บทที่ 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 235 6.7 เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 6 เรียกวา่ abducens nerve ทาหนา้ ท่ีต่อเช่ือมกลา้ มเน้ือตา (posterior rectus) เพื่อช่วยนาคาส่ังในการกรอกลูกตา 6.8 เส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 เรียกว่า facial nerve เป็ นเส้นที่แตกแขนงไปต่อเชื่อมกบั อวยั วะ ต่างๆ ดงั น้ี 6.8.1 เช่ือมกบั อวยั วะรับสมั ผสั บริเวณส่วนบนหวั (superficial ophthalmic branch) 6.8.2 เชื่อมกบั อวยั วะรับสมั ผสั ของหวั ทางส่วนล่าง (buccal branch) 6.8.3 เช่ือมบริเวณรอยตอ่ ของขากรรไกรบนและล่าง (hyomandibular branch) 6.8.4 เช่ือมกบั ขากรรไกรล่าง (mandibular branch) 6.8.5 เช่ือมกบั เพดานปาก (palatine branch) 6.8.6 เช่ือมที่ hyoid arch (hyoid branch) 6.9 เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 เรียกวา่ acoustic nerve เป็นเส้นประสาทท่ีส่งไปในหูปลา แตป่ ลา ไมใ่ ชห้ ูรับเสียง ดงั น้นั เส้นประสาทสมองน้ีจึงนาคาสัง่ เก่ียวกบั การทรงตวั ปลา 6.10 เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 9 เรียกวา่ glossopharyngeal nerve เป็ นเส้นประสาทรวมระหวา่ ง เส้นประสาทรับสัมผสั (sensory nerve) และเส้นประสาทคาส่ัง (motor nerve) ทาหนา้ ที่ต่อเช่ือมเพ่ือ รับรู้สึกกบั เส้นขา้ งตวั บางส่วน และต่อเช่ือมกบั กระดูกแกนเหงือกก้อนแรก นอกจากน้ีอาจจะมี แขนงย่อยไปต่อเชื่อมกบั ท่ออาหารเพื่อรับรสชาติอาหาร หรืออาจจะต่อเชื่อมกบั กลา้ มเน้ือช่องเปิ ด เหงือกอนั แรก 6.11 เส้นประสาทสมองคู่ที่ 10 เรียกวา่ vagus nerve เป็ นเส้นประสาทรวมระหวา่ งเส้นประสาท รับสัมผสั และเส้นประสาทคาส่ังอีกเส้นหน่ึง เป็ นเส้นประสาทขนาดใหญ่ท่ีแยกออกมาจาก ส่วนปลายของสมองทา้ ยสุด มีการแตกแขนงเพ่ือต่อเชื่อมกบั ส่วนต่างๆ ของร่างกายหลายตาแหน่ง คือ ต่อเชื่อมที่ขอบเหงือกคู่ที่ 2, 3, 4 และ 5 (branchial nerve) ต่อเชื่อมกบั หวั ใจ (cardiac nerve) ต่อเชื่อมกบั กระเพาะอาหาร (gastric nerve) และ ตอ่ เชื่อมกบั เส้นขา้ งตวั (sensory nerve) 7. ต่อมไร้ท่อของปลา ตอ่ มไร้ท่อ (endocrine glands) คือ ตอ่ มที่สร้างฮอร์โมนใหร้ ่างกายแลว้ ถูกส่งไปเล้ียงร่างกาย โดยการซึมผ่าน ไม่ใช้ท่อลาเลียง ส่วนต่อมมีท่อ (exocrine glands) เป็ นต่อมท่ีสร้างน้าย่อยให้ ร่างกาย และน้าย่อยถูกลาเลียงออกจากต่อมโดยผ่านท่อลาเลียง สภาพแวดลอ้ มนอกตวั ปลามี ความสาคญั มากในการกระตุน้ การทางานของต่อมไร้ท่อ สาหรับต่อมไร้ท่อของปลา แบ่งไดด้ งั น้ี (ภาพที่ 116 และ117) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 236 7.1 ต่อมใต้สมอง (pituitary gland หรือ hypophysis) ต้งั อยทู่ างดา้ นล่างของสมอง (tween brain) แบ่งออกเป็นส่วนตา่ งๆ ไดด้ งั น้ี (ภาพที่ 118) 7.1.1 posterior lobe เป็ นส่วนทาหนา้ ท่ีผลิตฮอร์โมนอ็อคซีโตซิน (oxytocin) ซ่ึงควบคุม การไหลของปัสสาวะและการดูดน้ากลบั จากปัสสาวะ ผลิตฮอร์โมนแอนทิไดยเู รติค (antidiuretic) ซ่ึงทาหนา้ ท่ีใหห้ ลอดเลือดบีบตวั และทาใหก้ ารดูดน้ากลบั จากปัสสาวะทาไดน้ อ้ ยลง 7.1.2 intermediat lobe เป็นส่วนทาหนา้ ที่สร้างฮอร์โมนควบคุมการแพร่กระจายของเมด็ สี 7.1.3 transitional lobe เป็นส่วนทาหนา้ ที่สร้างฮอร์โมนเก่ียวกบั การเจริญเติบโตของร่างกาย เช่น ฮอร์โมนคอร์ทิโคโทรฟิ น (corticotrophin) ทาหนา้ ท่ีควบคุมการผลิตฮอร์โมนของต่อมหมวกไต และยงั ทาหนา้ ที่ดูแลการเกิดกระบวนการแพร่กระจายเมด็ สี (melanogenesis) External Stimuli Light Temperature Water chemistry Die(ntcheaplahmaluics)centers Pituitary gland Gonads Thyroid Suprarenal tissue Intteisrsreuneal Panisclreetastic (chromaffin) Carbohydrate Protein Reproduction Growth Fat Metabolism Behavior Pigmentation Mineral Water ภาพท่ี 116 ความสมั พนั ธ์ของต่อมไร้ท่อในปลา ทมี่ า : Lagler และคณะ (1977) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 237 ภาพท่ี 117 ตาแหน่งตอ่ มไร้ท่อของปลากระดูกแขง็ ทม่ี า : ดดั แปลงจาก Bond (1996) ตอ่ มใตส้ มอง ภาพที่ 118 ตอ่ มใตส้ มองของปลาสวาย (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 238 7.1.4 anterior lobe เป็นส่วนท่ีผลิตฮอร์โมนสาคญั ๆ ดงั น้ี 7.1.4.1 ฮอร์โมนไธโรโทรฟิ น (thyrotrophin) มีหนา้ ท่ีควบคุมการหลง่ั ฮอร์โมนของ ตอ่ มไธรอยด์ 7.1.4.2 ฮอร์โมนโกนาโดรโทรฟิ น (gonadrotrophin) มีหน้าที่ควบคุมการหล่งั ฮอร์โมนของตอ่ มเพศ 7.1.4.3 ฮอร์โมนโพรแลคติน (prolactin) มีหน้าที่ควบคุมกระบวนการสร้างสีบน ลาตวั ของปลา 7.2 ต่อมไธรอยด์ (thyroid gland) เป็ นต่อมท่ีสร้างฮอร์โมนไธร็อคซิน (thyroxin) การทางาน ของต่อมน้ีถูกควบคุมโดยฮอร์โมนไธโรโทรฟิ น (thyrotrophin) ที่สร้างจากต่อมใตส้ มองอีกทอด หน่ึง ฮอร์โมนไธร็อคซินทาหนา้ ที่ควบคุมขบวนการเผาผลาญอาหารในร่างกาย (metabolism) การ ทางานของต่อมน้ีจะเกี่ยวข้องกับอุณหภูมิน้า โดยหากน้ามีอุณหภูมิสูงข้ึนการทางานของ ต่อมไธรอยดจ์ ะเพิ่มมากข้ึนดว้ ย หากอุณหภูมิน้าลดลงการทางานของต่อมลดลงดว้ ย ตาแหน่งของ ต่อมไธรอยด์เป็ นเพียงกลุ่มเซลล์เล็กๆ กระจายอยตู่ ามส่วนล่างของเส้นเลือดใหญ่ (ventral aorta) 7.3 ต่อมอลั ทิโมบรานเชียล (ultimobranchial) ต้งั อยบู่ ริเวณแกนเหงือกคู่ท่ี 5 บางทีต่อมน้ีอาจ เป็ นต่อมพาราไธรอยด์ (parathiroid gland) ทาหนา้ ท่ีควบคุมกระบวนการใชแ้ คลเซียมในร่างกาย ปลา หากตอ่ มทางานมากเกินไปแคลเซียมภายในกระดูกจะถูกดูดออกมาไวใ้ นกระแสเลือดในระดบั ผดิ ปรกติ ทาใหป้ ลาเป็ นโรคกระดูกผุได้ ต่อมน้ีถูกควบคุมจากฮอร์โมนต่อมใตส้ มอง นอกจากน้ีถา้ มีแสงมากทาให้ต่อมอลั ทิโมบรานเชียลทางานไดน้ อ้ ย ในทางตรงขา้ มหากมีความเขม้ ของแสงนอ้ ย ต่อมน้ีทางานไดด้ ีมาก 7.4 ต่อมซุปราเรนนอล (suprarenals หรือ chromaffin tissue) พบในส่วนบนของไตปลา ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนอิพิเนฟริน (epinephrine) และทาหนา้ ที่สร้างฮอร์โมนนอริพพิเนฟริน (norepinephrine) ทาหน้าท่ีควบคุมการทางานของเม็ดสีในร่างกายปลา ควบคุมแรงดนั เลือดการ ขยายมา่ นตาและมีผลต่อการเตน้ ของหวั ใจ 7.5 ต่อมแพนเครียตคิ ไอสเลทส์ (pancreatic islets) ในปลาปากกลมต่อมน้ีจะต้งั อยทู่ ี่ผนงั ลาไส้ ปลาช้นั สูงต่อมน้ีจะเป็นกลุ่มเซลลฝ์ ังตวั อยใู่ นตบั อ่อนทาหนา้ ท่ีสร้างฮอร์โมนอินซูลินซ่ึงควบคุมการ ใชส้ ารอาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรท 7.6 ต่อมเพศ (sex gland หรือ gonad) อยูใ่ นช่องวา่ งของลาตวั ปลาใตก้ ระดูกสันหลงั ในปลา เพศผู้ คือ อณั ฑะทาหน้าที่สร้างฮอร์โมนแอนโดรเจน (androgen) ส่วนปลาเพศเมีย คือรังไข่ ทาหนา้ ท่ีสร้างฮอร์โมนเอสโทรเจน (estrogen) ฮอร์โมนท้งั สองชนิดน้ีทาหนา้ ท่ีควบคุมลกั ษณะการ แสดงออกทางเพศของปลา วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 239 7.7 ต่อมภายในลาไส้เลก็ (intestinal tissue) ทาหนา้ ท่ีสร้างฮอร์โมนซีครีทิน (secretin) และ ฮอร์โมนแพนครีโอไซมิน (pancreozymin) เพื่อไปกระตุน้ ให้ตบั อ่อนปล่อยน้ายอ่ ยออกมา ในสัตว์ ช้นั สูงต่อมชนิดน้ีทาหนา้ ที่สร้างฮอร์โมนโชเลซีสโตไคนิน (cholecystokynin) เพ่ือกระตุน้ ให้น้าดี ไหลออกจากถุงน้าดีไดด้ ีข้ึน 7.8 ต่อมแสตนเนียส (corpuscles of stannius) อยบู่ ริเวณส่วนทา้ ยของไตชุดมีโซเนฟรอสของ ปลากระดูกแข็ง หน้าท่ียงั ไม่ทราบแน่ชัดเพียงสันนิษฐานว่าคงเก่ียวขอ้ งกบั การควบคุมการใช้ แคลเซียมในปลา 7.9 ต่อมไธมัส (thymus gland) ต้งั อยดู่ า้ นบนหรือดา้ นล่างของกระดูกเหงือก ทาหนา้ ที่เก่ียวขอ้ ง กบั การเจริญเติบโตของปลา ในปลาวยั อ่อนต่อมไธมสั น้ีมีขนาดใหญ่ แต่ปลาตวั เต็มวยั ต่อมน้ีลด ขนาดลงมากหรืออาจสูญหายไป 7.10 ต่อมไพเนียล (pineal body) ทาหนา้ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การรับแสง (photoreceptor) และการ แพร่กระจายของเมด็ สีบางชนิด 7.11 ต่อมหมวกไต (Interrenal tissue) ในปลากระเบนต่อมหมวกไตมีตาแหน่งอยูส่ ่วนหลงั ของไต ในปลาฉลามต้งั อยรู่ ะหวา่ งไต ส่วนปลากระดูกแข็งต่อมน้ีอยทู่ อดตวั ขนานกบั เส้นเลือดดา (postcardinal vein) โดยทาหนา้ ท่ีสร้างสารประกอบประเภทสเตอร์รอยด์ (adrenocortical steroid compounds) ซ่ึงควบคุมกระบวนการปรับสมดุลร่างกายและควบคุมการยอ่ ยแป้ ง โปรตีน และไขมนั 7.12 ต่อมยูโรไฮโพไฟซิส (urohypophysis) เจริญดีในปลากระดูกแขง็ ต่าแหน่งต้งั อยปู่ ลายสุด กระดูกสันหลงั ส่วนหาง ยงั ไม่ทราบหนา้ ท่ีแน่ชดั แต่สันนิษฐานว่าคงสร้างฮอร์โมนที่เกี่ยวขอ้ งกบั การปรับสมดุลร่างกาย และการแลกเปลี่ยนกา๊ ซของปลา 8. อวยั วะรับความรู้สึกของปลา อวยั วะรับสัมผสั พ้ืนฐานมีในปลาทุกชนิด ไดแ้ ก่ ตาทาหนา้ ที่รับสัมผสั เกี่ยวกบั การมองเห็น (visual sense) หูเป็ นอวยั วะภายในทาหน้าท่ีรับสัมผสั การส่ันสะเทือนและการทรงตวั (auditory organ) จมูกเป็ นอวยั วะรับสัมผสั กล่ิน (smell sense) และเส้นขา้ งตวั ทาหนา้ ท่ีรับแรงส่ันสะเทือน ของน้ารอบตวั ยกเวน้ ปลาบางชนิดที่ไม่มีอวยั วะรับสัมผสั พ้ืนฐานดงั กล่าว ท้งั น้ีข้ึนอยู่กบั ชนิด แหล่งอาศยั และสายววิ ฒั นาการ อวยั วะพเิ ศษรับความรู้สึกของปลา ไดแ้ ก่ 8.1 ป่ ุมรับสัมผสั (sensory crypts) เป็ นอวยั วะรับสัมผสั ที่มีลกั ษณะเป็ นป่ ุมอยรู่ วมกนั เป็ นกลุ่ม หรือเรียงกนั เป็นแถวใตเ้ กล็ดปลาแบบพลาคอยดข์ องปลาฉลามและปลากระเบน วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 240 8.2 อวยั วะสัมผัสของลอร์เรนซินิ (ampullae of Lorenzini) เป็ นอวยั วะรับความรู้สึกเก่ียวกบั อุณหภูมิน้าและรับสัมผสั กระแสไฟฟ้ าได้ด้วย พบในส่วนหัวของปลาฉลาม ปลากระเบน และ ปลาดุกทะเล อวยั วะน้ีเป็นส่วนหน่ึงของเส้นขา้ งตวั 8.3 อวยั วะรับสัมผัสของซาไว (vesicle of Savi) เป็ นอวยั วะรับสัมผสั พิเศษที่พบบริเวณจะงอย ปากของปลากระเบน และปลากระเบนไฟฟ้ า 8.4 อวยั วะรับสัมผสั ของฟาเรนโฮลซ์ (organs of Farenholz) เป็ นกลุ่มเซลลเ์ ส้นขนอยใู่ นแอ่งรับ ความรู้สึกส่วนหวั พบในตวั ออ่ นของปลาปอด 8.5 อวยั วะรับสัมผัสในช่องรับน้า (spiracular organ) เป็ นอวยั วะรับความรู้สึกท่ีพบอยภู่ ายใน ช่องรับน้าของปลากระดูกอ่อน 8.6 อวัยวะรับสัมผัสไฟฟ้ า (cutaneous sense cells) เป็ นอวยั วะรับสัมผสั กระแสไฟฟ้ าที่พบ บริเวณใตผ้ วิ หนงั ปลา ไดแ้ ก่ ปลาชา้ ง (elephant fishes) 9. สรุป ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึกทางานโดยอาศยั ประสาทส่วนกลางและประสาท อตั โนมตั ิ ไดแ้ ก่ สมอง ไขสันหลงั เส้นประสาทไขสันหลงั เส้นประสาทสมอง ต่อมไร้ท่อ เส้นปม ประสาท และเส้นใยประสาท สาหรับสมองของปลาประกอบดว้ ยสมองส่วนหนา้ ส่วนกลาง ส่วน หลงั และส่วนทา้ ย ส่วนไขสันหลงั เป็ นประสาทส่วนกลางที่เชื่อมต่อจากปลายสมอง ทาหนา้ ท่ีเป็ น ทางผา่ นของคลื่นความรู้สึกที่ส่งตอ่ ไปยงั สมอง ส่วนเส้นประสาทไขสันหลงั เป็ นส่วนท่ีทาหนา้ ท่ีรับ และนาคาสง่ั ไปยงั สมอง นอกจากน้นั ปลายงั มีเส้นประสาทสมองท้งั หมด 11 คู่ ซ่ึงแตล่ ะเส้นมีหนา้ ท่ี เช่ือมตอ่ กบั อวยั วะต่างๆ ภายในร่างกายของปลา และปลายงั มีต่อมไร้ท่อที่สร้างฮอร์โมนให้ร่างกาย แลว้ ส่งไปเล้ียงส่วนต่างๆ โดยไม่ผา่ นทอ่ ลาเลียง และปลาบางชนิดมีอวยั วะรับความรู้สึกพิเศษดว้ ย วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 241 คาถามท้ายบท 1. สมองของปลามีกี่ส่วน อะไรบา้ ง แตล่ ะส่วนมีความสาคญั อยา่ งไร 2. ไขสันหลงั ปลามีหนา้ ที่อยา่ งไร และมีส่วนประกอบอะไรบา้ ง 3. จงบอกหนา้ ที่ของเส้นประสาทสมองแต่ละคูข่ องปลา 4. จงอธิบายความแตกต่างของต่อมมีท่อกบั ตอ่ มไร้ท่อ 5. จงบอกตาแหน่งท่ีต้งั ของต่อมใตส้ มองปลา และบอกหนา้ ท่ีส่วนประกอบแตล่ ะส่วนของ ตอ่ มใตส้ มอง 6. จงบอกช่ือและบริเวณท่ีพบอวยั วะรับความรู้สึกของปลา มา 3 อยา่ ง วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 9 ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก 242 เอกสารอ้างองิ ประจิตร วงศร์ ัตน์. 2541. มีนวทิ ยา (ปฏิบตั ิการ). กรุงเทพฯ : ภาควชิ าชีววทิ ยาประมง คณะประมง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. วมิ ล เหมะจนั ทร. 2540. ชีววทิ ยาปลา. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . Bond, C.E. 1996. Biology of Fishes. 2nd ed. Philadelphia : Saunders College Publishing. Lagler, K. F., Bardach, J. E., Miller, R. R. and Passino, D. R. M. 1977. Ichthyology. New York : John Wiley and Sons, Inc. วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 243 บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา (Taxonomy of fishes) จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายการเก็บรวบรวมปลาดว้ ยวธิ ีการต่างๆ ได้ 2. จาแนกหมวดหมู่ของปลาได้ 3. บอกชื่อปลาในช้นั Myxini, Cephalaspidomorphi, Chondrichthys, Sarcopterygii และ Actinoptergiiได้ เนือ้ หา 1. ความนา อนุกรมวิธาน (taxonomy) มาจากภาษากรีกวา่ แท็กซ่ี (taxi) หมายถึง การศึกษาทางดา้ น ทฤษฎีและปฏิบตั ิของสิ่งมีชีวิตแลว้ นามาจดั หมวดหมู่ รวมถึงกฎเกณฑต์ ่างๆ เกี่ยวกบั ส่ิงมีชีวิต ที่ยงั มีชีวิตและสูญหายไปแลว้ การแยกหรือการจาแนกสิ่งมีชีวิต ทาไดโ้ ดยการเก็บตวั อยา่ ง แยกชนิด เขียนบนั ทึกขอ้ มลู บอกลกั ษณะสัณฐานและกายวิภาคของส่ิงมีชีวิตน้นั ส่วน Candolle (1813 อา้ งโดย วีรยุทธ์ และ วุฒิ, 2549) ได้ให้ความหมายของ อนุกรมวิธานคือทฤษฎีและแนวทางการจาแนก สิ่งมีชีวติ 2. การเกบ็ รวบรวมตัวอย่าง การเกบ็ รวบรวมตวั อยา่ งปลาเพ่ือศึกษาพรรณปลามีวธิ ีการ ดงั น้ี (สนั ติ และสมหมาย, 2553) 2.1 การใช้ยาเบื่อเมา การใชย้ าเบ่ือเมารวบรวมตวั อยา่ งประชากรปลา เป็นวธิ ีท่ีนิยมใชท้ วั่ ไปในแหล่งน้าใหญ่และ ลาน้า มีการใชย้ าเบ่ือเมาสาหรับจบั ปลาประมาณ 30 ชนิด แต่ในสหรัฐอเมริกาไดจ้ ดทะเบียนให้ใช้ ในดา้ นประมงเพียง 2 ชนิด คือ โล่ติ๊น (derris cube) และ antimycin (Fintrol) สาหรับประเทศไทย นิยมใช้โซเดียมไซยาไนด์และโล่ติ๊น การเลือกใช้ยาเบื่อเมาสาหรับการรวบรวมตัวอย่างปลา นอกจากคานึงถึงประสิทธิภาพในการเบื่อปลาแลว้ ยงั ตอ้ งคานึงถึงผลตกคา้ งต่อสิ่งแวดลอ้ ม ความเป็นพิษต่อส่ิงที่มีชีวติ อ่ืนและความปลอดภยั ต่อคน ยาเบ่ือเมาสาหรับการสารวจประชากรปลา วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 244 ที่ควรนามาใชส้ าหรับประเทศไทย ไดแ้ ก่ โล่ติ๊นสด บางแห่งเรียกวา่ หางไหลแดงหรือหางไหล ส่วน ท่ีนามาใชเ้ ป็ นส่วนรากซ่ึงเมื่อนามาทุบแล้วนาไปแช่ในน้าจะไดส้ ารละลายสีขาวขน้ มีคุณสมบตั ิ พิเศษ คือ ทาให้โปรตีนตกตะกอน เมื่อถูกกบั ซี่เหงือกของปลาจะทาให้เมือกหุ้มเหงือกเกิดตะกอน เหงือกจะมีลกั ษณะย่น หงิกงอและบีบรัดตวั ทาให้เส้นเลือดฝอยท่ีมาหล่อเล้ียงเหงือกถูกปิ ดไม่ สามารถแลกเปลี่ยนก๊าซได้ ปลาจะลอยหวั และตายในที่สุด ความเขม้ ขน้ ที่ใช้ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พิษ ของโล่ต๊ินจะสลายตวั ภายใน 2-3 วนั ท่ีอุณหภูมิน้า 28 องศาเซลเซียส สาหรับโล่ต๊ินสดใช้อตั รา 1 กิโลกรัมต่อน้า 100 ลูกบาศก์เมตร ปลาที่กาลงั จะตายสามารถช่วยไดโ้ ดยใช้ methylene blue ความเขม้ ขน้ 5-10 มิลลิกรัมต่อลิตร โล่ต๊ินจะไม่เป็ นพิษต่อสัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมและนก จึงเป็ นสาร ท่ีนิยมใชม้ าก และเน่ืองจากเป็นพชื พ้นื บา้ นของไทยและมีการปลูกเป็นอาชีพจึงเหมาะที่จะใชใ้ นการ สารวจประชากรปลาและการเบื่อปลาที่ไม่ตอ้ งการ 2.2 การใช้กระแสไฟฟ้ า การนากระแสไฟฟ้ ามาใช้เป็ นเครื่องมือในการจบั ปลา ได้เร่ิมกระทากนั มาเมื่อประมาณ 100 ปี มาแลว้ และมีการพฒั นานาเทคนิคทางอีเลคโทรนิคมาประยกุ ตใ์ ชใ้ หไ้ ดผ้ ล สามารถจบั ปลาได้ ทุกชนิด ทุกขนาด ใช้ไดใ้ นแหล่งน้าเกือบทุกประเภทถึงแมจ้ ะมีส่ิงกีดขวาง เช่น ตอไมห้ รือวชั พืช หนาแน่น รัศมีการใชง้ านจากดั และไม่แพร่กระจายไปตามกระแสน้าเหมือนกบั การใชย้ าเบื่อเมา ท้งั ไม่มีสารตกคา้ งในแหล่งน้าดว้ ย การใชก้ ระแสไฟฟ้ ามี 2 แบบ คือ 2.2.1 กระแสไฟฟ้ าตรง (direct current) ผลิตโดยแบตเตอรี่ มีการไหลของกระแสไฟฟ้ า ทิศทางเดียว โดยจะไหลจากข้วั ลบไปข้วั บวก สามารถเก็บกระแสไวไ้ ด้ในหมอ้ เก็บกระแสไฟ การผลิตกระแสไฟฟ้ าใหม้ ีแรงเคล่ือนสูงๆ ทาใหย้ ากและการตดั วงจรกระแสตรงที่มีแรงเคล่ือนสูงก็ ทาไดย้ ากเช่นกนั 2.2.2 กระแสไฟฟ้ าสลบั (alternating current) มีการไหลของกระแสไฟฟ้ าสลบั กลบั ไปมา ในช่วงเวลาจาเพาะต่อวนิ าทีเรียกวา่ ความถ่ี โดยทว่ั ไปมีความถี่ 50 รอบต่อวนิ าที สามารถผลิตให้มี ความถ่ีสูงกว่าน้ีได้ตามตอ้ งการ กระแสไฟฟ้ าสลบั ไม่สามารถเก็บสะสมไวไ้ ด้ตามตอ้ งการ แต่ สามารถผลิตไดง้ ่ายสามารถควบคุมใหม้ ีแรงเคลื่อนสูง-ต่าไดต้ ามตอ้ งการและการตดั วงจรทาไดง้ ่าย การใช้กระแสไฟฟ้ าทาการประมงในประเทศไทย นิยมใช้กระแสไฟฟ้ าสลบั ท่ีได้จาก เคร่ืองป่ันขนาดประมาณ 1.5-3.0 กิโลวตั ต์ ใช้กระแสไฟฟ้ าขนาด 220 โวลต์ วางบนเรือต่อข้วั หน่ึง ลงน้าอีกข้วั หน่ึงต่อกบั ตะแกรงลวดซ่ึงดา้ มทาดว้ ยไมไ้ ผ่ ผูท้ าการช็อตปลาจะถือตะแกรงลวดยนื ท่ี หวั เรือเพื่อซ็อตและจบั ปลาข้ึนจากน้า ซ่ึงการใชก้ ระแสไฟฟ้ าจบั ปลาเป็ นวิธีการที่ผิดกฎหมาย แต่ สามารถนามาใชใ้ นการรวบรวมตวั อยา่ งปลาเพื่อการศึกษาทางวชิ าการไดโ้ ดยตอ้ งมีหนงั สืออนุญาต วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 245 จากอธิบดีกรมประมง ส่วนไฟฟ้ ากระแสตรงที่นามาใชจ้ บั ปลาในประเทศไทยยงั ไม่นิยม ส่วนใหญ่ จะแปลงเป็นกระแสสลบั ก่อนจึงนามาใช้ กระแสไฟฟ้ าท่ีใชจ้ บั ปลามีผลต่อการเกร็งตวั ของกลา้ มเน้ือ เน่ืองจากกลา้ มเน้ือหดตวั ทาให้ เกิดการชกั กระตุก ฝาปิ ดเหงือกปลาจะเปิ ดกวา้ งออก ปลาไม่สามารถวา่ ยน้าไดแ้ ละถูกจบั ไดง้ ่าย การใช้กระแสไฟฟ้ าจะตอ้ งไม่ให้ขนาดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าสูงมากเกินไป เพราะอาจทาใหป้ ลาพิการ เนื่องจากกล้ามเน้ือฉีกขาดและอาจตายได้ นอกจากน้นั ผใู้ ช้ไฟฟ้ าตอ้ งมีความชานาญและมีความ ระมดั ระวงั เป็ นพิเศษ จะตอ้ งไม่ประมาท เนื่องจากขนาดของกระแสไฟฟ้ าที่ใช้จบั ปลาสามารถ ทาอนั ตรายต่อคนจนถึงตายได้ เรือท่ีใชจ้ ะตอ้ งไม่มีส่วนของโลหะท่ีเป็ นตวั นาไฟฟ้ า และจะตอ้ งไม่ นาผอู้ ่ืนที่ไมเ่ ก่ียวขอ้ งลงในเรือระหวา่ งปฏิบตั ิงาน โดยเฉพาะผทู้ ่ีไมท่ าเคยทางานดา้ นน้ีมาก่อน 2.3 การใช้เคร่ืองมือเคลอ่ื นท่ี เป็ นการใช้อวนตาถี่ลากทบั ตล่ิงซ่ึงสามารถทาให้มีมาตรฐานได้ โดยใชอ้ วนท่ีมีความยาว ขนาดเดียวกนั พยายามลากจบั ปลาในพ้นื ที่ที่เท่าๆ กนั แต่มีปัญหาวา่ ส่ิงแวดลอ้ มของแหล่งน้าขนาด ใหญไ่ ม่อานวยความสะดวกในการลากอวนชนิดน้ี ทาให้จบั ปลาในเน้ือท่ีที่ตอ้ งการไดไ้ ม่หมด แต่มี ส่วนดีคือ ปลาที่จบั ไดส้ ามารถนามาศึกษานิสัยการกินอาหารไดด้ ว้ ย 2.4 การใช้เครื่องมอื ประจาที่ เครื่องมือประจาที่ท่ีใช้ในการเก็บตวั อยา่ งปลา ไดแ้ ก่ ข่าย ลอบ เป็ นตน้ สาหรับการใชข้ ่าย เพื่อการเก็บตวั อย่างปลาสามารถศึกษาถึงประสิทธิภาพของข่ายขนาดช่องตาต่างๆ กนั ในแต่ละ ระดบั ความลึกของน้า โดยนาข่ายขนาดช่องตาต่างๆ กนั มาต่อเป็ นผืนเดียวกนั โดยวิธีการสุ่ม แลว้ นาไปวางในจุดที่จะเกบ็ ตวั อยา่ งตามระดบั ความลึกและระยะเวลาท่ีกาหนด ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการจบั วธิ ี น้ีสามารถนามาวิเคราะห์ไดเ้ ฉพาะอย่างเท่าน้นั เช่น ผลจบั ต่อหน่วยเวลา การแพร่กระจายขนาด ความยาว (length distribution) ประสิทธิภาพของข่ายขนาดต่างๆ การแพร่กระจายของปลาแต่ละ ระดับความลึก แต่จะขาดข้อมูล standing crop และองค์ประกอบชนิดของปลา (species composition) ที่ถูกต้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งลูกปลาขนาดเล็กไม่สามารถจบั ด้วยเครื่องมือข่าย และลอบได้ หลงั จากจบั ปลาไดแ้ ลว้ ก็นาปลาทุกชนิดมาจาแนกถึงระดบั ชนิด (species) ปลาที่ไม่สามารถ แยกชนิดไดจ้ ะดองดว้ ยฟอร์มาลิน 10 เปอร์เซ็นต์ เพ่ือนาไปวเิ คราะห์ชนิดต่อไป ทาการชงั่ น้าหนกั และวดั ความยาวของปลาแต่ละตวั อยา่ งอยา่ งละเอียด ถา้ ปริมาณปลาแต่ละชนิดมีมากกวา่ 50 ตวั จะแบ่งออกเป็นกลุ่มขนาด นบั จานวนและชง่ั น้าหนกั สาหรับปลาที่ตอ้ งการศึกษาการกินอาหาร ให้ ผา่ ทอ้ งและเอากระเพาะอาหารปลาดองในสารละลายฟอร์มาลินเพ่ือนาไปศึกษาในห้องปฏิบตั ิการ วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 246 ต่อไป ส่วนปลาท่ีตอ้ งการศึกษาความสมบูรณ์เพศ และความดกของไข่ จะเก็บรักษาในถงั น้าแข็ง เพ่อื นาไปศึกษาในหอ้ งปฏิบตั ิการเช่นกนั 3. การใช้เคร่ืองมอื ประจาที่ ปลาจดั เป็ นสัตวท์ ี่อยใู่ นไฟลมั คอร์ดาตา ซ่ึง Nelson (1994) ไดจ้ ดั จาแนกปลาไวใ้ นหนงั สือ Fishes of the World เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษาเป็นหมวดหมู่ ดงั น้ีคือ 3.1 Class Myxini Order Myxiniformes Family Myxinidae; แฮกฟิ ช (hagfish) (ภาพท่ี 119.1) 3.2 Class Pteraspidomorphi เป็นปลาโบราณ เช่น ปลาธีโลดอนท์ (สูญพนั ธุ์แลว้ ) 3.3 Class Cephalaspidomorphi Family Petromyzontidae; แลมเพรย์ (lampreys) (ภาพที่ 119.2) 3.4 Class Placodermi พลาโคเดิร์ม (สูญพนั ธุ์แลว้ ) 3.5 Class Chondrichthyes Order Chimaeriformes Family Callorhynchidae; ปลา plownose chimaeras Family Chimaeridae; ปลา ratfishes Family Rhinochimaeridae; ปลา longnose chimaeras Order Heterodontiformes Family Heterodontidae; ปลาฉลามหนา้ ววั ลาย ฉลามหวั ทู่ (bullhead shark, horn shark) (ภาพที่ 119.3) Order Orectolobiformes Family Parascyllidae; ปลา collard carpet shark Family Brachaeluridae; ปลา blind shark Family Orectolobidae; ปลาฉลามกบ ปลาฉลามหิน (wobbegons) (ภาพที่ 119.4) Family Hemiscylliidae; ปลาฉลามกบ ปลาฉลามหิน (bamboo shark) (ภาพท่ี 119.5) Family Ginglymostomatidae; ปลาฉลามกบ (nurse shark) Family Stegostomatidae; ปลาฉลามเสือดาว (zebra shark) (ภาพที่ 119.6) Family Rhincodontidae ปลาฉลามวาฬ (whale shark) (ภาพท่ี 119.7) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 247 Order Carcharhiniformes Family Scyliorhinidae; ปลาฉลามแมว (cat shark) (ภาพท่ี 119.8) Family Proscylliidae; ปลาฉลามหูดา (finblack cat shark) Family Pseudotriakidae; ปลาฉลาม false cat shark Family Leptochariidae; ปลาฉลาม barbeled houndshark Family Triakidae; ปลาฉลามหมา (houndshark) (ภาพท่ี 119.9) Family Hemigaleidae; ปลาฉลามหนู (weasel shark) (ภาพที่ 119.10) Family Carcharhinidae; ปลาฉลามหวั ฆอ้ น (reguiem shark) (ภาพท่ี 119.11) Order Lamniformes Family Odontaspididae; ปลาฉลามทราย (sand tiger shark) (ภาพที่ 119.12) Family Mitsukurinidae; ปลาฉลามโกบลิน (goblin shark) Family Pseudocarchariidae; ปลาฉลามจระเข้ (crocodile shark) Family Megachasmidae; ปลาฉลามปากกวา้ ง (megamouth shark) (ภาพท่ี 119.13) Family Alopiidae; ปลาฉลามหางยาว (tresher shark) (ภาพที่ 119.14) Family Cetorhinidae; ปลา basking shark Family Lamnidae; ปลาฉลามปากหมา (macheral shark) (ภาพท่ี 119.15) Order Hexanchiformes Family Chlamydoselachidae; ปลา Frill shark Family Hexanchidae; ฉลามปากจิง้ จก (cow shark) (ภาพท่ี 119.16) Order Squaliformes Family Echinorhinidae; ปลาฉลาม bramble shark Family Dalatiidae; ปลาฉลาม sleeper shark Family Centrophoridae Family Squalidae; ปลาฉลามหลงั หนาม (dogfish shark) (ภาพท่ี 119.17) Order Squatiniformes Family Squatinidae; ปลาฉลามนางฟ้ า (angel shark) (ภาพที่ 119.18) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 248 119.1 Family Myxinidae 119.2 Family Petromyzontidae ปลาแฮกฟิ ช (hagfish) ปลาแลมเพรย์ (lampreys) ท่ีมา : Shao (1994a) ท่ีมา : Levin (2003) 119.3 Family Heterodontidae 119.4 Family Orectolobidae ปลาฉลามหนา้ ววั ลาย (zebra bullhead shark) ปลาฉลามกบญ่ีป่ ุน (Japanese wobbegons) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ท่ีมา : ทศั พล และคณะ (2549) 119.5 Family Hemiscylliidae 119.6 Family Stegostomatidae ปลาฉลามกบลายเสือ (whitespotted bamboo shark) ปลาฉลามเสือดาว (zebra shark) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 249 119.7 Family Rhincodontidae 119.8 Family Scyliorhinidae ปลาฉลามวาฬ (whale shark) ปลาฉลามกบลายหินอ่อน (marbled catshark) ท่ีมา : Postberg (2000) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.9 Family Triakidae 119.10 Family Hemigaleidae ปลาฉลามหมาจุดขาว (houndshark) ปลาฉลามหนู (snaggletooth weasel shark) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.11 Family Carcharhinidae 119.12 Family Odontaspididae ปลาฉลามหวั คอ้ น (reguiem shark) ปลาฉลามทราย (sand tiger shark) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 250 119.13 Family Megachasmidae 119.14 Family Alopiidae ฉลามปากกวา้ ง (megamouth shark) ปลาฉลามหางยาวหนา้ หนู (tresher shark) ที่มา : Kaewnuratchadosorn (2002) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.15 Family Amnidae 119.16 Family Hexanchidae ปลาฉลามปากหมา (macheral shark) ปลาฉลามปากจิง้ จก (sharpnose sevengill shark) ที่มา : Chow (2001) ท่ีมา : Flescher (1997) 119.17 Family Squalidae 119.18 Family Squatinidae ปลาฉลามหลงั หนามยาว (pink dogfish shark) ปลาฉลามนางฟ้ า (angel shark) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : ทศั พล และคณะ (2549) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 251 Order Pristiophoriformes Family Pristiophoridae; ปลาฉลามฉนาก (saw shark) Order Rajiformes (ปลากระเบน) Family Pristidae; ปลาฉนาก (saw fishes) (ภาพที่ 119.19) Family Torpedinidae; ปลากระเบนไฟฟ้ า (electric rays) (ภาพท่ี 119.20) Family Narcinidae Family Rhinidae; ปลาโรนิน (dow mouthed angel fish) (ภาพท่ี 119.21) Family Rhinobatidae; ปลาโรนนั (guitarfishes) (ภาพท่ี 119.22) Family Rajidae; ปลากระเบนสเกต (skates) (ภาพที่ 119.23) Family Plesiobatidae ปลากระเบนน้าลึก (deepwater stingray) Family Dasyatidae; ปลากระเบน ปลากระบาง ปลากระเบนน้าจืด ปลากระเบนธง (stingrays) (ภาพที่ 119.24) Family Urolophidae; ปลากระเบน round stingrays (ภาพที่ 119.25) Family Gymnuridae; ปลากระเบนผเี ส้ือ (butterfly rays) (ภาพที่ 119.26) Family Myliobatidae; ปลากระเบนนก ปลากระเบนราหู (eagle rays) (ภาพที่ 119.27) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 252 119.19 Family Pristidae 119.20 Family Torpedinidae ปลาฉนาก (saw fishes) ปลากระเบนไฟฟ้ า (electric rays) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.21 Family Rhinidae 119.22 Family Rhinobatidae ปลาโรนิน (dow mouthed angel fish) ปลาโรนนั (guitarfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.23 Family Rajidae 119.24 Family Dasyatidae ปลากระเบนสเกต (sandpaper shates) ปลากระเบนหวั แหลม (stingrays) ทีมา : Orlov (2004) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 253 119.25 Family Urolophidae 119.26 Family Gymnuridae ปลากระเบน round stingrays ปลากระเบนผเี ส้ือ (butterfly rays) ที่มา : Keiichi (1995) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.27 Family Myliobatidae 119.28 Family Protopteridae ปลากระเบนนก (longheaded eagle rays) ปลาปอดแอฟริกา (west African lungfish) ท่ีมา : Khan (2000) ท่ีมา : Teigler (2003) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 254 3.6 Class Acanthodii สูญพนั ธุ์ไปหมดแลว้ 3.7 Class Sarcopterygii บางชนิดสูญพนั ธุ์ไปแลว้ แตท่ ่ีมีชีวติ ไดแ้ ก่ Order Coelacanthiformes Family Coelacanthidae; ปลาซีลาแคนธ์ (coelacanth) Order Ceratodontiformes Family Ceratodontidae; ปลาปอดออสเตรเลีย (Australian lungfish) Order Lepidosireniformes Family Lepidosirenidae; ปลาปอดอเมริกาใต้ (south American lungfish) Family Protopteridae; ปลาปอดแอฟริกา (African lungfish) (ภาพที่ 119.28) 3.8 Class Actinopterygii ปลากระดูกแขง็ Order Polypteriformes Family Polypteridae; ปลาไบเชอร์ (bichirs) Order Acipenseriformes Family Acipenseridae; ปลาสเตอร์เจียน (sturgeons) (ภาพที่ 119.29) Family Polyodontidae; ปลาปากเป็ด (paddlefishes) (ภาพท่ี 129.30) Order Semionotiformes Family Lepisosteidae; ปลาการ์ (gars) (ภาพท่ี 119.31) Order Amiiformes Family Amiidae; ปลาโบวฟ์ ิ น (bowfin) (ภาพที่ 119.32) Order Osteoglossiformes Family Osteoglossidae; ปลาตะพดั ปลาอะโรวานา (bongtongues) (ภาพที่ 119.33) Family Pantodontidae; ปลาผเี ส้ือ (butterflyfish) (ภาพที่ 119.34) Family Hiodontidae; ปลา mooneyes Family Notopteridae; ปลากราย ปลาฉลาด ปลาสะตือ (featherfin knifefishes) (ภาพท่ี 119.35) Family Mormyridae; ปลาชา้ ง (elephantfishes) (ภาพท่ี 119.36) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 255 119.29 Family Acipenseridae 119.30 Family Polyodontidae ปลาสเตอร์เจียน (sturgeons) ปลาปากเป็ด (Mississippi paddlefishes) ท่ีมา: Frank (2003) ท่ีมา : Lovshin (1999) 119.31 Family Lepisosteidae 119.32 Family Amiidae ปลาการ์ (gars) ปลาโบวฟ์ ิ น (bowfin) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : Cline (2007) 119.33 Family Osteoglossidae 119.34 Family Pantodontidae ปลาตะพดั (bongtongues) ปลาผเี ส้ือ (freshwater butterflyfish) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : Malkowski (2005) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 256 119.35 Family Notopteridae 119.36 Family Mormyridae ปลาฉลาด (featherfin knifefishes) ปลาชา้ ง (elephantfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : Fishbase (2010) 119.37 Family Elopidae 119.38 Family Megalopidae ปลาตาเหลือก (tenpounders) ปลาตาเหลือกส้ัน (tarpons) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.39 Family Anguillidae 119.40 Family Muraenidae ปลาตูหนา (freshwater eels) ปลาไหลมอร์เรย์ (moray eels) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 257 Family Gymnarchidae; ปลา Gymnarchus Order Elopiformes Family Elopidae; ปลาตาเหลือกยาว (tenpounders) (ภาพที่ 119.37) Family Megalopidae; ปลาตาเหลือกส้นั (tarpons) (ภาพท่ี 119.38) Order Albuliformes Family Albulidae; ปลาโบนฟิ ช (bonefishes) Family Halosauridae; ปลาฮาโลซอร์ (halosaurs) Family Notacanthidae; ปลาไหลทะเลลึก (spiny eels) Order Anguilliformes Family Anguillidae; ปลาตหู นา (freshwater eels) (ภาพท่ี 119.39) Family Heterenchelyidae; ปลา heterenchelys Family Moringuidae; ปลาไหลสปาเก็ตตี (spaghetti eels) Family Chlopsidae; ปลาไหลทะเล (false morays) Family Myrocongridae; ปลาไหลทะเล (myroconger) Family Muraenidae; ปลาไหลมอเรย์ (moray eels) (ภาพที่ 119.40) Family Synaphobranchidae; ปลาไหล Cutthroat eels Family Ophichthidae; ปลาไหลงู (snake eels) Family Colocongridae; ปลาสกลุ Colgconger Family Derichthyidae; ปลาไหลคอยาว (longneck eels) Family Muraenesocidae; ปลายอดจาก (pike congers) (ภาพที่ 119.41) Family Nemichthyidae; ปลาไหลปากส้อม (snipe eels) Family Congridae; ปลาหลดบาง (conger eels) Family Nettastomatidae; ปลา duckbill eels Family Serrivomeridae; ปลา sawtooth eels Order Saccopharyngiformes Family Cyematidae; ปลา bobtail spine eels Family Saccopharyngidae; ปลา swallowers Family Eirypharyngidae; ปลากลั เปอร์ (gulpers) Order Clupeiformes (ปลาไม่มีกา้ นครีบแขง็ เกล็ดแบบไซคลอยด)์ วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 258 119.41 Family Muraenesocidae 119.42 Family Deticipitidae ปลายอดจาก (pike congers) ปลากะตกั (dentic herring) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.43 Family Engraulidae 119.44 Family Chirocentridae ปลาแมวหูดา Setipinna melanochir ปลาดาบลาว Chirocentrus darob (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.45 Family Clupeidae 119.46 Family Chanidae ปลาตะเพยี นน้าเคม็ (herrings) ปลานวลจนั ทร์ทะเล (milkfishes) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 259 Family Denticipitidae; ปลา dentick herring (ภาพท่ี 119.42) Family Engraulidae; ปลาหางไก่ ปลาไส้ตนั ปลาแมวหูยาว (anchovies) (ภาพท่ี 119.43) Family Chirocentridae; ปลาดาบลาว (wolf herring) (ภาพท่ี 119.44) Family Clupeidae; ปลาตะเพียนน้าเคม็ ปลาหลงั เขียว ปลาอกแรกลว้ ย (herrings) (ภาพท่ี 119.45) Order Gonorhynchiformes (ปลาไม่มีฟันที่ขากรรไกร) Family chanidae; ปลานวลจนั ทร์ทะเล ปลาชะล่ิน (milk fish) (ภาพที่ 119.46) Family Gonorhynchidae; ปลาเห็ดโคน (beaked sandfishes) (ภาพที่ 119.47) Family Phractolaemidae; ปลา snake mudhead (ภาพที่ 119.48) Order Cypriniformes Family Cyprinidae; ปลาไน ปลาตะเพยี นขาว ปลาทอง ปลายสี่ กเทศ ปลากะโห้ (carps) (ภาพที่ 119.49) Family Gyrinocheilidae; ปลารากกลว้ ย ปลาลูกผ้งึ (algae eaters) (ภาพที่ 119.50) Family Catostomidae; ปลาซคั เกอร์ (sucker) (ภาพที่ 119.51) Family Cobitidae; ปลาหมู (loaches) (ภาพท่ี 119.52) Family Balitoridae; ปลาหมูแมน่ ้า (river loaches) (ภาพที่ 119.53) Order Characiformes (ปลาขนาดเลก็ ไมม่ ีเกลด็ ) Family Erythrinidae; ปลา trahiras Family Ctenoluciidae; ปลา pike characids Family gasteropelecidae; ปลา freshwater hatchetfishes Family Characidae; ปลา characins Order siluriformes Family Diplomystidae; ปลา diplomystid caffishes Family Ictaluridae; ปลา north America freshwater catfishes Family Bagridae; ปลาแขยง (bagrid catfishes) (ภาพท่ี 119.54) Family Cranoglanididae; ปลาดุกหวั เกราะ (armorhead catfishes) Family Siluridae; ปลาเน้ืออ่อน ปลาชะโอน (sheatfishes) (ภาพท่ี 119.55) Family Schilbeidae; ปลาสวายต่างประเทศ (schilbeid catfishes) Family Pangasiidae; ปลาสวาย ปลาบึก ปลาเทพา ปลาเทโพ (catfishes) (ภาพท่ี 119.56) Family Amphiliidae; ปลา loach catfishes วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 260 119.47 Family Gonorhynchidae 119.48 Family Phractolaemidae ปลาเห็ดโคน (beaked sandfishes) ปลา snake mudhead ท่ีมา : Randall (1995) ที่มา : Sazima (2007) 119.49 Family Cyprinidae 119.50 Family Gyrinocheilidae ปลาตะเพยี นขาว (carp) ปลารากกลว้ ย (algae eaters) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : สุจินต์ และ อรุณี (2552) 119.51 Family Catostomidae 119.52 Family Cobitidae ปลาซคั เกอร์ (sucker) ปลาหมลู ายเสือ (tiger spiny loaches) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ท่ีมา : สุจินต์ และ อรุณี (2552) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 261 119.53 Family Balitoridae 119.54 Family Bagridae ปลาคอ้ หมูแดง (loaches) ปลาแขยง (bagrid catfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.55 Family Siluridae 119.56 Family Pangasiidae ปลาเน้ืออ่อน (sheatfishes) ปลาเทพา (catfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.57 Family Sisoridae 119.58 Family Clariidae ปลาแค้ (sisorid catfishes) ปลาดุกรัสเซีย (airbreathing catfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 262 Family Sisoridae; ปลาแค้ ปลากดดา (sisorid catfishes) (ภาพที่ 119.57) Family Amblycipitidae; ปลาดกั (torrent catfishes) Family Akysidae; ปลาขยยุ ปลาสามเข้ียว (stram catfishes) Family Chacidae; ปลาดุกน้าจืดในอินเดีย (frogmouth catfishes) Family Clariidae; ปลาดุกอุย ปลาดุกดา้ น ปลาดุกรัสเซีย (airbreathing catfishes) (ภาพที่ 119.58) Family Heteropneustidae; ปลาจีด (airsac catfishes) (ภาพที่ 119.59) Family Malapteruridae; ปลาดุกไฟฟ้ า (electric catfishes) (ภาพที่ 119.60) Family Ariidae; ปลากดทะเล ปลากดหวั อ่อน (sea catfishes) (ภาพที่ 119.61) Family Plotosidae; ปลาดุกทะเล (eeltail catfishes) (ภาพที่ 119.62) Family Mochokidae; ปลา squeakers Family Doradidae; ปลา thorny catfishes Family Ageneiosidae; ปลา bottlenose Family Auchenipteridae; ปลา drift wood catfish Family Pimelodidae; ปลา long–whiskered catfishes Family Cetopsidae; ปลา whalelike catfishes Family Hypophthalmidae; ปลา look down catfishes Family Aspredinidae; ปลา banjo catfishes Family Trichomycteridae; ปลา pencil catfishes Family Callichthyidae; ปลา callichthyid armored catfishes Family Scoloplacidae; ปลา sping dwarf catfishes Family Loricariidae; ปลา sucker mouth armored catfishes Family Astroblepidae; ปลา climbing catfishes Order Gymnotiformes (กลุ่มปลาไหลไฟฟ้ า) Family Sternopygidae; ปลา glass knifefishes Family Rhamphichthyidae; ปลา sand knifefishes Family Apteronotidae; ปลา ghost knifefishes Family Gymnotidae; ปลา naked back knifefishes Family Electrophoridae; ปลา electric knifefishes วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 263 119.59 Family Heteropneustidae 119.60 Family Malapteruridae ปลาจีด (airsac catfishes) ปลาดุกไฟฟ้ า (electric catfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.61 Family Ariidae 119.62 Family Plotosidae ปลากดข้ีลิง (sea catfishes) ปลาดุกทะเล (eeltail catfishes) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) ที่มา : ประทีป และธาฎา (2552) 119.63 Family Salmonidae 119.64 Family Synodontidae ปลาแซลมอน (salmon) ปลาปากคม (lizard fishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 264 Order Esociformes Family Esocidae; ปลา pikes Family Umbridae; ปลา mudminnows Order Osmeriformes Family Argentinidae; ปลา argentines หรือ herring smelt Family Bathylagidae; ปลา deep sea smelts Family Opisthoproctidae; ปลา barreleyes Family Alepocephalidae; ปลา slickhead Family Osmeridae; ปลา smelts Family Salangidae; ปลา ice fishes หรือ noodlefishes Family Retropinnidae; ปลา New Zeland smelt Family Lepidogalaxiidae; ปลา salamanderfishes Order Salmoniformes Family Salmonidae; ปลาแซลมอน (salmon) (ภาพที่ 119.63) Order Stomiiformes (ปลาทะเลลึก ที่มีอวยั วะเรืองแสง) Family Gonostomatidae; ปลา bristle mouths Family Sternoptychidae; ปลาสกลุ Argyropelecus sp. Family Photichthyidae; ปลาเรืองแสง (lightfishes) Family Stomiidae; ปลา arbeled dragonfishes) Order Ateleopodiformes Family Ateleopodidae; ปลา jellynose fishes Order Aulopiformes Family Giganturidae; ปลา elescope fishes Family Aulopodidae; ปลา aulopus Family Chlorophthalmidae; ปลา greeneyes Family Scopelarchidae; ปลา pearleyes Family Notosudidae ; ปลา waryfishes Family Synodontidae; ปลาปากคม ปลาตุก๊ แก (lizard fishes) (ภาพท่ี 119.64) Family Paralepididae; ปลา barracudinus Family Anotopteridae; ปลา daggertooth วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 265 Family Evermannellidae; ปลา sarbertooth fishes Family Alepisauredae; ปลา lancetfishes Order Myctophiformes Family Myctophidae; ปลาทะเลเรืองแสง (lanternfishes) Order Lampridiformes Family Lamprididae ปลา opahs Family Stylephoridae; ปลา tube eye หรือ thread–tail Family Lophotidae; ปลา crestfishes Family Trachipteridae; ปลา ribbonfishes Order Polymixiiformes Family Percopsidae; ปลา trout perches Family Aphredoderidae; ปลา pirate perch Family Amblyopsidae; ปลาถ้า (cavefishes) Order Ophidiiformes Family Carapidae; ปลา carapids Family Ophidiidae; ปลา cusk eel Family Bythitidae; ปลา viviparous brotulas Family Parabrotulidae; ปลา false brotulas Order Gadiformes Family Ranicipitidae; ปลา tadpole cod Family Euclichthyidae; ปลา eucla cod Family Macrouridae; ปลา grenadier (rattails) Family Moridae; ปลา morid cod หรือ moras Family Melanonidae; ปลา pelagic cod Family Macruronidae; ปลา southern hacks Family Bregmacerotidae; ปลา codlets Family Muraenolepididae; ปลา eel cods Family Phycidae; ปลา phycid hakes Family Merlucciidae; ปลา merluccid hakes Family Gadidae; ปลาคอด (cod) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 266 Order Batrachoidiformes Family Batrachoididae; ปลาคางคก (toadfishes) (ภาพที่ 119.65) Order Lophiiformes Family Lophiidae; ปลา goose fishes Family Antennariidae; ปลากบ (frogfishes) (ภาพที่ 119.66) Family Brachionichthyidae; ปลา hand fishes Family Chaunacidae; ปลา coffinfishes หรือ sea toads Family Ogcocephalidae; ปลาคา้ งคาว (bat fishes) (ภาพท่ี 119.67) Family Himantolophidae; ปลา football fishes Family Centrophrynidae; ปลา deepsea anglerfish Family Ceratiidae; ปลา seadevils Family Gigantactnidae; ปลาสกุล Gigantactic sp. Family Linophrynidae; ปลาสกลุ Linophryne sp. Order Mugiliformes Family Mugilidae; ปลากระบอก (mullets) (ภาพท่ี 119.68) Order Atheriniformes Family Melanotaeniidae; ปลา rainbowfishes Family Pseudomugilidae; ปลา blue eyes Family Atherinidae; ปลาหวั แขง็ (silverside) Family Notocheiridae; ปลา sailfin silverside Family Phallostethidae; ปลาบใู่ ส (ภาพท่ี 119.69) Order Beloniformes Family Adrianichthyidae; ปลา adrianichthyids Family Belonidae; ปลากระทุงเหว (needlefishes) (ภาพที่ 119.70) Family Scomberesocidae; ปลา sauries Family Exocoetidae; ปลานกกระจอก (flyingfishes) (ภาพท่ี 119.71) Family Hemiramphidae; ปลาเขม็ ปลากระทุงเหว ปลากะตกั (halfbeaks) (ภาพท่ี 119.72) Order Cyprinodontiformes Family Aplocheilidae; ปลา rivulines Family Profundulidae; ปลา middle American killifishes วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 267 119.65 Family Batrachoididae 119.66 Family Antennariidae ปลาคางคกทะเล (toadfishes) ปลากบ (frogfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.67 Family Ogcocephalidae 119.68 Family Mugilidae ปลาคา้ งคาว (bat fishes) ปลากระบอก (mullets) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.69 Family Phallostethidae 119.70 Family Belonidae ปลาบ่ใู ส ปลากระทุงเหว (needlefishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 268 119.71 Family Exocoetidae 119.72 Family Hemiramphidae ปลานกกระจอก (flyingfishes) ปลาเขม็ (halfbeaks) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.73 Family Anablepidae 119.74 Family Poeciliidae ปลาสี่ตา (four eyed fishes) ปลาหางนกยงู (poeciliids) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.75 Family Cyprinodontidae 119.76 Family Holocentridae ปลาหวั ตะกว่ั (pupfishes) ปลาขา้ วเมา่ น้าลึก (squirrel fishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 269 Family Electrophoridae; ปลา electric knifefishes Family Fundulidae; ปลา topminnows and killifishes Family Anablepidae; ปลาส่ีตา (four eyed fishes) (ภาพท่ี 119.73) Family Poeciliidae; ปลากินยงุ ปลาหางดาบ ปลาหางนกยงู (poeciliids) (ภาพท่ี 119.74) Family Goodeidae; ปลา Goodeids (splitfins) Family Cyprinodontidae; ปลาหวั ตะกวั่ (pupfishes) (ภาพที่ 119.75) Order Stephanoberyciformes Family Melamphaidae; ปลา bigscale fishes หรือ ridgeheads Family Gibberichthyidae; ปลา gibberfishes Family Stephanoberycidae; ปลา prickle fishes Family Rondeletiidae; ปลา red mouth whale fishes Family Barbourisiidae; ปลา red whale fishes Family Cetomimidae; ปลา flabby Family Mirapinnidae; ปลา mirapinnids Family Megalomycteridae ปลา largenose fishes Order Beryciformes Family Anoplogastridae; ปลา fang tooths Family Diretmidae; ปลา spingtins Family Anomalopidae; ปลา flashlight fishes Family Monocentrida; ปลา pinecone fishes Family Trachichthyidae; ปลา roughies หรือ slimeheads Family Berycidae; ปลา alfonsinos Family Holocentridae; ปลาขา้ วเมา่ (squirrel fishes) (ภาพที่ 119.76) Order Zeiformes Family Parazenidae; ปลา parazen Family Zeidae; ปลา dories Family Oreosomatidae; ปลา oreos Family Grammicolepididae; ปลา grammicolepidids Family Caproidae; ปลา boarfishes Order Gasterosteiformes วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 270 Family Hypoptychidae; ปลา sand eel Family Aulorhynchidae; ปลา tubesnouts Family Gasterosteidae; ปลา sticklebacks Family Pegasidae; ปลาจระเขห้ ิน ปลามงั กรทะเล (seamoths) (ภาพท่ี 119.77) Family Solenostomidae; ปลา ghost pipe fishes Family Syngnathidae; ปลามา้ น้า ปลาจิ้มฟันจระเข้ (seahorse and pipe fishes) (ภาพที่ 119.78) Family Aulostomidae; ปลาปากแตร (trumpet fishes) Family Fistulariidae; ปลาปากแตร ปลาสามรส (cormet fishes) (ภาพที่ 119.79) Family Macroramphosidae; ปลา snipe fishes Family Centriscidae; ปลาขา้ งใส (shrimp fishes) (ภาพที่ 119.80) Order Synbranchiformes Family Sybranchidae; ปลาไหลน้าจืด (swamp eels) (ภาพที่ 119.81) Family Chaudhuriidae; ปลาหลดแคระ (ภาพที่ 118.82) Family Mastacembelidae; ปลาหลด ปลากระทิง (sping eels) (ภาพท่ี 119.83) Order Scorpaeniformes Family Dactylopteridae; ปลานกฮูก (flying gurnards) (ภาพที่ 119.84) Family Scorpaenidae; ปลากะรังหวั โขน ปลาหวั โขน ปลาสิงโต (scorpion fishes) (ภาพที่ 119.85) Family Caracanthidae; ปลา orbicular velvetfishes Family Aploactinidae; ปลา velvet fishes Family Pataecidae; ปลา Australian prowfishes Family Gnathanacanthidae; ปลา red velvetfish Family Congiopodidae; ปลา racehorse, horse fishes Family Triglidae; ปลามงั กร (searebins, gurnards) Family Bembridae; ปลา deepsater flatheads Family Platycephalidae; ปลาหวั แบน ปลาหางควาย (flatheads) (ภาพที่ 119.86) Family Hoplichthyidae; ปลา ghost flatheads Family Anoplopomatidae; ปลา sable fishes Family Hexagrammidae; ปลา greenlings วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 271 119.77 Family Pegasidae 119.78 Family Syngnathidae ปลาจระเขห้ ิน (seamoths) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ปลามา้ น้า (seahorse) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.79 Family Fistulariidae 119.80 Family Centriscidae ปลาปากแตร (cormet fishes) ปลาขา้ งใส (shrimp fishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.81 Family Sybranchidae 119.82 Family Chaudhuriidae ปลาไหลน้าจืด (swamp eels) ปลาหลดแคระ (Spineless eels) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ท่ีมา : Baird และคณะ (1999) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 272 119.83 Family Mastacembelidae 119.84 Family Dactylopteridae ปลาหลดลาย (sping eels) ปลานกฮูก (flying gurnards) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.85 Family Scorpaenidae 119.86 Family Platycephalidae ปลาสิงโต (scorpion fishes) ปลาหวั แบน (flatheads) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : ประทีป และธาฎา (2552) 119.87 Family Centropomidae 119.88 Family Chandidae ปลากะพงขาว (snooks) ปลาขา้ วเมา่ (ฟsiatic glassfishes) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 273 Family Rhamphocottidae; ปลา grunt sculpin Family Cottidae; ปลา sculpins Family Comephoridae; ปลา baikal oilfishes Family Agonidae; ปลา poachers Family Psychrolutidae; ปลา fathead sculpins Family Cyclopteridae; ปลา lumpfishes Family Liparidae; ปลา snailfishes Order Perciformes Family Centropomidae; ปลากะพงขาว กะพงแสม (snooks) (ภาพที่ 119.87) Family Chandidae; ปลาแป้ นแกว้ ขา้ วเมา่ (asiatic glassfishes) (ภาพท่ี 119.88) Family Moronidae; ปลา temperafe basses Family Percichthyidae; ปลา temperate perches Family Acropomatidae; ปลา temperatte ocean basses Family Serranidae; ปลาเก๋า ปลาหมอทะเล (sea basses) (ภาพที่ 119.89) Family Pseudochromidae; ปลา dotty backs Family Grammatidae; ปลา basslets Family Opistognathidae; ปลา jawfishes Family Centrarchidae; ปลา sunfishes Family Percidae; ปลา Perches Family Priacanthidae; ปลาตาโต ปลาตาหวาน (bigeyes) (ภาพท่ี 119.90) Family Apogonidae; ปลาอมไข่ (cardinalfishes) (ภาพที่ 119.91) Family Epigonidae; ปลา deepwater cardinalfishes Family Sillaginidae; ปลาเห็ดโคน ปลาช่อนทราย (sillago) (ภาพที่ 119.92) Family Malacanthidae; ปลา tilefishes Family Lactariidae; ปลาทบั ขนุน ปลาญวน (false trevallies) (ภาพท่ี 119.93) Family Dinolestidae; ปลา long finned pike Family Pomatomidae; ปลา blue fishes Family Nematistiidae; ปลา roosterfish วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 274 119.89 Family Serranidae 119.90 Family Priacanthidae ปลาเก๋า (sea basses) ปลาตาหวาน (bigeyes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.91 Family Apogonidae 119.92 Family Sillaginidae ปลาอมไข่ (cardinalfishes) ปลาเห็ดโคน (sillago) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) 119.93 Family Lactariidae 119.94 Family Echeneidae ปลาใบขนุน (false trevallies) ปลาเหาฉลาม (sharksuckers) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 275 Family Echeneidae; ปลาเหาฉลาม (sharksuckers) (ภาพท่ี 119.94) Family Rachycentridae; ปลา cobia Family Coryphaenidae; ปลาอีโตม้ อญ (dolphinfishes) (ภาพท่ี 119.95) Family Carangidae; (jack and pompanos ปลาสีกนุ ปลาสาลี ปลามง่ แซ่ ปลาจาระเมด็ ดา (ภาพที่ 119.96) Family Menidae; ปลาพระจนั ทร์ (moonfishes) (ภาพท่ี 119.97) Family Leiognathidae; ปลาแป้ น (ponyfishes) (ภาพท่ี 119.98) Family Bramidae; ปลา pornfrets Family Caristiidae; ปลา manefishes Family Emmelichthyidae; ปลา rover Family Lutjanidae; ปลากะพงแดง ปลากะพงทะเล (snappers) (ภาพท่ี 119.99) Family Lobotidae; ปลาเสือตอ ปลากะพงหิน (tripletails) (ภาพท่ี 119.100) Family Gerreidae; ปลาดอกหมาก (moljarras) (ภาพที่ 119.101) Family Haemulidae; ปลาขา้ งตะเภา (grunts) (ภาพท่ี 119.102) Family Inermiidae; ปลา bonnet month Family Sparidae; ปลาคุด ปลาจาน (porgies) (ภาพท่ี 119.103) Family Centracanthidae Family Lethrinidae ปลาหมสู ีลาย (emperors หรือ emperor breams) (ภาพท่ี 119.104) Family Nemipteridae; ปลาทรายแดง ปลาทรายขาว ปลาสายรุ้ง (threadfin breams) (ภาพที่ 119.105) Family Polynemidae; ปลากเุ รา ปลาหนวดพราหมณ์ (threadfins) (ภาพท่ี 119.106) Family Sciaenidae; ปลาจวด (drums) (ภาพที่ 119.107) Family Mullidae; ปลาแพะทองเหลือง ปลาขนุน (goatfishes) (ภาพท่ี 119.108) Family Pempheridae; ปลากระด่ีทะเล (sweeper) (ภาพที่ 119.109) Family Glaucosomatidae; ปลา pearl perches Family Leptobramidae; ปลา beachsalmon Family Monodactylidae; ปลาเฉ่ียว ปลาโสร่งแขก (moonyfishes) (ภาพที่ 119.110) Family Toxotidae; ปลาเสือพน่ น้า (archerfishes) (ภาพท่ี 119.111) Family Coracinidae; ปลา galjoen fishes Family Drepanidae; ปลาใบโพธ์ิ (dreptane) (ภาพท่ี 119.112) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 276 119.95 Family Coryphaenidae 119.96 Family Carangidae ปลาอีโตม้ อญ (dolphinfishes) ปลาขา้ งเหลือง (jack and pompanos) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.97 Family Menidae 119.98 Family Leiognathidae ปลาพระจนั ทร์ (moonfishes) ปลาแป้ น (ponyfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา: ประทีป และธาฎา (2552) 119.99 Family Lutjanidae 119.100 Family Lobotidae ปลากะพงสีเลือด (snappers) ปลากะพงหิน (ripletails) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 277 119.101 Family Gerreidae 119.102 Family Haemulidae ปลาดอกหมาก (moljarras) ปลาสร้อยนกเขา (grunts) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.103 Family Sparidae 119.104 Family Lethrinidae ปลาจาน (porgies) ปลาหมสู ีแกม้ แดง (emperor breams) ที่มา : Froese and Pauly (2010) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.105 Family Nemipteridae 119.106 Family Polynemidae ปลาทรายขาวหูแดง (threadfin breams) ปลากเุ ราหนวดส่ีเส้น (threadfins) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : ประทีป และธาฎา (2552) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 278 119.107 Family Sciaenidae 119.108 Family Mullidae ปลาจวดหวั ทู่ (กrums) ปลาแพะทองเหลือง (goatfishes) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.109 Family Pempheridae 119.110 Family Monodactylidae ปลากระด่ีทะเล (sweeper) ปลาเฉี่ยว (moonyfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.111 Family Toxotidae 119.112 Family Drepanidae ปลาเสือพน่ น้า (archerfishes) ปลาใบโพธ์ิ (drepane) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 279 Family Chaetodontidae; ปลาผเี ส้ือ ปลาโนรี (butterflyfishes) (ภาพท่ี 119.113) Family Pomacanthidae; ปลาสินสมุทร (angelfishes) (ภาพที่ 119.114) Family Enoplosidae; ปลา oldwife Family Pentacerotidae; ปลา armorheads Family Nandidae; ปลาหมอชา้ งเหยยี บ (leaffishes) (ภาพที่ 119.114) Family Kyphosidae; ปลาสลิดทะเล (sea chubs) (ภาพท่ี 119.115) Family Arripidae; ปลา Australasian salmon Family Teraponidae; ปลาขา้ งตะเภา ปลาออดแอด ปลาขา้ งลาย (grunters) (ภาพที่ 119.116) Family Kuhliidae; ปลา flagtails Family Oplegnathidae; ปลา knifejaws Family Cirrhitidae; ปลา hawlefishes Family Chironemidae; ปลา kelpfishes Family Aplodactylidae; ปลา marblefishes Family Cheilodactylidae; ปลา morwongs Family Latridae; ปลา trumpeters Family Ceoplidae; ปลา bandfishes Family Elassomatidae; ปลา Pygmy sunfishes Family Cichlidae; ปลานิล ปลาหมอเทศ (cichlids) (ภาพท่ี 119.117) Family Embiotocidae; ปลา surfperches Family Pomacentridae; ปลาการ์ตนู ปลาสลิดหิน (damselfishes) (ภาพท่ี 119.118) Family Labridae; ปลานกขนุ ทอง (wrasses) (ภาพท่ี 119.119) Family Scaridae; ปลานกแกว้ (parrotfishes) (ภาพที่ 119.120) Family Bathymasteridae; ปลา ronquils Family Zoarcidae; ปลา eelpouts Family Stichaeidae; ปลา pricklebacks Family Cryptacanthodidae; ปลา wrymanths Family Pholidae; ปลา gunnels Family Anarhichadidae; ปลา wolffishes วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 280 119.113 Family Chaetodontidae 119.114 Family Pomacanthidae ปลาผเี ส้ือปากยาว (butterflyfishes) ปลาสินสมุทร (angelfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.115 Family Nandidae 119.116 Family Kyphosidae ปลาหมอชา้ งเหยยี บ (leaffishes) ปลาสลิดทะเล (sea chubs) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.117 Family Teraponidae 119.118 Family Labridae ปลาขา้ งลาย (grunters) ปลานกขนุ ทอง (wrasses) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 281 119.119 Family Pomacentridae 119.120 Family Scaridae ปลาการ์ตูน (damselfishes) ปลานกแกว้ (rusty parrotfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.121 Family Uranoscopidae 119.122 Family Blenniidae ปลากบ (stargazers) ปลากระบ่ี (combtooth blennies) ที่มา : Sainsbury และคณะ (1985) ท่ีมา : ไพโรจน์ และคณะ (2542) 119.123 Family Gobiesocidae 119.124 Family Callionymidae ปลาบตู่ ิด (clingfishes) ปลามงั กรนอ้ ย (scooter dragonets) ท่ีมา : Love (2000) ที่มา : Randall (1997) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 282 Family Ptilichthyidae; ปลา quillfish Family Zaproridae; ปลา prowfishes Family Scytalinidae; ปลา graveldiver Family Nototheniidae; ปลา cod icefishes Family Harpagiferidae;ปลา plunderfishes Family Bathydraconidae; ปลา antarctic dragon fishes Family Channichthyidae; ปลา crocodile icefishes Family Champsodontidae ; ปลาตุก๊ แกแคระ (sabre gills) Family Pholidichthyidae; ปลา convict blenny Family Trichodontidae; ปลา sandfishes Family Pinguipedidae; ปลา sandperches Family Trichonotidae; ปลา sanddivers Family Creediidae; ปลา sandburrowers Family Percophidae; ปลา duckbills Family Leptoscopidae; ปลา southern sandfishes Family Ammodytidae; ปลา sand lances Family Trachinidae; ปลา Weeverfishes Family Uranoscopidae; ปลากบ ปลาอุก ปลาอุบ (stargazers) (ภาพที่ 119.121) Family Tripterygiidae; ปลา triplefin blennies Family Dactyloscopidae; ปลา sand stargazers Family Labrisomidae; ปลา labrisomids Family Clinidae; ปลา clinids Family Chaenopsidae; ปลา pinkblennies หรือ tubeblenies Family Blenniidae; ปลากระบ่ี (combtooth blennies) (ภาพที่ 119.122) Family Icosteidae; ปลา ragfish Family Gobiesocidae; ปลาบตู่ ิด (clingfishes) (ภาพที่ 119.123) Family Callionymidae; ปลามงั กรนอ้ ย (dragonets) (ภาพท่ี 119.124) Family Draconettidae Family Rhyacichthyidae; ปลา loach gobies Family Eleotridae; ปลาบู่จาก (sleepers) (ภาพที่ 119.125) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 283 Family Gobiidae; บ่นู ้ากร่อย ปลาท่องเที่ยว ปลาตีน (gobies) (ภาพที่ 119.126) Family Kraemeriidae; ปลาบู่ทะเล (sand gobies) (ภาพที่ 119.127) Family Microdesmidae; ปลา wormfishes and dartfishes Family Schindleriidae Family Kurtidae; ปลา nurseryfishes Family Ephippidae; ปลาหูชา้ ง ปลาคลุด (spadefishes) (ภาพท่ี 119.127) Family Scatophagidae; ปลาตะกรับ (scats) (ภาพท่ี 119.128) Family Siganidae; ปลาสลิดหิน (rabbitfishes) (ภาพที่ 119.129) Family Luvaridae; ปลา louvar Family Zanclidae; ปลาผเี ส้ือเทวรูป (moorish Idol) (ภาพที่ 119.130) Family Acanthuridae; ปลาข้ีตงั เบด็ (surgeonfishes) (ภาพท่ี 119.131) Family Sphyraenidae; ปลาสาก (barracudas) (ภาพท่ี 119.132) Family Gempylidae; ปลา snake mackerels Family Trichiuridae; ปลาดาบเงิน (cutlass fishes) (ภาพที่ 119.133) Family Scombridae; ปลาทู ปลาลงั (mackerels, Tunas) (ภาพที่ 119.134) Family Xiphiidae; ปลากระโทงแทง (billfishes) (ภาพที่ 119.135) Family Centrolophidae; ปลา medusafishes Family Nomeidae; ปลา riftfishes Family Ariommatidae; ปลา ariommatids Family Tetragonuridae; ปลา squaretails Family Stromateidae; ปลาจะละเมด็ ขาว จะละเมด็ เทา (butterfishes) (ภาพท่ี 119.136) Family Luciocephalidae; ปลา pikehead Family Anabantidae; ปลาหมอไทย (climbing gouramies) (ภาพท่ี 119.137) Family Helostomatidae; ปลาหมอตาล ปลากระด่ีจูบ (kissing gouramies) (ภาพท่ี 119.138) Family Belontiidae; ปลากดั ปลาสลิด ปลากริม (gouramies) (ภาพที่ 119.139) Family Osphronemidae; ปลาแรด (giant gouramies) (ภาพที่ 119.140) Family Channidae; ปลาช่อน ปลาชะโด ปลากะสง (snakehead) (ภาพท่ี 119.141) Order Pleuronectiformes Family Psettodidae; ปลาซีกเดียว (psettodids) (ภาพที่ 119.142) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 284 119.125 Family Eleotridae 119.126 Family Gobiidae ปลาบู่ทราย (sleepers) ปลาท่องเที่ยวเกลด็ ใหญ่ (gobies) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) 119.127 Family Ephippidae 119.128 Family Scatophagidae ปลาหูชา้ ง (spadefishes) ปลาตะกรับ (scats) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : ประทีป และธาฎา (2552) 119.129 Family Siganidae 119.130 Family Zanclidae ปลาสลิดหินจุดส้ม (rabbitfishes) ปลาผเี ส้ือเทวรูป (moorish Idol) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316