำง พระพุทธศำสนำในสังคมไทยโดยภำพรวม และเพือ่ ให้เห็นควำมเชื่อมโยงระหว่ำงกำรใช้สัญลักษณะใน สังคมไทยกับกำรใช้สัญลักษณ์ในคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำ ก็ต้องอำศัยกำรสืบค้นคัมภีร์ทำง พระพุทธศำสนำ เพื่อศึกษำวิเครำะห์เชื่อมโยงถึงกำรใช้สัญลกั ษณ์ในคัมภีรว์ ำ่ ท่ำนใชใ้ นลักษณะอย่ำงไร บ้ำง มีสัญลักษณ์ใดบ้ำงที่คงควำมหมำยเดิม สัญลักษณ์ใดบ้ำงท่ีมีควำมหมำยเพิ่มเติมจำกเดิม หรือมี ควำมหมำยใหม่ เพื่อตอบโจทย์ดังกล่ำว ผู้วิจัยจึงต้ังประเด็นวิจัยเพ่ือศึกษำวิเครำะห์สัญลักษณ์ทำง พระพทุ ธศำสนำในสังคมไทย ๕๖สิรวิ ัฒน์ คำวันสำ, อิทธิพลวัฒนธรรมอนิ เดียในเอเชยี อำคเนย์, (กรงุ เทพมหำนคร: อกั ษรเจรญิ ทัศน์ ,๒๕๒๒), หน้ำ ๑๘๙. ๕๗ข.ุ ขุ.อ. (ไทย) ๑/๑/๒๒๖. ๕๘ พระมหำกัจจำยนะษ,[ออนไลน์]. แหล่งที่มำ: http://www.tumsrivichai.com/index.php? lay=show&ac=article&Id=5327401&Ntype=40 [วนั ที่ ๒๙ กนั ยำยน ๒๕๕๕] ๕๙ คำถำพระสีวลี , [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมำ: http://th.wikisource.org/wiki/ [วันท่ี ๒๘ กันยำยน ๒๕๕๕]. ๖๐ลำจุล ฮวบเจริญ, เกร็ดพงศำวดำรกรุงศรีอยุธยำ, (กรุงเทพมหำนคร: The Knowledge Center, ๒๕๔๙), หนำ้ ๒๖๒. ๖๑ดรู ำยละเอยี ดใน ขุ.ชำ.อ. (ไทย) ๓/๔/๑๙๐-๑๙๕.

๘ ๒. วตั ถุประสงค์ของกำรศึกษำ ๒.๑ เพ่ือศกึ ษำสัญลกั ษณท์ ป่ี รำกฎในคมั ภีร์พระพทุ ธศำสนำ ๒.๒ เพ่อื ศึกษำสัญลักษณท์ ำงพระพุทธศำสนำในสงั คมไทย ๒.๓ เพื่อศึกษำอิทธิพลของสัญลักษณ์ทำงพระพุทธศำสนำต่อกำรใช้สัญลักษณ์ใน สังคมไทย ๓. ขอบเขตของกำรศกึ ษำ ๓.๑ ขอบเขตเนื้อหำ ๑) สัญลกั ษณ์ในคมั ภรี ์พระพทุ ธศำสนำเถรวำท ๒) สัญลักษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำในสังคมไทย ๓) อิทธิพลสัญลักษณ์ในคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำต่อกำรใช้สัญลักษณ์ทำง พระพุทธศำสนำในสงั คมไทย และอทิ ธิพลของสังคมไทยตอ่ กำรสร้ำงสัญลักษณ์ทำงพระพุทธศำสนำ ๓.๒ ขอบเขตเอกสำร ๑) พระไตรปฎิ กจำนวน ๔๕ เลม่ อรรถกถำ จำนวน ๔๘ เลม่ ๒) เอกสำร งำนวิจัย และงำนวิชำกำรอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับสัญลักษณ์ ท้ังในส่วนที่ เป็นแนวคิดหรือทฤษฎี และส่วนที่เป็นปรำกฏกำรณ์ทำงสังคม โดยเฉพำะอย่ำงย่ิงในสังคมไทย ครอบคลมุ สถำบันชำติ ศำสนำ พระมหำกษตั รยิ ์ วฒั นธรรม ประเพณี และพิธกี รรม ๔. ปญั หำทต่ี ้องกำรทรำบ ๔.๑ ในคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำเถรวำทมสี ญั ลักษณอ์ ยำ่ งไรบำ้ ง ๔.๒ ในสังคมไทยมกี ำรใช้สญั ลักษณ์ทำงพระพุทธศำสนำอยำ่ งไรบ้ำง ๔.๓ สัญลักษณ์ในคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำมีอิทธิพลต่อกำรใช้สัญลักษณ์ในสังคมไทย หรือไม่ อย่ำงไร ๕. นิยำมศพั ท์เฉพำะท่ใี ชใ้ นกำรศึกษำ ๑. สัญลกั ษณ์ หมำยถึง ส่ิงใด ๆ ท่ีใช้สอ่ื ถงึ สิ่งอ่ืนนอกเหนือจำกตัวมนั เอง อำจเป็นรูปแบบ ภำษำ กำรกระทำ หรือพฤติกรรม และวัตถุต่ำง ๆ ที่สื่อถึงควำมคิด อำรมณ์ ควำมรู้ และพฤติกรรม ร่วมของกลมุ่ ชน ๒. สญั ลักษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำ หมำยถึง สง่ิ ใด ๆ ทีใ่ ชส้ ื่อควำมหมำย ท้งั ในสว่ นที่เป็น วัตถุ (objects) กำรกระทำ (actions) ควำมคิด (ideas) ซึ่งเป็นเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้ำ พระธรรม พระสงฆ์ คติควำมเชื่อ ประเพณี และพิธีกรรมต่ำง ๆ เปน็ ต้น อย่ำงไรกต็ ำม ในงำนวิจยั นี้ ผู้วิจัยหมำย เอำเฉพำะส่วนทเี่ ป็นสญั ลกั ษณท์ ำงวัตถุ กำรกระทำ และควำมคดิ ๓. คัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำ หมำยเอำเฉพำะคัมภีร์พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม และคัมภีร์ อรรถกถำ ๔๘ เล่ม ๔. อิทธิพล หมำยถึง อำนำจแฝงซ่ึงสำมำรถบันดำลให้บุคคลต้องคล้อยตำม ทำตำม หรือ ยอมรบั

๙ ๕. สังคมไทย หมำยเฉพำะกลุ่มของคนไทยท่ีนับถือพระพุทธศำสนำในภำคกลำง ภำคเหนอื ภำคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และภำคใต้ ๖. กรอบแนวคิดในกำรวจิ ัย กำรวิจัยคร้งั นี้ มงุ่ ศกึ ษำสัญลักษณ์ในคัมภีร์พระพุทธศำสนำ สัญลักษณเ์ ชิงพระพุทธศำสนำใน สงั คมไทย เพ่อื วเิ ครำะห์และตคี วำมสัญลกั ษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำ โดยมกี รอบแนวคดิ ดงั น้ี แผนผังท่ี ๑.๑ กรอบแนวคดิ ในกำรวิจยั กำรศึกษำวเิ ครำะหส์ ัญลกั ษณท์ ำงพระพุทธศำสนำในสังคมไทย ตัวแปรต้น ตัวแปรตำม ๑. แนวคิดและทฤษฎี สญั ลักษณ์ต่ำง ๆ ใน ๒. คมั ภีรพ์ ระพทุ ธศำสนำ สงั คมไทย ๓. วัตถุ กำระกระทำ ควำมคิด สถำบนั พระมหำกษตั ริย์ สญั ลักษณ์ในคมั ภีร์ สถำบันศำสนำ พระพทุ ธศำสนำ สัญลักษณ์ประจำจังหวัด สญั ลักษณ์ในจติ รกรรม สญั ลกั ษณท์ ำง พระพุทธศำสนำในสงั คมไทย สัญลกั ษณ์ในประติมำกรรม สัญลักษณ์ในสถำปตั ยกรรม อทิ ธิพลสัญลกั ษณ์ทำง พระพุทธศำสนำต่อ สัญลกั ษณใ์ นประเพณี สังคมไทย และอทิ ธิพลของ สัญลักษณใ์ นพธิ ีกรรม สังคมไทยตอ่ สัญลักษณ์ทำง พระพทุ ธศำสนำ

๑๐ ๗. ทบทวนเอกสำรและรำยงำนกำรวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง จำกกำรสำรวจข้อมูลเพื่อทบทวนเอกสำร และรำยงำนกำรวิจัยท่ีเกี่ยวข้องเบื้องต้น พบมี ร่องรอยของกำรกล่ำวถึงเร่ืองสัญลักษณ์ไว้ในคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำ ตลอดจนงำนนิพนธ์อื่น ๆ ท่ี เก่ียวข้อง ซึ่งผู้วิจัยประมวลนำมำทบทวนเพ่ือให้เห็นควำมเก่ียวข้องในกำรใช้เป็นฐำนข้อมูลสำหรับ กำรศกึ ษำวเิ ครำะหต์ อ่ ไป ๗.๑ เอกสำรและงำนวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ งสญั ลักษณท์ ่ัวไป พรหมำ พิทักษ์, บรรณำธิกำรผูแ้ ปลเรยี บเรยี ง “นัยแห่งสญั ลักษณ์” งำนนิพนธน์ ี้ ได้ แสดงควำมหมำยแห่งสัญลักษณ์ของชนเผ่ำต่ำง ๆ ทั่วโลก นับตั้งแต่สัญลักษณ์ของชำวกรีก-โรมัน, สญั ลักษณ์ในศำสนำคริสต,์ สญั ลกั ษณข์ องชำวเคลต์, สัญลักษณ์ของชำวพทุ ธ, สัญลักษณ์ของชำวยโุ รป เหนือ, สัญลักษณ์ของชำวไอยคุปต์, สัญลักษณ์ของอำรยธรรมเมโสโปเตเมีย, ตัวเลข สัตว์ พืช และ สัญลกั ษณ์ทำงกำรเมือง และเคร่ืองหมำยตำ่ ง ๆ บทนำของหนังสือ ได้ปรำรภถงึ คนในอดีตท่พี ยำยำม ประดิษฐ์สัญลักษณ์เพ่ือประโยชน์ในกำรสื่อสำร และแม้กำลเวลำจะล่วงเลยมำถึงปัจจุบัน สัญลักษณ์ เหลำ่ น้นั ก็ยงั ทำหนำ้ ทแี่ ทนคำพดู และควำมรสู้ กึ แนวคิดต่ำง ๆ ไดเ้ หมอื นเดิม๖๒ วรรณภำ ศรีธัญรัตน์, เสนอบทควำมทำงวิชำเรื่อง “ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์: กำรประยุกต์ใช้” สรุปควำมได้ว่ำ ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์เป็นทฤษฎีทำงสังคมศำสตร์ ใช้อธิบำย ปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคลที่มีลักษณะเฉพำะ กล่ำวคอื บุคคลจะมกี ำรสรำ้ งสัญลักษณ์ แปลควำม และ ให้ควำมหมำยเก่ียวกับพฤติกรรมท่ีคนอื่นแสดงออก และมีพฤติกรรมตอบสนองต่อควำมหมำยที่ตน สร้ำงข้ึนน้ัน ๆ มำกกว่ำที่จะมีปฏิกิริยำตอบสนองต่อพฤติกรรมท่ีบุคคลนั้นแสดงออกโดยตรง ทฤษฎี ปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์ ถูกนำมำอธิบำยพฤติกรรมหรือกำรกระทำในสองระดับ คือ ระดับพฤติกรรม หรอื ปฏิสัมพันธ์ และในระดบั ของรูปสญั ลักษณ์๖๓ ธีรยุทธ บุญมี, งำนนิพนธ์ชื่อ “กำรปฏิวัติสัญศำสตร์ของโซซูร์ เส้นทำงสู่โพสต์โม เดอร์นิสม์” บทท่ี ๓ ได้กล่ำวถึงศำสตร์ของสัญญะ สรุปควำมได้ว่ำ รูปแห่งสัญญะสำมำรถแบ่งตำม ชนิด หรือหน้ำท่ีได้ดังนี้ ๑) วิถีหน้ำที่แบบเสมือน [Iconic Mode] ๒) วิถีหน้ำท่ีแบบดัชนี [Indexical Mode] ๓) วิถีหน้ำที่แบบเคร่ืองหมำย [Signic Mode] ๔) วิถีหน้ำที่แบบสัญญำณและรหัส [Signal และ Code] วิถีหน้ำท่ีแบบสัญญะ [Sign] และสัญลักษณ์ [Symbol] และบทท่ี ๔ ได้กล่ำวถึงทฤษฎี เกี่ยวกับสัญญะของโซซูร์ สรุปควำมได้ว่ำ ทฤษฎีสัญศำสตร์ของโซซูร์ ได้แบ่งส่วนแห่งสัญญะออกเป็น ๒ สว่ น คอื ตัวหมำย [Signifier] และควำมคิดทถ่ี กู หมำย [Signified]๖๔ สกำวรัตน์ หำญกำญจนสุวัฒน์, ได้เสนองำนวิจัยเรื่อง “วรรณกรรมของศักด์ิสิริ มี สมสืบ: กลวิธีทำงวรรณศิลป์กับกำรตีควำม” บทที่ ๒ ผู้วิจัยได้ชี้ให้เห็นถึงนัยแห่งสญั ลักษณ์ และกำร ใชส้ ัญลักษณ์จำกลักษณะทเ่ี ป็นธรรมชำติ อวยั วะ อมนุษย์ สัตว์ และของเล่น เช่น ใช้ดวงจันทร์แทนสิ่ง ๖๒พรหมำ พิทักษ,์ บรรณำธกิ ำรแปล, นัยแหง่ สญั ลักษณ์, อำ้ งแล้ว, หนำ้ ๖. ๖๓วรรณภำ ศรีธญั รัตน์, เสนอบทควำมทำงวิชำเรอ่ื ง “ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์: กำรประยุกตใ์ ช้”, วำรสำรคณะพยำบำลศำสตร์ (๒๐, (๓-๔), ๒๕๔๐) อ้ำงใน http://tdc.thailis.or.th (เขำ้ ถึงเมอ่ื วันที่ ๑๔ กันยำยน ๒๕๕๕). ๖๔ธีรยุทธ บุญมี, กำรปฏิวัติสัญศำสตร์ของโซซูร์ เส้นทำงสู่โพสต์โมเดอร์นิสม์, (กรุงเทพมหำนคร: สำนกั พิมพว์ ิภำษำ, ๒๕๕๑), หนำ้ ๕๕-๖๕.

๑๑ ที่สูงส่ง ส่ิงท่ีหมำยปอง ควำมฝัน ควำมหวัง ใช้ดอกไม้เป็นสัญลักษณ์แทนหญิงสำว ควำมอ่อนเยำว์ ชวี ติ บรสิ ุทธิ์ ใช้ดวงตำ เป็นสัญลักษณ์ของกำรมองเห็น ใช้ปิศำจ หรือผีรำ้ ย แทนควำมช่ัวรำ้ ย ใช้ชิงช้ำ เปน็ สัญลักษณแ์ ทนกำรดำเนินชีวิต และวฏั จักรชวี ติ ใช้สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของควำมหม่นหมอง ควำม เศรำ้ และควำมตำย๖๕ เปน็ ต้น ธิญำดำ ยอดแก้ว, เสนองำนวิจัยเรื่อง “กำรศึกษำสัญลักษณ์ทำงวัฒนธรรมของ ประเทศกลุ่มอำเซ่ียน” ในบทท่ี ๒ ของงำนวิจัย ได้อ้ำงถึงกำรแบ่งประเภทสัญลักษณ์ตำมแนวทำงของ Dreyfuss ๓ ประกำร คือ ๑) สัญลักษณท์ ี่เกิดจำกกำรลอกเลยี นแบบ หมำยถึง สัญลกั ษณ์ทเ่ี ลียนแบบ ธรรมชำติ วัตถุ กำรกระทำ ๒) สัญลักษณ์ที่เป็นนำมธรรม หมำยถึง กำรนำสำระสำคัญมำทำเป็นรูป ให้เกิดควำมเขำ้ ใจง่ำย และ ๓ สญั ลกั ษณท์ ่มี นุษย์ประดิษฐข์ ึน้ มกี ำรเรยี นรู้ และยอมรับ๖๖ ภคพงศ์ อัครเศรณี, เสนอผลงำนวิจัยเรื่อง “กำรออกแบบสถำปัตยกรรมสื่อ ควำมหมำยโดยประยุกต์ใช้หลักวิชำสัญศำสตร์” ในบทท่ี ๒ ของงำนวิจัย ได้กล่ำวถึงหลักสัญศำสตร์ ควำมตอนหน่ึงว่ำ แม้ถ้อยคำ หรือภำษำจะมีควำมสำคัญท่ีสุดในกำรส่ือสำรในปัจจุบัน แต่โลกเรำก็ ยังคงมีระบบเครื่องหมำยอื่น ๆ ท่ีสำมำรถสื่อควำมหมำยได้นอกเหนือจำกภำษำ ในกำรศึกษำเรื่อง สัญญะ นักสัญศำสตร์อธิบำยว่ำ สัญญะใด ๆ ก็ตำม จะประกอบด้วยส่วนประกอบ ๒ ประกำร คือ รูปสัญญะ (signifier) หมำยถึงรูปใด ๆ ก็ตำม ท่ีถูกนำมำถ่ำยทอดเพื่อส่ือควำมหมำย เช่น ตัวหนังสือ ภำพ เสียง และอ่ืน ๆ ที่สำมำรถรู้ได้ด้วยประสำทสัมผัส และควำมหมำยสัญญะ(signified) หมำยถึง แนวควำมคิดทภี่ ำพ เสยี ง หรือรปู สญั ญะส่ือออกมำ๖๗ นภสมน นิจรันดร์, ได้เสนองำนวิจัยเร่ือง “โนรำ: สัญลักษณ์ พิธีกรรม ตัวตนคนใต้ รอบลุ่มทะเลสำบสงขลำยุคโลกำภิวัฒน์” บทท่ี ๒ ผู้วิจัยได้กล่ำวถึงแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ สัญลักษณ์ ควำมสรุปได้ว่ำ สัญลักษณ์คือส่ิงที่มนุษย์สร้ำงขึ้นเป็นเคร่ืองหมำยโดยไม่มีกฏเกณฑ์ใด ๆ เพื่อก่อให้เกิดกำรตอบสนองทำงสังคมแบบเดียวกัน คำว่ำไม่มีกฏเกณฑ์ หมำยถึงมันเกิดข้ึนจำกกำร เรียนรู้ร่วมกัน และเห็นชอบร่วมกันของคนในกลุ่มท่ีใช้ส่ิงน้ันในกำรติดต่อสื่อสำร ซ่ึงมีควำมหมำยใน ตวั เอง เช่น มนุษยใ์ ช้พธิ ีกรรมเพ่อื ส่อื สัญลกั ษณ์ทง้ั ในรปู ของอดุ มคติ และอำรมณ์ควำมรูส้ ึก๖๘ ชัยปฐมพร ธนพัฒน์ปวงวัน, เสนองำนวิจัยเร่ือง “กำรวิเครำะห์เชิงสัญวิทยำเพื่อ เป็นแนวทำงในกำรออกแบบสถำปัตยกรรมไทยประยุกต์” บทท่ี ๒ ของงำนวิจยั ได้กล่ำวถึงทฤษฎีสัญ วทิ ยำสรปุ ควำมได้ว่ำ โครงสรำ้ งภำษำแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คอื ตัวภำษำ ได้แกร่ ะบบท่ีมคี วำมสมบรู ณ์ อยู่ในตัวเอง มีกฎเกณฑ์ในกำรจัดแบ่งประเภท แยกแยะแบบต่ำง ๆ เป็นรูปแบบองค์รวม (Form) อีก ๖๕สกำวรัตน์ หำญกำญจนสุวัฒน์, “วรรณกรรมของศักดิ์สิริ มีสมสืบ: กลวิธีทำงวรรณศิลป์กับกำร ตคี วำม”, วทิ ยำนิพนธ์อักษรศำสตรมหำบัณฑติ , (คณะอักษรศำสตร์: จฬุ ำลงกรณม์ หำวทิ ยำลัย, ๒๕๔๔), หน้ำ ๔๔- ๖๔. ๖๖ธิญำดำ ยอดแก้ว, “กำรศึกษำสัญลักษณ์ทำงวัฒนธรรมของประเทศกลุ่มอำเซียน”, วิทยำนิพนธ์ ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต,(บัณฑิตวิทยำลัย: มหำวทิ ยำลัยศิลปำกร, ๒๕๔๗), หนำ้ ๒๐๓. ๖๗ภคพงศ์ อัครเศรณ,ี “กำรออกแบบสถำปัตยกรรมสอ่ื ควำมหมำยโดยประยุกต์ใชห้ ลกั วชิ ำสัญศำสตร์” วิทยำนพิ นธส์ ถำปัตยกรรมศำสตรบณั ฑิต, (บัณฑติ วิทยำลัย: มหำวิทยำลยั ศลิ ปำกร, ๒๕๔๘), หนำ้ ๘-๑๐. ๖๘นภสมน นิจรันดร์, “โนรำ: สัญลักษณ์ พิธีกรรม ตัวตนคนใต้รอบลุ่มทะเลสำบสงขลำยุค โลกำภิวฒั น์”, วทิ ยำนิพนธ์สังคมวทิ ยำมหำบัณฑติ , (บัณฑิตวิทยำลัย: จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย,๒๕๕๐), หนำ้ ๑๑- ๑๘.

๑๒ สว่ นได้ได้แก่กำรใช้ภำษำ (Parole) หมำยถงึ กระบวนกำรทำงสังคมอันเป็นผลมำจำกควำมสำมำรถใน กำรใชภ้ ำษำรวมกับกฎเกณฑ์ จำรตี ประเพณปี ฏิบตั ิท่ีสงั คมตกลงกันไว้ เป็นเนื้อหำสำระหนว่ ยยอ่ ย ซึ่ง ถือเปน็ สญั ญะแบบหนงึ่ ที่ถูกใชอ้ ย่ำงมรี ะบบ๖๙ ธิดำรตั น์ ดวงสินธุ์, เสนองำนวิจัยเร่ือง “พุทธปรัชญำ: กำรศึกษำพุทธปฏิมำเพ่ือสืบ สำนพระพุทธศำสนำในสังคมอีสำน” ในบทท่ี ๒ ของำนวิจัย ได้กล่ำวถึงทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์ นิยม หรือทฤษฎสัญลักษณ์นิยมวิทยำ สรุปควำมไดว้ ่ำ ส่ิงท่ีทำให้มนุษย์แตกต่ำงจำกสัตว์ คอื กลไกทำง ควำมคิด ซึง่ ทำให้มนษุ ย์รู้จักวำงแผน และปรบั พฤติกรรมให้เข้ำกับสถำนกำรณ์ และเป้ำหมำยท่ีวำงไว้ รจู้ ักสื่อสำรกับบุคคลอ่ืนด้วยกำรใช้สัญลักษณ์ต่ำง ๆ ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์นยิ ม ก็คือทฤษฎีท่ี มนุษย์กระทำระหว่ำงกันด้วยสัญลักษณ์ ซ่ึงสัญลักษณ์ท่ีสำคัญที่สุดก็คือภำษำ ภำษำทำให้มนุษย์รู้จัก ตคี วำม โต้ตอบสิ่งที่ผู้อืน่ พูด ทำให้เกดิ ควำมเขำ้ ใจวำ่ ผ้อู ่ืนคดิ อยำ่ งไร๗๐ สรุป เอกสำรและงำนวิจัยข้ำงต้น เป็นส่วนที่เก่ียวข้องกับแนวคิดทฤษฎีสัญศำสตร์ และแนวคิดทำงมำนุษยวิทยำเก่ียวกับสัญลักษณ์ ซึ่งจะเป็นกรอบเบื้องต้นที่ผู้วิจัยใช้เป็นแนวทำง สำหรับกำรศึกษำ วิเครำะห์ วินิจฉัย และกำรจัดกล่มุ สัญลักษณ์ท่ีปรำกฎในคมั ภีรท์ ำงพระพุทธศำสนำ ให้เป็นระบบ หรือเป็นหมวดหมู่ ๗.๒ เอกสำรทเ่ี ก่ียวข้องกบั สัญลักษณใ์ นคัมภรี ์พระพุทธศำสนำ มหำวรรค วินัยปิฎกเล่มท่ี ๑ ปรำกฏข้อควำมที่เป็นตัวอย่ำงของสัญลักษณ์ เช่น กำรกระทำประทกั ษิณ๗๑ เป็นสัญลักษณ์ของกำรแสดงควำมเคำรพ กำรขยิบตำ ยักควิ้ ผงกศีรษะ เพื่อ กำรสื่อสำรแทนกำรใช้คำพูด๗๒ กำรตีกลอง เพื่อเป็นกำรประกำศชัยชนะ๗๓ควำมนิยมในกำรเชิญนำง วสิ ำขำมหำอุบำสกิ ำไปร่วมงำนเพ่ือเป็นสัญลักษณ์มิง่ มงคล๗๔ แสดงใหเ้ ห็นว่ำ ในครั้งพุทธกำลมีกำรใช้ บคุ คลเป็นสัญลกั ษณ์ในทำงมงคลอย่ำงใดอย่ำงหน่งึ มหำวรรค วินัยปิฎก เล่มที่ ๒ ปรำกฏข้อควำมท่เี ป็นตัวอยำ่ งสัญลักษณ์ เช่น ในกำร ทำสงั ฆกรรม กำรนง่ิ เป็นสัญลักษณ์ของกำรยอมรบั ๗๕แม้ในกำรรับนมิ นต์ ก็ใช้อำกำรนิ่งเป็นสัญลกั ษณ์ ของกำรยอมรับเช่นกัน๗๖ ในกำรทวงถำมจีวรกับไวยำวัจจักรหรือผู้ท่ีได้ปวำรณำไว้แล้ว หำกเกิน ๓ ๖๙ชัยปฐมพร ธนพัฒน์ปวงวัน, “กำรวิเครำะห์เชิงสัญวิทยำเพ่ือเป็นแนวทำงในกำรออกแบบ สถำปัตยกรรมไทยประยุกต์”. สถำปัตยกรรมศำสตรมหำบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยำลัย: มหำวิทยำลัยเชียงใหม่, ๒๕๕๑), หน้ำ ๑๑-๑๕. ๗๐ธิดำรัตน์ ดวงสินธ์ุ, เสนองำนวิจัยเรื่อง “พุทธปรัชญำ: กำรศึกษำพุทธปฏิมำเพื่อสืบสำน พระพุทธศำสนำในสังคมอีสำน”, วิทยำนิพนธ์ปรัชญำดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย: มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม, ๒๕๕๓), หน้ำ ๑๖๔-๑๖๕. ๗๑วิ.มหำ. (ไทย) ๑/๑๕/๘. ๗๒ว.ิ มหำ. (ไทย) ๑/๑๗๙/๕๐. ๗๓ว.ิ มหำ. (ไทย) ๑/๒๓๑/๒๔๖. ๗๔วิ.มหำ. (ไทย) ๑/๔๔๓/๔๗๓. ๗๕ว.ิ มหำ. (ไทย) ๒/๔๗๔/๑๑. (สังฆกรรมท่ตี ้องใช้กำรลงมติทุกประเภท ใช้กำรนิ่งเป็นสัญลักษณ์แทน กำรยอมรบั หรือเหน็ ชอบ) ๗๖วิ.มหำ. (ไทย) ๑/๑๕/๘.

๑๓ ครั้งแล้ว ตัง้ แต่ครั้งท่ี ๔ เปน็ ต้นไป พระวินัยกำหนดไวว้ ่ำ ห้ำมใช้วำจำทวงอีก ภิกษุทำได้เพียงไปแสดง ตน ยืนอยู่นิ่ง ๆ เทำ่ นั้น๗๗ กำรแสดงไปแสดงตนดว้ ยกำรน่ิง เป็นสญั ลักษณ์แทนกำรทวงอย่ำงหน่ึง จุลวรรค วินัยปิฎกเล่มท่ี ๒ พรรณนำเรื่องรำวต่ำง ๆ เกี่ยวกับข้อปฏิบัติเล็ก ๆ น้อย ๆ ของพระสงฆ์ รำยละเอียดสะท้อนให้เห็นว่ำ พระสงฆ์สำวกทั้งหลำย เบ้ืองต้นจะถูกหนดด้วย สัญลักษณ์ท่ีทำให้เห็นควำมแตกต่ำงระหว่ำงคฤหัสถ์ และนักบวชในลทั ธิอ่ืน ในส่วนนี้จึงมขี ้อบัญญัติที่ เรียกว่ำอภิสมำจำรกำหนดแนวทำงให้ถือปฏิบัติ เช่น กำรปลงผม ปลงหนวด และห้ำมไว้ยำวเกิน ประมำณที่กำหนด ห้ำมใช้เครอ่ื งใช้ทีเ่ ป็นสญั ลักษณข์ องคฤหัสถ์ เช่น ผ้ำนุ่งหม่ รองเท้ำ กระจก๗๘กำร แสดงกำรสำนึกผดิ และเพ่ือที่จะขอขมำ มวี ิธีกำรซ่ึงถือเป็นสัญลักษณ์ให้ผ้ทู ี่ตนจะขอขมำรับทรำบ นั่น คือกำรเอำน้ำเทใส่ต้ังแต่ศีรษะจรดปลำยเท้ำให้ร่ำงกำยและเส้ือผ้ำเปียกทั้งหมด เพ่ือสัญลักษณ์แสดง วำ่ ตนสำนกึ ผดิ แล้ว จำกน้นั จึงขอขมำโทษล่วงเกิน๗๙ สำรัตถทีปนี ฎีกำพระวินัย มีข้อควำมตอนหนึ่งพรรณนำไว้ว่ำ พระมำรดำพระ โพธิสัตว์ ก่อนให้กำเนิดพระโพธิสัตว์ ได้ทรงสุบินนิมิตเห็นพระยำช้ำงเผือก นำดอกบัวมำถวำย ข้อควำมในคัมภีร์ระบุไว้ว่ำ “ท้ำวมหำรำชท้ัง ๔ เสด็จมำยกพระองค์ไปพร้อมกับพระแท่นสิริไสยำสน์ นำไปสู่สระอโนดำต ได้ทรงสรงสนำนแล้ว ให้ทรงผลัดผ้ำทิพย์ ลูบไล้ด้วยเคร่ืองทิพยสุคนธ์ ประดับ ดอกไม้ทิพย์ ในที่ไม่ห่ำงไกลสระอโนดำตน้ันมีภูเขำสีเงิน ภำยในภูเขำเงินนั้นมีวิมำนทอง ให้พระองค์ ประทบั หันพระเศียรไปทำงทศิ บูรพำในวิมำนทองนั้น ครั้งนน้ั พระโพธิสตั วไ์ ด้เปน็ พระเศวตคชำธำร ณ ทไี่ มไ่ กลแตว่ ิมำนทองนั้น มีภเู ขำทองอย่ลู ูกหน่ึง ไดเ้ ที่ยวอย่ทู ่ภี ูเขำทองน้ัน ลงจำกภเู ขำทองแลว้ ขึน้ มำ ยังภเู ขำเงิน เข้ำไปสู่วิมำนทอง กระทำประทักษิณพระมำรดำ ได้เป็นเหมือนชำแรกด้ำนทักษิณปรัศว์สู่ พระครรภ์”๘๐ สิงคำลกสูตร ปำฏิกวรรค ทีฆนิกำย มีข้อควำมระบุถึงกำรแบ่งทิศในสิงคำลสูตรไว้ ๖ ประกำร คือ ทิศเบ้ืองหน้ำ (ทิศตะวันออก) ทิศเบ้ืองขวำ (ทิศใต้) ทิศเบื้องหลัง (ทิศตะวันตก) ทิศ เบ้ืองซ้ำย (ทิศเหนือ) ทิศเบ้ืองล่ำงและทิศเบ้ืองบน๘๑รูปแบบของกำรจำแนกทิศดังกล่ำวนี้ ได้จำกกำร ยืนหันหน้ำไปทำงด้ำนทิศตะวันออก ทิศเหนือจึงอยู่ด้ำนซ้ำย ส่วนทิศใต้จะอยู่ทำงด้ำนขวำ พระพุทธศำสนำนำคติดังกล่ำวนี้มำใช้ โดยให้ทิศเบื้องขวำแทนครูอำจำรย์ ส่วนทิศเบื้องซ้ำยแทนมิตร สหำย๘๒ ติสสสตู ร เถรวรรค ขนั ธวำรวรรคสังยุตตนิกำย มขี อ้ ควำมระบุถงึ กำรนำสัญลักษณ์ ซ้ำย-ขวำมำใช้ โดยซ้ำยแทนมิจฉำมรรค ส่วนขวำแทนอริยมรรคมีองค์ ๘ ข้อควำมในคัมภีร์ระบุดังน้ี “เปรียบเหมือนบุรษุ ๒ คน คนหนึ่งไม่ฉลำดในหนทำง คนหน่งึ ฉลำดในหนทำง บรุ ุษผู้ไม่ฉลำดใน หนทำงพึงถำมทำงกับบุรษุ ผฉู้ ลำดในหนทำงบรุ ุษผู้ฉลำดในหนทำงพึงตอบวำ่ ผู้เจรญิ ทำ่ นไปตำมทำง ๗๗วิ.มหำ. (ไทย) ๒/๕๓๘/๖๕. ๗๘ว.ิ จู. (ไทย) ๗/๒๔๖-๗/๘-๙ ๗๙วิ.จ.ู (ไทย) ๗/๒๖๖/๔๗. ๘๐พระสำรบี ุตรมหำเถระ, สำรตั ถทปี นี ฎกี ำพระวินัย ภำค ๓, สิริ เพช็ รไชย, ผู้แปล. (กรงุ เทพมหำนคร: หจก. ทิพยวสิ ทุ ธิ์,๒๕๔๒),หน้ำ ๕. ๘๑ที.ปำ. (ไทย) ๑๑/๒๔๓/๑๙๙. ๘๒ท.ี ปำ. (ไทย) ๑๑/๒๖๖/๒๑๒.

๑๔ น้ีอีกสักครู่ก็จักพบทำง ๒ แพร่ง ในทำง ๒ แพร่งน้ัน ท่ำนจงละทำงซ้ำย ไปทำงขวำเถิด ไปตำม ทำงนั้นอกี สักครกู่ ็จกั พบรำวปำ่ หนำทบึ ไปตำมทำงน้ันอีกสักครู่ก็จักพบท่ลี ุ่มใหญ่มเี ปือกตมไปตำมทำง นั้นอกี สกั คร่กู ็จักพบบงึ ทีล่ ึกไปตำมทำงน้ันอกี สกั ครูก่ จ็ ักพบพน้ื ที่รำบนำ่ รน่ื รมย์”๘๓ ปุพพัณหสูตร มังคลวรรค ทุกนิบำต อังคุตตรนิกำย มีข้อควำมระบุถึงกำรใช้ สัญลักษณ์ซ้ำย-ขวำแทนมงคล-อวมงคล ดังนี้ “สัตว์ท้ังหลำยประพฤติชอบในเวลำใด เวลำนั้นเป็นฤกษ์ ดีมงคลดี สว่ำงดี รุ่งดี ขณะดี ยำมดี และบูชำดีในพรหมจำรีบุคคล กำยกรรมอันเป็นส่วนเบื้องขวำ วจีกรรมอันเป็นส่วนเบื้องขวำ มโนกรรมอันเป็นส่วนเบ้ืองขวำ ควำมปรำรถนำของท่ำนอันเป็นส่วน เบื้องขวำ สัตว์ท้ังหลำยทำกรรมอันเป็นส่วนเบื้องขวำแล้ว ย่อมได้รับประโยชน์อันเป็นส่วนเบ้ืองขวำ ท่ำนเหล่ำนั้นได้ประโยชน์แล้ว จงได้รับควำมสุข งอกงำมในพระพุทธศำสนำ จงไม่มีโรค ถึงควำมสุข พร้อมดว้ ยญำตทิ ง้ั มวล”๘๔ ธัมมปทัฏฐกถำ มีข้อควำมหลำยแห่งพรรณนำถึงกำรใช้สัญลักษณ์ เช่น ธัมมปทัฏฐ กถำ ภำค ๑ พรรณนำถึงช้ำงเห็นพระปัจเจกพุทธเจ้ำนุ่งผ้ำกำสำวพัตร์ก็แสดงควำมเคำรพ และจำ สัญลักษณ์ผ้ำกำสำวพัตร์ในฐำนะเป็นเครื่องนุ่งห่มของผู้ทรงศีล แม้เมื่อนำยพรำนขโมยผ้ำกำสำวพัตร์ น้ันไปใช้ลวงฆ่ำ ช้ำงก็ยังคงแสดงควำมเคำรพอยู่ แม้ภำยหลังรู้ควำมจริง ก็ไม่กล้ำทำร้ำย ผู้ที่นุ่งห่ม ด้วยสัญลักษณ์เช่นนั้น๘๕ ธัมมปทัฏฐกถำ ภำค ๒ พรรณนำถึงกำรสร้ำงหุ่นจำลองเป็นสัญลักษณ์แทน พระอินทร์เพ่ือลวงให้พวกอสูรเกิดควำมเกรงกลัว๘๖ ธมั มปทัฏฐกถำ ภำค ๔ พรรณนำถึงภิกษุอยู่ในป่ำ ๓๑ รูป ใช้สัญลักษณ์เสียงระฆังในกำรให้สัญญำณเพื่อทำกิจต่ำง ๆ ตำมเวลำท่ีกำหนด คนกินเดน ทรำบสัญลักษณ์ดังกล่ำว ก็บอกให้โจรเคำะระฆังเพื่อให้พระภิกษุเหล่ำน้ันออกมำจำกที่พักของตน จะ ได้จับไปฆ่ำบชู ำยัญ๘๗ใช้รอยพระบำทเปน็ เจดีย์แทนองค์สมเด็จพระสัมมำสัมพทุ ธเจำ้ ๘๘ ชำตกัฏฐกถำ อรรถกถำอธิบำยควำมขุททกนิกำย ชำดก มีควำมหลำยแห่งระบุถึง กำรใช้สัญลักษณ์ เช่น กำรตั้งควำมปรำรถนำเพ่ือจะให้ได้บรรลเุ ป็นพระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ มีเงื่อนไขว่ำ จะตอ้ งต้ังควำมปรำรถนำในภำวะของมนุษย์ เพศชำย และปรำรถนำตอ่ หน้ำพระพุทธเจำ้ เทำ่ น้นั จึงจะ สำเร็จได้ ถ้ำปรำรถนำต่อสัญลักษณ์อย่ำงอ่ืน เช่น เจดีย์ ต้นโพธ์ิ หำสำเร็จไม่๘๙ในบริบทนี้แสดงว่ำ เจดีย์ และต้นโพธิ์ ถอื เป็นสัญลกั ษณ์อย่ำงหนงึ่ ในคัมภรี ท์ ำงพระพทุ ธศำสนำ ในวัณณุปถชำดก ปรำกฎ ข้อควำมพระโพธิสัตว์ได้ใช้ดวงดำวเป็นสัญลักษณ์ในกำรเดินทำง๙๐อรรถกถำมฆเทวชำดก พระ โพธิสัตว์เสวยพระชำติเป็นกษัตริย์ ทรงใช้ “ผมหงอก” เป็นสัญลักษณ์ในกำรสละรำชสมบัติ๙๑กำรใช้ กลองตีประกำศเปน็ สัญลักษณใ์ ห้คนมำชมุ นมุ กัน๙๒ ๘๓ส.ข. (ไทย) ๑๗/๘๓/๑๔๖. ๘๔อ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๑๕๖/๔๐๐. ๘๕ธ.บ. ๑/๑๐๙-๑๑๐. ๘๖ธ.บ. ๒/๑๖๔. ๘๗ธ.บ. ๔/๑๘๙. ๘๘ธ.บ. ๒/๕๕. ๘๙ข.ุ ชำ.อ. ๓/๑/๒๔. ๙๐ขุ.ชำ.อ. (ไทย) ๓/๑/๑๗๓. ๙๑ชุ.ชำ.อ. (ไทย) ๓/๑/๒๒๐. ๙๒ขุ.ชำ.อ. (ไทย) ๓/๒/๗๐.

๑๕ มังคลัตถทีปนี มีข้อควำมตอนหน่ึง สะท้อนแนวคิดเร่ืองกำรใช้สัญลักษณ์ซ้ำย-ขวำ แทนกรรมดี-กรรมช่ัว โดยให้ขวำแทนกรรมดี และซ้ำยแทนกรรมชั่ว ดังน้ี “พระองค์ตรัสเพื่อจะให้รู้ แจง้ แม้ซ่ึงควำมตรงกนั ขำ้ มนีว้ ่ำ ‘กำรไม่เสพบณั ฑิตไม่เปน็ มงคล’เปรยี บเหมอื นบรุ ุษผู้ฉลำดในทำงเม่ือ จะบอกทำงบอกทำงท่ีไม่ควรถือเอำก่อนแล้วจึงบอกทำงที่ควรถือเอำภำยหลังอย่ำงน้ีว่ำ ‘ท่ำนจงละ ทำงซ้ำย จงถือทำงขวำ’ผ้ใู ดละทำงซำ้ ยผูน้ ั้นช่อื ว่ำถือทำงขวำผูใ้ ดถือทำงขวำผนู้ ้นั ช่ือว่ำละทำงซ้ำย”๙๓ สรุป จำกหลักฐำนในคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำ มีกำรใช้สัญลักษณ์ลักษณะต่ำง ๆ อยู่ทั่วไป มีท้ังสัญลักษณ์ทำงวัตถุ ควำมคิด และกำรกระทำ สัญลักษณ์ทำงวัตถุ เช่น เจดีย์ ต้นโพธิ์ ดวงดำว รอยพระพุทธบำท หุ่นจำลอง ผ้ำกำสำวพัตร์ สัญลักษณ์ทำงควำมคิด เช่น กำรใช้ทิศทั้ง ๖ เป็นสัญลักษณ์แทนบุคคล ๖ ประเภท กำรใช้สัญลักษณ์ขวำแทนควำมเคำรพ แทนควำมเป็นมงคล ซ้ำยแทนกำรดูหมิ่น ควำมเป็นอวมงคล สัญลักษณ์ทำงกำรกระทำ เช่น กำรใช้น้ำเทใส่ตัวให้เปียก ท้งั หมดเป็นสัญลักษณแ์ ทนกำรขอโทษ หรอื ยอมรับผิด กำรยืนแสดงตนแทนกำรทวง กำรตีกลอง ฆอ้ ง หรือระฆงั เปน็ สัญลกั ษณบ์ อกเวลำเพ่ือทำกจิ วตั รต่ำง ๆ เป็นตน้ ๗.๓ เอกสำรเกย่ี วกบั สญั ลักษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำในสงั คมไทย สมเด็จกรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ, ได้อธิบำยถึงกำรใช้สัญลักษณ์ทำง พระพุทธศำสนำในสังคมไทยไว้ในบทนำเร่ือง “จำมเทวีวงศ์” ควำมตอนหน่ึงว่ำ เมื่อพระพุทธศำสนำ ในชั้นแรกท่ีเขำ้ มำสปู่ ระเทศไทย มีกำรบชู ำพระสถูป และรูปธรรมจกั รเปน็ สัญลกั ษณ์แทนพระศำสดำ ยังหำได้ทำพระพุทธรูปไม่ เม่ือชำวอินเดียคิดสร้ำงพระพุทธรูปข้ึน แบบอย่ำงจึงแพร่หลำยมำถึง ประเทศไทยดว้ ย๙๔ ไตรภูมิพระร่วง มีข้อควำมตอนหน่ึงแสดงอำณำเขตระหว่ำงมัชฌิมประเทศ กับปัจ จันตประเทศ กำรแบ่งทิศสะท้อนให้เห็นถึงคตินิยมควำมเชื่อเร่ืองซ้ำย-ขวำ โดยเรียกทิศใต้ซึ่งอยู่เบื้อง ขวำวำ่ เปน็ ทศิ “ฝำ่ ยหวั นอน” และเรียกทศิ เหนอื ซ่งึ อยูเ่ บ้อื งซ้ำยวำ่ “ทิศเบ้ืองตนี นอน”๙๕ น. ณ ปำกน้ำ (นำมแฝง), ได้พรรณนำถึงคติควำมเช่ือของคนไทยเรื่องกำรสร้ำง บ้ำนเรือนไว้ในงำนนิพนธ์ “พจนำนุกรมศิลป์” ควำมตอนหน่ึงว่ำ “เม่ือกำหนดเสำเอกได้แล้วเป็นต้น แรก ใหน้ ับเวียนขวำโดยทกั ษณิ ำวัตร เป็นต้นที่สอง เสำโท และต้นที่ ๓, ๔, ๕ ตำมลำดับ”๙๖ ซ่ึงแสดง ให้เห็นถงึ คติควำมเช่ือวำ่ ขวำเป็นมงคลตำมนยั ท่ปี รำกฎในคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำ สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิตชิโนรส, ได้พระนิพนธ์ “พระปฐม สมโพธิกถำ” ไว้ มีข้อควำมหลำยแห่งระบุถึงกำรใช้สัญลักษณ์ซ้ำย-ขวำ เช่น ตอนสร้ำงเมืองกบิลพัสดุ์ กบิลดำบส ได้อ้ำงเหตุผลประกอบในกำรเลือกที่สำหรับสร้ำงเมืองว่ำ “ในภูมิประเทศท่ีแห่งน้ัน มีกอ ๙๓พระสิริมังคลำจำรย์, มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๑, (กรุงเทพมหำนคร: มหำมกุฎรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๒), หน้ำ ๗๘. ๙๔พระโพธิรังษี, จำมเทวีวงศ์, พระยำปริยัติธรรมธำดำ (แพ ตำละลักษมณ์) แปล, (พิมพ์แจกในกำร พระกศุ ลสมโภชพระอฐั ิพระวิมำดำเธอ กรมพระสุทธำสินนี ำฏ ๒๔ มิถนุ ำยน ๒๔๗๓), หนำ้ ข. ๙๕กรมศลิ ปำกร, วรรณกรรมสโุ ขทัย, (กรุงเทพมหำนคร: กรมศลิ ปำกร จดั พิมพ,์ ๒๕๒๘), หน้ำ ๑๗๖. ๙๖น. ณ ปำกนำ้ , พจนำนกุ รมศิลป์, (กรงุ เทพมหำนคร: สำนกั พิมพเ์ มืองโบรำณ, ๒๕๓๐), หนำ้ ๓๔๐.

๑๖ หญ้ำแลกอลดำวัลย์เวียนเป็นทักษิณำวรรตผันไปฝ่ำยปรำจีนทิศทั้งส้ิน”๙๗ เมื่อครั้งพระนำงสิริมหำ มำยำจะทรงต้ังพระครรภ์ ได้ทรงพระสุบินนิมิตเห็นพระยำช้ำงเผือกนำดอกบัวมำถวำย มีข้อควำมว่ำ “เศวตหัตถีช้ำงหนึ่ง...ลงมำจำกกำญจนบรรพตข้ึนมำบนไหรัญคีรีโดยทิศอุดร ชูซ่ึงงวงอันจับบุณฑริก ปทมุ ชำติสขี ำวพ่งึ บำนใหม่...แล้วกระทำประทักษิณพระองค์อนั บรรทมถว้ น ๓ รอบ แลว้ เหมอื นดุจเข้ำ ไปในอทุ รประเทศฝ่ำยทักษิณปรศั ว์แหง่ พระรำชเทวี”๙๘ พลูหลวง (นำมแฝง), ได้กล่ำวไว้ในงำนนิพนธ์ช่ือ “คติสยำม” ควำมสรุปได้ว่ำคติ นิยมเรื่องซ้ำย-ขวำ เป็นธรรมชำติชนิดหน่ึงท่ีมำคู่กับโลก เป็นคติควำมเชื่อที่แฝงไว้ด้วยควำมเร้นลับ ของธรรมชำติ ซ่ึงเมื่อได้ตรวจสอบแล้วพบวำ่ ตรงกันทุกชำติทุกภำษำ นบั ตง้ั แต่เรื่องกำรกำหนดใหข้ วำ เปน็ มงคล ซ้ำยเป็นอวมงคล ขวำเป็นเพศชำย ซ้ำยเป็นเพศหญิง ลักษณะที่ฟูขึน้ นนู สงู ขึ้นเป็นเพศชำย ลักษณะที่กระจำย หรือไหลลงต่ำ หรือเป็นหลุมบ่อ เป็นเพศหญิง ทศิ ตะวันออกกับทิศใต้เป็นฝ่ำยขวำ ทิศตะวันตกและทิศเหนือเป็นฝ่ำยซ้ำย ขวำคือกำรสร้ำง ซ้ำยคือกำรทำลำย ซ่ึงกำรจำแนกซ้ำย-ขวำ ดังกล่ำว ยังจำแนกไปถึงดวงดำวต่ำง ๆ ในระบบสุริยะด้วย เช่น ดวงอำทิตย์เป็นเพศชำย ดวงจันทร์ เปน็ เพศหญิง๙๙ คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ, ได้ประมวลเอกสำรและ จดหมำยเหตุชดุ ๗๖ จังหวดั ๗๖ เล่ม ภำยใต้ชอ่ื “วฒั นธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลกั ษณ์ และภูมิปัญญำ” ซึ่งแต่ละเล่ม ได้นำเสนอส่วนที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ วัฒนธรรม โบรำณสถำน และ ตลอดจนคติควำมเชื่อ ประเพณีต่ำง ๆ ใน ๗๖ จังหวัด เช่น จังหวัดบุรีรัมย์ มีกำรค้นพบใบเสมำ ซ่ึง เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้บอกเขตสังฆกรรมตำมพุทธำนุญำตหลำยรูปแบบ เช่น ใบเสมำเขำอังคำร จำนวน ๑๕ แผ่น แกะสลักด้วยหินทรำย ด้ำนหนึ่งเป็นรูปทิพยบุคคล อีกด้ำนหนึ่งเป็นรูปดอกบัว รูปสถูป รูปธรรมจักร ใบเสมำบ้ำนประเคียบ ทำด้วยทรำยและศิลำแลง๑๐๐ จังหวัดขอนแก่น ค้นพบจำรึกใบ เสมำสมัยทวำรวดี วัดโนนศิลำ อำเภอชุมแพ จำรึกใบเสมำวัดไตรรงค์ อำเภอชุมแพ ทำด้วยหินทรำย จำนวน ๑๐ กวำ่ แผน่ มีท้ังแบบเรียบ และแกะเป็นสลกั ลวดลำยเป็นเร่อื งรำวในชำดก๑๐๑ พระรำชพงศำวดำรกรุงศรีอยุธยำ, มีข้อควำมหลำยแห่งที่ระบุถึงกำรนำคตินิยม ซำ้ ย-ขวำไปใช้ในพิธสี ำคัญ เช่น แรกสรำ้ งกรงุ ศรอี ยุธยำ มีขอ้ ควำมบนั ทึกไวว้ ่ำ “ศภุ มัสดุ ศักรำช ๗๑๒ ปีขำลโทศก วนั ศกุ ร์ เดอื น ๕ ขนึ้ ๖ คำ่ เพลำ ๓ นำฬิกำ ๙ บำท สถำปนำกรงุ ศรีอยุธยำ ชีพอ่ พรำหมณ์ ให้ฤกษ์ตั้งพิธีกลบบัตร ได้สังข์ทักขิณำวัฏใต้ต้นหมันใบหนึ่ง แล้วสร้ำงพระที่น่ังไพฑูรย์มหำปรำสำท องค์หนึ่ง สร้ำงพระท่ีน่ังไพชยนต์มหำปรำสำทองค์หนึ่ง สร้ำงพระที่น่ังไอสวรรค์มหำปรำสำทองค์ ๙๗สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระปรมำนุชิตชิโนรส, พระปฐมสมโพธิกถำ, (กรุงเทพมหำนคร: สหธรรมิก,๒๕๓๗), หน้ำ ๕. ๙๘เร่ืองเดียวกัน, หนำ้ ๔๘. ๙๙ พลูหลวง (นำมแฝง), คติสยำม, (กรงุ เทพมหำนคร: ดำ่ นสุทธำกำรพิมพ์,๒๕๔๐), หน้ำ ๑๔๖-๑๗๕. ๑๐๐คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ิปัญญำ จงั หวัดบรุ ีรัมย์.(กรงุ เทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ ใน คณะอำนวยกำรจดั งำนเฉลิมพระเกยี รติพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอย่หู ัวฯ จัดพิมพ์,๒๕๔๒), หน้ำ ๕๙. ๑๐๑คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภูมิปญั ญำ จงั หวัดขอนแกน่ . (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำย เหตุใน คณะอำนวยกำรจัดงำนเฉลมิ พระเกียรติพระบำทสมเด็จพระเจำ้ อยู่หวั ฯ จดั พิมพ์, ๒๕๔๒), หนำ้ ๗๒-๗๓.

๑๗ หนงึ่ ”๑๐๒ สงั ข์ทักษณิ ำวัฏน้ี ต่อมำได้กลำยเป็นส่วนหน่ึงของตรำสญั ลกั ษณ์ประจำจงั หวัดพระนครศรีอ ยุธำ ซงึ่ ในคำอธบิ ำยทมี่ ำของสงั ข์ทกั ษิณำวัฏ กไ็ ด้อ้ำงข้อควำมในพงศำวดำรกรุงศรอี ยธุ ยำเช่นกัน๑๐๓ พระรำชพงศำวดำร ฉบับพระรำชหัตถเลขำ, มีข้อควำมตอนหนึ่งระบุถึงควำม แตกต่ำงระหว่ำงคตินิยมกำรสร้ำงสัญลักษณ์ทำงพระพุทธศำสนำกับศำสนำพรำหมณ์ กล่ำวคือ ชำว พทุ ธนิยมสร้ำงพระสถูป ธรรมจกั ร รอยพระบำท พุทธอำสน์ เปน็ ต้น เพื่อเป็นเครอื่ งหมำยมงคลสถำน ขณะทีฝ่ ำ่ ยพรำหมณ์จะนิยมสร้ำงเทวำลยั ท่ปี ระดษิ ฐำนเทวรปู เพ่ือใหค้ นไปบูชำ๑๐๔ ปรชี ำ นนุ่ สขุ , ได้กล่ำวถึงววิ ฒั นำกำรของสัญลกั ษณไ์ ว้ในบทควำมชื่อ “หลักฐำนทำง โบรำณคดีเก่ียวกับสญั ลักษณ์” ควำมตอนหนึ่งว่ำ วิวัฒนำกำรของสัญลกั ษณ์ เห็นได้จำกหลักฐำนทำง โบรำณคดีท่ีค้นพบในอินเดีย กล่ำวคือ ในประเทศอินเดียก่อนท่ีจะมีรูปเคำรพนั้น ได้มีกำรสร้ำง สญั ลักษณต์ ำ่ ง ๆ ข้ึนแทนรูปเคำรพ ดังปรำกฎในศิลปกรรมทำงพระพุทธศำสนำในยคุ แรก ๆ เช่น สถูป ท่ีภำรหุต และศำญจิ ซึ่งเช่ือกันว่ำเป็นที่บรรจุพระบรมสำรีริกธำตุ ไม่ได้ค้นพบประติมำกรรมของพระ พทุ ธองค์เลย แตป่ รำกฏว่ำมภี ำพสัญลักษณ์ตำ่ ง ๆ ปรำกฎอยู่ เชน่ ฉตั ร ต้นไม้ นำค ยักษำ และยกั ษณิ ี เป็นตน้ ส่วนรปู เคำรพนั้นเปน็ เรือ่ งทีต่ ่อเติมมำภำยหลงั ๑๐๕ สรุป ตัวอย่ำงกำรใช้สัญลักษณ์ในสังคมไทยข้ำงต้น ทำให้เห็นว่ำ สังคมไทยมีกำรใช้ สัญลักษณ์อย่ำงกว้ำงขวำง สัญลักษณ์บำงประกำรสำมำรถชี้ได้ชัดเจนว่ำ เป็นสัญลักษณ์ท่ีเก่ียวเน่ือง กับพระพุทธศำสนำ แต่สัญลักษณ์บำงอย่ำง ก็ไม่สำมำรถวินิจฉัยได้ว่ำรับอิทธิพลควำมเชื่อมำจำก พระพุทธศำสนำโดยตรง เช่น สัญลักษณ์ซ้ำย-ขวำ บำงกรณีก็ระบุได้ว่ำ มำจำกพระพุทธศำสนำ แต่ บำงกรณีก็ไม่สำมำรถกล่ำวอ้ำงได้ เพรำะคติควำมเชื่อเร่ืองน้ี มีมำก่อนพระพุทธศำสนำ ดังน้ันจึง จำเปน็ ต้องวเิ ครำะหใ์ นรำยละเอียดเปน็ กรณี ๆ ๗.๔ งำนวิจัยทีเ่ กีย่ วกับสญั ลกั ษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำท่ีมีอทิ ธิพลต่อสงั คมไทย พระมหำเกษม หำสจิตฺโต (พยุง), ได้เสนองำนวิจัยเรื่อง “อิทธิพลพระพุทธศำสนำ เถรวำทต่อศิลปวัฒนธรรมสมัยสุโขทัย” บทที่ ๒ ของงำนวิจัย ได้กล่ำวถึงสัญลักษณ์ทำง พระพทุ ธศำสนำไว้ ๔ ประกำร ไดแ้ ก่ ธำตุเจดยี ์ ได้แก่ พระบรมสำรรี ิกธำตุ, บริโภคเจดีย์ ได้แก่ สังเวช นยี สถำนท้งั ๔ แห่งตำมนัยท่แี สดงไว้ในมหำปรนิ พิ พำนสตู ร ธรรมเจดีย์ ได้แกธ่ รรมวินยั ที่ทรงแสดงไว้ แล้ว และอุทเทสิกเจดีย์ ได้แก่ส่ิงท่ีสร้ำงขึ้นเพ่ือเจตนำอุทิศต่อพระพุทธเจ้ำ มิได้กำหนดว่ำสร้ำงเป็น ๑๐๒พนั จันทนมุ ำศ (เจิม), พระรำชพงศำวดำรกรงุ ศรอี ยธุ ยำ, (นนทบุรี: สำนักพิมพ์ศรีปญั ญำ, ๒๕๕๓), หนำ้ ๓๗. ๑๐๓คณะกรรมกำรฝ่ำยประมวลเอกสำรและจดหมำยเหตุ. วัฒนธรรม พัฒนำกำรทำงประวัติศำสตร์ เอกลักษณ์ และภมู ิปญั ญำ จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ. (กรุงเทพมหำนคร: คณะกรรมกำรฝำ่ ยประมวลเอกสำรและ จดหมำยเหตุใน คณะอำนวยกำรจัดงำนเฉลิมพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวฯ จัดพิมพ์, ๒๕๔๒), หน้ำ ๑๖๕. ๑๐๔กรมศลิ ปำกร, พระรำชพงศำวดำร ฉบบั พระรำชหตั ถเลขำ เลม่ ๑, (นครปฐม: นครปฐมกำรพิมพ์, ๒๕๔๘), หนำ้ ๒๑. ๑๐๕ปรีชำ นุ่นสุข, “หลักฐำนโบรำณคดีที่เก่ียวกับสัญลักษณ์”, [ออนไลน์]. แหล่งที่มำ : ใน http://tdc.thailis.or.th [วนั ท่ี ๙ กนั ยำยน ๒๕๕๕].

๑๘ อะไร อำจถือได้ว่ำ นอกเหนือจำกเจดีย์ท้ัง ๓ ประกำรดังกล่ำวแล้วข้ำงต้น สิ่งที่สร้ำงอุทิศต่อ พระพุทธเจำ้ ลว้ นจัดเขำ้ ในอุทเทสิกเจดียท์ ัง้ ส้นิ ๑๐๖ จิรศักด์ิ แต่งเจนกิจ, ได้เสนองำนวิจัยเร่ือง “กำรศึกษำกำรออกแบบและคติ สัญลักษณ์ในกรณีงำนสถำปัตยกรรมวัดสุทัศนเทพวนำรำม ” ผลกำรศึกษำสรุปควำมได้ว่ำ สถำปัตยกรรมในวัดสุทัศนเทพวนำรำมล้วนเกิดจำกกำรจัดวำงตำแหน่งของพื้นที่ในมิติของควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และพัฒนำออกมำเป็นตัวงำนสถำปัตยกรรมได้อย่ำงลงตัว ลักษณะเสำสีขำวท่ีสูงใหญ่ต้ัง เรียงรำยรับโครงสร้ำงหลังคำ หลักธรรมที่ประกอบรวมกันส่งยกระดับค้ำจุนจิตใจให้หมำยถึงเจตสิก สว่ นอำคำรพระอุโบสถก็แลดูเบำ ลอย เหมำะแก่กำรท่ีหมำยจะยกระดับจิตใจของผู้ใช้งำนตำมพุทธคติ ซง่ึ ช่ำงแฝงเป็นรปู กำรเดนิ ทำงของจิตจำกโลกยิ ะส่โู ลกุตตระ๑๐๗ บำรุง อิศรกุล, ได้เสนองำนวิจัยเรื่อง “ศึกษำอิทธิพลทำงวัฒนธรรมท่ีมีต่อกำร ออกแบบตรำสัญลักษณ์” บทที่ ๒ ของงำนวิจัย ได้กล่ำวถึงสัญลักษณ์ ควำมตอนหนึ่งว่ำ ศำสนำมี อิทธิพลต่อกำรออกแบบสัญลักษณ์เป็นอย่ำงมำก และสัญลักษณ์ก็มีควำมสัมพันธ์กับกำรกำรดำเนิน ชีวิตของมนุษย์ เรำสำมำรถพบเห็นสัญลักษณ์ทเี่ ก่ยี วข้องกับกำรดำเนินชีวิตตลอดเวลำ สัญลักษณ์จึงมี อยู่มำกมำย ซึ่งอำจจัดกลุ่มได้ เช่น สัญลักษณ์ท่ีเกดิ จำกกำรลอกเลียนแบบ สัญลักษณ์ท่ีมีลกั ษณะเป็น นำมธรรม สัญลักษณ์ท่ีถูกสร้ำงข้ึนเพ่ือวัตถุประสงค์ใด วัตถุประสงค์หน่ึงโดยเฉพำะ๑๐๘ และบทท่ี ๓ ของงำนวิจัย ผู้วิจัยไดช้ ใี้ หเ้ ห็นถึงอิทธพิ ลทำงพระพทุ ธศำสนำที่มีต่อตรำสญั ลักษณ์หลำยอย่ำง โดยจำก กำรเก็บตัวอย่ำงตรำสัญลกั ษณ์จำนวน ๕๖ ชน้ิ พบวำ่ ไดร้ ับอิทธิพลจำกศำสนำ-ควำมเช่อื จำนวนร้อย ละ ๑๙.๖๔๑๐๙ จำรวี มั่นสินธร, ได้เสนองำนวิจัยเรื่อง “กำรศึกษำวิเครำะห์เร่ืองดอกบัวในคัมภีร์ พระพทุ ธศำสนำ” จำกกำรศึกษำพบว่ำ ดอกบัวเปน็ สญั ลักษณน์ อกจำกจะเป็นสัญลกั ษณข์ องกำรบชู ำ แล้ว ดอกบัวยังเป็นสัญลักษณ์ของกำรเริ่มต้น เป็นสัญลักษณ์ของควำมดีงำม เป็นสัญลักษณ์ของ ควำมบริสุทธ์ิ เป็นสัญลักษณ์แห่งควำมงำม ประกำรสำคัญควำมเชื่อเรื่องดอกบัว ยังมีอิทธิพลต่อ สังคมไทยในหลำยด้ำน เช่น ด้ำนวรรณกรรม ด้ำนสถำปัตยกรรม ด้ำนประติมำกรรม ด้ำนจิตรกรรม เปน็ ต้น๑๑๐ ๑๐๖ พระมหำเกษม หำสจิตโฺ ต (พยงุ ),“อิทธิพลพระพุทธศำสนำเถรวำทต่อศิลปวฒั นธรรมสมยั สุโขทัย”, วทิ ยำนิพนธ์พุทธศำสตรมหำบณั ฑติ , (บัณฑิตวิทยำลัย: มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๓๙), หน้ำ ๔๒. ๑๐๗ จริ ศักด์ิ แต่งเจนกิจ, “กำรศึกษำกำรออกแบบและคติสัญลักษณ์ในกรณงี ำนสถำปัตยกรรมวดั สทุ ัศ นเทพวนำรำม, วิทยำนพิ นธศ์ ลิ ปศำสตรมหำบณั ฑิต, (บณั ฑิตวิทยำลยั : มหำวทิ ยำลยั ศิลปำกร, ๒๕๔๑), หนำ้ ๑๗๖- ๑๘๔. ๑๐๘บำรุง อิศรกุล, “ศึกษำอิทธิพลทำงวัฒนธรรมที่มีต่อกำรออกแบบตรำสัญลักษณ์”, วิทยำนิพนธ์ ศลิ ปศำสตรมหำบณั ฑิต, (บัณฑิตวิทยำลยั : มหำวิทยำลยั ศิลปำกร, ๒๕๔๕), หนำ้ ๑๑. ๑๐๙เรื่องเดียวกัน, หนำ้ ๖๐. ๑๑๐ดูรำยละเอียดใน จำรวี มั่นสินธร, “กำรศึกษำวิเครำะห์เร่ืองดอกบัวในคัมภีร์พระพุทธศำสนำ”, วิทยำนิพนธพ์ ุทธศำสตรมหำบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยำลัย: มหำวิทยำลยั มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลยั , ๒๕๔๗), บทท่ี ๓,๔.

๑๙ พีระพัฒน์ สำรำญ, ได้เสนองำนวิจัยเร่ือง “คติและสัญลักษณ์ในกำรออกแบบ สถำปัตยกรรมของพระปฐมเจดีย” ผลกำรศึกษำสรุปควำมได้ว่ำ องค์พระปฐมเจดีย์มีลักษณะเป็น เจดีย์กลมทรงระฆังแผ่กว้ำง สอดคล้องกับรูปทรงของสถูปที่นิยมสร้ำงขึ้นในยุคต้น ๆ พุทธกำล ส่วน เจดีย์ทรงคว่ำนั้นได้รับอิทธิพลมำจำกศรีลังกำ เป็นเจดีย์รูปทรงเดียวท่ีสอดคล้องกับแนวคิดเรื่องกำร สรำ้ งสถปู บรรจพุ ระสำรีริกธำตใุ นคัมภรี พ์ ระไตรปฎิ กและอรรถกถำมำกท่ีสดุ ๑๑๑ พระมหำสุขสันต์ สุขวฑฺฒโน (แก้วมณี), ได้เสนองำนวิจัยเรื่อง “อิทธิพของ พระพุทธศำสนำเถรวำทต่อศิลปวัฒนธรรมในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนำถแห่งกรุงศรี อยุธยำ” ในบทที่ ๔ ของงำนวิจัยสรุปควำมได้ว่ำ พระพุทธศำสนำมีอิทธิพลของต่อศิลปวัฒนธรรมใน หลำยด้ำน เช่น ดำ้ นสถำปัตยกรรม ด้ำนประติมำกรรม ดำ้ นจิตรกรรม ด้ำนประณตี ศลิ ป์ ดำ้ นนำฎศิลป์ และกำรแสดง ศิลปวัฒนธรรมเหลำ่ นี้ ล้วนเป็นส่ือสัญลกั ษณ์แสดงให้ถงึ พระพุทธศำสนำ แม้ในยุคแรก ๆ จะไม่ได้ทำเป็นพระพุทธรูปโดยตรง แต่ก็ใช้สื่อสัญลักษณ์อย่ำงอื่นแทน เช่น รอยพระบำท พุทธ อำสน์ ต้นโพธ์ิ ธรรมจักร ดอกบัว ซ่ึงมีทั้งดอกบัวตูม และดอกบัวบำน มีควำมหมำยถึงแผ่นดิน ควำม เจริญ งอกงำม เป็นตน้ ๑๑๒ รัมภำภัค ศิริทับ, ได้เสนองำนวิจัยเรื่อง “กำรศึกษำวิเครำะห์เรื่องเต่ำใน พระพทุ ธศำสนำเถรวำท” สรุปควำมไดว้ ่ำ เต่ำเป็นสตั ว์ในวรรณกรรมทำงพระพุทธศำสนำ และในพระ สูตรมีกำรยกเรำเร่ืองเต่ำมำเป็นอุปมำสอนธรรมหลำยประกำร เช่น วัมมิกสูตร พำลบัณฑิตสูตร ปฐม ฉคิ คฬยุคสูตร กุมโภปมสูตร เป็นต้น นอกจำกน้ี กำรศึกษำยังพบวำ่ สังคมไทยได้ใช้เตำ่ เป็นสญั ลักษณ์ ของควำมมีอำยุยืน ในกำรประกอบพิธีสะเดำะห์เครำะห์ คนไทยจึงมักใช้เต่ำเป็นส่ือในพิธีกรรม ดังกล่ำว๑๑๓ งำนวิจัยดังกล่ำวข้ำงต้น เป็นเพียงตวั อย่ำงเป็นบำงส่วนที่ผวู้ ิจยั นำมำทบทวน เพือ่ ให้ เห็นอิทธิพลของสัญลักษณ์ทำงพระพุทธศำสนำท่ีมีต่อกำรใช้สัญลักษณ์ในสังคมไทย จำกตัวอย่ำง ทำ ให้ได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่ำ นัยแฝงของสัญลักษณ์ที่ปรำกฎในสังคมไทยในมิติต่ำง ๆ น้ัน เป็นเรื่องที่ต้อง วิเครำะห์ในรำยละเอียดเพ่ือให้เห็นระบบควำมคิดที่ผู้ส่งสำรต้องกำรสื่อให้เห็น เช่น สัญลักษณ์ทำง สถำปัตยกรรม เรำไม่อำจพิจำรณำแค่รูปทรงทำงสถำปัตยกรรมภำยนอกเพียงอย่ำงเดียว หำกแต่ต้อง วิเครำะหถ์ งึ แนวคิด ปรัชญำในกำรสรำ้ งประกอบด้วย ๑๑๑ดรู ำยละเอียด พรี ะพัฒน์ สำรำญ, “คติและสัญลักษณใ์ นกำรออกแบบสถำปตั ยกรรมของพระปฐม เจดีย”, วิทยำนิพนธ์ศลิ ปศำสตรมหำบัณฑติ , (บัณฑติ วทิ ยำลยั : มหำวิทยำลัยศลิ ปำกร,๒๕๔๗), หนำ้ ๒๓๙-๒๔๑. ๑๑๒ดูรำยละเอียดใน พระมหำสุขสันต์ สุขวฑฺฒโน (แก้วมณี),“อิทธิพของพระพุทธศำสนำเถรวำทต่อ ศิลปวัฒนธรรมในรัชสมัยของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนำถแหง่ กรุงศรีอยธุ ยำ”, วทิ ยำนพิ นธพ์ ุทธศำสตรมหำบัณฑติ , (บณั ฑิตวิทยำลัย: มหำวทิ ยำลัยมหำจฬุ ำลงกรณรำชวิยำลยั , ๒๕๕๐), หน้ำ ๕๕-๖๓. ๑๑๓ รัมภำภัค ศิริทับ, “กำรศึกษำวิเครำะห์เร่ืองเต่ำในพระพุทธศำสนำเถรวำท”, วิทยำนิพนธ์พุทธ ศำสตรมหำบัณฑติ , (บณั ฑติ วิทยำลัย: มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย, ๒๕๕๔), หนำ้ ๘๖.

๒๐ ๘. วธิ ดี ำเนินกำรศกึ ษำ เพ่ือตอบโจทย์กำรวิจัยให้ครอบคลุมทั้ง ๓ วัตถุประสงค์ ผู้วิจัยได้ดำเนินกำรศึกษำตำมวิธี วิทยำ (Research Methodology) กำรวิจัยเชิงคุณภำพ (Qualitative Method) โดยมีแนวทำงหรือ ข้ันตอนกำรดำเนินกำรศกึ ษำดังตอ่ ไปน้ี ๘.๑ ศึกษำแนวคิด และทฤษฎีเร่ืองสัญลักษณ์ในเชิงภำษำศำสตร์ และในเชิงสังคมวิทยำ เพ่ือใช้เป็นกรอบเบื้องต้นในกำรเขียนโครงร่ำงวิจัย จัดเก็บข้อมูล และวิเครำะห์สัญลักษณ์ท่ีปรำกฏใน คัมภีร์ทำงพระพทุ ธศำสนำ และในสังคมไทย ๘.๒. สืบค้นคัมภีร์ทำงพระพุทธศำสนำในส่วนท่ีผู้วิจัยเห็นว่ำเป็นสัญลักษณ์ แล้วคัดลอก ขอ้ มลู นน้ั ๆ จำกคัมภีรต์ ำ่ ง ๆ แลว้ จำแนกข้อมลู ตำมท่ีสบื คน้ และจดั เก็บแลว้ เป็น ๓ ลักษณะคอื ๑) สัญลกั ษณ์ทเ่ี ปน็ สงิ่ มีชีวติ ๒) สัญลกั ษณ์ทเี่ ปน็ วตั ถุสงิ่ ของต่ำง ๆ ๓) สญั ลักษณท์ เ่ี ปน็ แบบแผน วตั รปฏบิ ตั ิ ๘.๓ วิเครำะหส์ ญั ลกั ษณต์ ำมท่ไี ดจ้ ดั กลุ่มไว้เป็น ๓ ลักษณะคือ ๑) สัญลกั ษณท์ ำงพระพุทธศำสนำ ๒) สญั ลกั ษณ์ทไี่ ดร้ ับอิทธิพลจำกบริบททำงสังคม ๓) สญั ลักษณท์ พ่ี ระพทุ ธศำสนำนำมำประยกุ ต์ใช้ ๘.๔ สำรวจ ศึกษำ และจัดเก็บข้อมูลสัญลักษณ์เชิงพระพุทธศำสนำในสังคมไทยจำกพระ รำชพงศำวดำร จำรึก จดหมำยเหตุ ตำนำน วรรณคดี ตลอดงำนวรรณกรรมตำ่ ง ๆ ๓ ลักษณะ คือ ๑) ตรำสญั ลกั ษณข์ องรัฐและเอกชน ๒) สัญลักษณใ์ นจิตรกรรม ปฏิมำกรรม และสถำปัตยกรรม ๓) สญั ลกั ษณ์ในวฒั นธรรม ประเพณี และพธิ กี รรม ๘.๕ นำสัญลักษณ์มำ จำแนกประเภทและวิเครำะห์ควำมหมำย ตำมเนื้อหำท่ีปรำกฎอยู่ คือ ๑) สัญลกั ษณ์แทนพระพุทธศำสนำ ๒) สัญลักษณ์แทนพระพทุ ธเจำ้ ๓) สญั ลกั ษณแ์ ทนพระธรรม ๔) สัญลักษณ์แทนพระสงฆ์ ๕) สัญลกั ษณแ์ ทนแนวคิดทำงพระพทุ ธศำสนำ ๖) สญั ลักษณ์แทนขอ้ วตั รปฏิบตั ิต่ำงๆ ๗) สัญลักษณแ์ ทนสิ่งอ่ืนนอกเหนอื จำกทก่ี ล่ำวขำ้ งตน้ ๘.๖ นำสัญลักษณ์เหล่ำนั้นมำวิเครำะห์ ตีควำม เปรียบเทียบกับสัญลักษณ์ในคัมภีร์เพื่อ แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพระพุทธศำสนำที่มีต่อกำรใช้สัญลักษณ์ในสังคมไทย และอิทธิพลของ สังคมไทยทม่ี ีตอ่ กำรใช้สญั ลกั ษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำ ๘.๗ สรปุ กำรวจิ ัย ตรวจสอบควำมถกู ต้อง และเขยี นรำยงำนกำรวจิ ัยเชิงพรรณนำ

๒๑ ๙. ประโยชน์ที่คำดวำ่ จะได้รับ ๙.๑ ได้องคค์ วำมรเู้ กยี่ วกับสัญลกั ษณใ์ นคัมภรี พ์ ระพุทธศำสนำ ๙.๒ ได้องค์ควำมรเู้ กีย่ วกบั สญั ลกั ษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำในสงั คมไทย ๙.๓ ได้องค์ควำมรู้เกี่ยวกบั อทิ ธิพลของสัญลกั ษณ์ทำงพระพทุ ธศำสนำตอ่ กำรใช้สัญลกั ษณ์ ในสังคมไทย และอทิ ธิพลของสังคมไทยท่มี ตี ่อกำรใช้สัญลกั ษณ์ทำงพระพุทธศำสนำ

๒๒ บทที่ ๒ แนวคิดและทฤษฎเี กย่ี วกับสัญลักษณ์ บทท่ี ๒ จะกล่าวถึง ๑) บทนิยาม และความหมายของสัญลักษณ์ ๒) แนวคิดและทฤษฎี สัญลักษณ์ ๓) ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ ๔) ทฤษฎีสัญลักษณ์และการตีความ ท้ังน้ีเพื่อเป็น ฐานขอ้ มลู สาหรบั การวิเคราะห์สญั ลกั ษณใ์ นคัมภรี พ์ ระพุทธศาสนาต่อไป ๒.๑ บทนยิ ามและความหมายของสญั ลกั ษณ์ พ จน านุ กรมฉ บั บ Chambers๑ ได้ นิ ย ามค วาม ห มาย สั ญ ลักษ ณ์ (symbol) ไว้ว่า “เคร่ืองหมาย (an emblem) ท่ีรู้กันหรือยอมรับกันโดยท่ัวไปว่าส่ือถึงส่ิงใดส่ิงหน่ึง”๒ Learners’ Dictionary English-Thai นิยามความหมายว่า “ส่ิง ๆ หนึ่งซึ่งแสดงหรือระบุถึงอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ไม้ กางเขนเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์ นกพิราบเป็นสัญลักษณ์ของสันติภาพ เครื่องหมาย ÷ เป็น สญั ลักษณข์ องการแบง่ ”๓ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า“ส่ิงที่กาหนดนิยมกันขึ้นเพ่ือใช้ หมายความแทนอีกส่ิงหน่ึง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุ ไฮโดรเจน + - x ÷ เปน็ สญั ลกั ษณ์แทนเคร่ืองหมายทางคณติ ศาสตร์”๔ รดู อลฟ์ โมดเลย์ (Rudolf Modley) ไดใ้ หค้ วามหมายว่า “วัตถุที่กาหนดข้ึนมาหรือนามาเพื่อ ใช้แทนสง่ิ ท่ีระบถุ ึง” หรอื “สง่ิ ใด ๆ ซง่ึ ระบถุ ึงสง่ิ นอกเหนอื จากตัวมนั เอง”๕ โคเฮน (Cohen) นิยามความหมายสัญลักษณ์ในฐานะวัตถุ (objects) การกระทา (acts) ความคิด (concepts) หรือรูปแบบทางภาษาซึ่งมีความหมายแฝงหลายประการสามารถกระตุ้นอารมณ์ และความรสู้ กึ ทัง้ ผลักดันก่อให้เกิดการกระทา๖ เฟอรด์ นิ อง เดอโซซูร์ นักภาษาศาสตรช์ าวฝร่ังเศส ไดก้ ล่าวถึงสัญลกั ษณ์วา่ “อาจเปน็ ภาษา รหัส สญั ญาณ เครื่องหมาย ฯลฯ ที่ถกู สรา้ งข้ึนมาใหม้ คี วามหมายแทนของจริงในตวั บท”๗ ๑William Geddie, (ed.), Chambers’s Twentieth Century Dictionary, (New Delhi: Allied Publishers, 1970), p. 1117. ๒W.J.Townsend. The Great Symbols, (London: Charles H. Kelly, 1901), p. 3. ๓Times-Chambers Learners’ Dictionary English-Thai, (กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ดอก หญา้ , ๒๕๔๐), หนา้ ๖๔๑. ๔พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕, (กรุงเทพมหานคร: อักษรเจรญิ ทัศน์, ๒๕๓๙), หน้า ๘๒๐. ๕ Rudolf Modley, “The Challenge of Symbology” in Elwood Whitney, (ed.), Symbology: The use of Symbols in Visual Communication, (New York: Hasting House, Publishers, 1959), p. 19. ๖ Victor Tuner, “Symbolic Studies”, Annual Review of Anthropology, Vol. 4. (1975), p. 145. ๗ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. สัญวิทยาโครงสร้างนิยมหลังโครงสร้างนิยมกับการศึกษารัฐศาสตร์ (กรงุ เทพมหานคร: วภิ าษา, ๒๕๔๕), หน้า ๒๑.

๒๓ สัญลักษณ์ เป็นสื่อที่สะท้อนความรู้สึกนึกคิด หรืออาจกล่าวได้ว่า หน้าที่หรือวัตถุประสงค์ ของสัญลักษณ์คือเพ่ือกระตุ้นเตือน (to suggest) เพ่ือระลึกถึง (to remind)๘ หรือส่ือความหมาย (communicate meaning) ถงึ อกี สิง่ หนง่ึ นอกเหนอื จากตัวมันเอง๙ สัญลักษณ์ที่มนุษย์ใช้ครอบคลุมความรู้หลายแขนง เช่น โหราศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ดารา ศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรม และเชื่อมโยงสัมพันธ์กับปรัชญา แนวความคิดทาง ศาสนาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม ฮินดู ยูดาย ทั้งนี้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือสื่อ ความรสู้ ึกนึกคิดของตนให้คนอื่นได้รับรู้ ที่สุด แม้การสนทนากันระหว่างคน ๒ คน ทุกส่ิงทุกอย่างล้วน เปน็ สญั ลักษณ์ อาจกล่าวได้ว่า ตวั มนุษย์นัน่ แหละคือสญั ลักษณ์๑๐ กล่าวโดยสรุป อะไรหรือสิ่งใดก็ตามท่ีสามารถส่ือถึงความคิด หรือความรู้สึกอย่างใดอย่าง หนึ่งนอกเหนือจากตัวมันเองย่อมถือเป็นสัญลักษณ์ เช่น มงกุฎ เป็นสัญลักษณ์ของอานาจ, วงกลมเป็น สัญลักษณ์ของความไม่ส้ินสุด, นกพิราบเป็นสัญลักษณ์ของเสรีภาพทางจิตวิญญาณ, นกอินทรีเป็น สัญลักษณ์ของแรงบันดาลใจ, แร้งเป็นสัญลักษณ์ของความโลภ หิวกระหาย, เสือเป็นสัญลักษณ์ของ ความดุร้าย, ราชสีห์เป็นสัญลักษณ์ของเกียรติยศ, ลิงเป็นสัญลักษณ์ของความทะลึ่ง, หินเป็นสัญลักษณ์ ของความแข็งแกร่ง, ฤดูใบไม้ผลิเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตใหม่, ฤดูใบไม้ร่วงเป็นสัญลักษณ์ของความเสื่อม สลาย, สีทองเปน็ สญั ลักษณ์ของความรุง่ โรจน์, สฟี า้ เป็นสญั ลกั ษณข์ องความหวงั เป็นต้น๑๑ ๒.๒. แนวคดิ และทฤษฎสี ัญศาสตร์ (Semiology) สัญศาสตร์ (semiology) รากศัพท์ภาษากรีกว่า semeîon หมายถึง sign (สัญญะ/ เครื่องหมาย) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับบทบาทของเครื่องหมาย (Sign) ในฐานะเป็นสว่ นของชีวิตทาง สงั คม (as part of social life) เป็นศาสตรท์ สี่ บื สวน (investigate) ธรรมชาติของสัญญะ และกฎเกณฑ์ ต่าง ๆ เก่ียวกับสัญญะนิยามความหมายให้ส้ันสุดได้แก่ การศึกษาเก่ียวกับสัญลักษณ์ หรือเคร่ืองหมาย ตา่ ง ๆ (the study of signs)๑๒ ความหมายจากรากศัพท์เดิมก็คือ ศาสตร์แห่งสัญญะ (Science of sign) เป็นศาสตร์ที่ พยายามอธิบายถึงวงจรของสัญญะอย่างเป็นระเบียบ และแบบแผน นับตั้งแต่การเกิดขึ้น การพัฒนา การแปรเปลี่ยน รวมท้ังการเส่ือมโทรม ตลอดจนการสูญสลายของสัญญะหน่ึง ๆ ซ่ึงมีหัวข้อท่ีเกี่ยวข้อง อยู่ ๓ เร่ือง ได้แก่ เคร่ืองหมาย/ตัวสัญญะ (Sign) รหัส/ระบบ (Code/System) และวัฒนธรรม (Culture) ๑๓ ๘ Godfrey Blount, The Science of Symbols, (London: Arthur C. Fifield, 1950). p. 24. ๙ http://en.wikipedia.org/wiki/Symbol (๓ ธนั วาคม ๒๕๕๕) ๑๐ Milton B. Singer, Man’s Glassy Essence: Explorations in Semiotic Anthropology, (Bloomingtion: Indiana University Press, 1984), p.2. ๑๑ Godfrey Blount, The Science of Symbols, op.cit., p.12. ๑๒ Deneil Chandler, “Semiotics for Beginners” (Online) Accessed Available from http://www.aber.ac.uk/media/Documents/S4B/semiotic.html. (10 November 2012) ๑๓ เพ็ญพักตร ศิริไตรรัตน์, “การบริโภคสัญญะในนิตยสารสตรีหัวนอก”, วารสารนักบริหาร, ปีที่ ๓๑ ฉบับท่ี ๒ (เมษายน-มิถนุ ายน ๒๕๕๔) : ๑๓๖-๑๔๕.

๒๔ โซซรู ์ (Ferdinand de Saussure พ.ศ. ๒๔๐๐-๒๔๕๖) นกั ภาษาศาสตร์ชาวสวสิ เขาถือว่า สัญญวิทยาเป็นศาสตร์ท่ีศึกษาวิถีชีวิตของสัญญะท่ีอยู่ในบริบทหน่ึง ๆ (life of sign) สัญญะ (Sign) หมายถึงสิ่งที่ถูกสร้างข้ึนมาเพื่อให้มีความหมาย (meaning) ของจริง/ตัวจริง (object) ในตัวบท (text) และในบริบท (context) หน่ึงๆ๑๔ ตัวอย่างเช่น \"แหวนหม้ัน\" เปน็ สัญญะใชแ้ ทนความหมายทีแ่ สดงถึง ความผูกพันระหว่างหญิงชายคหู่ น่ึงในบริบทของสังคมตะวันตก หากเป็นบริบทของสงั คมอ่ืนก็อาจจะใช้ หมู กาไล หรือสงิ่ อ่ืนเปน็ สญั ญะแทน เป็นต้น การนาทฤษฎีสัญศาสตร์มาใช้ในการศึกษาการส่ือสารของมนุษย์ ถือเป็นการศึกษาในแนว ใหม่ และเป็นจุดเน้นท่ตี ่างไปจากการศึกษาดง้ั เดิมท่ีม่งุ ศึกษาการส่อื สารแบบเป็นกระบวนการทเ่ี กีย่ วขอ้ ง อยู่กับสาร ช่องทาง เครอ่ื งสง่ ผรู้ ับ เสียงรบกวน และการย้อนกลบั ซ่ึงถือเปน็ พน้ื ฐานของการสอ่ื สาร สัญศาสตร์เป็นทฤษฎีที่อธิบายการสื่อสารของมนุษย์ว่า การสื่อสารคือจุดกาเนิดของ ความหมาย ซ่ึงการศกึ ษาแนวน้ีจะไมส่ นใจความล้มเหลวของการสื่อสาร และไม่เกย่ี วข้องกับประสทิ ธิผล และความถกู ต้อง แต่เป็นแนวทางการศึกษาเชงิ สังคม หรอื ความแตกต่างของวฒั นธรรมระหว่างผ้ใู หแ้ ละ ผูร้ ับสาร ตลอดจนความหลากหลายของความหมายภายในระบบภาษา วัฒนธรรม และความเป็นจริงที่ ไม่สามารถแสดงผลเป็นลูกศรหรือเป็นเส้นตรงของกระแสการไหลของข่าวสาร แต่เป็นการศึกษาเชิง โครงสร้าง ดังนั้นการศึกษาแนวสัญศาสตร์น้ีถือว่า ตัวกาหนดของการส่ือสารขึ้นอยู่กับสังคม และสิ่ง รอบตัวบนโลกของมนษุ ย์ ไม่ใชข่ ึ้นอยู่กับกระบวนการของการส่ือสาร แต่ระบบสัญญะทาการควบคมุ การ สร้างความหมายของตัวบทให้เป็นไปอย่างมีความสลับซับซ้อนอย่างแฝงเร้น และต้องข้ึนอยู่กับลักษณะ ของแต่ละวัฒนธรรม ตามแนวคิดของโซซูร์ ภาษาสามารถแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑) ตัวภาษา (Langue) หมายถึง ระบบรวมท่ีมีความสมบูรณ์ในตัวเอง มีกฎเกณฑ์ในการจัดแบ่งประเภทแยกแยะแบบต่างๆ เป็นรูปแบบ (Form) องค์รวมใหญ่ และ ๒) การใช้ภาษา (Parole) หมายถึง การกระทาทางสังคมอัน เป็นผลมาจากความสามารถในการใช้ภาษาของบุคคล ร่วมกับกฎเกณฑ์ จารีต ประเพณีปฏิบัติที่สังคม ตกลงกันไว้ ซึ่งเป็นเน้ือหาสาระ (Substance) ย่อย ภาษาจึงเป็นสัญญะรูปแบบหน่ึงที่ถูกใช้เพื่อการ สือ่ สาร แผนผงั ที่ ๒.๑ องคป์ ระกอบสัญญะ Langue Form Parole (sign) Signified Signifier ๑๔ นงคราญ สุขสม,\"คยุ เฟ่ืองเรือ่ งลึงค์\", เมืองโบราณ, ปที ี่ ๒๙ ฉบับท่ี ๑ (ม.ค.-มี.ค. ๒๕๔๖).หน้า ๕๗.

๒๕ โซซูร์มองว่า ภาษาคือระบบความสัมพันธ์ระหว่างสัญญะซ่ึงสัญญะนี้จะมีส่วนประกอบย่อย ๒ ประการ คอื รปู สัญญะ (signifier) กบั ความหมายสญั ญะ (signified) รูปสัญญะ หมายถึง ภาพสะท้อน (acoustic image)๑๕ หรือรูปที่นามาใช้เพื่อถ่ายทอดหรือ ส่ือความหมาย ซึ่งอาจเป็นตัวหนังสือ ภาพ เสียง หรือวัตถุใด ๆ ก็ตามท่ีสามารถรับรู้ได้ด้วยประสาท สัมผสั ความหมายสัญญะ หมายถึง แนวคิด (concept)๑๖ ความหมายสัญญะจึงไม่ใช่วัตถุ แต่เป็น มโนภาพแทนวัตถุ หรือท่ีโรลองด์ บาร์ตส์เรียกว่า metal representation of the thing๑๗ ซ่ึงถูกสื่อ ออกมาผ่านตัวหนังสือ ภาพ เสียง หรือวัตถุใด ๆ ก็ตาม สัญญะ จึงเป็นผลจากการรวมท้ังหมดของ รปู สญั ญะ และความหมายสัญญะจะขาดอนั ใดอนั หน่งึ ไมไ่ ด้ เขยี นเป็นแผนผังได้ดงั น้ี แผนผังท่ี ๒.๒ แสดงความสมั พันธร์ ะหว่างสัญญะ และรูปสญั ญะในสัญญะหนง่ึ ๆ๑๘ สญั ญะ ความหมายสญั ญะ รปู สัญญะ จากภาพ ๒.๒ ภาพแสดงให้เห็นว่า สัญญะหนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยรูปสัญญะและ ความหมายสญั ญะเสมอ แผนผงั ที่ ๒.๓ แสดงความหมายของสัญญะ และรปู สัญญะโดยเร่มิ จากอกั ษร/คาพูด สัญญะ ดอกไม้ชนิดหน่งึ มหี นาม (ความหมายสัญญะ) กหุ ลาบ (รปู สัญญะ) จากแผนผังที่ ๒.๓ จะเห็นว่า ภาษาไทยได้สร้างคาว่า “กุหลาบ” ข้ึนมาจากตัวอักษร ก- ุ- ห-ล-า-บ โดยเป็นสัญญะบ่งถึงความคิดเกี่ยวกับดอกไม้ชนิดหนึ่งมีสีแดง มีหนาม มีกลิ่นหอม ซึ่งไม่ได้ ๑๕Roland Barthes. Mythologies, translated by Annette Larvers, (New York: Noonday Press, 1991), p.112. ๑๖ Roland Barthes. Mythologies, p.112. ๑๗ Roland Barthes. Elements of Semiology, (New York: Hill and Wang, 1986), p.42. ๑๘Deneil Chandler, “Semiotics for Beginners”, (Online) Accessed Available from http://www.aber.ac.uk/media/Documents/S4B/semiotic.html. (10 November 2012).

๒๖ หมายถึงรูปของดอกกุหลาบ แต่เป็นความคิดเก่ียวกับดอกกุหลาบ ความคิดเกี่ยวกับดอกกุหลาบนี้ เรยี กว่า ความหมายสญั ญะ อีกสถานการณ์หน่ึง ชายหนุ่มกาลังมอบดอกกุหลาบให้หญิงคนรัก ในสถานการณ์เช่นนี้ รูปสัญญะ คือดอกกุหลาบ อาจถูกตีความหมายเป็นความรักท่ีชายหนุ่มมีต่อหญิงสาว ดอกกุหลาบจึงมี ใหม่ซ้อนข้ึนอกี ความหมายหน่ึง เปน็ ความหมายนอกเหนือไปจากตัวมันเอง ไม่ใชค่ วามหมายตรง แต่เป็น ความหมายโดยอ้อม แผนผังท่ี ๒.๔ แสดงตัวอย่างรูปสัญญะและความหมายสัญญะที่บ่งถึงสิ่งอื่นนอกจากตัวมัน สัญญะ ความรัก (ความหมายสัญญะ) (รปู สญั ญะ) ดอกกุหลาบในที่น้ีคือ Signifier และส่ิงท่ีเป็น Signified คือความรักของผู้ชายคนน้ันหรือ ความดึงดูดใจหรือสนใจต่อหญิงสาว ดอกกุหลาบไม่จาเป็นต้องแสดงออกถึงเรื่องความรักเสมอไป สิ่งซึ่ง หมายถึงคืออากัปกริยาดังกล่าว เคร่ืองหมาย (sign) วางอยู่บนพื้นฐานหลักเกณฑ์ (code) และ ขนบธรรมเนียม (convention) ที่มรี ่วมกนั ซ่ึงดอกกุหลาบสามารถแสดงถึง หรือเป็นตวั แทน”ความรัก” อนึง่ ธรรมชาตขิ องสัญญะ สามารถทาความเข้าใจได้ ๒ ทาง คอื ๑๙ ๑. สัญญะต่าง ๆ ทางานบนพื้นฐานท่ีว่าเป็นตัวแทนหรือยืนยันถึงบางสิ่งบางอย่าง เช่น ความหมาย (meaning) มโนภาพ (concept) หรอื ความคิด (Idea) ทส่ี ารหรอื ระบบเคร่ืองหมายนน้ั อา้ ง ถงึ เช่น ตัวอักษร d-o-g นามาเรียงกัน ได้คาว่า dog เป็นการบัญญัติเคร่ืองหมายชนิดหน่ึงขึ้นมา แทน มโนภาพสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหน่ึง มีสี่ขา เพอร์ส (Charles Senders Peirce) เรียกมโนภาพ ดังกล่าวน้ีว่า สิ่งท่ีหมายหรือส่ิงที่อ้างถึง (the referent) ขณะท่ีโซซูร์ (Ferdinand de Saussure) เรยี กวา่ ความหมายสัญญะ (signified) ๒. ทุกๆ สัญญะจะประกอบด้วยรูปสัญญะ (Signifier) และความหมายสัญญะ (Signified)๒๐ สาหรับรูปสัญญะ จะเป็นอะไรก็ได้ที่ถูกนามาใช้เพื่อถ่ายทอดความหมายเช่น ตัวหนังสือ, ภาพ, เสียง, และอื่นๆ ส่วนความหมายสัญญะ คือ ความหมาย (meaning) มโนภาพ (concept) หรือความเห็น (idea) ทภ่ี าพ เสยี งหรอื ตัวหนงั สอื ส่ือออกมา การใช้วธิ ีการท่ีสองในการทาความเขา้ ใจเครื่องหมายต่างๆ เราสามารถแสดงภาพท่ีแตกต่าง กันระหว่าง Signifier และ Signified ได้โดยการคิดเรื่องของเคร่ืองหมาย “dog”กันอีกครั้ง Signifier ๑๙สมเกียรติ ตั้งนะโม, “การศึกษาเรื่องเครื่องหมาย” แปลจาก Michael O'Shaughnessy and Jane Stadler, Media and Society: An Introduction, (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.midnightuniv.org (๒ มนี าคม ๒๕๕๖). ๒๐ Roland Barthes. Mythologies, translated by Annette Larvers, (New York: Noonday Press, 1991), p.111.

๒๗ คือตัวอักษร d-o-g จัดมาเรียงกันเป็นคาว่า dog (หรืออันนี้เรียกว่า signifier ซึ่งนอกจากจะเป็น ตัวหนังสือแล้ว อาจจะเป็นภาพก็ได้ เช่นเป็นภาพของสุนัขบางสายพันธ์ุ) สาหรับ Signified ก็คือ มโน ภาพ หรอื รวมไปถงึ แนวความคดิ เกย่ี วกับสนุ ขั นักทฤษฎีสัญศาสตร์ ได้ให้แสดงความคิดเห็นว่า สัญญะคืออะไรก็ได้ที่ก่อให้เกิดความหมาย โดยการเทียบเคียงให้เห็นถึงความแตกต่างไปจากสิ่งอ่ืน และคนในสังคมยอมรับหรือเข้าใจ เช่น ตัวหนังสือของคนหูหนวก สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในพิธีกรรม กฎเกณฑ์เก่ียวกับมารยาททางสังคม สัญญาณ ทางทหาร ภาพยนตร์ การเดินของคนในเมือง การไม่สวมรองเท้าในสถานที่เคารพบูชา เป็นต้น เหล่าน้ี ถือเปน็ สญั ญะได้ท้งั ส้ิน๒๑ กระทั่งทสี่ ุดแม้ความว่าง เครอ่ื งหมายอัญญประกาศ การเรียงคาในประโยค ลว้ นเป็นสญั ญะ หากสามารถสื่อความหมายเป็นท่ีเข้าใจโดยทั่วไป เช่น ช่องว่างระหว่างประโยคหรือระว่างคาในภาษา (เว้นวรรค) ต่างก็มีความหมายเฉพาะแบบหนึ่งคือ ให้หยุดพักออกเสียง ผ้าใบสีขาวในงานศิลปะ หมายถึง การเตรียมความพร้อมสาหรับวาด ท่ีว่างริมกระดาษด้านบน-ล่าง-ซ้าย-ขวา มีความหมายว่า ห้ามเขียน การจับมือกันเขย่ายหรือการยกมือไหว้เมื่อเจอกันก็เป็นสัญญะอีกแบบหน่ึง การกินของหวาน หรือการด่ืมกาแฟ บ่งบอกถึงการสิ้นสุดมื้ออาหาร การแต่งกายด้วยชุดดาในสังคมไทย เป็นสัญญะอย่าง หน่งึ เพราะบง่ บอกถงึ การไว้ทกุ ข์ สะท้อนให้เห็นว่า มนุษย์ไม่ได้สื่อสารโดยใช้ภาษาเพียงอย่างเดียว ตรงกันข้าม มนุษย์ใช้สิ่ง ต่าง ๆ มาสื่อความหมายแบบต่าง ๆ ได้อยา่ งหลากหลาย เช่น ลักษณะสีหน้า ท่าทาง อารมณ์ความรู้สึก ท่าทีร่างกาย การโกนผม เกล้าผม ทาสีร่างกาย การสัก เส้ือผ้า เครื่องแต่งกาย ใช้ควัน แสง สี ภาพ วัตถุตั้งแต่ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ ตั้งแต่ง่าย ๆ จนถึงซับซ้อนเป็นเคร่ืองมือสื่อสาร ใช้ตานาน นิทาน เร่อื งเลา่ เปน็ เคร่อื งมือในการสื่อคตธิ รรม คตสิ อนใจ๒๒ นอกจากเครื่องมือสื่อสารที่สลับซบั ซ้อน และหลากหลายแล้ว สิ่งที่ถูกสอื่ ออกไปกย็ ังมีหลาย มิติด้วย นับต้ังแต่การสื่อสารความหมายเพื่อรับรู้โดยตรง ไปจนถึงการสื่อสารความสุนทรีย์ ความงาม ความโศก ความเกลียดชัง ความวิตกกังวล การส่งสัญญาณเตือนภัย สัญญาณบ่งชี้สิ่งที่จะเกิดขึ้น บ่งชี้ บางอย่างท่ีเพ่ิงเกิดข้ึนหรือผ่านไป สื่อความคิดทางคณิตศาสตร์ท่ีเป็นนามธรรมอย่างยิ่ง ส่ือสารความรู้ ทฤษฎที างวิทยาศาสตร์๒๓ สัญลักษณ์ต่าง ๆ สื่อสารกันอย่างไร จะต้องพิจารณา ๒ ประเด็น๒๔ คือ ระดับความหมาย และวฒั นธรรมกบั ความหมาย ๒๑ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. สัญวิทยาโครงสร้างนิยมหลังโครงสร้างนิยมกับการศึกษารัฐศาสตร์ (กรงุ เทพมหานคร : วิภาษา, ๒๕๔๕), หนา้ ๑๘. ๒๒ธีรยุทธ บุญมี, การปฏวัติสัญศาสตร์ของโซซูร์ เส้นทางสู่โพสต์โมเดอร์นิสม์, (กรุงเทพมหานคร: สา พิมพ์วภิ าษา, ๒๕๕๑), หน้า ๕๕. ๒๓ธีรยทุ ธ บุญม,ี การปฏวตั ิสัญศาสตร์ของโซซูร์ เส้นทางส่โู พสตโ์ มเดอรน์ สิ ม์, หน้า ๕๖. ๒๔สมเกียรติ ตั้งนะโม, “การศึกษาเรื่องเคร่ืองหมาย” แปลจาก Michael O'Shaughnessy and Jane Stadler, Media and Society: An Introduction, (อ อ น ไล น์ ). แ ห ล่ งที่ ม า: http://www.midnightuniv.org. (๒ มีนาคม ๒๕๕๖) และภัครพงศ์ อคั รเศรณี, “การออกแบบสถาปตั ยกรรมเพ่ือสือ่ ความหมายโดยประยกุ ตใ์ ชห้ ลักการ ของวิชาสัญศาสตร์”, วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๘), หนา้ ๑๒.

๒๘ ๑. ระดับของความหมาย เครื่องหมายต่าง ๆ ส่ือสารได้ ๒ ระดับ คือความหมายตรง (denotation) และความหมายโดยนยั หรอื ความหมายโดยอ้อม (connotation) ความหมายตรง เป็นความหมายที่สัญลักษณ์ทุกชนิดจะต้องมี และเป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป เช่น เม่ือเอ่ยถึงคาวา่ “ดอกกุหลาบ” ในภาษาไทย หรือ “rose” ในภาษาอังกฤษ ทุกคนก็จะเข้าใจ และ นึกถึงดอกไม้ชนิดหน่ึง มีหนาม มีสีแดงบ้าง ขาวบ้าง ชมพูบ้าง เหลืองบ้าง เมื่อเอยถึงคาว่า “เสือ” ทุก คนก็จะเข้าใจ และนึกถึงสัตว์ป่าชนิดหน่ึง มีสี่เท้า ปากมีเขี้ยวคม ดุร้าย มีพละกาลังมาก มักจับสัตว์ป่า ชนิดอื่น ๆ เป็นอาหาร เม่ือเอ่ยคาว่า “ควาย” ทุกคนก็จะนึกถึงสัตว์ตัวใหญ่ชนิดหนึ่งมีเขา ใบหูยาว มี หาง มีส่ีขา และกนิ หญ้าเปน็ อาหาร ชาวนาเลี้ยงไว้ไถนา หรอื ลากเกวยี น จะเห็นว่า ความหมายตรงน้ี เป็นความหมายท่ีไม่ต้องตคี วาม หรือแปลความหมายเป็นอย่าง อ่ืนนอกเหนือจากตัวมันเอง ความหมายโดยนัย หรือความหมายโดยอ้อม เป็นความหมายที่ผู้ส่งสารต้องการส่ือ ความหมายอื่นนอกเหนือจากตัวรูปสัญญะน้ัน โดยท่ีท้ังผู้ส่งสาร และผู้รับสารเองต้องมีประสบการณ์ใน ความหมายสัญญะร่วมกัน หากไม่มีประสบการณ์ร่วมกันแล้ว ก็อาจจะเข้าใจความหมายไม่ตรงตามที่ผู้ ส่งสารต้องการสื่อ เช่นจากตัวอย่างข้างต้น คาว่า “ดอกกุหลาบ” ความหมายโดยนัย อาจหมายถึง ความรกั , หญิงสาว, หรือความบริสทุ ธ์ิ ๒. วัฒนธรรมกับความหมาย เครื่องหมายต่าง ๆ สื่อสารโดยผ่านหลักเกณฑ์ (code) และ ขนบธรรมเนียม (convention) หลักเกณฑ์และขนบธรรมเนียมเป็นกุญแจสาคัญในการทาความเข้าใจ สัญลักษณ์ หรือระบบเครื่องหมายต่าง ๆ เช่น ภาษาอังกฤษวางอยู่บนพื้นฐานตัวอักษร ๒๖ ตัว ซ่ึง สามารถนามารวมกันเป็นคาตามแบบแผนทางไวยากรณ์ และเราต้องเรียนรู้ทาความเข้าใจหลักเกณท์ที่ ถูกต้องของภาษาดังกล่าวด้วยเพื่อการสอ่ื สาร ตัวอยา่ งเช่น ตวั อกั ษร d-o-g คือรหสั เพ่ือใช้ในการอธบิ าย ถงึ สัตวส์ ่ีขาประเภทหนึ่งเปน็ สิง่ มีชีวติ ทมี่ ขี น เลีย้ งลูกดว้ ยนม หลักเกณฑ์และขนบธรรมเนียมเหล่านี้ เป็นส่ิงท่ีเรามีส่วนร่วมกันในทางวัฒนธรรม และ ข้ึนอยู่กับความรู้เชิงวัฒนธรรม ซึ่งถือเป็นเรื่องสาคัญมาก เพราะระบบเคร่ืองหมายต่างๆ จะทางาน ประสบความสาเร็จได้ก็ต่อเม่ือคนทั้งหลายต่างรู้ และมีส่วนร่วมกันในความรู้เก่ียวกับหลักเกณฑ์ของ ภาษาท่เี กีย่ วข้องนน้ั ๆ ยกตัวอย่าง เชน่ ภาษาญี่ปนุ่ หรือภาษารัสเซียเป็นระบบเครือ่ งหมายหนึ่งท่ีมีรหัส หรือหลักเกณฑ์และขนบธรรมเนียมของตัวมันเอง แต่ถ้าเราไม่รู้ภาษาญ่ีปุ่น หรือภาษารัสเซีย มันก็ไม่มี ความหมาย การเรียนรู้กฎเกณฑ์เกี่ยวกับฟุตบอลของออสเตรเลีย, สมาพันธ์กีฬารักบ้ี, และกีฬาฟุตบอล อังกฤษ ย่อมทาให้สามารถชมกีฬา หรือเล่นกีฬาดังกล่าวน้ีได้อย่างสนุกสนาน ในทานองเดียวกันกับ จังหวะเต้นราแบบแทงโก้, จังหวะวอลทซ์ และชา-ชา (cha-cha) หากเราจะแสวงหาความบันเทิงกับ ระบาเหล่านี้ จาเป็นอย่นู นั่ เองที่จะต้องเรียนร้กู ฎเกณฑ์ กตกิ า และขนบธรรมเนียมทเ่ี กยี่ วข้อง ภาษาท่ีต่างออกไปคือตัวอย่างหน่ึงท่ีดีเก่ียวกับหลักเกณฑ์ หรือขนบธรรมเนียมท่ีแตกต่างท่ี นามาใช้เป็นตัวแทน หรือแสดงออกสาหรับโลกเรา ตัวอักษร d-o-g คือเครื่องหมายในรหัส ภาษาอังกฤษ ขณะที่ภาษาฝร่ังเศสใช้ตัวอักษร c-h-i-e-n ทุกๆ ภาษามีคาท่ีต่างกันไป เพื่อท่ีจะเข้าใจ เครอื่ งหมายทแี่ ตกตา่ งกนั เหลา่ น้ี เราจะต้องศึกษารหสั หรอื ภาษาน้ันๆ

๒๙ อย่างไรก็ตาม มนุษย์ไม่ได้ส่ือสารด้วยภาษาอย่างเดียว แต่ใช้สิ่งต่าง ๆ มาเป็นเคร่ืองมือใน การสื่อสาร ส่ิงต่าง ๆ ท่ีใชเ้ ป็นเครอื่ งมือสื่อสาร นอกจากจะหลากหลายแล้ว ยังมีความซบั ซ้อน ทาให้แม้ นักสัญศาสตร์เองก็จัดประเภท หรือรูปแบบของการส่ือสารแตกต่างกันออกไป๒๕ ตามชนิด (type) บ้าง ตามวิถหี นา้ ท่ี (mode) บ้าง ในท่ีนีจ้ ะแบง่ ตามวิถหี นา้ ท่ี ๕ ประการ ดังน้ี๒๖ ๑ รูปแบบเหมือนหรือไอคอน (Iconic mode) เคร่ืองมือส่ือสารที่ใช้ความเหมือน ความ คล้ายคลึงกับรูปที่ต้องการสื่อสาร เช่น รูปปั้น ภาพเหมือน รูปแกะสลัก เช่น อนุเสาวรีย์ พระพุทธรูป พระเยซู พระเคร่ือง ภาพถ่าย ภาพเขียน ลายเส้น เป็นต้น เคร่ืองมือส่ือสารประเภทน้ี ไม่จากัดเฉพาะ รูปที่เป็นวตั ถุอย่างเดียวเท่านั้น แตย่ ังหมายรวมถึงเสียง ทานอง ทว่ งทา่ เสยี ง กลน่ิ รส ซึ่งเลียนแบบของ จริง การเลียนแบบของจริงนี้ ไม่จาเป็นต้องเลียนแบบจริงทั้งหมด อาจเป็นเพียงมิติใดมิติหน่ึง และทุก คนยอมรับว่ามันได้ทาหน้าท่ีเสมือนจริง เช่น ภาพไดอะแกรมหน้าห้องน้าทาให้เรารู้ว่าเป็นห้องน้าหญิง หรือชาย ทันทีที่เห็น เราก็สามารถเข้าใจทันทีถึงความหมายที่ภาพนั้นต้องการสื่อ ซึ่งกรณีนี้คู๊ก (Gary A. Cooke) ได้ให้คาอธิบายว่า ท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะเรารู้มาก่อนแล้ว๒๗ คือเคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่ง น้ันมากอ่ นแลว้ จึงเกิดการยอมรับ Icon ในฐานเป็นสญั ญะ ภาพประกอบท่ี ๒.๑ ตวั อย่างแสดง Iconic Mode ประมวลโดยผู้วจิ ัย อนึง่ John Lyons ไดใ้ ห้ทศั นะเพม่ิ เตมิ วา่ การเปน็ Icon นน้ั ข้ึนอยู่กับประเภทสื่อกลางท่ใี ช้ ด้วย เช่น คาว่า เมี๊ยวโฮ่ง ๆ เป็นต้น เป็นการสื่อสารแบบเสมือนโดยอาศัยสื่อกลางเป็นเสียง แต่ถ้าเป็น ตัวเขียนจะไม่มีลักษณะเสมือนแต่อย่างใด ขณะที่อักษรจีน หรือ Heiroglyphic ของอียิปต์ จะมี รูปลกั ษณ์เสมือนโดยลักษณะเสน้ ขดี แต่เสยี งไมจ่ าเป็นตอ้ งเสมือนด้วย๒๘ ๒. รูปแบบบ่งช้ี หรือดัชนี (Indexical mode) เครื่องมือสื่อสารที่ทาหน้าที่ “บ่งช้ี” ส่ิง หรือปรากฏการณ์บางอย่าง เช่น เข็มนาฬิกา เงาแดด เป็นเคร่ืองบ่งช้ีถึงเวลา ดัชนีตลาดหุ้นเป็น เครอ่ื งบ่งชี้ราคาหุ้นของบรษิ ัทจดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์ และบ่งชถ้ี งึ สภาวะเศรษฐกจิ โดยรวม ในทัศนะของเพอร์ส (Charles Sanders Peirce) ดัชนี (Index) ต่างจากแบบเสมอื น (Icon) ตรงที่ดัชนีบ่งชี้ส่ิงที่มีอยู่ เป็นความสัมพันธ์ที่เป็นจริงระหว่างดัชนีกับวัตถุที่บ่งชี้โดยไม่ขึ้นอยู่กับการ ตคี วาม และวตั ถุดงั กล่าวก็มีอยจู่ ริง ขณะทีแ่ บบเสมอื นอาจจะไมม่ ีอยจู่ ริงก็ได้ เช่น ภาพวาดมังกร มนษุ ย์ ๒๕เช่น โรลองด์บาร์ตส์ จาแนกเป็น signal (สัญญาณ), index (เครื่องชี้), icon (แบบเสมือน), symbol (สัญลกั ษณ์) และ allegory (อปุ มาเปรียบเทียบ) ดู Roland Barthes. ใน “Elements of Semiology”, อา้ งแล้ว. ๒๖ธีรยุทธ บุญมี, การปฏิวัติสัญศาสตร์ของโซซูร์ เส้นทางสู่โพสต์โมเดอร์นิสม์, (กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พว์ ภิ าษา, ๒๕๕๑), ๕๖-๖๐. ๒๗เร่ืองเดยี วกัน, หน้า ๕๗. ๒๘เรือ่ งเดยี วกัน, หนา้ ๕๗.

๓๐ ต่างดาว ดัชนีไม่จาเป็นต้องอาศัยความเหมือน แต่จะอาศัยความเก่ียวเน่ืองบางอย่าง เพอร์ส บอกว่า อะไรก็ได้ท่ีตรึงความสนใจหรือทาให้เราสนใจล้วนเป็นดัชนีท้ังส้ิน เชน่ ใบไม้ไหว บ่งชว้ี ่ามีนักบินมาเกาะ หรอื มีลมกรรโชก เป็นต้น อยา่ งไรก็ตาม ดชั นีบางอย่างอาจต้องอาศัยการตีความ หรือความรู้ความเข้าใจ เปน็ การเฉพาะ เช่น การเต้นของชีพจร ความดัน อณุ หภมู ิร่างกาย เป็นดัชนีบ่งช้ีอาการไข้ หรอื โรคภัยไข้ เจบ็ ในรา่ งกาย ซึ่งต้องอาศัยการตีความของแพทย์๒๙ ภาพประกอบที่ ๒.๒ ตวั อยา่ งแสดง (Indexical mode) ประมวลโดยผวู้ ิจัย ๓. รูปแบบเครื่องหมายหรือป้าย (Signic mode) เป็นเคร่ืองมือส่ือสารที่ทาหน้าที่เป็น เครื่องบอก เคร่ืองหมาย หรือป้ายที่ไม่ใช่เป็นถ้อยคา หรือคาศัพท์ต่าง ๆ ในภาษา เช่น ป้ายหรือโลโก้ ของสินค้า โลโก้ร้าน หน่วยงาน บริษัทที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ เมฆตั้งเค้าทะมึนเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าฝนกาลังจะ ตก มรี อยเท้าบนทางเดนิ ใหม่ ๆ แสดงวา่ เพิง่ มคี นหรือสตั ว์เดนิ ผ่านไป มีควนั แสดงว่ามีไฟ เป็นตน้ นอกจากนั้น ยังมีเคร่ืองหมายต่าง ๆ เช่น เคร่ืองหมายลูกเสือ-เนตรนารี เคร่ืองหมายเดินรถ เครื่องหมายแสดงวัตถุอันตราย เครื่องหมายให้ระมัดระวัง เครื่องหมายแผนกสินค้า ชั้นขายสินค้าตาม ห้างสรรพสินค้า เครื่องหมายห้ามสูบบุหร่ี เครื่องหมายบอกตาแหน่ง ยศ ช้ัน หรือศักดิ์ ที่เป็นข้อตกลง ของคนในสังคม องค์กร หน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคลเพื่อความสะดวกในการทางานในหน้าที่ของตน เครื่องหมายเหล่านี้อาจเร่ิมต้นจากการรับรู้ในวงจากัดเฉพาะกลุ่ม ต่อมาก็อาจขยายเป็นท่ีเข้าใจ โดยทัว่ ไป แตบ่ างเรื่องกใ็ ชใ้ นวงจากดั เฉพาะกลุ่ม ภาพประกอบท่ี ๒.๓ แสดงตวั อยา่ ง Signic mode ประมวลโดยผูว้ จิ ยั ๔. รูปแบบสัญญาณหรือรหัส (Signal, Code) เป็นเคร่ืองมือสื่อสารอย่างหน่ึงท่ีมีมาแต่ โบราณ เป็นการบ่งบอกส่ิงท่ีจะเกิด สัญญาณหรือรหัสในลักษณะนี้ มักจะเป็นส่ิงที่คนส่วนใหญ่ยอมรับ หรือมีข้อตกลงร่วมกันแล้ว แต่บางคร้ังก็มีรหัสกากับเพื่อให้เกิดความเข้าใจ เช่น สัญญาณไฟจราจร สญั ญาณไฟเดินเรอื สัญญาณสาหรับเคร่ืองบิน สัญญาณธงสาหรับนักกีฬา หรือการแข่งขัน ท้งั หมดต้อง ๒๙ธรี ยทุ ธ บญุ ม,ี การปฏวิ ัติสญั ศาสตร์ของโซซูร์ เสน้ ทางสโู่ พสต์โมเดอรน์ สิ ม์, หน้า ๕๘.

๓๑ มรี หสั กากับจึงจะเขา้ ใจได้ เช่น แดง หมายถึงหยุด เหลือง หมายถึงเตรยี มตัว เขียว หมายถงึ อนญุ าตให้ ไปได้ ยกธง หมายถึง การทาผดิ กติกา เสยี งนกหวดี หมายถึง การดาเนนิ การแข่งขันตอ่ ไปได้ นอกจากนั้น ยังมีสัญญาณท่ีมีรหัสอย่างเป็นระบบมาก เช่น รหัสโทรเลข รหัสมอร์ส๓๐ รหัส ลับในการปฏิบัติการทางทหาร หรือกิจการพาณิชย์ บาร์โค้ดเป็นรหัสสินค้า หมายเลขหนังสือ เป็นรหัส ของห้องสมุด เปน็ ต้น ภาพประกอบที่ ๒.๔ แสดง Signal, Code ประมวลโดยผ้วู ิจยั ๕. รูปแบบสัญญะ และสัญลักษณ์ (Sign, Symbol) เป็นเครื่องมือส่ือสารท่ีมักใช้สื่อ ความหมายท่ีปกติไม่เก่ียวกับตัวมันเองเลย เช่น สีดา เป็นสัญลักษณ์ของการไว้ทุกข์ โดยที่ตัวมันเองไม่มี จุดใดที่เช่ือมโยงถึงภาวะความทุกข์ หรือความเศร้าโศกเลย สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เป็นตัวอย่างของ เคร่ืองมือส่ืสารท่ีตัวมันเองเป็นขอ้ ตกลงของมนุษย์ลว้ น เชน่ + - x ÷ เพร์อส มองว่า สัญลักษณ์เป็นข้อตกลงร่วมกันของสังคม เหตุน้ีเขาจึงรวมสัญญะทางภาษา เป็นส่วนหน่ึงของสัญลักษณ์ด้วย แต่โซซูร์ไม่ยอมใช้คาว่าสัญลักษณ์ เพราะเขามองว่า สัญลักษณ์ไม่มี ลักษณะเป็นข้อตกลงแท้ ๆ แบบสัญญะทางภาษา แต่มีลักษณะเก่ียวเน่ืองกันกับสิ่งที่มันอ้างอิงอยู่บ้าง เช่น ตราช่าง หมายถึง ความยุติธรรม เพราะมันมีลักษณะสมดุลเท่าเทียมกันทั้งสองด้าน ดอกกุหลาบ อาจเหมาะสาหรับใช้แทนความรัก เพราะมีความสวยงาม สีแดงเหมาะแทนสงคราม ความกล้าหาญ เพราะมันเป็นสีเดียวกันกับเลือด ธงแดง ไฟแดง จึงหมายถึงการเตรียมพร้อม ระวังตัว อันตราย สีขาว เหมาะเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนา เพราะมีความบริสุทธ์ิ ความเป็นกลาง สันติภาพ ขณะท่ีหญ้าแพรก ดอกเข็ม ในพิธไี หว้ครูใช้แทนสตปิ ญั ญา โดยทั่วไป ในทางมานุษยวิทยา มักจะแบ่งว่า สัญญะ (sign) หมายถึง เครื่องมือสื่อสารผ่าน ภาษาท่ีมีจุดมุ่งหมายสื่อเน้ือหาการรับรู้โดยตรง แต่สัญลักษณ์ หมายถึง เคร่ืองมือส่ือสารผ่านภาษาที่ สรา้ งความรับรูบ้ างอย่าง และรวมถึงอารมณ์ ความรูส้ กึ ความคิด และความเชอ่ื ดว้ ย ภาพประกอบ ๒.๕ แสดง Sign, Symbol ประมวลโดยผวู้ ิจยั ๓๐รหัสมอร์ส (Morse code) คือวิธีการส่งข้อมูลด้วยการใช้รูปแบบสัญลักษณ์สั้นและยาวท่ีกาหนดข้ึน เป็นมาตรฐานไว้แล้ว ซ่ึงมักจะแทนด้วยเครื่องหมายจุด (.) และ เคร่ืองหมายขีด (-) ผสมกันเป็นความหมายของ ตัวหนังสือ ตัวเลข และเคร่ืองหมายพิเศษต่างๆ บางครั้งอาจเรียกว่า CW ซึ่งมาจากคาว่า Continous Wave อ้างใน http://th.wikipedia.org/wiki/

๓๒ ๒.๓ ทฤษฎปี ฏิสมั พันธเ์ ชงิ สญั ลักษณ์ (Symbolic Interactionism Theory) คาว่า ปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ หมายถึง การกระทาตอบโต้กันโดยอาศัยกระบวนการทาง ความคิด ความหมาย และสัญลักษณ์๓๑ หลักการสาคัญหรือหลักการใหญ่ของทฤษฎีคือ สมาชิกใน สังคมกระทา และตีความหมายความจริงทางสังคมโดยใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน นักทฤษฎีที่สาคัญได้แก่ จอร์จ เฮอร์เบิร์ต มี๊ด (George Herbert Mead) จาคอบ โมเรโน (Jacob Moreno) ราล์ฟ ลินตัน (Ralph Linton) เออรว์ ิง กอฟฟ์แมน (Erving Goffman) เฮอร์เบิร์ต บลูเมอร์ (Herbert Blumer) และ เชนดอน สไตรเกอร์ (Sheldon Stryder) เพ่ือไม่ให้ความแตกประเด็นไปมากเกินไป เพราะแต่ละท่านก็มีประเด็นปลีกย่อยอีก ดังนั้น ในที่นจี้ ะเลือกกลา่ วเฉพาะแนวคิดของม๊ีด และบลูเมอร์ พอเป็นแนวทางโดยสงั เขปเท่านน้ั ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ เป็นทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ใช้อธิบายปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลที่มีลักษณะเฉพาะ กล่าวคือบุคคลจะมีการสร้างสัญลักษณ์แปลความและให้ความหมายเก่ียวกับ พฤติกรรมท่ีคนอื่นแสดงออก และมีพฤติกรรมตอบสนองต่อความหมายที่ตนสร้างข้ึนนั้นๆมากกวา่ ที่จะมี ปฏิกิริยาตอบสนองต่อพฤติกรรมท่ีบุคคลนั้นแสดงออกโดยตรงทฤษฎีปฏิสัมพันธ์สัญลักษณ์ถูกนามา อธิบายพฤติกรรมหรือการกระทาในสองระดับคือระดับพฤติกรรมหรือปฏิสัมพันธ์ (behavioral/ interactional level) และในระดับของรปู สัญลักษณ์ (symbolic level)๓๒ ตามแนวคิดของมี๊ด (George Herbert Mead พ.ศ.๒๔๐๖-๒๕๒๓) ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิง สัญลกั ษณ์ เป็นทฤษฎีทใี่ หค้ วามสนใจเรื่องราวชีวติ ประจาวันกับการท่ีมนุษยกระทาโต้ตอบซ่ึงกนั และกัน แนวคิดและทฤษฎีจะทาให้เราสามารถเข้าใจกลไกทางความคดิ การรู้จักวางแผน การปรับพฤติกรรมให้ เข้ากับสถานการณ์ และเป้าหมายท่ีวางไว้ กระบวนการของการส่ือสารกับผู้อ่ืนในสังคมโดยการใช้ สญั ลักษณ์ต่าง ๆ นับตั้งแต่เรอ่ื งการใช้ภาษา ซึ่งถอื เป็นสญั ลกั ษณ์ที่สาคัญท่ีสุด เพราะมนุษย์รู้จักตีความ สิ่งท่ีผู้อื่นพูด และโต้ตอบ นอกจากนั้น มนุษย์ยังมีสานึกว่า ผู้อ่ืนมีความรู้สึก ความคิดเห็นตามแบบของ เขาเช่นกนั มนษุ ยจ์ งึ เรียนรูท้ ่ีจะทาความเข้าใจว่า ผ้อู ่ืนคิดอะไร ตีความสถานการณ์อย่างไร มด๊ี ได้เสนอหลักการสาคญั ของทฤษฎสี รปุ ประเด็นสาคัญได้ดังนี้๓๓ ๑. ความคิด ประสบการณ์ และพฤติกรรมมีสว่ นสาคัญต่อสงั คม , มนุษย์สร้างความสัมพันธ์ ผา่ นระบบสัญลกั ษณ์ (Symbols) สญั ลักษณท์ สี่ าคัญทสี่ ดุ คอื ภาษา ๒. สัญลักษณ์ หมายถึง วิธีการท่ีมนุษย์ปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับธรรมชาติและ บรบิ ททางสังคม สัญลักษณ์ไม่ใช่สัญชาตญาณ แต่เป็นสิ่งท่ีมนุษย์สร้างข้ึนมา ถ้าไม่มีสัญลักษณ์ มนษุ ย์ จะมีปฏสิ ัมพนั ธก์ ันไม่ได้ และจะไมม่ ี “สงั คม” เกดิ ข้นึ มา สัญลักษณ์อาจเป็นวัตถุ เหตุการณ์ หรือการกระทาจากวัตถุ หรือเหตุการณ์นั้น ๆ เช่น เมื่อ พดู ถึงเกา้ อี้ อาจหมายถึง ท่ีนง่ั การน่งั ทา่ นั่ง หรือการครอบครองตาแหนง่ ๓๑สุภางค์ จันทรวานิช, ทฤษฎที างสังคมวิทยา, (กรงุ เทพมหานคร: สานกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔),หน้า ๑๒๘. ๓๒วรรณภา ศรธี ญั รตั น์, “ทฤษฎีปฏิสมั พันธส์ ัญลกั ษณ์: การประยุกตใ์ ช้”, วารสารคณะพยาบาลศาสตร์, (ออนไลน์): http://tdc.thailis.or.th (๑๔ กันยายน ๒๕๕๕). ๓๓เร่อื งเดยี วกัน.

๓๓ ๓. ปฏิสัมพันธ์โดยใช้สัญลักษณ์ ทาให้มนุษย์ไม่ต้องใช้สัญชาตญาณในการสร้างพฤติกรรม เพอ่ื ความอยู่รอด มนุษย์จงึ สรา้ งระบบสญั ลกั ษณ์ขน้ึ มา และต้องอย่ใู นโลกแห่งการตีความหมาย (World of Meaning) คือ ตีความหมายต่อสิ่งเร้า และตอบสนองต่อสิ่งน้ัน เช่น พิจารณาว่า อาหารคืออะไร สิ่ง น้นั ใชอ่ าหารหรือไม่ แลว้ จึงตอบสนองด้วยการกนิ หรือไม่กนิ สงิ่ นัน้ ๔. สัญลักษณ์ร่วม (Common Symbols) ท่ีมนุษย์ในสังคมตีความร่วมกัน ทาให้มนุษย์มี ปฏิสัมพันธ์กัน สามารถส่ือสารกัน ให้ชีวิตในสังคมดาเนินไปได้ มี้ด เรียก การรู้จักความหมายของ สัญลกั ษณท์ ีใ่ ชใ้ นการสมั พนั ธ์กับผู้อ่ืนวา่ การรับรู้บทบาท (role – taking) ๕. การรับรู้บทบาททาให้เราทราบความหมายและความต้ังใจของผู้อ่ืน และ สามารถ ตอบสนองในการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เพราะเม่ือบุคคลคิดออกไปนอกตัว แล้วมอง ย้อนกลับมาที่ตัวเอง เหมือน การรับรู้บทบาทของผู้อ่ืนจะทาให้บุคคลได้รู้จัก “ตนเอง” (Self) ดีข้ึน และรู้ว่าผู้อ่ืนคิดอย่างไรกับตน ทาให้สามารถอยู่ในสังคมและสร้างความร่วมมือทางสังคม (Cooperative Action) ได้อย่างดี สว่ นบลูเมอร์ (Herbert Blumer พ.ศ.๒๔๔๓-๒๕๓๐) ซึง่ เป็นศิษย์คนสาคัญของมด๊ี เสนอว่า ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ จะช่วยให้เราเข้าใจมโนคติย่อยต่าง ๆ ว่าประกอบด้วย มโนคติเก่ียวกับ บุคคล ปฏิสัมพันธ์ สัญลักษณ์ พฤติกรรม หรือการกระทา กระบวนการแปลความหมาย สถานการณ์ และตัวบริบท (context) หรอื สิ่งแวดลอ้ มทเ่ี กิดปฏิสมั พันธ์น้ัน ๆ ซ่งึ สามารถสรปุ ในเชงิ สัมพันธใ์ นแต่ละ องคป์ ระกอบดังกลา่ ว ดังนี้ ๑. บุคคลจะปฏิบัติ หรือลงมือกระทา หรือมีปฏิกิรยิ าตอบสนองส่ิงต่าง ๆ เช่น วัตถุ สถาบัน แนวคิด ต่อบคุ คลอื่น หรือแม้แต่ตอ่ ตนเอง ตามความหมายทางวัฒนธรรม (cultural meaning) ของสิ่ง น้ัน ๆ ท่ีมตี ่อตนเอง ๒. ความหมายของส่ิงต่าง ๆ น้ัน เป็นผลมาจากการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ระหว่างบุคคล นน้ั กบั ผอู้ น่ื ๓. ความหมายดังกล่าวนี้ จะถูกถ่ายทอดและปรับเปลี่ยนไปตามกระบวนการแปล ความหมายของบุคคลนั้นตอ่ สง่ิ ต่าง ๆ ท่ีเผชิญอยู่๓๔ บลูเมอร์ อธิบายมโนคติเก่ียวกับบุคคลว่า บุคคลเป็นผู้แสดง (Actor) ซ่ึงจะแสดงพฤติกรรม หรือมีการกระทา (Act) ตอบสนองต่อการมีปฏิสัมพันธ์ (Interact) ต่อวัตถุ (Object) หรือต่อบุคคลอ่ืน (Others) เช่น การแสดงออกทางร่างกาย ทางสังคม ของบุคคลอื่น หรือแม้แต่ของตนเอง หรือต่อส่ิงที่ เป็นนามธรรม (Abstract) ซ่ึงไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ความคิดท่ีได้จากพูดคุยหรือปฏิสัมพันธ์กับคน อน่ื เป็นต้น การรับรู้ของบุคคลจะมีขอบเขตจากัดในการรับรู้ ในเรื่องที่มีบุคคลมีความรู้ หรือมี ประสบการณ์ในเรือ่ งนัน้ ๆ อยู่ หรือเฉพาะเรื่องท่ีตนระลึกหรือจดจาได้เท่านั้น จึงเป็นเหตใุ หบ้ ุคคลมีการ แปลความ (Interpret) และให้ความหมาย (meaning) เก่ียวกับสิ่งที่รับรู้ (things) น้ัน ๆ แตกต่าง ออกไปตามแตล่ ะบคุ คล ๓๔วรรณภา ศรธี ัญรัตน์,อา้ งแล้ว, หน้า ๒.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook