“การฝึกสตกิ ับการใชช้ วี ติ ประจ�ำ วนั ” ปัญหาและสถานการณ์ความรุนแรงหลายสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคม ปจั จบุ นั ปฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ สว่ นหนง่ึ มาจากการขาดสตขิ องคนเรา ทไี่ มร่ เู้ นอื้ รตู้ วั เผลอและหลงไปกับความคดิ หลงไปกบั ความรู้สึกโกรธ เหงา เบือ่ อยากได้ อยากมี อยากเปน็ จนท�ำ อะไรทไ่ี มถ่ ูกไม่ควรลงไป ดังนั้น จงึ ตอ้ งร้ใู หเ้ ทา่ ทัน ปจั จบุ นั วา่ เราก�ำ ลงั ท�ำ อะไร คดิ อะไรพดู อะไรทต่ี อ้ งไมต่ กอยภู่ ายใตอ้ �ำ นาจของ ความโกรธหรอื ความไมพ่ อใจ ดงั นน้ั ตอ้ งฝกึ สติ ฝกึ ฝนใหร้ กู้ ายรใู้ จอยเู่ สมอๆ เพอื่ ให้จติ มคี วามมัน่ คงต้งั มัน่ ไม่แกวง่ ไปกบั สิ่งทีเ่ ขา้ มากระทบมากเกนิ ไป “การฝึกสติ” เริ่มต้นได้จากครอบครัว เพื่อให้เกิดการคิดดี พูดดี ทำ�ดี เนือ่ งจาก “สต”ิ คือ การร้ตู วั ไม่เผลอ ไม่ประมาท อยกู่ บั ความรูส้ ึก ความ คิด การพูด และการกระทำ�ในปัจจุบนั วธิ ฝี กึ คอื ตอนเรม่ิ ฝกึ ใหม่ ๆ ตอ้ งตงั้ ใจใสใ่ จรอู้ ยทู่ ใี่ ดทห่ี นงึ่ ทนี่ ยิ มกนั คอื ให้รบั รทู้ ีล่ มหายใจ โดยผู้เรมิ่ ฝกึ ควรหลับตา หายใจเขา้ ออกยาว สัก 3 ครัง้ สังเกตสมั ผัสเลก็ ๆ ของลมหายใจ ขา้ งท่รี ู้สึกชดั กวา่ ตรงตำ�แหน่งทชี่ ัดทีส่ ดุ ข้างน้ัน แล้วดูไปให้ต่อเนื่อง ด้วยลมหายใจปกติ ทำ�อย่างน้ีสัก 3 นาที ระหวา่ งนั้นหากมีความคดิ อนื่ เข้ามาแทรกหรอื ใจลอยไปทอ่ี ื่น ก็ใหก้ ลับมาที่ ลมหายใจใหม่ จากน้นั ใหส้ งบรู้ลมหายใจ โดยไม่ตอ้ งหลับตาอกี สกั 1 นาที 80 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นกั สอ่ื สาร
ท�ำ บอ่ ย ๆ กจ็ ะช�ำ นาญ และชนิ กบั การกลบั มารสู้ กึ ตวั ดว้ ยการรบั รลู้ มหายใจ รใู้ นกจิ ท่ีทำ�ได้เร็วขนึ้ โดยไม่ต้องต้งั ใจหรือพยายาม ส่ิงท่ีไดต้ ่อมา คือ จะรู้ทันจิตใจของตวั เอง มีความยบั ยัง้ ช่งั ใจไดด้ ีข้ึน เมือ่ เกดิ ความโกรธ หงดุ หงดิ คบั ขอ้ งใจ เพยี งแตก่ ลบั มารบั รลู้ มหายใจใหม้ ากๆ ก็ จะสามารถระงับได้ จิตใจก็จะผ่อนคลาย ปลอดโปร่งขน้ึ มีเรื่องอะไรกวนใจ กจ็ ะอยูไ่ ด้ไมน่ าน “สติ”เป็นทักษะที่ต้องฝึกให้ชำ�นาญ ไม่ใช่ความรู้ ดังน้ัน ย่ิงฝึกบ่อยๆ สมํ่าเสมอก็จะยงิ่ ช�ำ นาญ เกิดสตเิ ปน็ อัตโนมัติ ทส่ี ำ�คัญ สามารถฝึกได้ทุกท่ี ทกุ เวลา และควรปลกู ฝงั ตงั้ แตใ่ นเดก็ เลก็ ซงึ่ จะสง่ ผลใหเ้ ขาสามารถจดจอ่ กบั การเรยี นรไู้ ดด้ ขี นึ้ ผอ่ นคลายลง สงบ โดยเฉพาะในเวลาทม่ี อี ารมณ์ ตลอดจน จะท�ำ ให้เดก็ รับร้ตู นเอง รบั รูร้ ่างกาย ทจี่ ะตอบสนองต่อเหตกุ ารณ์ มีความ ระมดั ระวงั และมคี วามสามารถในการควบคมุ ตนเองไดด้ ขี นึ้ ตามวยั ซง่ึ เดก็ ๆ สามารถพฒั นาสตขิ องตนเองได้ แตพ่ อ่ แมต่ อ้ งเปน็ ตน้ แบบทด่ี ใี นการมสี ตใิ ห้ ลกู กอ่ น โดยฝกึ สตติ วั เองในกจิ วตั รประจ�ำ วนั ในบา้ น เชน่ กอ่ นจะโตเ้ ถยี งกนั กค็ วรหยุดสกั นิด ถอยออกมากอ่ น เปน็ ต้น “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” 81 ฉบบั นักส่อื สาร
ทั้งนี้ ในสังคมปัจจุบัน เราสามารถใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น Facebook หรอื Line มาใชใ้ นการฝกึ สตไิ ด้ เช่น เวลาทเี่ ราไดร้ ับข้อความ ภาพ หรอื คลิปดีๆ ขณะที่เราอา่ นหรอื ดู กใ็ หร้ ู้สกึ ตวั รับร้ถู งึ ความปรารถนา ดีของคนท่ีส่งมา แต่ไม่ต้องรีบ Like หรือ Share เช่นเดียวกับ เวลาเจอ ข้อความ ภาพ หรอื คลปิ ที่ไม่ชอบ กไ็ มค่ วรรบี ตอบโต้ ใหร้ ับรู้ถึงความโกรธ ไมพ่ อใจ แล้วน่งิ อยู่กบั ลมหายใจสักพัก แลว้ คอ่ ย ๆ ผ่อนคลาย จากนน้ั จงึ ค่อยตัดสินใจว่าจะทำ�อะไรต่อไป สรุปคือ เวลาจะรับจะส่งข้อความ ภาพ หรือ คลิปใดๆ กค็ วรนกึ ถงึ ใจกนั และกัน จะสง่ post สง่ like ส่ง share ก็ ควรใช้สติ ท�ำ ให้ชา้ ลงสักนดิ 82 “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจติ ” ฉบับนกั สอ่ื สาร
“ความเครยี ด” ความเครียดเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราทุกคน หากไม่มีการจัดการ ความเครียดอาจทำ�ให้เกิดโรคร้ายแรงได้ การจัดการกับความเครียดโดยใช้ เทคนิคท่ไี มด่ ี อาจนำ�ไปสู่ปัญหาทางดา้ นร่างกายและความเจบ็ ป่วย ปัญหา สมั พนั ธภาพและความขดั แยง้ ท�ำ งานไมส่ �ำ เรจ็ ทง้ั ทบี่ า้ นและทท่ี �ำ งาน ปญั หา ความจ�ำ เกดิ ความยงุ่ ยากในการแกป้ ัญหา สาเหตุส�ำ คญั ที่ทำ�ใหเ้ กิดความเครยี ดมี 2 ประการ คือ 1. สภาพปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชวี ติ เชน่ ปญั หาเศรษฐกจิ ปญั หาครอบครวั ปัญหาสงั คม ปญั หาการปรบั ตวั ปญั หาการเรียน ปัญหาการทำ�งาน เปน็ ตน้ ปัญหาเหล่านี้ล้วนเปน็ ตวั กระตุ้นอยา่ งดที จ่ี ะทำ�ให้เกิดความเครยี ดได้ 2. การคดิ และการประเมนิ สถานการณข์ องบคุ คล จะสงั เกตไดว้ า่ คนท่ี มองโลกในแง่ดี มอี ารมณ์ขัน ใจเยน็ จะมีความเครียดนอ้ ยกวา่ คนท่มี องโลก ในแงร่ า้ ย เอาจริงเอาจงั ใจรอ้ นและว่วู าม ความเครยี ดซึง่ มีความรนุ แรงมาก ไดแ้ ก่ 1) การเสียชวี ิตของคคู่ รอง 2) การหยา่ ร้าง 3) การแยกทางกนั ในชีวิตสมรส 4) การเสียชวี ิตของญาตสิ นิท 5) การได้รบั บาดเจบ็ หรือเปน็ โรคทร่ี ้ายแรง 84 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” ฉบบั นักสอ่ื สาร
6) ถกู จ�ำ คกุ หรือถูกสง่ เข้าไปอยใู่ นสถานบ�ำ บัด 7) การสมรส 8) ถูกใหอ้ อกจากงาน 9) การเกษยี ณอายุ 10) ญาตมิ สี ขุ ภาพไม่ดีหรือพฤติกรรมผิดปกติอย่างมาก อาการ วิตกกังวล ปวดศีรษะ ปวดท้อง โรคกระเพาะ หายใจถี่ ท้องผูกหรือ ท้องเสยี ออ่ นเพลีย ซมึ เศรา้ ปวดหลงั นํ้าหนกั เพ่ิมข้นึ หรอื ลดลง มปี ัญหา สัมพันธภาพ มีปัญหาการนอนหลบั หรือนอนไม่หลบั ความดนั โลหติ สงู แนวทาง/วธิ ีปฏิบตั ทิ ี่ถูกตอ้ งเหมาะสม • ตระหนกั รู้ถงึ อาการของความเครยี ด เชน่ ตงึ กล้ามเน้อื บรเิ วณไหล่ • เปลี่ยนแปลงตัวเอง โดยสำ�รวจวิถีชีวิตเพ่ือดูว่าจะเปล่ียนแปลง เรอื่ งไหนได้ • รบั ประทานอาหารทม่ี ปี ระโยชน์ ซง่ึ เปน็ สว่ นส�ำ คญั ตอ่ รา่ งกายและจติ ใจ ท�ำ ให้เรามสี ขุ ภาพที่ดแี ละรบั มือกบั ความวติ กกงั วลและความเครียด • ผอ่ นคลาย เรียนรู้วธิ ีการผ่อนคลายท่ีช่ืนชอบ • ออกก�ำ ลงั กาย • พกั ผอ่ นใหเ้ พยี งพอ • เขยี นระบาย • หาหนทางเพอื่ ลมื ความเครยี ดและเตมิ พลังใหก้ บั ตัวเอง • พูดคุยกับเพื่อน ครอบครัว ผู้ให้การปรึกษา จะช่วยให้รู้สึกดีข้ึน และให้มุมมองท่ีแตกต่าง “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 85 ฉบับนักส่อื สาร
• หากจิ กรรมทำ� • เรียนรู้ท่จี ะจัดสมดลุ ให้กับชีวิตในเรอ่ื งการท�ำ งาน การพกั ผอ่ นและ การนอนหลับ • หัวเราะให้กับตนเอง การหัวเราะเป็นการออกกำ�ลังกล้ามเนื้อท้อง และน�ำ ความรสู้ กึ มคี วามสขุ มาให้ การยม้ิ จะชว่ ยลดความตงึ เครยี ดของกลา้ ม เน้อื ใบหนา้ การหวั เราะบ่อยครัง้ สามาถเปล่ยี นชวี ติ ของเราได้ • อย่าพยายามเป็นคนสมบูรณ์แบบในทุกเร่ือง การเป็นคนสมบูรณ์ แบบในทุกเรื่องจะกดดันตัวเอง ปล่อยมันผ่านไป ให้ตัวเองมีอิสระในการ สร้างสรรค์ • อยา่ วิตกกงั วลในเรอ่ื งทค่ี วบคมุ ไม่ได้ • พัฒนาความคดิ และทศั นคตเิ ชิงบวก • ใหร้ างวลั กับตัวเอง เมือ่ สามารถชนะกับความทา้ ทาย • คดิ ว่าการเปลีย่ นแปลงเป็นสง่ิ ทา้ ทายและเปน็ สว่ นหน่ึงของชวี ิต • มองปัญหาว่าเป็นเรื่องช่ัวคราวและแก้ไขได้ • เช่ือว่าเราจะประสบความสำ�เร็จถ้าพยายามทำ�ให้ได้ตามเป้าหมาย ที่วางไว้ • หาหนทางเพอื่ แก้ไขปัญหา • รักษาสัมพนั ธภาพท่ีดกี ับครอบครัวและเพอื่ น 86 “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” ฉบับนกั สื่อสาร
“แนวทางจดั การความเครยี ดในทท่ี �ำ งาน” ความเครียดในการทำ�งาน เป็นตัวการสำ�คัญท่ีมีผลต่อศักยภาพ ในการท�ำ งาน คณุ ภาพชวี ติ และคณุ ภาพการท�ำ งานและอาจสง่ ผลใหเ้ กดิ โรค ทางจิตเวชตามมา จึงจำ�เป็นต้องมีทักษะหรือวิธีการจัดการกับความเครียด ใหก้ บั ตัวเองโดยเร็ว การจัดการปัญหาความเครียดมีหลายรูปแบบข้ึนอยู่กับแนวทางท่ี เหมาะสมทจี่ ะเลอื กน�ำ มาใช้ สง่ิ ส�ำ คญั ทสี่ ดุ คอื การไดม้ โี อกาสบรหิ ารจดั การ ความสมดลุ ในรา่ งกายกับความเครยี ดอย่างเหมาะสม แนวทาง 4ส.1ม. สมดุล คอื การคน้ หาความหมายในตัวเราเองและแยกแยะไดว้ า่ เราคอื ใคร งานทรี่ ับผิดชอบคอื อะไร ซง่ึ การหาสมดลุ ต้องมีการกำ�หนดล�ำ ดับความ สำ�คัญว่าสิ่งไหนสำ�คัญกว่ากันระหวา่ งตวั เราเองกับงาน โดยจะตอ้ งค�ำ นึงว่า เราควรเห็นคุณค่าในการดูแลตนเองมากกว่าการมุ่งเน้นท่ีให้ผู้บังคับบัญชา ช่ืนชมในผลงาน อีกท้ังต้องมีเป้าหมายและสร้างขอบเขตความรับผิดชอบ ของตวั เราเอง มองวา่ ไมว่ า่ สง่ิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั เราในการท�ำ งานจะเปน็ เชน่ ไร เรา สามารถมองเห็นถงึ ความทา้ ทายท่ีเกิดขนึ้ และใช้ความท้าทาย เปน็ โอกาสท่ี จะเตบิ โตเพ่ิมการรบั รใู้ นการท�ำ งานของเรา สมาธิคอื การจดจอ่ มงุ่ เนน้ ในการท�ำ งานตรงหนา้ ไมเ่ สยี สมาธไิ ปกบั เรอ่ื งอน่ื ๆ ในเวลางาน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในโลกยุคดิจิตอลปัจจุบันที่มักจะมีสื่อต่างๆ เข้ามาก่อกวนสมาธิในระหว่างการทำ�งาน ทำ�ให้เรากังวลใจ และส่งผลให้ งานท่ีทำ�ออกมาไม่ดพี อ “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 87 ฉบบั นกั ส่ือสาร
สื่อสาร คือ การสื่อสารกับเพ่ือนร่วมงานด้วยข้อมูลที่มีความถูกต้อง มคี วามจรงิ ใจ ค�ำ นงึ ถงึ บรบิ ทแวดลอ้ ม และประเภทของบคุ คลทม่ี กี ารสอื่ สาร ตลอดจนสอื่ สารดว้ ยค�ำ พดู ทส่ี ภุ าพ ไมก่ า้ วรา้ ว ถา้ รสู้ กึ วา่ ตวั เองเรม่ิ มอี ารมณ์ โกรธ เครยี ด ไม่ควรเผชญิ หนา้ กนั นอกจากนั้น ควรค�ำ นงึ ถึงศกั ยภาพของ แตล่ ะบคุ คลมากกวา่ ขอ้ จ�ำ กดั ของเขา รวมทง้ั รบั ฟงั เสยี งสะทอ้ นทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหไ้ ด้ สตั ย์ซอ่ื คอื การมจี รยิ ธรรม คุณธรรม ซ่อื สตั ยใ์ นการท�ำ งาน ตระหนักรู้ ในบทบาทหน้าท่ีของตนเอง รู้ว่าตนเองมีหน้าท่ีอะไร ทำ�งานอะไร และ พยายามทำ�บทบาทหน้าที่น้ันให้ดี แม้ว่าจะเผชิญภาวะวิกฤติในการทำ�งาน อย่กู ต็ าม เมตตา คือ ตระหนักและเห็นอกเห็นใจต่อความเป็นมนุษย์ทั้งของ ตวั เราเองและผอู้ น่ื เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรกั ความเมตตา เพราะปจั จบุ นั การแขง่ ขนั ในการทำ�งานมีสูงข้ึน งานมีความท้าทาย ถูกกดดัน มีความขัดแย้ง และ มคี วามเครยี ด การค�ำ นงึ ถงึ ความแตกตา่ งและความเทา่ เทยี ม จงึ ส�ำ คญั อยา่ งมาก ซ่ึงความมีเมตตากรุณาสามารถหยิบย่ืนไปยังคนอ่ืนๆ ได้ โดยที่เรา ไมจ่ ำ�เป็นตอ้ งยึดตดิ กับค�ำ วจิ ารณข์ องคนอ่ืนๆ 10 เทคนคิ ลดเครียด 1. หมัน่ ออกกำ�ลังกายและนอนหลบั พกั ผ่อนให้เพียงพอ 2. รู้จักพักผ่อนหย่อนใจ พักสมอง พักสายตา ทำ�กิจกรรมหรืองาน อดิเรกท่ีชอบ 3. ใชค้ �ำ พดู ทชี่ วนฟงั ทกั ทาย สวสั ดี ขอบคณุ ขอโทษ ชน่ื ชม ใหก้ �ำ ลงั ใจ ใหอ้ ภยั ไมพ่ ดู ส่อเสยี ดซ้ําเติม 4. จัดการอารมณ์ ตั้งสติ ไตร่ตรอง คิดถึงผลดี ผลเสียท่ีจะตามมา จากการกระท�ำ 88 “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นักสือ่ สาร
5. สร้างสัมพันธ์ท่ีดีกับเพื่อนร่วมงาน ยิ้มแย้มแจ่มใส เอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่ ช่วยเหลอื ซ่ึงกนั และกนั เอาใจเขามาใส่ใจเรา 6. บรหิ ารเวลา เรียงลำ�ดับความส�ำ คญั หรอื ความเรง่ ดว่ นของงาน 7. กล้าแสดงความคิดเห็นในทางสร้างสรรค์ เปิดใจรับฟังและชี้แจง ด้วยเหตผุ ล 8. สร้างพลังสุขภาพจิตหรือความเข้มแข็งทางใจให้ตนเอง ให้กำ�ลังใจ และช่ืนชมตนเองเมื่อทำ�อะไรสำ�เร็จ บอกกับตนเอง “ฉันมีความ สามารถท�ำ ได”้ อยา่ กังวลกับส่งิ ทีย่ งั มาไมถ่ ึง 9. เก็บออม โดยฝึกให้เป็นนิสัยด้วยการแบ่งรายได้ส่วนหน่ึงเพื่อ การออมก่อนการใชจ้ า่ ย 10. แก้ปัญหาอย่างถูกวิธี หาสาเหตุที่ทำ�ให้เกิดปัญหาและแก้ท่ีต้นเหตุ ท่ีสำ�คัญ ไม่แก้ปัญหาด้วยอารมณ์ ตลอดจน ไม่ใช้สุรา ยาเสพติด เปน็ ทางออกในการแกป้ ญั หา หากไมส่ ามารถแกป้ ญั หาไดด้ ว้ ยตนเอง อยา่ อายทจ่ี ะปรกึ ษาคนใกลช้ ดิ หรอื คนทไี่ วว้ างใจ หรอื ขอรบั บรกิ าร ปรึกษาสายด่วนสขุ ภาพจติ 1323 ฟรี ตลอด 24 ช่ัวโมง “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 89 ฉบับนกั ส่ือสาร
“วธิ คี ลายเครยี ดขณะขบั รถ” ปัญหาความเครียดท่ีสำ�คัญปัญหาหน่ึงของคนในเมืองใหญ่หนีไม่พ้น ปญั หารถตดิ หลายคนอาจมอี าการปวดศรี ษะ ไมเกรน บางคนทอ้ งผกู บางคน ทอ้ งเสยี บางคนปวดหลงั ปวดไหล่ปวดตน้ คอซง่ึ เมอื่ รา่ งกายเจบ็ ปว่ ยแลว้ จติ ใจ ก็จะพลอยเจ็บป่วยไปด้วย บางคนกลายเป็นคนหงดุ หงดิ โมโหงา่ ย ก้าวรา้ ว บางคนอาจทอ้ แท้ ซมึ เศรา้ หมดอาลยั ตายอยาก เบอ่ื งาน เบอ่ื ชวี ติ และท�ำ ให้ มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปในทางลบด้วย เช่น บางคนเก็บตัว ไม่คบเพื่อนฝูง บางคนพดู มาก จจู้ ้ขี ้บี ่น ชอบชวนทะเลาะ ทำ�ร้ายกนั ฆ่ากนั ได้ดว้ ยสาเหตุ เพยี งเลก็ นอ้ ย หลายคนสบู บหุ รี่ ดมื่ สรุ า ดม่ื เครอ่ื งดม่ื บ�ำ รงุ ก�ำ ลงั เพม่ิ ขนึ้ กวา่ เดมิ และอาจมีการใชส้ ารเสพตดิ อืน่ ๆ หากปล่อยให้อาการเหล่านี้คงอยู่เป็นเวลานาน อาจทำ�ให้เจ็บป่วยด้วย โรครา้ ยแรงได้ เช่น โรคหวั ใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน แผลในกระเพาะ อาหาร รดิ สดี วงทวาร เป็นต้น รบกวนการด�ำ เนนิ ชีวิตยงิ่ ขึ้นกวา่ เดิม วิธีการคลายเครียดในขณะขับรถท่ีได้ผล เพ่ือช่วยลดความเครียด และอาการตา่ งๆ ทเ่ี กดิ จากความเครียดหลายวิธี ไดแ้ ก่ • การฟังเพลง หรอื การฟังรายการวทิ ยทุ ่ีชอบ การไดฟ้ งั รายงานการ จราจร ฟงั นกั จดั รายการทชี่ ่ืนชอบ เพอ่ื ความเพลิดเพลนิ ในขณะขับรถ • การฝกึ ทา่ กายบรหิ าร เพอื่ คลายกลา้ มเนอื้ ทหี่ ดเกรง็ ตวั ในขณะขบั รถ เช่น การกำ�มือและแบมือสลับกัน การก้มเงยศีรษะ หันหน้าไปทางซ้าย และทางขวา การขยบั ไหลข่ ึ้นลง นวดขมบั นวดหวั คิ้วและสันจมูก นวดบ่า ทั้งสองขา้ ง เป็นต้น “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” 91 ฉบับนักสื่อสาร
“อปุ ทานหม”ู่ อาการกรีดร้องราวกับคนไร้สติ มือเท้าเกร็ง ตะโกนเอะอะโวยวาย สลบั กบั เสยี งหวดี รอ้ ง ถอ้ ยค�ำ มากมายพรงั่ พรเู พอ้ เจอ้ ไมส่ ามารถจบั ใจความได้ แสดงกริยาก้าวร้าว ช้ีหน้าด่าทอ บุคคลใกล้เคียง จากน้ันคนอื่นๆ ที่อยู่ ในเหตุการณ์ก็เกิดอาการลักษณะคล้ายๆ กัน ทีละคนนั้น อาการเหล่าน้ี คอื การเจบ็ ป่วยทางจิตรูปแบบหนึ่งสามารถเกิดขน้ึ ได้ 2 รูปแบบ แบบแรก คือ โรคจิตอุปทาน (Dissociative Disorder) ซ่ึงมีลักษณะ สำ�คัญ คือ ผู้ป่วยมีการสูญเสียความเป็นตัวของตัวเองเพียงบางส่วนหรือ ทง้ั หมด ในเรอ่ื งของความจำ� การรบั รู้อตั ลักษณ์ และประสาทสมั ผสั ท�ำ ให้ ไมส่ ามารถควบคมุ การเคลอ่ื นไหว ความคดิ และพฤตกิ รรม อาจแสดงอาการ ทงั้ ทางรา่ งกายและจติ ใจ เชน่ ชกั เกรง็ กลา้ มเนอื้ หายใจถี่ แนน่ หนา้ อก เปน็ ลม หมดก�ำ ลงั เปน็ ต้น แบบที่สอง คอื อปุ ทานหมู่/อุปทานกล่มุ (Mass Hysteria) อาการทพี่ บ เชน่ หวดี รอ้ ง ตกใจกลวั หวาดผวา พดู เพอ้ ถา้ เชอื่ เรอ่ื งไสยศาสตรก์ อ็ าจบอก ไดว้ า่ เปน็ ทา่ ทางหรอื อาการคลา้ ยคนถกู ผเี ขา้ หรอื รา่ งทรง บางรายเหน็ ภาพ หลอน แสดงกริ ยิ ากา้ วรา้ วออกมา พฤตกิ รรมเหลา่ นเ้ี กดิ ขนึ้ พรอ้ มๆ กนั หรอื ในเวลาใกล้เคียงกัน หากเกิดข้ึนกับคนตั้งแต่สองคนขึ้นไปจนถึงกลุ่มใหญ่ๆ เมอ่ื ใดทค่ี นหนง่ึ เกดิ อาการขน้ึ กเ็ สมอื นหนงึ่ วา่ เปน็ ตวั กระตนุ้ “อารมณร์ ว่ ม” 92 “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นกั ส่อื สาร
ของคนขา้ งเคยี งในกลมุ่ ใหแ้ สดงออกตามๆ กนั ไป เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าลกู โซ่ คลา้ ยๆ “ตดิ เชอื้ ” หรอื “ระบาด” ซงึ่ อาการเหลา่ นอี้ าจเกดิ ขน้ึ เองหรอื คลา้ ยจงใจจะ ให้เกดิ ข้นึ กไ็ ด้ โรคจติ อปุ ทาน(Dissociative Disorder) และอปุ ทานหมู่ (Mass Hysteria) เปน็ ปรากฏการณท์ เ่ี กดิ ขนึ้ เกยี่ วกบั จติ สงั คมซงึ่ เกดิ ขนึ้ กบั บคุ คล ตงั้ แต่ 1 คน ขน้ึ ไป เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วจะเกดิ ขนึ้ ในกรณที คี่ นหรอื กลมุ่ บคุ คลนนั้ มคี วามคดิ ความเชื่อว่า ตนเจ็บป่วยเป็นโรคเดียวกันหรือเผชิญสถานการณ์/ปัญหา เดยี วกัน จึงแสดงอาการออกมาแบบเดียวกนั มกั มีลกั ษณะเดน่ ตรงทไ่ี ม่อาจ หาสาเหตแุ น่ชดั ได้ อาการที่เกดิ ก็มักมีความคลุมเครอื และมกั เกีย่ วข้องกบั ความเช่ือหรือพิธีกรรมเกี่ยวกับเรื่องเหนือธรรมชาติ ซ่ึงมีปัจจัยหลายอย่าง ประกอบกนั ได้แก่ 1. มีปัจจัยเหน่ียวนำ� เช่น ความเชื่อในท้องถิ่น เร่ืองภูตผี ส่ิงเหนือ ธรรมชาติ 2. มกี ารสอ่ื สารขอ้ มลู ออกไป ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเชอ่ื เดยี วกนั แพรก่ ระจาย อย่างรวดเร็ว 3. มปี จั จยั ความเครียดในเร่อื งสงั คมและเศรษฐกิจ ก่อให้เกดิ การขาด ความเช่ือถือในตนเอง ซ่ึงเป็นสิ่งกระตุ้นให้กลุ่มบุคคลเกิดการรับและการ แปลขอ้ มลู ทผี่ ดิ 4. มีประเพณี วฒั นธรรมท้องถ่นิ ที่แตล่ ะภูมิภาคนบั ถอื 5. มกี ารระบาดของอาการอยา่ งผดิ ปกติ จนตอ้ งมหี นว่ ยงานเขา้ ไปดแู ล “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 93 ฉบับนกั ส่ือสาร
วธิ ีการรักษา โรคจติ อปุ ทาน (Dissociative disorder) การพยายามหาขอ้ ขดั แยง้ ทางจติ ใจ หรอื ความเครยี ดทางจติ สงั คม ใหก้ บั ผู้ป่วยได้รู้จักตนเอง เข้าใจและแก้ไขข้อขัดแย้งต่างๆ ซ่ึงอาจใช้วิธีต่างๆ เช่น การทำ�จิตบำ�บัด (Psychotherapy) วิธีการสะกดจิต (Hypnosis) การรักษาแบบพ้ืนบ้าน (Indigenous therapy) อปุ ทานหมู่ (Mass hysteria) ในระดับบุคคล เม่ือเกิดอาการขึ้นไม่นานก็จะหายไปเองเมื่อผู้ป่วยรู้สึก ผอ่ นคลาย วธิ เี บอื้ งตน้ คอื แยกผปู้ ว่ ยคนแรกทเี่ กดิ อาการ หรอื “คนเหนยี่ วน�ำ ” ออกจากกลมุ่ เพอื่ ท�ำ การรกั ษาดว้ ยการตรวจวเิ คราะหร์ า่ งกาย ท�ำ ใหร้ า่ งกาย ผอ่ นคลาย ไดพ้ กั ผอ่ น สกั พกั อาการจะดขี นึ้ จนเปน็ ปกตไิ ด้ แตห่ ากกลบั เขา้ ไป ในกลมุ่ กอ็ าจเกดิ อาการซา้ํ ไดอ้ กี หากความเชอื่ ยงั คงมอี ยู่ จากนนั้ ใหป้ ระเมนิ สภาพจติ ใจรว่ มกบั สงิ่ แวดลอ้ ม หรอื พดู คยุ ใหค้ ลายความกงั วลใจ ท�ำ จติ บ�ำ บดั รายบุคคล เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดเป็นซํ้า โดยอาจให้หยุดเรียนหรือทำ�งาน สกั พกั โดยเฉพาะรายทเี่ ปน็ ผเู้ หนยี่ วน�ำ ผอู้ นื่ ใหเ้ กดิ อาการควรไดร้ บั การตรวจ วินิจฉัยและใหก้ ารรกั ษา ในระดับกลุ่ม เช่น เพื่อนนักเรียนในโรงเรียน หรือเพ่ือนบ้าน เพื่อนที่ ทำ�งาน อาจมีอาการตามกันมาได้ และมักมีความเช่ือไสยศาสตร์มาอธิบาย ปรากฏการณเ์ หลา่ น้ี ยง่ิ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความวติ กกงั วล และการแพรก่ ระจายของ อาการไปยงั คนอ่นื ๆไดง้ า่ ย ควรจัดการเรื่องความเชื่อเหลา่ นโ้ี ดยเร็ว อาจให้ ผ้นู �ำ ทางจติ วิญญาณ หรือผู้เป็นท่เี คารพในชมุ ชนเปน็ หลักในการแกไ้ ขความ เชอื่ นนั้ ๆ โดยอาจอนญุ าตใหม้ กี ารกระท�ำ พธิ กี รรมเพอื่ ลบลา้ งความผดิ ความ เช่อื ทำ�ใหส้ ภาวะทางจิตใจส่วนรวมกลบั มาโดยเร็วที่สดุ การทำ�กลุ่มจิตบำ�บัด(Group Psychotherapy) ให้กับกลุ่มผู้มีอาการ ดังกล่าว หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์น้ีจะช่วยให้เห็นถึงปัญหาท่ีแท้จริง และทำ�การแกไ้ ขปญั หาทางจติ ใจ ไดต้ รงจดุ 94 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นักสือ่ สาร
“การดูดวง” การดูดวงในสังคมไทยได้กลายเป็นส่วนหน่ึงในการดำ�เนินชีวิตของ คนหลายกลมุ่ ไมว่ า่ จะเปน็ พอ่ คา้ นกั ธรุ กจิ แมบ่ า้ น นกั การเมอื ง ดารานกั แสดง นกั รอ้ ง ซงึ่ เรอื่ งทจ่ี ะไปดดู วงนนั้ กม็ ตี ง้ั แตเ่ รอื่ งในบา้ น การตดั สนิ ใจในเรอื่ งตา่ งๆ บางคนจะคลอดลูกยังต้องไปหาฤกษ์งามยามดีด้วยซ้ําไป จะเห็นได้ว่า ดูดวงมีผลกระทบและมีบทบาทกับทุกเร่ืองราวในชีวิตต้ังแต่เกิดจนตาย เนื่องจาก คนส่วนใหญ่เมื่อเกิดความไม่มั่นใจในตนเอง ต้องมีการตัดสินใจ ต้องการหาที่ปรึกษาหรือหาคนท่ีจะให้กำ�ลังใจ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้มีความเข้มแข็งทางใจมากยิ่งข้ึน ผิดกับวัฒนธรรมตะวันตก ท่ีหันหน้าเข้าหาจิตแพทย์ นักจิตวิทยา เพ่ือช่วยบำ�บัดความเครียดต่างๆ แต่ในประเทศไทยกลับพบว่า การไปพบบุคลากรทางการแพทย์เหล่าน้ี จะถูกมองว่าเป็นคนเสียสติหรือบ้าน่ันเอง ด้วยเหตุน้ีธุรกิจการดูดวง ในประเทศไทยจึงเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและมีเงินสะพัดปีๆ หน่ึง หลายร้อยหลายพนั ล้านบาท ศาสตร์ท่ีเก่ียวกับการดูดวง การทำ�นายทายทักนั้นมีอยู่ด้วยกัน หลายแขนง เช่น โหราศาสตร์ การดูไพแ่ บบต่างๆ การดูลายมอื และการดู โหงวเฮ้ง เปน็ ต้น ยง่ิ นับวันมคี วามแปลกและสรา้ งจุดขายใหก้ บั ตนเอง เชน่ การดลู ายเทา้ การดูกระดองเต่า เป็นต้น “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจติ ” 95 ฉบบั นกั สื่อสาร
คนไทยกับการดูดวงจึงเป็นของคู่กันมาทุกยุคทุกสมัย ยิ่งสมัยนี้ มีอินเทอร์เน็ต เราสามารถเข้าไปเช็คดวงได้ฟรีตลอดเวลา แต่การไปดูหมอ ดูดวงแบบเสียค่าใช้จ่ายก็ยังคงนิยมไม่เปล่ียนแปลง เช่น การดูไพ่ยิปซี ดูลายมือ และคำ�นวณวันเกิด หรือแม้แต่ร่างทรง แม้จะมีค่าบริการที่ สงู ขนึ้ เรอื่ ย ๆ ลกู ค้ากไ็ ปอุดหนุนกนั อยา่ งตอ่ เนื่อง เหตผุ ลหลักๆ ท่คี นไทย ยดึ ตดิ กับการดดู วงมีสาเหตตุ า่ งๆดงั น้ี • คนกลัวกับส่งิ ทีย่ ังมาไมถ่ ึง จึงมองหาอะไรท่ีมาเสรมิ ความม่นั ใจ ใน การตดั สินใจท�ำ อะไรสกั อย่าง • ก�ำ ลงั อยใู่ นหว้ งความทกุ ข์ หาทางออกไมไ่ ด้ อยากหาวธิ แี กไ้ ขใหช้ วี ติ ดขี นึ้ • อยากประสบความสำ�เร็จในการงาน หรืออยากมีโชคลาภ ถามหา เทคนิค วิธีแกเ้ คล็ดต่าง ๆ • กำ�ลงั มคี วามรัก แตไ่ ม่แนใ่ จ วา่ เขาเปน็ เน้อื คเู่ ราจรงิ หรอื ไม่ เพราะ คนสมยั น้ีรูห้ น้าไมร่ ูใ้ จ • เพอื่ ตดิ ตอ่ หรอื ถามเรอื่ งราวทล่ี ล้ี บั คนทตี่ ายไปแลว้ หรอื เทพ เทวดา ทมี่ องไม่เหน็ ทั้งน้ี สาเหตุที่แท้จริงก็มาจากความเครียดในเรื่องต่างๆ ของชีวิต เช่น การงาน การเงิน และความรัก ยิ่งคนเครียดมากก็ย่ิงไปดูดวงกันมาก และพึ่งพาการดูหมอเป็นกำ�ลังใจ ซ่ึงจะห้ามคนไม่ให้ไปดูดวงก็คงจะไม่ได้ แตใ่ นทางจติ วทิ ยาแลว้ การจดั การความเครยี ดทเี่ หมาะสมสามารถท�ำ ไดด้ งั นี้ 96 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” ฉบับนกั สื่อสาร
1. ตระหนักรู้ หรือจับความรู้สึกเครียด วิตกกังวลที่เกิดขึ้นให้ได้ก่อน โดยการสงั เกตความเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ขึน้ กบั รา่ งกาย จติ ใจ ความคดิ และ พฤตกิ รรม เชน่ บางคนเครยี ดแล้วมกั กัดเล็บ ปวดศีรษะ หงุดหงดิ ความคดิ บดิ เบอื นจากความเปน็ จรงิ หรอื มพี ฤตกิ รรมซาํ้ ๆ ยาํ้ คดิ ยา้ํ ท�ำ เปน็ ตน้ ซง่ึ เรา สามารถสงั เกตได้ด้วยตนเอง หรือ จากการบอกกลา่ วของคนรอบข้าง หรอื เขา้ ไปประเมินไดท้ ่ี Mobile Application ชื่อ Smile Hub 2. หลีกเลี่ยง ตัวกระตุ้นท่ีทำ�เครียด แต่ต้องเป็นการหลีกเล่ียงที่ไม่นำ� ตนเองไปสทู่ างตนั เปน็ ตน้ วา่ การเรยี นหรอื การท�ำ งานท�ำ ใหเ้ ครยี ด จงึ ตดั สนิ ใจ ไม่เข้าเรียนหรือไม่ไปทำ�งาน เช่นน้ีแทนท่ีจะเป็นการไขปัญหาระยะยาว แตก่ ลบั จะสรา้ งปญั หาใหม่ๆ ตามมาอีกได้ การหลีกเลีย่ งทีถ่ กู ต้อง คือ การ ไม่เผชิญกับตัวกระตุ้นท่ีก่อให้เกิดความเครียดหรือความวิตกกังวล เช่น เม่ือต้องเผชิญสถานการณ์ท่ีชวนให้เครียด หากเล่ียงได้ก็ควรรีบออกจาก สถานการณ์นน้ั โดยเรว็ ทัง้ นี้ ตอ้ งต้งั อยู่บนพ้ืนฐานการคิดและการตดั สนิ ใจ ทไ่ี มก่ ่อใหเ้ กิดปัญหาใหมต่ ามมา 3. จัดการความเครยี ดที่ไดผ้ ล เชน่ การหันมาทำ�กิจกรรมท่สี นุกสนาน หรอื ทชี่ ่นื ชอบ การออกก�ำ ลงั กาย การเลน่ กฬี า การเทยี่ วพกั ผอ่ น รวมไปถงึ เทคนคิ ตา่ งๆ เชน่ การฝึกสติ ฝึกหายใจ การทำ�งานศลิ ปะ เปน็ ต้น 4. การปรบั เปลีย่ นความคิด พยายามมองหาแงด่ ี หรือ ประโยชนจ์ าก สถานการณ์ที่ทำ�ให้เกิดความเครียด แทนท่ีจะหมกมุ่นครุ่นคิดแต่ปัญหา ที่เกิดขึ้นซ่ึงยังไม่สามารถหาทางออกได้ ก็ปรับเปล่ียนมาเป็นการเริ่มมอง หาบทเรียนหรือส่ิงที่เราได้เรียนรู้จากสถานการณ์เลวร้ายนั้นๆ การมองหา แง่มุมอื่นๆท่ีแตกต่างออกไป อาจมาจากการอ่านหนังสือ หรือการพูดคุย กับคนหลากหลายจะช่วยให้เกิดมุมมองใหม่ๆต่อปัญหาและสามารถเห็น แนวทางแก้ปญั หาที่เราคิดไม่ถึงกเ็ ปน็ ได้ “Top Hits ความร้สู ุขภาพจิต” 97 ฉบับนักสอื่ สาร
การดูดวงเพ่ือให้เกิดความสบายคลายเครียดน้ัน มองในแง่หน่ึงก็เป็น วิธีการระบายความเครียดได้ดี ท้ังน้ี ต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความพอดี คือ ไม่หลงเช่อื งมงายจนขาดสติ เพราะอาจเป็นช่องทางให้พวกมจิ ฉาชพี มา หลอกลวงได้ ในอีกแง่หน่ึงการดูดวงเป็นเพียงเคร่ืองมือในการบรรเทาภาวะยุ่งเหยิง และสับสนทางความคิด ซึ่งหากพิจารณาให้ถ่องแท้แล้วปัญหาก็ยังอยู่และ ยังไม่ได้รับการแก้ไขแต่อย่างใด หากเราจะมัวแต่โทษโชคชะตา หรือรอฟ้า รอดิน ปัญหาแทนท่ีจะได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงทีก็อาจสายเกินไปได้ ทางทด่ี เี ราควรตง้ั สติ มองโลกตามความเปน็ จรงิ และมกี �ำ ลงั ใจเสมอ ปญั หาใด ไม่วา่ ใหญ่แค่ไหน ย่อมแกไ้ ขได้ไมย่ าก 98 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบบั นักสือ่ สาร
“สรุ ากบั ปญั หาสุขภาพจติ ” จากการสำ�รวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี 2556 พบ คนไทยมีปัญหาจากการใชส้ รุ า ถึงรอ้ ยละ 18 หรือประมาณ 9.3 ลา้ น คน ผลกระทบจากการดม่ื สรุ า มที งั้ ท�ำ ใหส้ มองเสอื่ ม ความดนั โลหติ สงู เลอื ด ออกในสมอง เกิดความวิตกกังวลสงู ซมึ เศร้า ฆา่ ตวั ตาย มีปัญหาการทำ�งาน การทะเลาะวิวาท และเกดิ คดคี วาม เปน็ ต้น ผปู้ ว่ ยติดสุราจะมอี าการอย่างนอ้ ย 3 อาการ ตามเกณฑ์ ดงั น้ี 1) ดืม่ มากกวา่ ท่ีตงั้ ใจไว้ 2) ไมส่ ามารถหยดุ หรือเลกิ การด่ืมสรุ าบอ่ ยคร้ัง 3) มอี าการทนตอ่ สรุ ามากขนึ้ เชน่ ตอ้ งดม่ื มากกวา่ เดมิ อยา่ งมากจงึ จะ รสู้ ึกเช่นเดิม 4) มีอาการถอนเหล้า เช่น มือสั่น เหง่ือแตก คลื่นไส้ นอนไม่หลับ เวลาท่ีลดการดม่ื ลง 5) ยงั คงใช้สุรา แมร้ ู้วา่ จะทำ�ใหเ้ กิดปัญหาทางกายหรือทางจิตใจ 6) เวลาในแต่ละวันหมดไปกับการดื่ม การซื้อ การคิดถึงการดื่มสุรา การเมา หรือการฟืน้ จากฤทธิส์ ุรา 7) ใช้เวลาลดลงกับการทำ�กิจกรรมท่ีสำ�คัญเพราะมัวแต่ใช้เวลาไปกับ การดืม่ เหลา้ ส�ำ หรบั การบ�ำ บดั รกั ษา จะประกอบดว้ ย การคดั กรองและบ�ำ บดั ระยะสนั้ ด้วยการให้คำ�แนะนำ�/ปรกึ ษาเบือ้ งต้น การบ�ำ บัดอาการถอนพษิ การฟ้ืนฟู สภาพด้วยยาและจิตสังคมบำ�บัด และการติดตามหลังการรักษาเม่ือกลับสู่ ชมุ ชน “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” 99 ฉบบั นักสอ่ื สาร
5 เทคนิค สรา้ งพลงั ใจ เพ่ือเลิกสุรา ได้แก่ 1. มีความรู้สึกดีและภาคภูมใิ จในตนเอง ใครค่ รวญถงึ การได้ทำ�หนา้ ที่ และการงานต่าง ๆ ที่ผ่านมา ตลอดจนการประสบความสำ�เร็จในชีวิต ด้านตา่ ง ๆ ซึ่งเป็นท่ยี อมรับนับถือท้งั ในระดบั บุคคลและสังคม คน้ หาขอ้ ดี ของตวั เอง ไดท้ ำ�งาน หรอื ร่วมกิจกรรมทางสงั คมต่างๆ 2. มีใครสักคน หรือสักกลุ่มท่ีเช่ือมั่นได้ว่า รักและจริงใจต่อกันจริงๆ ซง่ึ อาจเปน็ คนในครอบครัวสายเครือญาติ เพ่อื น เพอ่ื นบา้ น ผูร้ ่วมงาน ซึง่ จะเป็น “แรงบนั ดาลใจ” ช่วยใหเ้ ลิกด่ืมสรุ าได้ 3. มีการตั้งเป้าหมายในชีวิตท้ังเฉพาะกิจ ระยะส้ัน ระยะกลาง และ ระยะยาววา่ จะท�ำ อะไร เพ่ือใครและทำ�อย่างไร เช่น เพือ่ พ่อแม่ เพ่ือลกู เพ่อื คู่รัก เพื่อพระเจ้า เพ่ือพระพุทธเจ้า เพื่อสร้างตำ�นานให้ตนเอง เพ่ือการมี สขุ ภาพทดี่ ขี ึน้ เพอ่ื เปน็ ของขวญั ให้ใครบางคน เพอื่ ความสขุ ของครอบครัว และตวั เอง เพื่อใหเ้ จา้ นายและผรู้ ่วมงานมองตนเองในดา้ นดี เพ่ือถวายเป็น พุทธบูชา เป็นต้น โดยกำ�หนดเวลาให้ชัดเจน ตลอดจนเข้มงวดและมีวินัย ตอ่ การปฏิบตั ิตนในกระบวนการรักษา 4. พบความสำ�เร็จในเป้าหมายท่ีตั้งไว้เป็นระยะๆ เช่น เลิกดื่มสุราได้ นานขนึ้ เรอ่ื ยๆ ท�ำ งานไดด้ ขี น้ึ เรอ่ื ย ๆ และมคี วามพยายามขน้ึ เรอื่ ยๆ เปน็ ตน้ ซงึ่ จะช่วยสง่ เสริมใหม้ ีความภูมใิ จและรูส้ ึกดตี อ่ ตนเองขึน้ เร่อื ยๆ 5. มสี ายสมั พนั ธท์ เี่ กอื้ หนนุ ชว่ ยใหส้ ามารถเลกิ ดมื่ สรุ าได้ ทง้ั ญาติ บคุ คล ใกล้ชิด เพ่ือน เพ่ือนบ้าน เพ่ือนร่วมงาน หัวหน้างาน ผู้นำ�ชุมชน ชมรม สมาคม สโมสร มลู นธิ ิ และสถาบนั ทง้ั ทางวชิ าชพี และวชิ าการทงั้ ภาครฐั และ เอกชน เป็นต้น 100 “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั สอื่ สาร
“ปญั หาสุขภาพจิตจากสภาพอากาศ” อากาศร้อน นอกจากจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย เส่ียงต่อการเกิด โรคลมแดด หรือ ฮีตสโตรก (Heat stroke) ท่ีต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ ในกลุม่ เด็กเล็ก ผ้สู ูงอายุ คนด่ืมเหล้าจัด คนอว้ น ผทู้ ่ีต้องทำ�กิจกรรมกลาง แจ้งเป็นเวลานานและผู้ท่ีมีโรคประจำ�ตัวแล้ว อากาศร้อนยังส่งผลกระทบ ต่อสภาพจิตใจอีกด้วย ท่ีเห็นได้ชัด คือ จะทำ�ให้หงุดหงิดง่ายขึ้น ส่งผลให้ มีความทนทานต่อความเครียดน้อยลง เมื่อมีอะไรมากระตุ้นกับจิตใจก็จะ ท�ำ ใหเ้ ครยี ดง่ายกวา่ ปกติ และอาจเกดิ การตัดสนิ ใจทไี่ ม่ได้ย้ังคดิ ตา่ งๆ ตาม มา เกิดการกระทบกระท่ัง ทะเลาะเบาะแว้ง และเกิดความรุนแรงขึ้นได้ ผู้ทีม่ ปี ระวัตกิ ารใชค้ วามรุนแรง จงึ ต้องให้ความระวังเป็นพิเศษ อากาศร้อนไม่มีผลต่อจำ�นวนการเจ็บป่วยทางจิตท่ีมากข้ึน เป็นเพียง ตวั กระตนุ้ หรอื เพม่ิ ความเครยี ดเดมิ ทม่ี อี ยแู่ ลว้ ใหม้ ากขน้ึ มากกวา่ หากไมม่ วี ธิ ี การจัดการกับความเครียดที่ดี เมื่อมาอยู่ในสิ่งแวดล้อมท่ีมีอากาศร้อนย่อม จะเพิม่ ความเครยี ดใหส้ ูงข้ึนได้ สำ�หรับผู้ป่วยจิตเวช การได้รับยาเป็นประจำ� เป็นสิ่งสำ�คัญท่ีสุดที่จะ ช่วยให้ไม่เกิดอาการกำ�เริบมากกว่าการมีสาเหตุมาจากสภาพอากาศท่ีร้อน เพียงเทา่ นนั้ คนในครอบครัวจึงต้องสอดส่องดูแล อยา่ ให้ขาดยา ตลอดจน ให้ผู้ป่วยจิตเวชทำ�กิจกรรมร่วมกับสมาชิกในครอบครัว เพ่ือไม่ให้รู้สึก โดดเดยี่ ว เกิดความเพลิดเพลนิ ท่ีสำ�คญั ตอ้ งไมใ่ หด้ ม่ื เคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ ทุกชนิด เนื่องจากจะมีฤทธิ์โดยตรงกับสมอง และมีผลต้านฤทธิ์ยาที่แพทย์ รกั ษา ทำ�ใหผ้ ูป้ ่วยเกิดอาการกำ�เรบิ ได้ 102 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบบั นักสอื่ สาร
นอกจากน้ี คนในครอบครวั ญาตหิ รอื ผู้ดูแลก็จำ�เป็นอยา่ งยิ่งที่ตอ้ งรูจ้ กั จัดการความเครียดของตนเองให้ดี เนื่องจากมีความเครียดมากกว่าผู้ป่วย อย่แู ล้ว ทั้งตอ้ งท�ำ งาน ต้องดแู ลผู้ป่วย มปี ัญหาชวี ติ ปัญหาครอบครวั และ อื่นๆ อกี มากมาย ถา้ จัดการความเครยี ดไมด่ ี ก็อาจไปลงท่ผี ู้ปว่ ย ซงึ่ ผ้ปู ว่ ย จะมคี วามสามารถในการจดั การความเครยี ดไดน้ อ้ ยกวา่ คนทวั่ ไปอยแู่ ลว้ จงึ มโี อกาสทจี่ ะเกดิ อาการก�ำ เรบิ ขน้ึ ได้ ดงั นนั้ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งดแู ลทงั้ เรอ่ื งยาของ ผู้ป่วยและก็ตอ้ งดแู ลจติ ใจตัวเองใหด้ คี วบคกู่ นั ไปด้วย ท้ังนี้ ให้สังเกตสัญญาณเตือนอาการทางจิตกำ�เริบ คือ นอนไม่หลับ หงุดหงิด มีความคิดแปลกๆ มีพฤติกรรมก้าวร้าว หวาดกลัว ฉุนเฉียวง่าย ให้รีบพาไปพบแพทยห์ รอื โทรปรกึ ษาสายด่วน 1323 ฟรี ตลอด 24 ชั่วโมง วธิ รี ับมือกบั ปัญหาสขุ ภาพกายและสุขภาพใจ จากสภาพอากาศทร่ี ้อน • ไม่ควรปล่อยให้ร่างกายขาดน้ําเป็นระยะเวลานานๆ ควรดื่มน้ํา ใหม้ ากเพียงพอต่อวัน • ระมดั ระวงั เรอ่ื งการรบั ประทานอาหาร ทานอาหารทที่ �ำ สกุ ใหม่ หลกี เล่ียงอาหารรสเผ็ดร้อน หรือเคร่ืองดื่มท่ีมีคาเฟอีน เพราะจะทำ�ให้ร่างกาย ขาดน้าํ • หลกี เลยี่ งการอยกู่ ลางแดดหรอื อยู่ทา่ มกลางสภาพอากาศทร่ี อ้ นสงู • สวมเสอื้ ผา้ ทใี่ สส่ บาย ใหอ้ ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก สวมหมวก/กางรม่ ใชค้ รีมกันแดด เมื่อออกสทู่ แี่ จง้ • นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ เนื่องจากสภาพอากาศในตอน กลางวันจะท�ำ ให้เหน่ือยง่าย เสียเหง่อื และเสียพลงั งาน ท�ำ ใหไ้ มค่ อ่ ยสดชื่น สมองไม่ปลอดโปร่ง “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 103 ฉบบั นกั สอ่ื สาร
• รู้เท่าทันความเครียดของตนเอง โดยสังเกตได้จากการเร่ิมมีอาการ ทางร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เบ่ืออาหาร หายใจ ไม่ค่อยอ่ิม อาการทางจิตใจ เช่น ว้าวุ้น สมาธิไม่ค่อยดี หงุดหงิด สับสน คดิ อะไรไมอ่ อก ถา้ มอี าการเหลา่ นอ้ี ยู่ แสดงวา่ มคี วามเครยี ด จ�ำ เปน็ ตอ้ งหาทาง จัดการความเครียดให้ได้ เช่น การออกกำ�ลังกาย ทำ�สมาธิ โยคะ ทำ�งาน อดิเรก ปลูกต้นไม้ หรือทำ�กิจกรรมต่างๆ ท่ีเพลิดเพลิน เพื่อพักสมอง จากความเครียดตา่ งๆ ยงิ่ เครยี ดมากเสีย่ งต่อการเกิดอาการทางจติ ได้ • หลกี เล่ยี งการดมื่ แอลกอฮอล์ เพราะจะย่งิ ท�ำ ใหร้ ้อนขา้ งในร่างกาย แอลกอฮอล์ถูกดูดซึมผ่านเข้าสู่กระแสเลือดได้เร็ว และจะเพิ่มแรงดันเลือด ให้สูงขึ้นกว่าช่วงที่มีอากาศหนาวเย็นหรือในช่วงท่ีมีอากาศปกติ โดยฤทธิ์ ของแอลกอฮอล์จะทำ�ให้หลอดเลือดฝอยใต้ผิวหนังขยายตัว ทำ�ให้ร่างกาย สูญเสียนํ้าและเกลือแร่ ส่งผลให้ร่างกายขาดนํ้ารุนแรง อาจทำ�ให้ช็อก หมดสติ และมโี อกาสเสยี ชวี ติ ได้ รวมทง้ั ท�ำ ใหค้ วบคมุ สตไิ มอ่ ยแู่ ละอาจท�ำ ให้ มีอาการประสาทหลอนตามมาได้ 104 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสื่อสาร
“เสพตดิ สงั คมออนไลน”์ Social Networking คอื รปู แบบของสงั คมประเภทหนง่ึ ทอี่ อนไลนอ์ ยบู่ น อินเตอร์เน็ต หรืออาจจะเรยี กได้วา่ เปน็ สังคมเสมือน Virtual Community หรือ Online community ซ่งึ มกี ารขยายตัวแบบ Network หรือเครือข่าย เช่น MySpace, Facebook, Line แนวทางการสังเกต อาการเสพติดเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ มีดังน้ี 1. ใชเ้ วลาอยู่กบั สังคมออนไลน์มาก ทำ�ให้ไมม่ เี วลาพบหนา้ เพือ่ นและ ครอบครัว 2. ใช้เวลาอยกู่ บั เครอื ขา่ ยสงั คมทำ�ให้ไมร่ วู้ า่ ใช้เวลาไปนานเท่าใด 3. อยู่ดึกกวา่ เวลาเขา้ นอนปกติ 4. รสู้ กึ วติ กกังวล หากไม่ได้อย่ใู กลโ้ ทรศพั ทม์ ือถอื เพื่อตรวจดหู นา้ จอ และท�ำ ใหข้ ้อมลู เปน็ ปัจจบุ ัน 5. ไมท่ ำ�งานทสี่ ำ�คัญหรอื การบา้ น เพกิ เฉยต่องานอดิเรกหรอื กิจกรรม ทช่ี อบใชเ้ วลาสว่ นมากในการออนไลน์ 6. คดิ ถงึ แตเ่ ครอื ขา่ ยสงั คม “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” 105 ฉบับนักส่อื สาร
ขอ้ แนะน�ำ • ทบทวนว่าเป็นปัญหาต่องานหรือชีวิตหรือเปล่า ควรตระหนักว่า ส่ิงนเี้ ปน็ เพียงเครอื่ งมือส�ำ หรบั การใช้งาน ถ้าใชม้ ากกวา่ ทต่ี ัง้ ใจ จะเปน็ การ เสยี เวลาเปล่า • จบั เวลาการใชง้ าน ก�ำ หนดขอ้ ตกลงส�ำ หรบั ตวั เอง จ�ำ กดั เวลาในการ เข้าใช้ อย่าเปิดไว้ตลอดเวลา พยายามทำ�ให้การเข้าถึงยาก จำ�กัดการเป็น สมาชกิ เครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ไม่ใหม้ ากจนเกินไป • หากิจกรรมท่ีเหมาะสมเสริมแทรกแทน ใช้เวลาอยู่กับเพื่อนและ ครอบครัวให้มากขึ้น มีความสุขกับชีวิตจริง ไม่ใช้ชีวิตทดแทนจากการ ใชส้ งั คมออนไลน์ • แบ่งเวลาเล่นและเวลางาน จัดลำ�ดับความสำ�คัญ และหยุดการ ผดั วันประกันพร่งุ ท�ำ งานทีร่ บั ผดิ ชอบให้เสร็จ 106 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” ฉบับนกั สือ่ สาร
“โนโมโฟเบยี ” “โนโมโฟเบยี ” (Nomophobia) ในนยิ ามทางการแพทย์นัน้ ไม่ใช่โรค แต่เป็นกลุ่มอาการ เพราะมีการสังเกตพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปของคน หรือสังคม เวลามีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเกิดขึ้นมักจะมีคำ�เรียกเฉพาะ อย่างเช่น อาการติดสมาร์ทโฟน เป็นไปตามเทคโนโลยีที่เข้ามาใหม่ ซึ่งคำ� วา่ “โนโม” เป็นค�ำ ที่ใชเ้ รยี กแทนโมบายโฟน สว่ นค�ำ วา่ “โฟเบีย” แปลว่า กงั วลอยา่ งมากตอ่ สงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ หรอื กงั วลมากเกนิ กวา่ เหตุ จงึ เรยี กรวมกนั เปน็ “โนโมบายโฟนโฟเบีย”แตเ่ ราเรียกกันส้นั ๆ ว่า “โนโมโฟเบีย” มาจากการ ที่โทรศัพท์มือถือเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำ�วัน และเราเกิดความ กังวลใจวา่ ถา้ ไมม่ ีโทรศัพท์แล้วจะทำ�อย่างไร พฤติกรรมท่ีเข้าข่ายกลุ่มอาการ “โนโมโฟเบีย” คือ • พกโทรศัพท์มือถือติดตัวตลอดเวลา ต้องคอยคลำ�กระเป๋ากางเกง หรือกระโปรงตลอดวา่ โทรศพั ทอ์ ยูข่ า้ ง ๆ ตัวหรือไม่ • หมกมนุ่ อยกู่ บั การเชก็ ขอ้ ความในโทรศพั ทม์ อื ถอื ตลอดเวลา แมก้ ระทง่ั ได้ยนิ เสยี งคลา้ ย ๆ เสยี งข้อความเขา้ • ถ้าไม่ได้ตรวจดูโทรศัพท์จะมีอาการกระวนกระวายใจ ไม่สามารถ ทำ�งานหรือปฏิบัติภารกิจตรงหน้าได้สำ�เร็จ ต้องดูหน้าจอโทรศัพท์เพื่อเช็ก ข้อความกอ่ น 108 “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” ฉบับนักส่อื สาร
• เมอ่ื ตน่ื นอนรบี ควา้ โทรศพั ทม์ าเชก็ ขอ้ ความ หรอื กอ่ นนอนเลน่ โทรศพั ท์ จนกระทั่งหลับ • ใช้โทรศัพท์ระหว่างทานข้าว เข้าห้องน้ํา ขับรถ น่ังรอรถโดยสาร ประจำ�ทาง และรถไฟฟ้า • หากใครลมื โทรศพั ทไ์ วท้ บ่ี า้ น ชวั่ โมงแรกทร่ี ตู้ วั วา่ ลมื โทรศพั ทจ์ ะรสู้ กึ มีความกังวลใจมาก หรอื หาโทรศพั ท์ไมเ่ จอจะรู้สึกต่นื ตระหนกตกใจมาก • ไมเ่ คยปดิ โทรศพั ทม์ อื ถอื เลย ใชเ้ วลาพดู คยุ กบั เพอื่ นในโลกออนไลน์ มากกวา่ คุยกับเพอ่ื นทนี่ ่งั อยู่ตรงหน้า • ห้ามใจไมใ่ ห้เลน่ โทรศัพท์ภายใน 1 ช่วั โมงไมไ่ ด้ ผลกระทบและขอ้ แนะน�ำ สุขภาพกาย : ปัญหาสายตา การนอนยาก อบุ ตั ิเหตุ กลา้ มเน้ือและ กระดกู โรคอว้ น เปน็ ต้น สุขภาพจิต : ซึมเศร้า วิตกกังวล ขาดสมาธิ ก้าวร้าว ทำ�ร้าย ตนเอง กลั่นแกล้งทางออนไลน์ มเี พศสมั พนั ธก์ ่อนวัยอนั ควร มีเพศสัมพันธ์ ไมป่ ลอดภยั ชีวติ ในแต่ละวนั จึงตอ้ งมชี ว่ งเวลาที่ต้องปลอดมือถือ พกั สมองบ้าง เชน่ จดั ชว่ งเวลาไม่ใชโ้ ทรศัพทม์ ือถอื ไดแ้ ก่ เวลารับประทานอาหาร เวลาทำ�งาน อาจจะเรม่ิ จากก�ำ หนดเวลา 30 นาที และเพม่ิ เปน็ 1 ชวั่ โมง จากนนั้ เพมิ่ เวลา ไปเรื่อย ๆ โดยเฉพาะในห้องนอนถา้ ก�ำ หนดเป็นเขตปลอดมอื ถือเลยได้ยิ่งดี “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 109 ฉบบั นักสอ่ื สาร
อาการโนโมโฟเบีย แค่ปรับเปล่ียนชีวิตประจำ�วันของตัวเอง หา กิจกรรมอ่นื ๆ ท�ำ เช่น ออกไปวิง่ ออกก�ำ ลังกายท่ีสวนสาธารณะ ไปดูหนังท่ี โรงภาพยนตร์ น่งั พูดคยุ กบั เพ่ือนแบบเห็นหน้ากนั แตท่ ง้ั นีอ้ ยู่ท่วี ่าถา้ เราเร่มิ รูส้ กึ ว่ามผี ลกระทบ เชน่ รสู้ ึกกังวลใจมาก ไมส่ บายใจบ่อย ๆ หงุดหงิดงา่ ย ควรเริ่มปรบั เปลีย่ นซงึ่ สามารถแก้ไขได้ดว้ ยตัวเอง หากมอี าการหนกั มากๆทางการแพทยอ์ าจใชว้ ธิ กี ารรกั ษาแบบCognitive Behavior Therapy (CBT) ท่ีนิยมใช้รักษาคนท่ีมีอาการวิตกกังวล และ อาการกลัวในระดับต่าง ๆ ด้วยการปรับเปล่ียนความคิด เปล่ียนแปลง ความเชอ่ื เฉพาะตัว ใหเ้ รารสู้ กึ เปน็ อิสระมากขน้ึ เมอื่ ไมม่ ีโทรศพั ทม์ ือถอื 110 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั สือ่ สาร
“การแอบถ่ายใต้กระโปรง” การแอบถ่ายใต้กระโปรง คำ�ถามที่มักเกิดขึ้นจากสังคม คือ ผู้กระทำ� เข้าข่าย เป็น “โรคจิต” หรือไม่ ผู้กระทำ�เช่นน้ี ไม่เข้าข่ายโรคจิต แต่เป็น ปัญหาสขุ ภาพจติ อย่ใู นกล่มุ ผดิ ปกติทางเพศ เกดิ ขึน้ ได้หลากหลายรูปแบบ อาทิ การแอบถ่าย ถํ้ามอง การขโมยชุดช้ันใน การโชว์อวัยวะเพศ การมี เพศสมั พนั ธก์ บั สตั วห์ รอื สง่ิ ของรวมถงึ SexPhoneซงึ่ สว่ นใหญ่พบวา่ ผกู้ ระท�ำ เช่นนี้มักไม่มีความภาคภูมิใจในตนเอง ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์กับ เพศตรงข้าม ไม่สามารถมเี พศสมั พันธ์ได้ตามปกติ พบในชายมากกวา่ หญงิ การแอบถ่าย ถือเป็นการสร้างความตื่นเต้นให้กับผู้กระทำ� ทำ�แล้ว มคี วามสขุ เปน็ การกระตนุ้ ใหเ้ กดิ อารมณท์ างเพศได้ อยา่ งไรกต็ าม พฤตกิ รรม เหล่าน้ีควรได้รับการดูแลรักษาด้านสุขภาพจิต ถ้ามีการใช้สารเสพติดหรือ มีโรคทางจิตเวชร่วมด้วย อาจก่อให้เกิดพฤติกรรมล่วงละเมิดที่ร้ายแรง เป็นอันตรายต่อตนเองและคนรอบขา้ งได้มากยง่ิ ข้นึ สาเหตุของการเกิดความผิดปกติทางเพศ เกิดจากการเรียนรู้ทางเพศ ท่ีไม่เหมาะสมในวัยเด็กส่งผลมาถึงวัยผู้ใหญ่ อาทิ เด็ก 4-6 ขวบ จะมี พฒั นาการ Sex Play คลา้ ยกบั การชว่ ยตวั เองในวยั ผใู้ หญ่ ถา้ เดก็ ไมม่ เี พอ่ื นเลน่ ผใู้ หญไ่ มม่ เี วลาให้ เขากจ็ ะมเี วลาในการส�ำ รวจตนเองและจะเลน่ กบั ตวั เองมาก ซึ่งถือเป็นพัฒนาการปกติ แต่ทั้งนี้จะส่งผลผิดปกติเม่ือเขาโตเป็นผู้ใหญ่ได้ ถ้าผู้ปกครองไม่เข้าใจพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึน มีการด่าว่ารุนแรง หรือตีรุนแรง บอกวา่ เปน็ เรอื่ งนา่ อาย เดก็ เหลา่ นน้ั กจ็ ะฝงั ใจ ถกู กดดนั มองวา่ การเปดิ เผย ความสนใจด้านเพศเป็นสิ่งผิด เมื่อโตข้ึนอาจไม่กล้าสนใจเพศตรงข้ามหรือ “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 111 ฉบบั นกั สื่อสาร
มกี จิ กรรมทางเพศทไี่ มเ่ หมาะสม ประกอบกบั ถา้ ไดเ้ รยี นรผู้ า่ นสอื่ ลามกหรอื มีต้นแบบท่ีไมเ่ หมาะสม ก็อาจเลยี นแบบ ยดึ ติด หรอื หมกมุ่นกับพฤติกรรม ทางเพศทีผ่ ดิ ปกติได้ในท่ีสดุ การบ�ำ บดั รกั ษา จะใหย้ าทจ่ี ะชว่ ยลดความตอ้ งการดา้ นเพศ รวมถงึ การ ปรบั เปลย่ี นความคดิ และพฤตกิ รรม เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยภาคภมู ใิ จในตวั เองมากขนึ้ สามารถสร้างความสัมพันธ์กับเพศตรงข้ามและมีการหาความสุขทางเพศ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมทัง้ หากิจกรรมเสริมให้ทำ�เพ่ือไมใ่ ห้หมกมุ่นทางเพศ มากเกินไป ซ่ึงใช้เวลารักษาเป็นเดือน ทั้งนี้ ถ้าคนในครอบครัว เข้าใจ และให้ก�ำ ลงั ใจกจ็ ะชว่ ยใหบ้ คุ คลเหลา่ น้เี ขา้ สู่ภาวะปกติได้ดยี ิง่ ขนึ้ การปอ้ งกนั ระยะยาว เพอ่ื ไมใ่ หบ้ คุ คลเกดิ ความผดิ ปกตทิ างเพศเพม่ิ มากขน้ึ จำ�เป็นต้องสร้างภูมิต้านทานทางจิตใจให้ตั้งแต่เด็ก ให้พวกเขารู้ว่า ความ ภูมิใจของตนเอง อยู่ที่การมีคุณธรรม มีจิตใจที่ดี ไม่ใช่อยู่ที่พฤติกรรมทาง เพศทท่ี ้าทาย การป้องกนั ตัวเองสำ�หรบั ผู้หญิง • ตอ้ งสงั เกตวา่ สถานทใี่ ดบา้ งมคี วามเสยี่ งและใครมพี ฤตกิ รรมพริ ธุ บา้ ง ซ่ึงคนเหล่าน้ีอาจแยกตัวอยู่คนเดียว และโดยท่ัวไป จะพบตามที่อับ มุม ตึก สะพานลอย ตามที่เป็นข่าว จึงต้องระมัดระวังตัวเองให้มากข้ึน และ แตง่ ตวั อยา่ งมิดชดิ • มีความรู้ในการป้องกันตัวเองบ้างและถ้าเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวข้ึน อยา่ มองวา่ เปน็ เรอื่ งน่าอาย ควรด�ำ เนินการทางดา้ นกฎหมายทนั ที เพื่อให้ ผู้กระทำ�ผิดรับผลจากการกระทำ�น้ัน 112 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบับนกั สื่อสาร
“ฆาตกรต่อเนอ่ื ง” ฆาตกรต่อเนื่อง ในทางอาชญาวิทยา หมายถึง ผู้ท่ีก่อเหตุฆ่าผู้อื่นด้วย ลกั ษณะร่วมกัน 4 ประการ คือ 1. ใชว้ ธิ ีการฆา่ เหมือนกนั ทุกราย 2. เป็นการฆ่าท่ีไม่มีเหตุผล เหยื่อกับฆาตกรไม่มีความเช่ือมโยงหรือ สมั พนั ธ์กนั เลย 3. สง่ิ ทเ่ี ชอ่ื มโยงกนั คอื แผนประทษุ กรรม กบั บคุ ลกิ ลกั ษณะของเหยอ่ื 4. เปน็ กลุ่มคนทม่ี ปี ัญหาทางจติ แตไ่ มไ่ ด้เป็นโรคจติ หรือจติ เภท ที่ไม่ สามารถควบคุมตนเองได้ เพียงแค่มีความผิดปกติทางจิตใจเท่าน้ันฉะน้ัน ฆาตกรตอ่ เนอ่ื งจะอา้ งความผดิ ปกตทิ างจติ เพอื่ ยกเวน้ โทษไมไ่ ด้ การเฝา้ ระวงั ฆาตกรต่อเน่ืองเป็นเร่ืองยาก ส่วนใหญ่ ดูไม่ออก เพราะลักษณะอาการก็ เหมอื นคนปกตทิ ั่วไป ทีอ่ าจแตกต่างบ้าง คือ เก็บตวั ไม่เขา้ สังคม แตฆ่ าตกร ต่อเนื่องจะมีกลุ่มเป้าหมายเฉพาะในการก่อเหตุ ซึ่งก็คือกลุ่มท่ีจะกระตุ้น ภาวะจิตใตส้ ำ�นกึ ของเขานน่ั เอง การเปน็ ฆาตกรตอ่ เนอ่ื ง ไมใ่ ชเ่ หตผุ ลความผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มน การรกั ษา ดว้ ยยาจงึ ท�ำ ไมไ่ ด้ ตอ้ งบ�ำ บดั ตอ้ งเกบ็ ขอ้ มลู และรกั ษาจากประวตั ขิ องแตล่ ะคน เนอ่ื งจากไม่รู้ว่าจติ ใจถกู กระทำ�อย่างไรมาบ้าง และอะไรคอื ส่ิงเร้าความรสู้ ึก ของเขา “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 113 ฉบบั นกั ส่ือสาร
“ขม่ ขนื ผสู้ งู อายตุ อ่ เนอ่ื ง” การข่มขืนผู้สูงอายุต่อเนื่อง เป็นภาวะที่มีความสุข ความพอใจทางเพศ กับผู้สูงอายุ ที่เรียกว่าเจอโรฟีเลีย (Gerophilia) หรือ เจอรอนโตฟีเลีย (Gerontophilia) ซงึ่ จดั เปน็ สว่ นหนง่ึ ของกลมุ่ กามวติ ถาร (Paraphilia) โดย กลมุ่ บคุ คลเหลา่ นจี้ ะมคี วามเบยี่ งเบนจากปกตใิ นดา้ นรสนยิ มทางเพศ จนสง่ ผลกระทบต่อการใชช้ วี ติ และการมีปฏิสัมพนั ธก์ บั บคุ คลอนื่ ส�ำ หรบั การด�ำ เนนิ คดกี บั บคุ คลเหลา่ นต้ี อ้ งพจิ ารณาเปน็ กรณไี ป โดยตอ้ ง ดจู ากพฤติการณค์ ดี แรงจูงใจ และความเจ็บปว่ ยทางจติ ร่วมด้วย แนวทางการรักษา ประกอบด้วย การบำ�บัดทางกาย จิต และสังคม ได้แก่ การใช้ยา เพื่อช่วยลดความต้องการทางเพศลง การทำ�จิตบำ�บัด พฤติกรรมบำ�บัด การเรียนรู้ในการมีความสุขทางเพศที่เหมาะสม และการ ฟื้นฟูให้อยู่กับสังคมได้ รวมทั้ง การระแวดระวังของสังคมเมื่อพ้นคดีที่ต้อง มีการระบวุ ่าอยทู่ ี่ไหนเพื่อให้สงั คมรับทราบและเฝา้ ระวังตอ่ ไป แนวทางสงั เกตบคุ คลทเ่ี ขา้ ขา่ ยมอี าการในกลมุ่ กามวติ ถาร อาทิ กลมุ่ ที่ ชอบร่วมเพศกับเด็ก สามารถดูได้จากการชอบคลุกคลีอยู่กับเด็กหรือเอ็นดู เดก็ เกินปกติ รวมทง้ั ชอบอยูก่ ับเดก็ ตามล�ำ พงั ซงึ่ เชน่ เดียวกับกลมุ่ ผู้สงู อายุ ทงั้ นี้ ถา้ มพี ฤตกิ รรมเชิงช้สู าวมากเกนิ ไปใหค้ วรระวงั เปน็ พิเศษ 114 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” ฉบับนักส่ือสาร
“โรคกลวั เฉพาะอยา่ งและกลวั สงั คม” โรคกลัว (phobia) แตกตา่ งจากความกลวั โดยท่วั ไป ตรงท่โี รคกลัวเปน็ ความกลัวอย่างมาก ไมม่ ีเหตผุ ล และไม่เหมาะสมกบั ส่ิงทม่ี ากระตนุ้ ผู้ป่วย จะพยายามหลีกเล่ยี งหรอื หลบหนีจากสง่ิ ทกี่ ลวั สาเหตุ 1. ปจั จยั ทางด้านจติ ใจ สัมพนั ธก์ ับเหตกุ ารณส์ ะเทอื นใจ เชน่ กลัวที่ สูงเพราะเคยตกลงมาจากที่สูง 2. ปจั จยั ดา้ นชวี ภาพ เปน็ เรอ่ื งความผดิ ปกติของสมอง 3. พนั ธกุ รรม โรคกลวั เฉพาะอยา่ ง (Specific phobia) เชน่ กลวั หนู กลวั งู กลวั ลฟิ ท์ กลวั เลอื ด กลวั ความมืด กลวั หมอฟนั หรอื กลวั ลกู เจ๊ยี บ อาจเกดิ จากในอดีต มเี หตกุ ารณเ์ กดิ ขน้ึ เชน่ ตอนเปน็ แดก็ ถกู สนุ ขั กดั ท�ำ ใหก้ ลวั สนุ ขั เคยตดิ อยใู่ น ลฟิ ทค์ นเดียวเป็นเวลานทำ�ให้กลวั การข้นึ ลฟิ ท์ ส่วนโรคกลัวสังคม(Social phobia) คือ ความกลัวในสถานการณ์ เช่น กลวั เวที กลวั การปรากฏตัวในท่สี าธารณะ กลวั ท่ีจะตอ้ งทำ�ความรู้จัก กบั คนแปลกหนา้ ผทู้ กี่ ลวั ประเภทนมี้ กั จะหลกี เลย่ี งการเขา้ สงั คมเพราะกลวั วา่ ตนเองอาจแสดงอะไรไมเ่ ข้าทา่ ทำ�ให้ขายหนา้ ได้ พดู ง่ายๆ ก็คือ คล้ายคน ขอี้ าย แตเ่ ปน็ การอายแบบสดุ ขวั้ ชนดิ ทแี่ ทบจะไมส่ ามารถไปไหนโดยล�ำ พงั ได้ ผู้ที่ตกอยู่ในภาวะเช่นนี้ไม่คิดหาทางแก้ไข อาจส่งผลร้ายถึงข้ันท่ีทำ�ให้เกิด อาการเก็บกดหรือซึมเศร้า จำ�เป็นต้องได้รับการรักษาจากจิตแพทย์หรือ นกั จิตวิทยาท่ีได้รบั การฝึกทางด้านพฤติกรรมบำ�บัดมาโดยเฉพาะ “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” 115 ฉบบั นกั ส่อื สาร
นอกจากน้ัน พวกท่ีเป็นโรคกลัวยังมักจะเป็นผู้นิยมความสมบูรณ์แบบ (Perfectionist) คอื พวกทคี่ ลมุ้ คลง่ั มอี าการทางประสาทตอ่ ความผดิ พลาด แมเ้ พยี งเลก็ นอ้ ย และมกั จะเปน็ คนชา่ งเกบ็ ความรสู้ กึ ซงึ่ หากมองยอ้ นกลบั ไป คนประเภทนมี้ กั จะไดร้ บั การเลย้ี งดใู นครอบครวั ทปี่ ระคบประหงมบตุ รหลาน เป็นพิเศษ มักจะได้รับสิ่งท่ีดีที่สุดเสมอตั้งแต่วัยเด็ก เม่ือโตข้ึนจึงกลายเป็น ผูท้ ีม่ ภี มู ิต้านทานต่อความผิดพลาดตา่ํ เกนิ ไป ขอ้ แนะน�ำ 1. เผชิญความจริง ยอมรับว่าตนเองมีอาการจริงๆ ไม่ต้องสนใจว่า คนอืน่ จะคดิ อย่างไร 2. ปลอ่ ยตนเองตามสถานการณ์ สงั่ ตวั เองวา่ “ไมม่ อี ะไรมากหรอก แค่ กังวลมากไปหน่อย ไม่ถึงตายหรอก 3. ขนั้ สดุ ทา้ ย กลา้ เผชญิ หนา้ กบั ความกลวั โดยตง้ั เปา้ หมายเลก็ ๆ งา่ ยๆ เอาไว้แตล่ ะวนั เชน่ ถา้ พบคนมากไป ก็ตงั้ เป้าหมายวา่ วันนีฉ้ นั จะชวนเพ่ือน ไปกนิ ขา้ ว คอ่ ยขยบั จากรา้ นเลก็ ๆ จนเป็นภตั ตาคาร คิดว่า “โธเ่ อ๊ย !ไมเ่ หน็ เป็นไรเลย!” การรักษา มีทั้ง การบำ�บัดพฤติกรรมของผู้ป่วยโดยการใช้ จินตนาการบำ�บัดก่อนขยับเข้าสู่ตามจริง และบางรายอาจจำ�เป็นต้อง ใชย้ าร่วมดว้ ย 116 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบบั นกั สือ่ สาร
“โรคกลวั อ้วน” โรคบูลเิ มีย เนอรโ์ วชาส์ (Bulimia Nervosa) หรอื โดยทว่ั ไปรจู้ กั กัน ในชอ่ื “โรคกลวั อว้ น” เปน็ อาการทางจติ ชนดิ หนง่ึ อาจไมร่ นุ แรงเทา่ โรคจติ ท่ีมีอาการคลุ้มคล่ังและทำ�ร้ายผู้อื่น แต่เป็นอาการทางจิตที่ส่งผลทำ�ร้าย ท้ังสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตของผปู้ ่วยเอง โรคบลู ิเมยี มี 2 ชนดิ ชนิดแรก คือ มักจะล้วงคอทำ�ให้ตนเองอาเจียน มีการใช้ยาระบาย ยาขับปสั สาวะ หรอื ยาสวนถา่ ยเปน็ ประจ�ำ ชนิดท่ีสอง คือ มีพฤติกรรมชดเชยท่ีไม่เหมาะสมอ่ืนเป็นประจำ� เช่น อดอาหารตดิ กนั 3-4 วนั หรอื ออกก�ำ ลงั กายหกั โหมโดยไมม่ กี ารท�ำ ใหอ้ าเจยี น หรอื ใช้ยาขับปัสสาวะเหมือนชนิดแรก โรคบูลิเมีย จะทำ�ให้คนที่เป็นโรคเกิดอาการผิดปกติเกี่ยวกับอาหาร คอื มคี วามเชอื่ ผดิ เกย่ี วกบั อาหารวา่ อาหารทกุ อยา่ งทร่ี บั ประทานเขา้ ไปจะ ทำ�ให้อ้วน สาเหตุของโรคนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อกันว่าส่วนหน่ึงมาจาก ปจั จยั ทางพนั ธกุ รรม สว่ นใหญจ่ ะเกดิ กบั เดก็ และวยั รนุ่ ซงึ่ เปน็ ชว่ งวยั ทรี่ กั สวย รักงามมคี วามเป็นตัวเองสูง ได้รบั ค่านยิ มทผ่ี ดิ ๆ จากสังคมภายนอกได้งา่ ย สาเหตกุ ารเกดิ โรค อาจเกิดจากสาเหตุ ดงั น้ี 1. พนั ธกุ รรม ซงึ่ ในตา่ งประเทศไดท้ �ำ การศกึ ษาและพบวา่ ถา้ บคุ คลใน ครอบครัว โดยเฉพาะมารดาเคยเป็นโรคนีม้ ากอ่ น ลกู มีแนวโนม้ จะเปน็ ด้วย 2. ความผิดปกติของสารเคมีในสมอง ต่อมควบคุมการบริโภคอาหาร และฮอร์โมนท�ำ งานผิดปกติ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” 117 ฉบับนักสื่อสาร
3. ค่านิยม ผู้หญิงบางคนมีค่านิยมในเรื่องรูปร่าง คือ ให้ความสำ�คัญ เรื่องรูปร่างผอมว่า เป็นมาตรฐานท่ีดี หรือผู้ที่คิดว่าตนเองไร้ค่า ผู้ป่วย โรคซึมเศร้ามีโอกาสเป็นโรคนีง้ ่าย อันตรายจากโรคบูลิเมีย ผู้ที่เป็นโรคบูลิเมียน้ันจะเห็นชัดที่พฤติกรรม การบริโภค คือ มกั จะบริโภคอาหารในประมาณมากในแตล่ ะครงั้ แลว้ ก็จะ ลว้ งคอใหอ้ าเจยี น ใชย้ าถา่ ย บางทกี อ็ ดอาหารตดิ ตอ่ กนั 3-4 วนั หรอื พยายาม ออกก�ำ ลังกายอยา่ งหนักติดต่อกนั นานมากกวา่ 5 ชั่วโมง ทุกๆ วัน การรกั ษา ส�ำ คญั ทีส่ ุด คือ ผ้ปู ่วยต้องสมคั รใจรักษาจึงจะไดผ้ ล 1. สังเกตอาการแล้วปรึกษาแพทย์ ต้องรักษาทางกายและปรึกษา จติ แพทย์ควบคกู่ ัน 2. ปรับเปลี่ยนค่านิยมเรื่องรูปร่าง อาจจะปรับเปลี่ยนการแต่งกาย เปล่ียนทรงผม โดยอาศัยพวกดีไซเนอร์และอาจารย์เก่งๆ ทางด้านเสื้อผ้า และทรงผม เพ่ือเปล่ียนภาพลักษณ์ให้ดูดีโดยไม่ต้องอดอาหาร อาเจียน อาหารออก อาจจะช่วยให้คุณค่าในตนเองดขี ้ึน 118 “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นักสอ่ื สาร
“โรคชอบหยบิ ฉวย” อาการของโรคชอบหยบิ ฉวย (Kleptomania) ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมแรงกระตุ้นท่ีทำ�ให้เกิดการลักขโมยสิ่งของ ซึ่งสิ่งของที่ขโมยมานั้นไม่มีความจำ�เป็นท่ีจะนำ�มาใช้ส่วนตัวหรือไม่มีความ จำ�เป็นในเร่ืองเงินทองแต่อย่างได ส่วนใหญ่ผู้ป่วยไม่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า การลกั ขโมยนมี้ กั ท�ำ คนเดยี วและจะหลกี เลย่ี งสถานการณท์ อี่ าจถกู จบั กมุ ได้ โดยงา่ ย สง่ิ ของทล่ี กั ขโมยมานน้ั กไ็ มไ่ ดม้ คี า่ เทา่ ใดนกั เมอ่ื ขโมยมาแลว้ กไ็ มส่ นใจ สง่ิ ของนน้ั อาจเอาไปทง้ิ ซอ่ นไว้ หรอื อาจแอบเอาไปคนื เจา้ ของ ผปู้ ว่ ยสว่ นใหญ่ รสู้ กึ วา่ การลกั ขโมยเปน็ สงิ่ ทผ่ี ดิ และมกั รสู้ กึ ผดิ ซมึ เศรา้ หลงั จากการลกั ขโมย สว่ นใหญเ่ ป็นเพศหญงิ อายทุ ี่อาจเรมิ่ ตัง้ แต่เด็กหรือวัยร่นุ จนถึงผู้ใหญ่ สาเหตขุ องโรค ยงั ไมแ่ นช่ ดั แตน่ า่ จะเกดิ ความผดิ ปกตทิ างชวี ภาพ ท�ำ ให้ สมองหลั่งสารบางอย่างออกมา ผู้ป่วยโรคหยิบฉวยจะเป็นโรคซึมเศร้าร่วม ด้วยถงึ รอ้ ยละ 40 โรคแพนิกร้อยละ 40 เปน็ โรคกลวั รอ้ ยละ 40 เปน็ โรค ยํา้ คดิ ยาํ้ ทำ� ร้อยละ 45 เป็นโรคบลู ิเมีย ถึงรอ้ ยละ 60 นอกจากน้ี ยังพบมี การใชส้ ารเสพติดดว้ ยถงึ รอ้ ยละ 50 โรคนไี้ มต่ อบสนองการรกั ษาใดๆ เพราะแมว้ า่ ผปู้ ว่ ยจะเคยถกู จบั กมุ จาก การกระทำ�เช่นน้ีหลายครั้งแล้ว แต่ผู้ป่วยก็หักห้ามใจไม่ให้หยิบฉวยในคร้ัง ตอ่ ๆ ไปได้เลย การบำ�บัดรักษา รักษาตามอาการของโรคที่เกิดโดยการใช้ยา เช่น ซมึ เศรา้ ร่วมกบั การท�ำ พฤติกรรมบำ�บดั จิตบ�ำ บดั จะสำ�เรจ็ หรือไม่ ข้นึ อยู่ กบั การรว่ มมอื ของผปู้ ว่ ยและผใู้ กลช้ ิด อย่างไรก็ตาม เช่ือว่า การอบรมเลี้ยงดูให้เด็กมีสุขภาพจิตดี สร้าง สัมพันธภาพท่ีดีกับเด็กอย่างใกล้ชิดและจัดการปัญหาต่างๆ อย่างมีเหตุผล จะชว่ ยใหโ้ รคชอบหยิบฉวยมีโอกาสเกดิ ขน้ึ ไดน้ อ้ ย 119 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบบั นกั สอื่ สาร
“โรคบา้ งาน หรอื โรคตดิ งาน” โรคบ้างาน (Workaholic) คือ คนทีเ่ สพติดการทำ�งานอยา่ งหนัก แต่ ถงึ บา้ งานขนาดนน้ั กไ็ มไ่ ดห้ มายความวา่ จะมคี วามสขุ กบั การท�ำ งานเสมอไป บางคนอาจจะเสพตดิ กับงานดว้ ยความรูส้ ึกโดนบังคบั ใหท้ �ำ งาน อาการของคนทเ่ี ปน็ โรคบา้ งาน มกั จะมปี ญั หาเกยี่ วกบั สขุ ภาพ เชน่ เครยี ด หรืออาจทำ�ให้มีปัญหากับคนรอบข้างเพราะการทำ�งานหนักมากๆ จะส่ง ผลเสียต่อสังคมพอๆ กับการติดสารเสพติด เพียงแต่ว่า โรคนี้ไม่ได้เป็น ส่งิ ผดิ กฎหมาย ผลจากการเปน็ คนบา้ งาน ท�ำ ใหเ้ กดิ อาการทางดา้ นรา่ งกาย คอื ปวดหวั ปวดหลัง ปวดท้ายทอย สายตาพร่ามัว ปวดกล้ามเน้ือตา ซ่ึงส่งผลเสียต่อ ร่างกาย จนกลายเป็นสาเหตุของโรคต่างๆ ตามมาอีกมากมาย เช่น โรค หวั ใจ โรคกระเพาะ เบาหวาน และความดนั เปน็ ตน้ อาการทางดา้ นอารมณ์ คือ กลายเปน็ คนมองอะไรขวางหขู วางตาไปหมด เกร้ียวกราดกบั เพ่ือนร่วม งาน การพดู คุยไมเ่ หมอื นเดิม จะใหค้ วามสนใจแตเ่ ฉพาะในเร่อื งการทำ�งาน จนส่งผลกระทบตอ่ ความสมั พนั ธ์ในครอบครัว 5 สัญญาณบง่ บอกว่าเป็นคนบา้ งานหรือไม่ 1. งานตอ้ งมากอ่ นสงิ่ ใด รกั ออฟฟศิ ยง่ิ ชพี ยงิ่ กวา่ บา้ นหรอื ทอ่ี นื่ ๆ กลบั บา้ นก็แบกงานกลับไปท�ำ ต่อที่บ้าน หยดุ พักร้อนไม่เปน็ 2. ไม่ชอบให้ใครทำ�งานแทน ตอ้ งทำ�งานเองท้งั หมด ไม่เชอ่ื ใจ ไมเ่ ชื่อ ความสามารถคนอน่ื จำ�เปน็ ต้องเปน็ ฉนั เทา่ นั้นที่จะทำ�งานนี้ได้ 120 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสอ่ื สาร
3. ครอบครวั เพอ่ื น แฟน ถกู ละเลย ไมร่ จู้ ะสนใจพวกนไ้ี ปท�ำ ไม ไมท่ �ำ ให้ ฉันมีเงินมากข้ึน เงินคือพระเจ้าเนรมิตทุกอย่างให้ได้ตามต้องการ ฉะนั้น ตอ้ งทำ�งาน งาน งาน เพ่ือ เงิน เงนิ เงนิ 4. เอาทุกส่วนของชีวิตมาเป็นงานจนเคยตัว มีแต่เรื่องงานเท่าน้ัน ในสมอง เหมอื นพวกติดยา ยาเท่านน้ั อย่ใู นสมอง แบ่งเวลาไมเ่ ป็น พกั ผอ่ น ไมเ่ ปน็ บางครง้ั ก็มาเอาคนในครอบครัว มาช่วยงาน 5. ซ่อนงานของตัวเพราะกลัวคนเห็น อาการเสพติดงานมันคล้ายกับ การเสพตดิ ยา ไมอ่ ยากใหใ้ ครรู้ กลวั จะดเี ดน่ เทา่ ตนเอง แอบท�ำ รบี ท�ำ ท�ำ ตวั ใหม้ งี านยงุ่ เสมอ “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 121 ฉบับนักสอื่ สาร
“โรคจติ ” โรคจิต คือ ผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ไม่อยู่ในโลกของความเป็นจริง มีการรับรู้แปลกไป เช่น หูแว่ว ได้ยินเสียง โดยท่ีคนอื่นอยู่ใกล้ๆ กันน้ัน ไม่ไดย้ ินดว้ ยมกั เป็นเสียงคนพดู คุย บางคร้ังเปน็ เสยี งเทพ เสยี งเจา้ แม่ ได้ยิน เสียงคนพูดคุย ได้ยินคนพูดตำ�หนิ พูดโต้ตอบเสียงน้ันคนเดียว เห็นภาพท่ี คนอื่นไม่ได้เหน็ ดว้ ย เชน่ เห็นมีคนมาหา ในสมองจะมกี ารคิด การตีความ ท่แี ปลก เช่น คิดว่าคนบนโลกจะม่งุ รา้ ยท�ำ ลายตนเอง คดิ ว่าตนเองสามารถ สอื่ สารผา่ นทางโทรทศั นไ์ ด้ ระแวงวา่ จะมคี นมาใสย่ าพษิ ในอาหาร กลวั วา่ จะมี คนตดิ ตามฆา่ ตนเองตลอด หรอื คดิ วา่ มเี ทพวญิ ญาณอยใู่ นรา่ งกาย คอยบอก ใหท้ �ำ สงิ่ ตา่ ง ๆ โดยทผี่ ปู้ ว่ ยไมไ่ ดร้ บั รวู้ า่ เขานน้ั หลงผดิ เขาเชอ่ื ในสงิ่ นนั้ จรงิ ๆ อาการที่นอกเหนอื ไปจากความคิดหลงผดิ ประสาทหลอน เนอื่ งจากโรคจติ นน้ั มคี วามผดิ ปกตทิ สี่ มอง จะสง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยมอี าการอนื่ ๆ ได้ดว้ ย เช่น การใชค้ �ำ พดู เพอื่ สอื่ ถงึ ความคดิ ผปู้ ว่ ยจะไมส่ ามารถคดิ แบบมเี หตมุ ผี ลได้ อย่างตอ่ เนอ่ื ง ซ่งึ จะส่งผลใหผ้ ปู้ ว่ ยพดู คุยกบั คนอน่ื ไมค่ อ่ ยเข้าใจ เมอ่ื คนอ่ืน คุยกับผู้ป่วยไม่ค่อยเข้าใจก็มักจะไม่ค่อยคุยด้วย ซ่ึงส่งผลให้ผู้ป่วยถูกแยก ให้อยคู่ นเดยี ว ผู้ป่วยบางคนถูกปล่อยให้เป็นนาน ๆ จะมีอาการทางพฤติกรรมที่ เปลยี่ นไป เชน่ 122 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” ฉบบั นักส่ือสาร
สหี นา้ อารมณเ์ ฉยเมย ชวี ติ ไมม่ จี ดุ หมาย ไมม่ สี มั พนั ธภาพกบั ใคร ไมพ่ ดู ไม่มอี าการยินดียินร้าย พฤติกรรมผดิ ปกติ เชน่ อยู่ในทา่ แปลก ๆ หวั เราะ หรอื รอ้ งไห้ สลับกันเป็นพกั ๆ การจะบ่งชี้ว่าบุคคลน้ันๆ ปกติ หรือผิดปกติทางจิตหรือไม่ ควรจะมี บุคลากรท่ีเช่ียวชาญในด้านสุขภาพจิต อาจเป็นแพทย์ที่ชำ�นาญการด้านนี้ หรือจิตแพทย์ในการตรวจสอบ ร่วมกับการทดสอบสภาพจิต จึงจะสรุปว่า ผิดปกติทางจติ หรือไม่ บางรายนั้น หากไม่มีการทำ�การทดสอบ ก็จะพบวา่ อาจมอี าการแสดงออกมาไม่ชดั เจน สาเหตุ 1. ปัจจยั ด้านชีวภาพ : สารเคมีในสมองผดิ ปกติ พันธุกรรม อบุ ัติเหตุ การได้รับส่ิงเป็นพิษ โภชนาการ โรคภัยไข้เจ็บ การติดเช้ือและความพิการ ทางสมอง 2. พ้ืนฐานบุคลิกภาพเดิม สัมพันธภาพในครอบครัว ประสบการณ์ ทไ่ี ดจ้ ากสงั คม ความสะเทอื นใจทไ่ี ดม้ าแตเ่ ยาวว์ ยั และถา้ ไดร้ บั การกระตนุ้ จะ ท�ำ ใหเ้ กดิ ปญั หาตามมา เชน่ ภาวะความกดดนั ทางจติ ใจ ซงึ่ มกั มาจากการงาน การเรยี น การเงนิ ครอบครวั สิ่งแวดลอ้ ม และการใชช้ วี ติ ทางเพศ การรักษา สามารถรักษาได้ ผลการรักษาแบง่ ได้ 2 พวก คือ 1. กลมุ่ ทห่ี ายขาด จะกนิ ยาระยะสน้ั ๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งไมเ่ กนิ 6 เดอื น 2. กลุ่มที่มีอาการเร้ือรังต้องกินยาเป็นระยะเวลานานหลายปี ไมค่ วรหยดุ ยาเอง เพราะจะทำ�ให้อาการกำ�เรบิ ได้ “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” 123 ฉบบั นกั ส่อื สาร
การรักษาด้วยยานั้นเป็นหัวใจของการรักษา นอกจากเพ่ือควบคุม อาการแลว้ ยงั สามารถลดการก�ำ เรบิ ซาํ้ ของโรคได้ พบวา่ ผปู้ ว่ ยทกี่ ลบั มอี าการ กำ�เริบซ้ําอยบู่ อ่ ย ๆ สว่ นใหญม่ ปี ญั หามาจากการขาดยา สง่ิ ท่มี ากระตุ้นใหอ้ าการกำ�เริบหรือแย่ลง ได้รับความกดดันทางสังคมและจิตใจ เช่น ปัญหาครอบครัว การงาน ความรัก การเรยี น กินยาหรอื ฉดี ยาไม่สม่าํ เสมอ ใช้สารเสพตดิ เช่น ดื่มสรุ า สูบกญั ชา กนิ ยาบา้ การอดนอน หรือการเจ็บป่วยทางกาย การมสี ว่ นร่วมของญาติ ตอ้ งใหค้ วามเขา้ ใจ และเหน็ ใจผปู้ ว่ ยเพราะผปู้ ว่ ยมไิ ดเ้ จตนาจะสรา้ ง ความเดอื ดรอ้ นหรอื ความร�ำ คาญใหก้ บั ญาติ ควรใหอ้ ภยั และไมถ่ อื โทษโกรธ ผู้ปว่ ย ดแู ลใหผ้ ปู้ ว่ ยรบั ประทานยาสมาํ่ เสมอตามแพทยส์ ง่ั ไมค่ วรเพมิ่ หยดุ หรือหยุดยาเอง การดแู ลสขุ ภาพอนามัย พาผู้ป่วยไปรับการบำ�บัดรักษาให้สม่ําเสมอ ตรงตามท่ีแพทย์นัด ทกุ ครงั้ เพราะผูป้ ่วยสว่ นใหญใ่ หก้ ารดแู ลตวั เองไดไ้ มด่ ีพอ ถ้าผูป้ ว่ ยมพี ฤตกิ รรมที่ดสู บั สน วุ่นวาย ดอื้ ไมย่ อมกินยา ไม่ยอมมา พบแพทย์ ควรรบี ตดิ ตอ่ แพทย์ เพอื่ เลา่ อาการใหท้ ราบจะไดร้ บั ค�ำ แนะน�ำ ไป ช่วยเหลอื ผู้ป่วยต่อไป 124 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” ฉบบั นกั สอื่ สาร
หมั่นสังเกตอาการผิดปกติของผู้ป่วย ถ้าพบความผิดปกติ เช่น พดู พราํ่ พดู เพอ้ เจอ้ พดู คนเดยี ว เอะอะ อาละวาด หงดุ หงดิ ฉนุ เฉยี ว หวั เราะ หรอื ย้ิมคนเดยี ว เหมอ่ ลอย หลงผิด ประสาทหลอน หวาดกลวั ควรรบี พา ผู้ปว่ ยไปพบแพทยท์ นั ที จดั หากจิ กรรมใหผ้ ปู้ ว่ ยท�ำ ตามศกั ยภาพ โดยเฉพาะในเวลากลางวนั เพอ่ื ดึงภาวะจิตใจของผปู้ ่วยใหก้ ับมาอยใู่ นโลกแห่งความเป็นจริงมากทสี่ ดุ “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” 125 ฉบับนักสื่อสาร
“โรควติ กกงั วล” ความวติ กกงั วล (Anxiety)เปน็ อาการทเี่ กดิ ขน้ึ ไดใ้ นคนปกตทิ วั่ ไป เมอื่ มีความเครียดเข้ามากระทบ ในคนที่มีความวิตกกังวลจะมีความรู้สึกสับสน เครยี ด กังวล วิตก ตนื่ เต้น ตกใจงา่ ย หวาดกลัว หงดุ หงดิ โมโหง่าย ไม่มี ความสุข ควบคู่กับการเปลีย่ นแปลงทางรา่ งกาย เชน่ มอื สนั่ ใจสั่น ตัวสัน่ ปสั สาวะบอ่ ย ปัน่ ป่วนในทอ้ ง แนน่ หน้าอก หายใจขดั ลุกลีล้ ุกลน วอกแวก เพลีย นอนไม่หลับ แนวทางการสังเกตว่าความตึงเครียดท่ีเกิดขึ้นเป็น ความวิตกกังวลที่ ผิดปกตหิ รอื ไม่ 1. ความวิตกกังวลท่ีเกิดข้ึนมากเกินกว่าจะอธิบายได้ด้วยความเครียด ที่มากระตุน้ 2. ความวิตกกังวลทเ่ี กดิ ขน้ึ มอี าการรนุ แรงมาก 3. ความวติ กกงั วลท่ีเกิดขน้ึ ยังคงอยแู่ ม้ส่ิงกระตุน้ จะหมดไปแล้ว 4. ความวติ กกงั วลทเ่ี กดิ ขน้ึ รบกวนกจิ วตั รประจ�ำ วนั และหนา้ ทก่ี ารงาน ต่าง ๆ โรควติ กกงั วล (Anxiety disorder) เปน็ โรคทางจติ เวชทพี่ บบอ่ ยทสี่ ดุ เปน็ โรคจติ เวชทม่ี คี วามส�ำ คญั ระดบั ตน้ ๆ แบง่ ยอ่ ย เปน็ หลายโรค ทสี่ �ำ คญั มี อยู่ 5 กลุ่ม ดังน้ี 126 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบบั นักส่อื สาร
1. โรคแพนิค (Panic disorder) และโรคกลัวการอยใู่ นสถานที่ตนเอง เกิดอาการกลวั มาก (agoraphobia) 2. โรควติ กกงั วลเฉพาะอยา่ งและสงั คม (Specific phobia and social phobia) 3. โรคยาํ้ คดิ ย้ําท�ำ (Obsessive-compulsive disorder) 4. โรคเครียดท่ีเกิดภายหลังจากผู้ป่วยเผชิญกับเหตุการณ์ที่รุนแรง (Posttraumatic Stress Disorder และ Acute Stress Disorder) เชน่ ภาวะสงคราม วนิ าศภยั อุทกภยั หรอื ถูกขม่ ขนื อยา่ งร้ายแรง 5. โรคกังวลท่ัวไป (Generalized anxiety disorder) การรักษาอาจต้องใชย้ า และบำ�บัดทางจิตใจร่วมกนั 1. การรักษาโดยการใช้ยา ยามีประสิทธิภาพสูงมากในการรักษา โดยเฉพาะระยะเฉยี บพลนั ผปู้ ว่ ยทเ่ี ครยี ดมานาน หลงั จากไดร้ บั ประทานยา คลายกงั วล จะรสู้ กึ อาการดขี น้ึ อยา่ งรวดเรว็ เมอ่ื ผปู้ ว่ ยไดท้ านยา เมอื่ บรรเทา อาการแล้ว ควรมีการปรับปรุงบุคลิกหรือการปรับตัวเอง โดยท่ัวไปแล้ว ยาคลายกงั วล ในปรมิ าณไมส่ งู นกั ไมม่ ผี ลเสพตดิ ทางรา่ งกาย ผปู้ ว่ ยสามารถ หยดุ ยาได้ โดยไมมอี าการถอนยาแตอ่ ย่างใด โดยอยู่ในความดแู ลของแพทย์ 2. การรักษาทางจิตใจโดยใช้จิตบำ�บัด แบบจิตวิเคราะห์เป็นการ รักษาด้วยวธิ พี ดู คุย วเิ คราะหโ์ ครงสร้างและการใชก้ ลไกของจิตใจ คล้ายกับ การเอกซเรย์จิตใจ เพ่ือทำ�ให้ผู้ป่วยสามารถปรับตัวในชีวิตประจำ�วันได้ ปรบั ปรงุ บคุ ลกิ ภาพของตนเอง มองหาสาเหตทุ ที่ �ำ ใหเ้ กดิ ความเครยี ด หาวธิ ี แกไ้ ขให้มีความยดื หยุ่นไดด้ ขี ้ึน “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 127 ฉบับนกั สื่อสาร
3. การฝึกการผ่อนคลายด้วยตนเอง อาจใช้การฝึกผ่อนคลาย โดยการ หายใจเข้าออก ให้ใจผ่อนคลายจากเร่ืองต่าง ๆ จดจ่อที่ลมหายใจที่ผ่าน เข้าออกร่างกาย หรือฝึกผ่อนคลาย โดยใช้หลักการตึงสลับคลายกล้ามเนื้อ เพ่ือให้ร่างกายได้เรียนรู้สัมผัสกับความรู้สึกผ่อนคลาย การฝึกเหล่าน้ี ควรทำ�เปน็ ประจ�ำ ไมใ่ ชท่ ำ�เฉพาะตอนทีต่ ึงเครยี ดเทา่ นั้น 4. การสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ ที่ทำ�ให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย เช่น งาน อดเิ รกตา่ ง ๆ ฟงั เพลง เลน่ กีฬาเบาๆ ปลูกตน้ ไม้ การใช้หลักศาสนา ซ่งึ แลว้ แตค่ วามพอใจของแตล่ ะคน ยอ่ มทำ�ใหร้ ู้สกึ ผ่อนคลายได้ 5. อย่าลืมการดูแลสุขภาพร่างกายให้มีความแข็งแรงสม่ําเสมอ ออกก�ำ ลังกายบางประเภทท่เี น้นความสัมพันธ์ท่ัวรา่ งกาย เช่น โยคะ กช็ ่วย ผอ่ นคลายความเครยี ดได้ งดสารเสพติด กินอาหารทม่ี ีประโยชน์ อย่าลืมว่า จิตทแ่ี จ่มใส อยใู่ นร่างกายทแี่ ขง็ แรง การรักษาจะหายหรือไม่นนั้ ข้ึนอยู่กบั 1. ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล 2. อนั ตรายจากสภาพรอบตัว 3. ความผิดปกตทิ างรา่ งกาย เชน่ โรคเร้อื รังต่าง ๆ อยา่ งไรกต็ าม มนษุ ยท์ กุ คนจะมคี วามวติ กกงั วลอยตู่ ามธรรมชาติ ซงึ่ เปน็ สิ่งท่ีดีเพราะเป็นเหมือนระบบเตือนภัยช่วยให้การปฏิบัติงานที่อันตราย ปลอดภัยขึ้น เน่ืองจากเกิดความระมัดระวังและรอบคอบ และเพ่ือเตรียม พร้อมในการเผชิญปญั หาหรือสถานการณ์ความเครียดต่าง ๆ ซ่ึงแสดงออก ท้ังทางความคิดและความรู้สึกทางกาย ผลักดันให้คนเราแก้ปัญหาหรือคิด พัฒนาสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้ 128 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสื่อสาร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288