Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ปลาย

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ปลาย

Published by TANAWICH SEANGRAM, 2022-07-07 02:36:41

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย์ พ.ศ.2565 ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย พทุ ธศกั ราช 2565 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาสุรินทร สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คำนำ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) เปนหลกั สตู รท่ีไดพัฒนาใหสอดคลอง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 รวมทั้งใหสอดคลองกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคม และความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี ตลอดจนสอดคลองกับแนวนโยบายและความ ตอ งการการจดั การศกึ ษาของชาติ โรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย ไดดำเนินการเพื่อใหเปนไปตามตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เร่ือง ใหใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงไดจัดทำ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕60) และมีการปรับปรุงสาระการเรียนรู มาตรฐานตวั ชวี้ ดั ใหสอดคลอ งกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ โดยปรับโครงสรางเวลาเรยี นหลกั สตู รตาม ความพรอ มและจุดเนนของสถานศึกษาและจัดกิจกรรมเพิ่มเวลารู บรู ณาการในระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 – ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 6 ในการดำเนินการจดั ทำหลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไดศึกษาเอกสาร ตำราท่ีเก่ียวของ กับการจดั ทำหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และไดสำรวจความตองการของ นักเรียน ผูปกครอง ชุมชน และสอดคลองกับนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ มาเปนแนวทางในการจดั ทำ ดังนั้นคณะผูจดั ทำหวังเปนอยางยิ่งวา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕60) นี้จะ เกิดประโยชนตอบุคคลที่ตองการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิด ประสทิ ธิผล โรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวิทย

ข ประกาศโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย เรอ่ื ง ใหใชหลกั สตู รโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศกั ราช 2565 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช 2560) เพ่อื ใหก ารจดั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สอดคลอ งกบั ความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม ความ เจริญกา วหนาทางวทิ ยาการ เปนการสรางกลยุทธใ หม ในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาใหส ามารถ ตอบสนองความตองการของบคุ คล สังคมไทย ผเู รยี นมศี ักยภาพในการแขงขนั ละความรวมมืออยา ง สรา งสรรคในสงั คมโลก ปลกู ฝง ใหผูเรียนมีจิตสำนกึ ในความเปน ไทย มีระเบียบวินยั คำนงึ ถึงผลประโยชน สว นรวม และยึดม่ันในการปกคครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุข เปน ไป ตามเจตนารมณม าตรา 20 ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และ พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ กไขเพิ่มเตมิ ฉะนนั้ อาศยั อำนาจตามความในมาตรา 12 และมาตรา 15 แหงพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบรหิ าร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พทุ ธศักราช 2546 และคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย ไดมมี ตเิ ห็นชอบใหใ ชหลกั สูตรโรงเรียนทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย พุทธศกั ราช 2565 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช 2560) เมอื่ วนั ที่ 9 เดอื น พฤษภาคม พุทธศกั ราช 2565 จงึ ประกาศใหใชหลักสตู รโรงเรียนทับโพธิพ์ ัฒนวทิ ยต ง้ั แตบ ดั นีเ้ ปน ตนไป ประกาศ ณ วันที่ 9 เดอื น พฤษภาคม พุทธศักราช 2565 (ลงชอ่ื ) (ลงชื่อ) (นางจนั ทรดี จอ ยสระค)ู ( นางจฬุ าภรณ บุญศรี ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ผอู ำนวยการโรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย

ค ประกาศโรงเรียนทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย เร่อื ง อนุมตั ิใหใชห ลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย พุทธศักราช 2565 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรูแ กนกลางกลุมสาระการเรียนรู(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ------------------------------------------ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวิทย พุทธศักราช 2565 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู แกนกลาง กลมุ สาระการเรียนร(ู ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที่ 1– 6 สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร ฉบับนี้ ไดรบั ความ เห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน โรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย จงึ ประกาศใหใ ชห ลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวทิ ย พทุ ธศักราช 2565 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู กนกลางกลุมสาระการเรยี นรู (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ตงั้ แตบ ดั น้ี เปน ตนไป ประกาศ ณ วนั ที่ 9 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2565 (ลงชื่อ) ( นางจุฬาภรณ บุญศรี ) ผูอำนวยการโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย

ง ประกาศโรงเรียนทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย เร่อื ง ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน ------------------------------------------ ตามที่โรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวิทย ไดจ ัดทำหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย พุทธศกั ราช 2565 ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรู๎แกนกลางกลุมสาระการเรียนร๎ู (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 – 6 สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาสุรนิ ทร ฉบบั นี้ เพื่อกำหนดเปน วธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องสถานศึกษา อันเปน แนวทางใหเ กดิ ความสำเรจ็ แกผูเรียนสูงสดุ เพ่ือบรรลุจดุ มุงหมายของหลกั สตู รทุกประการ นอกจากน้ียังเปน แนวทางปฏบิ ัตหิ นาทีร่ าชการของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรยี นอีกดว ย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนทับโพธิ์พฒั นวทิ ยแ ละผมู สี ว นเกีย่ วขอ งกบั การศกึ ษาโรงเรยี น ทบั โพธพ์ิ ัฒนวทิ ยทุกคนเหน็ ชอบและจะทำทกุ วิถีทางเพื่อใหเ กดิ ศักยภาพตามที่กำหนดไว๎ในหลักสตู ร สถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานฉบบั น้ที กุ ประการ ประกาศ ณ วนั ท่ี 9 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2565 (นางจันทรด ี จอยสระคู) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานโรงเรียนทบั โพธ์พิ ัฒนวทิ ย ( นางจุฬาภรณ บุญศรี ) ผูอำนวยการโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย กรรมการและเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานโรงเรียนทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย

จ สารบญั หนา คำนำ ประกาศโรงเรียนทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย เรอ่ื ง ใหใชหลกั สูตรโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวิทย พทุ ธศักราช 2565 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560) 1.สวนนำ ความนำ................................................................................................................... 2 วิสยั ทัศนข องโรงเรยี น ……....................................................................................... 3 - หลักการ/จดุ มุงหมาย............................................................................................ 5 สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น …................................................................................. 6 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค. ..................................................................................... 6 2.โครงสรา งหลักสูตรโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวิทย 17 โครงสรา งหลกั สตู รรายช้ันป..................................................................................... 17 3.คำอธิบายรายวิชา............................................................................................... 27 โครงสรา งกลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย................................................................. 28 คำอธิบายรายวิชาภาษาไทย.................................................................................... 29 โครงสรางกลมุ สาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร............................................................. 38 คำอธิบายรายวิชาคณติ ศาสตร................................................................................. 39 โครงสรา งกลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี...................................... 52 คำอธิบายรายวชิ าวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี........................................................ 53 โครงสรา งกลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม........................... 88 คำอธิบายรายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม.............................................. 89 โครงสรางกลุมสาระการเรยี นรูส ุขศึกษาและพลศึกษา............................................. 110 คำอธบิ ายรายวชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา................................................................. 111 โครงสรา งกลุมสาระการเรยี นรศู ิลปะ....................................................................... 127 คำอธบิ ายรายวชิ าศลิ ปะ........................................................................................... 128 โครงสรา งกลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชพี ........................................................... 145 คำอธบิ ายรายวิชาการงานอาชีพ.............................................................................. 146 โครงสรา งกลุมสาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ..................................................... 156 คำอธิบายรายวชิ าภาษาตางประเทศ........................................................................ 157 การศกึ ษาคนควาและสรางองคความรู……………………………………………………………. 169

ฉ สารบัญ หนา 4.กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น................................................................................ 173 5.กระบวนการจดั การเรียนรู......................................................................... 192 ภาคผนวก..................................................................................................... 210 คณะผูจดั ทำ………………………………………………………………………………………… 211

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 1 1.สวนนำ

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 2 ความนำ การศกึ ษาขอมลู ทิศทางและกรอบยุทธศาสตรของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึง่ เกดิ ขน้ึ ในชวงเวลาของการปฏริ ปู ประเทศและสถานการณโ ลกท่เี ปลยี่ นแปลงอยาง รวดเรว็ และเช่อื มโยงใกลชดิ กนั มากข้นึ โดยจัดทำบนพ้นื ฐานของกรอบ ยุทธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึง่ เปนแผนหลักของการพฒั นาประเทศ และเปาหมายของการพฒั นาทยี่ ั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) แผนการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 รวมทงั้ การปรบั โครงสรา ง ประเทศไปสูประเทศไทย 4.0 ซง่ึ ยุทธศาสตรช าติทีจ่ ะใชเปน กรอบแนวทางการพฒั นาในระยะ 20 ปตอ จากนี้ ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร ไดแก (1) ยทุ ธศาสตรดานความมนั่ คง (2) ยุทธศาสตรด านการสรา ง ความสามารถในการแขงขนั (3) ยุทธศาสตรก ารพัฒนา และเสรมิ สรา งศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตรด านการ สรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกนั ทางสงั คม (5) ยทุ ธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิต ที่เปน มิตรกับส่งิ แวดลอมและ (6) ยุทธศาสตรด านการปรับ สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั เพื่อมุงสวู สิ ยั ทศั น และทิศทางการพฒั นาประเทศ “ความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยนื ” เปน ประเทศพัฒนาแลวดวยการ พัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเดน็ ทีส่ ำคัญเพื่อแปลงแผนไปสูการปฏิบตั ิใหเกิดผลสัมฤทธิ์ ไดอ ยางแทจริงตามยุทธศาสตรการ พฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพคน คือ การเตรียมพรอมดา นกำลังคนและ การเสริมสรางศักยภาพของประชากรใน ทุกชวงวัย มุงเนน การยกระดับคณุ ภาพทนุ มนษุ ยข องประเทศ โดย พฒั นาคนใหเหมาะสมตามชวงวัย เพือ่ ใหเตบิ โตอยา งมีคุณภาพ การพัฒนาทักษะท่สี อดคลองกับความตองการ ในตลาดแรงงานและทักษะท่จี ำเปนตอ การดำรงชวี ิต ในศตวรรษที่ 21 ของคนในแตล ะชว งวัยตามความ เหมาะสม การเตรยี มความพรอมของกำลงั คนดา นวทิ ยาศาสตร และเทคโนโลยที จี่ ะเปลยี่ นแปลงในอนาคต ตลอดจนการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาสคู วามเปนเลิศ เพอื่ ใหการขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรช าติ เพ่อื เตรยี มความพรอ มคนใหสามารถปรับตวั รองรับผลกระทบ จากการเปล่ียนแปลงไดอยางเหมาะสม กระทรวงศกึ ษาธิการจึงกำหนดเปนนโยบายสำคญั และเรงดว นใหมีการ ปรบั ปรงุ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุม สาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร และสาระภูมศิ าสตร ในกลุม สาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมรวมทง้ั เทคโนโลยี ในกลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยมอบหมายใหสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (สสวท.) ดำเนนิ การปรับปรงุ กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร กลุม สาระการเรียนรู วิทยาศาสตร และสาระเกีย่ วกับเทคโนโลยีในกลมุ สาระการเรยี นรูการงานอาชพี และเทคโนโลยี และมอบหมาย ใหสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานดำเนนิ การปรบั ปรงุ สาระภูมศิ าสตร ในกลุมสาระการเรยี นรู สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ทั้งน้ี การดำเนนิ งานประกาศใชหลกั สตู รยงั คงอยูใ นความรับผดิ ชอบของ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน หลักสูตรโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย พุทธศักราช 2560 (ปรับปรุง พุทธศักราช 2565) ตาม หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ไดจ ดั ทำขึ้น ตามแนวทางที่กำหนดไวในตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมสาระการเรียนรู (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และเปนไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งกำหนดใหสถานศึกษามีหนาที่จัดทำสาระของหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักการ จุดหมายของหลักสูตร

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 3 แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐานกำหนด เพ่อื ตอบสนองตอความตองการในสวนทเ่ี กี่ยวกบั สภาพปญหาในชุมชน และสงั คม ภูมิปญ ญาทองถิ่น คุณลกั ษณะที่พึงประสงค เพื่อใหเยาวชนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมแลประเทศชาติ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดท่ีกำหนดไวในเอกสารนีช้ วยทำใหหนวยงานที่เกี่ยวของในทุกระดับ เห็นผลคาดหวงั ทต่ี อ งการในการพฒั นาการเรยี นรูของผูเ รยี นท่ีชดั เจนตลอดแนวซงึ่ จะสามารถชวยใหหนว ยงาน ท่ีเกี่ยวของในระดับทองถิ่นและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางมั่นใจ ทำใหการจัดทำหลกั สตู รใน ระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมคี วามเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนรูและชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวา งสถานศึกษา ดงั นั้น ในการพฒั นาหลักสูตรในทุก ระดับตั้งแตระดับชาติจนกระทัง่ ถึงสถานศึกษา จะตอ งสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ชี้วัดท่ี กำหนดไวในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมท้ังเปน กรอบทิศทางในการจัดการศกึ ษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผเู รยี นทุกกลุมเปาหมายในระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน การจัดหลกั สตู รการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานจะ ประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคล ตองรวมรับผิดชอบ โดยรวมกันทำงานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ สงเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แกไ๎ ข เพ่ือพัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสูคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู ทกี่ ำหนดไว วิสยั ทัศนข องหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มุงพฒั นาผเู รยี นทุกคน ซง่ึ เปนกำลงั ของชาตใิ หเ ปน มนษุ ย ที่ มีความสมดลุ ท้ังดา นรํางกาย ความรู คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเปน พลเมอื งไทยและเปนพลโลก ยึดมนั่ ใน การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมขุ มีความรแ๎ู ละทักษะพนื้ ฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จำเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวิต โดย มงุ เนนผูเรยี นเปน สำคญั บน พืน้ ฐานความเชือ่ วาทกุ คนสามารถเรยี นรแ๎ู ละพัฒนาตนเองไดเ ต็มตามศักยภาพ โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย มี วสิ ยั ทัศน ดงั น้ี วสิ ัยทศั นโรงเรยี นทบั โพธ์ิพัฒนวิทย (Vision) “โรงเรยี นทบั โพธิพ์ ัฒนวิทย มุงพฒั นาการเรียนรู สคู ณุ ภาพวิถีใหม วิถีพอเพยี ง” พนั ธกจิ (MISSION) 1. จัดกระบวนการเรยี นรูยดึ ผูเรียนเปน สำคัญ พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพของแตละบคุ คล ดวยการจัด กิจกรรมอยา งหลายหลาย ผานกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจริง สามารถนำไปประยุกตใ ชในชวี ิตไดแ ละบูรณการ สูหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจดั การและการจัดการเรยี นรู 3. สง เสรมิ และสนบั สนุนใหส ถานศกึ ษาบรหิ ารจดั การโดยใชโ รงเรียนเปน ฐาน อตั ลักษณ (Identity) “ทกั ษะอาชีพดี มีวิถีพอเพียง” (Good vocational skills, sufficient methods) เอกลกั ษณ (Unique) “ศลิ ปะดนตรพี นื้ เมือง” ( Indigenous music art )

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 4 ปรชั ญา (Philosophy) “คณุ ธรรมนำความรู สวู ถิ พี อเพยี ง” คตพิ จนของโรงเรียน วริ เิ ยน ทุกฺขมจฺเจติ. บุคคลจะลวงทุกขได เพราะความเพยี ร เปา ประสงค (OBJECTIVE) 1. นักเรียนมคี ณุ ภาพชวี ิต ทีด่ ี ใชเ ทคโนโลยเี ปนส่อื ในการเรยี นรพู ัฒนาตนเองใหมีคุณภาพตาม มาตรฐาน และเปน ผูท ่ีมีคณุ ธรรมจริยธรรมอนั พงึ ประสงค มีวฒั นธรรมในการดำเนินชวี ติ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. ครเู ปนผูมคี วามรคู วามสามารถในการจัด การเรียนการสอน และ การทำงานท่มี ีประสิทธิ ภาพ โดยใชเทคโนโลยี เปนเครอื่ งมอื ในการขับเคลื่อน พรอมทงั้ นำ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งบรู ณาการสู การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทุกกลมุ สาระการเรียนรู 3. ผูบริหารมคี วามคิดรเิ ริม่ และเปนผนู ำทางวชิ าการ มกี ารบรหิ ารที่มปี ระสทิ ธิผล และผูเก่ยี วของพึง พอใจ โดยเนนการบริหารจัดการโดยใชโรงเรยี นเปน ฐาน นำเทคโนโลยีมาใชปฏบิ ัตงิ านใหเ ปน ระบบ ลดข้นั ตอน และมคี วามโปรงใสตรวจสอบได 4. ชุมชนมคี วามพงึ พอใจในการใชบรกิ ารจากโรงเรยี น และมีสวนรว มในการจัดการศกึ ษา ผลผลิตของสถานศึกษา ผลผลติ ท่ี 1. นกั เรียนจบการศกึ ษาภาคบังคบั หลักสูตรการศึกษา ตามเกณฑทีส่ ถานศึกษากำหนด ผลผลิตท่ี 2. นกั เรียนจบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานหลักสตู รการศกึ ษา ตามเกณฑท่ีสถานศึกษากำหนด ตัวชี้วดั ความสำเร็จ 1. รอ ยละของนักเรยี นทจี่ บการศกึ ษาภาคบังคบั ตามเกณฑท ี่สถานศกึ ษากำหนด 2. รอ ยละของนักเรยี นท่จี บการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานตามเกณฑท ่ีสถานศึกษากำหนด 3. รอยละของนักเรียนท่ีเขารวมการแขงขนั ทักษะความรู ความสามารถทางวิชาการ นวตั กรรมและ เทคโนโลยี 4. ระดบั คะแนนเฉลี่ย (GPA) ของสถานศกึ ษาและคาํ เฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระดบั ชาติ (O-net) 5. ระดบั ความพงึ พอใจของนักเรยี น ผูปกครองและชุมชนตอการใหบ ริการทางการการศึกษาของ สถานศึกษา 7. รอยละของครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทีม่ สี มรรถนะเหมาะสมกบั การจดั การศึกษา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 5 เปา หมายความสำเร็จ 1. นกั เรยี นจบการศกึ ษาภาคบงั คบั ไมนอยกวา รอ ยละ 98 2. นกั เรียนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ไมนอยกวารอยละ 98 3. นักเรียนทเ่ี ขารว มแขงขนั ความรู ความสามารถทางวิชาการ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ไมน อ ยกวา รอ ยละ 70 4. ระดบั คะแนนเฉลีย่ (GPA) ของนักเรียนทุกระดบั ช้นั ไมนอยกวา 80 และคําเฉลีย่ ของคะแนนการ ทดสอบระดบั ชาติ ไมนอยกวาคาเฉล่ียระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา 5. ระดบั ความพึงพอใจของนักเรยี น ผูปกครองและชมุ ชนตอ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและคณุ ลักษณะ อนั พึงประสงคใ นระดบั ดมี าก ไมน อยกวารอยละ 80 7. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีสมรรถนะเหมาะสมกับการจดั การเรยี นการสอนหลกั สูตร สถานศึกษาไมนอ ยกวารอยละ 80 8. รอยละของงาน/โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปท ี่มีผลการประเมนิ ตัวช้ีวัดความสำเร็จใน ระดับดีมาก หลกั การ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวทิ ย พุทธศักราช 2565 หลักการทสี่ ำคัญ ดังนี้ 1. เปนหลักสูตร ทม่ี ีจดุ หมายและมาตรฐานการเรียนรู เพื่อพฒั นาผเู รียนใหมคี วามรู ทกั ษะ เจตคติ และ คุณธรรมบนพน้ื ฐานของความเปน ไทยควบคูกับความเปน สากล มีศักยภาพเปนพลโลก 2. เปน หลักสตู รเพอ่ื ปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรบั การศกึ ษาอยา งเสมอภาคและมีคุณภาพ 3. เปนหลกั สูตรทส่ี นองการกระจายอำนาจ ใหช มุ ชนมสี วนรวมในการจดั การศกึ ษา ใหสอดคลอ งกับ สภาพความตองการของทองถ่ินและมีความเปน สากล 4. เปนหลกั สูตรทม่ี โี ครงสรา งยดื หยนุ ท้ังดานสาระการเรยี นรู เวลาและการจดั การเรยี นรู 5. เปนหลักสตู รทเี่ นนผเู รียนสำคัญท่สี ุด จุดมุง หมาย หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พัฒนวทิ ย พุทธศักราช 2565 มงุ พฒั นาผเู รยี นใหเปนคนดี มี ความรู มีปญญามีความสขุ มีศกั ยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเปนจดุ หมาย ดังนี้ 1. นักเรียนเปน เดก็ ดี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคาํ นิยมท่ีพึงประสงค เหน็ คุณคาของตนเอง มีวนิ ัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาทต่ี นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. นักเรียนมีความรู ความสามารถ และทกั ษะ ในการคดิ วเิ คราะห สงั เคราะห การแกปญหา การใช เทคโนโลยี มที กั ษะชวี ติ และสื่อสาร ไดห ลายภาษาอยา งถูกตองและเหมาะสม 3. มีความเปนเลิศทางวิชาการ และเชี่ยวชาญวิชาชีพ ทำงานรว มกบั ผอู ื่นได 4. มีทกั ษะในการแสวงหาความรูดว ยตนเอง และเปน บคุ คลแหงการเรยี นรู 5. สามารถคน ควา ขา วสาร ขอมูลจากแหลงเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสอ่ื สารและ คอมพวิ เตอร 6. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกำลังกาย 7. มีความรักชาติ มจี ติ สำนกึ ในความเปน พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมั่นในวถิ ชี ีวิตและการปกครอง ตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุข

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 6 8. มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษวัฒนธรรมและภมู ปิ ญ ญาไทย การอนุรักษและพัฒนาส่งิ แวดลอ ม มจี ติ สาธารณะทีม่ ุงทำประโยชน สรา งสรรคสงิ่ ที่ดีงามเพ่ือสังคม และอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข สมรรถนะสำคญั ของผูเรียน หลักสูตรโรงเรียนทับโพธิ์พัฒนวิทย มุง พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู ซึ่งการ พัฒนาผูเรียนใหบ รรลมุ าตรฐานการเรยี นรทู ีก่ ำหนดนน้ั จะชว ยใหผูเรียนเกดิ สมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั นี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใช ภาษาถายทอดความคิด ความรู ความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลีย่ นขอมูลขาวสาร และประสบการณอ ันจะเปน ประโยชนตอ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาตอ รอง เพอื่ ขจัดและลด ปญหาความขดั แยง ตาง ๆ การเลือกรบั หรือไมรบั ขอมูลขาวสารดว ยหลักเหตผุ ลและความถูกตอง ตลอดจนการ เลือกใชวธิ ีการสอ่ื สารท่ีมีประสทิ ธภิ าพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทม่ี ีตอตนเองและสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เปน ความสามารถในการวิเคราะห การคดิ สังเคราะห การคดิ อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองคความรูหรือ สารสนเทศเพอื่ การตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ ยา งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญ หาเปนความสามารถในการแกป ญ หา และอุปสรรคตา งๆ ที่เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจ ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต างๆในสังคม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรูม าใชในการ ปอ งกันและแกไขปญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นตอตนเอง สังคม และสงิ่ แวดลอ ม 4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตา งๆ ไปใช ในการดำเนินชวี ิตประจำวนั การเรียนรูดวยตนเองการเรยี นรูอ ยา งตอเนอ่ื ง การทำงาน และการอยูรว มกันใน สงั คมดว ยการสรางเสริมความสัมพันธอันดรี ะหวา งบุคคล การจดั การปญ หาและความขัดแยงตางๆ อยา ง เหมาะสม การปรบั ตัวใหทันตอการเปลยี่ นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอมและการรูจกั หลีกเล่ยี ง พฤติกรรมไมพึงประสงคท ่สี ง ผลกระทบตอตนเองและผูอนื่ ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลอื กและใชเทคโนโลยตี า งๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดา นการเรยี นรู การสอ่ื สาร การ ทำงาน การแกปญหาอยา งสรา งสรรค ถูกตอง เหมาะสมและมีคุณธรรม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน มงุ พฒั นาผเู รียนใหม คี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค เพ่ือให สามารถอยูรวมกบั บคุ คลอน่ื ในสังคมไดอยา งมคี วามสุข ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ  หมายถึง คณุ ลักษณะท่แี สดงออกถึงการเปน พลเมืองดีของชาติธำรงไวซ ่งึ ความเปน ชาติไทย ศรัทธา ยดึ มั่นในศาสนา และเคารพเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษตั รยิ  2. ซอ่ื สัตยสุจริต หมายถงึ คุณลักษณะทแ่ี สดงออกถงึ การยดึ มน่ั ในความถูกตอง ประพฤติ ตรงตาม ความเปนจรงิ ตอ ตนเองและผูอนื่ ทั้งทางกาย วาจา ใจ 3. มวี ินยั หมายถึง คุณลักษณะทแ่ี สดงออกถึงการยึดมัน่ ในขอตกลง กฎเกณฑ และระเบียบ ขอบงั คบั ของครอบครัว โรงเรียน และสงั คม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 7 4. ใฝเ รียนรู หมายถึง คุณลกั ษณะที่แสดงออกถงึ ความตง้ั ใจ เพียรพยายาม ในการเรยี น แสวงหา ความรูจ ากแหลง เรยี นรูทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน 5. อยูอยางพอเพียง หมายถึง คุณลกั ษณะทแ่ี สดงออกถึงการดำเนินชีวิต อยา งพอประมาณ มี เหตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม มภี ูมิคุมกันในตวั ที่ดี และปรบั ตวั เพอ่ื อยูในสังคมไดอยา งมีความสขุ 6. มงุ ม่ันในการทำงาน หมายถึง คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถึงความตัง้ ใจ และรบั ผดิ ชอบในการทำ หนา ที่การงาน ดวยความเพยี รพยายาม อดทน เพอ่ื ใหงานสำเร็จตามเปา หมาย 7. รักความเปนไทย หมายถึง คณุ ลกั ษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณคา รว มอนรุ กั ษ สืบทอดภูมปิ ญ ญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใชภาษาไทยในการส่ือสาร ไดอยา งถกู ตองและเหมาะสม 8. มีจติ สาธารณะ หมายถงึ คุณลักษณะที่แสดงออกถงึ การมสี วนรว มในกิจกรรมหรือสถานการณท ี่ กอ ใหเกิดประโยชนแ กผูอน่ื ชมุ ชน และสงั คม ดวยความเต็มใจ กระตือรือรน โดยไมหวัง ผลตอบแทน คณุ ลักษณะผูเรียนในศตวรรษ 21 หลักสูตรโรงเรียนมุงพฒั นาผูเ รยี นในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก โดยมุงหวังใหคณุ ภาพผเู รียนมี ความสมั พันธส อดคลอ งและสงเสรมิ ตอยอดผเู รยี นใหมีศกั ยภาพเปน พลโลก ดังน้ี 1. ใฝร ูใฝเรยี น 2. มีภูมิรู 3. รูจ กั ใชว จิ ารณญาณ 4. เปนนักคดิ 5. สามารถสอื่ สารได 6. มรี ะเบยี บวินัย 7. ใจกวาง 8. รอบคอบ 9. กลาตดั สินใจ 10. ยตุ ิธรรม คานยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช. 1. มีความรักชาตศิ าสนา พระมหากษัตริย 2. ซอ่ื สตั ยเสยี สละ อดทน มีอุดมการณใ นส่ิงทด่ี ีงามเพอ่ื สว นรวม 3. กตัญูตอพอแมผูปกครอง ครบู าอาจารย 4. ใฝหาความรูหม่ันศกึ ษาเลา เรียน ท้งั ทางตรงและทางออม 5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม 6. มีศีลธรรม รกั ษาความสตั ยหวังดีตอผูอ น่ื เผื่อแผและแบงปน 7. เขา ใจเรียนรกู ารเปน ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยท รงเปนประมขุ ที่ถกู ตอง 8. มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูนอ ยรูจ กั การเคารพผูใ หญ 9. มีสตริ ูตวั รคู ิด รูทำรปู ฏิบัตติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 8 10. รูจกั ดำรงตนอยโู ดยใชห ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระ เจาอยูหวั รูจักอดออมไวใชเมื่อยามจำเปน ใหพอกนิ พอใช ถาเหลือก็แจกจายจำหนายและพรอมทีจ่ ะ ขยาย กิจการเม่ือมีความพรอม เมอ่ื มภี ูมคิ มุ กนั ท่ดี ี 11. มคี วามเขมแข็งทั้งรา งกาย และจิตใจ ไมยอมแพตออำนาจฝายต่ำ หรือกเิ ลส มีความละอาย ตอบาปตามหลกั ของศาสนา 12. คำนึงถงึ ผลประโยชนของสว นรวมและของชาตมิ ากกวาผลประโยชนข องตนเอง หลักสตู รตานทุจรติ ศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.) รวมกับสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ไดจ ัดทำหลกั สูตรตา นทจุ รติ ศึกษาสำหรบั ใชในทุกระดบั การศึกษา ในสวนของสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานไดจัดทำหลักสตู รตา นทุจริตศึกษา รายวิชาเพมิ่ เติม “การปองกนั การทุจรติ ” ขน้ึ และคณะรฐั มนตรีมมี ติเหน็ ชอบหลกั สูตรตา นทจุ รติ ศึกษา เม่ือวนั ที่ 22 พฤษภาคม 2561 และใหหนว ยงานทเี่ ก่ยี วของนำหลกั สูตรตานทุจรติ ศึกษาไปปรับใชในการจดั การเรยี นการ สอนในสถานศึกษาโดยมงุ เนน การสรางความรคู วามเขาใจทีถ่ กู ตองเกย่ี วกับความหมายและขอบเขตของการ กระทำทจุ ริตในลักษณะตา ง ๆ ทง้ั ทางตรงและทางออม ความเสยี หายที่เกดิ จากการทุจริต ความสำคญั ของการ ตอ ตานการทจุ ริต รวมท้ังจัดใหมีการประเมินผลสัมฤทธิข์ องการจดั หลักสูตรในแตล ะชว งวัยของผเู รยี นดว ย หลักสูตรตา นทุจริตศึกษา (Anti – Corruption Education) รายวิชาเพมิ่ เติม “การปองกันการทจุ รติ ” ประกอบดว ย 4 หนวยการเรียนรู ไดแก 1. การคดิ แยกแยะระหวางผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนสว นรวม 2. ความละอายและความไมทนตอ การทจุ ริต 3. STRONG : จิตพอเพยี งตา นทจุ รติ 4. พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบตอสงั คม ทีส่ ถานศกึ ษาจัดใหก ับผเู รียนเพื่อปลูกฝงและปองกันการ ทุจรติ ไมใ หเกดิ ขน้ึ โดยเร่มิ ปลูกฝง ผูเรยี นตั้งแตช น้ั ปฐมวยั จนถงึ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 6 ใหม ีความรคู วามเขาใจ มี ทักษะกระบวนการ มีสมรรถนะทส่ี ำคญั และมีคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค มาตรฐานการเรยี นรู การพัฒนาผเู รียนใหเกิดความสมดลุ ตองคำนงึ ถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหปุ ญญา หลักสตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน จึงกำหนดใหผูเรยี นเรยี นรู 8 กลมุ สาระการเรยี นรู ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณติ ศาสตร 3. วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชพี 8. ภาษาตา งประเทศ

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 9 ในแตล ะกลุม สาระการเรยี นรไู ดกำหนดมาตรฐานการเรยี นรูเปน เปา หมายสำคัญของการพัฒนา คุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรรู ะบุสิง่ ที่ผูเรียนพึงรู ปฏิบตั ไิ ด มีคณุ ธรรมจริยธรรม และคํานยิ มท่ีพงึ ประสงคเ ม่อื จบการศึกษาข้นั พื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยงั เปน กลไกสำคญั ในการขบั เคลอื่ น พฒั นาการศกึ ษาท้งั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรจู ะสะทอ นใหทราบวาตอ งการอะไร จะสอนอยา งไร และ ประเมนิ อยา งไร รวมทงั้ เปนเคร่อื งมือในการตรวจสอบเพอื่ การประกันคุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการ ประเมนิ คุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอก ซง่ึ รวมถึงการทดสอบระดบั เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา และ การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกลา วเปนส่งิ สำคญั ท่ีชวยสะทอ นภาพการจดั การศึกษาวา สามารถพัฒนาผูเรยี นใหมีคณุ ภาพตามทม่ี าตรฐานการเรยี นรกู ำหนดเพียงใด ตวั ช้ีวัด ตวั ช้วี ดั ระบุสงิ่ ทีน่ ักเรียนพึงรแู ละปฏิบัตไิ ด รวมทั้งคณุ ลกั ษณะของผูเรียนในแตล ะระดบั ช้ัน ซึ่งสะทอ น ถงึ มาตรฐานการเรียนรู๎ มีความเฉพาะเจาะจงและมคี วามเปนรปู ธรรม นำไปใช ในการกำหนดเน้อื หา จดั ทำ หนว ยการเรียนรู จัดการเรยี นการสอน และเปน เกณฑส ำคญั สำหรบั การวดั ประเมินผลเพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพ ผเู รยี น 1 . ตัวชว้ี ัดช้นั ป เปนเปา หมายในการพฒั นาผเู รยี นแตละช้ันปใ นระดับการศึกษาภาคบังคบั (ประถมศกึ ษาปท ่ี 1 - มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3) 2 . ตัวชว้ี ดั ชว งชัน้ เปนเปาู หมายในการพฒั นาผูเ รียนในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปท่ี 4-6) หลักสูตรไดมีการกำหนดรหสั กำกบั มาตรฐานการเรยี นรูและตวั ชี้วดั เพอื่ ความเขา ใจและใหสื่อสาร ตรงกนั ดังน้ี ว 1.1 ป.1/2 ป.1/2 ตวั ชว้ี ดั ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 1 ขอท่ี 2 1.1 สาระท่ี 1 มาตรฐานขอที่ 1 ว กลมุ สาระการเรียนรว๎ู ทิ ยาศาสตร ต 2.2 ม.4-6/ 3 ม.4-6/3 ตัวชว้ี ดั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ขอท่ี 3 2.2 สาระท่ี 2 มาตรฐานขอที่ 2 ต กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตา งประเทศ

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 10 ความสัมพันธข องการพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน วิสยั ทัศน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มงุ พฒั นาผเู รยี นทุกคน ซงึ่ เปนกำลงั ของชาตใิ หเปน มนษุ ย ที่มี ความสมดุลท้ังดานรางกาย ความรู คุณธรรม มจี ิตสำนึกในความเปน พลเมอื งไทยและเปนพลโลก ยึดมัน่ ในการ ปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ มคี วามรแู ละทกั ษะพ้ืนฐาน รวมทง้ั เจตคติ ที่ จำเปนตอการศกึ ษาตอ การประกอบอาชพี และการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยมุงเนนผูเรยี นเปนสำคัญบนพน้ื ฐาน ความ เช่อื วา ทกุ คนสามารถเรียนรแู ละพฒั นาตนเองไดเ ต็มตามศักยภาพ จดุ หมาย 1. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคาํ นยิ มที่พงึ ประสงค เห็นคณุ คาํ ของตนเอง มวี ินัยและปฏิบตั ติ นตามหลักธรรมของ พระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. มีความรอู ันเปนสากลและมคี วามสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยแี ละมีทักษะ ชวี ิต 3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ีดี มีสุขนสิ ัย และรกั การออกกำลงั กาย 4. มคี วามรักชาติ มจี ติ สำนกึ ในความเปนพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวิถชี วี ิตและการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนรุ กั ษวฒั นธรรมและภูมิปญญาไทย การอนรุ กั ษและพฒั นาสง่ิ แวดลอม จติ สาธารณะที่มุงทำประโยชนและสรางส่ิงที่ดงี ามในสังคม และอยูรว มกันในสังคมอยางมีความสขุ สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. รักชาตศิ าสน กษตั ริย 2. ซือ่ สตั ยส จุ รติ 2. ความสามารถในการคิด 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเรยี นรู๎ 3. ความสามารถในการแกปญ หา 5. อยูอยางพอเพยี ง 6. มุงมนั่ ในการทำงาน 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ 7. รักความเปนไทย 8 . มีจิตสาธารณะ 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวช้วี ดั 8 กลมุ สาระการเรียนรู กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น 1. ภาษาไทย 2 . คณติ ศาสตร 3. วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 1. กจิ กรรมแนะแนว 4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 2. กิจกรรมนักเรยี น 6. ศิลปะ 7. การงานอาชพี 8 . ภาษาตางประเทศ 3. กจิ กรรมเพื่อสังคม และ คณุ ภาพของผเู รียน ระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 11 สาระและมาตรฐานการเรียนรู หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานกำหนดมาตรฐานการเรียนรใ๎ู น 8 กลมุ สาระการเรียนรู จำนวน 57 มาตรฐาน ดงั นี้ กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย สาระท่ี 1 การอา น มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรา งความรแู ละความคิดเพื่อนนำไปใชตดั สนิ ใจ แกปญ หาใน การดำเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ยั รกั การอาน สาระที่ 2 การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขยี น เขียนสื่อสาร เขียนเรยี งความ ยอความ และเขยี นเร่ืองราวใน รูปแบบ ตางๆ เขยี นรายงานขอมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธภิ าพ สาระที่ 3 การฟง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดอู ยํางมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคดิ ความรูสกึ ในโอกาส ตางๆ อยางมีวจิ ารณญาณ และสรางสรรค สาระที่ 4 หลกั การใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ปิ ญญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเปน สมบตั ิของชาติ สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยางเห็นคณุ คา และนำมาประยกุ ตใชในชีวติ จรงิ กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจถงึ ความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ จำนวน ผลท่เี กดิ ขึน้ จากากรดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการและการนำไปใช มาตรฐาน ค 1.2 เขาใจและวิเคราะหแบบรูป ความสมั พนั ธ ฟง กช นั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช มาตรฐาน ค 1.3 ใชนพิ จน สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพนั ธ หรอื ชวยแกปญ หาท่ีกำหนดให สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เขาใจพนื้ ฐานเก่ยี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ท่ตี องการวัดและ นำไปใช มาตรฐาน ค 2.2 เขาใจและวิเคราะหร ูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พนั ธร ะหวางรปู เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความนาจะเปน มาตรฐาน ค 3.1 เขาใจกระบวนการทางสถิติ และใชความรูทางสถติ ใิ นการแกปญ หา มาตรฐาน ค 3.2 เขาใจหลกั การนบั เบ้ืองตน ความนาํ จะเปน และนำไปใช

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 12 กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช วี ภาพ มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธระหวางสง่ิ ไมมีชวี ิตกบั สง่ิ มชี วี ิต และความสัมพนั ธระหวางสงิ่ มชี วี ิตกบั ส่ิงมชี วี ิตตาง ๆ ในระบบนเิ วศ การถายทอดพลงั งาน การ เปลย่ี นแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญ หาและผลกระทบท่มี ีตอทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอม แนวทางในการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญ หาส่งิ แวดลอม รวมทง้ั นำ ความสำเร็จไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจสมบัติของสิง่ มีชีวติ หนวยพ้นื ฐานของสิ่งมชี วี ิต การลำเลยี งสารเขาและออก จากเซลลความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตาง ๆ ของสัตวแ ละมนุษยท่ที ำงานสัมพันธกนั รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 1.3 เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร พนั ธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธกุ รรมท่มี ผี ลตอส่ิงมชี วี ติ ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของ สิง่ มชี ีวิต รวมทัง้ นำความรูไปใชประโยชน สาระที่ 2 วิทยาศาสตรกายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสมบตั ขิ องสสาร องคป ระกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบตั ิของสสาร กบั โครงสรางและแรงยึดเหนยี่ วระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การ เกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว 2.2 เขาใจธรรมชาติของแรงในชวี ติ ประจำวนั ผลของแรงท่กี ระทำตอวัตถุ ลักษณะการ เคลอ่ื นที่แบบตาง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 2.3 เขาใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและการถายโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพันธร ะหวางสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณท่เี ก่ยี วของ กบั เสียง แสง และแมเหล็กไฟฟา รวมทั้งนำประโยชนไ ปใชประโยชน สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโลก และอวกาศ มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจองคป ระกอบ ลักษณะ กระบวนการคดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษแ ละระบบสรุ ิยะ รวมทงั้ ปฏิสัมพนั ธภายในระบบสุริยะที่สงผลตอ สงิ่ มชี ีวิต และการประยกุ ตใ ช เทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจองคประกอบและความสมั พนั ธข องระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณพี บิ ัติภยั กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา อากาศและภูมิโลก รวมท้งั ผลตอชวี ิต และสง่ิ แวดลอม สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พ่ือการดำรงชีวิตในสังคมทม่ี ีการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละศาสตรอ่ืนๆ เพื่อแกปญ หาหรือพัฒนา งานอยางมคี วามคดิ สรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใชเทคโนโลยอี ยางเหมาะสมโดย คำนึงถงึ ผลกระทบตอชีวติ สงั คม และสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจและใชแนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกปญ หาท่ีพบในชวี ิตจริงอยํางเปน ขน้ั ตอน และเปนระบบ ใชเทคโนโลยสี ารสรเทศและการสือ่ สารในการเรยี นรูการทำงาน และการแกปญหาไดอยางมี

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 13 ประสทิ ธภิ าพ รูเทาทัน และมีจรยิ ธรรม กลุม สาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถอื และศาสนาอื่น มีศรัทธาทถ่ี กู ตอง ยดึ มัน่ และปฏิบัติตามหลกั ธรรม เพ่ืออยูรว มกนั อยางสันติสุข มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเปน ศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถือ สาระท่ี 2 หนา ที่พลเมือง วัฒนธรรม และการด าเนนิ ชีวติ ในสงั คม มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนาที่ของการเปนพลเมอื งดี มีคาํ นยิ มทดี่ งี าม และธำรง รกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวติ อยูรว มกนั ในสังคมไทย และ สังคมโลกอยางสันตสิ ขุ มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจบุ ัน ยึดมนั่ ศรทั ธา และธำรงรกั ษาไว ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช ทรพั ยากรทมี่ ีอยูจำกดั ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพและคมุ คา รวมทัง้ เขาใจหลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือการ ดำรงชวี ิตอยางมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตาง ๆ ความสัมพนั ธท างเศรษฐกิจ และความ จำเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก สาระที่ 4 ประวัติศาสตร มาตรฐาน ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสำคญั ของเวลาและยุคสมัยทางประวตั ศิ าสตร สามารถใช วธิ กี ารทางประวัติศาสตรม าวิเคราะหเ หตุการณต างๆ อยางเปน ระบบ มาตรฐาน ส 4.2 เขา ใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดตี จนถงึ ปจ จุบัน ในดานความสัมพนั ธแ ละการ เปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณอยางตอ เน่ือง ตระหนักถึงความสำคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบทีเ่ กดิ ขึน้ มาตรฐาน ส 4.3 เขา ใจความเปน มาของชาติไทย วฒั นธรรม ภูมปิ ญญาไทย มีความรักความภมู ใิ จ และธำรงความเปน ไทย สาระท่ี 5 ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส 5.1 เขา ใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสมั พันธของสรรพส่งิ ซงึ่ มีผล ตอกนั ใชแผนทแี่ ละเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร ในการคนหา วิเคราะห สรปุ และใชขอ มลู ตามกระบวนการทาง ภูมิศาสตร ตลอดจนใชภูมิสารสนเทศอยํางมปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรฐาน ส 5.2 เขา ใจปฏสิ มั พันธระหวางมนุษยก บั สง่ิ แวดลอมทางกายภาพท่ีกอใหเกิดการ สรางสรรคว ิถีการดำเนินชวี ิต มจี ติ สำนกึ ในการจดั การทรัพยากรทางธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เพ่อื การพัฒนา ที่ย่งั ยนื

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 14 กลมุ สาระการเรียนรูสุขศกึ ษาและพลศึกษา สาระท่ี 1 การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนุษย มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนษุ ย สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน พ 2.1 เขา ใจและเห็นคณุ คาตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมีทักษะในการดำเนนิ ชวี ติ สาระท่ี 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเลน เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว กจิ กรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา มาตรฐาน พ 3.2 รกั การออกกำลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏบิ ตั เิ ปน ประจำอยาง สม่ำเสมอ มวี ินยั เคารพสทิ ธิ กฎ กติกา มีน้ำใจนักกีฬา มีจิตวญิ ญาณในการ แขงขนั และช่ืนชมในสนุ ทรียภาพ ของการกีฬา สาระท่ี 4 การสรา งเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค มาตรฐาน พ 4.1 เหน็ คุณคําและมที ักษะในการสรางเสรมิ สขุ ภาพ การดำรงสุขภาพ การปองกนั โรค และการสรางเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวติ มาตรฐาน พ 5.1 ปองกนั และหลกี เลี่ยงปจ จัยเสยี่ งพฤติกรรมเส่ียงตอสขุ ภาพอุบัติเหตุ การใชยาสาร เสพตดิ และความรนุ แรง กลุม สาระการเรยี นรศู ลิ ปะ สาระท่ี 1 ทศั นศลิ ป มาตรฐาน ศ 1.1 สรา งสรรคงานทัศนศิลปตามจนิ ตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณค ณุ คาํ งานทัศนศลิ ป ถายทอดความรู๎สกึ ความคิดตองานศลิ ปะอยาํ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยุกตใ ชใน ชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 1.2 เขา ใจความสัมพนั ธระหวางทัศนศลิ ป ประวัตศิ าสตร และวัฒนธรรม เห็นคณุ คางาน ทัศนศลิ ปท ี่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ภูมปิ ญญาไทยและสากล สาระที่ 2 ดนตรี มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรอี ยางสรา งสรรค วเิ คราะห วพิ ากษว จิ ารณค ณุ ค่ำ ดนตรี ถา ยทอดความรูสกึ ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 2.2 เขา ใจความสมั พันธระหวางดนตรี ประวัตศิ าสตร และวฒั นธรรม เห็นคณุ คาของ ดนตรีท่ีเปนมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน ภูมปิ ญญาไทยและสากล สาระที่ 3 นาฏศิลป มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ ยางสรางสรรค วเิ คราะห วิพากษ วจิ ารณ คุณคานาฏศลิ ปถายทอดความรู๎สกึ ความคดิ อยํางอิสระ ชื่นชม และประยกุ ตใ ชในชีวิตประจำวัน มาตรฐาน ศ 3.2 เขา ใจความสัมพนั ธระหวางนาฏศิลป ประวตั ิศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา ของ นาฏศลิ ปท เ่ี ปน มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทองถิน่ ภมู ิปญญาไทยและสากล

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 15 กลุม สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ สาระท่ี 1 การดำรงชวี ติ และครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 เขา ใจการทำงาน มีความคดิ สรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทำงาน ทักษะ การ จัดการ ทกั ษะกระบวนการแกปญหา ทกั ษะการทำงานรวมกัน และทักษะ การแสวงหาความรู มคี ณุ ธรรม และ ลักษณะนสิ ัยในการทำงาน มีจิตสำนึก ในการใชพลังงาน ทรพั ยากร และสงิ่ แวดลอม เพ่ือการดำรงชีวิตและ ครอบครัว สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสง่ิ ของเครอ่ื งใช หรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยอี ยางมคี วามคดิ สรางสรรค เลอื กใชเทคโนโลยใี นทางสรางสรรคต อ ชวี ิต สังคม สงิ่ แวดลอ ม และมี สวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีทยี่ ่งั ยืน สาระท่ี 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร มาตรฐาน ง 3.1 เขา ใจ เห็นคณุ คา และใชกระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสบื คนขอมูลการ เรียนรู การส่ือสาร การแกปญหา การทำงาน และอาชีพอยางมปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม สาระท่ี 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทกั ษะที่จำเปน มปี ระสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยเี พ่ือ พัฒนาอาชีพ มคี ณุ ธรรม และมีเจตคติทีด่ ีตออาชีพ กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ สาระที่ 1 ภาษาเพอ่ื การสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เขา ใจและตีความเร่อื งที่ฟง และอานจากสื่อประเภทตา งๆ และแสดงความคิดเหน็ อยางมีเหตผุ ล มาตรฐาน ต 1.2 มที ักษะการสอ่ื สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและ ความคดิ เหน็ อยํางมปี ระสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นำเสนอขอมลู ขา วสาร ความคดิ รวบยอด และความคิดเหน็ ในเรื่องตางๆ โดยการ พดู และการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เขาใจความสัมพนั ธระหวา งภาษากบั วฒั นธรรมของเจาของภาษา และน าไปใชได อยางเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เขาใจความเหมอื นและความแตกตางระหวา งภาษาและวฒั นธรรมของเจาของภาษา กับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนำมาใชอยางถกู ตองและเหมาะสม สาระท่ี 3 ภาษากับความสมั พนั ธกบั กลมุ สาระการเรียนรูอ น่ื มาตรฐาน ต 3.1 ใชภาษาตา งประเทศในการเชื่อมโยงความรูกบั กลมุ สาระการเรยี นรูอ่นื และเปน พืน้ ฐานในการพฒั นาแสวงหาความรู และเปด โลกทัศนข องตน สาระท่ี 4 ภาษากับความสมั พันธก บั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใชภาษาตา งประเทศในสถานการณต างๆ ทงั้ ในสถานศึกษา ชุมชน และสงั คม

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 16 มาตรฐาน ต 4.2 ใชภาษาตางประเทศเปน เคร่ืองมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชพี และ การแลกเปลย่ี นเรียนรูกับสังคมโลก กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น กิจกรรมพัฒนาผูเรียน มุงใหผูเรยี นไดพ ฒั นาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอยางรอบดานเพอ่ื ความเปน มนุษยท ่สี มบรู ณ ทัง้ รางกาย สตปิ ญญา อารมณ และสงั คม เสรมิ สรางใหเปนผูมีศีลธรรม จริยธรรม มรี ะเบียบ วนิ ัยปลูกฝง และสรางจติ สำนึกของการทำประโยชนเพ่ือสงั คม สามารถจัดการตนเองได และอยูรว มกบั ผูอนื่ อยางมีความสขุ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน แบงเปน 3 ลกั ษณะ ดังนี้ 1. กจิ กรรมแนะแนว เปน กจิ กรรมที่สงเสรมิ และพัฒนาผูเรยี นใหรจู กั ตนเอง รูรักษสง่ิ แวดลอ ม สามารถคิดตัดสินใจ คดิ แกปญหา กำหนดเปาหมาย วางแผนชีวติ ท้งั ดานการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนไดอยางเหมาะสม นอกจากนีย้ งั ชวยใหค รรู จู กั และเขาใจผูเรยี น ท้ังยังเปน กิจกรรมทชี่ วยเหลือและใหคำปรกึ ษาแกผูปกครองใน การมสี วนรว มพฒั นาผูเรยี น 2. กิจกรรมนักเรยี น เปน กิจกรรมที่มุงพฒั นาความมรี ะเบียบวินัย ความเปนผูนำผูตามที่ดี ความรบั ผิดชอบ การทำงาน รว มกนั การร๎ูจกั แกปญ หา การตดั สนิ ใจท่เี หมาะสม ความมีเหตผุ ล การชวยเหลอื แบงปน กัน เอื้ออาทร และ สมานฉนั ท โดยจดั ใหสอดคลอ งกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเรียน ใหไดป ฏบิ ัติดว ยตนเอง ในทกุ ข้ันตอน ไดแก การศึกษาวเิ คราะหวางแผน ปฏิบตั ติ ามแผน ประเมินและปรบั ปรุงการทำงาน เนนการ ทำงานรว มกนั เปน กลุม ตามความเหมาะสมและสอดคลองกับวุฒิภาวะของผูเรียน บรบิ ทของสถานศึกษาและ ทองถ่นิ กิจกรรมนักเรียนประกอบดวย 2.1 กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบำเพ็ญประโยชน และนักศึกษาวชิ าทหาร 2.2 กิจกรรมชมุ นุม ชมรม 3. กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรยี นบำเพญ็ ตนใหเปนประโยชนตอสังคม ชมุ ชน และทองถ่นิ ตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมคั ร เพ่อื แสดงถงึ ความรบั ผิดชอบ ความดงี าม ความเสียสละตอ สังคม มีจิตสาธารณะ เชน กิจกรรมอาสาพฒั นาตา ง ๆ กิจกรรมสรางสรรคส งั คม

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 17 2.โครงสรา งหลักสูตรสถานศกึ ษา (2565-2567)

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 18 6.โครงสรา งหลกั สตู รโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวิทย หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กำหนดกรอบโครงสรา งเวลาเรยี น ดงั นี้ กลมุ สาระการเรยี นรู ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนปลาย ภาษาไทย ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔-๖ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐ คณิตศาสตร (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐ วทิ ยาศาสตร (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) ๑6๐ ๑6๐ ๑6๐ 32๐ สังคมศึกษา ศาสนา (4 นก.) (4 นก.) (4 นก.) (8 นก.) และวัฒนธรรม ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๓๒๐ สขุ ศึกษาและพลศึกษา (๔ นก.) (๔ นก.) (๔ นก.) (๘ นก.) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ศลิ ปะ (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓นก.) ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ การงานอาชีพและ (๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓ นก.) เทคโนโลยี 4๐ 4๐ 4๐ 4๐ ภาษาตา งประเทศ (1นก.) (1 นก.) (1 นก.) (1 นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐ รวมเวลาเรยี น (พนื้ ฐาน) (๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.) ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๑,๖๔๐ *กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๒๒ นก.) (๔๑ นก.) * รายวิชา / กจิ กรรมท่ี ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ สถานศกึ ษาจดั เพ่ิมเติม ตาม ความพรอมและจุดเนน ปละ 20๐ชั่วโมง จำนวน 1600 ชวั่ โมง รวมเวลาเรยี นท้ังหมด ไมน อยกวา ๑,๒๐๐ ช่ัวโมง/ป รวม ๓ ป ไมนอ ยกวา ๓,6๐๐ ชั่วโมง/ป

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 19 โครงสรา งหลกั สตู รระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุมสาระการเรียนรู/ เวลาเรียน กิจกรรม ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย รายวิชา กลุมสาระการเรยี นรู ม.4 ม.5 ม.6 ภาษาไทย พ้ืนฐาน เพมิ่ เตมิ คณิตศาสตร พืน้ ฐาน เพิม่ เตมิ พ้นื ฐาน เพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) 40(1.0 นก.) 160(4.0นก.) สงั คมศึกษา ศาสนา และ 160(4.0นก.) 120(3.0 นก.) 120 วฒั นธรรม 120(3.0นก.) (3.0นก.) 80(1.0 นก.) 360(9.0นก.) - ศาสนา ฯ, หนา ทีพ่ ลเมือง ฯ และเศรษฐศาสตร 400(10.0นก.) 120(3.0 นก.) 360 ภมู ิศาสตร (9.0นก.) -ประวตั ิศาสตร -อาเซียนศกึ ษา 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) -หนาท่ีพลเมอื ง -การปอ งกันการทจุ รติ 40(1.0 นก.) 40(1.0นก.) สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศิลปะ 40( 1.0 นก.) 20(0.5 นก.) 40( 1.0 นก.) 40(1.0 นก.) 40( 1.0 นก.) 40(1.0 นก.) การงานอาชพี 40( 1.0 นก.) 40(1.0 นก.) 40( 1.0 นก.) 60(1.5นก. 40( 1.0 นก.) 40(1.0 นก.) ภาษาตางประเทศ 40(1.0 นก.) 20 (0.5 นก.) 20 (0.5 นก.) O ภาษาอังกฤษ 20(0.5นก.) O ภาษาทสี่ าม 20(0.5นก.) IS1 การศกึ ษาคนควา ฯ IS2 การสอื่ สารนำเสนอฯ 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) 80(2.0 นก.) รวมเวลาเรยี น 80(2.0นก) กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน - กิจกรรมแนะแนว 520(13.0นก.) 680(17.0 620(15.5นก.) 580 500(12.5 700(17.5นก.) - กิจกรรมนักเรยี น นก.) (14.5นก.) นก.) - ชุมนุม - ชมรม 40 40 40 -กิจกรรมธารณะประโยชน IS3 40 40 40 รวมกิจกรรมพัฒนาผเู รียน 20 20 20 รวมเวลาเรยี น 20 20 20 120 120 120 1,320 ช่วั โมง/ป 1,320 ช่วั โมง/ป 1,320 ชั่วโมง/ป

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 20 โครงสรา งเวลาเรยี น ระดบั มัธยมศึกษาปท่ี 4 แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร – คณิตศาสตร เวลาเรียน (ช่ัวโมง ) กลุม สาระการเรียนรู ม.4ภาคเรยี นท่ี 1 ม.4ภาคเรยี นท่ี 2 ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพ่มิ เตมิ พนื้ ฐาน เพ่มิ เติม คณิตศาสตร วิทยาศาสตร 40 40  ฟสกิ ส 40 80 40 80  เคมี 40 80 40 80 60 60  ชีววิทยา 60 60  เทคโนโลยี 20 20 สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 40 40 O ศาสนา ฯ, หนา ทีพ่ ลเมอื ง O ประวัติศาสตร 20 20 20  หนา ทีพ่ ลเมอื ง 20 20  อาเซ่ียน 20 20 20 20  การปองกนั การทจุ ริต 20 40 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 220 340 ศิลปะ 40 การงานอาชีพ 260 340 60 ภาษาตา งประเทศ O ภาษาองั กฤษ 600 20 รวม รวมทงั้ หมด 20 20 กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 กิจกรรมนักเรียน 20 ชุมนุม กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและ 60 60 สาธารณประโยชน 660 660 IS3 รวม 1,320 รวมทงั้ หมด รวมตลอดป

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 21 โครงสรางเวลาเรยี น ระดับมัธยมศกึ ษาปที่ 5 แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร – คณิตศาสตร เวลาเรียน (ชั่วโมง ) กลมุ สาระการเรยี นรู ม.5 ภาคเรยี นท่ี 1 ม.5 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพมิ่ เติม พืน้ ฐาน เพ่ิมเติม คณติ ศาสตร วิทยาศาสตร 40 40  ฟสิกส 60 60 60 60  เคมี 60 60  ชีววทิ ยา 40 60 60  เทคโนโลยี 60 40 60 สังคมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม 20 20 O ศาสนา ฯ, หนาท่ีพลเมอื งฯ 40 40 และเศรษฐศาสตร 20 20 O ประวัติศาสตร 20 20  อาเซียนศึกษา 20 20  หนาที่พลเมอื ง 20 20  การปองกันการทุจริต 40 20 20 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 40 ศิลปะ 300 300 320 280 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาตา งประเทศ 600 600 O ภาษาอังกฤษ กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน รวม 20 รวมทง้ั หมด 20 กจิ กรรมแนะแนว 20 20 กิจกรรมนักเรียน 20 20 O ชมุ นมุ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและ 60 60 สาธารณประโยชน 660 660 รวม รวมทง้ั หมด 1,320 รวมตลอดป

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 22 โครงสรางเวลาเรยี น ระดับมัธยมศกึ ษาปที่ 6 แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร – คณิตศาสตร เวลาเรียน (ช่ัวโมง) กลุมสาระการเรียนรู ม.6 ภาคเรยี นที่ 1 ม.6 ภาคเรยี นที่ 2 ภาษาไทย พ้ืนฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพ่ิมเตมิ คณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร 40 40  ฟสิกส 40 80 80  เคมี 60 60  ชีววทิ ยา 60 60  โลก ดาราศาสตร 40 60 60 สงั คมศกึ ษาศาสนาและวัฒนธรรม O ศาสนา ฯ, หนา ที่พลเมืองฯ 40 และเศรษฐศาสตรภูมศิ าสตร 40 40  ประวัตศิ าสตร 20 20  อาเซยี นศึกษา 20 20  หนาที่พลเมือง 20 20  การปอ งกนั การทจุ ริต 20 20 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 20 20 20 ศลิ ปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี 20 ภาษาตา งประเทศ O ภาษาองั กฤษ 40 40 40 IS1 การสือ่ สารและการคน ควา 40 IS2 การสอ่ื สารนำเสนอฯ 260 340 240 360 รวม 600 รวมทั้งหมด 600 กจิ กรรมพัฒนาผเู รียน กจิ กรรมแนะแนว 20 20 กิจกรรมนักเรยี น O ชุมนมุ 20 20 กิจกรรมเพื่อสังคมและ 20 20 สาธารณประโยชน รวม 60 60 รวมทั้งหมด 660 660 รวมตลอดป 1,320

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 23 โครงสรา งหลกั สูตร ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 4 แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร - คณิตศาสตร ภาคเรยี นที่ 1 หนวยกติ /ชม. ภาคเรยี นที่ 2 หนว ยกติ /ชม. รายวิชาพ้นื ฐาน 6.5(260) ท31101 ภาษาไทย1 6.5 (260) รายวชิ าพน้ื ฐาน 1.0(40) ค31101 คณติ ศาสตร1 1.0(40) ว31101 ฟส ิกสพื้นฐาน1 1.0(40) ท31102 ภาษาไทย2 1.0(40) ว31103 การออกแบบเทคโนโลยี 1 0.5 (20) ส31101 สังคมศกึ ษาศาสนา และ 1.0(40) ค31102 คณิตศาสตร2 1.0(40) วัฒนธรรม1 พ31101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา1 1.0(40) ว31102 ฟสกิ สพ้ืนฐาน2 0.5(20) ศ31101 ศิลปะ 1 0.5(20) อ31101 ภาษาอังกฤษ1 0.5 (20) ว31104 วิทยาการคำนวณ 1 1.0(40) รายวชิ าเพ่มิ เติม 8.5(340) ค31201 คณติ ศาสตรเพม่ิ เตมิ 1 1.0(40) ส31103 สังคมศกึ ษาศาสนา และ 2.0(80) ว31201 ฟสิกส 1 2.0 (80) วัฒนธรรม2 1.5 (60) 1.5 (60) 0.5(20) พ31102 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา2 0.5(20) 0.5(20) ศ31102 ศิลปะ2 60 1.0(40) อ31102 ภาษาอังกฤษ2 20 ๙.0(3๖0) รายวชิ าเพม่ิ เติม 20 2.0(80) ค31202 คณติ ศาสตรเพ่ิมเตมิ 2 20 2.0 (80) ว31202 ฟสิกส 2 6๘0 ว31221 เคมี 1 1.5 (60) ว31222 เคมี 2 ว31241 ชวี วทิ ยา 1 1.5 (60) ว31242 ชีววิทยา 2 ง30203 การอาชพี (การปลูกไมด อกไมป ระดับ) 0.5 (20) ว 30201 คอมพวิ เตอรก ราฟก 0.5(20) ว 30202 การเขียนโปรแกรมภาษาไพ ทอน กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น 60 • กิจกรรมแนะแนว 20 กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น • กจิ กรรมแนะแนว • กจิ กรรมนักเรียน • กิจกรรมนกั เรยี น - ชุมนุม 20 - ชมุ นุม • กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ 20 • กจิ กรรมเพ่ือสังคมและ สาธารณประโยชน สาธารณประโยชน รวมเวลา 6๘0 รวมเวลา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 24 โครงสรางหลักสตู ร ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 4 แผนการเรยี น ศิลปท ่วั ไป ภาคเรียนท่ี 1 หนว ยกิต/ชม. ภาคเรียนท่ี 2 หนว ยกิต/ ชม. รายวชิ าพ้นื ฐาน 6.5 (260) รายวิชาพื้นฐาน ท31101 ภาษาไทย1 1.0(40) ท31102 ภาษาไทย2 6.5(260) ค31101 คณติ ศาสตร1 1.0(40) ค31102 คณิตศาสตร2 1.0(40) ว31101 ฟสกิ สพนื้ ฐาน1 1.0(40) ว31102 ฟสกิ สพน้ื ฐาน2 1.0(40) ว31103 การออกแบบเทคโนโลยี 1 0.5 (20) ว31104 วิทยาการคำนวณ 1 1.0(40) ส31101 สังคมศกึ ษาศาสนา และ 1.0(40) ส31103 สงั คมศกึ ษาศาสนา และ 0.5 (20) วฒั นธรรม1 วฒั นธรรม2 1.0(40) ส31161 ประวัติศาสตรไทย 1 0.5(20) ส31162 ประวตั ิศาสตรไทย 2 พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา1 0.5(20) พ31102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา2 0.5(20) ศ31101 ศลิ ปะ 1 0.5(20) ศ31102 ศลิ ปะ2 0.5(20) อ31101 ภาษาอังกฤษ1 1.0(40) อ31102 ภาษาอังกฤษ2 0.5(20) 5.5(220) 1.0(40) รายวชิ าเพม่ิ เติม 1.0(40) รายวิชาเพ่ิมเติม 5.5(220) ส31241 การลงทนุ ในตลาดหลกั ทรัพย ส31242 การลงทนุ ในตลาดหลกั ทรัพย 1.0(40) เบือ้ งตน 1 1.5(60) เบ้อื งตน 2 ง31201 การทอเส่อื กก1 1.5(60) ง31202 การทอเส่ือกก2 1.0(40) ศ31201 ดนตรีพ้นื เมืองโปงลาง ศ31202 ดนตรพี ้นื เมอื งโปงลางประยกุ ต2 1.0(40) ประยุกต1 พ31201 โยคะ 1.5(60) พ31202 เทควนั โด 1.0(40) ง31203 ขนมไทย 1 1.0(40) ง31204 ขนมไทย 2 1.0(40) ว30201 คอมพิวเตอรก ราฟก 0.5(20) ว30202 การเขยี นโปรแกรมภาษาไพทอน 0.5(20) กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน 60 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 60 • กิจกรรมแนะแนว 20 • กิจกรรมแนะแนว 20 • กิจกรรมนกั เรียน 20 • กิจกรรมนักเรียน 20 - ชุมนุม - ชมุ นมุ • กิจกรรมเพื่อสงั คมและ 20 • กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน 20 สาธารณประโยชน 540 รวมเวลา 540 รวมเวลา

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรุง 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 25 โครงสรา งหลักสตู รชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 5 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร – คณติ ศาสตร ภาคเรยี นท่ี 1 หนวยกติ /ชม. ภาคเรียนท่ี 2 หนว ยกิต/ชม. รายวชิ าพ้นื ฐาน 7.5 (300) ท32101 ภาษาไทย3 1.0(40) รายวชิ าพ้ืนฐาน 8(320) ค32101 คณติ ศาสตร3 1.5(60) ว32101 เคมพี ื้นฐาน 1 1.0 (40) ท32102 ภาษาไทย4 1.0(40) ว32103 การออกแบบเทคโนโลยี 2 0.5 (20) ส32101 สงั คมศกึ ษาศาสนา และ 1.0(40) ค32102 คณิตศาสตร4 1.5(60) วัฒนธรรม3 ส32161 ประวัตศิ าสตร 1 0.5(20) ว32102 ชีววิทยาพืน้ ฐาน 1 1.0 (40) พ32101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา3 0.5(20) ศ32101 ศิลปะ3 0.5(20) ว32104 วทิ ยาการคำนวณ 2 0.5 (20) อ32101 ภาษาอังกฤษ3 1.0(40) ส32102 สังคมศึกษาศาสนา และ 1.0(40) รายวชิ าเพม่ิ เติม ๘.๐(3๒๐) ค32201 คณติ ศาสตรเพม่ิ เตมิ 3 1.5(60) วัฒนธรรม4 ว32203 ฟส กิ ส 3 1.5 (60) ว32223 เคมี 3 1.5 (60) ส32162 ประวัติศาสตร 2 0.5(20) ว32243 ชีววิทยา 3 1.5 (60) ง30205 การงานอาชพี (การผูกผา) 1.0(40) พ32102 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา4 0.5(20) ส32201 การปองกนั การทจุ ริต3 0.5(20) ว30203 การออกแบบส่ิงของเคร่ืองใช 0.5(20) ศ32102 ศิลปะ4 0.5(20) กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน 60 ง32101 การงานอาชีพ 1 0.5(20) • กจิ กรรมแนะแนว 20 • กจิ กรรมนักเรยี น อ32102 ภาษาองั กฤษ4 1.0(40) 20 - ชุมนมุ รายวชิ าเพิ่มเติม 7.๕(๓๐๐) ค32202 คณิตศาสตรเ พม่ิ เติม4 1.5(60) ว32204 ฟส ิกส 4 1.5 (60) ว32224 เคมี 4 1.5 (60) ว32244 ชีววทิ ยา 4 1.5 (60) ง30206 เบเกอรี่ 0.5(20) ส32202 การปองกันการทุจรติ 4 0.5(20) ว 30204 การสรา งเว็บเพจดว ยภาษา 0.5(20) HTML กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน 60 • กิจกรรมแนะแนว 20 • กจิ กรรมนักเรยี น - ชมุ นมุ 20 • กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและ 20 • กิจกรรมเพื่อสังคมและ 20 สาธารณประโยชน สาธารณประโยชน 6๘0 รวมเวลา 6๘0 รวมเวลา

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 26 โครงสรา งหลักสตู รชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 6 แผนการเรยี นวทิ ยาศาสตร - คณติ ศาสตร ภาคเรยี นที่ 1 หนวยกติ / ภาคเรียนที่ 2 หนวย/ ชม. ชม. 6.0(240) 1.0(40) รายวชิ าพื้นฐาน ๗.๐ (2๘0) รายวิชาพนื้ ฐาน 1.0.(40) 1.0(40) ท33101 ภาษาไทย5 1.0(40) ท33102 ภาษาไทย6 0.5(20) ค33101 คณติ ศาสตร5 1.0(40) ว33163 โลกและดวงดาว1 0.5(20) ว33101 ชวี วทิ ยาพืน้ ฐาน 2 1.0 (40) ส33103 สังคมศกึ ษาศาสนา และ 0.5(20) 0.5(20) วัฒนธรรม6 1.0(40) ส33101 สงั คมศกึ ษาศาสนา และ 1.0(40) พ33102 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา6 ๑๐.0(๔๐0) 2.0(80) วัฒนธรรม5 1.5 (60) 1.5 (60) ส33163 ประวัตศิ าสตร 3 0.5(20) ส33164 ประวตั ิศาสตร 4 1.5 (60) 0.5(20) พ33101 สุขศึกษาและพลศึกษา5 0.5(20) ศ33102 ศลิ ปะ6 0.5(20) 0.5(20) ศ33101 ศลิ ปะ 5 0.5(20) ง33102 การงานอาชีพ 2 1.0(40) 1.0(40) อ33101 ภาษาองั กฤษ5 1.0(40) อ33102 ภาษาองั กฤษ6 60 20 ว33105 วิทยาการคำนวณ ๓ 0.5(20) 20 รายวชิ าเพม่ิ เติม 9.0(3๖0) รายวิชาเพิ่มเติม ค33201 คณติ ศาสตรเ พิม่ เติม5 2.0(80) ค33202 คณิตศาสตรเ พิ่มเติม6 ว33205 ฟส กิ ส 5 1.5 (60) ว33206 ฟสกิ ส 6 ว33225 เคมี 5 1.5 (60) ว33226 เคมี 6 ว33245 ชวี วิทยา 5 1.5 (60) ว33246 ชวี วทิ ยา 6 ส30244หนาทพ่ี ลเมือง3 0.5(20) ส33224หนาทีพ่ ลเมอื ง4 ส33201การปองกนั การทุจริต5 0.5(20) ส33202การปองกันการทจุ รติ 6 IS1 การศกึ ษาคนควา และสรางองคค วามรู 1.0(40) ศ33201ประยุกตศ ลิ ป1 ว 30205 การเขยี นโปรแกรมเชงิ วัตถุ 0.5(20) IS2 การสอื่ สารและการนำเสนอ ว 30206 โครงงานคอมพิวเตอร กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น 60 กิจกรรมพัฒนาผเู รยี น • กิจกรรมแนะแนว 20 • กิจกรรมแนะแนว • กิจกรรมนกั เรียน • กิจกรรมนกั เรียน - ชมุ นุม 20 - ชมุ นุม • กิจกรรมเพื่อสงั คมและ 20 กจิ กรรมเพื่อสงั คมและ 20 สาธารณประโยชน สาธารณประโยชน 6๘0 รวมเวลา 6๘0 รวมเวลา

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 27 คำอธบิ ายรายวิชา ๑. กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ๒. กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๓. กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔. กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. กลมุ สาระการเรียนรูสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ๖. กลุมสาระการเรยี นรูศลิ ปะ ๗. กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ ๘. กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ ๙. กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 28 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรุง 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 29 โครงสรา งรายวชิ าพืน้ ฐานและเพมิ่ เติม กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว ยกติ ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ๑.๐ หนว ยกิต ท ๓๑๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หนว ยกติ ท ๓๒๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หนวยกติ ท ๓๒๑๐๒ ภาษาไทย จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ๑.๐ หนวยกติ ท ๓๓๑๐๑ ภาษาไทย จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๑.๐ หนว ยกิต ท ๓๓๑๐๒ ภาษาไทย

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 30 คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 31 คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ ๔ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนวยกิต อานออกเสียงรอยแกวจากงานเขียนประเภทบทความ และรอยกรองประเภทกลอน ตีความ แปล ความ ขยายความ และตอบคำถามจากการอานนิทาน วรรณกรรมพน้ื บาน บทรอ ยกรองรวมสมยั คำสอน และ คำขวัญ มารยาทในการอาน เขียนโครงการและรายงานการดำเนินโครงการ เขียนเรียงความ ยอความ ประเมินงานเขียนของผูอืน่ แลวนำมาพัฒนางานเขียนของตัวเอง พูดสรุปแนวคิดและการแสดงความคิดเหน็ จากเรอ่ื งท่ีฟงและดูวิเคราะหแนวคดิ การใชภาษา ความนาเชอ่ื ถือ และมวี ิจารณญาณจากเร่ืองท่ฟี งและดู พูด ตอท่ีประชุม มารยาทในการฟง ดู พูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา การใชคำ และกลุมคำสรางประโยคตรงตามวตั ถุประสงค ฝกแตงกลอนหลักการสรา งคำในภาษาไทย การประเมินการใช ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมในแงจุดมุงหมาย วิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและวรรณกรรมดานวรรณศิลป สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและ วรรณกรรมมาใชในชีวิตจริง โดยใชกระบวนการคดิ ทักษะ การสือ่ สาร สรุปวิเคราะหขอ มูลจากเรื่องและส่อื ตา งๆ ทอ่ี า น ฟง และดู เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจนำไปใชใน ชวี ติ ประจำวันไดอ ยา งภาคภมู ใิ จ ตระหนักในความสำคญั ของภาษาไทย ช่นื ชม เหน็ คุณคาภูมปิ ญญาไทย ภูมใิ จในภาษาประจำชาติ รัก ชาติ ศาสน กษัตรยิ  ซ่ือสัตยอยูอยางพอเพียง มวี นิ ัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทำงาน รักความเปนไทย และมี จิตสาธารณะ รหสั ตวั ช้ีวัด ท๑.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๖, ม.๔/๙ ท๒.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๓, ม.๔/๕ ท๓.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๔, ม.๔/๕, ม.๔/๖ ท๔.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๔, ม.๔/๖, ม.๔/๗ ท๕.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๓, ม.๔/๔ รวมทั้งหมด ๒๑ ตวั ช้วี ัด

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 32 คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน ท ๓๑๑๐๒ ภาษาไทย กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๔ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนวยกิต อานออกเสียงรอ ยแกว จากงานเขียนประเภทความเรยี ง และรอ ยกรองประเภทโคลง วเิ คราะหว ิจารณ และตอบคำถามจากบทโฆษณา ปาฐกถา พระบรมราโชวาท เทศนา บทเพลง บทอาเศียรวาท เขียนจดหมาย กิจธุระ เขียนยอความจากวรรณคดี และประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนำมาพัฒนางานเขียนของตัวเอง เขียนบันทึกความรู พูดสรุปแนวคิดและการแสดงความคิดเห็นจากเรื่องทีฟ่ งและดูวิเคราะหแนวคิด การใช ภาษา ความนา เชอื่ ถอื และมีวจิ ารณญาณจากเร่อื งทฟ่ี งและดู มารยาทในการอาน การฟง ดู พดู ฝก แตงโคลง หลักการสรา งคำในภาษาไทย การประเมินการใชภ าษาจากสื่อสง่ิ พิมพแ ละสื่ออิเล็กทรอนิกส วเิ คราะหวิจารณ วรรณคดีและวรรณกรรมในแงรูปแบบ ประเมินคาวรรณคดีและวรรณกรรมดานดานสังคมและวัฒนธรรม สังเคราะหข อคิดจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมมาใชใ นชีวิตจริง โดยใชก ระบวนการคิด ทกั ษะ การส่อื สาร สรุปวิเคราะหขอมูลจากเรื่องและสือ่ ตา งๆ ทอ่ี า น ฟง และดู เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจนำไปใชใน ชวี ิตประจำวันไดอยา งภาคภมู ใิ จ ตระหนักในความสำคัญของภาษาไทย ชน่ื ชม เห็นคุณคา ภมู ปิ ญ ญาไทย ภมู ิใจในภาษาประจำชาติ รกั ชาติ ศาสน กษัตรยิ  ซ่ือสัตยอยูอยางพอเพียง มวี นิ ัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทำงาน รักความเปนไทย และมี จิตสาธารณะ รหัสตวั ช้ีวัด ท๑.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๓, ม.๔/๖ ท๒.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๓, ม.๔/๕ ท๓.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๒, ม.๔/๔, ม.๔/๕, ม.๔/๖ ท๔.๑ ม.๔/๔, ม.๔/๖ ท๕.๑ ม.๔/๑, ม.๔/๓, ม.๔/๔ รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวชว้ี ัด

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 33 คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน ท ๓๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนว ยกติ อานออกเสียงรอยแกวจากงานเขียนประเภทเรื่องสั้น และรอ ยกรองประเภทรายและลิลิต ตีความ แปลความ ขยายความจากการอานวรรณคดีในบทเรยี น คาดคะเนเหตุการณและประเมนิ คา เพือ่ นำความรูไป ใชตัดสินแกปญหาในการดำเนินชีวิต เขียนเชิญชวน ประกาศ รายงานการประชุมยอความ พูดสรุปแนวคิด และความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู เลือกเรื่องที่ฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ ประเมินเรือ่ งท่ีฟงและดู เพื่อ นำไปประยุกตใช พูดโนมนาวใจ มารยาทในการฟง ดู พูด การใชภาษาใหเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะ ระดับภาษา และคำราชาศัพท แตงบทรอยกรองประเภทรา ย วิเคราะหวิจารณว รรณคดีและวรรณกรรมในแง เน้ือหา ทองบทอาขยานและบทรอยกรองตามที่กำหนด โดยใชก ระบวนการคดิ ทกั ษะ การสือ่ สาร สรปุ วิเคราะหขอมูลจากเรื่องและส่ือตางๆ ทอี่ า น ฟง และดู เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มคี วามสามารถในการแยกแยะ ตัดสนิ ใจนำไปใชใน ชีวติ ประจำวันไดอ ยา งภาคภมู ิใจ ตระหนกั ในความสำคัญของภาษาไทย ชนื่ ชม เหน็ คณุ คา ภมู ปิ ญ ญาไทย ภมู ใิ จในภาษาประจำชาติ รัก ชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยอยูอยางพอเพียง มีวนิ ัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทำงาน รักความเปนไทย และมี จติ สาธารณะ รหัสตัวช้ีวัด ท๑.๑ ม.๕/๑,ม.๕/๒,ม.๕/๔ ท๒.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๓ ท๓.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๓, ม.๕/๔, ม.๕/๕, ม.๕/๖ ท๔.๑ ม.๕/๓, ม.๕/๔ ท๕.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๖ รวมท้ังหมด๑๔ตวั ช้ีวัด

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 34 คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ท ๓๒๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หนวยกติ อานออกเสียงรอยแกวจากงานเขียนประเภทสารคดี ตีความ แปลความ ขยายความจากการอาน บทความ วิเคราะหวิจารณจ ากการอานสารคดี และวรรณคดีในบทเรียน คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องทีอ่ าน และประเมินคา เพื่อนำความรูไปใชตัดสินแกปญหาในการดำเนินชีวิต มารยาทในการอาน เขียนกรอก แบบฟอรม ยอความ เขียนรายงานเชิงวชิ าการ เขยี นอางอิงขอ มูลสารสนเทศ มารยาทในการเขยี น พดู แสดง ทรรศนะ มารยาทในการฟง ดู พูด แตง บทรอยกรองประเภทกาพย วิเคราะหวิจารณว รรณคดแี ละวรรณกรรม ในแงกลวิธี สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมมาใชในชีวิตจริง ทองบทอาขยานและบทรอยกรอง ตามตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด ทกั ษะ การสอ่ื สาร สรปุ วิเคราะหขอ มลู จากเร่ืองและสื่อตางๆ ที่อาน ฟง และดู เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรยี นรู มคี วามสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจนำไปใชใน ชวี ิตประจำวันไดอยา งภาคภูมิใจ ตระหนกั ในความสำคัญของภาษาไทย ชนื่ ชม เหน็ คณุ คาภมู ปิ ญญาไทย ภูมใิ จในภาษาประจำชาติ รัก ชาติ ศาสน กษัตรยิ  ซ่ือสัตยอยูอยางพอเพียง มีวินัย ใฝเ รียนรู มุงมั่นในการทำงาน รักความเปน ไทย และมี จิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๒, ม.๕/๓, ม.๕/๔,ม.๕/๙ ท๒.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๓, ม.๕/๖, ม.๕/๗, ม.๕/๘ ท๓.๑ ม.๕/๕, ม.๕/๖ ท๔.๑ ม.๕/๔ ท๕.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๔, ม.๕/๖ รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวช้วี ดั

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพ์ิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 35 คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ท ๓๓๑๐๑ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว ยกิต อานออกเสียงรอยแกวจากงานเขียนประเภทเรื่องสน้ั และรอยกรองประเภทกาพย วิเคราะหวิจารณ แสดงความเห็นโตแยง และเสนอความคิดใหมจากการอานเรื่องสั้น นวนิยาย และวรรณคดีในบทเรียน มารยาทในการอา น เขียนอธิบาย บรรยาย พรรณนา เขยี นสารคดแี ละบันเทงิ คดี ประเมินคณุ คา งานเขียนใน ดานการเรียบเรยี ง สำนวนโวหาร มารยาทในการเขยี น พูดสรปุ แนวคิดและความคดิ เหน็ จากเรื่องทฟ่ี งและดู ประเมนิ เรื่องทฟ่ี งและดู เพื่อนำไปประยกุ ตใ ช วิจารณญาณในการเลอื กเร่อื งท่ฟี งและดู พดู อภปิ ราย มารยาท ในการฟง ดู พูด แตง บทรอยกรองประเภทกาพย อิทธิพลของภาษาตางประเทศ และภาษาถ่นิ วเิ คราะหและ ประเมนิ การใชภ าษาจากสอ่ื สง่ิ พิมพ และส่ืออเิ ล็กทรอนิกส วิเคราะหลักษณะเดน ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม เกี่ยวกับเหตุการณประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของสังคมในอดีต วิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ วรรณกรรมดานวรรณศิลป ดานสังคมและวฒั นธรรม รวบรวมวรรณกรรมพื้นบานและอธิบายภูมิปญญาทาง ภาษา โดยใชก ระบวนการคิด ทกั ษะ การส่ือสาร สรุปวิเคราะหขอ มูลจากเรื่องและส่อื ตา งๆ ที่อาน ฟง และดู เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรยี นรู มคี วามสามารถในการแยกแยะ ตัดสนิ ใจนำไปใชใน ชวี ิตประจำวันไดอยา งภาคภูมใิ จ ตระหนักในความสำคัญของภาษาไทย ช่นื ชม เห็นคณุ คาภมู ปิ ญญาไทย ภมู ิใจในภาษาประจำชาติ รัก ชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตยอยูอยางพอเพียง มวี ินัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทำงาน รักความเปนไทย และมี จติ สาธารณะ รหสั ตัวชี้วดั ท๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๕, ม.๖/๙ ท๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๘ ท๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖ ท๔.๑ ม.๖/๔, ม.๖/๕ ท๕.๑ ม.๖/๒, ม.๖/๓, ม.๖/๕ รวมทั้งหมด ๑๗ ตัวชวี้ ดั

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรบั ปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ 2560) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 36 คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน ท ๓๓๑๐๒ ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หนวยกิต อานออกเสียงรอยแกวจากงานเขียนประเภทนวนิยาย และรอยกรองประเภทฉันท อานสารคดี บันเทงิ คดี และวรรณคดใี นบทเรยี น แลวเขียนกรอบแนวคิด แผนผังความคิด บันทึก ยอความ และรายงานจาก เรื่องที่อาน สังเคราะหความรูจ ากการอานสอื่ และแหลงเรียนรูตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนา ความรทู างอาชพี เขียนแสดงทรรศนะ โตแยง โนม นา ว เขียนยอ ความ ประเมินคุณคางานเขยี นในดา นกลวิธีใน การเขยี น มารยาทในการเขยี น พูดสรปุ แนวคดิ และความคิดเหน็ จากเร่ืองที่ฟง และดู ประเมินเรื่องที่ฟงและดู เพ่ือนำไปประยกุ ตใ ช วิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟงและดู พูดแสดงทรรศนะ มารยาทในการฟง ดู พูด การใชภาษาใหเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะ ระดับภาษา และคำราชาศัพท แตงบทรอยกรองประเภทฉันท วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจากส่ือสิ่งพิมพ และสื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส วิเคราะหและประเมินคาวรรณคดี และวรรณกรรมดานวรรณศิลป ดานสังคมและวัฒนธรรม สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพ่ือ นำไปประยุกตใ ชใ นชวี ิตจรงิ โดยใชกระบวนการคดิ ทักษะ การสอ่ื สาร สรปุ วิเคราะหขอ มูลจากเร่ืองและสอื่ ตา งๆ ท่ีอาน ฟง และดู เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรยี นรู มีความสามารถในการแยกแยะ ตัดสินใจนำไปใชใน ชวี ิตประจำวันไดอ ยางภาคภูมใิ จ ตระหนักในความสำคญั ของภาษาไทย ช่ืนชม เหน็ คุณคาภูมปิ ญ ญาไทย ภูมใิ จในภาษาประจำชาติ รัก ชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตยอยูอยางพอเพียง มวี นิ ัย ใฝเรียนรู มุงม่ันในการทำงาน รักความเปนไทย และมี จติ สาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๗, ม.๖/๘ ท๒.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๓, ม.๖/๕, ม.๖/๘ ท๓.๑ ม.๖/๑, ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๕, ม.๖/๖ ท๔.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔, ม.๖/๗ ท๕.๑ ม.๖/๓, ม.๖/๔ รวมทั้งหมด ๑๗ ตัวชีว้ ดั

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 37 กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 38 โครงสรางรายวิชาพืน้ ฐานและเพิ่มเติม กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.4-6 ) รายวิชาพื้นฐาน ค31103 คณติ ศาสตรพน้ื ฐาน 1 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกิต 1.0 หนว ยกติ ค31104 คณติ ศาสตรพ้นื ฐาน 2 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.5 หนวยกติ 1.5 หนว ยกิต ค32103 คณิตศาสตรพน้ื ฐาน 3 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.0 หนวยกิต ค32104 คณิตศาสตรพ้นื ฐาน 4 จำนวน 60 ชว่ั โมง 2.0 หนวยกติ 2.0 หนวยกติ ค33103 คณิตศาสตรพน้ื ฐาน 5 จำนวน 40 ชัว่ โมง 1.5 หนว ยกติ 1.5 หนว ยกติ รายวชิ าเพม่ิ เตมิ 2.0 หนว ยกติ 2.0 หนว ยกิต ค31201 คณิตศาสตรเพม่ิ เตมิ 1 จำนวน 80 ชั่วโมง ค31202 คณิตศาสตรเพ่มิ เตมิ 2 จำนวน 80 ช่ัวโมง ค32201 คณติ ศาสตรเพม่ิ เติม 3 จำนวน 60 ชว่ั โมง ค32202 คณติ ศาสตรเ พ่ิมเตมิ 4 จำนวน60 ช่ัวโมง ค33201 คณติ ศาสตรเพิ่มเติม 5 จำนวน 80 ชว่ั โมง ค33202 คณิตศาสตรเ พิม่ เตมิ 6 จำนวน 80 ช่ัวโมง

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรับปรุง 2565) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 39 คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูวิชาคณติ ศาสตร

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์พิ ฒั นวทิ ย (ฉบับปรับปรงุ 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 40 คำอธิบายรายวชิ าคณติ ศาสตรพืน้ ฐาน วิชาคณิตศาสตรพ น้ื ฐาน 1 รหัสวชิ า ค31101 กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว ยกิต ………………..........................................................................……………………………………………………………………… ……… ศึกษา คน ควา ฝกทักษะ/กระบวนการเกีย่ วกับเรอ่ื งดงั ตอไปนี้ เขา ใจ วิเคราะห และมีความคิด รวบยอดในเรอ่ื งของเซต เซตจำกดั และเซตอนันต การเทา กันของเซต เอกภพสัมพัทธ สับเซต และเพาเวอร เซต เขยี นแผนภาพเวนน-ออยเลอรแ สดงเซต การดำเนนิ การของเซต และจำนวนสมาชิกของเซตจำกัด ประพจน การเช่ือมประพจน การหาคาความจรงิ ของรปู แบบของประพจน การสรา งตารางคาความจริงของ รปู แบบของประพจน การสรางตารางคาความจริง รูปแบบของประพจนท ่สี มมูลกนั สจั นริ นั ดร การอาง เหตผุ ล ประโยคเปด ตวั บง ปริมาณ คาความจริงของประโยคท่มี ีตวั บง ปรมิ าณตัวเดยี ว สมมูลและนเิ สธของ ประโยคทม่ี ีตัวบงปริมาณ นกั เรยี นจะไดรับการฝกใหมที ักษะ เพ่ือพัฒนาทกั ษะและกระบวนการในการคดิ คำนวณ และมี ความสามารถในการแกป ญหา การใหเหตุผล และการส่อื สาร การสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร และการ นำเสนอความสามารถในการเช่อื มโยงความรูตา ง ๆ ทางคณิตศาสตรแ ละเช่ือมโยงคณติ ศาสตรกบั ศาสตรอ่นื ๆ รวมท้งั มีความคดิ รเิ รม่ิ สรางสรรค ซ่งึ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรเ หลา นไี้ ดจ ัดการเรยี นรผู านสาระ การเรียนรคู ณิตศาสตรตา ง ๆ ขา งตนั เพื่อใหนักเรียนมีความรู ผูเรียนมีคณุ ลกั ษณะ รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  ซื่อสัตยสุจริต มวี ินยั ใฝเ รียนรู อยอู ยางพอเพียง มุง มั่น ในการทำงาน รกั ความเปนไทย มจี ติ สาธารณะ รหสั มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ค 1.1 ม.4/1 เขา ใจและใชค วามรเู กย่ี วกับเซตและตรรกศาสตรเบื้องตน ในการส่ือสาร และสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร รวมท้ังหมด 1 ตัวชว้ี ดั

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 41 คำอธบิ ายรายวิชาคณิตศาสตรพ นื้ ฐาน คณติ ศาสตรพน้ื ฐาน 2 รหัสวชิ า ค31102 กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรยี น 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนวยกติ ………………..........................................................................……………………………………………………………………… ศึกษา ฝก ทกั ษะ/กระบวนการในสาระตอไปนี้ ผูเรยี นมีความเขา ใจ มีความคิดรวบยอด ในวิชาคณติ ศาสตรพืน้ ฐาน ศึกษาเกีย่ วกบั “หลักการนับ เบือ้ งตน ” หลักการบวกและการคณู การเรยี งสบั เปลี่ยนเชิงเสนกรณที ่สี ่งิ ของแตกตางกันทงั้ หมด การจดั หมู กรณสี ่งิ ของแตกตางกันทง้ั หมด ใชห ลักการบวกและการคูณ การเรยี งสับเปล่ยี นและการจดั หมูใ นการแกป ญหา “ความรูน าจะเปน” การทดลองสุม และเหตุการณ ความนาจะเปนของเหตุการณ โดยจดั ประสบการณห รือสถานการณในชวี ติ ประจำวันที่ใกลตวั ใหผเู รยี นไดศ ึกษาคนควา และสรา งองค ความรู (Research and Knowledge Formation) ผูเรยี นไดป ฏิบตั ิจรงิ ทดลอง สรุปรายงาน สอื่ สารและ นำเสนอ (Communication and Presentation) อยางเปนลำดับขนั้ ตอน เพือ่ พัฒนาทกั ษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตร นำประสบการณดา นความรู ความคิด ทักษะ/กระบวนการท่ีได ไปใชในการเรียนรูสิ่งตา ง ๆ รวมท้ังเหน็ คุณคา และมีเจตคติทดี่ ตี อคณติ ศาสตร สามารถทำงานอยางเปนระบบระเบียบ มคี วามรอบคอบ มี ความรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมน่ั ในตนเอง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง การวัดและประเมนิ ผล ใชว ธิ กี ารที่หลากหลายตามสภาพจรงิ ใหสอดคลองกับเน้ือหาทักษะ ที่ตอ งการวัด และคุณลักษณะอันพึงประสงค รหัสมาตรฐาน / ตัวชวี้ ัด ค 3.2 ม.4/1 ค 3.2 ม.4/2 รวมทั้งหมด 2 ตัวช้ีวัด

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย (ฉบบั ปรบั ปรุง 2565) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ 2560) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หนา 42 คำอธบิ ายรายวิชา คณิตศาสตร วชิ าคณติ ศาสตร รหัสวชิ า ค32103 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เวลา 60 ชว่ั โมง/ภาค มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 จำนวน 1.5 หนว ยกติ ช้ัน ภาคเรยี นท่ี 1 ................................................................................................................................................................... ศึกษา ฝก ทกั ษะ/กระบวนการในสาระตอ ไปน้ี เลขยกกำลงั รากท่ี n ของจำนวนจริง เมอื่ n เปน จำนวนนับทีม่ ากกวา 1 เลขยกกำลังท่ีมีเลขช้กี ำลังเปน จำนวนตรรกยะ ฟง กชนั ฟงกช ันและกราฟของฟง กช ัน (ฟง กชันเชงิ เสน ฟงกช นั กำลังสอง ฟง กชันขั้นบนั ได ฟง กชันเอกซเนนเชียล) โดยจัดประสบการณห รือสถานการณในชีวติ ประจำวันท่ีใกลตัวใหผ เู รยี นไดศกึ ษาคน ควา และสรา งองค ความรู (Research and Knowledge Formation) ผูเรยี นไดปฏบิ ัตจิ ริง ทดลอง สรุปรายงาน สือ่ สารและ นำเสนอ (Communication and Presentation) อยางเปนลำดบั ขั้นตอน เพอื่ พัฒนาทักษะ/กระบวนการทาง คณิตศาสตร นำประสบการณดา นความรู ความคดิ ทักษะ/กระบวนการที่ได ไปใชใ นการเรยี นรสู ่งิ ตาง ๆ รวมทงั้ เหน็ คณุ คา และมีเจตคติท่ีดตี อ คณติ ศาสตร สามารถทำงานอยางเปนระบบระเบยี บ มีความรอบคอบ มี ความรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ และมีความเชอื่ มน่ั ในตนเอง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การวัดและประเมนิ ผล ใชว ธิ ีการท่หี ลากหลายตามสภาพจรงิ ใหส อดคลองกบั เนือ้ หาทกั ษะ ที่ตองการวดั และคุณลักษณะอันพึงประสงค รหัสมาตรฐาน / ตัวช้ีวดั ค1.1 ม.5/1 ค1.2 ม.5/1 รวมทั้งหมด 2 ตัวช้ีวัด