Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-23 12:04:33

Description: top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Search

Read the Text Version

“Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 1 ฉบับนักสือ่ สาร

ชื่อหนังสอื : “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบบั นกั สื่อสาร พิมพค์ ร้ังที่ 1 : พฤษภาคม 2561 จำ�นวน : 300 เลม่ จดั พมิ พโ์ ดย : กองสุขภาพจติ สังคม กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ พิมพ์ท่ี : บรษิ ัท บยี อนด์ พับลิสชงิ่ จำ�กัด

ค�ำ นำ� สื่อมวลชน สื่อสมัยใหม่ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีบทบาทสำ�คัญ ตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ ประจ�ำ วนั ของประชาชน เปน็ สอื่ กลางชว่ ยสรา้ งความเขา้ ใจ ต่อปรากฏการณ์ที่เกิดข้ึนในสังคม เป็นกลไกท่ีสามารถส่ือสารข้อมูลต่างๆ ให้เข้าถึงคนจำ�นวนมากได้ในเวลาอันรวดเร็วและสามารถตอบสนอง ความต้องการของคนในสังคมท่ีต้องการแลกเปล่ียนข่าวสารและ ประสบการณ์ระหว่างกัน ขณะเดียวกันก็อาจสร้างความต่ืนตระหนก วิตก กงั วล ให้กบั คนในสังคมได้ นักสื่อสารหรือผู้ให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องและเช่ือถือได้ในเวลา อันรวดเร็ว จึงมีความสำ�คัญย่ิงในการชี้แจงข้อมูลความจริงที่เกิดขึ้น และ เป็นการสื่อสารความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องด้านสุขภาพจิตสู่ประชาชน ในช่วงเวลาที่อยใู่ นความสนใจของสงั คมไดเ้ ป็นอยา่ งดี ส�ำ หรบั “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นกั สอื่ สาร เลม่ น้ี เปน็ การ รวบรวมและเรียบเรียงความรู้สุขภาพจิต จากผู้เช่ียวชาญในประเด็นต่างๆ ท่ีส่ือมวลชนและสังคมให้ความสนใจ ตลอดจนเทคนิคการสื่อสารผ่านสื่อ ประเภทตา่ งๆ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อนักส่ือสาร และผู้ให้ข้อมูลข่าวสารได้มีแนวทาง การส่ือสารความรู้สุขภาพจิต สู่สังคมที่สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมได้ทันเหตุการณ์ ตลอดจนสามารถนำ�เนื้อหาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบและจัดทำ�สื่อ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ก ฉบับนกั ส่อื สาร

ในหลากหลายรูปแบบตามความเหมาะสม สร้างความรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนกั ต่อปัญหาสขุ ภาพจติ และจิตเวช ตลอดจนส่งเสริมสขุ ภาพจิต และป้องกันปัญหาสุขภาพจิตให้กับประชาชน ส่งผลให้ประชาชนสามารถ ปฏิบัตติ นได้อยา่ งเหมาะสมและมคี วามสขุ ได้ในทุกสถานการณ์ กองสขุ ภาพจติ สงั คม กรมสุขภาพจติ  ข “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบับนกั สือ่ สาร

สารบัญ หนา้ ค�ำ นำ� ก สารบัญ ค เคล็ดไมล่ ับ : การส่ือสารผ่านสอื่ โทรทัศน ์ ช เคล็ดไมล่ ับ : การสอ่ื สารผ่านส่ือหนังสอื พมิ พ ์ ญ เคลด็ ไม่ลบั : การสื่อสารผ่านสอ่ื วิทย ุ ฏ เคล็ดไมล่ ับ : การสื่อสารผ่านส่อื ออนไลน ์ ฑ สขุ ภาพจติ และจติ เวชเดก็ และวยั รนุ่ 1  “เทคนคิ ใหล้ ูกอยากไปโรงเรียน” 1  “5 ขนั้ ตอนดแู ลลกู เมื่อมีปญั หาการเรยี น” 3  “ความเครียดในเด็ก” 4  “ดาวนซ์ นิ โดรม” 5  “โรคเอาแต่ใจตวั เอง” 12  “โรคสมาธสิ ้นั ” 15  “โรคออทิสซึม” 18  “การสง่ เสรมิ IQ และ EQ เด็กไทย” 22 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจิต” ค ฉบับนกั ส่อื สาร

หนา้  “การสอื่ สาร เปดิ ใจลูก” 27  “บทบาทของพอ่ กับการสร้างภูมิคมุ้ กนั ความรนุ แรงในวยั ร่นุ ” 29  “วัยสาวและยาลดความอว้ น” 31  “การรับนอ้ ง” 35  “การเลยี นแบบละครและภาพยนตร”์ 40  “การกลน่ั แกล้งกนั ” 44  “ความรนุ แรงในเดก็ และวัยรนุ่ ” 47  “ตดิ เกม” 55  “ติดพนนั บอล” 59  “วัยร่นุ กับการดื่มสรุ าและใชส้ ารเสพตดิ ” 61  “วยั รุ่นกบั พฤติกรรมเส่ยี งทางเพศ” 67  5 พฤตกิ รรมเสย่ี งประเมินควบคู่กับความฉลาด 68 ทางอารมณ์ 6 ข้อ สขุ ภาพจติ และจติ เวชผู้ใหญ ่ 72  “ความสขุ ” 72  “สติ” เพื่อการสร้างความสขุ อย่างย่งั ยนื 77  “การฝึกสตกิ ับการใช้ชวี ติ ประจ�ำ วนั ” 80  “ความเครียด” 84  “แนวทางจัดการความเครียดในท่ที ำ�งาน” 87  “วธิ คี ลายเครยี ดขณะขับรถ” 91 ง “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนกั สอ่ื สาร

หนา้  “อุปทานหมู่” 92  “การดดู วง” 95  “สุรากบั ปญั หาสขุ ภาพจิต” 99  “ปัญหาสุขภาพจติ จากสภาพอากาศ” 102  “เสพติดสงั คมออนไลน์” 105  “โนโมโฟเบยี ” 108  “แอบถา่ ยใต้กระโปรง” 111  “ฆาตกรต่อเน่ือง” 113  “ข่มขนื ผสู้ งู อายตุ อ่ เน อ่ื ง” 114  “โรคกลวั เฉพาะอย่างและกลวั สงั คม” 115  “โรคกลัวอว้ น” 117  “โรคชอบหยิบฉวย” 119  “โรคบา้ งาน หรือ โรคตดิ งาน” 120  “โรคจิต” 122  “โรควติ กกังวล” 126  “อาการนอนไมห่ ลบั ” 129  “โรคอารมณส์ องขัว้ ” 131  ”สมองเส่อื ม” 135  “บทบาทส่ือมวลชนในการสร้างสรรคส์ ังคมสุขภาพจติ ดี” 138 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” จ ฉบับนกั สื่อสาร

หนา้ สขุ ภาพจิตกับปญั หาซมึ เศรา้ ฆา่ ตัวตาย 143  “โรคซมึ เศร้า” 143  “ซึมเศรา้ หลงั คลอด” 149  “การฆา่ ตัวตายในวยั ร่นุ ” 152  “การฆา่ ตวั ตายผา่ นสอ่ื ออนไลน”์ 157  “Live สดฆา่ ตวั ตายในสอื่ โซเชยี ลมเี ดยี ” 160  “แนวทางการนำ�เสนอขา่ วและภาพข่าว 166 ความรนุ แรงท่สี ง่ ผลกระทบตอ่ จิตใจสาธารณชน” 169 สุขภาพจิตครอบครวั เดก็ สตรี และผสู้ งู อาย ุ 169  “ความรุนแรงในครอบครัว” 172  “การท�ำ รา้ ยบคุ คลในครอบครัว/การฆา่ ยกครวั ” 176  “ความรนุ แรงต่อเดก็ และสตร”ี 181  “เคลด็ ลับการคืนดีกนั ในครอบครัว” 183  “รกั ๆ เลิก ๆ กับการหย่าร้างของดารานักแสดง” 186  “5 สขุ 5 มอบ” 191 สุขภาพจิตกบั ความรนุ แรงทางสังคมและโลกออนไลน์ 191  “การจดั การอารมณโ์ กรธ” 196  “ความรนุ แรงบนโลกออนไลน์” 199  “การกลนั่ แกลง้ ทาง internet” 202  “ความรุนแรงบนทอ้ งถนน” ฉ “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” ฉบบั นกั ส่อื สาร

หนา้  “หงึ หวงทำ�รา้ ยรา่ งกาย” 206  “ฆา่ หน่ั ศพ” 212  “การสังหารหม่”ู 215 สุขภาพจิตกับภาวะวิกฤต 221  “ปฏิกริ ยิ าทางใจของผูป้ ระสบภาวะวิกฤต 221 หรือเหตกุ ารณ์รุนแรง”  “ท�ำ ใจอยา่ งไรกับความสญู เสยี ” 223  “การดแู ลจิตใจเมอ่ื เกิดภัยพิบตั ”ิ 225  “การจัดการกับภาพฝังใจ” 228  “3ส. ดูแลใจกันและกนั ” 229  “สขุ ภาพจิตเดก็ ในภาวะน้ําท่วม” 233  “การดูแลผ้สู งู อายุหลงั น้ําลด” 236  “การดบั ความโกรธอย่างสรา้ งสรรค์หลังนํา้ ลด” 238  “เหลา้ -ยา ไม่ใชท่ างออกแก้เครียดน้ําท่วม” 240  สุขภาพจิตท่ามกลางความสญู เสียของมหาชน 242 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ช ฉบับนักสื่อสาร

เคลด็ ไมล่ บั : การสอ่ื สารผา่ นสอื่ โทรทศั น์ คณุ ลักษณะของสือ่ โทรทัศน์ 1) มขี อ้ จำ�กดั เรอ่ื งเวลามากกวา่ สื่ออ่นื ๆ 2) เนน้ รปู ลกั ษณ์ภายนอก ไดย้ ินท้งั เสยี งและเห็นรูปรา่ งหน้าตา DO : สงิ่ ท่ีควรท�ำ  ความตรงเวลากบั การนดั หมายสัมภาษณ์  การพูดคุยกับผถู้ าม ให้แสดงความสนใจ ต้งั ใจ ในการฟงั และตอบค�ำ ถาม  การแสดงสีหน้าและท่าทาง ควรสอดคล้องกบั เนื้อหา  จบั ประเดน็ เนอื้ หาวา่ ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน เมอ่ื ไร อย่างไร  ควรเตรียมตวั ก่อนการให้ขอ้ มลู ในประเด็นที่ถกู ถามอยา่ งลึกซง้ึ  ใหข้ อ้ มูลท่ีชดั เจน ทนั ตอ่ สถานการณแ์ ละตอบใหต้ รงคำ�ถาม  พูดประเด็นทคี่ รอบคลมุ ตามเวลา  กรณีท่เี ป็นคำ�ถามหรือประเดน็ เกา่ ควรหลกี เล่ียงการพดู ซา้ํ ไปซาํ้ มาควรยกตัวอย่างกรณศี กึ ษาประกอบ เพื่อไมใ่ ห้เรอื่ งเดิมน่าเบอ่ื  ควรมจี งั หวะในการใช้น้าํ เสียง เพ่อื ให้เกดิ ความน่าสนใจ  มองและสบสายตาผู้ถาม น้ําเสียงชัดเจนและเลี่ยงการใช้ภาษา ทางเทคนิค หากใชค้ วรมีการแปลประกอบดว้ ย ซ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั ส่อื สาร

 อาจฝึกพูดให้คนรอบขา้ งฟังก่อนแลว้ สอบถามข้อคิดเห็นเพม่ิ เตมิ จากผู้ฟงั หรอื อาจฝกึ พดู กบั ตนเองทีห่ นา้ กระจก  น้าํ เสยี งและค�ำ พดู ควรมีความหนกั แนน่ น่าเชื่อถือ  อธิบายเสรมิ ในบางประเดน็ ท่ีสำ�คญั และเป็นประโยชน์  ติดตามประเด็นทีส่ ังคมให้ความสนใจและทนั ต่อสถานการณ์  สรา้ งสัมพนั ธภาพทดี่ แี ต่ตอ้ งไม่ใหเ้ ปน็ ความสัมพนั ธแ์ บบส่วนตัว  ควรระวงั การให้ขอ้ มลู แม้วา่ จะไม่ไดม้ กี ารบันทกึ เทป ก็ตาม (Off record) เพราะอาจถกู น�ำ เสนอออกไปได้ DON’T :สิ่งที่ไมค่ วรท�ำ  การตอบชน้ี �ำ วา่ ถกู หรอื ผดิ ควรหรอื ไมค่ วรในประเดน็ ทยี่ งั คลมุ เครอื  ใช้ค�ำ ศพั ทภ์ าษาทางเทคนคิ มากเกินไป  มีทศั นคติท่ีไมด่ ีต่อผู้ถาม และมองว่าผถู้ ามน่าจะรอู้ ยูแ่ ลว้  กระพรบิ ตามากเกินไป เน่ืองจากท�ำ ให้เสียบุคลกิ  การใหข้ ้อมูลทีล่ ะเมดิ สิทธิผปู้ ่วย ลงลึกรายละเอียดมากเกนิ ไป  กลัวจะตอบผดิ และวติ กกงั วลกับการดแู ลบุคลิกภาพตนเอง เมอื่ ออกส่ือ “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” ฌ ฉบับนักส่อื สาร

เคล็ดไม่ลับ : การส่ือสารผ่านส่ือหนงั สือพมิ พ์ คุณลกั ษณะของส่อื หนังสอื พิมพ์ 1) มีข้อจำ�กัดในการปิดต้นฉบับ ความรวดเร็วในการสื่อสารจึงเป็น ส่งิ ทีส่ �ำ คัญ 2) อาจมพี น้ื ทใี่ นการเผยแพรไ่ มก่ บ่ี รรทดั จงึ ตอ้ งค�ำ นงึ ถงึ การใหข้ อ้ มลู ท่ีกระชับและตรงประเด็นมากท่สี ุด DO : สิง่ ทคี่ วรทำ�  รับการติดต่อทุกครั้ง และพูดคุยอย่างเป็นมิตร สร้างสัมพันธภาพ ท่ดี รี ะหวา่ งกนั  ใหข้ ้อเทจ็ จริงดว้ ยความเตม็ ใจ  เสียสละเวลาเพื่ออธิบายข้อมูล หากไม่มีข้อมูล ให้แจ้งว่า ยังไม่มีรายละเอียดในเร่ืองที่สอบถามหรือขอเวลาค้นหาข้อมูล หรืออาจแนะน�ำ ท่านอืน่ แทน  มีตัวอย่างกรณีศึกษาประกอบการให้ข้อมูล แต่ต้องไม่ละเมิดสิทธิ ของผู้ปว่ ย  สื่อสารข้อมูลถูกจังหวะและเวลา มีข้อมูลใหม่จากประสบการณ์ โดยตรง  ตดิ ตามสถานการณข์ า่ ว และตระหนกั ถงึ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู ข่าวสารที่ส่ือออกไป ญ “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบับนักสอื่ สาร

 เป็นผู้ฟังที่ดี รับฟังและยอมรับมุมมองอื่นๆ ที่แตกต่างทาง ดา้ นสุขภาพจิต  สังเคราะห์ข้อมลู วิเคราะหข์ ้อมลู และสามารถวิพากษ์ได้  ติดตามข้อมลู ยอ้ นกลับ(Feedback) ทกุ คร้ัง  ใหข้ ้อมูลเชิงสร้างสรรค์ หลีกเลย่ี งการสร้างความขดั แย้ง  เขา้ ใจกลุ่มเปา้ หมายของการส่อื สารแตล่ ะครง้ั  มคี วามรู้ความเขา้ ใจในเรื่องน้ันๆ ดีพอสมควร เพือ่ ความนา่ เชื่อถือ ของข้อมลู  สอดแทรกประสบการณก์ ารรกั ษาผปู้ ว่ ย หรอื มตี วั อยา่ งกรณศี กึ ษา ประกอบการให้ขอ้ มลู เพ่อื สรา้ งความแตกต่าง ดงึ ดดู ความสนใจ  ประเมินสถานการณ์จากการให้ข้อมูลที่อาจเกิดข้ึนในอนาคต วา่ จะเกดิ ผลดีหรอื ผลเสยี  เรียนรู้ทักษะในการให้ข้อมูลข่าวสาร ฝึกฝนและพยายาม หาคำ�หรือประโยคที่เข้าใจไดง้ ่ายส�ำ หรบั คนทว่ั ไป DON’T :สิ่งที่ไม่ควรท�ำ  ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารทไ่ี มม่ ปี ระเดน็ เปน็ ประเดน็ เกา่ ตลอดจนตวั เลข/ สถิตติ า่ งๆ ที่ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์/ยคุ สมยั  ใช้ศัพท์ภาษาทางเทคนิคที่เข้าใจยาก  วติ กกังวลกบั รูปรา่ งหนา้ ตาและการใหข้ ้อมลู มากจนเกินไป  ใชค้ �ำ พดู หรือแสดงกรยิ าทา่ ทางทม่ี ลี กั ษณะดถู ูกผ้ถู าม  เปิดประเด็นใหมท่ ี่ไมเ่ กี่ยวกับการใหข้ ้อมูลที่ถูกถาม “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” ฎ ฉบบั นักส่ือสาร

เคล็ดไมล่ บั : การสอื่ สารผา่ นส่อื วิทยุ คณุ ลกั ษณะของสือ่ วทิ ยุ 1) ไม่เน้นรูปลักษณ์ภายนอก ผู้ให้ข้อมูลสามารถให้ข้อมูลได้ทุกท่ี ท่สี ะดวก 2) ผรู้ บั ฟงั จะกลา้ โทรศพั ทเ์ ขา้ มาขอค�ำ ปรกึ ษามากกวา่ รายการโทรทศั น ์ DO : ส่งิ ที่ควรทำ�  ให้ความสำ�คัญกับข้อมูลและความชัดเจนของนํ้าเสียง ควรพูด ให้เต็มเสียงชัดถอ้ ยชดั ค�ำ  กรณกี ารอา้ งองิ ขอ้ มลู ตวั เลขสถติ ิ ใหเ้ นน้ ขอ้ มลู เปน็ ปจั จบุ นั ทสี่ �ำ คญั โดยสรุปออกมาเป็นใจความสำ�คัญที่ต้องการส่ือสารเก่ียวกับ สถติ นิ น้ั หากไมม่ น่ั ใจอาจพดู วา่ ประมาณหรอื เทา่ ทจ่ี �ำ ได้และระมดั ระวงั เสียงตา่ งๆ ทอี่ าจเกดิ ข้ึนขณะออกอากาศ เช่น เสยี งพลกิ กระดาษ  กรณียกตัวอย่างประกอบ ควรยกตัวอย่างเรื่องจริงท่ีเกิดข้ึนจาก ประสบการณ์  เปน็ มติ รกบั ผฟู้ งั หากมอี ะไรผดิ พลาดใหข้ อโทษและแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ ง  กรณีผู้ฟังโทรศัพท์เข้ามาขอคำ�ปรึกษาควรรับฟัง และเต็มใจที่จะ ชว่ ยเหลือ ขอใหค้ ดิ วา่ ผู้ฟังเป็นเหมอื นญาติ  ใช้เทคนคิ การถามกลบั ผ้ดู ำ�เนินรายการ เพือ่ ดึงดูดความสนใจผู้ฟัง  ฝกึ การพดู ฝากทงิ้ ทา้ ยในรายการ สร้างประเดน็ ให้ผฟู้ ังจดจำ�ได้  พูดเน้นประโยชนเ์ ป็นสำ�คัญ ด้วยลลี านํ้าเสียงทนี่ ่าสนใจ ฏ “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบับนักส่ือสาร

 หาโอกาสออกรายการวทิ ยุชมุ ชน  ฝึกอ่านออกเสียง ร้องเพลง และออกกำ�ลังกาย เพ่ือช่วยในการ ออกเสยี งใหช้ ดั เจน มีพลัง  ทำ�ความเขา้ ใจกับเรอื่ งท่จี ะพูด  ใหเ้ กียรตผิ ฟู้ ัง และผู้ดำ�เนนิ รายการ  ระมดั ระวังการใหข้ อ้ มลู ออกอากาศสดทางโทรศัพท์ (Phone in) เนอ่ื งจากอปุ กรณอ์ าจไม่ชัด/ไมม่ ีสญั ญาณ การมาออกรายการสด ที่สถานีวทิ ยุจงึ ดที ส่ี ุด DON’T :ส่งิ ที่ไมค่ วรทำ�  ตอบไม่ตรงค�ำ ถาม  ข้อมลู มากมายจนไม่สามารถจับใจความส�ำ คญั ได้  ใชภ้ าษาทางเทคนิคมากเกินไป  กังวลว่าเสียงไมไ่ พเราะ  มที ศั นคตทิ ีไ่ มด่ ีตอ่ ผถู้ ามหรอื ผ้ทู โ่ี ทรศัพท์เขา้ มาขอรบั ค�ำ ปรกึ ษา “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” ฐ ฉบับนกั ส่ือสาร

เคลด็ ไมล่ ับ : การสอื่ สารผา่ นส่อื ออนไลน์ คุณลักษณะของส่อื ออนไลน์ 1) เข้าถงึ ได้งา่ ยและรวดเรว็ เผยแพรอ่ อกไปได้อย่างกวา้ งขวาง 2) ขาดการกลั่นกรองข้อมูลขา่ วสารอย่างถถี่ ้วน DO : สิง่ ทค่ี วรทำ�  ใหข้ อ้ มลู ท่ถี ูกตอ้ งและเป็นประโยชน์ต่อสงั คม  ตรวจสอบขอ้ มลู กอ่ นน�ำ เสนอ ใหเ้ นน้ ความถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ  เน้อื หาตอ้ งสนั้ กระชบั ได้ใจความ  ใชอ้ นิ โฟกราฟิกในการนำ�เสนอสถิติตา่ งๆ ที่เขา้ ใจง่าย  การใช้อินโฟกราฟิก หรือคลิปวีดีโอ ที่ต้องมีข้อมูลเด่น ครบถ้วน มคี วามกระชบั เข้ากับสถานการณ์  ติดตามขา่ วสารความเคลือ่ นไหวในโลกสงั คมออนไลน์ DON’T :ส่งิ ท่ีไม่ควรทำ�  ให้ข้อมูลโดยไมต่ รวจสอบความถกู ต้องความเป็นปัจจุบัน และแหลง่ ทม่ี า  ให้ขอ้ มลู ตามกระแส ตามอารมณ์ โดยขาดวจิ ารณญาณทดี่ ี  ให้ข้อมูลข่าวสารที่ไม่มีประเด็น เป็นประเด็นเก่า ไม่เหมาะสม กับสถานการณ์/ยคุ สมยั  ใชภ้ าษาทางเทคนคิ มากเกินไป ฑ “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นักสื่อสาร





สขุ ภาพจติ และจิตเวชเด็กและวยั รุ่น “เทคนคิ ใหล้ กู อยากไปโรงเรยี น” ไม่หนีลูก เพราะไมเ่ ชน่ นนั้ เขาจะรู้สกึ เหมือนถูกทอดทิ้ง กอดและหอมแก้ม เม่ือพ่อแม่ต้องไปจริงๆ ก็ขอให้กอดและหอมแก้ม พร้อมบอกกับลกู ว่าจะกลบั มารบั พดู ให้ลกู สบายใจ เช่น “รกั ลกู นะ สญั ญาจะมารบั ตอนบ่าย” หากพบวา่ บางครัง้ ลกู รอ้ งไห้ กอดแขนขาเราแบบไม่อยากใหเ้ ราไปไหน ตอ้ งกลบั มาดวู า่ เปน็ เพราะปญั หาทบี่ า้ น หรอื เพราะปญั หาทโี่ รงเรยี น ซง่ึ ตอ้ ง ปรึกษาหารือกบั ครู ถา้ ลูกร้องติดตอ่ ยาวนานกวา่ 2 อาทิตย์ ตอ้ งหาสาเหตุ โดยด่วน ทงั้ ครู และทบี่ ้าน ถ้าพยายามแลว้ แต่ไม่ได้ผล ให้พาไปพบแพทย์ แตล่ ะชว่ งวยั ปญั หาการไมอ่ ยากไปโรงเรยี นจะมคี วามแตกตา่ งกนั เดก็ เลก็ จะเป็นเร่ืองของการพลัดพราก ส่วนกลุ่มเด็กโต ที่กำ�ลังศึกษาในชั้น ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา ไมไ่ ดเ้ กดิ จากการตอ้ งหา่ งไกลจากพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง แต่อาจเกิดจากความบกพร่องทางการเรียนรู้ เรียนไม่รู้เรื่อง มีปัญหาการ อ่าน การเขยี น การค�ำ นวณ สมาธิส้ัน เปน็ ต้น ซึง่ ท�ำ ใหท้ อ้ แท้หมดกำ�ลังใจ จะเรยี นหนังสือตอ่ อยา่ งไรกต็ าม หากคน้ พบวา่ ปญั หาการเรยี นของลกู คอื สงิ่ ใดและสามารถ ให้การช่วยเหลือแก้ไขแต่เน่ินๆ ส่ิงเหล่านั้นก็จะดีขึ้น ทำ�ให้เด็กสามารถ ปรับตัวดีขน้ึ มีความสขุ กับการไปโรงเรยี น “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 1 ฉบบั นักสื่อสาร

พ่อแม่ผู้ปกครองจึงควรมีความเข้าใจ โดยเฉพาะพัฒนาการตามวัย ซ่ึงธรรมชาติของเด็กแต่ละช่วงวัยมีอารมณ์และความต้องการท่ีแตกต่างกัน อย่างเด็กเล็กๆ จะซึมซับบทบาทของพ่อแม่ เรียนรู้การอยู่ร่วมกับผู้อื่น แตผ่ ปู้ กครองมกั มีความกงั วลถึงการร้องไห้งอแง ไม่อยากไปโรงเรียน ซงึ่ ส่ิง เหล่านี้เป็นเร่ืองปกติ ที่เด็กวัยน้ีมีความกังวลกับการท่ีต้องห่างจากพ่อแม่ แต่เม่ือถึงระยะเวลาหน่ึงก็จะเรียนรู้ปรับตัวปรับใจ ส่วนการเรียนรู้ของ กลุ่มวยั รุ่น จุดหลกั เป็นการค้นหาเอกลกั ษณ์ อัตลกั ษณข์ องตนเองว่าอยาก จะเปน็ อะไร ชอบอะไร ซง่ึ เกราะทจี่ ะชว่ ยปอ้ งกนั สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหก้ บั พวกเขา คือ ต้องช่วยให้เขาค้นพบความสามารถ ความชอบของตนเองเพ่ือให้ เขาเกิดแรงจูงใจอยากจะทำ�ส่ิงนั้นให้ดี โดยพ่อแม่อาจเป็นพี่เลี้ยงอยู่ข้างๆ เปน็ ผชู้ ว่ ยดแู ล แนะน�ำ การเรยี น ใหค้ น้ เจอความชอบของตนเอง เปน็ การตอ่ ย อดเตรยี มตัวสรู่ ะดบั มหาวทิ ยาลยั อีกท้ังยงั เปน็ การช่วยลดความเครยี ดจาก การสอบ ระบายความรู้สึกที่กดดัน ไม่ทำ�ให้รู้สึกว่าอยู่คนเดียว ซ่ึงเม่ือใด ทีเ่ ขามคี วามทกุ ข์กจ็ ะรูส้ กึ ว่าไมไ่ ดท้ กุ ข์อยคู่ นเดียว ทั้งนี้สามารถขอรับบริการปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต ได้ที่ สายด่วน สุขภาพจิต 1323 โทรฟรี ตลอด 24 ชวั่ โมง  2 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบบั นักสอ่ื สาร

“5 ข้นั ตอนดูแลลูกเมอื่ มปี ัญหาการเรียน” หากพอ่ แมแ่ ละครู พบวา่ เดก็ มปี ญั หาการเรยี น อยา่ เพงิ่ ตอ่ วา่ หรอื กดดนั ใหป้ ฏิบัติตาม 5 ขน้ั ตอน ดังน้ี ถนอมนาํ้ ใจ คอื อยา่ ท�ำ สงิ่ ทลี่ ดทอนก�ำ ลงั ใจเดก็ เพราะเดก็ ยอ่ มเสยี ก�ำ ลงั ใจไปแล้วจากการท่ที ำ�ไมไ่ ด้ คลายทกุ ข์ คือ เปิดโอกาสให้เดก็ ไดเ้ ลา่ ความทุกข์หรือความไม่สบายใจ ซง่ึ อาจเปน็ เร่อื งอ่ืนทไี่ ม่เก่ียวกบั การเรยี นกไ็ ด้ เชน่ เรอ่ื งส่วนตัว เร่อื งเพื่อนที่ โรงเรยี น ปลกุ เรา้ โดยการกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ มองขอ้ ดขี องตวั เองในเรอ่ื งอนื่ ๆ ทไ่ี มเ่ กย่ี ว กับการเรียน เพอื่ สร้างความเชอ่ื มั่นให้กับเด็ก เขา้ ประเดน็ คือ เมอ่ื เด็กเรมิ่ เชอ่ื มน่ั แลว้ จงึ ค่อยเข้าเร่อื งทักษะที่เด็กยัง ทำ�ไม่ได้ เน้นอุบาย โดยการใช้กิจกรรมที่เป็นกลอุบายให้เด็กได้เพลิดเพลิน มากกว่าสอนเดก็ ตรงๆ เพอื่ เป็นแรงเสริมให้เดก็ ทำ�ไดด้ ีขึน้ เป็นล�ำ ดบั ท้ังน้ี ทุกครั้งท่ีเลือกวิธีสอน ขอให้นึกถึงความเป็นเด็ก และความรู้สึก อย่าท�ำ ให้เด็กรสู้ ึกท้อ ด้อย แตใ่ หร้ ูส้ ึกทางบวก เช่น พอไหว ท�ำ ไดเ้ หมือนกัน ยากแตไ่ ม่เหนือความพยายาม เปน็ ต้น  “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” 3 ฉบบั นักส่ือสาร

“ความเครียดในเดก็ ” สิ่งที่ท้าทายพ่อแม่ ครูหรือผู้ดูแลเด็กในยุคปัจจุบัน คือ การหาวิธีสอน ลกู ใหจ้ ดั การกบั ความเครยี ดของตนเองไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพราะสภาพ สงั คมทกุ วนั นี้ กระตนุ้ ความเครยี ดในการด�ำ เนนิ ชวี ติ ของเดก็ ไดง้ า่ ย ไมว่ า่ จะ เป็นเร่อื งการแข่งขนั หลายๆ ดา้ น ทั้งเรื่องการเรียน การวง่ิ ตามสงิ่ ใหม่ๆ ตาม กระแสโฆษณา การบริโภคข้อมูลข่าวสารอย่างท่วมท้น การจัดกิจกรรมที่ แน่นอนจนหาเวลาเล่นไม่ได้ รวมท้ังเร่ืองความสัมพันธ์ท่ีห่างเหินระหว่าง คนในครอบครัว เมื่อพ่อแม่ต้องทำ�มาหากินจนมีเวลาให้ลูกน้อยนิด ทำ�ให้ เด็กๆ ต้องเผชิญกับความโดดเด่ียวและความรู้สึกเหงาอยู่ลึกๆ และเม่ือมี ความเครียด เด็กๆ มักจะมีปฏิกิริยาตอบสนองแบบไม่เหมาะสมเนื่องจาก วฒุ ิภาวะยงั ไมพ่ ัฒนาเต็มที่ สาเหตุ/ปัจจัยที่ทำ�ใหเ้ ด็กเครยี ด • ขาดความอบอุ่น เพราะโดยธรรมชาตแิ ล้ว เดก็ ๆ ต้องการ ความรักและความอบอุ่นจากพ่อแม่ การท่ีพ่อแม่ไม่มีเวลาให้กับลูกนั้นจะ ท�ำ ใหล้ กู รสู้ กึ วา้ เหว่ ขาดความรกั ความอบอนุ่ เวลามปี ญั หากไ็ มร่ จู้ ะไปปรกึ ษา กับใคร • การเปล่ียนแปลง ไมว่ า่ จะเป็นการย้ายบา้ น ย้ายโรงเรยี น การเปลีย่ นแปลงตา่ งๆ เหลา่ นีล้ ว้ นมีผลกระทบต่อความรสู้ ึกนกึ คดิ ของเด็ก เปน็ อยา่ งมาก ยกตวั อยา่ งเชน่ การเปลย่ี นโรงเรยี นใหมท่ �ำ ใหเ้ ดก็ ตอ้ งพบเจอกบั 4 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นกั ส่อื สาร

สงิ่ แวดลอ้ มแปลกใหมไ่ ปจากเดมิ ทเี่ ขาพบเจอ ไมว่ า่ จะเปน็ สถานทใี่ หม่ ครใู หม่ เพอื่ นใหม่ ซง่ึ ท�ำ ใหเ้ ดก็ ตอ้ งเรยี นรกู้ ารปรบั ตวั ซงึ่ การเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ เหลา่ น้ี ทำ�ให้เด็กบางคนมีปัญหาในเร่ืองการปรับตัวจนทำ�ให้เกิดความเครียด หนักมากจนถงึ ขน้ั ปว่ ยไมส่ บายไปกม็ ี • พ่อแม่ไม่รักกัน นับว่าเป็นปัญหาใหญ่ท่ีสุด ที่ทำ�ให้เด็กๆ เกิดความเครียด ย่ิงถ้าพ่อแม่มีการทะเลาะด่าว่าหรือทำ�ร้ายร่างกายกัน ให้เด็กๆ เห็นอยู่เป็นประจำ� ยิ่งจะเป็นการทำ�ร้ายจิตใจเด็กและสะสม ความเครยี ดใหก้ บั เดก็ เปน็ อยา่ งมาก นอกจากน้ี กรณที พี่ อ่ แมห่ ยา่ รา้ งกนั แลว้ ใหเ้ ดก็ เลอื กวา่ จะอยกู่ บั พอ่ หรอื แมน่ นั้ กเ็ ปน็ ปญั หาทที่ �ำ รา้ ย สรา้ งบาดแผลให้ กับจิตใจของเดก็ เป็นทีส่ ุด ซง่ึ แน่นอนว่า นอกจากจะทำ�ให้เดก็ รูส้ ึกเป็นทกุ ข์ สบั สนแลว้ ยังจะน�ำ เดก็ ไปสูป่ ญั หาความเครียดอีกด้วย • สอื่ ทเ่ี พมิ่ ความเครยี ด ไมว่ า่ จะเปน็ หนงั สอื ละครโทรทศั น์ ภาพยนตร์ ทม่ี เี นอื้ หาน�ำ เสนอความนา่ กลวั และความรนุ แรงตา่ งๆ เชน่ เนอ้ื หาทเ่ี กยี่ วกบั การทำ�ร้ายร่างกายและจิตใจ เนื้อหาเกี่ยวกับฆาตกรโรคจติ เนือ้ หาเกย่ี วกบั ผีที่หลอกหลอนทำ�ร้ายคน ส่ิงท่ีนำ�เสนอเหล่าน้ีจะมีผลกระทบต่อจิตใจของ เดก็ ซง่ึ ท�ำ ใหเ้ ขาเกดิ ความกลวั ความหดหู่ ความสะเทอื นใจ ซงึ่ ท�ำ ใหเ้ ดก็ เกดิ ความเครยี ดอย่างแน่นอน • มีความรับผิดชอบที่มากเกินไป การฝึกให้ลูกมีความรับผิดชอบน้ัน เป็นสิ่งท่ีดี แต่คุณพ่อคุณแม่ควรคำ�นึงถึงวัยของเด็กด้วย ว่า ระดับของ การรับผิดชอบน้ันควรสอดคล้องกับวัยของเด็ก โดยเฉพาะ ในปัจจุบันน้ี ทค่ี ุณพ่อคณุ แมม่ ักนิยมใหเ้ ดก็ ๆ มีกิจกรรมทำ�หลายอยา่ งและตดิ ตอ่ กัน เช่น เด็กๆที่เหน่ือยจากการเรียนหนังสือมาทั้งวันแล้วยังต้องกลับมาทำ�การบ้าน อกี นอกจากน้ี เดก็ บางคนยงั ตอ้ งเรยี นพเิ ศษหลงั เลกิ เรยี นหรอื แมแ้ ตว่ นั หยดุ เสาร์-อาทิตย์แทนที่จะได้เล่นพักผ่อนตามวัยของเขาก็ยังต้องไปเรียนพิเศษ ตั้งแต่เช้าจรดเย็น ซ่ึงกิจกรรมมากๆ เหล่าน้ี ที่คุณพ่อคุณแม่ให้กับลูกเป็น การสร้างความเครียดให้กบั เดก็ ไดโ้ ดยไมร่ ตู้ ัว “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจติ ” 5 ฉบับนกั ส่อื สาร

ดังนน้ั ส่ิงแรกทีพ่ ่อแม่ ครแู ละผดู้ แู ลเดก็ ควรพัฒนา คือ ความไวในการ มองเห็นสัญญาณเตือน ถึงความเครียดของเด็กแต่ละวัย และรู้วิธีท่ีจะช่วย เดก็ ให้จดั การกับความเครียดของตนเองได้ ซงึ่ มีอยู่หลายวิธเี ชน่ • ฟังลูกให้มาก แค่คุกเข่าให้ใบหน้าอยู่ระดับเดียวกับเด็ก มองตา สัมผัสตัวเขา มีทีท่าสงบ รับฟังสิ่งที่เขาพูด ก็จะช่วยให้ลูกรู้สึกผ่อนคลาย ขึ้นแล้ว อย่าเพิ่งยัดเยียดคำ�แนะนำ�ในขณะท่ีเด็กกำ�ลังมีอารมณ์หรือยังคงมี ความเครียดเก็บกดอยู่ในใจ • ถามลูกให้เป็น ใช้คำ�ถามที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กได้คิดทบทวน เช่น “หนูคดิ ว่าหนูจะท�ำ อย่างไรตอ่ ไป” “หนจู ะแก้ไขเรอ่ื งนอี้ ยา่ งไรล่ะลกู ” หรอื คำ�ถามแบบ “ถ้า...แล้วหนจู ะท�ำ อย่างไร” • ชว่ ยใหล้ ูกอยใู่ นความสงบ เทคนคิ ท่ีเหมาะกบั ธรรมชาตขิ องเดก็ ทจี่ ะ ชว่ ยใหเ้ ดก็ มจี ติ ใจสงบ อาจพาเดก็ ไปนงั่ ทหี่ นา้ ตา่ งใหเ้ ขาเงยี่ หฟู งั เสยี งนกรอ้ ง เสยี งลมพดั (ถามวา่ เขาไดย้ นิ เสยี งอะไรบา้ ง มนั สง่ เสยี งอยา่ งไร) เดก็ เลก็ ๆ จะ มจี นิ ตนาการ อาจใหเ้ ขาจนิ ตนาการถงึ เสยี งฝนตก เสยี งคลน่ื กระทบฝงั่ ทเี่ ขา เคยได้ยนิ • ฝึกให้เด็กหายใจได้ถูกวิธี พ่อแม่สามารถฝึกร่วมไปกับลูกๆ โดยฝึก หายใจลกึ ๆ จะชว่ ยใหร้ สู้ กึ ผอ่ นคลาย เพราะคนทม่ี คี วามเครยี ดมกั หายใจตน้ื ๆ ซึ่งทำ�ให้ร่างกายผลิตฮอร์โมนคอร์ติซอล ซ่ึงเป็นฮอร์โมนเครียดออกมา และมผี ลเสียตอ่ การท�ำ งานของอวัยวะตา่ งๆ ในร่างกาย • อย่าเมินเฉยต่อการออกกำ�ลังกายคลายเครียด แม้แต่ตัวเราเอง การออกกำ�ลังกายโดยเฉพาะการออกกำ�ลังกายกลางแจ้งจะช่วยเผาผลาญ ฮอรโ์ มนทห่ี ลงั่ ออกมาเพราะความโกรธ ความเครยี ด ใหส้ ลายไป ดงั นน้ั ควร ใหเ้ ดก็ ๆ ไดว้ ง่ิ เลน่ หรอื ใหเ้ ขาจงู สนุ ขั ไปเดนิ เลน่ การเคลอื่ นไหวอยา่ งมคี วามสขุ จะหยดุ ความเครยี ดได้ 6 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบับนกั สือ่ สาร

ข้อแนะน�ำ /แนวทางป้องกนั 1. ใหค้ วามรกั ความอบอุ่นกบั ลกู โดยใหล้ กู มคี วามรู้สกึ ว่า ทุกคร้ังท่ีเขา มีปัญหาหรือมีความเครียดกับปัญหาใดๆ ก็ตาม เขามีพ่อแม่เป็นท่ีพ่ึงและ กำ�ลังใจท่เี ขาจะสามารถพูดคุยและปรึกษา ทกุ เร่อื งกบั พอ่ แม่ไดต้ ลอดเวลา 2. จดั กจิ กรรมทีเ่ หมาะสมกับวยั ของลกู เช่น ในวัยเด็กเลก็ ควรใช้เวลา เล่นกับลูก เล่านิทานให้ลกู ฟัง กอดลกู บ่อยๆ ส่วนในลูกวยั รุน่ สามารถชวน ลูกไปเล่นกีฬา พาลูกไปท่องเที่ยวยังสถานท่ีต่างๆ อีกท้ังควรใช้เวลากับลูก ให้มาก โดยรับฟังและไม่ปิดก้ันการแสดงความคิดเห็นของลูก ครอบครัว ท่ีมีกิจกรรมทำ�ร่วมกันบ่อยๆ จะเป็นครอบครัวที่อบอุ่นและเด็กจะมี สขุ ภาพจติ ดี ไมม่ ีปญั หาความเครียดอย่างแนน่ อน 3. เข้าใจลูก พ่อแม่ควรหมั่นให้กำ�ลังใจ ชมเชยเม่ือลูกทำ�ส่ิงดีและ หลีกเล่ียงการลงโทษอย่างรุนแรงเมื่อลูกกระทำ�ความผิด เพื่อลดปัญหา ความเครียดซึง่ อาจเกิดขนึ้ กบั เด็กได้ 4. เลอื กสอื่ ทเี่ หมาะสมใหก้ บั ลกู ควรเลอื กหนงั สอื และรายการโทรทศั น์ ท่ีเหมาะสมให้กับลูก โดยหลีกเลี่ยงรายการท่ีมีเน้ือหาท่ีก้าวร้าว น่ากลัว นา่ สยดสยอง เพ่อื ทีเ่ ด็กๆ จะไม่เกดิ ความเครยี ดจากสื่อตา่ งๆ เหล่าน้ี 5. เอาใจใส่ลูก หากลูกมีพฤติกรรมเปลี่ยนไปจากเดิม เช่น ซึมเศร้า ก้าวร้าว มีอาการป่วยบ่อยๆ โดยไม่ทราบสาเหตุ ควรพาลูกไปปรึกษา จิตแพทย์หรอื ผเู้ ชยี่ วชาญ เพือ่ แก้ปญั หาความเครยี ดเหลา่ น้ัน  “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” 7 ฉบบั นกั สือ่ สาร

“ดาวน์ซนิ โดรม” ประเทศไทย พบการเกิดภาวะดาวน์ซินโดรมได้ 1 ใน 800 -1000 ประชากร กลุ่มอาการดาวน์หรือดาวน์ซินโดรม เป็นภาวะท่ีเกิดจากการ ทมี่ ยี นี หรอื สารพนั ธกุ รรม บนโครโมโซมคทู่ ่ี 21 เกนิ เปน็ สามแทง่ ซง่ึ เปน็ ทมี่ า ของวันท่ี 21 เดือน 3 วันดาวนซ์ นิ โดรมโลก ปัญหาจากโครโมโซมสง่ ผลตอ่ พัฒนาการของเด็ก ต้ังแต่เป็นทารกในครรภ์มารดา เด็กกลุ่มอาการดาวน์ มกั จะมรี ูปร่างหนา้ ตาท่คี ลา้ ยกนั เป็นลักษณะเฉพาะตวั ความเชือ่ เดมิ ๆ ในอดตี ท่ีตดิ อยกู่ บั ปญั หาสุขภาพและพฒั นาการท่ีลา่ ชา้ ของเด็กกลุ่มน้ีมักสร้างตราบาปหรือข้อจำ�กัดต่อโอกาสในสังคมและสร้าง ปัญหาในการปรับตัวต่อพ่อแม่ผู้ปกครองอย่างมาก แต่วิทยาศาสตร์ การแพทย์ท่ีพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ประกอบกับความเข้าใจในมุมมองทาง จิตใจและสังคม ณ ปัจจุบันทำ�ให้มีการเปลี่ยนแปลงที่มีความหมายต่อการ สร้างโอกาสการพัฒนา ทำ�ให้ผู้มีอาการดาวน์สามารถใช้ชีวิตในครอบครัว และสังคมอย่างมีความสุข เป็นสมาชิกท่ีมีเกียรติและมีคุณค่าในสังคมได้ เด็กๆ สามารถไปโรงเรียนและเรียนรู้ได้ ทำ�งานได้ พ่ึงพิงตนเองได้ และ บางคนคน้ พบความสามารถที่โดดเดน่ ได้ เช่น การรอ้ งเพลง การเลน่ ดนตรี การเป็นวาทยากร การเตน้ รำ� การเดนิ แบบ เป็นดารา การเลน่ กีฬาบอชชี่ การทำ�งานศิลปะ เป็นต้น 8 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” ฉบบั นักส่ือสาร

การเลย้ี งเดก็ กลมุ่ อาการดาวน์ มหี ลกั การ 3 ขอ้ คอื การใชห้ ลกั 3 H ไดแ้ ก่ การดแู ลสุขภาพ (Health) การมีความหวงั (Hope) และการดแู ลดว้ ย หวั ใจของเรา (Heart) ตลอดจนการสง่ เสรมิ พอ่ แมแ่ ละสมาชกิ ในครอบครวั และความรว่ มมอื จากทกุ ภาคสว่ น ทงั้ โรงเรยี น สถานประกอบการ เครอื ขา่ ย ในชมุ ชน ชว่ ยกนั พฒั นาเดก็ ใหม้ คี ณุ ภาพทงั้ ดา้ นรา่ งกายและจติ ใจตงั้ แตแ่ รก เริม่ สู่การเตบิ โตอยา่ งมีคณุ ภาพ Health : เดก็ ๆ กลมุ่ นม้ี โี อกาสเกดิ โรคของอวยั วะตา่ งๆ นบั ตง้ั แตป่ ญั หา สายตา ปัญหาการได้ยิน ซึ่งรบกวนการเรยี นร้แู ละจำ�เปน็ ต้องตรวจประเมนิ ตงั้ แตว่ ยั ทารกและตดิ ตามตอ่ เนอื่ งทกุ ปี ปญั หาโรคหวั ใจโดยก�ำ เนดิ พบไดถ้ งึ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์ จงึ ตอ้ งตรวจอยา่ งละเอยี ดตง้ั แตเ่ ปน็ ทารก สว่ นปญั หาไทรอยด์ ซึ่งพบร่วมได้อกี ประมาณมากกว่าหน่งึ ในส่ี จึงต้องมีการตรวจทกุ ๆ ปี นอกจากนี้ ดา้ นรา่ งกายและวถิ ชี วี ติ เดก็ กลมุ่ นจ้ี ะเกดิ โรคอว้ นและปญั หา แทรกซ้อน เช่น เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง ฯลฯ ไดง้ า่ ย จ�ำ เปน็ ตอ้ งตรวจ สขุ ภาพและมกี ารส่งเสริมสุขภาพสมํ่าเสมอ เพอ่ื ความแขง็ แรงและพัฒนาได้ เต็มท่ี “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 9 ฉบบั นักส่ือสาร

Hope : เด็กกลุ่มน้ีเมื่อมีสุขภาพที่ดีและมีการส่งเสริมโอกาสการเรียน รตู้ อ่ เนือ่ งตั้งแตอ่ ายนุ อ้ ยๆ จะสามารถพฒั นาตนเองได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง แมจ้ ะ ด้วยอตั ราทแี่ ตกตา่ งจากเด็กทว่ั ไปบา้ ง ดังนัน้ การไม่ปิดก้นั การเรยี นรู้ แตม่ ี การใหโ้ อกาส ให้การแนะน�ำ ให้การสนบั สนนุ และให้เวลาแก่เด็ก จะชว่ ยให้ เดก็ กล่มุ นี้ “ท�ำ ได”้ ทัง้ ในเรอ่ื งการเรยี นรู้ ไปโรงเรยี น ดูแลตนเอง ช่วยเหลือ ครอบครัว ประกอบอาชพี และมชี ีวติ ที่เปน็ อสิ ระและเปน็ ส่วนหนงึ่ ทอ่ี ยู่รว่ ม ในสังคมได้อย่างภาคภูมิ Heart : การดูแลเด็กที่แตกต่างอาจเป็นความเหนื่อยยากของพ่อแม่ และครอบครัว โดยเฉพาะในช่วงแรกๆ อย่างไรก็ตาม พ่อแม่ที่สามารถ ใหค้ วามรกั ใหค้ วามใกลช้ ดิ เขา้ ใจและยอมรบั เดก็ ดว้ ยหวั ใจ จะสามารถผา่ นพน้ ชว่ งเวลายากๆ ไปได้ โดยปจั จบุ นั นี้ เดก็ ๆและครอบครวั มโี อกาสในการไดร้ บั สิทธิทางการแพทย์ การศึกษา การประกอบอาชีพและการใช้ชีวิตในสังคม หลายประการ เปน็ อีกสว่ นท่ีจะเออื้ ให้พ่อแมส่ ามารถดูแลลกู ดว้ ยหัวใจได้  10 “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั สื่อสาร



“โรคเอาแต่ใจตวั เอง” เดก็ ทเ่ี อาแตใ่ จตวั เอง หรอื Spoiled childrenคอื เดก็ ทไี่ มม่ รี ะเบยี บวนิ ยั ทำ�อะไรตามใจชอบ เชื่อว่าหลายบ้านคงต้องปวดเศียรเวียนเกล้าเม่ือต้อง พาเจ้าตัวเล็กออกไปนอกบ้าน โดยเฉพาะศูนย์การค้าท่ีพอเดินผ่านของเล่น หรือของถูกใจเป็นอันต้องร้องกร๊ีด ชักด้ิน ชักงอ ลงกับพื้นเพราะพ่อแม่ ไมย่ อมซือ้ ให้ ถือเป็นภาพสะทอ้ นของการเล้ยี งลูกของครอบครวั ไทย ท่ีเกดิ จากการตามใจจนเกินเหตุ ส่งผลให้เดก็ ติดนิสัยเอาแต่ใจ ขว้ี นี ก้าวรา้ ว และ ไมม่ เี หตผุ ล อาการเด็กท่ีเป็นโรคเอาแต่ใจ จะมีอาการดื้อด้านต่อต้านอย่างรุนแรง ทำ�อะไรก็หงุดหงิด โมโหง่าย ต่อต้านทุกอย่าง พ่อแม่พูดอะไรก็ไม่ฟัง บางครง้ั กอ็ าละวาด หมายปองเจตนารา้ ย รงั แกผอู้ นื่ ท�ำ ลายขา้ วของในบา้ น หากเดก็ คนไหนทม่ี อี าการดงั กลา่ วอยา่ งนอ้ ย 4 ขอ้ ในระยะเวลานาน 6 เดอื น ถือว่าเป็นโรคเอาแต่ใจตนเอง ต้องได้รับการรักษาจากจิตแพทย์เด็ก และ ได้รับการปรับพฤติกรรม 12 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบับนักส่อื สาร

สาเหตุ เกดิ ไดจ้ ากหลายสาเหตุ ทงั้ ดา้ นชวี ภาพ บางคนเลยี้ งงา่ ย บางคน เลีย้ งยาก ซึ่งเกดิ จากสมองสว่ นหน้าที่ควบคุม ยับยงั้ อารมณ์ และพฤติกรรม ทำ�งานผิดปกติจึงไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ และปัจจัยด้านการเลี้ยงดู โดยเฉพาะพ่อแม่ยุคใหม่ ท่ียังขาดทักษะ และแนวคิดท่ีถูกต้องในการเล้ียง ลูก กลัววา่ ถา้ ขดั ใจจะท�ำ ใหล้ ูกเครียด หงุดหงิด กา้ วร้าว ตลอดจนการใช้ ความรุนแรง ทำ�ให้เด็กมีนิสัยก้าวร้าว เอาแต่ใจ พ่อแม่ส่วนใหญ่มีเวลาให้ กบั ลกู ลดลง ความผกู พนั ทางอารมณร์ ะหวา่ งเดก็ กบั พอ่ แมจ่ งึ ลดลงดว้ ย เดก็ มีความต้องการความใกล้ชิดโดยเฉพาะเด็ก 2-3 ขวบ พ่อแม่บางคนคิดว่า ลุกยงั รบั รแู้ ละจดจ�ำ ได้ไม่ดจี งึ มองขา้ มช่วงเวลานไี้ ป ปล่อยให้เด็กดโู ทรทัศน์ ตามลำ�พัง ให้เล่นกับพี่เลี้ยง ตรงนี้เป็นการใช้เวลาอยู่ด้วยกันแค่ตัวแต่ใจ ไม่ได้อยู่ด้วยกันหรือบางคร้ังชดเชยด้วยสิ่งของทำ�ให้เด็กคิดว่าความรักคือ สง่ิ ของทไี่ ดม้ า พอวนั หลงั อยากไดค้ วามรกั ความสนใจกจ็ ะเรยี กรอ้ งเอาสงิ่ ของ และส่งผลให้ความมั่นคงทางอารมณ์ของเด็กตกอยู่ในภาวะเส่ียงต่อ การเปน็ โรคเอาแตใ่ จตวั เอง และการทที่ งิ้ ใหเ้ ดก็ ดโู ทรทศั นต์ ามล�ำ พงั เดก็ กจ็ ะ ไดต้ วั อยา่ งความกา้ วรา้ ว สง่ เสยี งกรดี๊ กรา๊ ด หรอื ตบตกี นั เทา่ กบั ท�ำ ใหล้ กู โต จากการเลยี นแบบในโทรทศั น์เพราะเดก็ ไมม่ วี ุฒิภาวะเพยี งพอทจี่ ะคำ�นงึ ถงึ อะไรควร อะไรไมค่ วร ปัจจัยอีกอย่างที่ทำ�ให้เด็กเป็นโรคเอาแต่ใจ มาจากคนเลี้ยงดูหรือ ผปู้ กครองใจออ่ น ยอมตามใจเดก็ ไมก่ �ำ หนดขอบเขตและยอมใหเ้ ดก็ รอ้ ง แสดง อารมณ์รา้ ย ถา้ ผปู้ กครองยอมให้เด็กอยู่เหนอื ท�ำ อะไรก็ตามใจ จะนำ�ไปสู่ การสร้างนิสัยทำ�อะไรตามใจตนเองเมื่อถูกขัดใจก็จะร้องแล้วยอมให้หมด “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 13 ฉบับนกั สื่อสาร

เด็กท่ีเอาแต่ใจตนเอง หากไม่ได้รับการแก้ไขจะมีปัญหาเม่ือเข้าสู่วัยเรียน เพอื่ นจะไมช่ อบเพราะเดก็ ทเี่ อาแตใ่ จตนเองจะเอาแตส่ ง่ั และเหน็ แกต่ วั ผใู้ หญ่ ก็ไม่ชอบ เดก็ ที่เอาแตใ่ จตนเองจะกระด้างและจะเอาโน่นเอานี่ ท�ำ ให้พ่อแม่ หนกั ใจ คนอน่ื รอบข้างแสดงอาการไมย่ อมรบั เขา้ กบั เพื่อนและผู้ใหญไ่ ม่ได้ ท�ำ ใหเ้ ดก็ ไรค้ วามสขุ ขาดแรงจงู ใจและกระตอื รอื รน้ ทจ่ี ะเรยี นทโี่ รงเรยี น เมอ่ื เดก็ โตขนึ้ จะมพี ฤตกิ รรมเสย่ี งตอ่ การเสพยา ชวี ติ เมอื่ เขาโตขนึ้ จะอยใู่ นสงั คม อย่างไมม่ คี วามสุข แนวทางการช่วยเหลือ คือ เม่ือเด็กมีปัญหา ขอให้ผู้เกี่ยวข้องสงบสติ อารมณ์ ใจเยน็ ๆ แต่ตอ้ ง “ใจแขง็ ” อย่ายอมออ่ นขอ้ ให้เดก็ เป็นอนั ขาด เด็ก จะได้เรียนรู้ว่าการท่ีแกโวยวาย ลงมือลงเท้า แผลงฤทธิ์ เอาแต่ใจแบบน้ี ไมไ่ ด้ผลอกี ตอ่ ไป  14 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” ฉบับนกั สือ่ สาร

“โรคสมาธสิ ั้น” โรคสมาธสิ ั้น เป็นความผดิ ปกตขิ องสมองสว่ นท่ที �ำ หน้าทคี่ วบคุมตวั เอง ท�ำ งานบกพรอ่ ง ปจั จบุ นั พบวา่ พนั ธกุ รรมเปน็ สว่ นหนง่ึ และกป็ จั จยั แวดลอ้ ม ในขณะต้ังครรภ์ พวกโลหะหนัก ตะก่ัว หรือคุณแม่ท่ีสูบบุหร่ี ในระหว่าง ตง้ั ครรภก์ จ็ ะท�ำ ใหม้ คี วามเสย่ี งของโรคสมาธสิ นั้ สงู ขนึ้ ไมไ่ ดเ้ กดิ จากการเลย้ี ง ดทู ่ผี ดิ แต่การเลย้ี งดูท่ผี ิดจะทำ�ใหผ้ ้ทู ่ปี ่วยแยล่ ง โรคน้ี เป็นโรคท่ีเกิดขึ้นต้ังแต่วัยเด็ก เดิมเราเช่ือว่าเป็นโรคของเด็ก แต่ปัจจุบันเราพบว่า โรคนี้ไม่ได้หายไปเมื่อพ้นวัยเด็ก โตขึ้นก็ตามไปด้วย สว่ นหนง่ึ ประมาณ 1 ใน 3 ท่ีจะหาย ส่วน 2 ใน 3 ไมห่ าย และจะเป็น จนกระทั่งถึงวัยผใู้ หญ่ สว่ น 2 ใน 3 จำ�เป็นตอ้ งรกั ษาหรือเปลา่ นั้นจะต้อง พิจารณาเปน็ รายๆ ไป โรคสมาธสิ น้ั ควรไดร้ บั การรกั ษา เนอ่ื งจากกระทบกบั การมสี มาธจิ ดจอ่ ตอ่ เนอื่ ง และในวยั เดก็ หนา้ ทข่ี องเดก็ คอื ตอ้ งเรยี นหนงั สอื วยั เดก็ จะพฒั นา ได้ดีเมื่อเขาประสบความสำ�เร็จในเร่อื งของการเรียน การเขา้ กบั เพ่ือน ได้รับ การยอมรับจากเพ่ือน ได้รับการยอมรับจากครู เพราะฉะน้ัน ถ้าปล่อยไว้ กจ็ ะท�ำ ให้เดก็ เร่มิ มีปัญหาอารมณจ์ ิตใจตามมา วธิ สี งั เกต คอื ซนเกนิ ไป ใจลอย รอคอยไมไ่ ด้ ถา้ เขา้ เกณฑท์ ง้ั 3 อาการ จึงจะส่งใหป้ ระเมินเพมิ่ เติมโดยละเอียดข้นึ ถา้ เรารักษาตงั้ แตต่ น้ ๆ ยังไมไ่ ด้มีปัญหาการเรียน ไมไ่ ด้มีปญั หาอารมณ์ เกิดข้ึนควบคู่มาแล้ว การรักษาที่ได้ผลดี ต้องเป็นแบบผสมผสาน คือ จะตอ้ งใชค้ วามรว่ มมอื จากคณุ พอ่ คณุ แมแ่ ละคณุ ครทู โี่ รงเรยี น ทจี่ ะเขา้ ใจและ ปรบั พฤติกรรมเขา เพอื่ ส่งเสริมให้เขามีสมาธิจดจอ่ กบั การเรียนได้ “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” 15 ฉบับนักสื่อสาร

การรกั ษาท่ีสำ�คญั อีกทางหนง่ึ คือ การใชย้ ารกั ษาสมาธสิ ้ัน ฟังดูแลว้ น่ากลวั วา่ เปน็ ยากดสมองหรอื ไม่ จรงิ ๆ แลว้ ยาตวั นไี้ มไ่ ดก้ ดสมอง แตจ่ ะไปเพมิ่ สาร เคมตี รงสมองทอ่ี ยหู่ ลงั หนา้ ผากทมี่ หี นา้ ทคี่ วบคมุ ใหค้ นท�ำ งานอยา่ งใดอยา่ ง หนงึ่ ใหจ้ นจบชน้ิ งานใหท้ �ำ งานดขี นึ้ เหมอื นมนั ขเ้ี กยี จ แลว้ เราเอาเทรนเนอร์ ไปเทรนใหเ้ ขา สง่ ยาตวั นเี้ ขา้ ไป กจ็ ะไปบอกสมองวา่ การท�ำ งานทถี่ กู เธอตอ้ ง ทำ�แบบนน้ี ะ สมองก็จะทำ�งาน ปรับตวั จริงๆ เด็กซนที่ฉลาด คอื เด็กทอ่ี ยากรอู้ ยากเหน็ เสรจ็ แลว้ เขาก็จะเกบ็ เอาไว้ แล้วเม่ือเขาไปเจอสิ่งใหม่ๆเขาก็จะเอาไปต่อยอดได้ ซนเป็นเรื่องๆไป จะไม่ซนจนตัวเองเจ็บตัว รู้ว่าตัวเองทำ�แบบน้ีจะเกิดผลกระทบอะไร แต่ เด็กสมาธสิ ้นั จะอยากดไู ปเร่ือยๆ จนไม่จบสกั อยา่ ง และไมเ่ กดิ การเรียนรู้ และจะไมร่ ถู้ งึ ผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ตามมาจากการซน การมาพบแพทย์และทานยาจะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดโรคร่วมอ่ืนๆ ได้ ถ้าเรารักษาและทานยาอย่างสม่ําเสมอ ปรับพฤติกรรมลูกอย่างสมํ่าเสมอ ทง้ั ทบ่ี า้ น ทโ่ี รงเรยี น โอกาสทเี่ ขาเขา้ สวู่ ยั รนุ่ หรอื วยั ผใู้ หญม่ โี อกาสจะหยดุ ยา ได้สงู กว่า เด็กสมาธิสั้น ต้องการความเข้าใจ เขาไม่ได้แกล้ง เด็กทุกคนอยากดี อยากต้ังใจเรยี น อยากเรียนหนงั สอื เกง่ แตม่ ันท�ำ ได้ไมน่ าน เน่ืองจากความ พร้อมของสมองที่จะท�ำ งานไม่มี เพราะฉะน้นั อยากให้เขา้ ใจเขา อยา่ กลัวท่ี จะพามาพบจิตแพทย์เดก็  16 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นักสือ่ สาร



“โรคออทิสซึม” ออทสิ ตกิ เปน็ ค�ำ ใชเ้ รยี กเดก็ ทม่ี อี าการของโรคนี้ พบ เดก็ ออทสิ ตกิ 4-5 คน ในจ�ำ นวนเด็ก 10,000 คน ออทิสซึม คือลักษณะอาการที่มีความผิดปกติทางพัฒนาการของเด็กที่ แสดงพฤตกิ รรมใหเ้ หน็ วา่ เดก็ ไมส่ ามารถพฒั นาดา้ นสงั คม การสอ่ื ความหมาย และขาดจินตนาการ อาการจะปรากฏในช่วงต้นของพัฒนาการ แต่อาจยัง ไมแ่ สดงอาการเตม็ ทจี่ นกวา่ จะพบกบั สถานการณท์ างสงั คมทย่ี ากเกนิ ความ สามารถของเด็ก “สรปุ เข้าใจง่าย ๆ คือ เด็กออทสิ ตกิ โรคออทิสซึม” ในทางการแพทย์โรคออทสิ ซมึ หรอื อกี ชอื่ ออทสิ ตกิ เสปคตรมั ดสิ ออรเ์ ดอร์ (Autistic spectrum disorder) เป็นโรคในกลุ่มพัฒนาการทางสมอง ผดิ ปกติ (neurodevelopmental disorder) สนั นษิ ฐานวา่ มสี าเหตจุ ากปจั จยั ทางด้านพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมท่ีมีอิทธิพลต่อการพัฒนาของสมอง ต้ังแต่เป็นทารกในครรภ์จนถึงวัยทารกและวัยเตาะแตะ คาดว่าประมาณ ร้อยละ 90 มาจากปัจจัยทางด้านพันธุกรรมมากกว่าสภาพแวดล้อมท่ีอาจ เกี่ยวข้อง ได้แก่ การติดเชื้อไวรัส กระบวนการระบบภูมิคุ้มกัน สารที่เป็น พิษต่อระบบประสาท ภาวะแทรกซ้อนระหว่างการตั้งครรภ์และการคลอด เปน็ ต้น ปัจจุบันยังไม่สามารถอธิบายกลไกการเกิดโรคได้อย่างชัดเจน แต่ไม่ได้ เกิดจากการเล้ียงดูอย่างไม่เหมาะสมหรือขาดการกระตุ้นพัฒนาการ จึงยัง ไมส่ ามารถจะสรุปสาเหตขุ องออทซิ ึมไดแ้ น่ชัด 18 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นักส่อื สาร

เดก็ ออทสิ ตกิ จะมอี าการทแี่ สดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามผดิ ปกตทิ างพฤตกิ รรม หรอื มคี วามลา่ ชา้ ในดา้ นพฒั นาการทางสงั คม การสอ่ื ความหมาย การพดู การ ใชภ้ าษา จนิ ตนาการ มพี ฤตกิ รรมซา้ํ ๆ บางอยา่ งทงั้ การกระท�ำ และความคดิ อาการจะปรากฏให้เห็นได้ต้ังแต่ช่วงต้นของพัฒนาการ พบได้ในเด็ก ทว่ั โลก โดยไมจ่ �ำ กดั พนื้ ฐานทางสงั คม เชน่ การศกึ ษา ฐานะทางสงั คม จ�ำ นวน เด็กชายมากกวา่ เด็กหญงิ 4 เทา่ การวินิจฉัยว่า เด็กเป็นออทิสซึมหรือไม่ ต้องอาศัยการซักประวัติอย่าง ละเอียดเก่ียวกับการเจริญเติบโต และพัฒนาการทุก ๆ ด้านของเด็กตั้งแต่ แรกเกดิ การกนิ การนอน การขบั ถ่าย รวมทั้งการแสดงออกทางพฤติกรรม ทผี่ ดิ แปลกไปจากเดก็ ปกตใิ นชว่ งอายเุ ดยี วกนั ผปู้ ระเมนิ ควรใชเ้ วลาการตรวจ พฒั นาการใหน้ าน เพอ่ื จะไดว้ นิ จิ ฉยั ใหถ้ กู ตอ้ งเพอ่ื การรกั ษาไดถ้ กู ทาง ในการ สังเกตพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของเด็กทั้งภายนอกและภายในห้องตรวจ เช่น พัฒนาการทางสังคม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับพ่อแม่ ปฏิกิริยาต่อ บคุ คลอนื่ ตอ่ ของเลน่ หรอื สง่ิ แวดลอ้ ม การตอบสนองตอ่ สงิ่ เรา้ ทเี่ กยี่ วกบั การ มองเห็น การได้ยิน การสัมผัสหรือความเจ็บปวด ความสามารถในการพูด การใช้ภาษา การสื่อความหมาย การเคลื่อนไหว รวมทั้งพฤติกรรมซ้ําซาก และอารมณท์ ี่ไม่สมเหตุผล การรกั ษาและการชว่ ยเหลอื เดก็ ออทสิ ตกิ ประกอบดว้ ย แพทย์ พยาบาล นักฝึกพูด ครูการศึกษาพิเศษ ซ่ึงทำ�ร่วมกันเป็นทีม และเมื่อเด็กเติบโตขึ้น เขา้ เรยี นจงึ ขอความรว่ มมอื จากครอู าจารย์ เพอ่ื ชว่ ยฟน้ื ฟสู มรรถภาพการเรยี นรู้ ตอ่ ไป การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตอ่ เนอื่ งจะท�ำ ใหผ้ ลการรกั ษาและการชว่ ยเหลอื ประสบความสำ�เร็จแต่ไม่สามารถกำ�หนดได้ว่า จะต้องให้ระยะเวลาเท่าใด จงึ จะทำ�ใหเ้ ดก็ ออทิสตกิ ดขี ึน้ พฒั นาดีข้นึ แต่ไมห่ ายเปน็ ปกติ เชน่ เด็กปกติ อนื่ ๆ แต่ช่วยใหเ้ ดก็ มีโอกาสพัฒนาดีขึน้ ท้ังทางรา่ งกาย จติ ใจและสงั คม “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” 19 ฉบบั นักสือ่ สาร

“เร่ิมต้นเร็ว พัฒนาการจะดีเร็ว” ไม่มีใครอยากให้ลูกเกิดมาผิดปกติ ขอใหพ้ อ่ แมอ่ ดทนในชว่ งตน้ เนอื่ งจากเดก็ กลมุ่ นมี้ คี วามผดิ ปกตทิ างอารมณ์ รว่ มด้วย ท�ำ ให้พ่อแม่ทอ้ ใจ หดหู่ ตอ้ งทอ่ งไว้เสมอ “อดทน อดทน เพื่อลกู ” แล้วทกุ อย่างจะค่อย ๆ ดขี ึ้น  20 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบับนกั ส่ือสาร



การส่งเสริม IQ และ EQ เด็กไทย ความฉลาดทางสตปิ ัญญา (Intelligent Quotient : IQ) และ ความ ฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Quotient : EQ) มคี วามสำ�คญั อยา่ งย่งิ ใน ทกุ กิจกรรมในทุกวนั ของชวี ิต IQ สามารถสรา้ งเสรมิ ไดต้ ามวยั สว่ น EQ จะอาศยั กระบวนการการเรยี นรู้ ขัดเกลาทางสังคมเข้าไปเสรมิ ต้นทนุ ทางสมองท่มี ีอยู่แล้ว คุณพ่อ คุณแม่ต้องเริ่มเตรียมตัวตั้งแต่ตอนตั้งครรภ์ โดยส่งเสริม ในเรอ่ื งโภชนาการทจี่ ะสง่ ผลตอ่ พฒั นาการทางสมองของลกู เชน่ สารไอโอดนี มผี ลตอ่ การพฒั นาการของสมอง อาหารอื่น ๆ ก็เชน่ เดียวกัน รวมถงึ สภาพ แวดลอ้ มในครรภ์ ความไมเ่ ครยี ดและความรสู้ กึ ผอ่ นคลายในระยะหลงั คลอด ก็มีความส�ำ คญั เช่นกนั แนวทางเสรมิ สร้าง IQ สำ�หรบั เดก็ คอื การกิน กอด เล่น และ เล่า กนิ คอื การดแู ลโภชนาการทดี่ อี ย่างต่อเนื่องเพราะสมองเดก็ ตอ้ งการ อาหารที่จะเข้าไปเสริมสร้าง เช่น ไอโอดีน และธาตุเหล็ก ซึ่งสำ�คัญกับ พฒั นาการทางสมองของเด็กมาก กอด คือ การสมั ผัสของพ่อแม่ ความอบอนุ่ ทเ่ี กดิ ขึน้ มีผลทำ�ใหเ้ ดก็ หล่งั “Growth Hormone” ซ่ึงจะช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของสมอง และ สร้างความรู้สึกม่ังคงทางจิตใจอันเป็นรากฐานให้เกิดความภาคภูมิใจ ในตนเองและเตบิ โตเปน็ ผใู้ หญ่ทีม่ คี วามมั่นคงทางอารมณต์ อ่ ไป เลน่ โดยเดก็ จะเรียนร้ผู า่ นความสนุกสนาน ดงั นน้ั กิจกรรมการเลน่ ท่ีมี การเคลอื่ นไหว การขบคดิ การเลน่ กบั เพ่อื นท�ำ ใหเ้ กดิ การเรยี นรทู้ จี่ ะปรบั ตวั 22 “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั ส่ือสาร

และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน การเล่นในเชิงศิลปะ ดนตรี จินตนาการล้วนดีกับ ความคดิ สร้างสรรค์ของเดก็ ทง้ั ส้นิ เลา่ คอื การอ่านหนังสอื การพูดคุย การทีเ่ ด็กตง้ั ค�ำ ถามแลว้ พ่อแมต่ อบ หรือเด็กได้โอกาสหาคำ�ตอบด้วยตนเอง การท่ีเด็กรู้จักเล่าเร่ือง สรุปเรื่อง จากการอา่ นหนงั สือด้วยกนั จะชว่ ยพฒั นาระบบวิธีคิดของเด็ก เมื่อเขาเข้าสู่ ระบบการศกึ ษาตอ่ ไป อกี ทง้ั เปน็ ชว่ งเวลาทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ ใกลช้ ดิ สง่ ผลให้ เกดิ การปลูกฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมแกเ่ ด็กไดเ้ ปน็ อย่างดี แนวทางพฒั นา EQ ส�ำ หรบั เด็ก 1. ผู้ปกครองทำ�ตัวเป็นแบบอย่างท่ีดี ระมัดระวังการแสดงอารมณ์ ของตนเอง ฝกึ ใหร้ จู้ กั ภาวะอารมณท์ เี่ กดิ ขน้ึ กบั ตนเองในแตล่ ะชว่ งเวลาและ สถานการณ์ การตง้ั ใจรบั ฟงั การแสดงความเหน็ อกเหน็ ใจ และเออ้ื อาทรแก่ ผ้อู ่นื ล้วนจ�ำ เปน็ แกเ่ ด็กทั้งส้ิน 2. ใช้โอกาสหรือสถานการณ์ต่าง ๆ สร้างความใกล้ชิดสนิทสนม ให้ ขอ้ มลู มมุ มองตา่ ง ๆ เพอ่ื ประกอบการตดั สนิ ใจ ในการแกไ้ ขสถานการณน์ นั้ ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เชน่ ขณะทช่ี มรายการทวี กี บั เดก็ ๆ ทมี่ กี ารใชค้ วามรนุ แรง หรือเหตุการณ์น่ากลัว พ่อแม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้ลูกด้วย การอธบิ ายเหตผุ ลและสรา้ งความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ ง เปน็ การเพมิ่ ประสบการณ์ ทางออ้ มให้แก่ลกู ไดอ้ ีกดว้ ย 3. รับฟังความรู้สึกและอารมณ์ของเด็กด้วยความตั้งใจ ไม่ด่วนสรุป หรือตดั สนิ ช้ีน�ำ จนเกนิ เหตุ ระลึกไว้วา่ อารมณ์ความรู้สึกเปน็ สิทธิของเดก็ ทแี่ สดงออกได้ ไม่ใชก่ ารตัดสินถูกผิด หากเดก็ อยู่ในวยั ทเ่ี หมาะสมของการ แสดงออกอย่างมวี ุฒิภาวะ “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” 23 ฉบบั นกั สอื่ สาร

วธิ กี ารเลีย้ งดูท่คี วรหลกี เลยี่ ง • เล้ียงแบบสบายเกินไป จะทำ�ให้เด็กขาดความอดทน ไม่มีความ พยายาม แกป้ ญั หาไมไ่ ด้ • เลี้ยงโดยไม่ฝึกให้ช่วยเหลือตนเอง จะทำ�ให้เด็กกลายเป็นคน แก้ปัญหาไม่เป็น ขาดความสามารถในการปรับตัวให้เหมาะสมกับ สังคมหรือสถานการณ์รอบขา้ งทเ่ี ปลยี่ นแปลง • เล้ียงแบบไม่เติบโตสมวัย ทำ�ให้เด็กไม่มีวุฒิภาวะ ขาดความ กระตอื รือร้น • เลย้ี งโดยเนน้ การเรยี นมากเกนิ ไป เดก็ จะขาดการพฒั นาทกั ษะอนื่ ๆ เชน่ ดนตรี กีฬา • เลย้ี งโดยใชค้ วามรนุ แรง เดก็ ทถี่ กู กระท�ำ รนุ แรง ไมว่ า่ ทางวาจาหรอื ทางกาย จะเกิดความรู้สึกโกรธ อยากแก้แค้น บางคนถงึ ขั้นคดิ หนี ออกจากบา้ น นอกจากนี้ โดยธรรมชาตเิ ดก็ จะเลยี นแบบพฤตกิ รรม คนรอบข้างจากการสังเกต เด็กท่ีอยู่ในครอบครัวที่ใช้ความรุนแรง เห็นพฤติกรรมรนุ แรงของผู้ใหญ่ หรือเคยถูกกระทำ�รนุ แรงทางกาย จะเลยี นแบบและมพี ฤตกิ รรมใชค้ วามรนุ แรง สง่ ผลใหเ้ ดก็ วยั เรยี นที่ เคยถูกกระทำ�รุนแรงทางกาย มีค่าเฉล่ียของพัฒนาการด้านความ ฉลาดทางอารมณ์ตํา่ กว่าเด็กทไี่ ม่เคยถูกกระทำ�รนุ แรง • เลย้ี งลกู ดว้ ยโทรทศั น์ ภาพความรนุ แรงหรอื พฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสม ทเ่ี ดก็ เหน็ ผา่ นทางโทรทศั นว์ นั ละหลายๆ ครง้ั จะสง่ ผลตอ่ พฤตกิ รรม และความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก แทนท่ีจะปล่อยให้โทรทัศน์ ทำ�ลายความฉลาดของเด็ก พ่อแม่หรือผู้เลี้ยงควรใช้โทรทัศน์เป็น เครื่องมือเสริมสร้างอีคิวให้สูงข้ึนด้วยการน่ังดูโทรทัศน์พร้อมเด็ก เพอื่ จะไดแ้ นะน�ำ ในสงิ่ ทถี่ กู ทคี่ วร และเปดิ โลกทางความคดิ ดว้ ยการ เลอื กดรู ายการทมี่ สี าระมากกวา่ บันเทิง 24 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบับนักสือ่ สาร

9 เทคนิคชว่ ยให้ลูกเรยี นเก่ง ไดแ้ ก่ 1. ยอมรบั และเขา้ ใจ ในสง่ิ ทเี่ ดก็ เปน็ ทง้ั ขอ้ ดแี ละขอ้ ดอ้ ย การใหค้ วาม เขา้ ใจเป็นความรกั อย่างหนึ่งทพี่ อ่ แมค่ วรให้ลูกอยา่ งสม่ําเสมอ 2. รว่ มมอื กนั วางแผนเพอ่ื ลกู แบง่ หนา้ ทชี่ ว่ ยเหลอื กนั ในการดแู ลลกู ดา้ น ต่างๆ เช่น การตรวจการบ้าน การพบปะคุณครู การพาลกู ไปออกกำ�ลังกาย 3. พอ่ แมแ่ ละครตู อ้ งเปน็ ทมี เดยี วกนั หมน่ั พบปะ พดู คยุ กนั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือติดตามการเรยี นและปัญหาของลูก 4. ใหล้ กู คน้ หาสง่ิ ใหมๆ่ คน้ หาสง่ิ ทชี่ อบ ชว่ ยใหก้ ลา้ คดิ กลา้ ท�ำ เรม่ิ จาก กิจกรรมนอกเหนอื จากการเรียน แล้วใหไ้ ดท้ ดลองทำ� 5. คอยใหก้ �ำ ลงั ใจ ก�ำ ลงั ใจจากพอ่ แม่ เปน็ สง่ิ ชว่ ยกระตนุ้ ใหล้ กู พยายาม ในสง่ิ ท่ที ำ�อยู่ แตไ่ มค่ วรปล่อยให้อยู่กบั สิง่ ที่ท�ำ ไม่ได้นานเกนิ ไป 6. ลดการเปรยี บเทียบ ถา้ ตอ้ งการใหล้ ูกเปน็ อย่างไร ให้บอกลกู ตรงๆ 7. ฝึกใหช้ ว่ ยเหลอื ตนเองในกจิ วัตรประจำ�วัน เชน่ การแปรงฟัน ล้าง หนา้ อาบนํ้า แต่งตัว จดั เตรยี มของไปโรงเรียน การใช้เงนิ 8. มอบหมายงานบา้ น โดยมอบหมายความรบั ผดิ ชอบการท�ำ งานบา้ น งา่ ยๆ ตามวัย เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเคยชนิ และเรยี นรกู้ ารชว่ ยเหลือคนอืน่ ๆ 9. ฝกึ ระเบยี บวนิ ยั เพอื่ ใหร้ วู้ า่ อะไรถกู อะไรผดิ อะไรท�ำ ไดแ้ ละอะไรท�ำ ไมไ่ ด้ ซ่ึงผ้ใู หญท่ กุ คนในบา้ นควรพดู ไปในทางเดยี วกัน และเหตุผลทอี่ ธิบาย ใหเ้ ดก็ เขา้ ใจนน้ั ก็ควรส้ันและกระชับ เพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจด้วยตวั เอง “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” 25 ฉบับนักสอื่ สาร



“การสอื่ สาร เปดิ ใจลูก” วิธีการที่ใช้เป็น “กุญแจ” ที่จะช่วยทำ�ให้ลูก “เปิดใจ” และยอมเล่า ความรู้สึกนึกคิดที่เขาเก็บไว้ภายในกับผู้ใหญ่ได้ พ่อแม่อาจต้องลองเรียนรู้ ที่จะใช้คำ�พูดบางคำ�หรือบางประโยคให้เหมาะท่ีจะใช้ส่ือสารกับเขา ซ่ึงจะ ช่วยให้เขาแบ่งปันความรู้สึกให้เรารับรู้ได้ เพ่ือเกิดความไว้เน้ือเชื่อใจต่อกัน “กุญแจดอกสำ�คัญ” ของการสือ่ สารในครอบครัว ได้แก่ • กญุ แจดอกที่หน่ึง : เรยี นรทู้ ่จี ะเปน็ ผู้ฟงั ที่ดี ใช้เวลาในการฟังโดยไม่ขัดจังหวะหรือขัดคอลูก รอฟังให้เขาพูดจบ เสียก่อนกอ่ นจงึ คอ่ ยตอบสนอง • กุญแจดอกทีส่ อง : แสดงออกให้ลกู รู้วา่ ก�ำ ลงั ฟังเขา มองหน้า สบตากับลูกเวลาท่ีลูกพูด น่ังให้อยู่ระดับเดียวกับเขา โดยอาจนัง่ ข้างๆ • กุญแจดอกทีส่ าม : หาจังหวะดๆี เวลาคยุ เลือกเวลาท่ีจะคยุ กับลกู ในขณะที่เขาผ่อนคลายและให้เวลากับเราได้เต็มที่ และเป็นเวลาที่เราเอง กส็ ามารถคุยกับเขาได้ โดยไม่มอี ะไรคอยมาดงึ ความสนใจ • กุญแจดอกทสี่ ี่ : ใส่ใจกบั สีหนา้ ท่าทางทลี่ กู แสดงออก เรยี นรู้วา่ ลูกกำ�ลังรสู้ ึกอยา่ งไรจากภาษากาย ท่าทางทเี่ ขาแสดงออก สงั เกตว่าลูกย้ิมหรอื หน้านว่ิ ดูผอ่ นคลายหรือตึงเครยี ด • กุญแจดอกท่ีหา้ : เข้าใจให้กระจา่ งชดั พยายามทำ� ความเขา้ ใจค�ำ พูดของลกู อาจทวนถามซํ้าเพ่อื เพิม่ ความเข้าใจ หรอื เพื่อชว่ ยยืนยนั ว่าเขา้ ใจค�ำ พูดของเขาได้ถูกตอ้ งแล้ว “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจติ ” 27 ฉบบั นักสอ่ื สาร

• กญุ แจดอกทห่ี ก : เลย่ี งการเทศนา อยา่ ดว่ นแสดงความเหน็ หรอื ถาม ค�ำ ถามทเ่ี ปน็ การตดั สนิ พฤตกิ รรมของลกู แตช่ ว่ ยใหเ้ ขาไดค้ ดิ หาค�ำ ตอบหรอื ทางออกดว้ ยตวั เองจะเหมาะกว่า คำ�พูดชว่ ยเปดิ ใจ แทนที่จะพูดหรือถามลอยๆ ว่า “เป็นไงล่ะวันน้ี”พ่อแม่อาจถามพุ่ง ประเดน็ ไปให้ชดั เจนในเรื่องสำ�คญั ทีเ่ กิดกบั ลกู เชน่ “ลูกรู้สกึ อย่างไรบา้ งกับ การสอบเลขวันนี้” (หรือ เหตกุ ารณ์สำ�คญั ใดๆ ทเ่ี กดิ กบั เขาวันน้)ี แทนท่ีจะถามว่า “มีอะไรหรือเปล่า” อาจถามให้เจาะจงมากข้ึน และ สื่อให้เขารู้ได้ว่าเราสนใจเขาอย่างแท้จริง เช่น “วันน้ีลูกดูร่าเริงเป็นพิเศษ (หรือโกรธ หงุดหงิด ฯลฯ) เหมอื นมีอะไรบางอยา่ ง” แทนทจ่ี ะบอกวา่ “ถา้ แม่(หรอื พอ่ )เปน็ ลกู นะ...” ควรหาค�ำ พดู ทด่ี เู ปน็ การ เลคเชอรน์ อ้ ยกวา่ น้ี เชน่ “แม่ (หรอื พอ่ ) เขา้ ใจดวี า่ ลกู ล�ำ บากใจที่ ...” แลว้ รอจน ลูกถามถึงขอ้ เสนอแนะหรือความคดิ เหน็ ของเรา แทนที่จะบอกว่า “แม่คิดว่าลูกควรจะ ...” ก็ลองปล่อยให้เขาได้แสดง ความคดิ เหน็ ของตนเอง เชน่ “ลกู คดิ อยา่ งไรกบั เรอื่ ง ...” เดก็ หลายคนพอใจ ทีจ่ ะได้แสดงความคดิ เห็นและรับรู้ว่าผู้ใหญ่รับฟังความคดิ เหน็ ของเขา แทนท่ีจะบอกว่า “เม่ือพ่อ (หรือแม่) อายุเท่าแกนะ ...” อาจให้ลกู หนั มองสถานการณท์ เี่ กยี่ วขอ้ งอยตู่ อนน้ี เชน่ “แลว้ ลกู คดิ วา่ ลกู จะจดั การเรอื่ งน้ี อยา่ งไรตอ่ ไปบา้ ง” หรอื ค�ำ ถามอนื่ ๆ ทเี่ หมาะสม ซง่ึ ชว่ ยใหไ้ ดห้ ดั คดิ วเิ คราะห์ ประเด็นท่ีเปน็ ปญั หาเพ่อื หาทางออก เปน็ ต้น 28 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” ฉบับนักสือ่ สาร

“บทบาทของพอ่ กบั การ สร้างภูมิคุ้มกนั ความรุนแรงในวัยร่นุ ” ทุกวันนี้เรามักเห็นสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวและสังคมเพ่ิม มากขึ้น ซึ่งครอบครัวถือเป็นจุดเร่ิมต้นที่สำ�คัญที่จะช่วยแก้ไขปัญหาน้ี โดย เฉพาะผู้เป็น “พ่อ”เพราะความอ่อนโยนของพ่อสามารถสร้างความผูกพัน ในครอบครวั ที่จะเป็นภมู คิ มุ้ กนั ปญั หาความรุนแรงได้ ขอแนะน�ำ ใหล้ องนกึ ถงึ ค�ำ วา่ “พอ่ ” หรอื “FATHER”เพอื่ น�ำ ไปปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี F : FIRM คือ ความหนักแน่นม่ันคงท้ังด้านอารมณ์และความคิด ท่ีมี ความสมํ่าเสมอ เช่น มีความชัดเจนให้กบั ลูกในการดำ�เนนิ ชวี ติ ให้เขามเี วลา ในการตนื่ กนิ เลน่ นอน เปน็ กจิ วตั รแตม่ คี วามยดื หยนุ่ ไมต่ งึ เครยี ดจนเกนิ ไป ตลอดจนใหล้ ูกมโี อกาสได้เรียนรทู้ ำ�อะไรด้วยตนเอง ไมโ่ กรธแคน้ หรอื โมโห เมอ่ื ลกู ทำ�ส่ิงผดิ พลาดหรอื ไม่ถกู ใจ ใหใ้ ชเ้ หตผุ ลคุยกนั A : Appreciative คือ ชืน่ ชมยินดกี บั ลกู เม่อื ลกู ท�ำ ในสง่ิ ทดี่ ีงาม การ แสดงความยินดีด้วยท่าทีท่ีแสดงออกด้วยรอยย้ิม หัวเราะ ปรบมือ และ โอบกอดน้ัน ลว้ นส่งผลดตี อ่ บุคลกิ ภาพ ความเชอ่ื มั่นในตวั เองของลูก และ ท�ำ ใหเ้ ขารถู้ งึ คณุ คา่ ในตนเอง อกี ทงั้ ยงั สรา้ งความทรงจ�ำ ทแ่ี สนดที ม่ี ตี อ่ “พอ่ ” ได้ตลอดไป T : Tender คอื การแสดงความรกั อยา่ งนมุ่ นวล สมั ผสั โอบกอด พดู จา ตอ่ กนั ดว้ ยความสภุ าพ สรา้ งความรกั ความผกู พนั บรรยากาศดๆี ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในครอบครวั “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 29 ฉบับนักส่ือสาร

H : Honest คือ ความซือ่ สตั ย์ จรงิ ใจเป็นแบบอยา่ งของผู้น�ำ ครอบครัว ที่มคี วามซอื่ สตั ย์ จรงิ ใจใหล้ ูกเหน็ เช่น ซอ่ื สัตย์และจรงิ ใจ รกั แม่ของลูก อยู่ เคยี งขา้ งและคอยดแู ลกนั มปี ญั หากค็ ยุ กนั ชว่ ยกนั แกไ้ ข ใหเ้ กยี รตแิ ละยกยอ่ ง กันและกัน ไม่ใหบ้ คุ คลทส่ี ามเขา้ มาเกี่ยวข้องในชีวิตคู่ E : Encouraging คือ การให้กำ�ลังใจ ส่งเสริมให้ลูกได้ทำ�กิจกรรม ที่เขาอยากทำ�ด้วยความเต็มใจ ส่งเสริมให้ลูกมีจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ ปลอบประโลมและให้กำ�ลังใจเมื่อลกู ผดิ หวังหรือรสู้ ึกท้อแท้ R : Responsible คือ ความรับผิดชอบ ท้ังในหน้าที่การงาน และ ชีวิตครอบครัว เป็นแบบอย่างท่ีดีให้กับลูกด้านการประพฤติปฏิบัติตน ที่ถูกต้อง เป็นที่ปรึกษาและให้คำ�แนะนำ�ในทุกๆ เรื่อง ประหยัดอดออม วางแผนการใช้จ่ายในครอบครัว ชักจูงให้ปฏิบัติในส่ิงท่ีดีงาม ทำ�ความดี มีหลกั ศาสนายึดเหน่ียวจิตใจ เปน็ ต้น  30 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนักสื่อสาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook