Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือมีนวิทยา

หนังสือมีนวิทยา

Published by วป. ติณสูลานนท์, 2021-03-08 09:55:52

Description: หนังสือมีนวิทยา

Search

Read the Text Version

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 285 119.131 Family Acanthuridae 119.132 Family Sphyraenidae ปลาข้ีตงั เบด็ (surgeonfishes) ปลาสาก (barracudas) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.133 Family Trichiuridae 119.134 Family Scombridae ปลาดาบเงิน (cutlass fishes) ปลาทู (mackerels) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.135 Family Xiphiidae 119.136 Family Stromateidae ปลากระโทงแทง (billfishes) จาระเมด็ ขาว (butterfishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 286 119.137 Family Anabantidae 119.138 Family Helostomatidae ปลาหมอไทย (climbing gouramies) ปลาหมอตาล (kissing gouramies) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.139 Family Belontiidae 119.140 Family Osphronemidae ปลากดั (fighting fishes) ปลาแรด (giant gouramies) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.141 Family Channidae 119.142 Family Psettodidae ปลาช่อน (snakehead) ปลาซีกเดียว (psettodids) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา

บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 287 Family Citharidae; ปลา citharids Family Bothidae; ปลาลิ้นควาย ปลาใบขนุน (lefteye flounders) (ภาพท่ี 119.143) Family Achiropsettidae; ปลา southern flounders Family Scophthalmidae Family Paralichthyidae Family Pleuronectidae; ปลาลิ้นหมา (righteye flounder) (ภาพที่ 119.144) Family Samaridae; ปลาลิ้นหมาหงอนยาว Family Achiridae; ปลาลิ้นควาย ปลาลิ้นหมา (American soles) Family Soleidae; ปลาลิ้นหมา (soles) (ภาพท่ี 119.145) Family Cynoglossidae; ปลายอดมว่ ง (tonguefishes) (ภาพที่ 119.146) Order Tetraodontiformes Family Triacanthodidae; ปลาววั (spike fishes) (ภาพท่ี 119.147) Family Triacanthidae; ปลาววั หนามยาว ปลาววั จมูกส้ัน (triplespines) (ภาพที่ 119.148) Family Balistidae; ปลากวาง ปลาววั (triggerfishes) (ภาพท่ี 119.148) Family Monacanthidae; ปลาววั หางตดั (file fishes) (ภาพที่ 119.150) Family Ostraciidae; ปลากระดูก ปลาสี่เหลี่ยม (boxfishes) (ภาพที่ 119.151) Family Triodontidae; ปลาปักเป้ า (three toothed putter) (ภาพที่ 119.152) Family Trtraodontidae; ปลาปักเป้ าเขียว ปลาปักเป้ าน้าจืด (puffers) (ภาพที่ 119.153) Family Diodontidae; ปักเป้ าหนามทุเรียน (porcupinefishes) (ภาพที่ 119.154) Family Molidae; ปลาพระอาทิตย์ (molas) (ภาพที่ 119.155) วชิ ามีนวทิ ยา

บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 288 119.143 Family Bothidae 119.144 Family Pleuronectidae ปลาลิ้นควาย ปลาใบขนุน (lefteye flounders) ลิ้นหมา (righteye flounder) ที่มา : ประทีป และธาฎา (2552) ท่ีมา : Sainsbury และคณะ (1985) 119.145 Family Soleidae 119.146 Family Cynoglossidae ปลาลิ้นหมา (soles) ปลายอดมว่ ง (tonguefishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.147 Family Triacanthodidae 119.148 FamilyTriacanthidae ปลาววั (spike fishes) ปลาววั หนามยาว (triplespines) ที่มา : Shao (1994b) ท่ีมา : ประทีป และธาฎา (2552) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 289 119.149 Family Balistidae 119.150 Family Monacanthidae ปลากวาง ปลาววั (triggerfishes) ปลาววั หางตดั (file fishes) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 119.151 Family Ostraciidae 119.152 Family Triodontidae ปลาสี่เหลี่ยม (boxfishes) ปลาปักเป้ า (three toothed putter) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ที่มา : Walter (2001) 119.153 Family Tetraodontidae 119.154 Family Diodontidae ปลาปักเป้ าเขียว (puffers) ปักเป้ าหนามทุเรียน (porcupinefishes) ที่มา : ประทีป และธาฎา (2552) (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ่ีมีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) วชิ ามีนวทิ ยา

บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 290 119.155 Family Molidae ปลาพระอาทิตย์ (molas) ท่ีมา : Hofinger (2002) ภาพที่ 119 ลกั ษณะและรูปร่างของปลาบางวงศท์ ี่มีชีวติ อยใู่ นปัจจุบนั (ต่อ) 4. สรุป อนุกรมวิธานเป็ นการศึกษาท้งั ดา้ นทฤษฎีและปฏิบตั ิของปลาและนามาจดั หมวดหมู่ ตาม หลกั เกณฑ์ท่ีกาหนด ในการศึกษาอนุกรมวิธานของปลาตอ้ งมีการเก็บรวบรวมปลาดว้ ยเครื่องมือ และวธิ ีการต่างๆ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั สภาพแหล่งน้าและวธิ ีการศึกษา หลงั จากจบั ปลาไดแ้ ลว้ ก็นาปลามา แยกชนิดหรืออาจจะดองไวใ้ นกรณีท่ีไม่สามารถแยกชนิดปลาได้ ทาการชง่ั น้าหนกั และวดั ความยาว และนาไปจดั หมวดหมตู่ ามหลกั อนุกรมวธิ าน วชิ ามีนวทิ ยา

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 291 บทปฏิบตั กิ ารท่ี 8 เร่ือง การศึกษาอนุกรมวธิ านปลา การจาแนกพรรณปลา จาเป็นตอ้ งใช้ท้งั ทฤษฏีและการฝึ กปฏิบตั ิเพื่อใหก้ ารจดั จาแนกปลามี ความถูกตอ้ งมากยิ่งข้ึน หากผูด้ าเนินการรู้จกั ปลาเป็ นอยา่ งดี รวมท้งั ปลาท่ีมีลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั ดว้ ยแลว้ ทาให้ไม่ตอ้ งเสียเวลาในการใชค้ ู่มือ (key) ในการศึกษาอนุกรมวิธานของปลาเริ่มตน้ จาก การศึกษาลกั ษณะต่างๆ ภายนอกของปลา เช่น การวดั ความยาวต่างๆ ของปลา การนบั จานวนครีบ จานวนซี่กรองอาหาร จานวนเกล็ด ลกั ษณะฟัน เป็นตน้ จุดประสงค์ 1. บอกช่ือชนิดของปลา 2. แยกและจดั จาแนกปลากระดูกแขง็ ในระดบั ชนิด (species) ได้ อปุ กรณ์ 1. เครื่องมือวดั ความยาว ไดแ้ ก่ เวอร์เนีย แคลิปเปอร์ ฉากไมบ้ รรทดั วดั ปลา 2. เครื่องมือผา่ ตดั 3. เครื่องชง่ั น้าหนกั 4. คู่มือวเิ คราะห์พรรณปลา 5. ถาด 6. กะละมงั 7. กลอ้ งถ่ายรูป 8. ปลาตวั อยา่ งในหอ้ งปฏิบตั ิการ วธิ ีการ 1. นาตัวอย่างปลาท่ีซ้ือมาจากตลาดสดและท่าเทียบเรือประมงสงขลา ที่เก็บรักษาใน ฟอร์มาลิน 10 เปอร์เซ็นต์ โดยมีฉลากระบุ สถานท่ี วนั ที่ ของปลาท่ีเกบ็ ตวั อยา่ ง 2. ปลาท่ีนามาศึกษาน้นั ไดแ้ ก่ ปลาช่อน ปลานิล ปลาดุกดา้ น ปลาหมอไทย ปลากดทะเล ปลาทรายแดง ปลาทู ปลากะพงขาว ปลาตะเพยี นน้าเคม็ ปลาท่องเท่ียวเกล็ดใหญ่ (แต่ไม่ไดเ้ ขียนช่ือ ปลาติดไวท้ ่ีขวดเก็บตวั อยา่ ง) วชิ ามีนวทิ ยา

บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 292 3. นาตวั อย่างปลามาช่งั น้าหนกั และวดั ความยาวต่างๆ (ใช้หน่วยเป็ นเซนติเมตร) ไดแ้ ก่ ความยาวท้งั หมด ความยาวมาตรฐาน ความยาวของครีบหลงั ความลึกของลาตวั ความกวา้ งของตา และความยาวส่วนหวั 4. การนบั จานวนกา้ นครีบ โดยใหน้ บั ท้งั กา้ นครีบแข็งและกา้ นครีบอ่อน แลว้ ใหเ้ ขียนกา้ น ครีบแข็งเป็ นเลขโรมนั ส่วนกา้ นครีบอ่อนเขียนเป็ นเลขอารบิค กา้ นครีบที่นบั ไดแ้ ก่ กา้ นครีบหลงั กา้ นครีบกน้ กา้ นครีบอก และกา้ นครีบทอ้ ง 5. นาขอ้ มูลการวดั การนบั และลกั ษณะภายนอกของปลาตวั อยา่ ง มาเปรียบเทียบกบั คู่มือ วเิ คราะห์พรรณปลาในหอ้ งปฏิบตั ิการ 6. การรายงานผล ให้นกั ศึกษาวดั ความยาวและนบั กา้ นครีบของปลาตวั อยา่ งทุกชนิด ส่วน การวิเคราะห์พรรณปลาให้เลือกเพียงคนละ 1 ชนิด โดยบอกลกั ษณะของปลาตามคู่มือวิเคราะห์ พรรณปลา ต้งั แต่อนั ดบั มาจนถึงระดบั ชนิด พร้อมกบั วาดภาพปลาชนิดน้นั ดว้ ย วชิ ามีนวทิ ยา

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 293 แบบรายงานบทปฏิบตั กิ าร เร่ือง การศึกษาอนุกรมวิธานปลา ช่ือปลา น้าหนกั ความยาว ความยาว ความยาว ความกวา้ ง ความยาว จานวนกา้ นครีบ ท้งั หมด มาตรฐาน ครีบหลงั ตาปลา ส่วนหวั D A P P2 หมายเหตุ : หน่วยความยาวเป็นเซนติเมตร D = ครีบหลงั , A = ครีบกน้ , P= ครีบอก และ P2= ครีบทอ้ ง วชิ ามีนวทิ ยา

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 294 บนั ทกึ การวเิ คราะห์พรรณปลา 1. การชงั่ น้าหนกั และวดั ความยาว 1.1 น้าหนกั ปลา.........................................................................................กรัม 1.2 ความยาวท้งั หมด……………………………………………………..เซนติเมตร 1.3 ความยาวมาตรฐาน.....………………………………………………..เซนติเมตร 1.4 ความยาวครีบหลงั ......………………………………………………..เซนติเมตร 1.5 ความกวา้ งตาปลา.......………………………………………………..เซนติเมตร 1.6 ความยาวส่วนหวั ........………………………………………………..เซนติเมตร 2. จานวนกา้ นครีบ 2.1 ครีบหลงั กา้ นครีบแขง็ ..................อนั กา้ นครีบอ่อน...................อนั 2.2 ครีบกน้ กา้ นครีบแขง็ ..................อนั กา้ นครีบอ่อน...................อนั 2.3 ครีบอก กา้ นครีบแขง็ ..................อนั กา้ นครีบอ่อน...................อนั 2.4 ครีบทอ้ ง กา้ นครีบแขง็ ..................อนั กา้ นครีบอ่อน...................อนั 3. ลกั ษณะของปลาที่ทาการวเิ คราะห์ 3.1 จดั อยใู่ นอนั ดบั (Order)…………………………………………… ลกั ษณะ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. 3.2 จดั อยใู่ นวงศ์ (Family)…………………………………………… ลกั ษณะ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 3.3 จดั อยใู่ นสกุล (Genus)…………………………………………… ลกั ษณะ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. 3.4 จดั อยใู่ นชนิด (Species)…………………………………………… ลกั ษณะ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. สรุป ชื่อปลา...............................................ชื่อวทิ ยาศาสตร์................................................................ วชิ ามีนวทิ ยา

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 295 คาถามท้ายบท 1. หากนกั ศึกษาตอ้ งการเกบ็ ตวั อยา่ งปลาบริเวณทะเลสาบสงขลาตอนนอก ควรใชว้ ธิ ีการใด เพราะเหตุใด 2. จงอธิบายการเตรียมฟอร์มาลิน 10 เปอร์เซ็นต์ จากฟอร์มาลินที่มีฟอร์มาลดีไฮด์ 40 เปอร์เซ็นต์ ในปริมาตรท่ีตอ้ งการจานวน 1 ลิตร 3. จงอธิบายข้นั ตอนการศึกษาอนุกรมวธิ านของปลา มาพอสังเขป วชิ ามีนวทิ ยา

บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 296 เอกสารอ้างองิ ทศั พล กระจา่ งดารา, เสาวมล ภูตีกา, รัตนาวลี พลู สวสั ด์ิ, สมชาย วบิ ุลพนั ธ์, เริงชยั สุจิตโตสกุล และ รังสรรค์ ฉายากุล. 2549. ปลาฉลามทพ่ี บในน่านน้าไทยและน่านนา้ ใกล้เคียง. เอกสาร วิชาการฉบบั ท่ี 17/2549. กรุงเทพฯ : สานกั วิจยั และพฒั นาประมงทะเล กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ประทีป สองแกว้ และธาฎา ศิณโส. 2552. ความหลากหลายของชนิดและการแพร่กระจายของปลา บริเวณกระชังเลยี้ งปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลาตอนนอก. สงขลา : วิทยาลยั - ประมงติณสูลานนท.์ ไพโรจน์ สิริมนตาภรณ์, องั สุนีย์ ชุณหปราณ และเริงชยั ตนั สกลุ . 2542. ทะเลสาบสงขลา. ใน สารานุกรมวฒั นธรรมไทย ภาคใต้ เล่ม 7. กรุงเทพฯ : บริษทั สยามเพรสแมเนจเมน้ ท์ จากดั . หนา้ 3058-3241. วรี ยทุ ธ์ เลาหะจินดา และ วฒุ ิ ทกั ษิณธรรม. 2549. หลกั อนุกรมวธิ านสัตว์. กรุงเทพฯ : ภาควชิ า- สตั ววทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. สันติ พว่ งเจริญ และสมหมาย เจนกิจการ. 2553. การศึกษาพรรณปลา. ใน คูม่ ืออบรมเชิงปฏิบตั ิการ ก า ร ส า ร ว จ แ ล ะ เ ก็ บ ข้อ มู ล ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง ชี ว ภ า พ ใ น พ้ื น ที่ วิ ก ฤ ต ท า ง ค ว า ม หลากหลายทางชีวภาพ จงั หวดั นครศรีธรรมราช พทั ลุง สงขลาและสตูล. คณะประมง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. โรงแรมพาวลิ เลียนสงขลา, 15-17 ธนั วาคม 2553. หนา้ 51-57. สุจินต์ หนูขวญั และ อรุณี รอดลอย. 2552. 100 ชนิดปลาสวยงามของไทย. กรุงเทพฯ : สานกั วจิ ยั สัตว์น้าสวยงามและพรรณไม้น้า สานักวิจยั และพฒั นาประมงน้าจืด กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. Baird, I. G., Inthaphaisy, V., Kisouvannalath, P., Phylavanh, B. and Mounsouphom, B. 1999. The Fishes of Southern Lao. Lao : Lao Community Fisheries and Dolphin Protection Project. Ministry of Agriculture and Forestry. Chow, S. 2001. Family Lamnidae Isurus oxyrinchus, Macheral shark. Retrieved November 25, 2010, from http://www.fishbase.org. Cline, M. 2007. Bowfin from the Coosa River, near Wetumpka, Alabama. Retrieved November 25, 2010, from http://en.wikipedia.org. วชิ ามีนวทิ ยา

บทท่ี 10 อนุกรมวธิ านของปลา 297 Fishbase. 2010. Family Mormyridae (Elephantfishes). Retrieved November 25, 2010, from http://www.fishbase.org. Flescher, D. 1997. Family Hexanchidae Heptranchias perlo, Sharpnose sevengill shark. Retrieved November 25, 2010, from http://www.seafdec.org. Frank, K. T. 2003. Family Acipenseridae, Acipenser baerii. Retrieved November 25, 2010, from http://www.fishbase.org. Froese, R. and Pauly, D. 2010. Argyrops spinifer (Forsskål, 1775) King soldierbream. Retrieved November 22, 2010, from http://www.fishbase.org. Hofinger, E. 2002. Family Molidae, Mola mola. Retrieved November 22, 2010, from http://www.fishbase.org. Kaewnuratchadosorn, P. 2002. Family Megachasmidae, Megachosma pelegios. Retrieved November 21, 2010, from http://www.fishbase.org. Keiichi, M. 1995. Family Urolophidae (Round rays) Urolophus aurantiacus. Tokyo : National Science Museum Fish Section, Department of Zoology Hyakunin-cho. Khan, M. M. 2000. Aetobatus flagellum (Bloch & Schneider, 1801) Longheaded eagle ray. Retrieved November 21, 2010, from http://fishbase.com. Levin, B. A. 2003. Family polyodontidae Eudontomyzon mariae, Ukrainian brook lamprey. Russia : Russian Academy of Sciences, Papanin Institute for Biology of Inland Water. Love, M. 2000. Gobiesox maeandricus. California : University of California Marine Science Institute. Lovshin, L. L. 1999. Polyodontidae Polyodon spathula (Mississippi paddlefishes). Alabama : Auburn University, Department of Fisheries and Allied Aquacultures. Malkowski, P. 2005. Family Pantodontidae ;Pantodon buchholzi (Peters, 1876), Freshwater Butterflyfish, Poland. Retrieved November 19, 2010, from http://fishbase.com. Nelson, J. S. 1994. Fishes of the World. 3 rd ed. London : John Wiley and Sons, Inc. Orlov, A. 2004. Family Rajidae Bathyraja interrupta. Moscow : Russian Federal Research Institute of Fisheries and Oceanography. Postberg, J. 2000. Family Rhincodontidae Rhicodon typus, Whale shark. Retrieved November 19, 2010, from http://www.seafdec.org. วชิ ามีนวทิ ยา

บทที่ 10 อนุกรมวธิ านของปลา 298 Randall, J. E. 1995. Gonorynchus greyi. Retrieved September 9, 2010, from http://fishbase.com. Randall, J. E. 1997. Family Callionymidae, Synchiropus ocellatus. Retrieved November 19, 2010, from http://fishbase.com. Sainsbury, K. J., Kailola, P. J. and Leyland, G. G. 1985. Continental shelf fishes of the Northern and North-western Australia. Retrieved November 19, 2010, from http://fishbase.com. Sazima, I. 2007. Family Phractolacmidae, Snake mudhead. Retrieved November 19, 2010, from http://fishbase.com. Shao, K. T. 1994a. Family Myxinidae Eptatretus burgeri, Inshore hagfish. Taiwan : Academia Sinica Institute of Zoology Nankang, Taipei. Shao, K. T. 1994b. Family Triacanthodidae, Sawspine spike fishes. Taiwan : Academia Sinica Institute of Zoology Nankang, Taipei. Teigler, F. 2003. Family Protopteridae Protopterus annectenss, West African lungfish. Retrieved November 19, 2010, from http://fishbase.com. Walter, T. 2001. Triodon macropterus. Indonesia : Department of Fish Health Indonesia, Faculty of Fisheries and Marine Science, Bogor Agricultural University. วชิ ามีนวทิ ยา

ประวตั ิผู้เขยี น ประทีป สองแกว้ ตำแหน่ง ครูชำนำญกำรพิเศษ (คศ. 3) บำ้ นเกิด บำ้ นทุ่งยำมู ตำบลยโุ ป อำเภอเมือง จงั หวดั ยะลำ การศึกษา วทิ ยำลยั ประมงติณสูลำนนท์ จงั หวดั สงขลำ 2532-2534 (ปวส. กำรประมง) สถำบนั เทคโนโลยกี ำรเกษตรแม่โจ้ จงั หวดั เชียงใหม่ 2534-2536 ปริญญำตรี (ทษ.บ. ประมง) มหำวทิ ยำลยั สงขลำนครินทร์ จงั หวดั สงขลำ 2540-2543 ปริญญำโท (วท.ม. วำริชศำสตร์) ผลงานทางวชิ าการ -กำรบำบดั น้ำทิ้งจำกกำรเล้ียงกุง้ ทะเลแบบพฒั นำโดยใชห้ อยตะโกรมกรำมขำว -กำรเล้ียงหอยตะโกรมกรำมขำวในน้ำทิง้ จำกกำรเล้ียงกุง้ กลุ ำดำแบบพฒั นำ -กำรเล้ียงหอยตะโกรมกรำมขำวในบ่อเล้ียงกุง้ กุลำดำแบบพฒั นำและแหล่งน้ำธรรมชำติ -กำรเล้ียงหอยตะโกรมกรำมขำวในบอ่ พกั น้ำทิง้ จำกกำรเล้ียงกงุ้ ขำวแบบพฒั นำและ น้ำทะเลชำยฝั่ง -กำรประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรตีนตำ้ นจุลินทรียค์ วบคุมโรคเรืองแสงในกุง้ ขำววยั ออ่ น -ควำมหลำกหลำยของชนิดและกำรแพร่กระจำยของประชำกรปลำบริเวณกระชงั เล้ียง ปลำกะพงขำวในทะเลสำบสงขลำตอนนอก -พษิ ของรำกพำหมีต่อปลำน้ำจืดและคุณภำพน้ำในบอ่ เล้ียงปลำ -รับทุนงำนวจิ ยั ของคณะกรรมกำรวจิ ยั แห่งชำติ (วช.) สำขำเกษตรศำสตร์และชีววทิ ยำ -กำรจดั กำรคุณภำพน้ำเพื่อกำรเพำะเล้ียงสตั วน์ ้ำและชีววทิ ยำปลำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook