บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 35 2.3 การแบ่งร่างกายปลาตามแนวระนาบ การแบ่งร่างกายปลาตามแนวระนาบ ตามวธิ ีของ Yapp (1965) ไดด้ งั น้ี (ภาพท่ี 16) 2.3.1 แนวระนาบนอน (horizontal plane หรือ frontal plane) คือ แนวระนาบนอนตามความ ยาวจากดา้ นซา้ ยขวาของลาตวั แนวระนาบน้ีแบง่ พ้ืนที่ดา้ นบนและล่างของตวั ปลา 2.3.2 แนวระนาบด่ิง (longitudinal plane หรือ sagittal plane) คือ แนวระนาบดิ่งความยาว จากบนลงล่างของลาตวั โดยจะแบ่งร่างกายออกเป็นดา้ นซา้ ยและขวา 2.3.3 แนวระนาบขวาง (transverse plane) คือ แนวระนาบที่ตดั ขวางลาตวั แบ่งร่างกาย ออกเป็นส่วนหนา้ และส่วนหลงั 2.3.4 ดา้ นหนา้ (anterior end) คือ ส่วนปลายทางหวั ของปลา 2.3.5 ดา้ นหลงั (posterior end) คือ ส่วนปลายทางหาง ดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั จะถูกแบ่งโดย เส้นระนาบขวาง 2.3.6 ดา้ นบน (dorsal side) คือ พ้ืนท่ีส่วนหลงั ท่ีต้งั อยบู่ นสุดของร่างกาย ซ่ึงเป็ นที่ต้งั ของ ครีบหลงั 2.3.7 ดา้ นล่าง (ventral side) คือ พ้ืนที่ส่วนล่างสุดของลาตวั เป็ นที่ต้งั ของครีบทอ้ งและครีบ กน้ ดา้ นบนและดา้ นล่างถูกแบ่งดว้ ยเส้นระนาบนอน 2.3.8 ดา้ ยซา้ ย (left side) คือ ดา้ นขา้ งท่ีอยทู่ างซ้ายของปลา หากมองปลาทางดา้ นหนา้ จะอยู่ ทางขวามือของผมู้ อง 2.3.9 ดา้ นขวา (right side) คือ ดา้ นขา้ งอยทู่ างขวาของปลา หากมองปลาทางดา้ นหนา้ จะอยู่ ทางซา้ ยมือของผมู้ อง ดา้ นซา้ ยและขวาของปลาถูกแบ่งโดยเส้นแนวระนาบด่ิง วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 36 ดา้ นทา้ ย ดา้ นบน แนวระนาบขวาง ดา้ นหนา้ ดา้ นลา่ ง แนวระนาบนอน ก. ระนาบดา้ นขา้ งของปลาตะกรับ ข. ระนาบมองทางดา้ นหนา้ ภาพที่ 16 การแบ่งระนาบของร่างกายปลา (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 37 2.4 การวดั ขนาดและสัดส่วนของปลา การวดั ขนาดและสดั ส่วนความกวา้ งหรือความยาวของปลา มีดงั น้ี (ภาพท่ี 17) 2.4.1 ความยาวท้งั หมด (total length) เป็นความยาวท่ีวดั โดยเริ่มจากปลายสุดของจะงอยปาก ทางดา้ นหนา้ ไปจนถึงปลายสุดของครีบหาง 2.4.2 ความยาวมาตรฐาน (standard length) เป็ นความยาวที่วดั จากปลายสุดของจะงอยปาก ทางดา้ นหนา้ ไปจนถึงปลายสุดของกระดูกครีบหาง (hypural) 2.4.3 ความยาวหยกั ลึกของหาง (fork length) เป็นความยาวที่เริ่มวดั จากปลายสุดของจะงอย ปากทางดา้ นหนา้ ไปจนถึงมุมแหลมหยกั ลึกของหางปลา การวดั แบบน้ีทาไดเ้ ฉพาะปลาที่มีหางแบบ หยกั ลึกเท่าน้นั 2.4.4 การวดั ความลึกของลาตวั (depth of body) เป็ นการวดั ความยาวในแนวด่ิงจากขอบ ลาตวั ของปลาดา้ นหลงั เม่ือหุบพบั ครีบหลงั วดั ตรงลงมาถึงขอบล่างของลาตวั 2.4.5 การวดั ความกวา้ งของลาตวั (width of body) เป็ นการวดั ระยะทางจากดา้ นขา้ งหน่ึงไป อีกดา้ นขา้ งหน่ึง 2.4.6 การวดั ความยาวหนา้ ตา (preorbital length หรือ snout length) เป็ นการวดั ความยาว ปลายสุดของจะงอยปากไปจนถึงดา้ นหนา้ ของลูกตา 2.4.7 การวดั ความกวา้ งของลูกตาปลา (eye length) เป็ นการวดั จากขอบดา้ นหนา้ ของลูกตา ไปจนถึงขอบดา้ นหลงั ของลูกตาปลา โดยวดั ในแนวเส้นผา่ ศนู ยก์ ลาง 2.4.8 การวดั ความยาวแกม้ ปลา (postorbital length) เป็ นการวดั จากขอบหลงั ตาปลาไป จนถึงขอบปลายสุดของแผน่ ปิ ดเหงือก (operculum) 2.4.9 การวดั ความยาวครีบหลงั อนั แรก (length of first dorsal fin) เป็นการวดั จากขอบ ครีบหลงั ดา้ นหนา้ สุดไปจนถึงขอบครีบหลงั ดา้ นทา้ ยสุดในแนวระนาบเมื่อกางครีบออก 2.4.10 การวดั ความยาวครีบหลงั อนั ท่ีสอง (length of second dorsal fin) เป็ นการวดั ความ ยาวจากขอบกา้ นครีบอนั แรกสุดของกา้ นครีบอนั ที่ 2 ไปจนถึงปลายสุดของกา้ นครีบอนั สุดทา้ ยใน แนวระนาบ เมื่อกางครีบหลงั ออกเตม็ ที่ 2.4.11 ความสูงของครีบหลงั อนั ที่สอง (height of second dorsal fin) เป็ นการวดั จากขอบ ดา้ นหนา้ สุดของโคนกา้ นครีบอนั แรก ไปจนถึงปลายสุดของกา้ นครีบอนั แรกในแนวระนาบเม่ือกาง ครีบหลงั อนั ท่ี 2 ออกเตม็ ท่ี 2.4.12 การวดั ความยาวครีบหูหรือครีบอก (length of pectoral fin) เป็นการวดั จากฐานครีบ บริเวณที่อยใู่ กลแ้ ผน่ ปิ ดเหงือกมากท่ีสุด ไปจนถึงปลายสุดของครีบหูในแนวระนาบ วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 38 2.4.13 การวดั ความยาวครีบกน้ (length of anal fin) เป็ นการวดั จากขอบหนา้ สุดของครีบไป จนถึงขอบหลงั สุดของครีบกน้ ในแนวระนาบ ภาพท่ี 17 การวดั ขนาดและสดั ส่วนของปลา ทม่ี า : Rainboth (1996) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 39 สาหรับการวดั ขนาดสดั ส่วน ความกวา้ งและความยาวส่วนตา่ งๆ ของปลาจากตวั อยา่ งจริงมี แนวทางการปฏิบตั ิดงั น้ี (ภาพที่ 18) ก. การวดั ความยาวท้งั หมด ข. การวดั ความยาวมาตรฐาน ค. การวดั ความยาวหยกั ลึก ง. การวดั ความลึกของลาตวั จ. การวดั ความกวา้ งของลาตวั ฉ. การวดั ความยาวหนา้ ตา ภาพที่ 18 วธิ ีการวดั ขนาดความยาวตา่ งๆ ของปลาตะเพียนขาวจากตวั อยา่ งจริง (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 40 ช. การวดั ความกวา้ งของลูกตาปลา ซ. การวดั ความยาวแกม้ ฌ. การวดั ความยาวของครีบหลงั ญ. การวดั ความสูงของครีบหลงั ฎ. การวดั ความยาวของครีบหู ฏ. การวดั ความยาวของครีบกน้ ภาพท่ี 18 (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 41 3. ลกั ษณะภายนอกของปลา อวยั วะภายนอกของปลาเป็ นสิ่งที่ช่วยปกคลุมและห่อหุ้มให้ปลาสามารถดารงชีวิต วา่ ยน้า และเคลื่อนที่ไดอ้ ย่างปลอดภยั ซ่ึงมีอวยั วะต่างๆ อยู่หลายอย่าง และสามารถแบ่งร่างกายปลาจาก ลกั ษณะภายนอกได้ 3 ส่วน ดงั น้ี (ภาพท่ี 19, 20 และ 21) 1. ส่วนหวั (head) ของปลาเร่ิมจากปลายสุดของจะงอยปากไปถึงขอบปลายสุดของแผน่ ปิ ด เหงือกหรือช่องปิ ดเหงือกช่องสุดทา้ ย ส่วนหวั ประกอบดว้ ยอวยั วะต่างๆ เช่น ตา ปาก ฟัน จมูก รูรับ น้า (spiracle) หนวด เหงือก ลิ้น ท่อทางเดินอาหารส่วนหนา้ บางส่วน สมอง อวยั วะรับสัมผสั พิเศษ และเกล็ด หวั ของปลามีลกั ษณะแตกต่างกนั ปลาที่หากินตามมวลของน้าหวั มกั มีลกั ษณะแบนขา้ ง ส่วนปลาท่ีหากินบริเวณหนา้ ดินหวั ปลาจะแบนจากบนลงล่าง ส่วนหวั ปลาจะมีลกั ษณะรูปร่างคงที่ เนื่องจากมีกะโหลกศีรษะเป็นโครงสร้างห่อหุม้ อยู่ 2. ส่วนลาตวั (trunk หรือ body) เริ่มจากขอบปลายสุดของแผน่ ปิ ดเหงือกจนถึงระดบั เส้น ต้งั ฉากกบั รูทวารหนกั (anus) โดยทว่ั ไปปลาจะมีพ้ืนที่ส่วนของลาตวั มากที่สุด ลาตวั เป็ นส่วนที่ต้งั ของอวยั วะภายในท้งั หมด เป็นที่ต้งั ของครีบเกือบท้งั หมด ยกเวน้ ครีบกน้ และครีบหาง นอกจากน้ียงั เป็นท่ีต้งั ของกลา้ มเน้ือลาตวั และเส้นขา้ งลาตวั ซ่ึงมีประโยชน์ในการเคล่ือนท่ีและรับความรู้สึกของ ปลา นอกจากน้นั ยงั เป็นท่ีต้งั ของอวยั วะภายในท่ีเกี่ยวกบั ระบบทางเดินอาหาร ระบบการขบั ถ่ายและ ระบบสืบพนั ธุ์ สาหรับเกลด็ ปลาจะอยบู่ ริเวณน้ีมากที่สุด 3. ส่วนหาง (tail) เริ่มจากเส้นต้งั ฉากของรูทวารหนกั จนถึงส่วนปลายสุดของครีบหาง ส่วน หางของปลาช่วยในการพยงุ ตวั และเคล่ือนท่ี เป็นส่วนท่ีต้งั ของครีบกน้ และครีบหาง พร้อมท้งั มีส่วน ของมดั กลา้ มเน้ือลายท่ีต่อจากส่วนลาตวั นอกจากน้นั มีส่วนของเกล็ดและเส้นขา้ งลาตวั เช่ือมต่อมา จากส่วนของลาตวั วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 42 ครีบหลงั (Dorsal fin) กระดูกปิ ดเหงือทกา้ ยทอย (Nape) เส้นขา้ งตวั (Lateral line) (Operculum) ครีบหาง (Caudal fin) จะ(Sงnอoยuปt)าก ครีบหู (Pectoral fin) ครีบกน้ (Anal fin) ครีบทอ้ ง (Pelvic fin) ส่วนหาง ส่วนหวั ส่วนลาตวั ภาพที่ 19 การแบ่งร่างกายและลกั ษณะภายนอกของปลากะรังจุดน้าตาล (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ภาพท่ี 20 ลกั ษณะภายนอกของปลาฉลาม (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 43 (pelvic fin) ก. ดา้ นหลงั แผ่นระหว่างจมกู ช่องเหงอื ก (internasal valve) (gill openings) rostrum อวัยวะสืบพันธ์ุเพศผู้ (clasper) ปาก (mouth) ช่องทวาร รูจมกู (nostril) (cloaca) ร่ องจมกู (nasoral groove) หาง (tail) ข. ดา้ นทอ้ ง ภาพที่ 21 ลกั ษณะภายนอกของปลากระเบนหวั แหลม (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 44 สาหรับร่างกายของปลาท้งั 3 ส่วน มีรายละเอียดดงั น้ี 3.1 ส่วนหัว อวยั วะท่ีพบในส่วนหวั ของปลา มีดงั น้ี 3.1.1 หนวดปลา (barbel) เป็ นอวยั วะท่ีเกิดจากเน้ือเยอื่ ช้นั นอก (ectoderm) รูปร่างค่อนขา้ ง กลม ไม่มีโครงกระดูกภายใน หนวดมีหนา้ ที่หลกั ในการสัมผสั โดยเฉพาะหนวดของปลาหนงั บาง ชนิดมีตุ่มรับรสชาติอาหาร (tastebuds) อยู่มาก ปลาแต่ละชนิดมีหนวดมากน้อยแตกต่างกัน สามารถแบ่งหนวดตามตาแหน่งที่ต้งั ได้ 5 ชนิด คือ (ภาพที่ 22) 3.1.1.1 หนวดท่ีอยบู่ นขากรรไกรบน (maxillary barbel) มีขนาดยาวและใหญ่กวา่ หนวดอื่น มี 2 เส้น ต้งั อยบู่ นกระดูกแมกซิลลา (maxilla) พบในปลาดุก ปลาแขยง ปลากดเหลือง ปลากดหิน และปลาแค้ เป็นตน้ 3.1.1.2 หนวดปลาที่อยบู่ นขากรรไกรล่าง (mandibular barbel หรือ mandible barbel) ขนาดใกลเ้ คียงกบั หนวดท่ีอยบู่ นขากรรไกรบน โดยทวั่ ไปมี 1 คู่ พบในปลาดุกอุย ปลาแขยง และ ปลากด เป็นตน้ 3.1.1.3 หนวดบนจะงอยปาก (snout barbel) เป็นหนวดคู่ที่อยบู่ นจะงอยปาก หรือบาง ที่เรียกวา่ หนวดบนฐานของรูจมูก (nasal barbel) พบในปลาช่อน ปลาดุกอุย และปลากด เป็นตน้ 3.1.1.4 หนวดบนจะงอยปาก (rostral barbel) แต่ฝังอยใู่ นร่องที่แบ่งส่วนของจะงอย ปากออกจากส่วนของขากรรไกร อยบู่ นกระดูกพรีแมกซิลลา พบในปลาตะเพยี น 3.1.1.5 หนวดใตค้ าง (mental barbel หรือ chin barbel) อาจเป็ นหนวดคู่หรือหนวด เดี่ยวก็ได้ ปลาบางชนิดหนวดส่วนน้ีมีความยาวและแตกออกเป็ นก่ิงกา้ นสาขาย่อย เช่น ปลาแพะ (ภาพที่ 23) ปลาจวด และปลาคอด (cod) เป็นตน้ nasal barbel mandibular barbels maxillary barbel ภาพที่ 22 ตาแหน่งท่ีต้งั ของหนวดปลา ทมี่ า : Rainboth (1996) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 45 3 cm ภาพท่ี 23 หนวดใตค้ างปลาแพะ (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) 3.1.2 ปากปลา (mouth) ปากปลามีประโยชน์ต่อการหาอาหาร การสร้างรัง การต่อสู้ และการหาอาหาร สาหรับรายละเอียดของปากปลาจะกล่าวเน้ือหาของระบบทางเดินอาหาร 3.1.3 จมูก (nostril หรือ nare) ทาหนา้ ที่รับกลิ่น เพราะมีเส้นประสาทรับกลิ่นมาต่อ เชื่อม ปลาที่มีเส้นประสาทรับกล่ินเป็ นจานวนมาก ทาให้ไวต่อการรับกล่ินมากข้ึน เช่น ปลาฉลาม สามารถรับกลิ่นของเหยอื่ ในระยะทางถึง 1 กิโลเมตร โดยทว่ั ไปจมูกของปลาไม่มีท่อมาต่อเชื่อมกบั เพดาน ยกเวน้ ปลาแฮกฟิ ช แต่จะมีลกั ษณะเป็ นถุงตนั (blind sac) จมูกปลาไม่ทาหน้าท่ีหายใจ โดยทวั่ ไปปลามีจมูก 1-2 คู่ (dirhinous condition) แต่มีไม่ก่ีชนิดที่มีรูจมูก 1 รู (monorhinous condition) เช่น กลุ่มปลาปากกลม เป็นตน้ 3.1.4 ตาปลา (eyes) ทาหนา้ ท่ีเกี่ยวกบั การมองเห็น เนื่องจากมีเส้นประสาทมาเช่ือมต่อ (optic nerve) ตาของปลาที่สามารถมองภาพได้ เน่ืองจากแสงสวา่ งมากระทบกบั วตั ถุแลว้ สะทอ้ นสู่ ตาปลา โดยเซลล์รับภาพ (retina) แปลงสัญญาณแสงให้เป็ นภาพแล้วส่งต่อไปยงั เส้นประสาท สงั เกตเห็นวา่ ปลาที่หากินในเวลากลางคืนลูกตามีขนาดใหญ่ ปลาท่ีหากินในเวลากลางวนั ตามีขนาด ปานกลาง ส่วนปลาท่ีอาศยั ในที่แสงสลวั หรือมืดสนิท ลูกตามีขนาดเล็ก จนบางชนิดไม่มีเลย ตาปลาไม่มีต่อมน้าตา (lachrymal gland) เพราะลูกตาปลาสัมผสั กบั น้าตลอดเวลา ปลา เกือบทุกชนิดไม่มีเยื่อหุ้มตา แต่ปลาฉลามบางชนิด เช่น ปลาฉลามหนู (Halaelurus hispidus) ใน วงศ์ Scyliorhinidae มีเย่ือหุ้มตา (nictitating membrance) (อนุวฒั น์ และอมรา, 2545) ส่วนปลา กระดูกแข็งที่อาศยั อยใู่ นน้าขุ่น มกั มีเย่ือไขมนั (adipose eyelid) (รูปที่ 24) เพ่ือลดการเสียดทาน บางชนิดมีการพฒั นาตาใหม้ องเห็นท้งั ในน้าและบนบก เช่น ปลาส่ีตา (Anableps tetrophthalmus) (ภาพท่ี 25) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 46 ภาพที่ 24 เยอื่ ไขมนั (adipose eyelid) ของตาปลา ทม่ี า : Rainboth (1996) ภาพท่ี 25 ลกั ษณะรูปร่างของปลาส่ีตา ทมี่ า : Hvass (1975) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 47 ส่วนประกอบและหนา้ ท่ีของตาปลามีดงั น้ี (ภาพท่ี 26) 3.1.4.1 เย่ือหุม้ ลูกตา (sclera หรือ sclerotic) หุม้ ลูกตาช้นั นอกสุด มีหนา้ ท่ีใหล้ ูกตา แขง็ แรง 3.1.4.2 กระจกตา (cornea) เป็ นแผน่ เรียบใส โดยทว่ั ไปจะเชื่อมติดกบั เยื่อหุ้มลูกตา (ยกเวน้ ปลาปากกลม) และยึดติดกบั กล้ามเน้ือลูกตา กระจกตาหย่อนหรือตึงตวั ทาให้มีผลต่อ ประสิทธิภาพการรับภาพ กระจกตาอาจมีสีเหลือง สีเขียว หรือเทาก็ได้ หากเรานากระจกตามาตดั ตามขวาง พบวา่ กระจกตาเป็นแผน่ สองแผน่ ซ้อนทบั กนั ระหวา่ งรอยต่อมีสารวุน้ บุอยู่ ในปลาช้นั ต่า ท่ีชอบอาศยั ตามพ้ืนดิน เช่น ปลาตีน ปลาเขือ พบว่าผิวหนงั ใตต้ ามีลกั ษณะนูนข้ึนมาเป็ นแอ่งเล็กๆ สาหรับเก็บน้าหล่อเล้ียงลูกตา 3.1.4.3 ม่านตา (iris) มีหนา้ ที่เปิ ด-ปิ ดเพ่ือกาหนดให้ปริมาณแสงเขา้ สู่ลูกตา ปลา ท่ีวา่ ยน้าบริเวณท่ีแสงสวา่ งมากเกินไป มีรูเปิ ดม่านตา (pupil) เปิ ดเพียงเล็กนอ้ ย แต่ถา้ ปลาวา่ ยน้าใน บริเวณท่ีมีแสงสวา่ งนอ้ ยม่านตามีรูเปิ ดกวา้ งมาก ตาแหน่งของม่านตาอยใู่ ตก้ ระจกตา ปลาบางชนิด ม่านตามีสารกวั นิน (guanin) ช่วยปรับมา่ นตา แต่ปลาไหล ปลาซีกเดียวรูมา่ นตาขนาดคงท่ี 3.1.4.4 แกว้ ตา (lens) แกว้ ตาหรือเลนส์ตาอยหู่ ลงั รูเปิ ดของม่านตา แกว้ ตามีหนา้ ที่ เป็ นตวั ดึงภาพส่งไปยงั เซลลร์ ับภาพ แกว้ ตาปลากระดูกแข็งมีลกั ษณะนูน ส่วนเลนส์ตาปลากระดูก ออ่ นมกั กลมและแบนตรงกลาง แกว้ ตาเป็ นอวยั วะที่ถูกยึดติดกบั ที่โดยผงั พืดและกลา้ มเน้ือมดั เล็กๆ ทาหนา้ ท่ียดื หดแกว้ ตา 3.1.4.5 เซลลร์ ับภาพ (retina) เป็ นกลุ่มเซลลท์ ่ีต้งั อยดู่ า้ นทา้ ยลูกตาปลา เช่ือมต่อกบั เซลลป์ ระสาทรับภาพ (optic nerve) เพอ่ื ส่งต่อไปยงั สมองอีกทอดหน่ึง เซลลร์ ับภาพในลูกตาปลา มี 2 ลกั ษณะ คือ เซลลร์ ับภาพรูปร่างเป็ นแท่ง (rod cells) ทาหนา้ ที่รับภาพในช่วงแสงสลวั ๆ และเซลล์ รับภาพรูปร่างคลา้ ยกรวย (cone cells) ทาหนา้ ท่ีรับภาพไดด้ ีในช่วงแสงสวา่ งมาก เซลลร์ ับภาพของลูกตาปลามีรงควตั ถุไวต่อแสง 2 ชนิด คือ โรดอพซิน (rhodopsin) ไวต่อแสงสีม่วง และพอร์ไฟรอพซิน (porphyropsin) ไวต่อแสงสีแดงท้งั สองชนิดน้ีสร้างจาก วติ ามินเอ ในท่ีมืด เม่ือถูกแสงแดดจะกลายเป็นรงควตั ถุสีเหลือง เรียกวา่ เรตินีน (retinine) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 48 Len ภาพท่ี 26 ส่วนประกอบของตาปลา ทม่ี า : ดดั แปลงจาก Bond (1996) 3.1.5 หูปลา (auditory organ) ปลาไม่มีใบหู มีเฉพาะหูส่วนในเท่าน้นั ทาหนา้ ท่ีรับรู้แลว้ ส่ันสะเทือนและบอกอาการทรงตวั ของปลา ไม่ได้ทาหน้าท่ีรับฟังเสียงเหมือนสัตว์บกทั่วไป เส้นประสาทท่ีเช่ือมกบั หู คือคู่ท่ี 8 (auditory nerve) ส่วนประกอบของหู มีดงั น้ี (ภาพท่ี 27 และ 28) 3.1.5.1 ส่วนถุงแบน (vestibule) มีหนา้ ที่บอกความสมดุลของร่างกาย มี 3 ส่วนคือ ก. ยทู ริคูลสั (utriculus) ต้งั อยสู่ ่วนหนา้ ข. แซคคูลสั (sacculus) อยสู่ ่วนทอ้ ง ค. ลาเจนา (lagena) เป็นติ่งอยดู่ า้ นขา้ งแซคคูลสั 3.1.5.2 ส่วนของหลอดคร่ึงวงกลม (semicircular canal) มีหน้าท่ีรับความรู้สึก เกี่ยวกบั การทรงตวั มี 3 ส่วน คือ ก. หลอดทางดา้ นหนา้ (anterior vertical canal) ข. หลอดทางดา้ นหลงั (posterior vertical canal) ค. หลอดทางแนวนอน (horizontal canal) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 49 ภาพที่ 27 ความแตกตา่ งระหวา่ งส่วนประกอบของหูปลาแซลมอนและปลาไน ทมี่ า : ดดั แปลงจาก Lagler และคณะ (1977) หลอดครึ่งวงกลม ถุงแบน แบน ภาพที่ 28 ส่วนประกอบของหูปลาสวาย (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 50 3.2 ส่วนลาตัว เป็ นส่วนท่ีมีพ้ืนที่มากท่ีสุด มีอวัยวะและโครงสร้างหลายชนิด เช่น ผิวหนัง เกล็ด เส้นขา้ งลาตวั และครีบ สาหรับอวยั วะภายนอกส่วนลาตวั จะขอกล่าวถึงในส่วนของครีบ ซ่ึง ครีบปลาทาหนา้ ท่ีพยุงตวั และช่วยในการเคล่ือนท่ีของปลา ปลาเกือบทุกชนิดมีครีบ แต่ปลาไหล สกลุ Typhlosynbranchus sp. ไมม่ ีครีบเพราะอาศยั อยใู่ นรู ครีบในส่วนลาตวั มี 2 ชนิด คือ ครีบคู่ ไดแ้ ก่ ครีบหูหรือครีบอก (pectoral fins หรือ breast fins) ครีบทอ้ ง (pelvic fins หรือ ventral fins) และครีบเด่ียว ไดแ้ ก่ ครีบหลงั (dorsal fin) ส่วนครีบกน้ (anal fin) ครีบหาง (caudal fin หรือ tail fin) ครีบฝอย (finlet) และครีบไขมนั (adipose fin) ซ่ึงอยใู่ นส่วนของหาง สาหรับครีบในส่วนลาตวั มี ดงั น้ี 3.2.1 ครีบหูหรือครีบอก เป็นครีบคู่ที่อยสู่ ่วนทา้ ยของแผน่ ปิ ดกระพุง้ แกม้ โดยอยขู่ า้ งละ 1 อนั ปลาบางชนิดไม่มีครีบหู เช่น ปลาปากกลม เป็ นตน้ แต่ปลากระดูกแข็งและปลากระดูกอ่อนจะพบ อยเู่ สมอ สาหรับปลานกกระจอก ในวงศ์ Exocoetidae Dactydopteridae และ Gasteropelecidae ครี บหูมีขนาดใหญ่ทาให้สามารถบินข้ึนเหนือน้าได้ โดย Adlington (2001) กล่าวว่า ปลานกกระจอก ในสกุล Cypselurus opisthopus สามารถบินเหนือน้าเป็ นเวลานาน 4-10 วินาที (ภาพท่ี 29) ส่วนปลากระเบนครีบหูแผเ่ ป็นแผน่ กวา้ งช่วยในการวา่ ยน้าไดด้ ี ภาพที่ 29 ครีบหูปลานกกระจอก ทมี่ า : Adlington (2001) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 51 3.2.2 ครีบท้อง ส่วนมากอยบู่ ริเวณทอ้ งปลา อาจมีปลาบางชนิดครีบทอ้ งอยตู่ าแหน่งเย้ืองมา ทางดา้ นหน้าร่างกาย เช่น ปลาลิ้นหมา เป็ นตน้ ตาแหน่งครีบทอ้ งสามารถใชบ้ อกวิวฒั นาการของ ปลาได้ โดยเฉพาะปลาที่ครีบท้องเย้ืองมาทางด้านหน้าของร่างกายมาก จดั เป็ นปลาท่ีมีการ ววิ ฒั นาการดี ส่วนปลาที่ครีบทอ้ งอยใู่ กลร้ ูทวารหนกั มากจะดอ้ ยการพฒั นา ปลาบางชนิดครีบทอ้ ง เปลี่ยนรูปเป็ นอวยั วะช่วยในการยึดเกาะ เช่น ปลาบู่ หรือบางชนิดเปล่ียนรูปเป็ นอวยั วะช่วยในการ ผสมพนั ธุ์ ที่เรียกวา่ คลาสเปอร์ พบในปลาฉลาม และปลากระเบน เพศผู้ สาหรับที่ต้งั ของครีบทอ้ ง มี 3 ตาแหน่ง คือ (ภาพที่ 30) 3.2.2.1 ตาแหน่งคอ (jugular) อยทู่ างดา้ นหนา้ ของครีบหู เป็ นปลาท่ีมีการววิ ฒั นาการ สูง พบในปลาลิ้นหมา และปลาทอ่ งเที่ยว เป็นตน้ 3.2.2.2 ตาแหน่งอก (thoracic) อยใู่ ตค้ รีบหูพอดี พบใน ปลาแขง้ ไก่ ปลาโอ ปลาทู และปลาลงั เป็นตน้ 3.2.2.3 ตาแหน่งทอ้ ง (abdomen) อยู่เย้ืองไปทางดา้ นหลงั ของครีบหูจนถึงใกล้ ครีบกน้ จดั เป็นปลาท่ีมีการววิ ฒั นาการต่า พบใน ปลาโคก และปลาแมว เป็นตน้ ก. ตาแหน่งคอ ข. ตาแหน่งอก ค. ตาแหน่งทอ้ ง ภาพท่ี 30 ตาแหน่งของครีบทอ้ งปลา (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 52 3.2.3 ครีบหลงั เป็ นครีบเด่ียวที่มีส่วนต้งั อยใู่ นส่วนลาตวั โดยทวั่ ไปปลามีครีบหลงั 1 อนั หากมี 2 อนั จะเป็ นครีบหลงั อนั แรก (first dorsal fin) และครีบหลงั อนั ท่ี 2 (second dorsal fin) แยกกนั อยา่ งเห็นไดช้ ดั เจน ปลาบางชนิดครีบหลงั อนั ท่ี 2 เป็ นครีบไขมนั ปลาบางชนิดครีบหลงั อนั ท่ี 3 เรียกวา่ ครีบฝอย เรียงต่อกนั ถึงโคนครีบหาง สาหรับปลาลิ้นหมา ปลาตูหนา และปลาดุกทะเล ครีบหลงั มกั ยาวเช่ือมติดกบั ครีบหาง (ภาพท่ี 31) ก. ครีบหลงั ส้ัน 1 อนั ข. ครีบหลงั ยาว 1 อนั ครีบไขมัน ค. ครีบหลงั 2 อนั ง. ครีบหลงั อนั ที่ 2 เป็นครีบไขมนั ครีบฝอย จ. ครีบหลงั อนั ท่ี 3 เป็นครีบฝอย ฉ. ครีบหลงั ยาวติดกบั ครีบหาง ภาพที่ 31 ครีบหลงั ของปลาแบบต่างๆ (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 53 3.3 ส่วนหาง เป็นส่วนท่ีมีพ้ืนท่ีนอ้ ยเม่ือเปรียบเทียบกบั ส่วนลาตวั ส่วนหางมีความสาคญั ต่อการเคลื่อนที่ และบงั คบั ทิศทางเคลื่อนท่ีของปลา อวยั วะต่างๆ ที่พบในส่วนน้ี ไดแ้ ก่ เกล็ด เส้นขา้ งตวั ครีบกน้ ครีบฝอย ครีบไขมนั ครีบหาง และรูทวารหนกั 3.3.1 ครีบก้น เป็ นครีบเดี่ยวมีตาแหน่งอยทู่ างดา้ นทา้ ยของรูกน้ ขนาดและรูปร่างครีบกน้ ของปลาแต่ละชนิดแตกต่างกนั เช่น ปลาโฉมงามมีกา้ นครีบกน้ เรียวยาว ส่วนปลากินยุง และปลา หางดาบเพศผู้ กา้ นครีบกน้ อนั แรกเปล่ียนไปทาหน้าที่ช่วยสืบพนั ธุ์ เรียกว่า โกโนโพเดียม หรือ อินโทรมิทเตน็ ท์ ออร์แกน (gonopodium หรือ intromittent organ) ปลาส่วนมากมีครีบกน้ 1 อนั ยกเวน้ ปลาซิวแกว้ (Corica sp.) มีครีบกน้ 2 อนั และปลาบางชนิดไม่มีครีบกน้ เช่น ปลากระเบน 3.3.2 ครีบฝอย เป็นครีบเลก็ ๆ มีลกั ษณะเป็นกา้ นครีบอ่อน หนา้ ที่ยงั ไม่ชดั เจน แต่ใชใ้ นการ จดั จาแนกลกั ษณะทางอนุกรมวิธานเท่าน้ัน ครีบฝอยพบเป็ นคู่อยู่ทา้ ยของครีบหลงั และครีบก้น (ภาพที่ 32) พบในปลาโอ ปลาทู ปลาลงั ปลาอินทรี ปลาสีเสียด ปลาสีกุน และปลาแขง้ ไก่ เป็ นตน้ 3.3.3 ครีบไขมนั เป็นครีบเดี่ยวไม่มีกา้ นครีบค้าจุน อยดู่ า้ นทา้ ยครีบหลงั หนา้ ท่ีครีบไขมนั ยงั ไม่เด่นชดั แต่ใชจ้ าแนกกลุ่มปลา พบในปลากดข้ีลิง (Arius sagor) ปลากดเหลือง ปลาแขยง และ ปลากดหิน (ภาพท่ี 33) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 54 ครีบฝอย นม ภาพที่ 32 ลกั ษณะรูปร่างครีบฝอยของปลาโอดา (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) ครีบไขมัน ภาพที่ 33 ลกั ษณะรูปร่างครีบไขมนั ของปลากดข้ีลิง (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 55 3.3.4 ครีบหาง เป็ นครีบเด่ียวท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ ครีบเดี่ยวอื่น อยทู่ า้ ยสุดของลาตวั ครีบหาง ของปลาแต่ละชนิดมีขนาด รูปร่าง และโครงสร้างภายในท่ีแตกต่างกนั ครีบหางของปลาแบ่งตาม ลกั ษณะโครงสร้างภายในได้ 6 ชนิด คือ (ภาพท่ี 34) 3.3.4.1 ครีบหางแบบเฮเทอโรเซอคอล (heterocercal caudal fin) เป็ นครีบหางที่มี แพนหางบนยาวกวา่ แพนหางล่าง ครีบหางแบบน้ีภายในพบกระดูกสันหลงั ขอ้ สุดทา้ ยยกเชิดข้ึนทาง แพนหางตอนบน พบในปลาฉลาม ปลาสเตอร์เจียน และปลาการ์ เป็นตน้ 3.3.4.2 ครีบหางแบบไฮโปเซอคอล (hypocercal caudal fin) เป็ นครีบหางที่แพน ครีบหางบนส้ันกวา่ แพนครีบหางล่าง ปลาท่ีมีหางแบบน้ีมกั สูญพนั ธุ์ไปหมดแลว้ 3.3.4.3 ครีบหางแบบโปรโตเซอคอล (protocercal caudal fin หรือ diphycercal) ครีบหางแบง่ เป็นสองซีกเท่าๆ กนั ดูจากภายนอกมีลกั ษณะคลา้ ยปลายพกู่ นั พบในปลาวยั อ่อนท่ีฟัก ออกจากไข่ทุกชนิด ปลาปากกลม และปลาแอมฟิ ออกซสั (Amphioxus sp.) เป็นตน้ 3.3.4.4 ครีบหางแบบเลพโตเซอคอล (leptocercal tail) เป็ นครีบหางท้งั บนและล่าง ลดขนาดลงลกั ษณะคลา้ ยกบั เส้นเชือก พบในปลาไหล และปลากระเบน เป็นตน้ 3.3.4.5 ครีบหางแบบไอโซเซอคอล (isocercal tail) เป็ นครีบหางที่แพนหางบนและ ล่างเท่ากนั แต่ส่วนปลายกระดูกสันหลงั ไม่จรดกบั ขอบครีบ ครีบหางแบบน้ีแบ่งสองซีกเท่ากนั โดยกระดูกสันหลงั เป็นเส้นแบ่ง พบในปลาดุกทะเล ปลาคอด ปลาดาบเงิน และปลาตูหนา เป็นตน้ 3.3.4.6 ครีบหางแบบโฮโมเซอคอล (homocercal caudal fin) ครีบหางแบบน้ีพบวา่ แผน่ หางมกั แผอ่ อกเป็ นแผ่นแบนใหญ่ พบในปลากระดูกแขง็ ทวั่ ไป เช่น ปลาตะเพียนน้าเค็ม โดย ลกั ษณะภายในประกอบดว้ ยกา้ นครีบและเยือ่ ยึดกา้ นครีบ ทาใหม้ ีลกั ษณะต่างไปจากครีบหางชนิด อ่ืน คือ กระดูกยโู รสไตล์ (urostyle) โคง้ งอข้ึนขา้ งบนเช่ือมต่อจากกระดูกสันหลงั ขอ้ สุดทา้ ย ส่วน กระดูกไฮพูรอล (hypural) จะรวมกนั เป็ นแผน่ (hypural plate) และกา้ นครีบจะต่อออกไปจาก กระดูกไฮพรู อล สาหรับครีบหางปลากระดูกแขง็ แบ่งตามลกั ษณะรูปร่างได้ 6 แบบ คือ (ภาพที่ 35) ก. ครีบหางแบบตดั ตรง (truncate หรือ straight tail) ครีบหางแบบน้ีไม่มี รอยหยกั ลึก พบในปลาสลิดหิน ปลาปักเป้ า ปลาหูช้าง ปลาววั ไก่ตอน ปลาเก๋า ปลาหัวแบนด่าง ปลาคลุด ปลานิล ปลากะพงแสม ปลากระบอก และปลาววั เป็นตน้ ข. ครีบหางแบบกลม (rounded tail) ครีบหางแบบน้ีแผ่ออกเป็ นผืน เดียว ไม่มีการแบ่งครีบเป็ นแพนบนและล่าง ลกั ษณะกลมหรือค่อนขา้ งกลม พบในปลากะพงขาว ปลาช่อน ปลาออสกา้ ปลาชะโด ปลาดุกอุย ปลาหมอเทศ ปลาเสือตอ และปลาตะพดั เป็นตน้ วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 56 ค. ครีบหางแบบใบโพธ์ิ (pointed tail) ครีบหางแบบน้ีรูปร่างกลมโดยมีต่ิง แหลมยื่นออกมาทางส่วนทา้ ยของหางคลา้ ยใบโพธ์ิ พบในปลาท่องเท่ียวเกล็ดใหญ่ ปลาจกั รผาน ปลามา้ ปลาใบปอ ปลาจวด ปลาผเี ส้ือ และปลากริม เป็นตน้ ง. ครีบหางแบบเวา้ พระจนั ทร์เส้ียว (lunate tail หรือ concave) ครีบหางแบบ น้ีจะไม่หยกั เป็ นมุมแหลมมาก พบในปลาแข้งไก่ ปลาอินทรีบ้งั ปลาโอ ปลาทรายขาวหูแดง ปลากะพงขา้ งปาน และปลากระโทงแทง เป็นตน้ จ. ครีบหางแบบเวา้ หยกั ลึก (forked tail) ครีบหางแบบน้ีจะมีรอยหยกั แบ่ง แพนหางขา้ งบนและล่าง พบในปลากุเราหนวดส่ีเส้น ปลาสาลี ปลาม่งกลม ปลาปากกลม ปลาทู ปลาลงั ปลาตาโต ปลาทแู ขก ปลาลูกผ้งึ ปลาตะเพียนน้าเคม็ ปลาดาบลาว ปลาแขง้ ไก่ ปลาหลงั เขียว ปลาดอกหมาก และปลาแพะ เป็นตน้ ฉ. ครีบหางแบบหยกั เวา้ เพียงเล็กนอ้ ย (emarginate tail) ครีบหางแบบน้ี หากดูผวิ เผนิ ครีบหางคลา้ ยกบั แบบตดั ตรง ต่างกนั ท่ีมีเพียงรอยหยกั มุมแหลมเกิดข้ึนเท่าน้นั พบใน ปลาตะกรับ ปลากะพงขา้ งปาน ปลาเห็ดโคน ปลาลูกผ้งึ และปลาขา้ งตะเภา เป็นตน้ ก. ครีบหางแบบเฮเทอโรเซอคอล ข. ครีบหางแบบโฮโมเซอคอล ค. ครีบหางแบบเลพโตเซอคอล ง. ครีบหางแบบไอโซเซอคอล ภาพท่ี 34 รูปร่างครีบหางของปลาแบบตา่ งๆ (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 57 ก. หางแบบตดั ตรง ข. หางแบบกลม ค. หางแบบใบโพธ์ิ ง. หางเวา้ พระจนั ทร์เส้ียว จ. หางแบบเวา้ หยกั ลึก ฉ. หางแบบเวา้ เลก็ นอ้ ย ภาพท่ี 35 ครีบหางของปลากระดูกแขง็ ทม่ี า : ประทีป และธาฎา (2552) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 58 4. ลกั ษณะอวยั วะภายในของปลา อวยั วะภายในช่องวา่ งของตวั ปลา จะมีอวยั วะที่เก่ียวขอ้ งกบั กบั ระบบต่างๆ เช่น อวยั วะใน ระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบการย่อยอาหาร ระบบสืบพนั ธุ์และระบบการขบั ถ่าย เป็ นตน้ การ ทางานทุกระบบเป็ นไปอย่างอตั โนมตั ิ สาหรับอวยั วะภายในของตวั ปลาจะกล่าวถึงอวยั วะรอบ หวั ใจและช่องทอ้ ง มีดงั น้ี (ภาพท่ี 36) 4.1 หวั ใจ (heart) หวั ใจของปลามีสีแดงเขม้ อย่บู ริเวณอกดา้ นใตข้ องเหงือก ปลาฉลามมีหวั ใจใหญ่แบ่งเป็ น ส่วนตา่ งๆ ชดั เจน ส่วนปลากระดูกแขง็ หวั ใจมีขนาดเล็ก 4.2 ตับ (liver) ตบั ของปลาเป็ นพูใหญ่สีเหลือง อยู่เหนือหวั ใจ เย้อื งไปทางดา้ นหลงั เล็กนอ้ ย สีของตบั อาจ แตกต่างกนั บา้ งข้ึนอยูก่ บั ชนิดของปลา โคนของตบั อยตู่ ิดกบั เย่ือยึดผนงั ดา้ นทอ้ งของช่องวา่ ง ตบั ปลากินเน้ือมีขนาดใหญ่กวา่ ตบั ปลากินพืช มีหน้าท่ีสร้างน้ายอ่ ยส่งไปสู่ลาไส้เล็ก นอกจากน้นั ทา หนา้ ที่ เก็บสะสมอาหารจาพวกไขมนั และแยกของเสียท่ีเป็ นด่างจากน้าดี (bile) เก็บไวภ้ ายในตบั ส่วนน้าดีที่บริสุทธ์ิแลว้ ถูกนาออกจากตบั ไปเกบ็ ท่ีถุงน้าดี 4.3 ถุงนา้ ดี (gall bladder หรือ bile sac) ถุงน้าดีเป็ นถุงเล็กๆ รูปร่างกลมๆ หรือยาวรีมีผนงั บางใส ฝังอยใู่ นพูของตบั มีสีเขียว หรือสี น้าเงินข้ึนอยู่กบั ความเขม้ ขน้ ของน้าดี จากถุงน้าดีมีท่อติดต่อกบั ตบั เรียกว่า ซิสติก ดคั ท์ (cystic duct) น้าดีทาหน้าท่ีปรับค่าความเป็ นกรด-ด่างของน้าย่อยให้เหมาะสมในการส่งผ่านท่อน้าดี (common bile duct) เขา้ สู่ลาไส้เลก็ ตอนตน้ 4.4 ตบั อ่อน (pancreas) ตบั ออ่ นเป็นอวยั วะสีเหลืองอ่อน ปลากระดูกแขง็ โดยทว่ั ไปตบั อ่อนอยกู่ ระจดั กระจาย ส่วน ปลากระดูกอ่อนเกาะกลุ่มเป็ นกอ้ นติดอยู่กบั ปลายมา้ ม และมีบางส่วนที่อยู่ติดกบั เยื่อมีเซนเทอรี (mesentery) ปลาบางชนิดตบั อ่อนลดขนาดลงเหลือเพียงเป็ นแถบเส้นใยขาวๆ เท่าน้นั แต่ในปลา บางชนิดบางส่วนของตบั อ่อนจะฝังตวั อยู่ในตบั ตาแหน่งโดยทว่ั ไปของตบั อ่อนจะต้งั อยู่บริเวณ ส่วนทา้ ยของกระเพาะอาหาร ตบั ออ่ นมีหนา้ ท่ีสร้างน้ายอ่ ยอาหารและฮอร์โมน 4.5 ม้าม (spleen) มา้ มมีสีแดงเขม้ มีขนาดเล็กติดอยบู่ ริเวณกระเพาะอาหารส่วนปลาย มกั จะทอดขนานไป ดว้ ยกนั มีหนา้ ท่ีช่วยในการช่วยสร้างเมด็ เลือด วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 59 4.6 กระเพาะอาหาร (stomach) กระเพาะอาหารเป็ นอวยั วะที่ค่อนขา้ งใหญ่อยใู่ ตต้ บั กระเพาะอาหารเป็ นส่วนที่ติดต่อจาก หลอดคอ มีรูปร่างหลายลกั ษณะอาจเป็ นรูปตวั เจ (J) ตวั ยู (U) และรูปเหยียดตรง กระเพาะอาหาร แบ่งออกเป็ นสองส่วน ส่วนตน้ มกั จะโป่ งและพองออก เรียกวา่ cardiac ส่วนปลายมกั จะเรียวเล็ก เรียกวา่ pyloric ในปลาบางชนิดจะมีกระเพาะเสริม เรียกวา่ gizzard อยตู่ ่อจากกระเพาะอาหาร มีกลา้ มเน้ือหนา พบในครอบครัวของปลากระบอก และปลาตะเพียนน้าเคม็ เป็นตน้ 4.7 ลาไส้ (intestine) ลาไส้ของปลาแบ่งออกเป็ นลาไส้เล็ก (small intestine) เป็ นลาไส้ที่อยูส่ ่วนตน้ อยู่ต่อจาก กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็กมีหนา้ ท่ีในการยอ่ ยอาหาร และลาไส้ท่ีอยตู่ อนปลายส่วนสุดทา้ ยท่ีจะเปิ ด ออกสู่ภายนอก เรียกวา่ ลาไส้ใหญ่ (large intestine หรือ rectum) ลาไส้ของปลากระดูกอ่อนจะขยาย พองใหญ่ ภายในจะมีเน้ือเย่ือพบั ซ้อนกนั เป็ นการเพิ่มพ้ืนท่ีช่วยในการดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้ว มี ลกั ษณะเป็ นม้วนซ้อนทบั กนั หลายช้นั เรียกว่า scroll valve หรือมีลกั ษณะเป็ นมว้ นวนคลา้ ย ข้นั บนั ได เรียกวา่ spiral valve ปลาท่ีกินพืชจะมีลาไส้ยาวกวา่ ปลาท่ีกินเน้ือ 4.8 ไส้ตงิ่ (pyloric caeca) ไส้ติ่งส่วนใหญ่พบในปลากระดูกแข็ง ปลาบางชนิดจะไม่มี ไส้ติ่งมีลกั ษณะเป็ นเส้นเล็ก เรียวยาวอย่บู ริเวณลาไส้เล็กตอนตน้ (duodenum) ตรงส่วนทา้ ยของกระเพาะอาหาร ปลาบางชนิด อาจมีไส้ต่ิงมาก 4.9 รังไข่ (ovary) รังไข่เป็ นอวยั วะสืบพนั ธุ์ปลาเพศเมีย มกั เห็นไดช้ ดั เจนในช่วงฤดูผสมพนั ธุ์ เม่ือไข่แก่จะมี สีเหลืองเขม้ ปลากระดูกแข็งโดยทวั่ ไปฝักของรังไข่มีสีเหลืองเป็ นคู่ขนานอยดู่ า้ นบนของช่องตวั สีของรังไข่มีความแตกต่างตามระยะของไข่ ส่วนรังไข่ปลาฉลามจะมีขา้ งเดียวโดยพบมาทาง ดา้ นขวาไม่เป็นฝักยาวเหมือนปลากระดูกแขง็ 4.10 อณั ฑะ (testis) เป็ นอวยั วะสืบพนั ธุ์ของปลาเพศผู้ มกั เห็นไดช้ ดั เจนในช่วงฤดูผสมพนั ธุ์ มีลกั ษณะเป็ น ฝักคู่ขนานอยกู่ บั ดา้ นบนของช่องตวั แต่พออวยั วะน้ีเจริญมากข้ึนอาจมีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปบา้ ง เช่น อณั ฑะของปลาสวายมีลกั ษณะเป็ นกระจุกของถุงเล็กๆ รูปร่างเรียวยาวปลายแหลมอยเู่ ป็ นพวง ใหญ่ เป็นตน้ ส่วนปลาฉลามอณั ฑะมีลกั ษณะเป็นแทง่ ยาวแบน สีครีม มีสองฝักอยตู่ าแหน่งเดียวกบั ท่ีพบรังไข่ นอกจากน้ีปลาฉลามยงั มีอวยั วะอีกชนิดหน่ึงที่เรียกว่า อิพิโกนอล ออร์แกน (epigonal organ) มีลกั ษณะสีเหลือง รูปร่างกลมๆ รีๆ ตอนล่างของอวยั วะน้ีติดกบั เรคตลั แกลนด์ (rectal gland) มีหน้าท่ีเป็ นเย่ือเก็บอาหารสาหรับการเจริญเติบโตของอวยั วะสืบพนั ธุ์ เพราะพบว่าตอนที่ วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 60 ปลาฉลามยงั เล็กอยู่ อิพิโกนอล ออร์แกน จะมีขนาดใหญ่ แต่เมื่อปลามีอวยั วะสืบพนั ธุ์เจริญเตม็ ท่ี อิพิโกนอล ออร์แกน ก็จะเสื่อมสภาพไป สาหรับเรคตลั แกลนด์ เป็ นต่อมชนิดหน่ึงที่พบในปลากระดูกอ่อน ลกั ษณะเป็ นหลอดยาว เล็กๆ มีผนังหนา มีท่อเปิ ดเขา้ ไปในเรคตลั หน้าที่ของต่อมน้ีเป็ นอวยั วะท่ีช่วยในการขบั เกลือ โดยเฉพาะเกลือโซเดียม (Na) และโปแตสเซียม (K) ท่ีมีมากเกินออกจากน้าภายในร่างกายของปลา 4.11 ไต (kidney) ไตมีลกั ษณะสีแดงเกือบเป็ นสีน้าตาล เป็ นคู่ทอดตามยาวอยเู่ หนือช่องตวั ใตก้ ระดูกสันหลงั อยู่นอกเย่ือบุช่องทอ้ ง มีหน้าท่ีขบั ถ่ายของเสียที่เป็ นของเหลวท่ีร่างกายไม่ต้องการออกสู่นอก ร่างกาย 4.12 ถุงลม (swim bladder หรือ air bladder) ถุงลมไม่พบในปลากระดูกอ่อน ส่วนในปลากระดูกแข็งหลายชนิดก็ไม่มีถุงลมเช่นกนั ถุงลมมีลกั ษณะเป็ นถุงสีขาวนวล โดยทว่ั ไปเป็ นถุงเด่ียวผนงั บางขนาดใหญ่เรียวยาวทอดขนานอยู่ ด้านบนของอวยั วะภายในท้งั หมด ส่วนใหญ่ปลายด้านท้ายปิ ดตนั ยกเวน้ ปลาหลงั เขียวในวงศ์ clupeidae บริเวณดา้ นปลายมีรูเปิ ดสู่ภายนอกใกลร้ ูกน้ กระเพาะลมมีท่อเชื่อมต่อกบั ทางเดินอาหาร เรียกว่า ท่อนิวมาติค ดคั ท์ (pneumatic duct) ถุงลมของปลาทาหน้าท่ีช่วยในการลอยตวั ในน้า (hydrostatic organ) และช่วยในการหายใจ ก๊าซภายในถุงลมเป็ นก๊าซผสมประกอบดว้ ยออกซิเจน ไนโตรเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงก๊าซเหล่าน้ีไดม้ าจากเส้นเลือดบนผนงั ถุงลม โดยถุงลมจะ ลดความถ่วงจาเพาะลงทาให้น้าหนกั ของปลามีค่าเท่ากบั น้าหนกั ของน้าที่ถูกปลาแทนที่ ดงั น้นั ปลา จึงทรงตวั อยไู่ ดโ้ ดยมีการช่วยเหลือจากการทางานของกลา้ มเน้ือเพียงเล็กนอ้ ย ปริมาณของก๊าซในถุง ลมข้ึนอยกู่ บั ความดนั ของน้ารอบตวั ปลา และอาจจะปรับเปล่ียนตามความลึก ถา้ ปลาถูกนาข้ึนจาก ทะเลลึกอยา่ งรวดเร็วถุงลมจะโตข้ึนอยา่ งรวดเร็วและถุงลมจะทะลกั ออกทางปาก ปลาบางชนิดใช้ ถุงลมทาใหเ้ กิดเสียง สาหรับปลาปอด (lung fish) ถุงลมทาหนา้ ที่คลา้ ยปอด วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 61 ภาพที่ 36 อวยั วะภายในของปลากระดูกแขง็ ทม่ี า : Adlington (2001) 5. สรุป รูปร่างของปลามีหลายแบบเพ่ือสะดวกในการเคลื่อนไหวและการกินอาหาร ซ่ึงการศึกษา รูปร่างของปลาจาเป็ นตอ้ งมีการวดั ขนาดและสัดส่วนภายนอกโดยใชเ้ ครื่องวดั ต่างๆ เพื่อประโยชน์ ในการศึกษาลกั ษณะทางชีววทิ ยาและอนุกรมวธิ านของปลา ส่วนลกั ษณะภายนอกร่างกายของปลา แบง่ ออกเป็นส่วนหวั ลาตวั และหาง ซ่ึงในแต่ละส่วนประกอบดว้ ยอวยั วะต่างๆ หลายอยา่ ง เช่น ตา ปาก ฟัน หนวด เกลด็ เส้นขา้ งลาตวั และครีบตา่ งๆ เป็นตน้ สาหรับอวยั วะภายในร่างกายของปลาจะ มีอวยั วะอยใู่ นระบบหมุนเวียนโลหิต ระบบย่อยอาหาร ระบบสืบพนั ธุ์ และระบบการขบั ถ่าย เช่น หวั ใจ ตบั ตบั อ่อน ถุงน้าดี มา้ ม กระเพาะอาหาร ลาไส้ ไส้ต่ิง รังไข่ อณั ฑะ ไต และถุงลม เป็ นตน้ วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 62 บทปฏิบตั กิ ารที่ 2.1 เรื่อง รูปร่างและการวดั สัดส่วนของปลา ปลามีรูปร่างแตกต่างกนั ท้งั น้ีเพื่อประโยชน์ในการหาอาหารและเพ่ือพรางศตั รู ซ่ึงรูปร่าง ของปลามีหลายแบบ เช่น แบบกระสวย (fusiform) แบบโกลบิฟอร์ม (globiform) แบบ แองกิลลิฟอร์ม (anguilliform) แบบฟิ ลิฟอร์ม (filiform) แบบทราชิพเทอริฟอร์ม (trachypteriform) แบบกลม (cylindrical) แบบแบนบนล่าง (depressed form) และแบนดา้ นขา้ ง (compressed form) เป็นตน้ ส่วนรูปร่างของหางปลามีหลายแบบ เช่น ปลากระดูกแขง็ มีหางแบบตดั ตรง แบบกลม แบบ เวา้ พระจนั ทร์เส้ียว แบบเวา้ เล็กนอ้ ย แบบใบโพธ์ิ เป็นตน้ ส่วนการวดั ขนาดและสัดส่วนของปลา มีการวดั ความยาวท้งั หมด ความยาวมาตรฐาน ความยาวหยกั ลึก ความลึกลาตวั ความยาวหนา้ ตา ความกวา้ งของตา ความยาวส่วนแกม้ ความสูง ของครีบตา่ งๆ เป็นตน้ จุดประสงค์ 1. บอกลกั ษณะรูปร่างของปลาแบบต่างๆ ได้ 2. บอกลกั ษณะรูปร่างของหางปลาแบบตา่ งๆ ได้ 3. วดั ขนาดและสดั ส่วนของร่างกายปลาได้ อุปกรณ์ 1. เวอร์เนีย แคลิปเปอร์ 2. ฉากไมบ้ รรทดั 3. ตวั อยา่ งปลา ไดแ้ ก่ ปลาโอดา ปลาปักเป้ าจุดเขียว ปลายอดจาก ปลาดาบลาว ปลาตะกรับ ปลากระเบนจมูกส้ัน ปลาสลิดลายส้มจุด ปลาท่องเที่ยวเกล็ดใหญ่ ปลากะพงขาว และ ปลากุเราหนวดสี่เส้น และภาพปลาตหู นา ใชส้ าหรับศึกษารูปร่างลาตวั และรูปร่างของหาง 4. กะละมงั 5. ถาด 6. ปากคีบ วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 63 วธิ ีการ 1. ศึกษาลกั ษณะรูปร่างของปลาโดยดูจากตวั อยา่ งปลาจริงประกอบ ให้นกั ศึกษาบอกช่ือ ปลาภาษาไทย ชื่อวทิ ยาศาสตร์ พร้อมท้งั บอกลกั ษณะรูปร่างของปลาแต่ละชนิด 2. ศึกษาลกั ษณะรูปร่างของหางปลา ให้นกั ศึกษาบอกชื่อปลาท้ังภาษาไทยและชื่อ วทิ ยาศาสตร์ พร้อมท้งั บอกลกั ษณะรูปร่างของหางปลาแต่ละชนิด 3. ศึกษาวดั ขนาดและสัดส่วนของปลา ให้นกั ศึกษาบอกความยาวตามหมายเลขท่ีกาหนด ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษใหค้ รบถว้ น วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 64 แบบบันทกึ การศึกษาลกั ษณะรูปร่างและการวดั ขนาดและสัดส่วนของปลา 1. รูปร่างของปลา 1.1 ชื่อปลา………………………………. ชื่อวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………….. รูปร่าง................................................................................................ 1.2 ช่ือปลา………………………………. ชื่อวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………….. รูปร่าง................................................................................................ 1.3 ช่ือปลา………………………………. ชื่อวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………….. รูปร่าง................................................................................................ 1.4 ชื่อปลา……………………………….. ช่ือวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………….. รูปร่าง................................................................................................ วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 65 1.5 ช่ือปลา……………………………………… ชื่อวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………….. รูปร่าง................................................................................................ 1.6 ช่ือปลา……………………………………… ช่ือวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………….. รูปร่าง................................................................................................ 1.7 ช่ือปลา………………………………………. ชื่อวทิ ยาศาสตร์…………………………………………………….. รูปร่าง................................................................................................ วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 66 2. ลกั ษณะรูปร่างของหางปลา 2.1 ชื่อปลา…………………………… 2.4 ช่ือปลา…………………………….. หางแบบ…………………………….. หางแบบ………………………………. 2.2 ชื่อปลา…………………………..... 2.5 ช่ือปลา ……………………………. หางแบบ………………………………. หางแบบ………………………………. 2.3 ชื่อปลา……………………………. 2.6 ช่ือปลา……………………….......... หางแบบ………………………………. หางแบบ………………………………. วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 67 3. ให้นักศึกษาวดั ขนาดและสัดส่วนของร่างกายปลา โดยศึกษาตวั อย่างปลากะพงขาวจริง โดยให้ ระบุว่าเป็ นการวดั อะไร และความยาวเท่าไร (หน่วยเป็ นเซนตเิ มตร) ⑨ ⑧ ⑩ ⑦ ⑪ ① ②③ ⑥ ⑤ ④ หมายเลข 1……………………………………………………………………………………. หมายเลข 2……………………………………………………………………………………. หมายเลข 3……………………………………………………………………………………. หมายเลข 4……………………………………………………………………………………. หมายเลข 5……………………………………………………………………………………. หมายเลข 6……………………………………………………………………………………. หมายเลข 7……………………………………………………………………………………. หมายเลข 8……………………………………………………………………………………. หมายเลข 9……………………………………………………………………………………. หมายเลข 10……………………………………………………………………………………. หมายเลข 11……………………………………………………………………………………. วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 68 บทปฏิบตั กิ ารที่ 2.2 เร่ือง ลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา อวยั วะภายนอกของปลาเป็นสิ่งท่ีช่วยปกคลุมและห่อหุม้ ใหป้ ลาสามารถดารงชีวิต วา่ ยน้า และเคลื่อนท่ีไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ซ่ึงมีอวยั วะตา่ งๆ อยหู่ ลายอยา่ ง เช่น เกล็ด ตา จมูก เส้นขา้ งตวั ครีบ ตา่ งๆ สาหรับอวยั วะภายในร่างกายปลา เช่น หวั ใจ ตบั ตบั อ่อน ถุงน้าดี มา้ ม กระเพาะอาหาร ลาไส้ ไส้ต่ิง รังไข่ อณั ฑะ ไต และถุงลม เป็นตน้ จุดประสงค์ 1. นกั ศึกษาบอกอวยั วะภายนอกของปลากระดูกอ่อนและปลากระดูกแขง็ ได้ 2. นกั ศึกษาบอกลกั ษณะภายในของปลากระดูกแขง็ ได้ อุปกรณ์ 1. ตวั อยา่ งปลากะรังจุดส้ม ปลากระเบนจมกู ส้ัน ปลานิล 2. ภาพอวยั วะภายในปลากระดูกแขง็ 3. เครื่องมือผา่ ตดั 4. ปากคีบ 5. ถาด 6. กะละมงั วธิ ีการ 1. การศึกษาอวยั วะภายนอกปลากระดูกแข็งและปลากระดูกอ่อนจากเอกสารและตวั อยา่ ง จริง ให้นักศึกษาบอกอวยั วะภายนอกตามหมายเลขที่กาหนด ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษให้ ครบถว้ น 2. การศึกษาอวยั วะภายในของปลานิล โดยให้นกั ศึกษาผ่าดูอวยั วะภายในของปลานิล เปรียบเทียบกบั อวยั วะภายในของปลากระดูกแขง็ จากภาพ แลว้ บอกอวยั วะภายในตามหมายเลขท่ี กาหนดเป็นภาษาไทยใหค้ รบถว้ น วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 69 แบบบนั ทกึ การศึกษาลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 1. ให้นักศึกษาเขียนอวยั วะภายนอกของปลากระดูกแข็งให้ถูกต้องท้งั ภาษาไทยและองั กฤษ ④ ⑤ ③ ② ⑥ ① ⑦ ⑧ ⑨ ⑩ ⑪ ⑫ หมายเลข 1……………………………………………………………………………………. หมายเลข 2……………………………………………………………………………………. หมายเลข 3……………………………………………………………………………………. หมายเลข 4……………………………………………………………………………………. หมายเลข 5……………………………………………………………………………………. หมายเลข 6……………………………………………………………………………………. หมายเลข 7……………………………………………………………………………………. หมายเลข 8……………………………………………………………………………………. หมายเลข 9……………………………………………………………………………………. หมายเลข 10……………………………………………………………………………………. หมายเลข 11……………………………………………………………………………………. หมายเลข 12……………………………………………………………………………………. วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 70 2. ให้นักศึกษาเขียนอวยั วะภายนอกของปลากระดูกอ่อนให้ถูกต้องท้งั ภาษาไทยและองั กฤษ (ด้านหลงั ) ② ①③ ④ ⑥ ⑤ หมายเลข 1………………………………………………………………………………… หมายเลข 2………………………………………………………………………………… หมายเลข 3………………………………………………………………………………… หมายเลข 4………………………………………………………………………………… หมายเลข 5………………………………………………………………………………… หมายเลข 6……………………………………………………………………………… วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 71 ⑦ (ด้านท้อง) ① ⑫ ⑧ ① ① ⑨ ⑬ ①⑩ ① ① ⑭ ⑪ ① ① ⑮ หมายเลข 7…………………………………………………………………………………. หมายเลข 8…………………………………………………………………………………. หมายเลข 9…………………………………………………………………………………. หมายเลข 10………………………………………………………………………………… หมายเลข 11………………………………………………………………………………… หมายเลข 12………………………………………………………………………...…… หมายเลข 13………………………………………………………………………………… หมายเลข 14………………………………………………………………………………… หมายเลข 15……………………………………………………………………………… วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 72 3. จงเขยี นอวยั วะภายในของปลากระดูกแข็งเป็ นภาษาไทยตามหมายเลขทกี่ าหนดให้ถูกต้อง หมายเลข 1……………………………………………………………………………………. หมายเลข 2……………………………………………………………………………………. หมายเลข 3……………………………………………………………………………………. หมายเลข 4……………………………………………………………………………………. หมายเลข 5……………………………………………………………………………………. หมายเลข 6……………………………………………………………………………………. หมายเลข 7……………………………………………………………………………………. หมายเลข 8…………………………………………………………………………………….. หมายเลข 9……………………………………………………………………………………. หมายเลข 10………………………………………………………………………………….... หมายเลข 11……………………………………………………………………………………. หมายเลข 12……………………………………………………………………………………. หมายเลข 13……………………………………………………………………………………. หมายเลข 14……………………………………………………………………………………. หมายเลข 15……………………………………………………………………………………. หมายเลข 16……………………………………………………………………………………. หมายเลข 17……………………………………………………………………………………. วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 73 คาถามท้ายบท 1. รูปร่างปลาแบบ anguilliform กบั trachypteriform แตกตา่ งกนั อยา่ งไร 2. หางแบบ truncate tail กบั lunate tail แตกต่างกนั อยา่ งไร 3. จงอธิบายลกั ษณะครีบหางของปลาแบบไอโซเซอคอล (isocercal tail) มาพอสังเขป 4. จงอธิบายความหมายของคาต่อไปน้ี 4.1 ความยาวมาตรฐาน 4.2 ความยาวหยกั ลึก 4.3 ความยาวหนา้ ตา 4.4 ความลึกของลาตวั 5. ตบั อ่อนของปลามีลกั ษณะอยา่ งไร มีตาแหน่งที่ต้งั และหนา้ ที่อยา่ งไร วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 2 รูปร่างและลกั ษณะภายนอกและภายในของปลา 74 เอกสารอ้างองิ ประทีป สองแกว้ และธาฎา ศิณโส. 2552. ความหลากหลายของชนิดและการแพร่กระจายของปลา บริเวณกระชังเลีย้ งปลากะพงขาวในทะเลสาบสงขลาตอนนอก. สงขลา : วิทยาลยั - ประมงติณสูลานนท.์ อนุวฒั น์ นทีวฒั นา และอมรา ช่ืนพนั ธุ์. 2545. การประมงปลาฉลามของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม. Adlington, F. 2001. Nature Encyclopedia. Oxford : Oxford University Press, Inc. Bond, C.E. 1996. Biology of Fishes. 2nd ed. Philadelphia : Saunders College Publishing. Hvass, H. 1975. Fishes of the World. London : Eyee Methuem Ltd. Lagler, K. F., Bardach, J. E., Miller, R. R. and Passino, D. R. M. 1977. Ichthyology. New York : John Wiley and Sons, Inc. Rainboth, W. J. 1996. Fishes of the Cambodian Mekong. Rome : Food and Agriculture Organization of the United Nations. Yapp, W. B. 1965. Vertebrates : Their Structure and Life. Oxford : Oxford University. วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 3 ส่ิงปกคลุมและโครงร่างของปลา 75 บทท่ี 3 สิ่งปกคลมุ และโครงร่างของปลา (Integument and framework of fishes) จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกและอธิบายส่วนประกอบและหนา้ ที่ของผวิ หนงั ได้ 2. บอกลกั ษณะของเกลด็ ปลาแตล่ ะชนิดได้ 3. อธิบายส่วนประกอบของโครงร่างปลาได้ 4. บอกส่วนประกอบของกะโหลกศีรษะปลากระดูกออ่ นและปลากระดูกแขง็ ได้ 5. บอกและอธิบายส่วนประกอบของกระดูกสนั หลงั ปลาได้ 6. บอกส่วนประกอบกระดูกค้าจุนครีบตา่ งๆ ของปลาได้ เนือ้ หา 1. ความนา ส่ิงที่ปกคลุมและโครงร่างเป็นสิ่งจาเป็นตอ่ การดารงชีพของปลา โดยมีหนา้ ที่ใหร้ ่างกายปลา คงรูปอยไู่ ด้ เป็นเกราะป้ องกนั ภยั ใหแ้ ก่สมองและอวยั วะภายในปลา ช่วยยดึ เหน่ียวกลา้ มเน้ือและเย่อื ตา่ งๆ ท่ีช่วยในการเคล่ือนที่ของปลา และช่วยสร้างเมด็ เลือดใหแ้ ก่ปลา โดยมีรายละเอียดดงั น้ี 2. ส่ิงปกคลมุ ร่างกายปลา สิ่งที่ปกคลุมร่างกายภายนอกของปลาที่สาคญั ไดแ้ ก่ ผิวหนงั เกล็ด เกล็ดแปรรูป และ เส้นขา้ งตวั มีรายละเอียดดงั น้ี 2.1 ผวิ หนัง โครงสร้างส่วนผิวหนงั ของปลาเหมือนกบั ผิวหนงั ของสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั อื่นๆ โดยทา หนา้ ที่ป้ องกนั เช้ือโรคจากภายนอก เป็ นท่ีรวมของอวยั วะรับความรู้สึก ช่วยหายใจ การขบั ถ่ายและ รักษาความสมดุลของเกลือแร่ ผิวหนังของปลาประกอบด้วยเน้ือเย่ือ 2 ช้นั คือ เน้ือเยื่อช้ันนอก เรียกวา่ epidermis และเน้ือเยอื่ ช้นั ใน เรียกวา่ dermis หรือ corium (ภาพที่ 37) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 3 ส่ิงปกคลุมและโครงร่างของปลา 76 2.1.1 ผวิ หนงั ช้นั นอก เจริญมาจากเยอ่ื ectoderm ในสตั วช์ ้นั ต่าเป็นเพียงเยอ่ื ช้นั เดียว แต่พวก cyclostomes และสัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั ช้นั สูง จะมีเยือ่ หลายช้นั ซ่ึงจานวนช้นั ข้ึนอยกู่ บั วา่ อยบู่ ริเวณ ใดของร่างกาย และอายขุ องปลา ช้นั ในสุดเป็นช้นั ที่ทาหนา้ ที่สร้างเซลล์ (active cell) ซ่ึงเกิดจากการ แบ่งเซลลแ์ บบไมโตซิส (mitotic division) และมีต่อมสร้างเมือก (mucous gland) และเซลล์สร้างสี (pigment cell) 2.1.2 ผิวหนังช้ันใน เจริญมาจากเน้ือเยื่อช้ันกลาง (mesoderm) ประกอบด้วย connective tissue พวก cyclostomes ช้ันน้ีจะอยู่กนั หนาแน่น แต่ปลาอ่ืนๆ ผิวหนังช้ันน้ีจะมีท้งั เย่ือหลวมๆ ตอนบน เรียกวา่ stratum vasculare หรือ spongiosum และตอนล่างมีส่วนท่ีหนา เรียกวา่ stratum compactum ปลาท่ีเจริญเต็มวยั ผิวหนงั ช้นั dermis หนากวา่ ช้นั epidermis ความหนาของเย่อื ปกคลุม ข้ึนอยกู่ บั จานวนช้นั และการอดั แน่นของผิวหนงั ช้นั ใน แต่จะมีการเปล่ียนแปลงมากนอ้ ยตามชนิด ของปลาอีกดว้ ย สาหรับผิวหนงั ของปลายงั มีโครงสร้างที่จาเป็ น ซ่ึงทาหนา้ ท่ีสาคญั ต่อร่างกาย ของปลา ไดแ้ ก่ 2.1.2.1 mucous gland อยใู่ นผวิ หนงั ช้นั นอก มีหนา้ ที่สร้างเมือกปกคลุมบนผวิ หนงั 2.1.2.2 poison gland อยใู่ นผวิ หนงั ช้นั นอก ทาหนา้ ที่สร้างสารมีพิษเก็บในถุงอยใู่ กล้ ฐานของ spine 2.1.2.3 chromatophores อยใู่ นผวิ หนงั ช้นั นอกและผวิ หนงั ช้นั ใน เป็ นพวกสร้างสี ตา่ งๆ คือ ดา เหลือง แดง และขาว 2.1.2.4 photophores อยใู่ นผวิ หนงั ช้นั นอก เป็นเซลลท์ ่ีทาหนา้ ท่ีเรืองแสง 2.1.2.5 iridophores เป็นเซลลส์ ร้างผลึกเงินสะทอ้ นแสง (guanine) มกั อยตู่ าแหน่ง ดา้ นทอ้ งของปลา 2.1.2.6 scale, plate และ denticle อยใู่ นผวิ หนงั ช้นั นอก เป็ นพวกโครงสร้างภายนอก (dermal skeleton) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 3 สิ่งปกคลุมและโครงร่างของปลา 77 ภาพที่ 37 ช้นั ผวิ หนงั ของปลากระดูกแขง็ ทม่ี า : ดดั แปลงจาก Lagler และคณะ (1977) 2.2 เกลด็ เกล็ดปลากาเนิดมาจากเน้ือเย้ือช้ันใน มีหน้าที่ป้ องกันอนั ตรายให้ปลา ปลาบางชนิด ไม่มีเกลด็ เรียกวา่ ปลาหนงั (Catfish) ซ่ึงรายละเอียดของเกลด็ มีดงั น้ี 2.2.1 ชนิดของเกลด็ เกลด็ ปลาแบ่งตามลกั ษณะโครงสร้างได้ 4 ชนิด ดงั น้ี (ภาพท่ี 38 และ 39) 2.2.1.1 เกล็ดแบบคอสมอยด์ (cosmoid scale) เป็ นเกล็ดปลาโบราณที่สูญพนั ธุ์ และยงั มีชีวิตอยู่ เช่น ปลาปอด และปลาซีลาแคนท์ เป็ นตน้ เกล็ดแบบคอสมอยด์เป็ นเกล็ดท่ีมีการ เจริญเติบโตเฉพาะดา้ นในเท่าน้นั ส่วนดา้ นนอกท่ีโผล่ออกมาไมม่ ีการเจริญเติบโต 2.2.1.2 เกล็ดแบบกานอยด์ (ganoid scale) เป็ นเกล็ดปลาโบราณท่ียงั มีชีวิตอยู่ใน ยคุ ปัจจุบนั เช่น ปลารีดฟิ ช (reedfish) ปลาการ์ ในวงศ์ Lepisteidae ปลาสเตอร์เจียน ปลาแพดเดิลฟิ ช เป็ น ตน้ ซ่ึงปลาโบราณท่ียงั มีชีวิตอยนู่ ้ี เรียกว่า แอคทินนอฟเทอริเจียน (Actinopterigian) รูปร่างคลา้ ย ขนมเปี ยกปนู 2.2.1.3 เกล็ดแบบพลาคอยด์ (placoid scale) เป็ นเกล็ดปลากระดูกอ่อน เช่น ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลา ratfish เกล็ดชนิดน้ีบางท่ีอาจมีรูปร่างเป็ นแผ่นหรืออาจเป็ นแผง หรืออาจเป็นป่ ุมก็ได้ เกล็ดปลาชนิดน้ีมีขนาดคงท่ีอยเู่ สมอ วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 3 ส่ิงปกคลุมและโครงร่างของปลา 78 2.2.1.4 เกล็ดปลาแบบอีลาสมอยด์ (elasmoid scale หรือ bony ridge) เป็ นเกล็ดปลา กระดูกแขง็ เกล็ดแบบน้ีจะแตกตา่ งจากเกล็ดชนิดอ่ืน ตรงที่ไม่มีช้นั ของสารดีนาเมล (denamel) และ เดนทีน (dentine) เกล็ดชนิดน้ีเพิ่มขนาดทุกด้าน เกล็ดมีเส้นใยคอลลาเจน ทาให้หักง่าย สาหรับ เกล็ดปลาประกอบดว้ ยคอลลาเจน 24 เปอร์เซ็นต์ สารอิชไทเลพิดิน (ichthylepidine) 76 เปอร์เซ็นต์ เกล็ดแบบน้ีสามารถจาแนกได้ 2 ชนิด คือ (ภาพท่ี 39 และ 40) ก. เกล็ดแบบไซคลอยด์ (cycloid scale) มีลกั ษณะเป็ นเกล็ดขอบเรียบไม่มี หนามหรือหยกั เจริญเติบโตออกจากจุดศูนยก์ ลาง (focus) มีรอบวงปี (annulus) รอบจุดศูนยก์ ลาง เป็ นเกล็ดที่หลุดได้ง่าย พบในปลากระดูกแข็งที่มีก้านครีบอ่อน (soft rayed fishes) ได้แก่ ปลาหลงั เขียว ปลาตะเพียน และปลาแซลมอน เป็นตน้ ข. เกล็ดแบบทีนอยด์ (ctenoid scale) มีลกั ษณะเป็ นเกล็ดขอบหยกั ขรุขระมี หนามหรือหยกั เจริญเติบโตจากจุดศนู ยก์ ลาง มีรอบวงปี รอบจุดศูนยก์ ลาง หลุดออกจากตวั ค่อนขา้ ง ยาก มีร่องเกล็ด (groove หรือ radii) เฉพาะส่วนที่ฝังอยใู่ ตผ้ วิ หนงั พบในปลากระดูกแข็งท่ีมีกา้ น ครีบแขง็ (spiny rayed fishes) ไดแ้ ก่ ปลาหมอไทย และปลาสาก เป็นตน้ ภาพท่ี 38 โครงสร้างของเกล็ดปลาแบบตา่ งๆ ทมี่ า : ดดั แปลงจาก Bond (1979) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 3 สิ่งปกคลุมและโครงร่างของปลา 79 ภาพที่ 39 เกล็ดปลาแบบตา่ งๆ ทม่ี า : ดดั แปลงจาก Bond (1979) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 3 สิ่งปกคลุมและโครงร่างของปลา 80 ก. เกลด็ แบบไซคลอยด์ ข. เกล็ดแบบทีนอยด์ ภาพท่ี 40 เปรียบเทียบความแตกตา่ งของเกลด็ แบบไซคลอยดก์ บั เกลด็ แบบทีนอยด์ ทมี่ า : ดดั แปลงจาก Bond (1979) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 3 ส่ิงปกคลุมและโครงร่างของปลา 81 2.2.2 เกลด็ แปรรูป เกล็ดแปรรูปของปลามีหลายลกั ษณะดงั น้ี (ภาพท่ี 41) 2.2.2.1 เกล็ดบริเวณคอดหาง เป็ นตะขอหนามแหลม (lancet) พบในปลาข้ีตงั เบ็ด วงศ์ Teuthidae 2.2.2.2 เกล็ดท่ีคอดหาง ลกั ษณะเป็ นสันแหลมและคม (scute) พบในปลาหางแข็ง วงศ์ Carangidae 2.2.2.3 เกล็ดเป็ นตุ่มหนามทู่บนหลงั (denticle หรือ tubercle) พบในปลากระเบน และปลาซีกเดียว 2.2.2.4 เกลด็ เปลี่ยนเป็นฟัน (jaw teeth) พบในปลาฉลาม 2.2.2.5 เกล็ดเปล่ียนเป็นฟันท่ีจะงอยปาก (saw teeth) พบในปลาฉนาก 2.2.2.6 เกลด็ ท่ีคมสนั ทอ้ ง (belly scute) พบในปลาหลงั เขียว วงศ์ Clupeidae 2.2.2.7 เกล็ดเป็นสันแขง็ ดา้ นขา้ งลาตวั และคอดหาง (lateral scute หรือ caudal scute) พบในปลาแขง้ ไก่ 2.2.2.8 เกลด็ ที่โคนครีบอก (corselet) พบในปลาโอ วงศ์ Thunnidae 2.2.2.9 เกล็ดเป็ นเกราะรอบตวั (dermal armature) พบในปลาปักเป้ าหนามทุเรียน 2.2.2.10 เกล็ดเป็ นเกราะลักษณะเป็ นข้อต่อกัน (semirigid case) พบใน ปลาจิ้มฟันจระเข้ และปลาปากแตร เป็นตน้ 2.2.2.11 เกล็ดเป็ นเกราะบางใสหุ้มลาตวั (cuirass) ยกเวน้ บริเวณโคนหาง พบใน ปลาขา้ งใส 2.2.2.12 เกล็ดแปรรูปมาเป็ นแผน่ หกเหล่ียมต่อกนั (box turtle) ยกเวน้ บริเวณปาก และโคนหาง พบในปลาส่ีเหลี่ยม ในวงศ์ Ostraciidae 2.2.2.13 เกล็ดที่โคนหาง (axillary scale) พบในปลาดาบลาว 2.2.2.14 เกล็ดเป็ นหนามแหลมอยู่บนโคนหาง (sting) พบในปลากระเบนวงศ์ Trygonidae 2.2.2.15 เกล็ดเป็ นตุ่มกระดูกปลายแหลมเรียงเป็ นแถวคลุมบางส่วนของหวั ลาตวั และหาง (bony plate) พบในปลาสเตอร์เจียน วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 3 สิ่งปกคลุมและโครงร่างของปลา 82 ตะขอหนาม ก. ตะขอหนามปลาข้ีตงั เบด็ ข. ตุ่มนูนของเกลด็ ปลาซีกเดียว ค. ฟันปลาฉนาก ง. เกลด็ สนั กระดูกทอ้ งปลาหลงั เขียว จ. เกล็ดสันแขง็ เส้นขา้ งตวั และคอดหาง ฉ. หนามแหลมของปลาปักเป้ าหนามทุเรียน ปลาแขง้ ไก่ ภาพท่ี 41 รูปแบบเกลด็ แปรรูปของปลา (ถ่ายภาพโดย ประทีป สองแกว้ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทที่ 3 สิ่งปกคลุมและโครงร่างของปลา 83 ช. เกราะหุม้ ตวั มา้ น้า ซ. เกราะกระดูกใสปลาขา้ งใส ฌ. เกราะเป็ นกล่องปลาสี่เหลี่ยม ญ. หนามแหลมท่ีหางปลากระเบน ฎ. แผน่ กระดูกปลาสเตอร์เจียน ภาพท่ี 41 (ตอ่ ) วชิ ามีนวทิ ยา
บทท่ี 3 สิ่งปกคลุมและโครงร่างของปลา 84 2.2.3 การนับเกลด็ ปลา ปลาแต่ละชนิดมีเกล็ดไม่เท่ากนั จานวนเกล็ดปลาบางชนิดเปลี่ยนแปลงไปตามอายุ และขนาดของปลา มีวธิ ีการนบั ดงั น้ี (ภาพท่ี 42) 2.2.3.1 นบั เกลด็ จากส่วนหวั ถึงโคนครีบหาง โดยนบั ในแนวเส้นขา้ งตวั 2.2.3.2 นบั เกล็ดจากโคนครีบหลงั ลงมาถึงเส้นขา้ งตวั โดยไม่นบั เกล็ดในแนว เส้นขา้ งตวั 2.2.3.3 นบั เกลด็ จากเส้นขา้ งตวั ลงมาในแนวด่ิงถึงโคนครีบทอ้ ง โดยไม่นบั รวมเกล็ด ในแนวเส้นขา้ งตวั ตวั อยา่ ง นบั เกล็ดปลานิล ไดเ้ ท่ากบั 50-54 10 12 หมายความวา่ ปลานิลมีเกล็ด 13 16 แนวเส้นขา้ งตวั เท่ากบั 50-54 ชิ้น มีเกล็ดจากโคนครีบหลงั ลงมาถึงเส้นขา้ งตวั เท่ากบั 10-12 แถว และมีเกล็ดจากเส้นขา้ งตวั ลงมาในแนวด่ิงถึงโคนครีบทอ้ ง เท่ากบั 13-16 แถว (prsecddaoolerrsssaabllefsficonarlees) slcaatleersalablionvee lateral line scales scales below circumscpaeledsuncular lateral line ภาพที่ 42 การนบั เกลด็ ปลากระดูกแขง็ ทม่ี า : Carpenter and Niem (1999) วชิ ามีนวทิ ยา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316