Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-23 12:04:33

Description: top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Search

Read the Text Version

สุขภาพจติ กบั ภาวะวิกฤต “ปฏกิ ริ ิยาทางจิตใจของผู้ประสบภาวะวิกฤต ภัยพบิ ัตหิ รือเหตกุ ารณ์รนุ แรง” เมื่อประสบกับสถานการณ์วิกฤติหรือเหตุการณ์รุนแรง คนเราจะแสดง ปฏิกิริยาตอบสนองแตกต่างกัน ดา้ นรา่ งกาย อาจนอนไมห่ ลบั ปวดศรี ษะ ระบบยอ่ ยอาหารผดิ ปกติ เบอ่ื อาหาร ความรสู้ ึกทางเพศลดลง ต่นื เต้นตกใจง่าย ดา้ นอารมณ์ อาจเกดิ อาการ ชอ็ ก โกรธ สนิ้ หวงั มนึ งง หวาดกลวั รสู้ กึ ผดิ หงุดหงิดง่าย รู้สึกว่าไม่สามารถควบคุมและ ช่วยเหลือตนเองได้ รู้สึก ลอ่ งลอยเหมอื นฝันไป ดา้ นความคดิ ท�ำ ใหข้ าดสมาธิ การตดั สนิ ใจไมด่ ี สบั สน วติ กกงั วล คดิ ซาํ้ ๆ อยูใ่ นเร่อื งเดมิ ความเช่อื มัน่ ในตนเองลดลง ดา้ นสงั คม อยากอยูค่ นเดียว แยกตัว หลีกหนสี งั คม ขดั แยง้ กับคนอน่ื มากข้ึน มีปัญหาในการท�ำ งาน มีปญั หาในการเรียน ปฏกิ ริ ยิ าเหลา่ นจ้ี ะเกดิ ขน้ึ หลงั เกดิ เหตกุ ารณร์ นุ แรง ซงึ่ ไมถ่ อื วา่ เปน็ เรอ่ื ง ผดิ ปกตทิ างจติ และจะคอ่ ย ๆ หายไปเองตามกาลเวลา แตถ่ า้ เวลาผา่ นไปแลว้ ปฏิกิริยาที่เกิดข้ึนยังไม่หายไป จะเส่ียงเป็น “โรคเครียดภายหลังเกิด เหตุการณ์สะเทือนขวัญ” (Posttraumatic Stress Disorder : PTSD) ซง่ึ คนท่เี ปน็ โรค PTSD น้ัน อาการป่วยจะเกิด เมื่อเหตุการณร์ ุนแรงหรอื ภาวะ วิกฤตนั้น ผ่านพ้นไปแลว้ หกเดือน “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 221 ฉบบั นกั ส่อื สาร

อาการส�ำ คัญๆ ดังนี้ • หวนระลึกถึงความทรงจำ�ที่น่ากลัวและเจ็บปวด มีอาการฝันร้าย บ่อยๆ มีความรสู้ กึ เหมือนกำ�ลงั ประสบเหตรุ า้ ยซํ้าอีก • มีความรสู้ ึกมนึ ชาอยา่ งรนุ แรง รสู้ กึ ว่างเปลา่ ไรอ้ ารมณ์ ไมส่ ามารถ แสดงอารมณค์ วามรู้สึกได้ • พยายามหลกี เลย่ี งทจ่ี ะเผชญิ กบั ความทรงจ�ำ ทปี่ วดรา้ ว หนั ไปใชย้ า หรอื สารเสพตดิ หลกี หนสี งั คมอยา่ งรนุ แรง ไมก่ ลา้ เขา้ สงั คม ไมย่ อมไปท�ำ งาน เก็บตัวอยู่แต่ในหอ้ ง • มีภาวะตื่นตัวมากกว่าปกติ เช่น มีอาการผวา ตื่นเต้น ตกใจง่าย ตนื่ กลวั จนเกนิ เหตุ หงดุ หงดิ โมโหงา่ ย กระสบั กระสา่ ย ควบคมุ ความกา้ วรา้ ว หนุ หันพลันแล่นไมไ่ ด้ ควบคุมตนเองใหม้ สี มาธิไมไ่ ด้ เป็นต้น • มภี าวะเครยี ดอยา่ งรนุ แรง วติ กกงั วลอยา่ งมาก รสู้ กึ ไมม่ คี นชว่ ยเหลอื มอี าการยาํ้ คิดยา้ํ ท�ำ ขาดความมน่ั ใจ • มีภาวะซึมเศร้าอย่างรุนแรง ไม่มีความสุขหรือสนุกสนานในการ ดำ�เนินชีวติ ร้สู ึกว่าตนเองไรค้ า่ ตำ�หนติ นเอง ตอ้ งพึง่ พาผอู้ ื่น • หลงลืม จำ�อะไรไม่ได้ ความคิดแตกกระจาย ไม่สามารถเช่ือมโยง ความคดิ การรบั รตู้ อ่ สิง่ แวดลอ้ มเปล่ยี นไป อาการเหล่านี้เป็นเคร่ืองบ่งบอกว่าควรขอรับความช่วยเหลือจาก บุคลากรด้านสุขภาพ ถ้าผู้ประสบภาวะวิกฤติหรือเหตุการณ์รุนแรงได้รับการดูแลจิตใจ หรือ ปฐมพยาบาลทางจิตใจ (Psychological First Aid) ได้เร็วเท่าไรก็จะช่วย ป้องกันการเกิด “โรคเครียดภายหลังเกิดเหตุการณ์สะเทือนขวัญ” (Post- traumatic Stress Disorder : PTSD) ไดม้ ากยิง่ ขน้ึ  222 “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั สื่อสาร

“ท�ำ ใจอยา่ งไรกับความสูญเสยี ” ภัยพิบัติทางธรรมชาติย่อมสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน เป็นธรรมดา แต่จะมากหรือน้อยย่อมขึ้นกับความรุนแรงของเหตุการณ์ การเตรยี มป้องกนั และความสามารถในการจดั การเมอ่ื ภยั พบิ ัตมิ าถงึ เมื่อเกิดความสูญเสีย คนเราต้องการเวลาในการเยียวยาจิตใจตนเอง หากเรามีวิธีทำ�ใจอย่างถูกต้องจะช่วยให้เราจัดการกับความสูญเสียได้ ดขี ึน้ ฟ้ืนตัวไดร้ วดเร็วข้นึ อกี ท้งั ยังชว่ ยป้องกันปญั หาอ่ืน ๆ ท่อี าจเกดิ ตาม หากยังทำ�ใจไมไ่ ด้ ความสูญเสียที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันโดยไม่ทันเตรียมใจไว้ก่อน มกั จะยากท่ีจะทำ�ใจยอมรบั วิธปี อ้ งกันท่ีดี คอื การไมป่ ระมาท คดิ เสมอว่า สง่ิ ตา่ ง ๆ ทไ่ี ด้มา อาจต้องสูญเสยี ไปในวันใดวันหนึ่ง การเตรยี มใจเชน่ นีจ้ ะ ช่วยใหเ้ ราทำ�ใจไดด้ ขี ึ้นเมือ่ ตอ้ งพบกับความสญู เสยี จริง หากไม่เคยเตรียมใจมากอ่ น สิ่งท่จี ะช่วยใหเ้ ราทำ�ใจยอมรบั ได้ดี มดี ังนี้ ยอมรับสภาพการดำ�เนินชีวิตที่อาจมีข้อจำ�กัดและไม่สะดวกสบาย เหมอื นเดมิ พยายามด�ำ เนนิ ชวี ติ ใหใ้ กลเ้ คยี งปกตใิ หม้ ากทส่ี ดุ มองไปขา้ งหนา้ และบอกกับตัวเองว่ามนั จะผา่ นไป เราจะกลบั มามชี วี ิตท่ดี ขี นึ้ ได้ ค้นหาความสุขอย่างง่าย ๆ ที่มีอยู่รอบตัว อาจเป็นความผูกพันท่ีมีกับ คนรัก ลูกหลาน ญาติผู้ใหญ่ หรือสัตว์เลี้ยง การอยู่กับลมหายใจ อยู่กับ ธรรมชาติรอบตัว ไดอ้ ่านหนงั สอื ใหข้ ้อคดิ ดี ๆ “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 223 ฉบับนกั ส่อื สาร

อย่าคิดวนเวียนถึงสิ่งที่สูญเสียไปแล้ว หากรู้ตัวว่ากำ�ลังจมไปกับ ความคิดถึงสิ่งท่ีสูญเสีย ให้เตือนสติตัวเองและไม่ปล่อยให้ตัวเองอยู่กับ ความคิดน้นั เปลีย่ นอิริยาบถ ลุกขึ้นแล้วหาอะไรทำ� พดู คยุ กบั ผทู้ จ่ี ะชว่ ยใหก้ �ำ ลงั ใจ สรา้ งแรงบนั ดาลใจในการตอ่ สชู้ วี ติ ตอ่ ไป อาจเป็นคนรัก เพ่ือนบ้านผ้ใู หญท่ ่นี ับถอื พระสงฆ์หรอื ผ้นู �ำ ทางศาสนา ออกกำ�ลงั กายเป็นประจำ�สมา่ํ เสมอ เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน จัดเวลาช่วยเหลือผู้อื่น โดยเฉพาะ ผ้ทู ่ีขาดแคลนหรอื ดอ้ ยโอกาสกวา่ เรา  224 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบบั นักส่ือสาร

“การดแู ลจติ ใจเมอ่ื เกดิ ภยั พบิ ตั ”ิ ภยั พบิ ตั ิ คอื ภยั ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ โดย สง่ ผลกระทบตอ่ ภาวะเศรษฐกจิ และวถิ ชี วี ติ ของผคู้ นในสงั คมทงั้ ในระยะสน้ั และระยะยาว ภยั พบิ ตั แิ บง่ เปน็ 2 ประเภท คอื ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ และภยั พิบัตทิ ี่มนษุ ย์สรา้ งขึน้ เหตกุ ารณเ์ หลา่ นีก้ อ่ ใหเ้ กิดความสญู เสยี ซง่ึ ปฏิกิริยา ด้านจติ ใจท่ีอาจเกดิ ข้นึ เชน่ ต่นื เตน้ ตกใจ สงสาร เครียด วิตกกงั วล หรือ เศรา้ กลวั วา่ จะเกดิ ขนึ้ กบั ตนเอง เหลา่ นี้ เปน็ ปฏกิ ริ ยิ า “ปกต”ิ จากเหตกุ ารณ์ ภัยพิบัติ แล้วอาการจะค่อยหายไป แต่หากอาการยังคงมีอยู่หลัง 1 เดือน ไปแล้ว ถือว่ามีความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิตที่จะตามมา ประชาชนจึง จำ�เป็นต้องมีสตใิ ห้มาก แนวทางการดูแลจิตใจตนเองเบอ้ื งตน้ • ตั้งสติให้มั่นและนึกว่าเป็นช่วงเวลาแห่งความท้าทายของชีวิต ทำ�จติ ใจให้อยกู่ บั ปัจจบุ ัน รับรลู้ มหายใจ ก็จะช่วยต้งั สติได้ • ยอมรับและเผชิญความจริงเพื่อแก้ปัญหา คิดถึงการคลี่คลาย ปญั หาทีละขน้ั ตอนตามล�ำ ดบั ความจ�ำ เป็น ค�ำ นึงถึงความปลอดภัยของชีวติ เปน็ ส�ำ คัญ • พูดคุยกับคนที่ไว้วางใจ สมาชิกในครอบครัวหรือเพื่อนบ้าน เพ่ือ ปรับทุกข์ ที่จะช่วยระบายความเครยี ดได้ • ขอความชว่ ยเหลอื จากคนทร่ี กั คนทพ่ี รอ้ มรบั ฟงั เอาใจใส่ มเี ครอื ขา่ ย ร่วมกนั แกป้ ัญหาใหค้ วามชว่ ยเหลอื “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจติ ” 225 ฉบบั นักส่ือสาร

• รับประทานอาหาร นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ออกกำ�ลังกาย และหาวิธีผ่อนคลายความเครยี ดด้วยตนเอง • คนทเ่ี ครยี ดมักจะมอี าการนอนไม่หลบั หลับยาก หรือหลับแล้วต่นื กลางดึก ฝันรา้ ย จึงควรหลกี เลีย่ งการนอนกลางวนั เขา้ นอนเปน็ เวลา หาก ไม่ง่วง ให้หากิจกรรมบางอย่างทำ� เช่น อ่านหนังสือ เขียนหนังสือ หายใจ คลายเครียด นวดคลายเครียด ผ่อนคลายกล้ามเน้ือ นั่งสมาธิ ปฏิบัติตาม ค�ำ สอนทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ • ดูแลเด็กในบ้าน ให้ความใส่ใจ ให้มีส่วนร่วมในการเล่น ร่วมแก้ไข ปัญหา มีกจิ กรรมด้วยกนั • หลีกเลย่ี งการใช้สรุ า ยาเสพติด • หาโอกาสชว่ ยเหลอื คนอ่นื แสดงน้ําใจต่อคนท่ีเดือดรอ้ นมากกวา่ • หยุดพกั การรับร้ขู า่ วสารทีไ่ ม่จำ�เป็น • กรณีผปู้ ว่ ยจติ เวช ห้ามขาดยาเดด็ ขาด เพราะอาการอาจกำ�เริบได้ • ช่วยกันให้กำ�ลังใจบุคลากรผู้ปฏิบัติหน้าท่ี ตลอดจนให้กำ�ลังใจ ครอบครัวผู้บาดเจ็บหรือผู้สูญเสียให้พวกเขารู้สึกว่า ยังมีคนคอยห่วงใย และใหก้ �ำ ลังใจกับพวกเขา • ติดต่อหน่วยงานในพื้นที่ที่ทำ�หน้าที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัย ซ่ึงดูแล ผู้มีปัญหาทางจิตใจ • การเผยแพร่หรือแสดงความคิดเห็นต่างๆ ผ่านสังคมออนไลน์ ไมค่ วรซา้ํ เตมิ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ใหแ้ ยล่ งหรอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความรนุ แรงเพมิ่ มากขน้ึ เพราะจะย่ิงสร้างความรู้สึกที่ไม่ดี และก่อให้เกิดความเครียดในสังคม มากย่งิ ข้ึน • หากอาการต่างๆ ยังไม่ดีขึ้น เช่น นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ ใจสั่น ให้ปรึกษาหน่วยบริการสุขภาพในพื้นท่ีที่อยู่ใกล้ หรือ โทร.สายด่วน 1323 โทรฟรี ตลอด 24 ชัว่ โมง 226 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นกั สอ่ื สาร

แนวทางส�ำ หรับผ้ชู ว่ ยเหลอื ประชาชน 1. ทําให้ประชาชน รู้สึกปลอดภัย ต้ังแต่ การให้ข้อมูลข่าวสารอย่าง เหมาะสม การใหท้ ่ีพกั พิง รวมถึง การเข้าถึงความตอ้ งการพนื้ ฐานต่างๆ 2. ทาํ ใหร้ สู้ กึ สงบ ผอ่ นคลาย ไดแ้ ก่ การรบั ฟงั อยา่ งเขา้ ใจ การใหข้ อ้ มลู การให้คาํ ปรกึ ษาเบ้ืองต้น ตลอดจนการคลายเครียดตา่ งๆ 3. ช่วยเหลือ จัดการ ให้มีการติดต่อส่ือสารกันอย่างสมํ่าเสมอ โดยเฉพาะครอบครัว 4. สร้างความหวังท่ีเป็นไปได้ เช่น การประสานงานให้ได้รับการ ชว่ ยเหลอื ตา่ งๆจากภาครฐั และอนื่ ๆ การใหข้ อ้ มลู การชว่ ยเหลอื การตดิ ตาม คนที่สูญหาย การจัดหางาน การฝกึ อาชพี รวมถึงการชว่ ยเหลอื ในการกลับ ไปสู่ภาวะปกติ 5. สง่ เสรมิ กระตนุ้ บุคคล หรือชมุ ชน ในการใช้ศักยภาพทม่ี อี ย่ใู นการ แก้ไขปัญหา ฟ้นื ฟู และชว่ ยเหลอื กนั และกัน  “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจติ ” 227 ฉบบั นกั สือ่ สาร

“การจัดการกับภาพฝังใจ” ภัยพิบัติ เชน่ น้าํ ท่วม ดนิ ถลม่ อาจท�ำ ให้ผูป้ ระสบภัยต่ืนตระหนกและ หวาดกลวั อยา่ งรุนแรง เกิดภาพฝังใจจากเหตุการณท์ ่ีเปน็ อันตราย คกุ คาม ชวี ติ และความปลอดภยั เช่น ภาพนา้ํ ไหลบา่ เข้าทว่ มบ้านอยา่ งรวดเรว็ ภาพฝังใจเหล่าน้ี อาจแว่บเข้ามาในหัวซ้ําๆ ยากที่จะหยุดคิด หรืออาจ เป็นฝันร้ายซํ้าๆ ท�ำ ใหย้ ่ิงรู้สกึ เครยี ด ตนื่ กลัว ท้ังทเ่ี หตกุ ารณ์ได้ผ่านไปแลว้ ผู้ประสบภัยจะพยายามหลีกเลี่ยงส่ิงที่อาจกระตุ้นให้ภาพเหล่านี้กลับเข้ามา ในใจ หลีกเลี่ยงทจี่ ะพูดถงึ เหตกุ ารณ์ บางคนกลวั วา่ ตวั เองจะเป็นบา้ โดยทว่ั ไป ภาพฝงั ใจจะคอ่ ยๆ จางหายไปตามเวลา ใชเ้ วลาไม่เกิน 2-4 สัปดาห์ ในระหว่างนี้ เราสามารถจดั การกับภาพฝังใจได้ ด้วยวธิ ตี อ่ ไปนี้ 1. ยอมรบั วา่ ภาพฝังใจเปน็ ปฏกิ ิริยาทางจติ ใจทเ่ี กดิ ขึน้ ได้ อาจเปน็ มาก ในระยะแรก และจะคอ่ ยๆ ลดนอ้ ยลงเมอ่ื เวลาผา่ นไป 2. หาวธิ ผี อ่ นคลายตวั เองอยา่ งงา่ ยๆ เชน่ หายใจเขา้ ลกึ ๆ ออกยาวๆ ก�ำ มอื ใหแ้ นน่ แลว้ คอ่ ยๆ คลายมอื ออก บอกกบั ตวั เองวา่ เดยี๋ วความรสู้ กึ นก้ี ผ็ า่ นไป หรือ เปลยี่ นอริ ิยาบถ ทำ�กิจกรรมต่างๆ ทีช่ ว่ ยเบีย่ งเบนความสนใจ 3. น่ังในท่าท่ีสบาย หลับตาลง แล้วใช้ประสาทสัมผัสรับรู้ถึงส่ิงต่างๆ ท่ีอยู่รอบตัว เช่น รับรู้ถึงเสียงท่ีอยู่รอบตัว รับรู้ถึงความรู้สึกที่ปลายเท้า ท่สี มั ผสั พน้ื รบั รถู้ ึงความรสู้ ึกรอ้ นเยน็ ของอากาศจดจ่อกบั ความร้สู ึกเหล่าน้ี ดงึ ตวั เองกลบั มาอยกู่ ับปัจจบุ นั บอกตวั เองวา่ ขณะนี้ เราปลอดภัยแล้ว ไม่มี ส่ิงใดมาคกุ คาม มแี ต่ ตัวเรากับใจเรา 4. จินตนาการถึงสถานท่ที ่ใี หค้ วามรู้สกึ สงบ ปลอดภัย อาจเป็นสถานท่ี จรงิ ทเี่ คยไปมาแลว้ เชน่ วดั สถานทธี่ รรมชาติ หรอื เปน็ สถานทใ่ี นจนิ ตนาการ ใหอ้ ยู่กับความรูส้ กึ สงบ ปลอดภัย ในจินตนาการนน้ั จนรู้สกึ ดีขน้ึ 5. พูดคยุ แบง่ ปนั ประสบการณ์กับคนรอบขา้ ง อาจพบว่า มีคนทีร่ ู้สึก คลา้ ยกับเรา แลกเปลี่ยนวิธจี ัดการภาพฝงั ใจกนั  228 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนกั ส่ือสาร

“3ส. ดูแลใจกนั และกัน” สถานการณ์น้ําท่วม ย่อมส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจผู้ประสบภัย กระทรวงสาธารณสุขได้มอบหมายให้กรมสุขภาพจิตดูแลเยียวยาจิตใจผู้ ประสบภัยร่วมกับทีมแพทย์ฝ่ายกายอย่างทันท่วงที โดยกรมสุขภาพจิตได้ จัดทมี ชว่ ยเหลอื เยยี วยาจติ ใจผูป้ ระสบภาวะวิกฤต หรอื ทีม MCATT สงั กัด กรมสขุ ภาพจิต ท�ำ งานรว่ มกบั ทีม MCATT ในพืน้ ที่ เพื่อประเมนิ ผลกระทบ รวมทงั้ ดแู ลชว่ ยเหลอื และฟนื้ ฟจู ติ ใจผปู้ ระสบภยั ในกลมุ่ เปา้ หมายหลกั ไดแ้ ก่ ผู้ท่ีมีประวัติการรักษาโรคทางจิตเวช ใช้สารเสพติด ผู้สูญเสียบุคคลอันเป็น ทรี่ กั และทรพั ยส์ นิ อยา่ งมาก ผปู้ ว่ ยโรคเรอื้ รงั ผพู้ กิ าร ผสู้ งู อายุ และเดก็ กลมุ่ ผทู้ ตี่ อ้ งการบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพจติ ตลอดจนชว่ ยเหลอื เยยี วยาจติ ใจครอบครวั ผ้เู สียชีวิต และผู้สญู หายทกุ ราย ปฏกิ ิริยาทางด้านจิตใจของผูป้ ระสบภัย จะมกี ารแสดงออกทีแ่ ตกตา่ ง กนั ไป ตามระยะของการเกดิ ภยั ขอใหพ้ งึ ระลกึ เสมอวา่ เปน็ เรอ่ื งปกตธิ รรมดา ท่ีจะเกิดอาการต่างๆ เหลา่ นไี้ ด้ ดา้ นอารมณ์ เชน่ ชอ็ ค โกรธ สน้ิ หวงั หวาดกลวั เศรา้ โศก เสยี ใจ หงดุ หงดิ ด้านความคิด เช่น ไม่มีสมาธิ ความจำ�ไม่ดี สับสน ตำ�หนิตัวเอง วติ กกังวล ดา้ นร่างกาย เช่น ปวดศีรษะ ปวดต้นคอ ท้ายทอย ใจสน่ั นอนไม่หลับ ต่ืนเตน้ ตกใจง่าย “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” 229 ฉบับนกั ส่ือสาร

ดา้ นความสมั พันธก์ ับผู้อ่ืน เชน่ แยกตวั ขดั แยง้ กับคนใกล้ชดิ เปน็ ตน้ เหล่าน้ี ถือเป็นการตอบสนองตามปกติท่ีเกิดข้ึนและจะค่อยๆ ลดลง จนหายไปเม่ือเวลาผา่ นไป ซ่ึงแต่ละคนจะมีระดับความเครียดแตกต่างกัน ออกไป ขึ้นอยู่กับต้นทุนชีวิตเดิมหรือบุคลิกภาพเดิมเป็นอย่างไร และเป็น คนท่ีสามารถปรบั ตัวได้มากน้อยเพยี งใด หากเดิมเป็นคนไมค่ อ่ ยเครยี ดและ ปรบั ตวั ไดง้ า่ ยกม็ กั จะไมเ่ กดิ ภาวะเครยี ดรนุ แรง รวมทง้ั สภาพความเสยี หาย ท่ีเกิดข้ึน และการเตรียมตัวในการป้องกัน ท่ีหากมีการเตรียมตัวป้องกันดี เกดิ ความเสียหายน้อย ความเครียดก็จะนอ้ ยตามไปด้วย การดแู ลในระยะแรก จงึ เนน้ ไปทกี่ ารจดั บรกิ ารภายใตภ้ าวะวกิ ฤตฉิ กุ เฉนิ โดยจัดบริการปฐมพยาบาลด้านจิตใจ ตรวจ คัดกรองประเมินปัญหา สุขภาพจิต ให้การปรึกษาเพ่ือลดภาวะความเครียด การฝึกผ่อนคลาย ความเครยี ดดว้ ยตนเอง เชน่ การนวดคลายเครยี ด การฝกึ ลมหายใจ ใหก้ �ำ ลงั ใจ สร้างแรงใจให้สามารถดำ�เนินชีวิตต่อไปได้ หากพบผู้ประสบภัยมีความ เครียดสงู มีภาวะซมึ เศร้า เสีย่ งตอ่ การฆา่ ตวั ตาย สังเกตไดจ้ ากเดมิ เคยเปน็ คนรา่ เริง เปลีย่ นเปน็ ซึมเศรา้ บ่นทอ้ แท้ หดหู่ใจ หรือบน่ ถึงความตายบ่อยๆ จะรบี เขา้ ไปชว่ ยเหลือ พดู คุย ให้ก�ำ ลังใจ ช่วยลดความเครยี ดลง ส�ำ หรบั รายทม่ี ีอาการนอนไม่หลับอยา่ งรนุ แรง ทอ้ แท้ หรอื เครียดมากๆ จนถงึ ขน้ั กระสบั กระสา่ ย ไมม่ สี มาธิ อาจตอ้ งใหย้ าคลายความเศรา้ หรอื ยาค ลายความเครยี ดท่ีจะท�ำ ใหก้ ารนอนหลบั ดีขนึ้ ร่วมดว้ ย โดยจะมกี ารตดิ ตาม อย่างใกลช้ ดิ และตอ่ เน่อื งต่อไปเปน็ ระยะเวลา 3 เดือน เพ่ือป้องกนั การเกิด ปญั หาสขุ ภาพจติ ทร่ี นุ แรงในระยะยาว และเกดิ โรคทางจติ เวช เชน่ โรคภาวะ เครยี ดหลงั เหตกุ ารณ์รุนแรง (PTSD) 230 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” ฉบับนักสือ่ สาร

ทุกคนสามารถช่วยดูแลจิตใจกันได้ ด้วยหลัก 3ส. “สอดส่องมองหา ใส่ใจรบั ฟงั สง่ ตอ่ เชือ่ มโยง” สอดสอ่ งมองหา โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมของคนรอบขา้ งและคนใกลช้ ดิ เช่น เหม่อลอย ปลกี ตวั จากผอู้ ืน่ ไม่สดใสร่าเรงิ เหมอื นเมือ่ กอ่ น ใสใ่ จรับฟงั ให้เขาระบายความในใจออกมา อาจส่ือสารดว้ ยภาษากาย การสมั ผัส โอบกอบ หากพฤติกรรมยังไมด่ ีข้นึ ก็ควร ส่งต่อเชื่อมโยง ไปยังผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญหรือหน่วยงานท่ี เกี่ยวขอ้ ง เพอื่ ฟื้นฟสู ภาพจิตใจ และรับการช่วยเหลืออยา่ งถูกวิธี  “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” 231 ฉบบั นักส่อื สาร



“สุขภาพจติ เด็กในภาวะนาํ้ ทว่ ม” ท่ามกลางสถานการณ์น้ําท่วมที่เกิดขึ้น เด็กๆ อาจได้รับผลกระทบ ทางจิตใจไปด้วย อันเน่ืองจากการที่ได้เห็นและรับรู้ความทุกข์ความกังวล ของผ้ใู หญ่และคนในครอบครัว ซง่ึ เดก็ ๆ อาจสญู เสียสตั ว์เลยี้ ง หรอื ของเลน่ ทต่ี นรกั ชวี ติ ประจ�ำ วนั ตามปกตติ อ้ งสะดดุ ลง เชน่ โรงเรยี นตอ้ งปดิ ตอ้ งอพยพ ย้ายทีอ่ ยู่ เปน็ ตน้ รวมไปถึงการท่เี ห็นคนในครอบครัวและคนท่รี ูจ้ กั บาดเจ็บ หรอื เสียชวี ิตในพ้ืนทท่ี ่เี กิดสถานการณร์ นุ แรงได้ การปอ้ งกนั ปญั หาสขุ ภาพจติ ทด่ี ที สี่ ดุ ในภาวะเชน่ นี้ คอื การเตรยี มพรอ้ ม รบั มอื ซงึ่ เดก็ จะเปน็ ปกตสิ ขุ ได้ หากพอ่ แมผ่ ปู้ กครองสามารถปรบั ตวั จดั การ กับปัญหาได้ท้ังระหว่างเกิดภัยน้ําท่วมและในภายหลัง เด็กๆ มักต้องการ พึง่ พาในเร่ืองข้อมลู ท่วั ไป คำ�ปลอบโยนและความชว่ ยเหลือ ปฏิกิริยาท่ีเกิดขึ้นของเด็กแต่ละวัยอาจตอบสนองต่อภาวะน้ําท่วมและ ผลที่ตามมาแตกต่างกันไปตามระดับอายุ พัฒนาการ และประสบการณ์ ทีเ่ คยมมี ากอ่ น พอ่ แม่จงึ ควรรบั ร้แู ละสัมผัสไดถ้ งึ การเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดขน้ึ ปฏิกิริยาทีอ่ าจพบในเด็ก เชน่ กลัว หวาดหวัน่ เรื่องความปลอดภยั ของ ตนและคนอ่ืนๆ รวมทั้งของสัตว์เล้ียง กลัวการแยกจากคนในครอบครัว มีพฤติกรรมติดผู้ใหญ่ พ่อแม่ พนี่ อ้ ง อยไู่ ม่นิ่งเพมิ่ ขึ้น สมาธแิ ละความต้ังใจ ลดลง ถดถอย หลีกหนีผู้อน่ื โกรธ หงดุ หงดิ ง่าย ลงมอื ลงเทา้ แสดงอารมณ์ ก้าวร้าวกับพ่อแม่ พี่น้อง เพื่อน บ่นเจ็บป่วยไม่สบาย ปวดท้อง ปวดหัว พฤตกิ รรมการเรยี นเปล่ียนไป เชน่ ไม่สนใจเรยี น เพง่ ความสนใจอยู่กบั เรือ่ ง นาํ้ ทว่ ม เชน่ พดู ถงึ ซาํ้ ๆ แสดงเนอ้ื หาเรอ่ื งนาํ้ ทว่ มในการเลน่ ไวตอ่ สงิ่ เตอื นใจ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 233 ฉบบั นักสือ่ สาร

ท่ที �ำ ใหน้ กึ ถึงน้าํ ท่วม มีปัญหาการกนิ การนอน ขาดความสนใจในกจิ กรรมที่ เคยชอบ พฤติกรรมถดถอย เช่น กลับมาปสั สาวะรดท่นี อน เป็นต้น เดก็ วยั รนุ่ อาจแสดงออกแตกตา่ งไปจากเดก็ ทเี่ ลก็ กวา่ มกั รสู้ กึ วา่ อนาคต เปน็ เรอ่ื งไมแ่ นน่ อนและแสดงพฤตกิ รรม เชน่ ถดถอยทางสงั คม เกบ็ ตวั โกรธ หงดุ หงดิ ไดง้ า่ ย โตเ้ ถยี ง ขดั แยง้ กบั ผใู้ หญ่ ท�ำ พฤตกิ รรมเสยี่ งทอ่ี าจกอ่ อนั ตราย เพิม่ ขน้ึ และอาจใชเ้ หลา้ หรอื ยา เปน็ ตน้ ขอ้ แนะน�ำ  พ่อแม่ผู้ปกครองควรให้เวลาเพื่อพูดคุยกับพวกเขา ทำ�ให้พวกเขา รู้ว่าเขาสามารถพูดคุยซักถามและแบ่งปันความกังวลใจที่มีได้ โดยมีผู้ใหญ่ ยินดรี ับฟงั  ควรเปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ รบั รวู้ า่ ก�ำ ลงั เกดิ อะไรขนึ้ กบั ครอบครวั หรอื กบั โรงเรยี นของเขา หรอื กบั ชมุ ชนทอ่ี ยู่ และอยา่ ลมื ถามความรสู้ กึ ความคดิ เหน็ ของเขาบ้าง  ในกรณีท่ีเด็กๆ อาจยกเร่ืองต่างๆ ที่เขากังวลสงสัยข้ึนมาถามซ้ําๆ ผใู้ หญก่ ็ไมค่ วรกงั วลใจหรอื เบ่ือท่จี ะตอบ  ในเดก็ เลก็ หลงั จากคุยกนั แลว้ อาจเลา่ นิทาน หรือเรอ่ื งราวสนุกๆ ใหเ้ ขาฟัง หรอื ทำ�กิจกรรมสบายๆ ผ่อนคลายรว่ มกนั ในครอบครวั เพือ่ ทำ�ให้ เดก็ รสู้ ึกปลอดภัย ผอ่ นคลายและใจสงบได้  พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง เปน็ แบบอยา่ งของการปรบั ตวั ในทางทดี่ ี มอี ารมณ์ สงบมน่ั คง เพอ่ื ใหเ้ ดก็ เรยี นรวู้ ธิ จี ดั การกบั ปญั หาทเ่ี หมาะสม ระมดั ระวงั ค�ำ พดู ของผใู้ หญใ่ นเรอื่ งวกิ ฤตทเ่ี กดิ ขนึ้ เพราะเดก็ อาจรบั รแู้ ละแปลความอยา่ งผดิ ๆ จนเกิดเปน็ ความหวาดกลัว  ดูแลและจำ�กัดการรับรู้จากส่ือและข่าวสาร โดยเฉพาะข่าวท่ีแพร่ ซา้ํ ๆ หรือแสดงภาพที่นา่ หวาดกลัว 234 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบบั นกั สื่อสาร

 ให้ความมั่นใจกบั เดก็ ว่า ผู้ใหญ่สามารถช่วยกนั ดูแลใหเ้ ขาปลอดภัย โดยผู้ใหญอ่ าจตอ้ งบอกซํา้ หลายๆ ครัง้ แมว้ า่ เหตกุ ารณ์ผ่านไปแลว้  แสดงออกความรกั ดว้ ยการกอด เลน่ และใชเ้ วลารว่ มกนั ดว้ ยความสขุ  หากเดก็ แสดงความกงั วลสงสยั วา่ เพอื่ นของเขาปลอดภยั ดหี รอื เปลา่ พอ่ แม่กค็ วรให้ความมัน่ ใจกบั เขาอย่างเหมาะสม  ดแู ลใสใ่ จเรอ่ื งสขุ ภาพ อาหาร การพกั ผอ่ นนอนหลบั ของเดก็ ใหเ้ ปน็ ไปตามกิจวัตร  ตกั เตอื นให้เดก็ ระมัดระวงั เรอื่ งความปลอดภยั ในภาวะนา้ํ ท่วม  ดแู ลรกั ษาเรอ่ื งระเบยี บวนิ ยั กฎเกณฑต์ า่ งๆ ในครอบครวั ใหเ้ ปน็ ไป ตามปกติ  สนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ มสี ว่ นชว่ ยในงานตา่ งๆ เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ความเบอื่ หนา่ ย ทตี่ อ้ งอยเู่ ฉยๆ โดยเฉพาะเดก็ วยั รนุ่ ควรสนบั สนนุ ใหเ้ ขามสี ว่ นชว่ ยในงานของ ชมุ ชน งานจติ อาสา เปน็ ต้น ในยามทค่ี รอบครวั ตอ้ งเผชญิ เหตกุ ารณว์ นุ่ วายจากภาวะวกิ ฤต หลายคน มกั ลมื ดแู ลตวั เอง ผใู้ หญจ่ งึ ควรตระหนกั วา่ เราจะดแู ลเดก็ ไดด้ ี กต็ อ่ เมอ่ื ดแู ล ตนเองไดแ้ ลว้ เสียกอ่ น หากพบวา่ ตวั เองหรอื คนในครอบครวั เรมิ่ หงดุ หงดิ โตเ้ ถยี งกนั หรอื ชวน ทะเลาะมากข้ึน นั่นเป็นสัญญาณบอกว่า มีความตึงเครียดสูง จึงควรช่วย กนั หาทางออก ดแู ลจติ ใจและอารมณข์ องกันและกัน หรือปรกึ ษาบุคลากร สขุ ภาพจติ หรือโทรปรึกษาสายด่วนสุขภาพจิต 1323 ไดต้ ลอด 24 ชัว่ โมง แมภ้ ยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาตเิ ปน็ เรอ่ื งทปี่ อ้ งกนั ไดย้ ากกต็ าม และแมว้ า่ ทกุ คน จะพยายามชว่ ยกนั แลว้ กย็ งั หลกี เลยี่ งความเสยี หายไมไ่ ด้ แตป่ ญั หาสขุ ภาพจติ ในครอบครัวท่ีอาจตามมาเป็นเรื่องที่ป้องกันได้ ถ้าทุกคนในครอบครัว มคี วามรักและดูแลช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกัน  “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจติ ” 235 ฉบบั นักส่อื สาร

“การดูแลผู้สงู อายุหลังน้ำ�ลด” ชว่ งนา้ํ ขนึ้ และนาํ้ ทว่ มขงั เราไดย้ นิ เสมอวา่ ผสู้ งู อายไุ มย่ อมออกจากบา้ น ท�ำ ใหล้ ูกหลานลำ�บากใจ บางครอบครัวถงึ กับทะเลาะกัน ท้งั ทีต่ ่างฝา่ ยตา่ ง รกั และหว่ งใยกนั เมอื่ นาํ้ ลด การดแู ลผสู้ งู อายยุ งั คงมแี งม่ มุ ทน่ี า่ รู้ เพอ่ื ชว่ ยให้ ทุกคนในบ้านมีความสขุ กายสบายใจ ผสู้ ูงอายุมีธรรมชาติทค่ี วรเข้าใจ ท่านคุ้นเคยกับการอยู่กับบา้ น มีความ ผูกพันกับข้าวของเคร่ืองใช้ มักมีโรคประจำ�ตัวหรือข้อจำ�กัดทางร่างกาย สมองมีความสามารถในการปรับตัวและเรียนรู้สิ่งใหม่ลดลง ร่างกาย เสยี สมดลุ ไดง้ า่ ย หากอดนอน ดม่ื นา้ํ ไมพ่ อ ทอ้ งผกู หรอื เครยี ด กอ็ าจกระตนุ้ ใหเ้ จบ็ ป่วย เนอื่ งจากการแกป้ ญั หาหลงั นาํ้ ลดเปน็ เรอ่ื งทต่ี อ้ งใชเ้ วลานาน จงึ อาจเกดิ ความเครียดเรื้อรังขึ้นภายในบ้าน ปัจจัยที่จะเพ่ิมแรงกดดันต่อครอบครัว ไดแ้ ก่ การตอ้ งเรง่ หาเงนิ มาใชจ้ า่ ย ไมม่ เี งนิ เกบ็ ส�ำ รอง มหี นส้ี นิ มผี ปู้ ว่ ยเรอ้ื รงั หรอื ผพู้ กิ าร ขาดแหลง่ ชว่ ยเหลอื นอกจากนี้ ผสู้ งู อายอุ าจผกู พนั กบั ทรพั ยส์ นิ ท่ีเสียหายเป็นพิเศษ จึงรับผลกระทบทางใจจากความสูญเสียมากยิ่งขึ้น การดแู ลผู้สูงอายุให้ดี มีหลกั สำ�คญั ดงั น้ี ตระหนักว่า บรรยากาศภายในบ้านส่งผลต่อความรู้สึกของสมาชิก ทุกคนจึงมีหน้าที่ต้องดูแลใจตัวเองให้ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คนวัยทำ�งาน ซึ่งเป็นกำ�ลังหลักของบ้าน ควรทำ�ใจยอมรับความสูญเสียที่เกิดขึ้น มีความหวงั และค้นหาความสขุ ในแต่ละวันเพือ่ หลอ่ เล้ียงจติ ใจตน แบง่ ปนั ความสขุ นั้นใหแ้ กก่ นั 236 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจิต” ฉบับนักส่ือสาร

ใส่ใจกิจวัตรประจำ�วันของผู้สูงอายุ เช่น รับประทานอาหารท่ีมีคุณค่า ยอ่ ยงา่ ย นอนหลับพักผ่อนอยา่ งเพียงพอ ขับถา่ ยเปน็ ประจำ� ออกก�ำ ลงั กาย สม่ําเสมอ มงี านอดิเรกทสี่ ร้างความเพลิดเพลินใจ เมื่อลูกหลานกลับถึงบ้าน ควรแวะไปทักทายและพูดคุยด้วย ส่งมอบ ความรกั ดว้ ยสมั ผสั เชน่ จบั แขน บบี นวดงา่ ยๆ โดยไมต่ อ้ งรอใหท้ า่ นเปน็ ฝา่ ย มาสอบถาม สนบั สนนุ ใหผ้ สู้ งู อายไุ ดท้ �ำ กจิ กรรมทส่ี นใจ เชน่ ท�ำ บญุ ฟงั ธรรม รว่ มกจิ กรรมในชมุ ชน จะชว่ ยใหท้ า่ นมชี วี ติ ชวี า รสู้ กึ มคี ณุ คา่ และมสี ขุ ภาพดี หากผู้สูงอายุมีโรคประจำ�ตัว ควรดูแลให้ปฏิบัติตามแผนการรักษา ของแพทย์ รวมถงึ การไปพบแพทยต์ ามนัดหมาย  “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 237 ฉบับนักส่ือสาร

“การดบั ความโกรธ อยา่ งสรา้ งสรรคห์ ลังนา้ํ ลด” เหตกุ ารณน์ า้ํ ทว่ มใหญแ่ ตล่ ะครงั้ นอกจากจะท�ำ ใหผ้ ปู้ ระสบภยั รสู้ กึ เครยี ด วิตกกงั วล หรือเศรา้ เสียใจจากความสูญเสยี แล้ว ยงั อาจกระตนุ้ ให้ร้สู กึ โกรธ ข้นึ ได้ หลายคนไม่ได้อยากโกรธ แต่กห็ ยุดความโกรธของตวั เองไม่ได้ ผปู้ ระสบภยั อาจโกรธตวั เอง ทช่ี ว่ ยเหลอื ตวั เองและครอบครวั ไมไ่ ด้ โกรธ คนในบา้ นทคี่ ดิ ตา่ งกนั จนทะเลาะเบาะแวง้ กนั โกรธหนว่ ยงานทใี่ หค้ วามชว่ ย เหลอื ไม่ทัว่ ถงึ ชว่ ยไม่ตรงกับปญั หา หรือไมท่ ันเวลา หลายคนอาจมวี ธิ แี สดงความโกรธทที่ �ำ ใหป้ ญั หายงุ่ ยากขนึ้ เชน่ โทษผอู้ นื่ ตะโกนดา่ ทอ ตอ่ ว่า พูดทบั ถมกัน ยง่ิ แสดงออกก็ยงิ่ โกรธมากย่ิงขึน้ การร้จู ักดับความโกรธอย่างสรา้ งสรรค์ มีหลักส�ำ คญั ดงั นี้ 1. ผอ่ นคลาย ดว้ ยการหายใจเข้าออกลึกๆ อาจนับเลขช้าๆ 1-10 หรอื 1-30 เพอื่ ชว่ ยดงึ สติกลับคืนมา 2. เตือนสติตัวเอง ด้วยการพูดบอกกับตัวเอง ให้มองเรื่องท่ีเกิดขึ้นได้ รอบดา้ นมากขึ้น เชน่  เรอื่ งมนั ผา่ นไปแลว้ เรากป็ ลอ่ ยใหม้ นั ผา่ นไป ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งไปยงุ่ กบั มันอกี  คนเหล่าน้ัน ทำ�ในส่ิงท่ีเขาคิดได้ และเขาก็ทำ�ได้เพียงแค่นั้น อาจไมต่ รงกับใจของเรา  ไม่มีอะไรสำ�คัญไปกว่าความรักความเข้าใจกัน ภายในบ้าน เถียงกนั ไปกไ็ มเ่ กิดประโยชน์ 238 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” ฉบับนกั สอื่ สาร

3. เบี่ยงเบนความสนใจ ด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น ออกกำ�ลังกาย เดิน เลน่ เลน่ กฬี า ให้เวลาช่วยใหอ้ ารมณ์สงบลง 4. พูดคุยกบั คนไวใ้ จ เพื่อชว่ ยเรียบเรยี งความคิด มองอะไรได้รอบดา้ น มากข้นึ 5. ทำ�ความเข้าใจกับความโกรธของตัวเองให้มากยิ่งขึ้น สังเกตดูว่า เหตุการณ์ประเภทใด คนลักษณะใด คำ�พูดแบบไหน ท่ีกระตุ้นให้เราโกรธ และเราจะมีวิธีดูแลใจและจัดการความโกรธให้ดีขึ้นได้อย่างไร โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ จะมวี ธิ ใี ดในการปอ้ งกนั มใิ หค้ วามโกรธพงุ่ ขน้ึ จนไมส่ ามารถควบคมุ ตวั เองได้ จะหยดุ ตวั เองก่อนจะคุมอารมณไ์ มอ่ ยไู่ ดอ้ ยา่ งไร การดับความโกรธท่ีดี จะช่วยเราพบกับความสงบสุขทางใจ ช่วยให้เรา ก้าวเดินตอ่ ไปได้ดยี ิง่ ขนึ้  “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” 239 ฉบับนักสอ่ื สาร

“เหลา้ -ยา ไม่ใชท่ างออก แก้เครยี ดน้ําทว่ ม” ช่วงนํ้าท่วม ปฏิเสธไม่ได้ว่า ยังมีประชาชนส่วนหนึ่งท่ีใช้การดื่มเหล้า เพอ่ื ยอ้ มใจ ลดความเครยี ด นอนไมห่ ลบั หรอื เศรา้ มาก ซง่ึ ถอื เปน็ การจดั การ ความเครยี ดในเชงิ ลบ พน่ี อ้ งผปู้ ระสบภยั ทเี่ ขา้ ขา่ ยใชก้ ารดม่ื เหลา้ -เบยี ร์ ของ มึนเมา เพ่ือชว่ ยคลายทุกขค์ ลายวติ กกังวลนั้น ยอ่ มมีความเสย่ี งต่อสุขภาพ และชีวิตได้ หากเครียดมาก ขอให้พบบุคลากรด้านสุขภาพจิต หรือแพทย์ เพ่ือประเมินอาการ และให้การดูแลจิตใจอย่างถูกต้องเหมาะสม ป้องกัน ไมใ่ หเ้ กดิ อาการรนุ แรงจนกลายเปน็ โรคซมึ เศรา้ และเสย่ี งตอ่ การฆา่ ตวั ตายได้ แนวทางจดั การความเครยี ด  หายใจเข้าออกช้าๆ 2-3 นาที เพ่ือทำ�ให้ออกซิเจนเข้าสู่สมอง แลว้ ความเครยี ดจะลดลง  นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ จะช่วยทำ�ให้เกิดการตัดสินใจที่ดีขึ้น หากตอ้ งตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ วสารใหผ้ ลัดเปลย่ี นหมุนเวยี นกัน  การยดื เหยยี ดในทา่ ทผี่ ่อนคลายจะชว่ ยใหก้ ารนอนหลับได้ดขี ้ึน  ความเครียด ท�ำ ใหเ้ รารับฟังกนั น้อยลงจงึ ตอ้ งดูแลตวั เองดว้ ย  แปลงความกังวลเป็นการลงมือทำ� รวมพลังครอบครัวและชุมชน รับกบั สถานการณว์ ิกฤตที่เกดิ ข้นึ  ไม่ด่า ไม่ว่า ไม่ทับถม อย่าให้ความหวังดีเป็นความขัดแย้งและ ท�ำ รา้ ยกัน 240 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” ฉบับนักสอ่ื สาร

 ความกังวลใจจะลดลงได้ หากได้ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน  อย่าลืมเวลาเลน่ เล่านทิ านกบั ลกู เพราะวา่ เดก็ ก็เครยี ดเปน็  ใสใ่ จคนรอบข้าง ทำ�ใหเ้ ราทกุ ข์น้อยลง  แบง่ เวลาทำ�สมาธิ สวดมนตไ์ หว้พระ สร้างความสงบให้จิตใจ ส�ำ หรบั ผูด้ ่มื เหลา้ หรอื เคร่ืองดมื่ แอลกอฮอลเ์ ปน็ ประจ�ำ นัน้ ท่พี อนํ้าทว่ ม แล้ว ไม่สามารถหาดม่ื ได้ ท�ำ ใหต้ ้องหยดุ ด่ืม อาจทำ�ใหเ้ กดิ อาการขาดเหล้า หรอื “ภาวะถอน” ได้ จะเริม่ มีอาการประมาณ 1 วัน หลงั จากหยุดดม่ื สภาวะจิตใจขณะขาด เหล้าท่สี งั เกตได้ตงั้ แต่แรกเริม่ คอื กระวนกระวายใจ กงั วลใจ เร่าร้อน อยไู่ ม่ เป็นสขุ เดนิ เพล่นพลา่ น เหงื่อไหล หวั ใจเต้นเร็ว คล่ืนไส้ อาเจยี น สับสน เมื่อหยุดได้วันท่ี 2-3 จะเริ่มมีอาการทางกายชัดเจนข้ึนต่อเนื่องจน ครบ 7 วัน และอาจเป็นหนักมากอย่างที่เรียกกันว่า “อาการลงแดง” ความดนั โลหติ สูง ชีพจรเต้นเร็ว มอื ส่ัน ตัวสัน่ คล่ืนไส้ อาเจียน สบั สน เหง่อื ไหลโชก หรือ หนาวสั่น ขนลุก มา่ นตาขยาย มไี ขข้ น้ึ ประสาทหลอน หแู วว่ หลงผิด เห็นภาพหลอน เพ้อ โวยวาย ถึงขั้นคลุ้มคลั่งทำ�ร้ายตัวเอง และ ทำ�รา้ ยคนอน่ื ได้ ท่สี ำ�คัญ คือ อาจมอี าการชักเกร็ง หมดสติ ถงึ ข้ันเสียชวี ิตได้ ควรขอความชว่ ยเหลอื ในทนั ที เชน่ ถา้ อยศู่ นู ยพ์ กั พงิ ควรแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ ศนู ยไ์ ดร้ บั รู้เพอื่ ทีจ่ ะไดห้ าทางช่วยเหลอื ต่อไป  “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” 241 ฉบับนักส่อื สาร

สขุ ภาพจติ ท่ามกลาง ความสูญเสียของมหาชน การดูแลสขุ ภาพจติ ของประชาชน การสูญเสียนำ�มาซ่ึงความทุกข์ใจของประชาชนโดยเฉพาะอย่างย่ิง ในยุคท่ีการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างกว้างขวาง รวมท้ังการรับรู้ผ่าน สอื่ ออนไลนท์ งั้ หลาย แตก่ เ็ ปน็ โอกาสในการทจ่ี ะสรา้ งความเชอื่ มโยงของคน ทั้งสงั คมทจ่ี ะรว่ มกนั เปน็ หน่งึ ในการไว้อาลยั ร่วมสบื ทอดปณิธาน บทเรียนจากนานาชาติ : สิง่ ทีพ่ งึ ทำ� บทเรียนจากนานาชาติ : สง่ิ ท่พี งึ ทำ� 1. ช่วยให้ประชาชนมีโอกาสได้แสดงออกให้มากที่สุดผ่านพิธีกรรม ทัง้ ของรัฐ ทุกศาสนาและชุมชนท้องถิ่น เช่น กจิ กรรมไวอ้ าลัย สวดมนต์และ พธิ ีกรรมของแต่ละศาสนา 2. สง่ เสรมิ ใหบ้ คุ คลแสดงความรสู้ กึ สว่ นตวั ทม่ี ตี อ่ พระประมขุ หรอื บคุ คล ส�ำ คัญได้ เชน่ การเขยี นความร้สู กึ การเล่าเรือ่ งความประทับใจ 3. มีส่วนร่วมในการทำ�ส่ิงที่ดีงามให้กับพระประมุขหรือบุคคลสำ�คัญ เช่น การบริจาค กิจกรรมจติ อาสา 4. ช่วยกนั ดแู ล คนใกลช้ ดิ ที่อาจจะได้รับผลกระทบทางจิตใจสงู - ผ้สู ูงอายุ ผูพ้ ิการ ผปู้ ่วยเรื้อรงั - ผ้ทู ี่มีความรู้สึกผูกพนั ตอ่ พระประมุขหรอื บคุ คลสำ�คญั 5. ร่วมกันสบื ทอดปณธิ าน 242 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบับนกั ส่อื สาร

บทเรียนจากนานาชาติ : สงิ่ ที่พงึ ระวงั 1. ตอ้ งไมป่ ิดกั้นการแสดงออกถงึ ความร้สู ึกเศรา้ โศก เสียใจ แตอ่ ย่าให้ เกดิ ความรสู้ ึกสน้ิ หวงั ทว่ มทน้ จนมองไม่เห็นทางออกของสงั คม 2. ไม่แสดงออกถึงความรู้สึกท่ีจะไปกระตุ้นความขัดแย้งและความเห็น ตา่ งในสงั คม 3. ไม่หาแพะรบั บาปว่าใครเป็นคนผดิ จากเหตุการณท์ ี่เกดิ ขึน้ การดแู ลประชาชนท่ีมีความรสู้ กึ สูญเสียอยา่ งรนุ แรง กลุม่ ท่พี งึ ระวัง - ผสู้ ูงอายุ ผพู้ ิการ ผปู้ ่วยเรื้อรงั - ผูท้ มี่ ีความรสู้ ึกผูกพันตอ่ พระประมขุ หรือบุคคลส�ำ คญั - กลุม่ เด็กทอี่ าจจะร้สู กึ สับสนถงึ ปฏิกิริยาของผ้ใู หญ่ - กลุ่มที่มีความเครียดจากปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกจิ อาการทแี่ สดงออก 1. ปฏิกิริยาความโศกเศร้ารุนแรงท่ีแสดงออกในฝูงชน เช่น เป็นลม หายใจเรว็ ร้องไห้คร่ําครวญ ตอี กชกหัว ชกั 2. ความโศกเศรา้ ของบคุ คลทรี่ ุนแรงและยาวนาน “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 243 ฉบับนกั สือ่ สาร

การใชห้ ลัก 3 ส. สอดสอ่ ง มองหา (LOOK) 1. ส�ำ รวจคน้ หาคนทต่ี อ้ งการความช่วยเหลอื เรง่ ดว่ น เช่น แสดงอาการ เศรา้ โศกเสียใจรนุ แรง กนิ ไม่ได้ นอนไมห่ ลบั 2. สำ�รวจกลุม่ เสี่ยง เช่น กลุ่มเด็ก ผสู้ ูงอายุ ผูพ้ กิ าร ผเู้ จบ็ ป่วยเรือ้ รงั ท่ี แสดงอารมณ์ความรู้สกึ สูญเสยี ใส่ใจ รบั ฟัง (LISTEN) มสี ตริ บั ฟงั อยา่ งตงั้ ใจ ใชภ้ าษากาย เชน่ สบตา จบั มอื โอบกอด เพอ่ื ชว่ ยให้ ผสู้ ญู เสยี บอกเลา่ อารมณค์ วามรสู้ กึ คลายความทกุ ขใ์ นใจ และจดั การอารมณ์ ให้สงบ สง่ ตอ่ เช่อื มโยง (LINK) 1. ใหก้ ารช่วยเหลอื ตามความจ�ำ เป็นพ้นื ฐาน 2. ในกรณีท่ีช่วยเหลือเบ้ืองต้นแล้วไม่ดีขึ้น เช่น ควบคุมอารมณ์ตัวเอง ไมไ่ ด้ โศกเศรา้ รุนแรง มคี วามคิดฆา่ ตัวตาย ให้ส่งตอ่ ตามความเหมาะสม 3. การชว่ ยเหลอื ควรพยายามติดต่อเชอ่ื มโยงกบั ครอบครัวหรือชมุ ชน  244 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสือ่ สาร





ที่ปรึกษาและคณะท�ำ งาน ท่ปี รึกษา น.ต.นพ.บญุ เรือง ไตรเรืองวรวฒั น ์ อธบิ ดีกรมสุขภาพจิต นายแพทย์ชโิ นรส ลสี้ วัสด์ิ รองอธบิ ดีกรมสุขภาพจติ นายแพทยพ์ งศเ์ กษม ไขม่ กุ ด ์ รองอธบิ ดีกรมสขุ ภาพจติ นายแพทย์สมยั ศิริทองถาวร รองอธบิ ดกี รมสขุ ภาพจติ นายแพทย์ยงยทุ ธ วงศ์ภริ มยศ์ านติ์ ทปี่ รึกษากรมสขุ ภาพจิต นางนันทนา รัตนากร ผอู้ ำ�นวยการ กองสขุ ภาพจติ สังคม นางเสาวลกั ษณ์ สวุ รรณไมตรี กองบรหิ ารระบบ บรกิ ารสุขภาพจติ คณะทำ�งาน ทับทมิ เจอื กองสุขภาพจิตสังคม นางสาวปิยฉัตร นาทะพนั ธุ ์ กองสขุ ภาพจติ สงั คม นายชนนิ ทร์ ฉัตรทอง กองสุขภาพจติ สงั คม นายอานนท ์  “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” 247 ฉบับนกั สอื่ สาร





250 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนกั สื่อสาร

“Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 251 ฉบับนกั สอ่ื สาร

252 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนกั สื่อสาร

“Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 253 ฉบับนกั สอ่ื สาร

254 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนกั สื่อสาร

“Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 255 ฉบับนกั สอ่ื สาร

256 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนกั สื่อสาร




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook