คู่มือการจัดกจิ กรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวติ ประเภทลูกเสือวสิ ามัญ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ 1 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 1
คานิ ยม นบั ว่าเป็นโอกาสและประโยชน์ทส่ี าคญั อกี เรอ่ื งหน่งึ ทส่ี านกั การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกจิ การ นกั เรยี น ซง่ึ เป็นหน่วยงานหน่งึ ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รว่ มกบั หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดผ้ ลติ ตาราในลกั ษณะ คมู่ อื การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ชุดน้ขี น้ึ ซง่ึ มเี น้ือหาทส่ี อดคลอ้ งกบั ปัญหาตามวยั และพฒั นาการของผเู้ รยี น และมกี ารบูรณาการกจิ กรรมการเรยี นการสอน เขา้ กบั วธิ กี ารลกู เสอื ครู อาจารย์ ผกู้ ากบั ลกู เสอื และบุคลากรทางการลกู เสอื จะไดน้ าไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์อยา่ งแทจ้ รงิ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ประเทศไทยกาลงั กา้ วสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” ดงั นนั้ ความถกู ตอ้ งและชดั เจนในเรอ่ื งการ จดั กจิ กรรมลกู เสอื จงึ เป็นตาราและคมู่ อื ทางวชิ าการ สาหรบั กจิ กรรมลกู เสอื เพอ่ื จะใชเ้ ป็นเครอ่ื งมอื ในการ พฒั นาเยาวชนใหเ้ ป็นพลเมอื งดี มคี วามรอบรู้ สามารถชว่ ยตนเองได้ อนั จะเป็นแรงผลกั ดนั ใหก้ ารศกึ ษา ของประเทศไทยมคี วามเจรญิ เท่าเทยี มกบั ประเทศสมาชกิ อาเซยี น และอารยประเทศอ่นื ๆ ทวั่ โลก ขอขอบคณุ และใหก้ าลงั ใจต่อผทู้ รงวุฒทิ างการลกู เสอื และผมู้ สี ่วนรว่ มในการจดั ทาคมู่ อื การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ ง ทกั ษะชวี ติ เล่มน้ที ุกท่าน ทไ่ี ดเ้ สยี สละ กาลงั ความคดิ จนทาใหเ้ สรจ็ สน้ิ โดยสมบูรณ์ อนั จะเป็นประโยชน์ ต่อกจิ การลกู เสอื อยา่ งมาก ทงั้ ในปัจจุบนั และอนาคต นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ 2 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสร้างทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
คานิ ยม คมู่ อื การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ เป็นเครอ่ื งมอื สาคญั สาหรบั ครผู สู้ อน ลกู เสอื เนตรนารี ทจ่ี ะใชส้ าหรบั วางแผนการสอน การวดั และการประเมนิ ผเู้ รยี น จดั ทาขน้ึ โดยมเี ป้าหมาย สาคญั คอื เสนอแนวทางทเ่ี หมาะสมในการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าต่าง ๆ สาหรบั ครผู สู้ อน นาไปใชเ้ ป็นหลกั การในการจดั การเรยี นการสอน โดยสามารถพฒั นาและปรบั ปรงุ ใหด้ ขี น้ึ ตาม ความรู้ ความสามารถของครผู สู้ อน ในบรบิ ทแต่ละภูมภิ าค หลกั สาคญั ของเอกสารชุดน้ี นอกเหนอื จากเสนอแนวทางดา้ นเน้อื หาสาระสาคญั วธิ สี อนท่ี เหมาะสม การวดั และประเมนิ ผล ตวั อยา่ งแบบทดสอบ วธิ ที ดสอบ แลว้ ยงั สามารถต่อยอดทาง ความคดิ ของครผู สู้ อนได้ เน่อื งจากเป้าหมายทต่ี อ้ งการคอื การนาเอากระบวนการลกู เสือมาจดั การ เรยี นรใู้ หแ้ ก่ผเู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง ในการทากจิ กรรมอยา่ งครบวงจร เพ่อื ใหเ้ ป็นผมู้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ตามรปู แบบของลกู เสอื จงึ เชอ่ื ไดว้ ่า หากผเู้ รยี นเขา้ ใจและปฏบิ ตั ไิ ดแ้ ลว้ จะเป็นคนดใี น สงั คม ขอขอบคณุ ผรู้ ว่ มดาเนินการในการจดั ทาค่มู อื การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ทุก ภาคสว่ น ทเ่ี ลง็ เหน็ ประโยชน์ในการทาเอกสารชดุ น้ีจนสาเรจ็ เรยี บรอ้ ย สามารถเผยแพรไ่ ด้ ซง่ึ น่าจะ เป็นประโยชน์ต่อเดก็ และเยาวชนในทส่ี ดุ นายศจั ธร วฒั นะมงคล ผอู้ านวยการสานกั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสร้างทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 3
คานา สานกั การลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สมาคม วางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ไดร้ บั การสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) ร่วมกนั พฒั นาโครงการลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทักษะชีวิต มวี ตั ถุประสงค์เพ่ือเสรมิ สร้างทกั ษะชีวิตให้เด็กและ เยาวชนในสถานศกึ ษาด้วยกระบวนการลูกเสอื โดยใหเ้ ด็กและเยาวชนลงมอื ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองใน การทากจิ กรรมอย่างครบวงจร ตงั้ แต่การศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ตั ติ ามแผน ประเมนิ และ ปรบั ปรุงการจดั กจิ กรรม รวมถงึ การทางานเป็นระบบหมตู่ ามกระบวนการลูกเสอื ซง่ึ กจิ กรรมดงั กล่าว เป็นการพฒั นาความเป็นมนุษยแ์ บบองค์รวม ทงั้ ดา้ นร่างกาย จติ ใจ สังคม และสตปิ ัญญา ทาให้เดก็ และเยาวชนมรี ะเบยี บวนิ ัย มจี ติ สานึกในการทาความดี เพ่ือทาประโยชน์ให้กับครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ ต่อไป เริ่มจากการศึกษาความเป็ นไปได้ ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องทัง้ ในและ ต่างประเทศ จดั ประชุมผู้เช่ยี วชาญทงั้ ด้านลูกเสือ ด้านทกั ษะชวี ติ รวมทงั้ ด้านการพฒั นาเด็กและ เยาวชน เพ่อื กาหนดกรอบโครงสรา้ งหลกั สูตรลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ท่สี อดคล้องกบั ปัญหา ตามวยั และพฒั นาการดา้ นต่าง ๆ ของลกู เสอื แต่ละประเภท ค่มู อื การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ฉบบั ทดลอง สมาคมวางแผนครอบครวั แห่ง ประเทศไทยฯ ได้เรม่ิ ใช้ในปี พ.ศ.2553 มโี รงเรยี นจากทุกภูมภิ าคของประเทศเข้าร่วมโครงการ จานวน 26 โรงเรยี น โดยได้ดาเนินการควบคู่ไปกบั การวจิ ยั และประเมนิ ผลการใช้คู่มอื และทาการ ปรบั ปรงุ ค่มู อื ครงั้ แรกเมอ่ื เมษายน พ.ศ. 2554 โดยไดเ้ พมิ่ เตมิ เพลง เกม นิทาน เรอ่ื งสนั้ และเน้ือหา ใหค้ รบถว้ นยง่ิ ขน้ึ การปรบั ปรุงครงั้ ท่ีสอง มิถุนายน พ.ศ. 2559 เกิดข้ึนตามข้อเสนอแนะจากการประชุม ปฏบิ ตั กิ าร “การขบั เคล่อื นกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นดว้ ยกระบวนการลูกเสอื ” ซง่ึ จดั โดยสานกั การลกู เสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยยดึ ข้อบังคบั คณะลูกเสอื แห่งชาตวิ ่าดว้ ยการปกครอง หลกั สูตรและวชิ าพเิ ศษลูกเสอื และเพมิ่ จานวนแผนการจดั กจิ กรรมให้ ครบ 40 ชวั่ โมง เพ่อื ครอบคลุมสาระทจ่ี าเป็นอย่างครบถ้วน เป็นการเตรยี มการขยายผลในโรงเรยี น สงั กดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน (สพฐ.) ทวั่ ประเทศ และได้แบ่งคู่มอื ออกเป็น 11 เลม่ สาหรบั ลกู เสอื แต่ละชนั้ ปี เพอ่ื ความสะดวกของผสู้ อน รวมทงั้ ทางสานักการลูกเสอื ยวุ กาชาด และกิจการนักเรยี น ได้ทาการทดลองคู่มือจากโรงเรยี นทุกภูมิภาค จานวน 53 โรงเรียน โดย ดาเนินการวิจยั และประเมินผลการใช้คู่มือและทาการปรบั ปรุงคู่มือคู่ขนานกับสมาคมวางแผน ครอบครวั แห่งประเทศไทยฯ ดว้ ย สานักการลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรยี น และสมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศ ไทยฯ ขอขอบพระคุณหน่วยงานและบุคลากรทุกท่านท่มี สี ่วนร่วมในโครงการให้สาเร็จลุล่วง ณ โอกาสน้ี ตงั้ แต่การรเิ รม่ิ โครงการและสนับสนุนงบประมาณจากสานกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ ง 4 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสร้างทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
เสรมิ สุขภาพ (สสส.) การจดั ทาหลกั สูตรและคู่มอื การทดลองวจิ ยั และประเมนิ ผลการใชค้ ่มู อื รวมทงั้ การปรบั ปรงุ ค่มู อื ทงั้ 2 ครงั้ หวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่าค่มู อื ชุดน้ีจะช่วยส่งเสรมิ ใหก้ จิ การลูกเสอื ของประเทศ ไทย ซง่ึ ดาเนนิ มาครบวาระ 107 ปี ในปี พ.ศ. 2561 น้ี ไดเ้ ป็นเครอ่ื งมอื สาคญั และก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ สงู สุดต่อการพฒั นาเดก็ และเยาวชนของชาตติ ่อไป สานักการลูกเสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ สมาคมวางแผนครอบครวั แหง่ ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภส์ มเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี เมษายน 2561 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 5
สารบญั หน้า 2 คานิ ยม 4 คานา 8 คาชี้แจงการใช้ค่มู อื 11 แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 และประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 14 หน่วยท่ี 1 ปฐมนเิ ทศ 16 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 1 การปฐมนิเทศ 39 หน่วยท่ี 2 กจิ การของการลกู เสอื และบทบาทของตนเองทเ่ี ป็นลกู เสอื วสิ ามญั แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 2 ขบวนการลกู เสอื โลก ลกู เสอื ไทย ธรรมเนียม 67 และกจิ การลกู เสอื วสิ ามญั 75 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 3 กจิ การของคณะลกู เสอื ไทยและลกู เสอื โลก 78 84 หน่วยท่ี 3 คาปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 4 คาปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื 90 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 5 การคบเพอ่ื น แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 6 การสรา้ งสมั พนั ธภาพและการส่อื สาร 120 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 7 การเรยี นรเู้ บญจภูมิ 125 หน่วยท่ี 4 ระเบยี บแถว แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 8 ระเบยี บแถวลกู เสอื 130 หน่วยท่ี 5 กางและรอ้ื เตน็ ทท์ พ่ี กั แรม 134 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 9 การกางและรอ้ื เตน็ ทท์ พ่ี กั แรม 149 หน่วยท่ี 6 การบรรจเุ ครอ่ื งหลงั แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 10 การบรรจเุ ครอ่ื งหลงั หน่วยท่ี 7 ก่อและจดุ ไฟกลางแจง้ แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 11 การก่อไฟและปรงุ อาหาร หน่วยท่ี 8 แผนทแ่ี ละเขม็ ทศิ แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 12 แผนทแ่ี ละเขม็ ทศิ หน่วยท่ี 9 การผกู เงอ่ื นและประโยชน์ของเงอ่ื น แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 13 เงอ่ื นเชอื ก 6 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสร้างทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
สารบญั (ต่อ) หน้า หน่วยท่ี 10 การปฐมพยาบาล แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 14 กภู้ ยั ใกลต้ วั และการปฐมพยาบาล 164 หน่วยท่ี 11 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของลกู เสอื วสิ ามญั แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 15 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมและประกอบอาชพี 170 ในสถานประกอบการ แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 16 สายไปเสยี แลว้ 178 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 17 ภยั ใกลต้ วั หนุ่มสาว 184 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 18 สรา้ งวกิ ฤตใิ หเ้ ป็นโอกาส 190 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 19 สารเสพตดิ 193 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 20 ป้องกนั ไวก้ ่อน 196 หน่วยท่ี 12 การฝึกอบรมรว่ มกนั ทงั้ กอง แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 21 การฝึกอบรมรว่ มกนั ทงั้ กอง 202 แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 22 การสารวจชมุ ชนวถิ ไี ทยและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ 215 หน่วยท่ี 13 ประเมนิ ผล แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 23 การประเมนิ ผล 222 หน่วยท่ี 14 พธิ กี าร แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 24 พธิ เี ขา้ ประจากองลกู เสอื วสิ ามญั 235 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แนวคดิ เรอ่ื งทกั ษะชวี ติ 252 ภาคผนวก ข กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ 263 บรรณานุกรม 266 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 7
คาชี้แจงการใช้ค่มู ือ ค่มู อื การจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ชุดน้ี จดั ทาขน้ึ สาหรบั ผู้กากบั ลกู เสอื ใชเ้ ป็น แนวทางในการจดั กิจกรรมลูกเสือ มีจานวน 11 เล่ม แยกตามชนั้ ปี สาหรบั ลูกเสือ 4 ประเภท คือ ลกู เสอื สารอง ลกู เสอื สามญั ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ และลกู เสอื วสิ ามญั หลกั สูตรลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ มเี น้ือหาทส่ี อดคลอ้ งกบั ปัญหาตามวยั และพฒั นาการ ด้านต่าง ๆ ของลูกเสือแต่ละประเภท นอกจากน้ียงั มีเน้ือหาครบถ้วน เป็นไปตามข้อบงั คบั คณะ ลกู เสอื แห่งชาติ ว่าดว้ ยการปกครองหลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษลกู เสอื สารอง ลกู เสอื สามญั ลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ และลกู เสอื วสิ ามญั อกี ดว้ ย แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ในคู่มอื ชุดน้ี ได้ออกแบบโดยบูรณาการ กิจกรรมท่ีเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ เข้ากบั วธิ กี ารลูกเสอื คือการใช้ระบบหมู่หรอื กลุ่มย่อย โดยให้เด็กเป็น ศูนยก์ ลาง และมผี ใู้ หญ่ทาหน้าทช่ี ่วยเหลอื และส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ กระบวนการเรยี นรใู้ นกลุ่ม แนะนา สงั่ สอน และฝึกอบรมใหส้ ามารถพง่ึ ตนเองได้ มจี ติ อาสา รบั ผดิ ชอบต่อส่วนรวม ยดึ มนั่ ในคาปฏญิ าณและกฎของ ลกู เสอื เสรมิ สรา้ งคุณค่าในตนเอง รวมทงั้ ใชร้ ะบบเคร่อื งหมายหรอื สญั ลกั ษณ์ทางลูกเสอื และเครอ่ื งหมาย วชิ าพเิ ศษ เป็นแรงกระตุน้ ไปส่เู ป้าหมายในการพฒั นาตนเอง การเรยี งลาดบั แผนการจดั กจิ กรรม จดั เรยี งลาดบั เน้ือหาสาระตามหลกั สตู รในขอ้ บงั คบั คณะ ลกู เสอื แห่งชาติ ว่าดว้ ยการปกครองหลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษลกู เสอื สารอง ลกู เสอื สามญั ลกู เสอื สามญั รุ่นใหญ่ และลกู เสอื วสิ ามญั การนาไปใชข้ น้ึ กบั ดุลยพนิ ิจของสถานศกึ ษาในการเลอื กว่าแผนการจดั กจิ กรรมใดควรใชเ้ มอ่ื ใด องคป์ ระกอบในการประชุมกอง เน้นการใช้ชวี ติ กลางแจง้ นอกห้องเรยี น ใกลช้ ดิ ธรรมชาติ เรยี นรจู้ ากการลงมอื ปฏบิ ตั ดิ ว้ ยตนเอง เกม และการบรกิ ารผอู้ ่นื ซง่ึ ถอื เป็นหวั ใจของกจิ กรรมลกู เสอื ทกุ ประเภท โดยกจิ กรรมทใ่ี ช้ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คอื การแสดงออก การสารวจและการรายงาน การวเิ คราะห์และการประเมนิ เกมและการแข่งขนั การบาเพญ็ ประโยชน์ มกี ารออกแบบกิจกรรม เพ่อื ใหล้ ูกเสอื ได้ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการแลกเปลย่ี นประสบการณ์ แลกเปล่ยี นความคดิ ความเช่อื สรา้ งองค์ความรแู้ ละสรปุ ความคดิ รวบยอด รวมทงั้ เปิดโอกาสให้ลกู เสอื ไดป้ ระยุกต์ใชส้ งิ่ ท่ีไดเ้ รยี นรู้ ในชวี ติ จรงิ อกี ดว้ ย เน้อื หาสาระในแผนการจดั กจิ กรรมประกอบดว้ ย 1. กิจกรรมตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ (ไม่รวมกิจกรรมทดสอบเพ่ือรับ เครอ่ื งหมายหรอื สญั ลกั ษณ์ทางลกู เสอื และเครอ่ื งหมายวชิ าพเิ ศษ) 2. กจิ กรรมตามขอ้ บงั คบั ของคณะลูกเสอื แห่งชาติทช่ี ่วยเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ความภาคภมู ใิ จในตนเอง ความรบั ผดิ ชอบต่อส่วนรวม 3. กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ เพ่อื สรา้ งภมู คิ ุม้ กนั ทางสงั คมต่อเหตุการณ์และสภาพปัญหา ของเดก็ แต่ละวยั 8 คมู่ ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
คมู่ อื แต่ละเล่ม ไดจ้ ดั ทาตารางหน่วยกจิ กรรม และแผนการจดั กจิ กรรม 40 ชวั่ โมง เพอ่ื ใหเ้ หน็ ภาพรวมของการจดั กจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ของลกู เสอื ในแต่ละระดบั ชนั้ และมหี มายเหตุ บอกไวใ้ นตารางชอ่ งขวาสดุ ว่าเป็นแผนการจดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ แผนการจดั กจิ กรรมประกอบดว้ ย จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้อื หา ส่อื การเรยี นรู้ กจิ กรรม การ ประเมนิ ผล องค์ประกอบทกั ษะชวี ติ สาคญั ท่เี กิดจากกจิ กรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรม (เพลง เกม ใบงาน ใบความรู้ เรอ่ื งทเ่ี ป็นประโยชน์) จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ผู้สอนควรทาความเขา้ ใจให้ชดั เจนว่าเป็นจุดประสงค์การเรยี นรู้ด้านความรู้ เจตคติ หรอื ทกั ษะ เพ่อื จดั กจิ กรรมไดต้ รงตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรแู้ ต่ละดา้ น จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรดู้ า้ นความรู้ มจี ุดเน้นทก่ี ารตงั้ ประเดน็ ให้วเิ คราะห์ สงั เคราะห์เน้ือหา ความรู้ ใหเ้ ขา้ ใจอยา่ งถ่องแท้ และสามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นชวี ติ จรงิ จุดประสงคก์ ารเรยี นรดู้ ้านเจตคติ มจี ดุ เน้นทอ่ี ารมณ์ความรสู้ กึ และการตงั้ ประเดน็ ใหผ้ ูเ้ รยี น ไดแ้ ลกเปลย่ี นและตรวจสอบความคดิ ความเชอ่ื ของตนเองกบั สมาชกิ กลมุ่ คนอ่นื ๆ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรดู้ า้ นทกั ษะ เน้นทก่ี ารทาความเขา้ ใจในขนั้ ตอนการลงมอื ทาทกั ษะ และ ไดท้ ดลองและฝึกฝนจนชานาญ บางแผนการจดั กิจกรรมมจี ุดประสงค์การเรยี นรู้ซ้อนกนั มากกว่า 1 ดา้ น ให้เน้นด้านทเ่ี ป็น จดุ ประสงคห์ ลกั ของแผนการจดั กจิ กรรม เนื้อหา เป็นผลการเรยี นรูท้ ่เี กดิ ข้นึ หลงั การสอน ผู้สอนควรตรวจสอบว่าผู้เรยี นได้เน้ือหาครบถ้วน หรอื ไม่ สื่อการเรยี นรู้ เป็นส่อื อุปกรณ์ ทใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรม เช่น แผนภูมเิ พลง เกม ใบงาน ใบความรู้ และเร่อื งท่ี เป็นประโยชน์ ซง่ึ มรี ายละเอยี ดอยใู่ นภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรม กิจกรรม กจิ กรรมลูกเสอื ยงั คงแบบแผนของลูกเสอื ไว้ คอื การเปิดประชุมกอง/ปิดประชุมกอง และ เพลง เกม นิทาน เรอ่ื งทเ่ี ป็นประโยชน์ ซง่ึ ใส่ไวใ้ นทกุ แผนการจดั กจิ กรรม โดยผกู้ ากบั ลูกเสอื สามารถ ปรบั เปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม ผสู้ อนควรจดั กจิ กรรมตามทไ่ี ดอ้ อกแบบไวเ้ รยี งตามลาดบั ขนั้ ตอน การจดั กจิ กรรม นอกจากน้ีก่อนการจดั กจิ กรรมควรศกึ ษาแผนการจดั กจิ กรรมใหเ้ ขา้ ใจอย่างถ่องแท้ ทกุ ขนั้ ตอน ศกึ ษาใบความรสู้ าหรบั ผสู้ อน และใบงานสาหรบั ผเู้ รยี น เพ่อื ทผ่ี สู้ อนจะไดจ้ ดั กจิ กรรมการ เรยี นการสอนใหไ้ ดเ้ น้อื หาตรงตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรมู้ ากทส่ี ดุ ทงั้ น้ีผกู้ ากบั ควรทาความเขา้ ใจแนวคดิ เรอ่ื งทกั ษะชวี ติ และกจิ กรรมลกู เสอื เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ ใหถ้ ่องแทด้ ว้ ย โดยศกึ ษาไดจ้ ากภาคผนวก ก และภาคผนวก ข ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสร้างทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 9
การประเมินผล สามารถประเมนิ ได้ทงั้ ระหว่างการจดั กจิ กรรม และหลงั การสอนจบแล้ว ตามแนวทางทไ่ี ด้ให้ไว้ ในแต่ละแผนการจดั กจิ กรรม องคป์ ระกอบทกั ษะชีวิตสาคญั ที่เกิดจากกิจกรรม ทักษะชีวิตเกิดข้ึนได้หลายองค์ประกอบในการจัดกิจกรรมแต่ละครงั้ ในท่ีน้ีได้ระบุเพียง องคป์ ระกอบทกั ษะชวี ติ สาคญั ทเ่ี กดิ ขน้ึ เท่านัน้ ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรม เป็นส่อื อุปกรณ์ ตามรายการท่รี ะบุไวใ้ นส่อื การเรยี นรู้ เช่น เพลง เกม บตั รคา ใบงาน ใบความรู้ และเรอ่ื งทเ่ี ป็นประโยชน์ ฯลฯ หากมขี อ้ เสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ คมู่ อื ชดุ น้ี กรณุ าตดิ ต่อท่ี สมาคมวางแผนครอบครวั แห่งประเทศไทย ฯ เลขท่ี 8 วภิ าวดรี งั สติ 44 แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 โทรศพั ท์ 0-2941-2320 ต่อ 151 โทรสาร 0-2561-5130 10 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสร้างทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
แผนการจดั กิจกรรม เตรียมลกู เสือวิสามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 11 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสร้างทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 และ ปวช.1 ช่ือหน่วยกิจกรรมตามข้อบงั คบั ชื่อแผนการจดั กิจกรรม จานวน หมายเหตุ คณะลกู เสือแห่งชาติ ชวั่ โมง 1.ปฐมนเิ ทศ 1. ปฐมนิเทศ 2.ขบวนการลกู เสอื โลก ลกู เสอื ไทย 1 2. กิจการของการลกู เสือและ ธรรมเนียมและกจิ การลกู เสอื วสิ ามญั 2 บทบาทของตนเองท่ีเป็นลกู เสือ 3.กจิ การของคณะลกู เสอื ไทย และ วิสามญั ลกู เสอื โลก 2 4.คาปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื 3. คาปฏิญาณและกฎของลกู เสือ 5.การคบเพ่อื น 2 6.การสรา้ งสมั พนั ธภาพและการสอ่ื สาร 1 ทกั ษะชวี ติ 4. ระเบยี บแถว 7.การเรยี นรเู้ บญจภมู ิ 1 ทกั ษะชวี ติ 5. กางและรื้อเตน็ ทท์ ี่พกั แรม 8.ระเบยี บแถวลกู เสอื 2 ทกั ษะชวี ติ 6. การบรรจเุ ครื่องหลงั 9.การกางและรอ้ื เตน็ ทท์ พ่ี กั แรม 4 7. ก่อและจดุ ไฟกลางแจ้ง 10. การบรรจเุ ครอ่ื งหลงั 1 8. แผนที่และเขม็ ทิศ 11.การก่อไฟและปรงุ อาหาร 1 9. การผกู เงื่อนและประโยชน์ 12.แผนทแ่ี ละเขม็ ทศิ 2 ของเง่ือน 13.เงอ่ื นเชอื ก 4 10. การปฐมพยาบาล 1 11. ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิ 14.กู้ภยั ใกลต้ วั และการปฐมพยาบาล กิจกรรมของลูกเสือวิสามญั 15.ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั ิ 1 กจิ กรรมและประกอบอาชพี ในสถาน 1 12. การฝึ กอบรมร่วมกนั ทงั้ กอง ประกอบการ 16.สายไปเสยี แลว้ 2 ทกั ษะชวี ติ 17.ภยั ใกลต้ วั หนุ่มสาว 1 ทกั ษะชวี ติ 18.สรา้ งวกิ ฤตใิ หเ้ ป็นโอกาส 2 ทกั ษะชวี ติ 19.สารเสพตดิ 1 ทกั ษะชวี ติ 20.ป้องกนั ไวก้ ่อน 1 ทกั ษะชวี ติ 21.การฝึกอบรมรว่ มกนั ทงั้ กอง 3 22.การสารวจชมุ ชนวถิ ไี ทยและภมู ิ 2 ปัญญาทอ้ งถน่ิ 12 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 และ ปวช.1 ชื่อหน่วยกิจกรรมตามข้อบงั คบั ช่ือแผนการจดั กิจกรรม จานวน หมายเหตุ คณะลกู เสือแห่งชาติ ชวั่ โมง 23.การประเมนิ ผล 13. ประเมินผล 24.พธิ เี ขา้ ประจากองลกู เสอื วสิ ามญั 1 14. พิธีการ 1 รวม 24 แผนการจดั กิจกรรม รวม 14 หน่วยกิจกรรม 40 คมู่ อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 13
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4, ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช. 1) หน่วยที่ 1 ปฐมนิเทศ เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั กิจกรรมที่ 1 ปฐมนิเทศ 1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.1 ลกู เสอื สามารถบอกความสาคญั ของการเป็นลกู เสอื วสิ ามญั ได้ 1.2 ลกู เสอื เป็นสมาชกิ ทด่ี ขี องกองลกู เสอื วสิ ามญั ได้ 1.3 ลกู เสอื สามารถปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามหลกั การลกู เสอื วสิ ามญั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เนื้อหา 2.1 การเขา้ เป็นลกู เสอื วสิ ามญั 2.2 การจดั กองลกู เสอื วสิ ามญั 2.3 เครอ่ื งแบบลกู เสอื และกจิ กรรมลกู เสอื วสิ ามญั 3. ส่ือการเรียนรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 เรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 ผกู้ ากบั ลกู เสอื และลกู เสอื รว่ มกนั รอ้ งเพลงพระมงกุฎราลกึ 4.2 ผกู้ ากบั ลกู เสอื และลกู เสอื สนทนาเกย่ี วกบั ความสาคญั ของกจิ การลกู เสอื 4.3 ผกู้ ากบั ลกู เสอื เสนอแนะใหล้ กู เสอื รว่ มกนั แบ่งสมาชกิ เป็นหมู่ หมลู่ ะ 4-6 คน 4.4 ใหล้ กู เสอื เลอื กนายหมแู่ ละรองนายหมู่ 4.5 ผกู้ ากบั ลกู เสอื บรรยายหลกั การของการเป็นลกู เสอื วสิ ามญั หลกั สตู รการฝึกอบรม การแต่ง เครอ่ื งแบบและการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมลกู เสอื วสิ ามญั 4.6 ผกู้ ากบั ลกู เสอื และลกู เสอื รว่ มกนั อภปิ รายขอ้ ตกลงในการฝึกอบรม การประเมนิ ผล และ การจดั กจิ กรรมลกู เสอื วสิ ามญั 4.7 ผกู้ ากบั ลกู เสอื และลกู เสอื สรปุ และนดั หมาย 5. การประเมินผล 5.1 สงั เกตความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 5.2 สงั เกตความพรอ้ มในการแต่งเครอ่ื งแบบลกู เสอื 14 คมู่ อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 1 เพลง พระมงกฎุ ราลึก 1. พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ คดิ ไดถ้ กู ต้อง คดิ ไดถ้ ูกตอ้ ง คดิ ไดถ้ กู ตอ้ ง พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ คดิ ไดถ้ ูกตอ้ ง คดิ ไดถ้ ูกตอ้ ง แลว้ เอย 2. พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ ใจครองตงั้ มนั่ ใจครองตงั้ มนั่ ใจครองตงั้ มนั่ พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ ใจครองตงั้ มนั่ ใจครองตงั้ มนั่ แลว้ เอย 3. พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ เดนิ ไปดว้ ยกนั เดนิ ไปดว้ ยกนั เดนิ ไปดว้ ยกนั พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ เดนิ ไปดว้ ยกนั เดนิ ไปดว้ ยกนั แลว้ เอย 4. พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ คดิ ไดถ้ กู ตอ้ ง ใจครองตงั้ มนั่ เดนิ ไปดว้ ยกนั พวกเราภมู ใิ จในพระมงกุฎ ใจครองตงั้ มนั่ มารว่ มใจสามคั คี ค่มู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 15
แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4, ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช. 1) หน่วยท่ี 2 กิจการของการลกู เสือและบทบาทของตนเองที่เป็นลูกเสือวิสามญั แผนการจดั กิจกรรมที่ 2 ขบวนการลูกเสือโลก ลกู เสือไทย ธรรมเนียม และกิจการลกู เสือวิสามญั เวลา 2 ชวั่ โมง 1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.1 ลกู เสอื สามารถเลา่ ประวตั ิ ลอรด์ เบเดน –โพเอลล์ (บ.ี -พ.ี ) กจิ การลกู เสอื โลกพอสงั เขปได้ 1.2 ลกู เสอื สามารถเลา่ พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั และพฒั นาการ ของกจิ การลกู เสอื ไทยจนถงึ ปัจจบุ นั พอสงั เขปได้ 1.3 ลกู เสอื สามารถอธบิ ายธรรมเนยี มของลกู เสอื วสิ ามญั ได้ 1.4 ลกู เสอื สามารถอธบิ ายความกา้ วหน้าของกจิ การลกู เสอื วสิ ามญั โดยเน้นกจิ กรรมกลางแจง้ และการบรกิ ารได้ 2. เนื้อหา 2.1 ประวตั ขิ องลอรด์ เบเดน – โพเอลล์ (Baden Powell) โดยสงั เขป 2.2 ประวตั ขิ องการลกู เสอื โลกโดยสงั เขป 2.3 ประวตั ขิ องพระผพู้ ระราชทานกาเนดิ ลกู เสอื ไทยโดยสงั เขป 2.4 ประวตั ลิ กู เสอื ไทยและประวตั ลิ กู เสอื วสิ ามญั โดยสงั เขป 2.5 ธรรมเนียมและกจิ การของลกู เสอื 3. ส่ือการเรียนรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 ใบความรู้ 3.3 รปู ภาพ เชน่ รปู ภาพของ บ.ี -พ.ี พระบรมฉายาลกั ษณ์ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และรปู ภาพทเ่ี กย่ี วกบั ประวตั ลิ กู เสอื โลกและลกู เสอื ไทย 3.4 แบบทดสอบ 3.5 เรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปิดประชุมกอง (ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก) 4.2 เพลงหรอื เกม 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) ผกู้ ากบั ลกู เสอื นาเขา้ ส่บู ทเรยี น โดยนารปู ของบ.ี -พ.ี มาใหล้ กู เสอื ดู สนทนากบั ลูกเสอื ว่า รจู้ กั บคุ คลน้ีหรอื ไม่ และใหล้ ูกเสอื รว่ มรอ้ งเพลง B.- P.Spirit 2) ผกู้ ากบั ลกู เสอื บรรยายประวตั ขิ อง บ.ี -พ.ี และประวตั กิ ารลกู เสอื โลกโดย แสดง ภาพประกอบ 16 คมู่ ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
3) ผกู้ ากบั ลกู เสอื นาสนทนาเก่ยี วกบั พระราชประวตั ิ และพระราชกรณียกจิ ของ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั 4) ผกู้ ากบั ลกู เสอื บรรยายประวตั ลิ กู เสอื ไทย และประวตั ลิ กู เสอื วสิ ามญั โดย แสดง ภาพประกอบ 5) ผกู้ ากบั ลกู เสอื อธบิ ายประกอบสาธติ การทาความเคารพแบบต่าง ๆ ใหล้ กู เสอื ปฏบิ ตั ติ าม 6) ผกู้ ากบั ลกู เสอื บรรยายเร่อื งการแต่งเครอ่ื งแบบลกู เสอื วสิ ามญั และเครอ่ื งหมายท่ี เกย่ี วขอ้ ง 7) ผกู้ ากบั ลกู เสอื สรปุ บทเรยี น และทดสอบ 4.4 ผกู้ ากบั ลกู เสอื เลา่ เรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ิดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ) 5. การประเมินผล 5.1 สงั เกตความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 5.2 สงั เกตกระบวนการคดิ จากการอภปิ ราย 5.3 ตรวจผลการแบบทดสอบหลงั เรยี น ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 17
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 1 เพลง B. P. Spirit 1. I’ve got that B.P. Spirit. Right in my head, Right in my head,Right in my head, I’ve got that B.P. Spirit . Right in my head, Right in my head to stay. 2. I’ve got that B.P. Spirit. Deep in my heart, Deep in my heart, Deep in my heart, I’ve got that B.P. Spirit. Deep in my heart, Deep in my heart to stay. 3. I’ve got that B.P. Spirit. All round my feet, All round my feet, All round my feet, I’ve got that B.P. Spirit. All round my feet, All round my feet to stay. 4. I’ve got that B.P. Spirit. Right in my head, Deep in my heart, All round my feet, I’ve got that B.P. Spirit. All over me All over me to stay ลกู เสือไม่จบั มอื ขวา ลกู เสอื เขาไมจ่ บั มอื ขวา ยน่ื ซา้ ยมาจบั มอื กนั มนั่ มอื ขวาใชเ้ คารพกนั (ซ้า) ยน่ื มอื ซา้ ยออกมาพลนั จบั มอื จบั มอื จบั มอื นนั้ หมายถงึ มติ ร เหมอื นญาตสิ นิท ควรคดิ ยดึ ถอื ยม้ิ ดว้ ยเมอ่ื ยามจบั มอื (ซ้า) เพราะพวกเราคอื ลกู เสอื ดว้ ยกนั 18 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
ใบความรู้ ความร้เู กี่ยวกบั ขบวนการลกู เสือโลกและลกู เสือไทย ประวตั ิผใู้ ห้กาเนิดลกู เสือโลก และประวตั ิของการลูกเสือโลกโดยสงั เขป ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ เป็นผใู้ หก้ าเนิดลกู เสอื โลก ช่อื เตม็ ของท่าน โรเบริ ต์ สตเี ฟนสนั สมทิ เบเดน เพาเวลล์* (Robert Stephenson Smyth Beden Powell) โดยทวั่ ๆ ไปเรามกั จะเรยี กท่านย่อๆ ว่า บี.-พี. (B.-P.) ท่านเกดิ เม่อื วนั ท่ี 22 กุมภาพนั ธ์ ค.ศ.1875 (พ.ศ. 2400) บดิ าช่อื เอช.ย.ี เบเดน โพเอลล์ (H.G. Beden Powell) เป็ นพระทางครสิ ต์ศาสนา เป็ นศาสตราจารย์ในมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด (Oxford University) มารดาช่อื เฮนรติ ้า สไมธ์ (Henritla Smyth) เป็นบุตรขี องนายพลเรอื แห่งราชนาวอี งั กฤษ ครอบครวั มสิ จู้ ะร่ารวยนกั บดิ าเสยี ชวี ติ เมอ่ื บ.ี -พ.ี อายไุ ด้ 3 ขวบ บี.-พี. มลี กั ษณะเป็นคนร่างเล็ก แต่ร่างกายแข็งแรง สุขภาพดี มคี วามถนัดในการวาดเขยี น สามารถใช้มอื ซ้ายขวาได้ถนัดทงั้ สองมือเท่าๆ กัน และมกั จะทาเสียงนกหรอื เลียนเสยี งสตั ว์ร้องให้ เพอ่ื นๆ ฟังทาใหเ้ พอ่ื นสนุกสนานขบขนั ชีวิตในวยั เรียน บ.ี -พ.ี ไดเ้ ข้าเรยี นในโรงเรยี นประถมศกึ ษาช่อื โรสฮลิ ล์ (Rose Hell) ในกรงุ ลอนดอน ประเทศ อังกฤษ และเข้าเรยี นต่อชนั้ มธั ยมศึกษาท่ีโรงเรยี นชาเตอร์ เฮาส์ (Charter house) บี.-พี. มิได้เป็น นกั เรยี นทเ่ี รยี นเก่งนกั แต่เมอ่ื เขา้ รว่ มกจิ กรรมใดๆ ของโรงเรยี นแลว้ มกั จะทาอยา่ งเอาจรงิ เอาจงั ในขณะท่ี บ.ี พ.ี เรยี นอยใู่ กลโ้ รงเรยี น มปี ่าอยู่แห่งหน่ึงนกั เรยี นถูกหา้ มมใิ หเ้ ขา้ ไปเทย่ี วเล่นในป่า น้ี แต่ป่าน้ียวั่ ยวนใจนักเรยี นทช่ี อบผจญภยั ใหเ้ ขา้ ไปเทย่ี วเล่นมาก บ.ี -พ.ี แอบหนีไปเทย่ี วในป่ าน้ีบ่อยๆ จบั กระต่ายทาเป็นอาหารโดยใช้ไฟมใิ ห้เกดิ ควนั เพ่อื ปกปิดครมู ใิ ห้รู้ สตั ว์ป่ าเป็นท่ดี งึ ดูดใจของ บ.ี -พ.ี มากเขามกั ซ่มุ ตวั อยนู่ านๆ เพอ่ื ศกึ ษาธรรมชาตขิ องสตั ว์ เมอ่ื อายุ 19 ปี บ.ี -พ.ี ไม่แน่ใจวา่ ชวี ติ ของเขาต้องการเป็นอะไรดี เขาชอบเดนิ ทางไปต่างประเทศ แต่มารดาอยากใหเ้ รยี นทม่ี หาวทิ ยาลยั อ๊อกฟอรด์ (Oxford University) แต่เมอ่ื ไปโรงเรยี นมธั ยมแลว้ บ.ี - พ.ี กลบั ไปสอบเขา้ เป็นนักเรยี นนายรอ้ ยแซนด์เฮสิ ต์ เพราะได้เห็นประกาศตดิ ไว้ขา้ งถนน และบ.ี -พี. สอบไดท้ ่ดี จี นเป็นทแ่ี ปลกใจของตนเองและคนรจู้ กั และไดร้ บั การยกยอ่ ง มติ อ้ งเขา้ รบั การฝึกอบรมตาม ขนั้ ตอนธรรมดาของนกั เรยี นนายรอ้ ย เมอ่ื จบการศกึ ษาไดร้ บั การแต่งตงั้ ยศเป็นรอ้ ยตรี *เอกสารอา้ งองิ หนงั สอื สานกั งาน ก.ค. ท่ี ศธ 1502 (สมค) / 14079 ลงวนั ท่ี 21 พฤศจกิ ายน 2538 ชีวิตทหาร ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 19
ในปี ค.ศ.1876 ถูกส่งไปประจาท่ีประเทศอินเดยี โดยประจาการอยู่ท่ีกองร้อยท่ี 13 อุสชาร์ (Husar) และปฏบิ ตั หิ น้าทอ่ี ยา่ งขยนั ขนั แขง็ ในปี ค.ศ.1884 ไดร้ บั คาสงั่ ใหก้ ลบั องั กฤษ บ.ี -พ.ี รสู้ กึ ชวี ติ ในกรมกองทหารน่าเบ่อื มาก ในปี ค.ศ.1887 ลุงของ บ.ี -พ.ี ไดร้ บั คาสงั่ ของกองทพั บกใหไ้ ปประจาการท่ี แคพ ทราวน์ (Cape Town) ในแอฟรกิ า ไดน้ า บ.ี -พ.ี ไปเป็นทหารคนสนทิ ในปี ค.ศ.1888 ความยุ่งยากได้เกดิ ขน้ึ กบั พวกซูลู (Zulu) บ.ี -พ.ี ไดเ้ ขา้ รว่ มกบั กองกาลงั ทหาร องั กฤษ ลอ้ มจบั หวั หน้าเผ่าซูลชู ่อื ดนิ ิ ซูลู (Dini Zulu) ได้ ในโอกาสนัน้ บ.ี -พ.ี ไดร้ บั ลูกปัดสายคลอ้ งคอ (Neck lace) จากหวั หน้าเผ่าซูลู หลายปีต่อมา บี.-พี. ได้มอบลูกปัดคล้องคอน้ีให้แก่ กิลเวลล์ ปาร์ค (Gilwell Park) ซง่ึ เป็นเครอ่ื งหมายวดู แบคจต์ ่อมาจนถงึ ปัจจบุ นั น้ี ในปี ค.ศ.1895 บ.ี -พ.ี ไดร้ บั มอบหมายเดนิ ทางไปยงั เมอื งอาชนั ติ (Ashanti) แอฟรกิ าตะวนั ตก เพ่อื ปราบ คงิ ส์ เปรมเปห์ (King Peempeh) ในการเดนิ ทางไปท่เี มอื งอาชนั ตคิ รงั้ น้ี ได้มสี ง่ิ เก่ยี วขอ้ งกบั กจิ การลกู เสอื ซง่ึ ควรจะนามากล่าวอยู่ 3 ประการ คอื 1. หมวกปีกในเมอื งอาชนั ติ (Ashanti) บ.ี -พ.ี ไดส้ วมหมวกปีก หรอื หมวกคาวบอย (Cowboy) เป็นครงั้ แรก และได้สวมเป็นประจาอยู่ตลอดมา เพราะเหตุน้ีชาวเมืองจงึ เรยี ก บี.-พี. ว่า คันตะโก (Kantankye) คนหมวกใหญ่ 2. ไมพ้ ลอง บ.ี -พ.ี สงั เกตว่าหวั หน้าวศิ วกรทค่ี วบคุมการทาถนนและสรา้ งทพ่ี กั จากฝัง่ แอฟรกิ า ตะวนั ตกไปยงั เมอื งหลวงอาชนั ติ (Ashanti) นัน้ มกั ถอื ไมพ้ ลองยาวมเี คร่อื งหมายใช้วดั ความลกึ ของบงึ น้ากไ็ ด้ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งหมายวดั ส่วนสงู กไ็ ด้ 3. การจบั มอื ซา้ ย บ.ี -พ.ี ได้รบั ความรดู้ ว้ ยว่าการจบั มอื ซ้ายนัน้ ชาวเมอื งถอื ว่าเป็นเคร่อื งหมาย แหง่ ความเป็นมติ ร บ.ี -พ.ี กลบั ประเทศองั กฤษ พรอ้ มดว้ ยชอ่ื เสยี งดยี ง่ิ ขน้ึ และไดเ้ ลอ่ื นยศทหารดว้ ย ในปี ค.ศ. 1899 บ.ี -พ.ี ได้รบั อนุญาตใหล้ าพกั และเดนิ ทางกลบั องั กฤษ เม่อื ไปถงึ องั กฤษเขามี หนังสอื เล่มหน่ึงช่อื สง่ิ สนบั สนุนกจิ การสอดแนม (Aids to Scouting) ซง่ึ ไดเ้ ขยี นขณะทพ่ี กั ผ่อนในแควน้ แคช็ เมยี ร์ (Kashmir) หนงั สอื เล่มน้ีว่าดว้ ยวธิ กี ารสอดแนมสาหรบั ทหาร บ.ี -พ.ี ตงั้ ใจใหห้ นงั สอื เล่มน้ีเป็น ค่มู อื ของทหาร อาจใชไ้ ด้ทุกเวลา แต่หนังสอื เล่มน้ีกลบั ไปเป็นท่สี นใจของเยาวชนวยั ร่นุ ดว้ ย ซง่ึ จะเป็น เดก็ ชายผสู้ อดแนม (Boy Scout) ต่อไป การไปแอฟริกาใต้ (South Africa) บ.ี -พ.ี ไปอยู่ท่ปี ระเทศองั กฤษได้ไม่นานนัก สงครามก็เกิดข้นึ ในแอฟรกิ าใต้ระหว่างประเทศ องั กฤษกบั พวกโบเออร์ (Boers) โบเออร์ คอื พวกดชั ทไ่ี ดอ้ พยพไปตงั้ ถนิ่ ฐานอยใู่ นแอฟรกิ าใต้ บ.ี -พ.ี ได้รบั คาสงั่ ให้เดินทางไปแอฟรกิ าใต้ให้จดั กองทหารข้ึน เพ่ือป้องกนั ดนิ แดนด้านเหนือ และดา้ นตะวนั ออกเฉียงเหนือ บ.ี -พ.ี ไปถงึ เมอื งเคป ทาวน์ (Cape Town) เดอื นกรกฎาคม 1899 ศึกเมืองมาฟอีคิง (Mafeking) 20 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
เดอื นตุลาคม 1899 ไดม้ ปี ระกาศสงครามระหว่างองั กฤษกบั พวกโบเออร์ (Boers) ของฮอลนั ดา โบเออร์ (Boers) มที หาร 9,000 คน เดนิ ทพั เขา้ บุกเมอื งมาฟอคี งิ (Mafeking) เพราะคดิ ว่าอย่ใู นทร่ี าบ อาจบุกไดง้ า่ ยและไมม่ กี ารป้องกนั ทเ่ี ขม้ แขง็ บ.ี -พ.ี มที หารประมาณ 1,000 คน ไม่มปี ระสบการณ์ในการทาสงครามมาก่อน มพี ลเมอื งในมาฟ อคี งิ (Mafeking) ประมาณ 8,000 คน แต่พลเมอื งไม่ร่วมมอื ในการทาสงครามด้วยอาวุธปืน กระสุนก็ ลา้ สมยั ฝ่ายพวกโบเออร์ (Boers) มอี าวธุ ทท่ี นั สมยั ทาไม มาฟอคี งิ (Mafeking) จงึ สามารถต่อต้านขา้ ศกึ ไดถ้ งึ 7 เดอื น เพราะ บ.ี -พ.ี เป็นผรู้ อบรู้ มี ใจรา่ เรงิ ไมย่ ่อทอ้ ต่อความยากลาบากและมไี หวพรบิ ปฏภิ าณ และการแกส้ ถานการณ์ต่างๆ อยา่ งดเี ยย่ี ม พวก โบเออร์ ไมร่ วู้ ่า บ.ี -พ.ี คดิ จะทาอะไรต่อไป พวกโบเออร์ ตอ้ งคาดคะเนอย่ตู ลอดเวลา บ.ี -พ.ี ไม่ได้ นงั่ อย่เู ฉยๆ บ.ี -พ.ี รดู้ วี ่าการป้องกนั ทด่ี คี อื การรกุ บ.ี -พ.ี รดู้ ว้ ยการว่าใหท้ ุกคนมงี านทาขวญั ของเขาจะดี เมอ่ื ผจญภยั ขา้ ศกึ แผนกลยุทธ์บางอย่างของ บี.-พี. เป็นแผนลวง เช่น ฝังทุ่นระเบิดหลอกรอบเมอื งมาฟอีคิง (Mafeking) ประดษิ ฐ์ไฟฉายเคล่อื นท่ดี ้วยแก๊สอเซทลิ นี (Acetylene) ทาให้พวกโบเออร์ คดิ ว่าในเมอื ง มาฟอคี งิ (Mafeking) มไี ฟใช้รอบเมอื ง ทาลวดหนามปลอมล้อมเมอื ง โดยให้ทหารทาท่าเดนิ ขา้ มโดย กา้ วสงู ๆ หลอกพวกโบเออร์ นกึ วา่ มลี วดหนามรอบเมอื งมาฟอคี งิ (Mafeking) ทุกคืน บ.ี -พ.ี ออกจากเขตเมอื งเพ่อื ดูว่าปืนข้าศกึ อยู่ท่ไี หน พวกโบเออร์ เคล่อื นท่เี ขา้ มาใกล้ เมืองหรอื เปล่า บี.-พี. ไม่ได้หลับนอนในเวลากลางคืน แต่เขาจะนอนเวลากลางวนั วนั คืนผ่านไป สถานการณ์ภายในเมอื งคบั คงั่ มากขน้ึ อาหารเรมิ่ ขาดแคลนมากขน้ึ ทุกวนั มา้ ลา ถูกกนิ เป็นอาหารไป มาก แนวรบขยายวงกวา้ งออกไป ทหารตายมากขน้ึ พลรบลดจานวนน้อยลง คณะเสนาธกิ ารของ บ.ี -พ.ี คดิ จะใชเ้ ดก็ หนุ่มชาวเมอื งใหเ้ ป็นผสู้ ่อื ข่าวทาหน้าทบ่ี ุรุษพยาบาล จงึ หาเคร่อื งแบบสกี ากี และหมวกปีก กว้าง (หมวกคาวบอย) พบั ปีกให้พวกเด็กหนุ่มและมอบให้เดก็ หนุ่มผู้หน่ึงช่อื กู๊ด เยยี ร์ (Good Year) เป็นผนู้ า ตอนแรกเด็กหนุ่มเหล่าน้ีใช้ลาเป็นพาหนะ แต่ต่อมาลาถูกฆ่าเป็นอาหารหมด เด็กหนุ่มจงึ ใช้ จกั รยานแทน สมรรถภาพและความกลา้ หาญใจรา่ เรงิ ของเดก็ หนุ่มเหล่าน้ปี ระทบั ใจ บ.ี -พ.ี มาก วนั หน่ึงเด็กหนุ่มคนหน่ึงข่จี กั รยานฝ่ ากระสุนขา้ ศกึ ซ่งึ ยงิ ต่อสู้กนั เขา้ มาหา บ.ี -พ.ี บ.ี -พ.ี พูดกบั เดก็ คนนัน้ ว่า ถา้ เธอขจ่ี กั รยานเช่นน้ีในขณะทม่ี กี ารยงิ ต่อสูก้ นั เธอจะถูกยงิ สกั วนั หน่ึง เดก็ หนุ่มตอบว่า “ผมถบี รถเรว็ มากครบั เขาคงยงิ ไม่ถูกผม” ในทส่ี ุดข่าวทว่ี ่าจะมกี องทพั ทหารองั กฤษมาช่วย ก็มาถงึ เม่อื วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 1900 เมอื งมาฟอีคงิ (Mafeking) ได้ยนื หยดั สู้พวกโบเออรถ์ ึง 217 วนั ข่าวน้ีได้ แพรไ่ ปถงึ เมอื งลอนดอน ชาวองั กฤษดใี จมาก บ.ี -พ.ี ไดก้ ลายเป็นวรี บุรษุ ไปโดยฉบั พลนั กาเนิดกิจการลกู เสือ เม่อื เสรจ็ ศกึ เมอื งมาฟอคี งิ (Mafeking) บ.ี -พ.ี กลบั ถึงองั กฤษเขาแปลกใจท่ไี ดเ้ หน็ หนังสอื คู่มอื ทหารสงิ่ สนับสนุนกจิ การสอดแนม (Aids to Scouting) ของเขาได้นามาใช้ฝึกอบรมเดก็ ชายในโรงเรยี น และในสโมสรเยาวชนต่างๆ ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 21
เพ่ือนๆ ได้แนะนาให้ บี.-พี. เขยี นหนังสือน้ีเสียใหม่ เพ่ือใช้อบรมเยาวชน บี.-พี. จงึ นาเด็ก จานวน 20 คน ซง่ึ เป็นบุตรของเพ่อื นบา้ นและเป็นเดก็ จากสโมสรเยาวชน บ้างไปอย่คู ่ายท่เี กาะบราวซี (Brown Sea Island) ในอ่าวพ ลู (Poole) เมืองบูรเนเมาซ (Bournemouth) ในระหว่างวันท่ี 31 กรกฎาคม ถงึ วนั ท่ี 9 สงิ หาคม 1907 บ.ี -พ.ี แบง่ เดก็ 20 คน เป็น 4 หมู่ เรยี กชอ่ื ว่า วลู ฟ์ (Wolves) = สุนขั ป่า, เคอลสิ (Curlews) = นกชนิดหน่งึ , บลู ส์ (Bulls) = ววั ตวั ผู้ และเรเวน็ ส (Revens) = นกจาพวกกา นบั วา่ เป็นกองลกู เสอื สามญั กองแรกทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายหลงั จากการนาเด็กไปอยู่ค่ายพักแรกท่ีเกาะบราวซี (Brown Sea) แล้ว บี.-พี. ได้เขยี น หนังสอื การลูกเสอื สาหรบั เด็กชาย (Scouting for Boys) จนเสรจ็ ส้นิ ได้พิมพ์เป็น 6 ตอน ออกพิมพ์ จาหน่ายห่างกันทุก 2 สปั ดาห์ ราคาเล่มละ 4 เพนนี เล่มแรกออกจาหน่ายในเดือนมกราคม 1908 จาหน่ายได้ดมี าก เยาวชนอ่านมาก เยาวชนเหล่าน้ีรวมกนั เป็นหมู่ข้นึ แล้วไปชกั ชวนผู้ใหญ่ท่เี หน็ ว่า เหมาะสมทจ่ี ะเป็นผนู้ าหรอื ผกู้ ากบั ลกู เสอื ได้ กจิ การลกู เสอื น้ีไดก้ ระจายและมจี านวนทวมี ากขน้ึ อย่างรวดเรว็ นอกจากองั กฤษและประเทศใน เครอื จกั รภพ ชลิ เี ป็นประเทศแรกทร่ี บั เอากจิ การลูกเสอื ไปตงั้ ในปีค.ศ.1908 อเมรกิ าเป็นประเทศทส่ี อง (ปี ค.ศ.1910) และไทยเป็นประเทศทส่ี าม(ปี ค.ศ.1911) และมอี กี หลายประเทศจดั กจิ การลกู เสอื ขยายไป เกอื บทวั่ โลก ปี ค.ศ.1909 ลูกเสอื ในราชอาณาจกั รมาชุมนุม (Rally) กนั เป็นครงั้ แรกจานวนนับหม่นื คน บ.ี -พ.ี ไปรว่ มชุมนุมดว้ ย เดก็ หญงิ กลุ่มหน่ึงสวมหมวกลกู เสอื แบบเชน่ เดก็ ชาย เดก็ หญงิ เหล่านนั้ อธบิ ายต่อ บ.ี - พ.ี ว่าตอ้ งการเป็นลกู เสอื เชน่ เดยี วกบั พช่ี ายของเธอ กจิ การลกู เสอื หญงิ (Girl Guide) จงึ ไดเ้ กดิ ขน้ึ ในปีน้ี ระหว่างปี ค.ศ.1914 -1918 เป็นปีระหว่างสงครามโลกครงั้ ท่ี 1 บ.ี -พ.ี มอบลูกเสอื ให้ทาหน้าท่ี ช่วยราชการทหารรกั ษาสะพาน และสายโทรศพั ท์ ทาหน้าทผ่ี สู้ ่อื ข่าวช่วยเหลอื งานในโรงพยาบาล เป็น ตน้ ปี ค.ศ.1916 ไดจ้ ดั ตงั้ กองลกู เสอื สารอง (Cub Scout) ขน้ึ ปี ค.ศ.1918 ไดจ้ ดั ตงั้ กองลกู เสอื วสิ ามญั (Rever Scout) ขน้ึ ปี ค.ศ.1919 มสิ เตอร์ เดอบวั ส์ แมคลาเรน (Mr. W.de Boir Maclaren) ชาวสก๊อตแลนด์ มอบ กลิ เวลล์ปาร์ค (Gilwell Park) ให้แก่คณะลูกเสอื องั กฤษ เพ่อื ใช้เป็นสถานท่อี ยู่ค่ายพกั แรมของลูกเสอื และใชเ้ ป็นคา่ ยฝึกอบรมผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ปี ค.ศ.1920 ได้มกี ารชุมนุมลูกเสือโลกครงั้ แรก จดั ข้นึ ท่ีโอลิมเปีย (Olympia) กรุงลอนดอน (London) ประเทศองั กฤษ มลี ูกเสอื มาชุมนุมประมาณ 30,000 คน จาก 21 ประเทศ ในการชุมนุมครงั้ น้ี บ.ี พ.ี ได้รบั การประกาศแต่งตงั้ จากคณะลูกเสอื ท่ไี ปชุมนุมเป็นประมุขลูกเสอื โลก (Chief Scout of the World) ปี ค.ศ.1922 บ.ี -พ.ี ไดเ้ ขยี นหนังสอื ช่อื การท่องเทย่ี วส่คู วามสาเรจ็ (Rovering to Success) เพ่อื ใชอ้ บรมสงั่ สอนลกู เสอื วสิ ามญั 22 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
ปี ค.ศ.1929 พระเจา้ ยอรช์ ท่ี 5 พระราชทานบรรดาศกั ดขิ ์ นั้ บารอนใหแ้ ก่ บ.ี -พ.ี เรยี กช่อื เตม็ ว่า ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ แหง่ กลิ เวลล์ บ.ี พ.ี ถงึ แก่อนิจกรรมท่ปี ระเทศเคนยา (Kenya) เม่อื วนั ท่ี 8 มกราคม 1941 ในทวปี แอฟรกิ า หลมุ ฝังศพอยทู่ เ่ี มอื งไนโรบี ความสาคญั ในสาสน์ ฉบบั สดุ ท้ายของ บ.ี -พี. ท่ีเขียนถึงลกู เสือ 1. จงทาตนใหม้ อี นามยั ดี และแขง็ แรงในขณะทเ่ี ป็นเดก็ 2. จงมคี วามพอใจในสง่ิ ทเ่ี ธอมอี ยู่ และทาสง่ิ นนั้ ใหด้ ที ส่ี ุด 3. จงมองเรอ่ื งราวต่างๆ ในแงด่ ี แทนทจ่ี ะมองในแงร่ า้ ย 4. ทางอนั แทจ้ รงิ ทจ่ี ะหาความสุข คอื โดยการใหค้ วามสุขผอู้ ่นื 5. จงพยายามปล่อยอะไรทง้ิ ไวใ้ นโลกน้ดี กี วา่ ทเ่ี ธอไดพ้ บ 6. จงยดึ มนั่ ในคาปฏญิ าณของลกู เสอื ของเธอมไี วเ้ สมอ คมู่ อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 23
ความรเู้ ก่ียวกบั ขบวนการลกู เสือไทย พระราชประวตั ิผพู้ ระราชทานกาเนิดกิจการลกู เสือไทยโดยสงั เขป พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั เป็นผูพ้ ระราชทานกาเนิดกจิ การลูกเสอื ไทย พระองค์ ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั กบั สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ ี นาถ ทรงพระราชสมภพวนั ท่ี 1 มกราคม 2423 ได้รบั พระราชทานนามว่าสมเดจ็ เจา้ ฟ้าวชริ าวุธ ต่อมา ทรงไดร้ บั การสถาปนาเป็นสมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชสยามมงกุฎราชกุมารพระชนมายุได้ 14 พรรษา ทรงเสด็จไปศึกษา ณ ประเทศองั กฤษ ท่มี หาวทิ ยาลยั อ๊อกฟอรด์ และศกึ ษาวชิ าการทหารท่โี รงเรยี น แซนด์เฮสิ ต์จนจบการศึกษา เสดจ็ กลบั พระนครเม่อื พ.ศ. 2445 ต่อมาได้เสดจ็ เถลงิ ถวลั ราชสมบตั ติ ่อ จากสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ ขณะนนั้ พระองคม์ พี ระชนมายไุ ด้ 30 พรรษา ทรงประกอบพระราชพธิ บี รม ราชาภเิ ษกเป็นพระมหากษตั ราธริ าช พระองค์ท่ี 6 แห่งราชวงศ์จกั รี พระองค์ไดท้ รงพระราชทานนาม กาเนิดลูกเสอื แห่งประเทศไทย เม่อื วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2454 โดยพระองค์ทรงดาเนินด้วยพระองคเ์ อง และทรงดารงตาแหน่งสภานายกในรชั กาลของพระองคท์ ่าน บา้ นเมอื งเจรญิ รงุ่ เรอื งมาก ทรงรเิ รมิ่ กจิ การ หลายอย่าง เช่น ทรงตงั้ กองเสอื ป่ า ทรงตงั้ กองลูกเสอื แต่เป็นทน่ี ่าเสยี ดายทร่ี ชั สมยั พระองค์สนั้ เกนิ ไป ทรงอยใู่ นราชสมบตั เิ พยี ง 15 ปี กเ็ สดจ็ สวรรคตเมอ่ื วนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2468 แมว้ ่าพระองคจ์ ะไดเ้ สดจ็ สวรรคตไปแล้ว แต่สิง่ ท่ีพระองค์ได้ทรงรเิ รมิ่ ข้นึ มาก็เจรญิ รุ่งเรอื ง โดยเฉพาะกิจการลูกเสอื ไทย ได้ เจรญิ รงุ่ เรอื งเป็นลาดบั จนถงึ ปัจจบุ นั ประวตั ลิ กู เสอื ไทยโดยสงั เขป เรมิ่ ตงั้ แต่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรงสถาปนาคณะลูกเสอื ไทยขน้ึ มาเมอ่ื วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2454 โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราขอ้ บงั คบั คณะลูกเสอื และจดั ตงั้ สภากรรมการ ลกู เสอื ขน้ึ โดยพระองคท์ รงดารงตาแหน่งสภานายก และเรม่ิ ตน้ กองลูกเสอื กองแรก ทโ่ี รงเรยี นมหาดเลก็ หลวง (โรงเรยี นวชริ าวุธวทิ ยาลยั ) ทรงพระราชทานคตพิ จน์ ใหแ้ ก่คณะลูกเสอื แห่งชาตวิ ่า “เสยี ชพี อย่า เสยี สตั ย์” ผู้ได้รบั การยกย่องว่าเป็นลูกเสอื คนแรกคอื นายชพั น์ บุญนาค ซ่งึ ต่อมาได้รบั พระราชทาน บรรดาศกั ดเิ ์ ป็น นายลขิ ติ สารสนอง กิจการลูกเสอื ได้เจรญิ รุ่งเรอื งอย่างมาก ต่อมาได้มกี ารจดั ตงั้ กอง ลกู เสอื เพมิ่ ขน้ึ ในโรงเรยี นต่างๆ พ.ศ. 2456 ทรงโปรดเกลา้ ใหก้ องลูกเสอื หลวง (โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง ภายหลงั เป็นโรงเรยี น วชริ าวุธราชวทิ ยาลยั ) จดั ส่งผู้แทนพร้อมทงั้ ผู้บงั คบั บญั ชา เข้าสมทบกบั กองเสอื ป่ าเสอื หลวงรกั ษา พระองค์ ในการฝึกซอ้ มเดนิ ทางไกลแรมคนื และการซอ้ มรบเสอื ป่า และในปีเดยี วกนั น้ีเสอื ป่าและลูกเสอื เดนิ ทางไกลจากพระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม ไปยงั อาเภอดอนเจดยี ์ จงั หวดั สพุ รรณบุรี เน่อื ง ในพธิ สี มโภชพระเจดยี ย์ ทุ ธหตั ถี พ.ศ. 2457 พระราชทานเหรยี ญราชนิยมใหแ้ ก่ลกู เสอื โท ฝ้าย บุญเลย้ี ง พ.ศ. 2563 สง่ ผแู้ ทนไทย 4 คน ไปรว่ มการชมุ นุมลกู เสอื โลกครงั้ แรก ณ โอลมิ เปีย กรงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ โดยมนี ายสวสั ดิ ์ สมุ ติ ร เป็นหวั หน้าคณะ 24 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
พ.ศ. 2465 สมคั รเป็นสมาชกิ ของสมชั ชาลูกเสอื โลก ซง่ึ มที งั้ สน้ิ 31 ประเทศ และถอื ว่าประเทศ ไทยเป็นสมาชกิ ผรู้ เิ รมิ่ ในการจดั ตงั้ องคก์ ารลกู เสอื โลก (Foundation Member) พ.ศ. 2486 รชั สมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ท่านทรงดารงตาแหน่ง สภานายกสภากรรมการจดั การลกู เสอื แหง่ ชาติ พ.ศ. 2470 มกี ารชุมนุมลกู เสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 1 ณ พระราชอุทยานสราญรมย์ จงั หวดั พระนคร พ.ศ. 2472 ส่งผแู้ ทนไปรว่ มการชุมนุมลกู เสอื โลก ครงั้ ท่ี 3 ณ ประเทศองั กฤษ พ.ศ. 2473 มกี ารชมุ นุมลกู เสอื แหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 2 ณ พระราชอุทยานสราญรมย์ จงั หวดั พระนคร โดยมผี แู้ ทนคณะลกู เสอื ญป่ี ่นุ เขา้ รว่ มชุมนุมดว้ ย พ.ศ. 2474 ไทยส่งผู้แทนไปร่วมการชุมนุมลูกเสอื วสิ ามญั ครงั้ แรกแห่งโลก ณ เมอื งคานเดอส เตก็ ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ โดยมนี ายอภยั จนั ทรวมิ ล เป็นหวั หน้าคณะ พ.ศ. 2476 มกี ารจดั ตงั้ กรมขน้ึ ใหมใ่ นกระทรวงธรรมการ คอื กรมพลศกึ ษาซง่ึ มกี องลกู เสอื อย่ใู น สงั กดั ดว้ ย และไดจ้ ดั สง่ ผแู้ ทนไปรว่ มการชุมนุมลกู เสอื โลกครงั้ ท่ี 4 ณ ประเทศฮงั การี พ.ศ. 2478 ส่งผแู้ ทนไปร่วมการชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั ครงั้ ท่ี 2 ณ ประเทศสวเี ดน โดยมนี ายกอง วสิ ทุ ธารมณ์ เป็นหวั หน้าคณะ พ.ศ. 2482 ประกาศใช้พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2482 ในปีน้ีไดเ้ กดิ สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ซ่งึ ตรงกบั รชั สมยั ของสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั อนันทมหดิ ล ระยะน้ีกจิ การลูกเสอื ในประเทศไทยซบเซาลงไป บา้ ง เน่ืองจากประเทศไทยอยู่ในภาวะสงคราม กจิ การลูกเสอื บางส่วนยงั คงดาเนินการอยู่ และในบาง จงั หวดั ไดจ้ ดั กจิ การลูกเสอื อย่างเขม้ แขง็ เช่น จงั หวดั สกลนคร และจงั หวดั อุบลราชธานี ไดจ้ ดั ใหม้ กี าร ชมุ นุมลกู เสอื ขน้ึ ในระยะน้ี พ.ศ. 2489 เรม่ิ รชั สมยั พระเจา้ อยหู่ วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช กจิ การลกู เสอื เรมิ่ ฟ้ืนตวั ขน้ึ พ.ศ. 2490 มพี ระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2490 พ.ศ. 2496 เรมิ่ ดาเนินการสรา้ งค่ายลูกเสือวชริ าวุธบรเิ วณหลงั เขาซากแขก ตาบลบางพระ อาเภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบุรี เน้อื ท่ี 88 ไร่ 58 ตารางวา พ.ศ. 2497 มกี ารชุมนุมลกู เสอื แหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 3 ณ สนามกฬี าแห่งชาติ จงั หวดั พระนคร พ.ศ. 2500 ส่งผู้แทนประเทศไทย ไปร่วมการชุมนุมลูกเสือโลก ครงั้ ท่ี 9 ณ ประเทศองั กฤษ (เพ่อื เฉลมิ ฉลองอายคุ รบ 100 ปี ของ ลอรด์ เบเดน โพเอลล)์ โดยมนี ายสวา่ ง วจิ กั ขณะ เป็นหวั หน้าคณะ พ.ศ. 2501 จดั ตงั้ กองลกู เสอื สารองกองแรกในประเทศไทย เมอ่ื วนั ท่ี 5 สงิ หาคม 2501 พ.ศ. 2502 ส่งผูแ้ ทนไปร่วมการชุมนุมลูกโลก ครงั้ ท่ี 10 ณ ประเทศฟิลปิ ปินส์ โดยมนี ายอดุล สุวรรณบล เป็นหวั หน้าคณะ พ.ศ. 2504 มกี ารชมุ นุมลกู เสอื แห่งชาติ ครงั้ ท่ี 4 สวนลมุ พนี ี จงั หวดั พระนคร พ.ศ. 2506 จดั ตงั้ กองลกู เสอื วสิ ามญั เป็นครงั้ แรกในประเทศไทย เมอ่ื วนั ท่ี 7 มนี าคม 2506 พ.ศ. 2507 ประกาศใช้พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. 2507 โดยพระราชบัญญัติน้ีกาหนดให้ พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นพระประมขุ ของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 25
พ.ศ. 2508 มีการประชุมสภาลูกเสือแห่งชาติครงั้ แรก ณ ศาลาสนั ติธรรม จงั หวดั พระนคร (ระหว่างวนั ท่ี 1-3 กรกฎาคม 2508) และมกี ารชุมนุมลูกเสอื แห่งชาติครงั้ ท่ี 5 ณ ค่ายลูกเสอื วชริ าวุธ จงั หวดั ชลบุรี และนายอภยั จนั ทวมิ ล ไดร้ บั เลอื กใหเ้ ป็นกรรมการลกู เสอื โลก พ.ศ. 2509 คณะลกู เสอื ไทยบรจิ าคเงนิ สรา้ งพุทธศาสนา ณ กลิ เวลลป์ ารค์ ประเทศองั กฤษ ในปี น้ีมกี ารจดทะเบยี นกองลูกเสอื สามญั รุ่นใหญ่กองแรก ณ โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ (เม่อื วนั ท่ี 28 กุมภาพนั ธ์ 2509) และมกี ารจดทะเบยี นลูกเสอื สามญั เหล่าอากาศกองแรก ณ ศูนยพ์ ฒั นาเคร่อื งบนิ เลก็ (เม่อื วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2509) พ.ศ. 2512 มกี ารชุมนุมลกู เสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 6 ณ คา่ ยลกู เสอื วชริ าวธุ จงั หวดั ชลบรุ ี พ.ศ. 2514 มกี ารชุมนุมลูกเสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 7 ณ ค่ายลูกเสอื วชิราวุธ จงั หวดั ชลบุรี เพ่อื เป็น การเฉลมิ ฉลองคณะลกู เสอื มอี ายคุ รบ 60 ปี ในปีน้ีการชมุ นุมลูกเสอื วสิ ามญั ครงั้ ท่ี 1 ณ จงั หวดั นครปฐม ส่งให้ผู้แทนไปร่วมการชุมนุมลูกเสอื โลกครงั้ ท่ี 13 ณ ประเทศญ่ีปุ่น โดยมนี ายสว่าง วจิ กั ขณะ เป็น หวั หน้าคณะ และมกี ารอบรมลกู เสอื ชาวบา้ นเป็นครงั้ แรก ทบ่ี า้ นเหล่ากอหก ตาบลแสงพา กง่ิ อาเภอนา แหว้ อาเภอดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย พ.ศ. 2516 กระทรวงศึกษาธกิ ารมคี าสงั่ ลงวนั ท่ี 4 เมษายน 2516 ให้นาวชิ าลูกเสอื เข้าอยู่ใน หลกั สูตรของโรงเรยี น ในปีน้ีมกี ารชุมนุมลูกเสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 8 ณ ค่ายลูกเสอื วชริ าวุธ จงั หวดั ชลบุรี และมกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั ครงั้ ท่ี 2 ณ ค่ายลกู เสอื วชริ าวธุ จงั หวดั ชลบุรี พ.ศ. 2518 มกี ารส่งผแู้ ทนไปร่วมการชุมนุมลกู เสอื โลกครงั้ ท่ี 14 ณ ประเทศนอรเ์ วย์ และในปีน้ี มกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั ครงั้ ท่ี 3 ณ ค่ายลกู เสอื เจา้ สามพระยา จงั หวดั ชยั นาท พ.ศ. 2519 มกี ารจดั ตงั้ สมาคมสโมสรลูกเสือวิสามญั แห่งประเทศไทย เม่อื วนั ท่ี 12 เมษายน 2519 พ.ศ. 2520 ออกกฎกระทรวงดว้ ยเคร่อื งแบบลูกเสอื ฉบบั ท่ี 3 มกี ารชมุ นุมลกู เสอื แหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี 9 ณ ค่ายลกู เสอื วชริ าวธุ จงั หวดั ชลบุรี และในปีน้มี กี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั ครงั้ ท่ี 4 ณ จงั หวดั ขอนแก่น พ.ศ. 2522 มกี ารชมุ นุมลกู เสอื วสิ ามญั ครงั้ ท่ี 5 ณ จงั หวดั เชยี งใหม่ พ.ศ. 2523 มกี ารชุมนุมลูกเสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 10 ณ ค่ายลกู เสอื วชริ าวุธ จงั หวดั ชลบุรี เป็นการ เฉลมิ ฉลองวนั พระราชสมภพครบรอบ 100 ปี ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู วั พระผู้ทรง พระราชทานกาเนดิ ลกู เสอื ไทย พ.ศ. 2526 มกี ารชุมนุมลูกเสอื สามญั รุ่นใหญ่แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 1 ณ ค่ายมฤคทายวนั อาเภอชะอา จงั หวดั เพชรบรุ ี มกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 7 ณ คา่ ยวดั อรญั ญกิ จงั หวดั พษิ ณุโลก และส่ง ผแู้ ทนไปรว่ มการชมุ นุมลกู เสอื โลกครงั้ ท่ี 15 ณ ประเทศแคนนาดา พ.ศ. 2527 มกี ารชุมนุมลูกเสอื -เนตรนารี เหล่าสมุทรครงั้ แรก ณ โรงเรยี นสงิ ห์สมุทร อาเภอ สตั หบี จงั หวดั ชลบุรี ระหว่างวนั ท่ี 24 – 27 ตุลาคม 2527 พ.ศ. 2529 ออกกฎกระทรวง ว่าดว้ ยเคร่อื งแบบฉบบั ท่ี 4 (พ.ศ.2529) กาหนดให้ลูกเสอื สารอง และสามญั มเี คร่อื งแบบลาลองอกี ชนิดหน่ึง และได้รบั ประกาศใช้ขอ้ บงั คบั ลูกเสอื แห่งชาติ ว่าด้วยการ 26 คมู่ ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
ปกครองหลกั สูตรพเิ ศษลูกเสอื วสิ ามญั และมกี ารชุมนุมลูกเสอื วสิ ามญั แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 8 ณ ค่ายลูกเสอื จงั หวดั ระยอง ระหว่างวนั ท่ี 25 – 29 ตุลาคม 2529 พ.ศ. 2530 ไดม้ กี ารออกพระราชบญั ญตั ิลูกเสอื (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ.2530 โดยมหี ลกั การทส่ี าคญั คอื กาหนดใหม้ เี ครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ อนั เป็นสริ ยิ ง่ิ รวมกรี ตลิ ูกเสอื สดุดี ชนั้ พเิ ศษ เพม่ิ อกี หน่ึงเหรยี ญและ ได้จดั สรา้ งพระบรมราชอนุเสาวรยี ์ รชั กาลท่ี6 ณ ค่ายลูกเสอื หลวงบ้านไร่ อาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี พ.ศ. 2533 มกี ารชุมนุมลูกเสอื วสิ ามญั แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 10 ณ เข่อื นแก่งกระจาน จงั หวดั เพชรบุรี ระหว่างวนั ท่ี 24 – 28 มนี าคม 2533 พ.ศ. 2534 ผู้แทนไปร่วมการชุมนุมลูกเสอื โลกครงั้ ท่ี 17 ณ เชิงเขาชอรกั จงั หวดั กิงวอนโอ สาธารณรฐั เกาหลี ระหว่างวนั ท่ี 8 – 16 สงิ หาคม 2534 และมกี ารชุมนุมลูกเสอื แห่งชาติครงั้ ท่ี 13 ณ ค่ายลูกเสอื วชริ าวุธ จงั หวดั ชลบุรี ระหว่างวนั ท่ี 1 – 7 กรกฎาคม 2534 มวี ตั ถุประสงค์เพ่อื เฉลมิ ฉลอง ครบรอบ 80 ปี กจิ การลกู เสอื พ.ศ. 2535 ส่งผู้แทนไปร่วมการชุมนุมลูกเสือวิสามัญโลกครงั้ ท่ี 9 ณ เมืองคานเดอสเต็ก ประเทศสวสิ เซอรแ์ ลนด์ ระหว่างวนั ท่ี 27 กรกฎาคม ถงึ 6 สงิ หาคม 2535 โดยมนี ายปรดี า รอดโพธทิ ์ อง เป็นหวั หน้าคณะ และมกี ารชุมนุมลูกเสอื วสิ ามญั แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 11 ณ เข่อื นเขาแหลม อาเภอทองผาภูมิ จงั หวดั กาญจนบุรี ระหว่างวนั ท่ี 24 – 28 ตุลาคม 2535 และมกี ารชุมนุมลกู เสอื ชาวบา้ นแห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 1 ณ คา่ ยลกู เสอื วชริ าวธุ จงั หวดั ชลบรุ ี ระหวา่ งวนั ท่ี 28 พฤศจกิ ายน ถงึ 3 ธนั วาคม 2535 พ.ศ. 2536 ประเทศไทยได้รบั เกยี รตใิ ห้เป็นเจา้ ภาพ จดั การประชุมสมชั ชาลกู เสอื โลกครงั้ ท่ี 33 ณ โรงแรมอิมพเี รยี ลควนี ส์ปารค์ กรุงเทพมหานคร ระหว่างวนั ท่ี 19 – 23 กรกฎาคม 2536 และมกี าร ชมุ นุมลกู เสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 14 ณ ค่ายลูกเสอื วชริ าวุธ จงั หวดั ชลบุรี ระหว่างวนั ท่ี 22 – 29 พฤศจกิ ายน 2536 พ.ศ. 2537 มกี ารชมุ นุมลกู เสอื วสิ ามญั แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 12 ณ ศนู ยก์ ฬี า จงั หวดั ลาปาง พ.ศ. 2539 มีการชุมนุมลูกเสือวิสามัญแห่งชาติครงั้ ท่ี 13 ณ อ่างเก็บน้ากระเสียว จงั หวัด สุพรรณบุรี พ.ศ. 2540 มกี ารชุมนุมลกู เสอื แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 15 ณ คา่ ยลกู เสอื วชริ าวุธ ระหว่างวนั ท่ี 21 - 27 พฤศจกิ ายน 2540 ฉลอง พระชนมายุ สมเดจ็ พระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรตั นราชสดุ าสริ โิ สภาพณั ณวดี องคอ์ ุปถมั ภค์ ณะลกู เสอื แห่งชาติ ครบ 6 รอบปีนกั ษตั ร พ.ศ. 2541 มกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 14 ณ ค่ายหลวงบา้ นไร่ จงั หวดั ราชบุรี พ.ศ. 2543 มกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 15 ณ ค่ายหลวงบา้ นไร่ จงั หวดั ราชบุรี พ.ศ. 2544 เฉลมิ ฉลองครบรอบ 90 ปีลกู เสอื ไทย เตรยี มการจดั งานชุมนุมลกู เสอื โลก มกี าร จดั งานชุมนุมลกู เสอื แห่งชาติ ครงั้ ท่ี 16 ณ หาดยาว จ.ชลบุรี ระหวา่ งวนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2544 - 4 มกราคม 2545 พ.ศ. 2546 เป็นเจา้ ภาพจดั งานชุมนุมลกู เสอื โลก ครงั้ ท่ี 20 (20th World Scout Jamboree) และ มกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 16 ณ ค่ายเจษฎาราชเจา้ จงั หวดั ชลบรุ ี ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 27
พ.ศ. 2548 มกี ารชมุ นุมลกู เสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 17 ณ หาดยาว จ.ชลบรุ ี ระหวา่ งวนั ท่ี 25 - 31 กรกฎาคม 2548 เป็นเจา้ ภาพจดั งานชุมนุมลกู เสอื ภาคพน้ื เอเชยี -แปซฟิ ิก ครงั้ ท่ี 25 (25th Asia - Pacific Regional Scout Jamboree) และมกี ารชุมนุมลูกเสอื วสิ ามญั แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 17 ณ ค่ายลกู เสอื แก่นนคร จงั หวดั ขอนแก่น พ.ศ. 2551 มกี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ.2551 และมกี ารชมุ นุมลกู เสอื วสิ ามญั แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 18 ณ ศนู ยพ์ ฒั นาบคุ ลากร จงั หวดั เพชรบรุ ี พ.ศ. 2552 มกี ารชมุ นุมลกู เสอื แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 18 ณ ค่ายลกู เสอื ไทยเฉลมิ พระเกยี รติ จ.ตรงั ระหว่างวนั ท่ี 25 - 30 เมษายน 2552 พ.ศ. 2553 มกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 19 ณ คา่ ยบรุ ฉตั ร จงั หวดั ราชบรุ ี พ.ศ. 2554 เฉลมิ ฉลองครบรอบ 100 ปีการลกู เสอื ไทย พ.ศ. 2555 มกี ารชุมนุมลกู เสอื แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 19 ณ ค่ายลกู เสอื วชริ าวธุ ระหวา่ งวนั ท่ี 19 - 25 พฤศจกิ ายน 2555 พ.ศ. 2557 มกี ารชุมนุมลกู เสอื วสิ ามญั แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 20 ณ ค่ายลกู เสอื วชริ าวธุ จงั หวดั ชลบรุ ี พ.ศ. 2558 มกี ารชุมนุมลกู เสอื แหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 20 ณ คา่ ยลกู เสอื วชริ าวธุ ระหวา่ งวนั ท่ี 4 - 6 เมษายน 2558 เน่อื งในวโรกาสเฉลมิ พระชนมพรรษา 5 รอบ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯสยามบรม ราชกุมารี “ลกู เสอื บ่ใชเ่ สอื สตั วไ์ พร เรายมื ช่อื มาใชด้ ว้ ยใจกลา้ หาญปานกนั ใจกลา้ ใช่กลา้ อาธรรม์ เช่นเสอื อรญั สญั ชาตชิ นคนพาล ใจกลา้ ตอ้ งกลา้ อยา่ งทหาร กลา้ กอปรกจิ การแก่ชาตปิ ระเทศเขตตน” พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ธรรมเนียมของลกู เสือและบทบาทของลกู เสือวิสามญั 28 คมู่ อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
ธรรมเนียม หมายถึง แบบอย่างท่ีนิยมกัน แบบแผนท่ีนิยมใช้กันมา ธรรมเนียมลูกเสือ จงึ หมายถงึ แบบอยา่ งหรอื แบบแผนทล่ี กู เสอื นิยมใชก้ นั มาจนถงึ ปัจจบุ นั ไดแ้ ก่ เคร่อื งแบบลกู เสือและเนตรนารีวิสามญั องค์ประกอบสาคญั อย่างหน่ึงของการลูกเสอื คือ เคร่อื งแบบ เพราะเคร่อื งแบบเป็นส่ิงท่อี ยู่ ภายนอก สามารถมองเห็นได้โดยทวั่ ไป และในการตดั สนิ ว่ากิจการลูกเสอื จะมคี ุณภาพหรอื ไม่บุคคล ทวั่ ไปจะตดั สนิ ดว้ ยสง่ิ ทเ่ี ขาเหน็ คอื เครอ่ื งแบบ และเครอ่ื งแบบจะเป็นสว่ นหน่ึงทจ่ี ะส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ วนิ ัยทด่ี ี ได้ เคร่อื งแบบลูกเสอื มคี วามหมายและสาคญั กว่าลูกเสอื ประเทศอ่นื ๆ เพราะเคร่อื งแบบลูกเสอื ได้รบั พระราชทานจากพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เครอ่ื งแบบลกู เสอื จงึ เป็นเครอ่ื งหมายทม่ี เี กยี รติ เป็นทร่ี จู้ กั กนั ทวั่ โลกและเป็นเครอ่ื งหมายแห่งคุณงามความดี ในการแต่งเคร่อื งแบบลูกเสอื หรอื เนตรนารี วสิ ามญั จะตอ้ งแต่งเครอ่ื งแบบใหถ้ กู ตอ้ งเรยี บรอ้ ยอยเู่ สมอ เครอ่ื งแบบลกู เสือวิสามญั ประกอบด้วย 1. หมวก เป็นหมวกทรงอ่อนสเี ขยี ว มตี ราหน้าหมวกรปู ตราคณะลกู เสอื แห่งชาตทิ าดว้ ยโลหะสี ทอง (เวลาสวมใหต้ ราหน้าหมวกอยเู่ หนอื คว้ิ ซา้ ย) 2. เสอ้ื สกี ากแี ขนสนั้ แบบขา้ ราชการ 3. อนิ ทรธนูสเี ขยี ว ทป่ี ลายอนิ ทรธนูมอี กั ษร ล.ว. สเี หลอื ง 4. ผา้ ผูกคอ สตี ามเขตการศกึ ษาและมตี ราจงั หวดั ตดิ ทม่ี มุ ผา้ ผกู คอตรงขา้ มดา้ นฐาน (เวลาสวม ควรมว้ นใหเ้ รยี บรอ้ ยเหลอื ชายหลงั ไวร้ าว 1 ฝ่ามอื ) 5. ห่วงสวมผ้าผูกคอต้องไม่ใช่ห่วงหนังกลิ เวลล์ (การสวมควรกะให้พอดี คอื ระยะห่างจากใต้ คาง ถงึ หว่ งสวมผา้ ผกู คอประมาณ 1 กามอื ) 6. ป้ายช่อื ตดิ ทอ่ี กเสอ้ื ดา้ นขวา 7. เครอ่ื งหมายหมเู่ ตรยี มลกู เสอื วสิ ามญั ตดิ แถบ 2 สี สเี ขยี วกบั สเี หลอื ง ลกู เสอื วสิ ามญั แถบ3 สี สเี ขยี ว สเี หลอื ง สแี ดง (ตดิ ทแ่ี ขนเสอ้ื ใตต้ ะเขบ็ ไหลซ่ า้ ยประมาณ 1 ซม.) 8. เคร่ืองหมายสังกัด ช่ือกลุ่มหรือกอง ทาด้วยผ้าสีแดงรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้ายาว 7 ซม. กวา้ ง 1.5 ซม. ขลบิ รมิ สขี าว มชี ่อื กลุ่มหรอื กองสขี าวตดิ โคง้ ตามไหล่เสอ้ื ขา้ งขวา 9. เคร่อื งหมายวิชาพิเศษติดท่ีอกเส้ือเหนือกระเป๋ า (ดูรายละเอียดในกฎกระทรวงว่าด้วย เครอ่ื งแบบลกู เสอื ) 10. กางเกงสกี ากขี าสนั้ เหนอื เขา่ ประมาณ 5 ซม. สว่ นกวา้ งของขากางเกงเมอ่ื ยนื ตรงห่างจากขา ตงั้ แต่ 8 – 12 ซม. 11. เข็มขดั หนังสีน้าตาลกว้างไม่เกิน 3 ซม. ชนิดหวั ขดั ทาด้วยโลหะสที องมีลานดุนรูปตรา คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ภายในกรอบช่อชยั พฤกษ์ 12. ถุงเท้ายาวสกี ากีพบั ขอบไว้ใต้เข่า ใต้พบั ขอบมรี อยรดั ถุงให้มพี ู่สแี ดงเลอื ดนกให้แลบพ้น ออกมาประมาณ 1 ซม. 13. รองเทา้ หนงั หรอื ผา้ ใบสนี ้าตาลแก่ ไมม่ ลี วดลาย หมุ้ สน้ ชนดิ ผกู หมายเหตุ สายนกหวดี สเี หลอื งพรอ้ มตวั นกหวดี ใชเ้ ฉพาะนายหมแู่ ละรองนายหมู่ คมู่ อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 29
เคร่อื งแบบเนตรนารวี ิสามญั ประกอบด้วย 1. หมวกปีกแคบสีเขียวแก่ มีตราหน้าหมวกรูปเคร่อื งหมายเนตรนารที าด้วยโลหะสีทอง ปีกดา้ นขา้ งพบั ขน้ึ ปีกหมวกดา้ นหลงั เป็นชายมนซอ้ นกนั พบั ขน้ึ ตดิ ดุมหมุ้ ผา้ สเี ดยี วกนั 2. เส้อื คอพบั สเี ขยี วแก่แขนสนั้ (ดูรายละเอียดในข้อบงั คบั คณะลูกเสอื แห่งชาติว่าด้วยการ ปกครองหลกั สตู รวชิ าพเิ ศษ และเครอ่ื งหมายของเนตรนาร)ี 3. อนิ ทรธนูสเี ขยี ว ปลายอนิ ทรธนูมรี ปู เครอ่ื งหมายเนตรนารสี เี หลอื ง 4. ผา้ ผกู คอเชน่ เดยี วกบั ลกู เสอื วสิ ามญั 5. ห่วงสวมผา้ ผกู คอ เช่นเดยี วกบั ลกู เสอื วสิ ามญั 6. ป้ายช่อื ตดิ ทห่ี น้าอกเสอ้ื ดา้ นขวา 7. เครอ่ื งหมายชนั้ เตรยี มเนตรนารวี สิ ามญั ทาดว้ ยผา้ สเี หลอื งและสเี ขยี วรปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ยาว 4 ซม. กว้าง 2 ซม. ขลิบสีขาว เนตรนารวี ิสามญั ทาด้วยผ้าสีเหลือง สีเขียว สีแดง รูป สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ยาว 6 ซม. กวา้ ง 2 ซม. ขลบิ รมิ สขี าว (ตดิ โคง้ ตามไหลเ่ สอ้ื ขา้ งซา้ ยใตต้ ะเขบ็ ไหล่ 1 ซม.) 8. เคร่อื งหมายเนตรนารวี ิสามญั ทาด้วยโลหะสีทอง อยู่ในวงกลมตอนบนมคี าว่าวิสามัญ มขี นาดกวา้ ง 2 ซม. ยาว 2 ซม. ใชก้ ลดั ตดิ อกเสอ้ื ขา้ งซา้ ย 9. เครอ่ื งหมายสงั กดั เช่นเดยี วกบั ลกู เสอื วสิ ามญั 10. เคร่อื งหมายวชิ าพิเศษ ติดท่อี กเส้อื เหนือกระเป๋ า (ดูรายละเอียดในข้อบงั คบั คณะลูกเสือ แห่งชาตวิ ่าดว้ ยการปกครอง หลกั สตู รวชิ าพเิ ศษ และเครอ่ื งแบบเนตรนาร)ี 11. กระโปรงสเี ขยี วแก่ยาวเสมอเข่า ด้านหน้าและด้านหลงั พบั เป็นกลบี หนั ออกด้านขา้ งๆ ละ 1 กลบี 12. เขม็ ขดั หนังสดี ากว้างไม่เกิน 3 ซม. หวั รูปส่เี หล่ยี มผนื ผ้าทาด้วยโลหะสที อง มลี ายดุนรูป เครอ่ื งหมายเนตรนารี 13. ถุงเทา้ สขี าวพบั สนั้ เพยี งขอ้ เทา้ 14. รองเทา้ หนงั สดี าแบบนกั เรยี น หรอื ผา้ ใบสดี าไมม่ ลี วดลาย หุม้ สน้ ชนดิ ผกู ลกั ษณะการแต่งกายเคร่อื งแบบที่ดี ผมเผา้ ตอ้ งเขา้ ท่าเสอ้ื ผา้ ตอ้ งรดั กุมกระดุมตอ้ งตดิ สายนกหวดี ตอ้ งจดั เขม็ ขดั ตอ้ งเงาพ่ไู มย่ าวถุงเทา้ ลายไมป่ ัดรองเทา้ ตอ้ งขดั และผกู จดั ใหด้ ที ่าทตี อ้ งสงา่ ทาความเคารพและการจบั มอื แบบลกู เสือ การทาความเคารพ การทาความเคารพเป็นการแสดงคารวะทผ่ี นู้ ้อยพงึ มตี ่อผใู้ หญ่เป็นการทกั ทายเมอ่ื พบกนั แสดง ถงึ ความมรี ะเบียบวนิ ัยเป็นผู้มมี ารยาท และรจู้ กั เป็นพวกเดยี วกนั มคี วามรกั ใคร่นับถอื ซ่งึ กนั และกนั ลกู เสอื วสิ ามญั มวี ธิ แี สดงความเคารพดงั น้ี คอื 1. วนั ทยหตั ถ์ ใหท้ าวนั ทยหตั ถ์ 3 น้ิว คอื ยกมอื ขวาขน้ึ ใหน้ ้ิวช้ี น้ิวกลาง น้ิวนางเหยยี ดชดิ ตดิ กนั และนาน้ิวหวั แม่มอื และน้ิวก้อยพบั เข้าหากนั โดยเอาปลายน้ิวหวั แม่มอื กดทบั 30 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
ปลายน้ิวก้อย แล้วยกมอื ข้นึ เอาปลายน้ิวช้แี ตะท่ีหางค้วิ ขวา ถ้าหมวกสวมทรงอ่อน (เบเรห่ )์ ถา้ มไิ ดส้ วมหมวกกท็ าอยา่ งเดยี วกบั สวมหมวก หมายเหตุ การทาความเคารพดว้ ยท่าวนั ทยหตั ถต์ ามปกตลิ ูกเสอื ใชท้ าความเคารพเป็นการ สว่ นตวั ต่อผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื และเพ่อื นลกู เสอื โดยไมไ่ ดอ้ ยใู่ นแถวควบคุม หากอยใู่ นแถว มผี บู้ งั คบั บญั ชาควบคุมลูกเสอื ไม่ต้องทาความเคารพ จะทาความเคารพไดต้ อ้ งให้ผคู้ วบคุม แถวสงั่ ใหป้ ฏบิ ตั ิ และการทาความเคารพดว้ ยท่าวนั ทยหตั ถ์เมอ่ื มคี วามจาเป็นกใ็ หท้ าจากท่า นงั่ ได้ 2. วนั ทยาวุธเป็นท่าทาความเคารพประกอบอาวุธ (ไมง้ ่าม) ลูกเสอื วสิ ามญั เม่อื มอี าวุธ (ไมง้ า่ ม) ใหท้ าความเคารพดว้ ยทา่ วนั ทยาวธุ ดงั น้ี คอื 2.1 เม่ืออยู่กับที่ มีคาสัง่ ให้ทาความเคารพด้วยท่าวันทยาวุธ หรือประสงค์จะทาท่า วนั ทยาวุธเอง ใหล้ กู เสอื อยใู่ นทา่ ตรงเสยี ก่อนแลว้ ยกแขนซา้ ยขน้ึ มาเสมอแนวไหล่ ศอก งอไปขา้ งหน้าใหต้ งั้ ฉากกบั ลาตวั ฝ่ ามอื แบคว่าราบ น้ิวหวั แม่มอื กบั น้ิวก้อยชนกนั โดย ให้ปลายน้ิวหวั แม่มอื กดทบั ปลายน้ิวก้อย คงเหลอื น้ิวช้ี น้ิวกลาง น้ิวนางเหยยี ดตรงชดิ กนั ใหป้ ลายน้วิ ชแ้ี ตะไมง้ า่ มในรอ่ งไหล่ขวา หมายเหตุ ขณะทอ่ี ยใู่ นแถวมผี บู้ งั คบั บญั ชาควบคุม ถา้ ไมไ่ ดค้ าสงั่ “วนั ทยา-วุธ” ลกู เสอื จะต้องอยู่ในท่าเดิมท่ีอยู่ในแถว หากเป็นการไปตามลาพังหรอื ไม่ได้อยู่ในคว บคุม ลูกเสอื ทาท่าวนั ทยาวุธเอง ไม่ต้องมคี าสงั่ แต่ถ้ามคี าสงั่ บอก “วนั ทยา-วุธ” กต็ ้องมคี าสงั่ เลกิ ทาความเคารพใหส้ งั่ “เรยี บ-อาวธุ ” 2.2 เมื่อขณะท่ีเคล่ือนที่ ถ้าอยใู่ นท่าแบกอาวุธ (ไมง้ ่าม) ให้ลดมอื ซา้ ยลงชดิ ลาตวั ไมง้ ่าม ตงั้ ตรงอย่ใู นร่องไหล่ซ้ายและยกแขนขวา ซง่ึ มอื จดั น้ิวเหมอื นท่ารหสั ของลกู เสอื ฝ่ ามอื แบคว่าใชข้ า้ งปลายน้ิวแตะไมง้ ่าม ศอกงอไปขา้ งหน้าและอยแู่ นวเดยี วกบั ไหล่ หนั หน้า ไปยงั ผรู้ บั การเคารพซง่ึ ยนื หรอื เดนิ อยู่ (สวนมาหรอื เดนิ ไป) เมอ่ื ผ่านผรู้ บั การเคารพไป แลว้ เลกิ ทาความเคารพโดยใชม้ อื ซา้ ยดนั ไมง้ า่ มขน้ึ ไปอยใู่ นท่าแบกอาวุธดงั เดมิ พรอ้ ม กบั หนั หน้าแลตรงลดแขนขวาลง แขนแกว่งไปในท่าตามปกติ ถา้ ลกู เสอื คอนอาวธุ (ไมง้ า่ ม) ไปโดยลาพงั แต่ผเู้ ดยี ว เมอ่ื ผา่ นการเคารพใหล้ กู เสอื ทา ความเคารพดว้ ยท่าแลขวา (ซา้ ย) โดยแนบไมง้ า่ มชดิ ลาตวั แขนไมแ่ กวง่ เมอ่ื ผ่านพน้ ผกู้ ารเคารพไปแลว้ หนั หน้าแลตรง แขนขวาแกว่งตามสบาย หมายเหตุ ถา้ ลกู เสอื เคล่อื นทไ่ี ปโดยมผี บู้ งั คบั บญั ชาควบคุม การทาความเคารพขน้ึ อยู่ ทผ่ี คู้ วบคมุ ไปสงั่ หากไมม่ คี าสงั่ ไมต่ อ้ งปฏบิ ตั ิ ใหเ้ คลอ่ื นทไ่ี ปตามปกติ 3. การทาความเคารพด้วยท่าตรง เป็นการทาความเคารพเมอ่ื อย่ใู นแถวควบคุม และจะ ทาความเคารพเมอ่ื ผบู้ งั คบั บญั ชาสงั่ เทา่ นนั้ หรอื ใหเ้ ป็นท่าทาความเคารพตามลาพงั ทไ่ี ม่ สามารถทาท่าวนั ทยหตั ถ์ หรอื ท่าวนั ทยาวุธได้ เช่น เดนิ ถอื ของผ่านผู้บงั คบั บญั ชาหรอื ขณะถอื ของผบู้ งั คบั บญั ชาผา่ นมาเป็นตน้ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 31
โอกาสท่ีจะแสดงความเคารพ มดี งั ต่อไปนี้ 1. ต่อธงชาติขณะท่ชี กั ข้นึ ลง ธงประจากองทหาร ธงคณะลูกเสอื แห่งชาติ ธงลูกเสอื ประจา จังหวัด ธงมหาราช และธงอ่ืนๆ ท่ีเป็ นตัวแทนขององค์พระประมุขและสมเด็จ พระบรมราชนิ ีนาถและธงประจาพระบรมวงศานุวงศ์ ขณะทเ่ี ชญิ ผ่านไป 2. ในขณะบรรเลงเพลงชาติ เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงมหาฤกษ์ เพลงมหาชัย เพลงสรรเสรญิ เสอื ป่า เป็นตน้ 3. แด่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมวงศานุวงศ์ชนั้ ผูใ้ หญ่ บังคับบัญชาลูกเสือ บิดามารดา ครู อาจารย์ ญาติผู้ใหญ่ท่ีควรเคารพ นายทหารบก นายทหารเรอื นายทหารอากาศ นายตารวจ ทแ่ี ต่งเครอ่ื งแบบ 4. ลูกเสอื ต่อลูกเสอื ดว้ ยกนั จะเป็นชาตเิ ดยี วกนั หรือต่างชาติ ขณะท่พี บกนั ในครงั้ แรกของวนั หน่งึ ๆ เป็นการแสดงวา่ เป็นพวกเดยี วกนั เป็นพน่ี ้องลกู เสอื ดว้ ยกนั รหสั ลกู เสือ คาว่า “รหสั ” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายคือ เคร่อื งหมายหรอื สญั ญาณลบั ซง่ึ รเู้ ฉพาะผทู้ ต่ี กลงกนั ไว้ รหสั จะเป็นการแสดงดว้ ยกรยิ า ท่าทาง ดว้ ยเสยี งหรอื เครอ่ื งหมายใดๆ กไ็ ด้ ซง่ึ ใหร้ ใู้ หเ้ ขา้ ใจซ่งึ กนั และกนั ในระหวา่ งพวกเดยี วกนั รหสั ของลูกเสอื เป็นเคร่อื งหมายเฉพาะในวงการลูกเสอื ซง่ึ ลูกเสอื รบั รแู้ ละเขา้ ใจความหมายซง่ึ กันและกัน วตั ถุประสงค์ของการแสดงรหัสของลูกเสอื ก็เพ่ือจะให้ลูกเสือรู้และเข้าใจว่าเราเป็นพวก เดยี วกนั วิธีแสดงรหสั ของลกู เสือ การแสดงรหสั ของลูกเสอื กระทาโดยยกแขนขวาขน้ึ ใหข้ อ้ ศอกชดิ ลาตวั หนั ฝ่ ามอื ไปขา้ หน้าสูง เสมอไหล่ ให้น้ิวหวั แม่มอื กับน้ิวก้อยติดกนั โดยใช้น้ิวหวั แม่มอื ทบั น้ิวก้อย อีกสามน้ิวท่เี หลอื คอื น้ิวช้ี น้วิ กลาง น้วิ นาง เหยยี ดขน้ึ ไปตรงๆ และตดิ กนั น้วิ ทงั้ สาม ความหมายถงึ คาปฏญิ าณของลกู เสอื 3 ขอ้ คอื ขอ้ 1. ขา้ จะจงรกั ภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ ขอ้ 2. ขา้ จะช่วยเหลอื ผอู้ ่นื ทุกเมอ่ื ขอ้ 3. ขา้ จะปฏบิ ตั ติ ามกฎของลกู เสอื โอกาสท่ีจะแสดงรหสั ของลกู เสือ 1. เม่อื ลูกเสือกล่าวคาปฏิญาณในพิธีปฏญิ าณตน เช่น พิธีรบั เตรยี มลูกเสือวสิ ามญั และใน โอกาสทบทวนคาปฏญิ าณทุกครงั้ 2. เม่ือพบกับลูกเสือในประเทศและต่างประเทศ เป็ นการรับรู้ว่าเป็ นพวกเดียวกัน (นอกเครอ่ื งแบบกแ็ สดงรหสั ลกู เสอื ได)้ หมายเหตุ การใชร้ หสั เมอ่ื พบเพ่อื นลกู เสอื ดว้ ยกนั จะประกอบการสมั ผสั มอื ดว้ ย การจบั มอื แบบลกู เสือ 32 คมู่ ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
การจบั มอื เพ่อื แสดงความยนิ ดที ่พี บกนั ลูกเสอื ใชจ้ บั ด้วยมอื ซ้ายและปฏบิ ตั ติ ่อกนั เช่นน้ีในหมู่ ลกู เสอื ทวั่ ไป (ในทางสงั คมทวั่ ไปซง่ึ ไมใ่ ช่ลกู เสอื เขาจบั ดว้ ยมอื ขวา) วธิ แี สดงการจบั มอื ใหย้ ่นื มอื ซา้ ยออกไปแลว้ จบั มอื ซา้ ยของอกี ฝ่ายหน่ึงเหมอื นกับการจบั ดว้ ยมอื ขวา และตอ้ งจบั ใหก้ ระชบั แน่นพอสมควรเป็นการถ่ายทอดความรกั ความสนทิ สนม ประวตั ิการจบั มอื เมอ่ื ปี ค.ศ. 1895 ท่านลอรด์ เบเดน โฟเอลล์ (บ.ี -พ.ี ) ไดถ้ ูกส่งไปเมอื งอาชนั ติ (Ashanti) ชนเผ่า อาชนั ตเิ ป็นชนเผ่าอนั ดุรา้ ยเผ่าหน่ึง ชนเผ่าอาชนั ติมพี ระเจา้ แผ่นดินช่อื เปรมเป้ (Prempeh) มอี านาจ เดด็ ขาดไดย้ กกองทพั เขา้ ไปก่อกวนกองทพั ขององั กฤษเสมอ บ.ี พ.ี ไดใ้ ชก้ ลอุบายล้อม จนจบั คงิ สเ์ ปรม เป้ได้ บ.ี พ.ี ไดแ้ สดงความจรงิ ใจให้ คงิ สเ์ ปรมเป้ เหน็ ว่า กองทพั องั กฤษท่ยี กมาครงั้ น้ีมาอย่างมติ ร ไม่ ได้มาอย่างศตั รู บ.ี พ.ี เขา้ หา คงิ ส์ เปรมเป้ แต่ผเู้ ดยี วโดยปราศจากอาวุธ คงิ ส์ เปรมเป้ จงึ ยอมจานนแต่ โดยดที งั้ สองผยู้ งิ่ ใหญ่เผชญิ หน้ากนั และยม้ิ ต้อนรบั กนั บ.ี พ.ี จงึ ย่นื มอื ขวาออกไปใหจ้ บั เพ่อื มติ รภาพ แต่ คงิ ส์ เปรมเป้ไม่ยอมจบั กลบั ย่นื มอื ซา้ ยออกไปให้ บ.ี พ.ี จบั และกล่าวว่า “เราจะเป็นมติ รภาพกนั ควรจบั ดว้ ยมอื ซา้ ยเพราะเป็นมอื ทส่ี ะอาด เป็นมอื ทไ่ี มไ่ ดจ้ บั อาวุธฆา่ ฟันกบั ใคร ส่วนมอื ขวาสกปรกเป็นมอื ทจ่ี บั อาวุธประหตั ประหารกนั ” บ.ี พ.ี เหน็ ชอบดว้ ยจงึ เปล่ยี นเป็นจบั มอื ซา้ ย และบ.ี พ.ี ไดน้ าการจบั มอื ซา้ ยมา ใชใ้ นกจิ การลกู เสอื เป็นตน้ มาจนถงึ ปัจจบุ นั น้ี คติพจน์ของลกู เสือ คตพิ จน์ คอื ถ้อยคาสนั้ ๆ อนั เป็นคตเิ ตอื นใจซง่ึ เป็นความจรงิ อนั เป็นแบบอย่างท่ดี ที ล่ี ูกเสอื พงึ รกั ษา และนามาใชเ้ พ่อื ยดึ ถอื ปฏบิ ตั เิ ป็นการกระตุน้ เตอื นใจใหล้ กู เสอื ระลกึ ถงึ หน้าทอ่ี นั พงึ กระทา คติพจน์ของลกู เสือมดี งั ต่อไปนี้ คติพจน์ของลกู เสือสารอง “ทาดที ส่ี ุด” (Do Your Best) หมายความว่า การทาเพ่อื คนอ่นื หรอื เพ่อื สว่ นรวมเป็นการทาทด่ี ที ส่ี ุด คติพจน์ของลกู เสือสามญั “จงเตรยี มพรอ้ ม” (Be Prepared) หมายความว่า ลูกเสอื ต้องเป็นผู้ ไม่ประมาท มคี วามรอบคอบ เตรยี มพรอ้ มอย่เู สมอทงั้ กาย ใจ ท่จี ะทาความดเี พ่อื ส่วนรวมท่จี ะปฏบิ ตั ิ หน้าท่ขี องตนในการช่วยเหลอื ผู้อ่ืนและกิจกรรมลูกเสอื ด้วยความห่วงใยโดยไม่ประมาทจนเกดิ ความ เสยี หาย คติพจน์ของลูกเสือสามญั ร่นุ ใหญ่ “มองไกล” (Look Wide) หมายความว่า มองใหเ้ หน็ เหตุผล มองใหเ้ หน็ คนอ่นื มองใหเ้ หน็ ส่วนรวม มใิ ช่มองแต่ตวั เองหรอื ผลประโยชน์ของตนเอง คติพจน์ของลกู เสือวิสามญั “บรกิ าร” (Service) หมายความว่า เป็นการใหค้ วามช่วยเหลอื แก่ ผอู้ ่นื แก่ส่วนรวม โดยไมห่ วงั ผลประโยชน์ใดๆ ตอบแทน แต่สงิ่ ทจ่ี ะไดจ้ ากการใหบ้ รกิ ารคอื การยกยอ่ ง สรรเสรญิ จะทาใหเ้ กดิ ความภาคภูมใิ จ ลกู เสอื วสิ ามญั ทุกคนพงึ ยดึ มนั่ คตพิ จน์ “บรกิ าร” คติพจน์ของลูกเสือทุกประเภท ได้แก่ “เสยี ชพี อย่าเสยี สตั ย์” หมายความว่า ลูกเสอื จะต้อง รกั ษาสตั ยไ์ วย้ งิ่ ชวี ติ สตั ยแ์ ปลวา่ ความซ่อื ตรง จรงิ ใจ ชพี แปลวา่ ชวี ติ ลกู เสอื เม่อื พดู อยา่ งไรแลว้ ยอ่ มไม่ ละความสตั ย์ แมจ้ ะถูกบงั คบั จนเป็นอนั ตรายถงึ ชวี ติ ลูกเสอื กไ็ ม่ละเวน้ ความสตั ย์ ยอมตายดกี ว่าจะละ ความสตั ย์ (ถอื สตั ยใ์ นการประพฤตดิ ี มคี ณุ ธรรม) คมู่ อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 33
คาขวญั ของลกู เสือ “จงบาเพญ็ ประโยชน์ทุกวนั ” บทบาท หน้าท่ีของลกู เสือภายในหมขู่ องลกู เสือ ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมลกู เสอื มกั จะปฏบิ ตั กิ จิ กรรมเป็นหมู่ โดยถอื วา่ หม่ลู กู เสอื เป็นหน่วยรากฐาน สาคญั ในการดาเนินงานของกองลูกเสอื เป็นการสรา้ งค่านิยมใหแ้ ก่เดก็ ทอ่ี ย่ใู นวยั ทเ่ี ป็นลูกเสอื วสิ ามญั สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการฝึกอบรมในเรอ่ื งหน้าทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบไดเ้ ป็นอย่างดี หมู่ลูกเสอื ตามปกติจะเป็นหน่วยทากิจกรรมท่ีเล็กท่สี ุดในหมู่ลูกเสือ หมู่ลูกเสอื วสิ ามญั ตาม ขอ้ บงั คบั คณะลกู เสอื แห่งชาตวิ ่าด้วยการปกครองหลกั สูตรและวชิ าชพี พเิ ศษลูกเสอื วสิ ามญั (ฉบบั ท่ี 15) พ.ศ.2529 กาหนดใหม้ ลี ูกเสอื วสิ ามญั หมลู่ ะ 4 – 6 คน รวมทงั้ นายหมแู่ ละรองนายหม่ดู ว้ ยและในกรณีท่ี มกี จิ กรรมพเิ ศษ อาจจดั ลกู เสอื วสิ ามญั ขน้ึ เป็นหน่วยหรอื หมเู่ ฉพาะกจิ ได้ ตาแหน่งภายในหมู่ หม่ขู องลกู เสอื วสิ ามญั มจี านวน 4 – 6 คน แบ่งตาแหน่งดงั ต่อไปน้ี ถา้ มจี านวน 6 คน ถา้ มจี านวน 4 คน 1. นายหมู่ 1. นายหมู่ 2. พลาธกิ าร 2. พลาธกิ าร 3. คนครวั 3. คนครวั 4. คนหาน้า 4. รองนายหมู่ 5. คนหาฟืน 6. รองนายหมู่ ถา้ เป็นหมเู่ ฉพาะกจิ มจี านวน 8 คน แบง่ ตาแหน่งดงั ต่อไปน้ี 1. นายหมู่ 2. พลาธกิ าร 3. หวั หน้าคนครวั 4. ผชู้ ่วยคนครวั 5. คนหาน้า 6. คนหาฟืน 7. คนรบั ใชท้ วั่ ไป 8. รองนายหมู่ หมายเหตุ ตาแหน่งต่างๆ ภายในหมู่ ผกู้ ากบั ลกู เสอื วสิ ามญั จะแต่งตงั้ นายหมนู่ นั้ โดยหารอื ลกู เสอื ในหมนู่ นั้ และแต่งตงั้ รองนายหมโู่ ดยหารอื นายหมขู่ องหม่นู นั้ สาหรบั ตาแหน่งอ่นื ใหเ้ ลอื ก กนั ตามความเหมาะสม โดยทาหน้าทใ่ี นตาแหน่งต่างๆ เป็นการถาวร 1 ภาคเรยี น หรอื 1 ปี การศกึ ษาแลว้ แต่ความเหมาะสม หน้าที่ภายในหม่ลู กู เสือ 1. นายหมมู่ หี น้าท่ี 1.1 เป็นผนู้ าในหมขู่ องตน 1.2 ฝึกอบรม ปกครอง ดแู ลและช่วยเหลอื ลกู หมใู่ หม้ คี วามรกั ความสามคั คี 34 คมู่ ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
1.3 วางแผนงานกจิ กรรมของหมู่ 1.4 เป็นตวั แทนหมใู่ นการประชุมนายหมู่ 1.5 เป็นประธานทป่ี ระชุมในหมขู่ องตน 1.6 จดั การงานธรุ การ งานทะเบยี นของหมู่ 1.7 ชว่ ยเหลอื และแบง่ เบางานของผกู้ ากบั ลกู เสอื 2. รองนายหมมู่ หี น้าทช่ี ่วยเหลอื นายหมู่ และบางครงั้ ทาหน้าทแ่ี ทนนายหมู่ และเป็นกรรมการ ประจากอง 3. พลาธกิ าร มหี น้าทด่ี แู ลการเจบ็ ไขข้ องสมาชกิ เตรยี มอุปกรณ์การรกั ษาพยาบาลและดแู ล งานสุขาภบิ าลของหมู่ 4. หวั หน้าคนครวั มหี น้าทร่ี บั ผดิ ชอบเรอ่ื งอาหาร และงานครวั ของหมู่ 5. ผชู้ ว่ ยคนครวั มหี น้าทช่ี ่วยหวั หน้าคนครวั ในเรอ่ื งอาหารและงานครวั 6. คนหาน้า มหี น้าทห่ี าน้าด่มื และน้าใช้ ขดุ หลุมเปียก ทางระบายน้า 7. คนหาฟืน มหี น้าทห่ี าฟืน ขุดหลุมแหง้ และช่วยคนครวั ในเรอ่ื งเตา 8. คนรบั ใชท้ วั่ ไป มหี น้าทร่ี บั ใชง้ านทวั่ ไป ตามทน่ี ายหมมู่ อบหมาย หมายเหตุ หากมภี ารกจิ อ่นื ๆ ทม่ี ไิ ดก้ าหนดไว้ ใหน้ ายหมมู่ อบหมายสมาชกิ คนใดคนหน่งึ รบั ผดิ ชอบเป็นกรณไี ป บทบาทของลกู เสือวิสามญั การท่จี ะสมคั รเขา้ เป็นลูกเสอื วสิ ามญั ได้นัน้ จะต้องมอี ายุ 16 – 25 ปี หรอื กาลงั ศกึ ษาอยู่ในชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื ระดบั อาชวี ศกึ ษา หรอื ระดบั อุดมศกึ ษา โดยผทู้ ส่ี มคั รเขา้ เป็นลูกเสอื วสิ ามญั จะเคยเป็นลูกเสอื หรอื ไม่เคยเป็นมาก่อนเลยก็ได้ โดยเฉพาะเยาวชนทเ่ี ป็นสตรี จะสมคั รเป็นเนตรนารี วสิ ามญั หรอื เป็นลกู เสอื วสิ ามญั ได้ ลูกเสอื วสิ ามญั เป็นลูกเสอื รุ่นโตท่สี ุดในจานวนลูกเสอื 4 ประเภท ตามจุดมุ่งหมายของกิจการ ลกู เสอื วสิ ามญั เน้นใหล้ กู เสอื วสิ ามญั ใชช้ วี ติ กลางแจง้ ศกึ ษาดน้ การอาชพี และใหบ้ รกิ ารแก่ผอู้ ่นื โดยมคี ติ พจน์ว่า “บรกิ าร” (Service) ดงั นนั้ การบรกิ ารเป็นเสมอื นหวั ใจของการเป็นลกู เสอื วสิ ามญั ลกู เสอื วสิ ามญั จะตอ้ งยดึ มนั่ การบรกิ ารดว้ ยความเสยี สละและใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อสว่ นรวมใหม้ ากทส่ี ุด ความหมายของการบริการ การบรกิ ารในความหมายของลูกเสอื ไม่ไดห้ มายถงึ เป็นผรู้ บั ใช้ หรอื คนงานอย่างทบ่ี างคนเขา้ ใจ การบรกิ ารในความหมายของลกู เสอื วสิ ามญั นนั้ ประสงคท์ จ่ี อบรมบม่ นสิ ยั และจติ ใจใหล้ กู เสอื วสิ ามญั รจู้ กั เสยี สละช่วยเหลอื และบาเพญ็ ประโยชน์แก่ผอู้ ่นื และสงั คม เป็นการสรา้ งนิสยั ใหล้ กู เสอื วสิ ามญั ไม่เหน็ แก่ ตวั พรอ้ มทจ่ี ะเสยี สละประโยชน์สว่ นตนใหบ้ รกิ ารแก่บคุ คลอ่นื หรอื ชุมชนท่อี าศยั อยู่ ไดร้ จู้ กั หาความรแู้ ละ ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ต่อไปในอนาคต เมอ่ื ลกู เสอื วสิ ามญั เจรญิ เตบิ โตเป็นผู้ใหญ่จะสามารถ ประกอบอาชพี อยใู่ นสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ เพราะรจู้ กั เสยี สละไมเ่ อารดั เอาเปรยี บคนอ่นื การบริการและการพฒั นาชมุ ชน คมู่ อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 35
ดงั ทท่ี ราบกนั แลว้ ว่าการบรกิ าร คอื หวั ใจของกจิ กรรมลูกเสอื วสิ ามญั ดงั นัน้ บทบาทของลูกเสอื วสิ ามญั คอื การดาเนินการตามคตพิ จน์ “บรกิ าร” การบรกิ ารควรคานึงถงึ สงิ่ ต่อไปน้ี 1. การบรกิ ารตนเอง หมายความว่าจะตอ้ งช่วยเหลอื ตนเองใหไ้ ดเ้ สยี ก่อน การช่วยเหลอื ตวั เอง คอื การเตรยี มความพรอ้ มด้านต่างๆเช่น ด้านร่างกาย จติ ใจ หมนั่ ศึกษาหาความรู้ และประสบการณ์ท่ี แปลกใหม่ ในสภาพปัจจุบนั ลกู เสอื วสิ ามญั บางคนไดช้ ว่ ยเหลอื กจิ การเป็นอยา่ งดไี ดร้ บั การยกยอ่ งชมเชย แต่ถา้ ในเร่อื งการศกึ ษาเล่าเรยี นมปี ัญหาแสดงว่าลกู เสอื วสิ ามญั คนนนั้ ยงั ต้องเขา้ ใจหลกั การบรกิ ารดพี อ การทเ่ี ราจะใหก้ ารบรกิ ารแก่ผอู้ ่นื ตวั เราต้องพรอ้ มเสยี ก่อน ดงั นนั้ ลูกเสอื วสิ ามญั ตอ้ งเตรยี มความพรอ้ ม ของตนเองเพอ่ื การบรกิ ารผอู้ ่นื ต่อไป 2. การบรกิ ารครอบครวั ครอบครวั เป็นหน่วยสงั คมทเ่ี ลก็ ทส่ี ุดมคี วามรกั ความผกู พนั มคี วาม อบอุ่นเออ้ื อาทรกนั ลกู เสอื วสิ ามญั จงึ ควรช่วยเหลอื ครอบครวั ในดา้ นต่างๆ ทส่ี ามารถทาไดจ้ นครอบครวั เป็นสุข แลว้ จงึ ใหบ้ รกิ ารแก่ชุมชนและสงั คม ลูกเสอื วสิ ามญั ต้องคานึงถงึ ว่าพน้ื ฐานทส่ี าคญั คอื ครอบครวั ถา้ ครอบครวั ยงั มปี ัญหาไมม่ คี วามสุขอย่าหวงั เลยว่าเราจะทาใหช้ ุมชนและสงั คมมคี วามสขุ 3. การบรกิ ารชมุ ชน ชมุ ชนในความหมายน้หี มายถงึ สถานท่ี ทอ่ี ยใู่ กลช้ ดิ กบั เราเป็นชชุ นทเ่ี รา อาศยั อย่เู ช่น โรงเรยี น วดั และสถานท่ตี ่างๆ ท่ตี งั้ อย่ใู นชุมชน การบรกิ ารชุมชนนัน้ ในฐานะท่เี ราเป็น หน่วยหน่ึงของชุมชน คงจะต้องช่วยเหลอื พฒั นาชุมชนท่เี ราอาศยั อยใู่ หด้ ที ส่ี ุดเท่าท่กี าลงั ความสามารถ ของเราจะทาได้ 4. การบรกิ ารสงั คม สงั คมในความหมายน้หี มายถงึ สงั คมทวั่ ไปทม่ี ขี อบเขตกวา้ งขวางกวา่ ชุมชน เช่น สงั คมในอาเภอ สงั คมในจงั หวดั การบรกิ ารสงั คมนัน้ นับว่าเป็นงานท่กี วา้ งขวางพอสมควร บาง กจิ กรรมกส็ ามารถกระทาด้วยตนเองได้ บางกจิ กรรมต้องอาศยั ความร่วมมอื ร่วมใจกนั หลายฝ่ าย การ บรกิ ารสงั คมส่วนใหญ่เป็นการขอความช่วยเหลอื กจิ กรรมต่างๆ หลกั การสาคญั ในการให้บริการลูกเสือวิสามญั 1. บรกิ ารดว้ ยความสมคั รใจ คอื เตม็ ใจทจ่ี ะใหบ้ รกิ ารไมม่ ผี ใู้ ดบงั คบั ใหก้ ระทาและบรกิ าร โดยไม่ หวงั ผลประโยชน์ตอบแทน สง่ิ ท่จี ะได้รบั ตอบแทนในการให้บรกิ ารคอื เกดิ ความสุขความภาคภูมใิ จใน การใหบ้ รกิ าร 2. บรกิ ารสงิ่ ทเ่ี ป็นความตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ าร หมายถงึ การบรกิ ารสง่ิ ใดแลว้ แต่จะตอ้ ง สอบถามความตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ ารว่ามคี วามประสงคจ์ ะใหบ้ รกิ ารหรอื ไม่ ในบางครงั้ เราบรกิ ารใหแ้ ต่ ผรู้ บั บรกิ ารไมพ่ งึ ประสงค์ กอ็ าจจะทาใหเ้ กดิ ปัญหาได้ 3. บรกิ ารในสง่ิ ทม่ี คี วามจาเป็นต่อส่วนรวม เชน่ ชว่ ยเหลอื ในการจราจร การทาความสะอาดวดั การกาจดั ผกั ตบชวา เป็นตน้ 4. บรกิ ารตามความสามารถของตนท่ีสามารถจะทาได้ คือ ต้องทราบขดี ความสามารถของ ตนเองว่ามคี วามสามารถเพยี งใด และในการให้บรกิ ารทุกครงั้ ต้องทาให้เต็มความสามารถและดที ่สี ุด เท่าทจ่ี ะทาไดท้ กุ ครงั้ ลกู เสอื วสิ ามญั ควรหาโอกาสใหบ้ รกิ ารเทา่ ทส่ี ามารถจะทาได้ โดยคานงึ ถงึ หลกั การทก่ี ล่าวไว้ ขา้ งตน้ การบรกิ าร คอื งานของลกู เสอื วสิ ามญั 36 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
แบบทดสอบ ประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 1 คาสงั่ ใหเ้ ขยี นเครอ่ื งหมายกากบาท ( ) ทบั ตวั อกั ษรหน้าขอ้ คาตอบทถ่ี กู ทส่ี ุด 1. การลกู เสอื โลกไดเ้ รมิ่ ขน้ึ เมอ่ื ปีใด ก. พ.ศ. 2440 ข. พ.ศ. 2445 ค. พ.ศ. 2450 ง. พ.ศ. 2455 2. กองลกู เสอื ประเภทแรกทไ่ี ดร้ บั การจดั ตงั้ คอื ก. กองลกู เสอื สารอง ข. กองลกู เสอื สามญั ค. กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ง. กองลกู เสอื วสิ ามญั 3. พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาพระราชทานกาเนิดลกู เสอื ไทย เมอ่ื ปีใด ก. พ.ศ. 2445 ข. พ.ศ. 2450 ค. พ.ศ. 2454 ง. พ.ศ. 2455 4. กองลกู เสอื แห่งแรกในประเทศไทย ตงั้ ขน้ึ ทใ่ี ด ก. โรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลยั ข. โรงเรยี นพระปฐมวทิ ยาลยั ค. โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ง. โรงเรยี นสวนกุหลาบวทิ ยาลยั 5. การฝึกอบรมผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื วสิ ามญั ครงั้ แรกในประเทศไทยจดั ขน้ึ ณ ทใ่ี ด ก. เกาะลอยสวนลมุ พนี ี ข. พระราชวงั สราญรมย์ ค. พระราชวงั สนามจนั ทร์ ง. คา่ ยลกู เสอื วชริ าวธุ 6. เขม็ ขดั ลกู เสอื วสิ ามญั เหล่าอากาศมสี อี ะไร ก. สกี ากี ข. สดี า ค. สเี ทา ง. สนี ้าตาล 7. เครอ่ื งหมายสงั กดั ของลกู เสอื วสิ ามญั ตดิ ทใ่ี ด ก. อกเสอ้ื ดา้ นซา้ ย ข. อกเสอ้ื ดา้ นขวา ค. ไหล่เสอ้ื ดา้ นซา้ ย ง. ไหล่เสอ้ื ดา้ นขวา 8. การบรกิ ารของลกู เสอื วสิ ามญั ควรบรกิ ารในขอ้ ใดก่อน ก. บรกิ ารตนเอง ข. บรกิ ารครอบครวั ค. บรกิ ารชุมชน ง. บรกิ ารสงั คม 9. ขอ้ ใด ไม่ใช่ หลกั การในการใหบ้ รกิ ารของลกู เสอื วสิ ามญั ก. บรกิ ารในสง่ิ ทจ่ี าเป็น ข. บรกิ ารดว้ ยความสมคั รใจ ค. บรกิ ารตามกาลงั ความสามารถ ง. บรกิ ารตามความตอ้ งการของตนเอง 10. ขอ้ ใด ไม่ใช่ การบาเพญ็ ประโยชน์ต่อชุมชนและสงั คมของลกู เสอื ก. การทาความสะอาด ข. การซ่อมแซมสถานท่ี ค. การรณรงคท์ างการเมอื ง ง. การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ คมู่ อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 37
1. ค 2. ข เฉลยแบบทดสอบ 4.ก 5. ก 6. ข 7. ง 3. ค 9. ง 10. ค 8. ก เร่อื งสนั้ ท่ีเป็นประโยชน์ วนั นี้ที่รอคอย ศริ เิ ป็นลูกเสอื สารอง กาลงั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เขาเห็นลกู เสอื รุ่นพ่ไี ปเดนิ ทางไกลและ แรมคนื ทช่ี ายทุ่งขา้ งๆ บา้ นของเขา ลกู เสอื ร่นุ พเ่ี ดนิ ทางไปถงึ ทแ่ี รมคนื ช่วยกนั กางเต็นท์ จดั ทพ่ี กั จดั ท่ี หุงหาอาหารกนั อย่างสนุกสนาน คนทร่ี บั ผดิ ชอบกางเต็นท์กต็ งั้ ใจกางอย่างรวดเรว็ เม่อื ผูก้ ากับลูกเสอื เดนิ มาตรวจดูความเรยี บรอ้ ยกเ็ สนอแนะใหห้ ม่ลู ูกเสอื ช่วยกนั ทาร่องน้าเลก็ ๆ รอบเต็นท์ เพราะถ้ามฝี น ตกน้ากจ็ ะไดจ้ ะไดไ้ หลลงรอ่ งน้านนั้ และตอนกลางคนื ใหน้ าลกู มะนาววางในเตน็ ทป์ ้องกนั สตั วร์ า้ ย ศริ ยิ นื ดลู กู เสอื เหลา่ นนั้ ดว้ ยความหวงั ว่า ปีหน้าเขาเป็นลูกเสอื สามญั เขาจะไดม้ โี อกาสกางเต็นท์ แรมคนื เช่นน้นี บั วนั รอคอยว่าถ้าวนั นัน้ มาถงึ เขาคงจะสามารถกางเตน็ ทไ์ ด้ เร่ืองนี้สอนให้รวู้ ่า การรอคอยอยา่ งมคี วามหวงั ยอ่ มทาใหเ้ กดิ พลงั ทจ่ี ะทาดี ความสาคญั ในสาสน์ ฉบบั สดุ ท้ายของ บี-พี น.ส.จฑุ ามาส ชุมเมอื งปัก ผแู้ ต่ง ครพู รศกั ดเิ ์ ป็นผูก้ ากบั ลกู เสอื วสิ ามญั ท่มี คี วามมงุ่ มนั่ ในกจิ การลูกเสอื ตงั้ ใจถ่ายทอดความรแู้ ละ ประสบการณ์ให้แก่ลูกเสอื ท่ตี นรบั ผดิ ชอบ เขายดึ ถอื ความสาคญั ในสาส์นฉบบั สุดท้ายของ บี-พี ผู้ให้ กาเนิดลูกเสอื โลกท่เี ขยี นถงึ ลูกเสอื นามาให้ลูกเสอื ได้เรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั ิตาม ขอ้ แรกของสาสน์ กล่าวว่า “จงทาตนใหม้ อี นามยั ดแี ละแขง็ แรงในขณะทเ่ี ป็นเดก็ ” ดงั นนั้ ครพู าศกั ดจิ ์ งึ ทาตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ใี นการ ออกกาลงั กายอย่างสม่าเสมอ หลงั เลกิ เรยี นครพู รศกั ดแิ ์ ละลูกศษิ ยก์ ลุ่มหน่ึงจะเล่นฟุตบอลดว้ ยกนั เสมอ สทิ ธชิ ยั เป็นหน่งึ ในลกู ทม่ี ารว่ มกจิ กรรมอยา่ งต่อเนอื ง รา่ งกายกแ็ ขง็ แรงฟุตบอลเป็นกฬี าทเ่ี ลน่ เป็นทมี ทาให้สทิ ธชิ ยั รูจ้ กั ผู้คนมากขน้ึ รูว้ ่าเม่อื ไรจะพูดอะไรทาอะไร รู้จกั การให้อภยั การรอคอย และการให้ โอกาสแก่ผูอ้ ่นื ครพู รศกั ดสิ ์ งั เกตเหน็ ความเปลย่ี นแปลงท่ดี ที งั้ ดา้ นร่างกายและจติ ใจของสทิ ธชิ ยั ครพู า ศักดิก์ ็ยงิ่ เห็นด้วยกับสาส์นฉบับสุดท้ายข้อน้ีเป็นอย่างย่งิ รู้สึกขอบคุณท่าน บี-พี ท่ีให้สิ่งท่ีดีงามแก่ เยาวชนรนุ่ หลงั ไดอ้ ยา่ งเป็นอมตะ เรอื่ งนี้สอนให้รวู้ ่า ตวั อยา่ งและคาสอนทด่ี ี มคี ณุ ค่าต่อผใู้ หค้ วามศรทั ธาเสมอ แผนการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4, ประกาศนียบตั รวิชาชีพ(ปวช.1) 38 ค่มู อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
หน่วยท่ี 2 กิจการของการลกู เสือและบทบาทของตนเองที่เป็นลกู เสือวิสามญั แผนการจดั กิจกรรมท่ี 3 กิจการของคณะลกู เสือไทยและลกู เสือโลก เวลา 2 ชวั่ โมง 1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.1 ลกู เสอื สามารถอธบิ ายกจิ การและวธิ กี ารดาเนินงานของคณะลกู เสอื แห่งชาตไิ ด้ 1.2 ลกู เสอื สามารถอธบิ ายกจิ การขององคก์ ารลกู เสอื โลกได้ 2. เนื้อหา 2.1 กจิ การของคณะลกู เสอื แห่งชาติ 2.2 กจิ การขององคก์ ารลกู เสอื โลก 2.3 ความสมั พนั ธร์ ะหว่างลูกเสอื นานาชาติ 3. สื่อการเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 ใบความรู้ 3.3 ภาพประกอบ เชน่ พระบรมฉายาลกั ษณ์ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงฉลอง พระองคด์ ว้ ยชุดลกู เสอื ภาพทเ่ี กย่ี วกบั กจิ การคณะลกู เสอื แหง่ ชาตแิ ละลกู เสอื โลก ฯลฯ 3.4 แบบทดสอบ 3.5 เรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปิดประชุมกอง (ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก) 4.2 เพลง “ในหมลู่ กู เสอื ” 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) นาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยนาพระบรมฉายาลกั ษณ์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฉลอง พระองคช์ ุดลกู เสอื โลก มาใหผ้ เู้ รยี นชม แลว้ ตงั้ คาถามว่า “พระองคท์ รงดารงตาแหน่งใดในกจิ การลกู เสอื ” 2) ผกู้ ากบั ลกู เสอื บรรยายกจิ การของคณะลกู เสอื แหง่ ชาตปิ ระกอบพรอ้ มแสดงโครงสรา้ ง ประกอบ 3) ใหล้ กู เสอื รว่ มรอ้ งเพลงทม่ี คี วามเก่ยี วขอ้ งกบั เน้อื หา โดยผกู้ ากบั ลกู เสอื รอ้ งเพลงใหฟ้ ัง เป็นตวั อยา่ งแลว้ ใหล้ กู เสอื รอ้ งตาม 4) ผกู้ ากบั ลกู เสอื บรรยายกจิ การขององคก์ ารลกู เสอื โลกและความสมั พนั ธร์ ะหว่างลกู เสอื นานาชาติ 5) ผกู้ ากบั ลกู เสอื ใหผ้ เู้ รยี นร่วมรอ้ งเพลงทม่ี คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั เน้อื หา โดยผกู้ ากบั ลกู เสอื รอ้ งเพลงใหฟ้ ังเป็นตวั อยา่ ง แลว้ ใหล้ กู เสอื รอ้ งตาม 6) สรปุ บทเรยี นโดยใหล้ กู เสอื อธบิ ายกจิ การของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ และลกู เสอื ไทยตาม ความเขา้ ใจ แลว้ ผกู้ ากบั ลกู เสอื สอนเสรมิ สว่ นทย่ี งั ไมส่ มบรู ณ์ 7) ผกู้ ากบั ลกู เสอื มอบหมายงานใหล้ กู เสอื ทดสอบตามแบบทดสอบ คมู่ ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 39
4.4 ผกู้ ากบั ลกู เสอื เล่าเรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ิดประชุมกอง (นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ) 5. การประเมินผล 5.1 สงั เกตความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 5.2 ตรวจผลการแบบทดสอบหลงั เรยี น ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 3 เพลง ในหม่ลู กู เสือ ในหมลู่ กู เสอื ทเ่ี รารว่ มอยู่ ต่างคนต่างรกู้ นั ดวี ่าหน้าทท่ี ุกอยา่ ง ตอ้ งชว่ ยกนั ทา ทาไมเ่ วน้ ว่าง งานทกุ อย่าง งานทุกอยา่ ง จะเสรจ็ โดยง่ายดาย พ่ีน้องลกู เสือ เราเป็นลกู เสอื ตอ้ งช่วยเหลอื กนั และกนั ทางานอะไร ตอ้ งเขา้ ไปชว่ ยกนั (ซ้า) เพอ่ื ความสมั พนั ธ์ มนี ้าใจไมตรี อยา่ ทาเมนิ เฉย น่งิ อยเู่ ลย ไมด่ ี ตอ้ งช่วยกนั ซี พน่ี ้องลกู เสอื ช่วยกนั (ซ้า 2 ครงั้ ) 40 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
ใบความรู้ กิจการของคณะลกู เสือแห่งชาติ 1.1 คณะลกู เสอื แห่งชาติ ประกอบดว้ ย ลกู เสอื ทงั้ ปวง ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการลกู เสอื กรรมการลกู เสอื และเจา้ หน้าทล่ี กู เสอื 1.2 การดาเนินงานของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ 1.2.1 สภาลกู เสอื แหง่ ชาติ มนี ายกรฐั มนตรเี ป็นสภานายก มอี านาจหน้าทว่ี างนโยบายและ พจิ ารณา รายงานประจาปีของคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ใหค้ าแนะนาในการปฏบิ ตั งิ านของ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ 1.2.2 คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ มรี ฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทาหน้าท่ี ประธานคณะกรรมการฯ มอี านาจหน้าทด่ี าเนนิ การตามวตั ถุประสงคข์ องคณะลกู เสอื แห่งชาติ และ ตามนโยบายของสภาลกู เสอื แห่งชาติ จดั ใหม้ กี ารฝึกอบรมและการชุมนุม ลกู เสอื ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื จดั การทรพั ยส์ นิ ทารายงานประจาปี วางระเบยี บแบบแผน กาหนดใหม้ ี สานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ เป็นตน้ 1.2.3 คณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั มผี วู้ ่าราชการจงั หวดั ทาหน้าท่ี ประธานกรรมการฯ มอี านาจ หน้าทส่ี ง่ เสรมิ กจิ การลกู เสอื ของจงั หวดั พจิ ารณารายงานประจาปีของลกู เสอื จงั หวดั ให้ คาแนะนาในการปฏบิ ตั งิ านลกู เสอื กาหนดใหม้ สี านักงานคณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั เป็นต้น คมู่ ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 41
พระราชบญั ญตั ิ ลกู เสอื พ.ศ. 2551 ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2551 เป็นปีท่ี 63 ในรชั กาลปัจจบุ นั พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกาศวา่ โดยทเ่ี ป็นการสมควรปรบั ปรงุ กฎหมายว่าดว้ ยลกู เสอื จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ้ ดยคาแนะนาและยนิ ยอมของ สภานติ บิ ญั ญตั แิ ห่งชาติ ดงั ต่อไปน้ี มาตรา 1 พระราชบญั ญตั นิ ้เี รยี กว่า “พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2551” มาตรา 2 พระราชบญั ญตั นิ ้ใี หใ้ ชบ้ งั คบั ตงั้ แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เป็นตน้ ไป มาตรา 3 ใหย้ กเลกิ (1) พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2507 (2) พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2509 (3) พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2528 (4) พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2530 มาตรา 4 ในพระราชบญั ญตั นิ ้ี “ลกู เสอื ”หมายความวา่ เดก็ และเยาวชนทงั้ ชายและหญงิ ทส่ี มคั รเขา้ เป็นลกู เสอื ทงั้ ใน สถานศกึ ษาและนอกสถานศกึ ษา ส่วนลกู เสอื ท่เี ป็นหญงิ ใหเ้ รยี กวา่ “เนตรนาร”ี “บคุ ลากรทางการลกู เสอื ”หมายความว่า ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการลกู เสอื กรรมการ ลกู เสอื อาสาสมคั รลกู เสอื และเจา้ หน้าทล่ี กู เสอื “รฐั มนตร”ี หมายความว่า รฐั มนตรผี รู้ กั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา 5 ใหร้ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรกั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี และใหม้ ี อานาจออกกฎกระทรวง เพ่อื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี กฎกระทรวงนนั้ เมอ่ื ไดป้ ระกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลว้ ใหใ้ ชบ้ งั คบั ได้ 42 คมู่ อื การจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
หมวด 1 บททวั่ ไป มาตรา 6 ใหม้ คี ณะลกู เสอื แห่งชาติ ประกอบดว้ ย บรรดาลกู เสอื ทงั้ ปวงและบคุ ลากร ทางการลกู เสอื มาตรา 7 พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุขของคณะลกู เสอื แห่งชาติ มาตรา 8 คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ มวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื พฒั นาลกู เสอื ทงั้ ทางกาย สตปิ ัญญา จติ ใจ และศลี ธรรม ใหเ้ ป็นพลเมอื งดี มคี วามรบั ผดิ ชอบ และชว่ ยสรา้ งสรรคส์ งั คมใหเ้ กดิ ความสามคั คี และมคี วามเจรญิ กา้ วหน้า ทงั้ น้ี เพอ่ื ความสงบสุข และความมนั่ คงของประเทศชาตติ ามแนวทาง ดงั ต่อไปน้ี (1) ใหม้ นี ิสยั ในการสงั เกต จดจา เช่อื ฟัง และพง่ึ ตนเอง (2) ใหซ้ อ่ื สตั ยส์ จุ รติ มรี ะเบยี บวนิ ยั และเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ่นื (3) ใหร้ จู้ กั บาเพญ็ ตนเพ่อื สาธารณประโยชน์ (4) ใหร้ จู้ กั ทาการฝีมอื และฝึกฝนใหท้ ากจิ การต่าง ๆ ตามความเหมาะสม (5) ใหร้ จู้ กั รกั ษาและส่งเสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความมนั่ คงของประเทศชาติ มาตรา 9 ใหก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร มหี น้าทส่ี ่งเสรมิ และสนบั สนุนงานของคณะลกู เสอื แหง่ ชาตเิ พ่อื ใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงคข์ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ รวมทงั้ ส่งเสรมิ และสนบั สนุน การดาเนินการของสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ สานกั งานลกู เสอื จงั หวดั สานกั งานลกู เสอื เขตพน้ื ท่ี การศกึ ษาสถานศกึ ษาและหน่วยงานอ่นื ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เพอ่ื ใหก้ ารจดั กจิ กรรมลกู เสอื เป็นไปอยา่ งทวั่ ถงึ และ มปี ระสทิ ธภิ าพ มาตรา 10 ใหก้ รรมการสภาลกู เสอื ไทย กรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ กรรมการลกู เสอื จงั หวดั และกรรมการลกู เสอื เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ไดร้ บั เบย้ี ประชุมและค่าตอบแทนอ่นื ตามระเบยี บ ทก่ี ระทรวงการคลงั กาหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี หมวด 2 การปกครอง ส่วนท่ี 1 สภาลกู เสอื ไทย มาตรา 11 ใหม้ สี ภาลกู เสอื ไทย ประกอบดว้ ย (1) นายกรฐั มนตรี เป็นสภานายก (2) รองนายกรฐั มนตรี เป็นอุปนายก (3) กรรมการโดยตาแหน่ง ไดแ้ ก่ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รฐั มนตรวี า่ การ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 43
กระทรวงกลาโหม รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย ปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี ปลดั กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร ปลดั กระทรวงกลาโหม ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและ ความมนั่ คงของมนุษย์ ผบู้ ญั ชาการทหารสงู สดุ ผบู้ ญั ชาการทหารบก ผบู้ ญั ชาการทหารเรอื ผบู้ ญั ชาการทหารอากาศ ผบู้ ญั ชาการตารวจแหง่ ชาติ เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เลขาธกิ ารสภากาชาดไทย อธบิ ดกี รมการปกครอง อธบิ ดกี รมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ ผวู้ ่าราชการกรงุ เทพมหานคร ผวู้ ่าราชการจงั หวดั และผอู้ านวยการศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารลกู เสอื ชาวบา้ น (4) กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ จิ านวนไมเ่ กนิ แปดสบิ คนซง่ึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งตงั้ ตามพระราชอธั ยาศยั ใหเ้ ลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธกิ ารและผชู้ ว่ ย เลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ เป็นผชู้ ่วยเลขานุการ สภาลกู เสอื ไทยอาจมสี ภานายกกติ ตมิ ศกั ดิ ์อุปนายกกติ ตมิ ศกั ดิ ์และกรรมการกติ ตมิ ศกั ดิ ์ ซง่ึ จะไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งตงั้ มาตรา 12 สภาลกู เสอื ไทยมอี านาจหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี (1) วางนโยบายเพ่อื ความมนั่ คงและความเจรญิ ก้าวหน้าของคณะลกู เสอื แห่งชาติ (2) ใหค้ าแนะนาในการปฏบิ ตั งิ านของคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ (3) พจิ ารณารายงานประจาปีของคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ มาตรา 13 กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒติ ามมาตรา 11 (4) มวี าระการดารงตาแหน่งคราวละสป่ี ี นบั แต่วนั ทท่ี รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งตงั้ และเมอ่ื พน้ จากตาแหน่งอาจทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ แต่งตงั้ อกี ได้ มาตรา 14 นอกจากการพน้ จากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา 13 กรรมการผทู้ รงคุณวุฒิ ตามมาตรา 11 (4) พน้ จากตาแหน่งเมอ่ื (1) ตาย (2) ลาออก (3) เป็นบคุ คลลม้ ละลาย (4) เป็นคนไรค้ วามสามารถหรอื คนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (5) ไดร้ บั โทษจาคกุ โดยคาพพิ ากษาถงึ ทส่ี ุดใหจ้ าคุก สว่ นท่ี 2 คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาตแิ ละสานกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ มาตรา 15 ใหม้ คี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตซิ ง่ึ เป็นองคก์ รบรหิ ารของคณะลกู เสอื แห่งชาติ ประกอบดว้ ย (1) รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เป็นประธานกรรมการ 44 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
(2) กรรมการโดยตาแหน่ง ไดแ้ ก่ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและปลดั กระทรวงมหาดไทย เป็นรองประธานกรรมการ เลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เลขาธกิ ารสภากาชาดไทย ผอู้ านวยการสานกั บรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น ผอู้ านวยการสานกั บรหิ ารงานคณะกรรมการ สง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน และผูอ้ านวยการศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารลกู เสอื ชาวบา้ น (3) กรรมการผทู้ รงคุณวุฒจิ านวนไมเ่ กนิ สบิ หา้ คนซง่ึ สภานายกสภาลกู เสอื ไทยแต่งตงั้ โดย คาแนะนาของกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาตติ าม (1) และ (2) ซง่ึ ในจานวนน้ตี อ้ งมาจากภาคเอกชน ไมน่ ้อยกวา่ กง่ึ หน่งึ ใหเ้ ลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ รองเลขาธกิ ารและผชู้ ่วย เลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ เป็นผชู้ ว่ ยเลขานุการ มาตรา 16 กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒติ ามมาตรา 15 (3) มวี าระการดารงตาแหน่งคราวละสป่ี ี และอาจไดร้ บั แต่งตงั้ อกี ได้ แต่จะแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่งตดิ ต่อกนั เกนิ สองวาระมไิ ด้ ในกรณที ก่ี รรมการตามวรรคหน่งึ พน้ จากตาแหน่งก่อนครบวาระ ใหด้ าเนินการแต่งตงั้ กรรมการใหมภ่ ายในเกา้ สบิ วนั นบั แต่วนั ทก่ี รรมการพน้ จากตาแหน่ง และใหผ้ ซู้ ง่ึ ไดร้ บั แต่งตงั้ อยใู่ น ตาแหน่งเพยี งเท่าวาระทเ่ี หลอื อยขู่ องผซู้ ง่ึ ตนแทน แต่ถา้ วาระการดารงตาแหน่งเหลอื อยู่น้อยกวา่ หน่งึ รอ้ ยแปดสบิ วนั จะไมด่ าเนินการแต่งตงั้ แทนกไ็ ด้ ใหน้ าบทบญั ญตั มิ าตรา 14 มาใชบ้ งั คบั แก่การพน้ จากตาแหน่งของกรรมการตามวรรคหน่งึ โดยอนุโลม มาตรา 17 คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาตมิ อี านาจหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี (1) ดาเนินการตามวตั ถุประสงคข์ องคณะลกู เสอื แห่งชาตแิ ละตามนโยบายของสภาลกู เสอื ไทย (2) สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธก์ บั คณะลกู เสอื นานาชาติ (3) สนบั สนุนและส่งเสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากรทางการลกู เสอื (4) สนบั สนุนใหม้ กี ารจดั กจิ กรรมอยา่ งต่อเน่อื ง (5) จดั การทรพั ยส์ นิ ของสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ (6) ใหค้ วามเหน็ ชอบในการลงทุนเพ่อื ประโยชน์ของสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ (7) ออกขอ้ บงั คบั ของคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาตติ ามทร่ี ะบไุ วใ้ นพระราชบญั ญตั นิ ้ี โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา (8) วางระเบยี บและแนวทางปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั กจิ การลกู เสอื (9) จดั ทารายงานประจาปีเสนอสภาลกู เสอื ไทยพจิ ารณาตามมาตรา 12 (3) (10) แต่งตงั้ ทป่ี รกึ ษาคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ (11) แต่งตงั้ คณะอนุกรรมการเพอ่ื พจิ ารณาหรอื ปฏบิ ตั กิ ารตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตมิ อบหมาย (12) กากบั ดแู ล สนบั สนุนและสง่ เสรมิ กจิ การลกู เสอื ชาวบา้ น คมู่ ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 45
(13) จดั ตงั้ ตาแหน่งกติ ตมิ ศกั ดิ ์และตาแหน่งอ่นื ใดทม่ี ไิ ดร้ ะบุไวใ้ นพระราชบญั ญตั นิ ้ี (14) ปฏบิ ตั กิ ารอ่นื ใดตามทก่ี ฎหมายกาหนดใหเ้ ป็นอานาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสอื แห่งชาตหิ รอื ตามทค่ี ณะรฐั มนตรมี อบหมาย มาตรา 18 ใหม้ สี านกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตเิ ป็นหน่วยงานของรฐั ทไ่ี มเ่ ป็นส่วนราชการหรอื รฐั วสิ าหกจิ ตามกฎหมายว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณหรอื กฎหมายอ่นื ใหส้ านกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตมิ ฐี านะเป็นนติ บิ ุคคลและอยใู่ นกากบั ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร การจดั แบ่งส่วนงานภายในของสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตใิ หเ้ ป็นไปตามขอ้ บงั คบั คณะกรรมการ บรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ มาตรา 19 เพอ่ื ประโยชน์ในการดาเนินการของสานกั งานลกู เสอื แห่งชาตใิ หร้ ฐั มนตรแี ต่งตงั้ รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารคนหน่งึ ทาหน้าทเ่ี ลขาธกิ ารสานักงานลกู เสอื แห่งชาติ และแต่งตงั้ ผบู้ รหิ าร ระดบั สงู อ่นื ในกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทาหน้าทร่ี องเลขาธกิ ารและผชู้ ่วยเลขาธกิ ารตามจานวนทเ่ี หมาะสม โดยการเสนอของเลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ การปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี องขา้ ราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามวรรคหน่งึ ใหถ้ อื เป็นการปฏบิ ตั ริ าชการดว้ ย มาตรา 20 สานกั งานลกู เสอื แห่งชาตมิ อี านาจหน้าทด่ี าเนินการตามวตั ถุประสงคข์ องคณะ ลกู เสอื แห่งชาตแิ ละตามนโยบายของสภาลกู เสอื ไทย รวมทงั้ ใหม้ อี านาจหน้าทด่ี งั ต่อไปน้ี (1) ถอื กรรมสทิ ธหิ ์ รอื สทิ ธคิ รอบครองในทรพั ยส์ นิ ของคณะลกู เสอื แห่งชาตหิ รอื ดาเนินการใด ๆ เกย่ี วกบั ทรพั ยส์ นิ (2) ทานติ กิ รรมสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลงอ่นื (3) รบั ผดิ ชอบการดาเนินงานของคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ (4) ควบคุมดแู ลกจิ การลกู เสอื ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั และระเบยี บของทางราชการ และคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ รวมทงั้ ถูกตอ้ งตามแบบธรรมเนียมของลกู เสอื (5) จดั ใหม้ กี ารฝึกอบรมหรอื การชุมนุมลกู เสอื ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื และเจา้ หน้าทล่ี กู เสอื (6) จดั ทารายงานประจาปีพรอ้ มงบดุลเสนอคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ (7) จดั ใหม้ ที ะเบยี นและสถติ ติ ่าง ๆ เกย่ี วกบั ลกู เสอื (8) ประสานและสง่ เสรมิ สานกั งานลกู เสอื จงั หวดั และสานกั งานลกู เสอื เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา (9) ปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ามทก่ี าหนดไวใ้ นขอ้ บงั คบั และตามมตขิ องคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ มาตรา 21 สานกั งานลกู เสอื แห่งชาตมิ รี ายได้ ดงั ต่อไปน้ี (1) เงนิ อุดหนุนทวั่ ไปทร่ี ฐั บาลจดั สรรใหต้ ามความเหมาะสมเป็นรายปี (2) เงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ ทม่ี ผี อู้ ุทศิ ให้ (3) ค่าบารงุ ค่าธรรมเนียม และค่าบรกิ ารอ่นื ตามขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ (4) รายไดห้ รอื ผลประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการลงทนุ หรอื การร่วมลงทุนกบั หน่วยงานและ บุคคลภายนอก รวมทงั้ ผลประโยชน์จากทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาของสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ (5) รายไดห้ รอื ผลประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากทรพั ยส์ นิ ของสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ และทรพั ยส์ นิ ท่ี 46 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
สานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตปิ กครอง ดแู ล บารงุ รกั ษา ใช้ และจดั หาประโยชน์ (6) รายไดห้ รอื ผลประโยชน์อ่นื มาตรา 22 บรรดาเงนิ หรอื รายไดข้ องสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตไิ มเ่ ป็นเงนิ หรอื รายไดท้ ต่ี อ้ ง นาสง่ คลงั ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยเงนิ คงคลงั และกฎหมายว่าดว้ ยวธิ กี ารงบประมาณ การใชจ้ า่ ยเงนิ หรอื รายไดข้ องสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตใิ หเ้ ป็นไปเพอ่ื ประโยชน์แก่กจิ การ ลกู เสอื ตามขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ มาตรา 23 ใหเ้ ลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตเิ ป็นผรู้ บั ผดิ ชอบการบรหิ ารงานของ สานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตแิ ละเป็นผบู้ งั คบั บญั ชาพนกั งานและลกู จา้ งในสานกั งาน รวมทงั้ ใหม้ อี านาจ หน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี (1) ควบคมุ ดแู ลทรพั ยส์ นิ ของสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ (2) เสนอรายงานประจาปีเก่ยี วกบั ผลการดาเนินงานดา้ นต่าง ๆ ของสานกั งาน รวมทงั้ การเงนิ และบญั ชี ตลอดจนกระบวนการดาเนินงาน แผนการเงนิ และงบประมาณของปีถดั ไปต่อคณะกรรมการ บรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ (3) เสนอความเหน็ ต่อคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตเิ กย่ี วกบั การปรบั ปรงุ กจิ การและ การดาเนินงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพซง่ึ เป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องคณะลกู เสอื แหง่ ชาตแิ ละตามนโยบาย ของสภาลกู เสอื ไทย (4) บรรจุ แต่งตงั้ เล่อื น ลด ตดั เงนิ เดอื นหรอื ค่าจา้ ง และลงโทษทางวนิ ัย พนกั งานและ ลกู จา้ ง ตลอดจนใหพ้ นกั งานและลกู จา้ งออกจากตาแหน่ง ทงั้ น้ี ตามขอ้ บงั คบั คณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสอื แหง่ ชาติ (5) วางระเบยี บเกย่ี วกบั การดาเนินงานของสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ โดยไมข่ ดั หรอื แยง้ กบั กฎหมาย ขอ้ บงั คบั และระเบยี บของทางราชการและคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ มาตรา 24 ในกจิ การทเ่ี ก่ยี วกบั บุคคลภายนอก ใหเ้ ลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ เป็นผแู้ ทนของสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ เพ่อื การน้เี ลขาธกิ ารสานกั งานลกู เสอื แห่งชาตจิ ะมอบอานาจให้ บุคคลใดปฏบิ ตั หิ น้าทเ่ี ฉพาะอยา่ งแทนกไ็ ด้ แต่ตอ้ งเป็นไปตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสอื แห่งชาตกิ าหนด มาตรา 25 กจิ การของสานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตไิ มอ่ ยภู่ ายใตบ้ งั คบั แห่งกฎหมายวา่ ดว้ ยการ คุม้ ครองแรงงาน กฎหมายว่าดว้ ยแรงงานสมั พนั ธ์ กฎหมายว่าดว้ ยประกนั สงั คมและกฎหมายว่าดว้ ย เงนิ ทดแทน มาตรา 26 การบญั ชขี องสานกั งานลกู เสอื แห่งชาติ ใหจ้ ดั ทาตามมาตรฐานการบญั ชตี าม กฎหมายว่าดว้ ยการบญั ชี และตอ้ งจดั ใหม้ กี ารตรวจสอบเกย่ี วกบั การเงนิ การบญั ชแี ละการพสั ดุของ สานกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ ตลอดจนรายงานผลการตรวจสอบใหค้ ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ ทราบอยา่ งน้อยปีละครงั้ ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตกิ าหนด มาตรา 27 ใหส้ านกั งานลกู เสอื แหง่ ชาตจิ ดั ทางบการเงนิ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการบญั ชี สง่ ผสู้ อบบญั ชภี ายในเก้าสบิ วนั นบั แต่วนั สน้ิ ปีงบประมาณเพ่อื ตรวจสอบ ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 47
ใหส้ านกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ หรอื บคุ คลภายนอกตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตแิ ต่งตงั้ ดว้ ยความเหน็ ชอบจากสานกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ เป็นผสู้ อบบญั ชขี องสานกั งาน ลกู เสอื แหง่ ชาติ และใหท้ าการตรวจสอบรบั รองบญั ชแี ละการเงนิ ของสานกั งานลกู เสอื แห่งชาตทิ ุกรอบ ปีงบประมาณ แลว้ ทารายงานผลการสอบบญั ชเี สนอต่อคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตภิ ายใน หน่งึ รอ้ ยแปดสบิ วนั นบั แต่วนั สน้ิ ปีงบประมาณทกุ ปี ส่วนที่ 3 ลกู เสือจงั หวดั มาตรา 28 ในแต่ละจงั หวดั ใหจ้ ดั ระเบยี บการปกครองลกู เสอื ตามเขตจงั หวดั สาหรบั การจดั ระเบยี บการปกครองลกู เสอื ในกรงุ เทพมหานครและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทม่ี กี ฎหมายจดั ตงั้ เป็นรปู แบบพเิ ศษใหเ้ ป็นไปตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง มาตรา 29 ใหม้ คี ณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั ประกอบดว้ ย (1) ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เป็นประธานกรรมการ (2) กรรมการโดยตาแหน่ง ไดแ้ ก่ รองผวู้ ่าราชการจงั หวดั เป็นรองประธานกรรมการ ปลดั จงั หวดั นายกเหล่ากาชาดจงั หวดั ผบู้ งั คบั การตารวจภธู รจงั หวดั นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นายอาเภอ นายกเทศมนตรี นายกสมาคมการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั และผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษา (3) กรรมการประเภทผแู้ ทนจานวนหา้ คน ไดแ้ ก่ ผแู้ ทนสถาบนั อุดมศกึ ษา ผแู้ ทนสถานศกึ ษา อาชวี ศกึ ษา ผแู้ ทนคา่ ยลกู เสอื จงั หวดั ผแู้ ทนสมาคมหรอื สโมสรลกู เสอื และผแู้ ทนจากลกู เสอื ชาวบา้ น ซง่ึ เลอื กกนั เองกล่มุ ละหน่งึ คน (4) กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ จิ านวนไมเ่ กนิ สบิ คน ซง่ึ ประธานกรรมการแต่งตงั้ โดยคาแนะนา ของกรรมการลกู เสอื จงั หวดั ตาม (2) และ (3) ในจานวนน้จี ะตอ้ งแต่งตงั้ จากภาคเอกชนไมน่ ้อยกว่า กง่ึ หน่งึ ใหผ้ อู้ านวยการสา นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาเขต 1 เป็นกรรมการและเลขานุการ ใหผ้ อู้ านวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกโรงเรยี นจงั หวดั เป็นกรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการเลอื กกรรมการตาม (3) ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บงั คบั คณะกรรมการ บรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ มาตรา 30 ใหน้ าบทบญั ญตั มิ าตรา 16 มาใชบ้ งั คบั กบั วาระการดารงตาแหน่งและการพน้ จากตาแหน่งของกรรมการตามมาตรา 29 (3) และ (4) โดยอนุโลม มาตรา 31 คณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั มอี านาจหน้าทภ่ี ายในเขตจงั หวดั ดงั ต่อไปน้ี (1) ควบคุมดแู ลกจิ การลกู เสอื ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั และระเบยี บของทาง ราชการและคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ 48 ค่มู ือการจดั กิจกรรมลูกเสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1
(2) ส่งเสรมิ และสนบั สนุนความมนั่ คงและความเจรญิ ก้าวหน้าของกจิ การลกู เสอื (3) สนบั สนุนและส่งเสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากรทางการลกู เสอื (4) ควบคมุ ดแู ลทรพั ยส์ นิ ในกจิ การของลกู เสอื จงั หวดั (5) พจิ ารณาคาขอการจดั ตงั้ ค่ายลกู เสอื ตามมาตรา 32 (6) พจิ ารณารายงานประจาปีของสานกั งานลกู เสอื จงั หวดั (7) ใหค้ วามเหน็ ชอบแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี (8) ใหค้ าแนะนาผอู้ านวยการลกู เสอื เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาในการปฏบิ ตั งิ านลกู เสอื (9) จดั ใหม้ ที ะเบยี นและสถติ ติ ่าง ๆ เกย่ี วกบั การดาเนินกจิ การลกู เสอื (10) ออกระเบยี บปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั กจิ การลกู เสอื เพอ่ื ความเหมาะสมแก่การปกครองในจงั หวดั ซง่ึ จะตอ้ งไมข่ ดั หรอื แยง้ กบั กฎหมาย ขอ้ บงั คบั และระเบยี บของทางราชการและคณะกรรมการบรหิ าร ลกู เสอื แหง่ ชาติ (11) จดั ทารายงานประจาปีและรายงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กจิ การลกู เสอื ในจงั หวดั เสนอต่อ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ (12) แต่งตงั้ คณะอนุกรรมการเพ่อื ดาเนนิ การอยา่ งหน่งึ อยา่ งใด ตามทค่ี ณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั มอบหมาย (13) ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาตมิ อบหมาย มาตรา 32 การจดั ตงั้ คา่ ยลกู เสอื ในจงั หวดั ใดตอ้ งไดร้ บั อนุญาตเป็นหนงั สอื จากคณะกรรมการ ลกู เสอื จงั หวดั และใหค้ ณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั รายงานต่อคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตทิ ราบ การขออนุญาตและการอนุญาตใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทค่ี ณะกรรมการ บรหิ ารลกู เสอื แห่งชาตกิ าหนด มาตรา 33 ใหม้ สี านกั งานลกู เสอื จงั หวดั อยใู่ นสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาเขต 1 โดยมผี อู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาเขต 1 เป็นหวั หน้าสานกั งานลกู เสอื จงั หวดั บงั คบั บญั ชา และรบั ผดิ ชอบการดาเนินงานของสานกั งานลกู เสอื จงั หวดั และใหผ้ อู้ านวยการศูนยก์ ารศกึ ษา นอกโรงเรยี นจงั หวดั เป็นผชู้ ่วยหวั หน้าสานกั งานลกู เสอื จงั หวดั มาตรา 34 การจดั ตงั้ ค่ายลกู เสอื การขออนุญาต และการอนุญาตสาหรบั ค่ายลกู เสอื ในกรงุ เทพมหานคร ใหน้ าบทบญั ญตั มิ าตรา 32 มาใชบ้ งั คบั โดยอนุโลม ส่วนที่ 4 ลกู เสือเขตพื้นที่การศึกษา มาตรา 35 ใหม้ สี านกั งานลกู เสอื เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา เพ่อื การบรหิ ารงานลกู เสอื ในเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษานนั้ มาตรา 36 ใหม้ คี ณะกรรมการลกู เสอื เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ประกอบดว้ ย (1) ผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา เป็นประธานกรรมการ คมู่ อื การจดั กิจกรรมลกู เสือวิสามญั เสริมสรา้ งทกั ษะชีวิต ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ประกาศนียบตั รวิชาชีพ 1 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272