Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-23 12:04:33

Description: top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Search

Read the Text Version

“วัยสาวและยาลดความอ้วน” ขา่ วการเสยี ชวี ติ จากการกนิ ยาลดความอว้ นเกนิ ขนาดของเดก็ สาววยั รนุ่ เป็นข่าวที่พบเห็นบ่อยในสังคมบ้านเรา ปกติวัยรุ่นจะมีความกังวลเรื่องรูป ร่างหน้าตาของตนอยู่แล้ว หลายคนไม่ม่ันใจรูปร่างหน้าตา ยิ่งความอ้วน แล้ว เป็นเรื่องท่ีวัยรุ่นกลัวและวิตกกังวลสูงมาก เม่ือประเมินว่ารูปร่างของ ตนนัน้ ตกมาตรฐานเมือ่ เทยี บกบั ตัวแบบ (ซึง่ มกั จะเปน็ ดารา นางแบบที่ตวั ผอมมากกว่าปกติ) จึงตัดสินใจลดความอ้วนด้วยวิธีท่ีเห็นผลเร็ว การกินยา ลดความอว้ นเป็นวธิ ีหนงึ่ ทว่ี ัยรนุ่ นยิ มใชก้ นั มาก การหามารบั ประทานก็งา่ ย มาก มโี ฆษณาจ�ำ หนา่ ยหลากหลายรปู แบบ เชน่ ยาลดความอว้ นโดยตรง เปน็ อาหารเสริมลดความอ้วน กาแฟลดความอว้ น สมุนไพรลดความอว้ น ซื้อได้ ง่ายมขี ายท่ัวไปทงั้ ตามรา้ นค้า ห้างสรรพสินคา้ ตลาดนัด หรือการสั่งซ้ือทาง อินเตอรเ์ นต็ ความอว้ น (หรอื รสู้ กึ วา่ ตนเองอว้ น) มผี ลตอ่ จติ ใจหลายประการ เชน่ ท�ำ ให้ เกิดความรู้สึกไม่ดีต่อภาพลักษณ์ตนเอง และความรู้สึกไม่ดีต่อตนเองด้วย ความละอายที่มีรูปร่างอ้วน ความไร้คุณค่าในตนเอง หมดความภาคภูมิใจ ในตน ความวิตกกังวล ในระยะยาวมคี วามซมึ เศรา้ ในจิตใจ ปัจจยั ทส่ี ่งผล 1. ความกดดนั จากกลมุ่ เพอ่ื น/โรงเรยี น เพอ่ื นคอื กลมุ่ คนทท่ี รงอทิ ธพิ ล ตอ่ วยั รนุ่ การยอมรบั จากกลมุ่ เพอื่ น การเปน็ ทน่ี ยิ มชมชนื่ ของกลมุ่ เพอื่ นของ สงั คมวยั รนุ่ โดยการมรี ปู ลกั ษณแ์ หง่ ความเซก็ ซ่ี คา่ นยิ มการชน่ื ชมความเซก็ ซ่ี เป็นการสื่อสารทางค่านิยมสู่กลุ่มวัยรุ่น/ผู้หญิงวัยรุ่น/ผู้หญิงจึงให้คุณค่ากับ “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 31 ฉบบั นักส่อื สาร

รปู รา่ ง ผอมบาง เซ็กซ่ี เช่นเดียวกับนางแบบ และกระแสเทรนวัยร่นุ เกาหลี “ผอม ขาว หนา้ กลม ผมมา้ ตาโต” ถา้ ใครมลี กั ษณะดงั กลา่ วเปน็ ทอ่ี จิ ฉาและ เปน็ ท่ียอมรบั ในกลุ่มเพ่อื น 2. อทิ ธพิ ลจากวฒั นธรรมดา้ นการสอ่ื สาร สอื่ เปน็ สว่ นผลกั ดนั ทสี่ �ำ คญั ในการสร้างภาพผู้หญิงในอุดมคติ ด้วยนำ�เสนอภาพของผู้หญิงในอุดมคติที่ ต้องการอยา่ งซาํ้ ๆ และต่อเนอ่ื ง ทง้ั ในขา่ ว ทีวี ละคร ภาพยนตร์ มผี ลตอ่ ทัศนคติ และพฤตกิ รรมการลดความอว้ นของวยั รุ่นและผู้หญงิ ผู้หญิงเป็นวัตถุทางเพศ โดยผ่านการโฆษณาสนิ ค้าหลากหลายชนดิ ทง้ั เครื่องอุปโภค บริโภค ท่ีมีจุดขายท่ีความผอม เซ็กซี่ การแต่งกายเย้ายวน เป็นตน้ คุณคา่ ของผหู้ ญิง อยู่ที่รปู รา่ ง พบว่า สือ่ มีผลตอ่ การผลกั ดันใหเ้ ดก็ สาว เหน็ วา่ คณุ คา่ ของผหู้ ญงิ อยทู่ ร่ี ปู รา่ งผอม เปน็ คนทสี่ วยงาม มกี ารศกึ ษาพบวา่ ความถใ่ี นการชมรายการโทรทศั นป์ ระเภท reality show มคี วามสมั พนั ธต์ อ่ ความคดิ เห็น ทัศนคติในการให้ความส�ำ คญั ต่อรปู ลักษณ์สงู 3.ดา้ นเศรษฐกจิ /สงั คม อาชพี พรติ ต้ี ดารา นกั รอ้ ง นางแบบ เปน็ อาชพี หนงึ่ ทวี่ ยั รนุ่ ไทยสว่ นใหญส่ นใจ เนอื่ งจากเปน็ อาชพี ทสี่ ามารถท�ำ ไดง้ า่ ย เพยี ง แค่มีรูปร่างหน้าตาท่ีดี และมีค่าตอบแทนสูง หลายคนคิดว่าจะเป็นหนทาง ช่วยฐานะทางบ้าน ไดค้ า่ เลา่ เรยี น หรือเป็นการปทู างไปสอู่ าชีพอ่นื ขอ้ แนะนำ� บทบาทของพ่อแม่ การเลี้ยงดูมีส่วนสำ�คัญ การสร้างให้ลูกมีความ ภาคภมู ใิ จในตวั เองในดา้ นตา่ งๆ เดก็ ทมี่ คี วามเตม็ อมิ่ และภาคภมู ใิ จในตนเอง จะมองเรื่องความงามภายนอกเปน็ เรื่องรอง 32 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจิต” ฉบบั นกั ส่อื สาร

วิธสี ร้างความภาคภูมิใจใหเ้ ดก็ เช่น • รบั ฟังลูก จูงใจใหล้ ูกได้เปดิ เผยความรสู้ กึ ของเขา • สนบั สนนุ และใหก้ �ำ ลงั ใจ ใหล้ กู ไดร้ บั ความส�ำ เรจ็ โดยการตง้ั เปา้ หมายใหญ่ แล้วแบ่งเป็นเป้าหมายเล็กๆ หลายเป้าหมาย เม่ือสำ�เร็จเป้าหมายแรก อาจใหร้ างวัลด้วยการใหส้ ิง่ ของหรอื กจิ กรรมอ่ืนๆท่ลี กู ชอบ • ให้เขาได้ตัดสินใจด้วยตนเอง เช่น การเลือกเส้ือผ้า การแต่งตัว การดแู ลหอ้ ง • พอ่ แมค่ อยสนบั สนนุ /สง่ เสรมิ ใหล้ กู มสี งั คมและกจิ กรรมรว่ มกบั ผอู้ น่ื เช่น การเปน็ สมาชิกทีมฟตุ บอล สโมสรชมรมเยาวชน • ใหล้ กู รู้สกึ ดีกับรปู รา่ งของตน บอกเขาว่า ไมค่ วรเปรียบเทยี บรูปรา่ ง กับใคร เขาเป็นหนง่ึ เดียวท่ีไมม่ ีใครเหมือนและไมเ่ หมือนใคร • กล่าวชื่นชมลูก เม่ือเขาทำ�พฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ควรบอกให้ ลูกรวู้ า่ พ่อแม่รสู้ กึ ภูมิใจในตวั เขาอยา่ งไร • ให้เขาเขียนคุณสมบัติท่ีดีของตน เพ่ือให้ลูกรู้จุดแข็งของเขาและ ชว่ ยใหเ้ พม่ิ ความร้สู ึกบวก และภมู ิใจในตนเอง • ไม่ตำ�หนิเร่ืองรูปร่างหน้าตา การตำ�หนิเร่ืองรูปร่างหน้าตาของลูก ท�ำ ใหล้ กู ไม่มัน่ ใจในตนเอง มองตนในดา้ นลบ • พอ่ แมเ่ ปน็ ตวั อยา่ งในการดแู ลรกั ษารปู รา่ ง โดยเนน้ เรอ่ื งสขุ ภาพและ ความแขง็ แรง • ให้ข้อมูลในการดูแลรูปร่างที่ถูกต้องกับลูก ดูแลจัดหาอาหารท่ี เหมาะสมกบั สขุ ภาพและน้ําหนกั ตามเกณฑ์ “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 33 ฉบับนกั สื่อสาร

บทบาทของโรงเรยี น คร/ู อาจารย/์ หน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง • สง่ เสรมิ กจิ กรรม/ประสบการณท์ เี่ สรมิ ความภาคภมู ใิ จ ใหก้ บั นกั เรยี น • การให้ขอ้ มลู ดา้ นการดูแลสุขภาพรา่ งกายทถ่ี ูกตอ้ ง • เนน้ การใหข้ อ้ มลู เรอ่ื งสขุ ภาพ การลดนา้ํ หนกั ทถ่ี กู ตอ้ ง/การออกก�ำ ลงั กาย ทเ่ี หมาะสมกบั วยั • การใหค้ วามร้เู รื่องผลเสยี ของการกนิ ยาลดความอ้วน • การใหบ้ ริการปรึกษา แนะนำ�ด้านโภชนาการทเี่ หมาะสม • การควบคุมการเข้าถึงยาลดความอ้วน การโฆษณาที่เกินจริง การควบคมุ การจำ�หน่ายยาลดความอ้วน เปน็ ต้น บทบาทสื่อมวลชน สอ่ื ตา่ งๆ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ทศั นคตขิ องคนในสงั คม โดยเฉพาะ วยั รนุ่ จงึ ควรมี การน�ำ เสนอขอ้ มลู ขา่ วสารทเี่ ปน็ ความจรงิ ในการดแู ลสขุ ภาพรา่ งกาย สง่ เสรมิ สนับสนุนให้วัยรุ่นมีประสบการณ์ท่ีสร้างความภาคภูมิใจโดยไม่จำ�เป็นต้อง หลอ่ สวย ใหว้ ยั รนุ่ มตี วั แบบทปี่ ระสบความส�ำ เรจ็ ในดา้ นตา่ งๆ เปน็ แนวทาง และทางเลอื กใหก้ ับพวกเขา  34 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” ฉบับนักสอ่ื สาร

“การรับน้อง” ช่วงเปิดภาคเรียนใหม่ ปัญหาท่ีตามมาในทุกปี สำ�หรับวงการศึกษา ไทยท่ีมีมาอย่างยาวนาน รูปแบบการรับน้องที่ไม่สร้างสรรค์ ท้ังการสร้าง ความอับอาย หรือบางกิจกรรมปะปนแต่เรื่องทางเพศ หรือใช้ความรุนแรง ท้งั ร่างกายและวาจา ทัง้ หมดนีเ้ ป็นการลดคณุ คา่ ของความเป็นมนุษย์ และ ละเมิดสิทธิมนษุ ยชน ปัจจุบันยังมีสถาบันการศึกษาหลายแห่ง ท่ีคงไว้ซ่ึงข้อดีของระบบการ รบั นอ้ ง เชน่ มแี นวคดิ วา่ เปน็ การรบั เพอ่ื นใหมม่ ากกวา่ การรบั นอ้ ง ใชร้ ปู แบบ กิจกรรมเชิงบวกและสร้างสรรค์ ให้พ่ีรหัสคอยดูแลน้องรหัสเร่ืองการเรียน เป็นตน้ ซ่ึงควรชน่ื ชมและน�ำ เปน็ แบบอยา่ ง ทั้งน้ี ในสถานศึกษาอาจมีการ “รบั นอ้ ง” ต้ังแตช่ นั้ มัธยมศึกษา โดยจัด กจิ กรรมและบรรยากาศทสี่ รา้ งสรรค์ ปลกู ฝงั วฒั นธรรมในการชว่ ยเหลอื กนั โดยเฉพาะรนุ่ พที่ ค่ี วรชว่ ยเหลอื รนุ่ นอ้ ง หรอื คนทอ่ี ยโู่ รงเรยี นนน้ั มากอ่ นควรให้ คำ�แนะนำ� ดูแลคนที่เพิ่งเข้าเรียนใหม่ เป็นต้น สถานศึกษาต้องสนับสนุน ให้เกิดกจิ กรรมอย่างสร้างสรรคน์ ี้ขึ้น ผลกระทบ ของการรับน้องท่ีรุนแรง ต่อร่างกาย เช่น การบาดเจ็บ กระดูกหัก การเจ็บป่วย อัมพาต หรือ เสยี ชีวติ ต่อจิตใจ เช่น มีความวิตกกังวล คับข้องใจ โกรธ ได้รับความอับอาย แยกตัวเอง คดิ ฆา่ ตวั ตาย “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจติ ” 35 ฉบบั นกั ส่ือสาร

กิจกรรมรบั น้องท่เี ปน็ อนั ตราย กิจกรรมที่เสี่ยงอันตราย ที่ทดสอบความแข็งแรงของร่างกาย โดยปราศจากผู้เชี่ยวชาญทำ�ให้นักศึกษาใหม่ตกอยู่ในอันตราย บาดเจ็บ อาจจะถึงแก่ชีวิตได้ เชน่ การใหไ้ ต่หลงั คา ไตแ่ นวช้ันของตึก ไตห่ นิ ผา หรือ ไตส่ ะพาน (รว่ มกับการด่ืมสรุ าและยาเสพติด) การใหด้ ม่ื สรุ าหรอื ยาเสพตดิ บงั คบั ใหน้ กั ศกึ ษาใหมด่ ม่ื สรุ าหรอื ยาเสพตดิ การให้บริโภคอาหารหรือเครื่องด่ืม เป็นจำ�นวนมาก เป็นอันตรายต่อ สุขภาพ อาจไม่ทราบวา่ มภี าวะแพ้ ตลอดจนการดืม่ น้ําอย่างรวดเรว็ จ�ำ นวน มากจะเกิดภาวะนํ้าเป็นพษิ และตายได้ การให้สัมผัสอากาศร้อน/เย็น การบังคับให้สัมผัสอากาศและทำ�ให้ รา่ งกายออ่ นแอ ทงั้ สภาพอากาศทห่ี นาวจดั รอ้ นจดั มผี ลตอ่ สขุ ภาพรา่ งกาย ซ่ึงจะท�ำ ให้เจบ็ ปว่ ยได้ การล่วงละเมิดและการทำ�ให้ขายหน้า การตะโกนใส่หน้า หรือขอให้ สวมใส่เสื้อผ้าท่ีตรงข้ามกับเพศของตน การทำ�ให้นักศึกษาใหม่อับอาย มี ผลต่อสภาวะอารมณ์ นักศกึ ษาใหมอ่ าจจะมีความรู้สกึ วติ กกังวล คับข้องใจ กลัว โกรธหรือซึมเศร้าจากการถูกกลั่นแกล้ง ทำ�ให้ขาดสมาธิและทำ�ให้ผล การเรยี นตกต่าํ การลักพาตัวหรือการจับแยกเดี่ยว การกล่ันแกล้งด้วยการจับตัวไป ผูกมดั ดว้ ยเทป (ตดิ ขนและผม ท�ำ ให้เกดิ แผลได)้ หรือน�ำ นกั ศึกษาใหม่ไปไว้ ในท่เี ปลย่ี ว ๆ ไม่คุ้นเคย ท�ำ ใหเ้ กดิ ความกลัวและความเครียดได้ 36 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นักสอ่ื สาร

ขอ้ แนะน�ำ /แนวทางป้องกัน บทบาทสถาบัน • กำ�หนด/นิยามการกลัน่ แกล้งนกั ศึกษาใหม่ ประกาศหา้ มกจิ กรรมทเี่ ขา้ ขา่ ยการกลน่ั แกลง้ /ชแ้ี จง/อบรมท�ำ ความ เขา้ ใจกบั รนุ่ พที่ จี่ ะจดั กจิ กรรมรบั นอ้ ง ใหเ้ ขา้ ใจการรบั นอ้ งทเี่ ขา้ ขา่ ยการกลน่ั แกลง้ ผลกระทบทีจ่ ะเกิดตอ่ สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ของน้องใหม่ ดแู ล/ ตรวจสอบความเหมาะสมของกิจกรรม ห้ามไม่ให้มีกิจกรรมท่ีเข้าข่ายการ กลั่นแกล้ง งดการใช้เคร่ืองดื่มมึนเมา/ยาเสพติด/สร้างบรรยากาศ ที่สร้างสรรค์ในการรับน้อง/ปลูกฝังวัฒนธรรมในการอยู่ร่วมกัน/จัดต้ัง ศูนย์รับเร่ืองร้องเรียนการถูกกลั่นแกล้ง/ทบทวนถึงค่านิยมและปรัชญา ขององค์กร ในการผลิตหรือสร้างคนท่ีต้องเห็นถึงคุณค่าในตนเอง เคารพ ตนเอง เหน็ คณุ คา่ ของผอู้ นื่ เคารพศกั ดศิ์ รขี องผอู้ น่ื ส�ำ หรบั ระบบการรบั นอ้ ง ท่ตี อ้ งสะท้อนถงึ ปรชั ญาของสถานศึกษา ระบบการรับน้องที่ไม่สร้างสรรค์ย่อมเป็นพื้นฐานต่อการใช้อำ�นาจ โดยไมม่ เี หตผุ ล ใหค้ นยอมจ�ำ นนต่อสง่ิ ท่ผี ิด สร้างระบบพวกพ้อง ก่อใหเ้ กิด การสรา้ งปญั หาอ่นื ๆ ตามมาไดอ้ กี บทบาทรุน่ พี่ • ทำ�ความเข้าใจกิจกรรมที่เข้าข่ายการกล่ันแกล้ง และกิจกรรม ที่สร้างความเป็นนํ้าหน่ึงใจเดียวกัน เป็นกิจกรรมที่ไม่กดดัน บังคับขู่เข็ญ กรรโชก หรอื หลอกลวง และต้องไม่มสี ุรา ยาเสพตดิ ตวั อยา่ งกิจกรรม กิจกรรมรักษาประเพณี เชน่ บายศรสี ูข่ วญั การทำ�บุญ เปน็ ตน้ กิจกรรมสร้างความสนุกสนาน ความสามัคคีในรุ่นพี่ รุ่นน้อง เช่น การแข่งกีฬา การเล่นเกมระหว่างรุ่นน้องต่างคณะด้วยกัน หรือระหว่าง ร่นุ พี่ รนุ่ นอ้ ง เปน็ ตน้ “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” 37 ฉบบั นกั ส่อื สาร

กิจกรรมแนะนำ�การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย การอยู่ร่วมกันกับเพ่ือน ในมหาวิทยาลัย/การเรียน/การใช้เงิน/ทำ�กิจกรรมทางสังคม/กิจกรรมกีฬา ทีน่ า่ สนใจ/แหล่งขอคำ�ปรกึ ษาเม่ือมปี ัญหา กจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การใชช้ วี ติ ของรนุ่ นอ้ ง เชน่ การไปฝกึ สมาธิ ร่วมกัน กิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ ใหร้ ุน่ นอ้ งบ�ำ เพญ็ ประโยชน์ต่อผู้อืน่ / ตอ่ สถาบนั / ต่อชมุ ชนทต่ี ง้ั ของสถาบัน ทง้ั น้ี ควรค�ำ นงึ ถงึ รนุ่ นอ้ งแตล่ ะคน ทมี่ พี นื้ ฐานแตกตา่ งกนั สขุ ภาพรา่ งกาย สุขภาพจิต ของแต่ละคนไม่เท่าเทียมกัน ควรให้ความใกล้ชิด คอยดูแล ชว่ ยเหลอื เปน็ ทปี่ รกึ ษาในการใชช้ วี ติ ในสถานทใ่ี หมข่ องนอ้ งและการปรบั ตวั ของนอ้ ง ตลอดจนเปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ใี นดา้ นชวี ติ สว่ นตวั ชวี ติ การเรยี น การสงั คม และการพักผอ่ นหยอ่ นใจ บทบาทของนอ้ งใหม่ - ศกึ ษาเรยี นรกู้ ารใชช้ วี ติ ในรว้ั มหาวทิ ยาลยั ทกุ ดา้ น (การเรยี น/การอยู่ ร่วมกับผู้อื่น/สังคม/การใช้เงิน/การดูแลสุขภาพ/การดูแลความสะอาดเอง/ การดแู ลความสะอาดห้อง เสื้อผ้า เคร่อื งใชต้ า่ งๆ) - เปิดใจท่จี ะเรียนรสู้ ิง่ ใหม่ ๆ ทจ่ี ะเข้ามาในชีวติ อยา่ ปดิ กน้ั ตัวเองทจ่ี ะ คบเพื่อนใหมๆ่ ในรว้ั มหาวิทยาลัย - ศกึ ษากจิ กรรมทเี่ ขา้ ขา่ ยการกลน่ั แกลง้ มสี ทิ ธทิ จี่ ะปฏเิ สธ ถา้ พจิ ารณา แล้วเหน็ วา่ กิจกรรมทรี่ ุ่นพ่จี ดั นน้ั จะเป็นอนั ตรายต่อร่างกายและจติ ใจ - กลา้ เปดิ เผย/กลา้ เลา่ ใหพ้ อ่ แม่ ผปู้ กครองหรอื ครอู าจารยร์ บั ฟงั กรณี ถูกกลัน่ แกลง้ 38 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นกั สอ่ื สาร

บทบาทพ่อแม/่ ผูป้ กครอง - เตรยี มความพรอ้ มใหก้ บั ลกู พดู คยุ ถงึ ความเปลย่ี นแปลงทจี่ ะเกดิ ขนึ้ กับตนเองในการใช้ชีวิตในร้ัวมหาวิทยาลัย แนะนำ�การใช้ชีวิตมหาวิทยาลัย การระมดั ระวงั การใชช้ วี ิต การคบคน การใชจ้ า่ ย เปน็ ตน้ - สร้างความไว้วางใจให้กับลูก รับฟังปัญหาของลูกแม้จะเป็นเร่ือง เลก็ น้อย เช่น เปน็ สิว ขาใหญ่ อ้วนไป ผอมไป ตวั ด�ำ แอบชอบเพอ่ื น เป็นต้น ไมต่ �ำ หนิ รบั ฟงั และเอาใจใส่ เพราะนนั่ คอื เรอื่ งทยี่ งิ่ ใหญข่ องลกู ใกลช้ ดิ พดู คยุ ปลอบโยน เป็นท่ีปรกึ ษา - สนับสนุน/ส่งเสริมให้ลูกภาคภูมิใจในตนเอง เช่น ให้เขาค้นหา สว่ นดใี นตนเอง และรสู้ กึ ดกี บั ตนเอง เคารพตอ่ ความคดิ ความรสู้ กึ ของตนเอง ให้วางแผนการเรียนดว้ ยตนเอง ทำ�ส่ิงใดส�ำ เร็จให้คำ�ชมเชย - สังเกตความผิดปกติของลูก เช่น มีความผิดปกติทางร่างกาย (มีรอยฟกซํ้า ดำ�เขียว ถูกต่อย ถูกตี ไม่สบาย) และจิตใจ (เหม่อลอย กลวั วติ กกงั วล ซมึ เศรา้ ) มผี ลการเรยี นตกตา่ํ ตอ้ งพดู คยุ ซกั ถามใหไ้ ดส้ าเหตุ เพ่ือแก้ไขต่อไป - กิจกรรมทุกกิจกรรมจะต้อง ปราศจากความรนุ แรง/เครื่องดื่มมึนเมา ยาเสพติด เป็นตน้  “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” 39 ฉบบั นกั สื่อสาร

“การเลียนแบบละครและภาพยนตร”์ ละครและภาพยนตร์เป็นสื่อท่ีนำ�จินตนาการและประสบการณ์มาผูก เป็นเรื่องราว มจี ดุ มงุ่ หมายเพอื่ สรา้ งความบันเทิง ใหข้ ้อคดิ คติธรรมในการ ด�ำ เนนิ ชวี ติ นอกเหนอื จากสว่ นทดี่ งี ามแลว้ ละครและภาพยนตรย์ งั ท�ำ หนา้ ที่ สะทอ้ นดา้ นลบของสงั คมดว้ ย เชน่ ความรุนแรง เรอ่ื งเพศ ความอจิ ฉารษิ ยา การแสดงความรสู้ กึ เหล่านีเ้ รา้ ใจให้จดจ�ำ เลยี นแบบ บางคนน�ำ มาใชใ้ นชวี ิต จรงิ ดงั ปรากฏขา่ วผา่ นสอื่ เชน่ เดก็ ผกู คอตายเลยี นแบบละครใหน้ อ้ งดู แมด่ า่ ลกู ด้วยถอ้ ยค�ำ รุนแรงและลกู ด่าสวนกลบั ไปเพราะเคยเห็นในละคร เปน็ ต้น ถึงแม้จะไม่มีการรวบรวมสถิติการเลียนแบบละครและภาพยนตร์ให้เห็น ชดั เจน แตเ่ มอ่ื เปน็ ขา่ วการเลยี นแบบในทางลบกจ็ ะถกู ขยายวงกวา้ ง บางอยา่ ง กลายเปน็ พฤตกิ รรมของคนในสงั คม เช่น การแตง่ ตวั การเลยี นแบบกริ ิยา ท่าทาง ค�ำ พูด วิธีการแกป้ ัญหาเรอ่ื งตา่ งๆ เป็นตน้ การเลียนแบบเป็นวิธีการเรียนรู้ท่ีง่ายท่ีสุด ซ่ึงคนเราจะเลียนแบบใคร หรอื เรอ่ื งอะไรนน้ั มาจากหลายสาเหตุดว้ ยกนั • การเห็นแบบอย่างว่าทำ�แล้ว ได้ผลลัพธ์ออกมาดีหรือได้ตามท่ี ใจปรารถนา เช่น มีความสำ�เร็จ มีคนนิยมชมชอบ คนอื่นยอมแพ้ คนอ่ืน เกรงกลวั ไดร้ บั การยอมรบั ใช้แก้ปัญหาได้ เปน็ ฮีโร่ ได้ร้วู ธิ ีการบางอยา่ งที่ ไมเ่ คยเห็นไม่เคยรู้มากอ่ น 40 “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” ฉบับนักสื่อสาร

• การเลียนแบบบางอย่างไม่ได้มาจากผลลัพธ์ที่เกิดข้ึน แต่อาจเป็น เพราะตัวละครหรือเหตุการณ์น้ันคล้ายชีวิตของตัวเอง หรืออยากจะลอง เลยี นแบบหรือท�ำ แบบน้นั บ้าง บางคนอาจคิดวา่ ตัวเองเปน็ พระเอกนางเอก ในละครหรือภาพยนตร์เรอ่ื งนั้นและแสดงทา่ ทางเลียนแบบ • การเลียนแบบบางอย่างเกิดจากการเห็นแบบอย่างจนเคยชิน เช่น โกรธแล้วต้องใช้ความรุนแรง โกหกเพ่ือปิดบัง รักแล้วต้องใช้ความรุนแรง เปน็ ต้น การเลียนแบบขึ้นอยู่กับความสามารถท่ีจะเข้าใจและทำ�ตาม ในเด็กเล็ก เด็กอาจเลียนแบบอย่างผิวเผิน โดยไม่ได้คิดถึงผลท่ีตามมา หากตวั แบบมคี วามรนุ แรง สะเทอื นขวัญ เดก็ จะฝังใจจ�ำ และอาจน�ำ มาใชใ้ น ชวี ิตจริง เชน่ เด็กเห็นตัวอยา่ งของการใชป้ นื ยงิ ผอู้ ่นื การมเี พศสมั พนั ธ์ การ ใช้ยาเสพตดิ พ่อแม่หรือผู้ใหญ่จึงไม่ควรปล่อยให้เด็กดูละครหรือภาพยนตร์ท่ีแสดง ความรนุ แรงลำ�พงั หรอื ดูบอ่ ยๆ แตค่ วรคอยสอนคอยอธบิ ายให้เขา้ ใจว่าเปน็ เรือ่ งทีไ่ ม่ดี ทงั้ น้ี การเลียนแบบยงั ไมม่ คี วามสนใจส่ิงตา่ งๆ เป็นเร่อื งเป็นราว เด็กมกั จะสนใจการเคลอ่ื นไหวของสัตว์ หรอื คนเป็นชว่ งสนั้ ๆ เด็กวัยน้ีชอบดูการ์ตูนและส่ิงท่ีเคล่ือนไหวได้เร็วซ่ึงการเคล่ือนไหวน้ีมัก ปรากฏรว่ มกับความรุนแรง ดังน้ัน เดก็ วัยนจ้ี ึงมีโอกาสที่จะไดด้ ูการ์ตนู ทีใ่ ช้ ความรนุ แรง นอกจากละครหรือภาพยนตร์เด็กวัยนี้ชอบเลียนแบบพ่อแม่และ คนใกล้ชิดด้วย เช่น เอารองเท้าส้นสูงของแม่มาใส่ นั่งเก้าอี้แล้วทำ�ท่าอ่าน หนังสือพิมพ์เหมือนพ่อ เป็นต้น พ่อแม่จึงควรทำ�ตัวให้เป็นแบบอย่างท่ีดี สำ�หรบั ลกู “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 41 ฉบบั นกั สือ่ สาร

เดก็ อายุ 3–5 ปี เปน็ วัยของนกั ส�ำ รวจ อยากรอู้ ยากเห็น จะช่างซกั ชา่ ง ถาม มากเร่ืองราวในโทรทัศน์มากข้ึน เด็กมีสมาธิดีขึ้น เริ่มมีความเข้าใจ เรอ่ื งราวทต่ี ่อเนื่องไดด้ ี และเชอื่ มโยงถึงผลลัพธ์ของการกระทำ� วธิ กี ารทพ่ี อ่ แมจ่ ะใชใ้ นการปอ้ งกนั การเลยี นแบบพฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสม นอกจากจะใช้การจำ�กัดเวลาดูรายการโทรทัศน์หรือภาพยนตร์แล้ว พ่อแม่ อาจจะแสดงความคดิ เหน็ เมอ่ื มภี าพทไ่ี มเ่ หมาะสม ควรระวงั อนั ตราย ไมค่ วร เลยี นแบบ หรอื อธบิ ายวา่ การกระท�ำ เชน่ นก้ี อ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี อยา่ งไร เพอ่ื ใหเ้ ดก็ มที ศั นคตทิ ถี่ กู ตอ้ งเหมาะสมตอ่ เรอื่ งราวรายการทด่ี ู ละคร หรอื ภาพยนตรน์ น้ั วัยรนุ่ เป็นวยั อยากรู้ อยากลอง ชอบความตื่นเตน้ อารมณ์ออ่ นไหวงา่ ย อยู่ในวัยแสวงหาตัวตนและอุดมการณ์ วัยรุ่นอาจเลียนแบบเรื่องท่ีซับซ้อน ทางความคดิ มากขนึ้ เชน่ ทศั นคตติ อ่ การมชี อื่ เสยี ง มเี งนิ มอี �ำ นาจ การเสยี สละ หรือพฤติกรรมความก้าวร้าว พฤติกรรมทางเพศ เพราะเป็นเร่ือง ทตี่ น่ื เตน้ สนกุ สนาน วยั รนุ่ สว่ นหนงึ่ ชอบเลยี นแบบเรอ่ื งทเี่ ปน็ แฟชน่ั คา่ นยิ ม ซ่งึ สว่ นใหญเ่ ป็นเพียงความนยิ มชว่ั คราว การป้องกันการเลียนแบบในวัยรุ่น พ่อแม่อาจต้องใช้วิธีการท่ีแตกต่าง จากเดก็ เพราะวยั รนุ่ โตและมคี วามคดิ เหน็ เปน็ ของตวั เอง พอ่ แมค่ วรมคี วาม สมั พนั ธท์ ด่ี กี บั วยั รนุ่ ถามความคดิ เหน็ ของวยั รนุ่ ทมี่ ตี อ่ เรอื่ งนนั้ ๆ และชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ หลกั ฐานท่ีแสดงผลลัพธข์ องการเลยี นแบบพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสม การ 42 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบับนกั ส่ือสาร

เลยี นแบบอาจไมใ่ ชว่ ธิ เี ดยี วทท่ี �ำ ใหเ้ ดก็ เยาวชนและคนในสงั คมมพี ฤตกิ รรม ไม่เหมาะสม ยังมีวิธีการอ่ืนๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อการเลียนแบบและเรียนรู้ เชน่ ครอบครัวทพี่ อ่ แมใ่ ชค้ วามรุนแรงกับลกู ลูกอาจเลียนแบบพฤตกิ รรมนี้ จากพ่อแม่ได้ เรื่องการเล่มเกมคอมพิวเตอร์ เด็กและวัยรุ่นใช้เวลาอยู่กับ การเลน่ เกมคอมพวิ เตอร์ซึง่ เปน็ interactive media วนั ละหลายชั่วโมง ก็ อาจเลียนแบบพฤตกิ รรมจากเกมไดด้ ว้ ย ละครและภาพยนตร์ไม่ได้มีแต่ด้านลบเพียงด้านเดียว หากสังคมหันมา ชื่นชมในส่วนที่ดี และนำ�มาใช้เป็นแบบอย่าง โดยเฉพาะกับเด็กและวัยรุ่น กจ็ ะเป็นประโยชนต์ อ่ คนในสังคมมากขน้ึ  “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 43 ฉบบั นักสื่อสาร

“การกลน่ั แกลง้ กนั ” การกล่ันแกล้งหรือรังแกกัน ในโรงเรียน (Bullying) เป็นพฤติกรรม รนุ แรงอยา่ งหนง่ึ ผลกระทบของการขม่ เหงรงั แกกนั ในโรงเรยี น จะท�ำ ใหเ้ ดก็ ที่ถูกรังแก มีอารมณ์ซึมเศรา้ หรือวิตกกังวล เพิ่มความรสู้ ึกโดดเด่ยี ว การกนิ การนอนผิดปกติ ไม่มีความสุขในการทำ�กิจกรรมท่ีช่ืนชอบได้ ซึ่งปัญหานี้ อาจยังคงอยูจ่ นถงึ วยั ผู้ใหญ่ นอกจากน้ี อาจมอี าการทางกาย เชน่ ปวดทอ้ ง ปวดศีรษะ รวมถึง มผี ลการเรยี นลดลง หรอื ต้องออกจากโรงเรยี น ตลอดจน มีความเส่ียงสูงท่ีจะกลายเป็นผู้รังแกคนอ่ืนในอนาคต ขณะท่ี เด็กที่ ชอบรังแกผู้อ่ืนจะมีความเส่ียงใช้แอลกอฮอล์หรือสารเสพติดเมื่อเป็นวัยรุ่น รวมทง้ั ชอบท�ำ รา้ ยรา่ งกาย ท�ำ ลายทรพั ยส์ นิ และอาจตอ้ งออกจากโรงเรยี น เส่ียงทำ�ผิดกฎหมาย ตลอดจนมีความเสี่ยงที่จะทำ�ร้ายคู่สมรสและบุตร เมอื่ เติบโตเป็นผใู้ หญ่ได้ ประเภทของการขม่ เหงรงั แก 1. การขม่ เหงรงั แกทางกาย พบเหน็ ไดบ้ อ่ ยในทกุ โรงเรยี น เชน่ การผลกั ต่อย หยิก ดึงผม ใชอ้ ุปกรณ์แทนอาวุธในการข่มขู่ 2. การขม่ เหงรงั แกทางอารมณ์ เชน่ การลอ้ เลยี น หรอื ท�ำ ใหร้ สู้ กึ อบั อาย การกีดกันออกจากกลุม่ การเพกิ เฉย ทำ�เหมอื นไมม่ ีตวั ตน 3. การข่มเหงรังแกทางคำ�พูด เช่น การใช้คำ�หยาบคายหรือดูถูก เหยยี ดหยาม 4. การข่มเหงรังแกทางอินเตอร์เน็ต เช่น ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ กลา่ วหาหรือใสค่ วามให้ได้รับความอับอาย 44 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั ส่อื สาร

ขอ้ แนะนำ�/แนวทางการรับมือ • เดก็ ควรตั้งสติ เม่อื ถูกรงั แก หรอื อยใู่ นสภาวะทีไ่ มค่ าดคิด • พอ่ แมค่ วรแนะน�ำ ลกู ในการดแู ลตนเองและวธิ เี อาตวั รอด โดยไมต่ อ้ ง ใชค้ วามรุนแรง เช่น บอกครู ไมอ่ ยคู่ นเดียว ไม่ตอบสนองอีกฝา่ ย เพราะจะ ท�ำ ใหแ้ กลง้ หนกั ขึน้ ตลอดจนสอนลกู ใช้โซเชียลมเี ดียใหเ้ ป็นเวลา • โรงเรียนต้องมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน พูดคุยใกล้ชิด หา้ มปราม และปกปอ้ งเด็ก  “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 45 ฉบับนกั ส่อื สาร



“ความรุนแรงในเด็กและวยั รุ่น” ธรรมชาตขิ องเด็กและวยั รนุ่ คือ อยากลองสิง่ แปลกใหม่และท�ำ ในสงิ่ ที่ ท้าทาย รู้สกึ ว่าตนเองแน่ เก่ง ไมเ่ หมอื นใคร และไมม่ ีใครเหมือน ไม่ค�ำ นึง ถงึ ผลท่จี ะเกดิ ตามมา ความสขุ ของเด็กและวัยรุ่นจะเกิดข้ึน เมื่อ 1. ได้รับการยอมรบั จากคนรอบขา้ ง พ่อแม่ ญาติ ครู เพื่อนฝงู ซงึ่ เห็น ได้จากการท�ำ ตามเพื่อนเพ่อื ให้เกิดการยอมรบั เปน็ พวกเดยี วกัน 2. การมคี ณุ คา่ รสู้ กึ วา่ ตนมคี ณุ คา่ เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง ในขณะทคี่ น อน่ื ก็เห็นว่า ตนมคี ณุ คา่ ร้วู ่าตนมคี วามส�ำ คัญต่อสังคม ซงึ่ เม่อื ใดที่เดก็ หรอื วัยรุ่นมองไม่เห็นคุณค่าของตัวเองและถูกดูแคลนว่าเป็นพวกไร้ค่า พวกเขา ก็จะแสดงออกเพ่ือเรียกร้องความสนใจทั้งจากสังคมท่ัวไปและจากภายใน กลมุ่ เพอื่ นในทางทไ่ี มเ่ หมาะสม การยกพวกตกี นั จงึ เปน็ วธิ กี ารหนงึ่ ทคี่ ดิ และ ท�ำ ได้ง่าย ทำ�ให้รสู้ ึกเดน่ ดงั เพ่ือนเหน็ คณุ คา่ และได้รบั การยอมรบั 3. การได้รับความสำ�เร็จ อาทิ ความสำ�เร็จในการเรียน ความสำ�เร็จ ในการกีฬา ดนตรี เป็นต้น “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” 47 ฉบบั นกั สื่อสาร

สาเหตุหรอื ปัจจยั กระตนุ้ ให้ก่อความรุนแรง ปจั จยั ภายใน ไดแ้ ก่ การเปลยี่ นแปลงทางรา่ งกาย ฮอรโ์ มน พน้ื ฐานอารมณ์ เชน่ อารมณร์ อ้ น อารมณเ์ ยน็ หรอื หวนั่ ไหว วติ กงา่ ย ซง่ึ ตดิ ตวั เดก็ มาตงั้ แตเ่ กดิ ที่สำ�คัญ ขาดการเห็นคุณค่าในตัวเอง ซึ่งเมื่อใดที่เด็กหรือวัยรุ่นมองไม่เห็น คณุ คา่ ของตวั เองและถกู ดแู คลนวา่ ดอ้ ยความสามารถ พวกเขากจ็ ะแสดงออก เพ่ือเรียกร้องความสนใจ ทั้งจากสังคมท่ัวไปและจากภายในกลุ่มเพื่อน ปจั จัยแวดล้อมภายนอก ไดแ้ ก่ สภาพครอบครวั ระบบการศกึ ษา และ สังคมท่ีสร้างความกดดันให้กับเด็กหรือวัยรุ่น เช่น การบังคับหรือลงโทษ กวดขันอย่างเข้มงวด ปิดกั้นไม่ให้อิสระ การถูกตำ�หนิหรือต่อว่าจากสังคม การปล่อยปละละเลย ทอดท้ิง หรือในทางตรงข้าม การประคบประหงม จนเกินเหตุ การเล้ียงดูในวัยเด็ก โดยเฉพาะในช่วงปฐมวัยและวัยเรียน จากการเตบิ โตมาในลกั ษณะทข่ี าดความรกั ความอบอนุ่ ในครอบครวั ถกู ท�ำ รา้ ย ทำ�ให้เด็กสะสมความรุนแรงและแสดงออกกับส่ิงของ สัตว์เล้ียง และเพ่ือน โดยไม่รู้สึกผิด และพอกพูนเป็นวิถีชีวิต ตลอดจนสภาพสังคมที่เต็มไปด้วย ความรนุ แรงรอบดา้ นทเ่ี ดก็ เหน็ จนชนิ ชา เชน่ การเหน็ สอื่ ความรนุ แรงบอ่ ยๆ ทั้งส่ือกระแสหลัก และส่ือโซเชียล หรือเกมออนไลน์และออฟไลน์ ที่มีแต่ ความกา้ วรา้ ว เต็มไปดว้ ยเรือ่ งของการฆา่ การท�ำ ลายล้างกนั ยอ่ มทำ�ให้เดก็ กลมุ่ เสย่ี งทเ่ี ปราะบางดา้ นจติ ใจอยูแ่ ลว้ เกดิ ความกระดา้ ง ชาชิน แสดงออก ความเกบ็ กดทางอารมณท์ ผี่ ดิ ๆ เตบิ โตขนึ้ ดว้ ยการใชค้ วามรนุ แรง เพราะเหน็ วา่ เป็นแบบอยา่ ง ท�ำ ให้ขาดความยบั ย้ังช่ังใจ การควบคุมอารมณต์ า่ํ ทำ�ให้ เด็กมีพฤตกิ รรมกา้ วร้าวรุนแรง ใช้ก�ำ ลงั ในการแกป้ ญั หาในทีส่ ดุ 48 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบบั นกั สอื่ สาร

แนวทางสงั เกตพฤติกรรมเดก็ และวยั รนุ่ ว่าเสย่ี ง ท่จี ะก่อความรนุ แรง • สังเกตจากพฤติกรรมท่ีผิดปกติหรือเปลี่ยนไปจากเดิมมาก เช่น มีความกา้ วร้าวรุนแรง แยกตวั ไม่พูดไม่จา มที ่าทางโกรธเคอื ง ติดยาเสพตดิ หรอื คบเพอื่ นท่ตี ิดยา • ชอบก่อกวน โหดรา้ ยทารุณสตั ว์ ชกต่อย ทำ�รา้ ยร่างกายตนเองและ ผอู้ น่ื ท�ำ ลายขา้ วของ ขคู่ กุ คาม ไมเ่ คารพกฎระเบยี บตา่ งๆ รวมถงึ เดก็ ทเ่ี กบ็ ตวั เก็บกด ไม่เคยไดร้ ะบายความร้สู กึ ออกมาอย่างเหมาะสม แนวทางแก้ไขปญั หา อย่าโยนความผิดให้เด็กเพียงอย่างเดียว แบ่งกลุ่มเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม คอื กลมุ่ ทเี่ ปน็ ปญั หามาก เปน็ หวั โจก ปลกุ ระดม กบั กลมุ่ เดก็ ปกติ หรอื กลมุ่ เดก็ ท่ีมีแนวโน้มจะกอ่ ความก้าวร้าวรุนแรง เด็กกลุ่มที่เป็นปัญหา อาจต้องใช้กระบวนการทางกฎหมายมาช่วยแก้ ซง่ึ จะเปน็ หนทางหนง่ึ ในการฝกึ ความอดทนและเปน็ ระเบยี บวนิ ยั ใหเ้ ดก็ เกดิ การยอมรับว่าเขาทำ�ผดิ ก็ต้องไดร้ ับผลจากการกระทำ�ความผิดนั้น ท้ังน้ี ในระบบกฎหมายจะมีเร่ืองการฟ้ืนฟูจิตใจให้ดีขึ้น ท้ังการปรับ พฤติกรรมและอารมณ์ เพ่ือให้ผู้กระทำ�ผิดออกมาเป็นคนดีของสังคมได้ ซง่ึ ครอบครวั ชมุ ชนสงั คมกต็ อ้ งใหก้ ารยอมรบั ไมต่ ตี ราตอกยา้ํ ดถู กู เหยยี ดหยาม ถึงความผิดของพวกเขา เพ่ือให้พวกเขามีโอกาสท่ีจะปรับตัว สามารถกลับ มาเป็นคนดขี องสังคมได้ “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 49 ฉบับนักสอื่ สาร

เดก็ กลมุ่ ปกติหรอื มคี วามเส่ยี ง ควรมีการส่งเสรมิ ป้องกนั โดยมพี นื้ ทใ่ี ห้ เดก็ หรอื วยั รนุ่ ไดท้ �ำ กจิ กรรมทเี่ สรมิ สรา้ งคณุ คา่ ใหก้ บั ตวั เองมากกวา่ การคอย หา้ มปรามหรอื ต�ำ หนพิ วกเขา โดยใชพ้ ลงั ขบั ดา้ นความรนุ แรงทม่ี อี ยใู่ นตวั พวก เขาท�ำ กิจกรรมท่ีสร้างสรรคแ์ ละมปี ระโยชน์ให้มากท่สี ดุ แนวทางป้องกนั ระดับบุคคล : ตนเองและกลุ่มเพ่อื น • สรา้ งระบบเพอ่ื นเตอื นเพอ่ื น หรอื ก�ำ หนดมาตรการชน่ื ชม เมอ่ื เพอ่ื น ท�ำ ดี เมินเฉยเม่อื เพื่อนทำ�ผดิ ไม่แก้แค้นแทนกัน เปน็ หว่ งเปน็ ใยกนั เตอื น กันเมื่อเพื่อนจะทำ�ผิด ชักจูงเพื่อนให้เปลี่ยนแปลงในทางท่ีดี ตลอดจนร่วม กันสร้างสรรค์กิจกรรมที่เป็นประโยชน์เกิดจากความต้องการของตนเอง และกลุ่ม ซ่ึงจะช่วยส่งเสริมการสร้างคุณค่าให้กับตนเองทำ�ให้มีความม่ันใจ กล้าท่จี ะท�ำ ในสิง่ ท่ีถูกตอ้ ง • หลกี เลย่ี งการปะทะ คดิ กอ่ นทจ่ี ะท�ำ หนั หนา้ เขา้ มาคยุ กนั ระหวา่ งคกู่ รณี โดยใหอ้ าจารย์ระหวา่ งสถาบนั เปน็ ส่อื กลาง ระดบั ครอบครัว : พ่อแม่ ผู้ปกครอง • รกั ลกู ใหถ้ กู ทาง แสดงความรกั อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม เปดิ ใจ คยุ ปญั หา ได้ทกุ เรื่อง • สอดส่องพฤติกรรมและดูแลลูกอย่างใกล้ชิดให้มากข้ึน หากลูกมี พฤตกิ รรมเปลย่ี นไปจากเดิม เช่น ซึมเศรา้ กา้ วรา้ ว มีอาการป่วยบอ่ ยๆ โดย ไม่ทราบสาเหตุ ควรพาไปปรกึ ษาจิตแพทย/์ ผู้เชย่ี วชาญ 50 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบบั นักส่อื สาร

• คอยชแ้ี นะ อบรม สง่ั สอน ใหล้ กู แยกแยะผดิ ชอบชวั่ ดี ปลกู ฝงั และวาง รากฐานทางคุณธรรมจรยิ ธรรมให้กบั เดก็ โดยเฉพาะ ศีล 3 ใน 5 ขอ้ ได้แก่ ศีลขอ้ ท่ี 1 ไม่ใชค้ วามรุนแรง รวมถงึ ไม่ฆ่าสตั ว์ตดั ชีวิต ศีลข้อที่ 2 ไมเ่ อาของ ของผู้อนื่ หรอื ไม่ลักขโมย และศลี ขอ้ ที่ 4 คือ ไมพ่ ดู ปด หรอื พดู หยาบ ซงึ่ 3 ขอ้ นี้ พอ่ แมผ่ ูป้ กครองสามารถปลกู ฝงั ให้กับเด็กๆ ได้ ปญั หาพฤติกรรมก็จะ ไมเ่ กิด แตห่ ากเดก็ มปี ญั หาดา้ นสติปัญญา เลี้ยงยาก หรือสมาธสิ น้ั อาจสอน แล้วไม่เชื่อฟัง แนะนำ�ให้มาพบจิตแพทย์ ซึ่งเป็นส่ิงท่ีดีที่ถูกต้อง ไม่ใช่เร่ือง ผดิ ปกติ หรอื นา่ อายแตอ่ ยา่ งใด แสดงถงึ ความรกั ความเอาใจใสล่ กู ทส่ี �ำ คญั ช่วยป้องกันปญั หาความรุนแรงทีอ่ าจเกดิ ขึ้นไดใ้ นอนาคต • สละเวลาสักนิดให้กับลูก ในการแสดงความรัก ความเอาใจใส่ที่ สามารถทำ�ไดง้ ่ายๆ เชน่ หากเราต้องท�ำ งานบ้าน กช็ วนลูกๆ มาช่วยทำ�ด้วย และชนื่ ชมพวกเขา หรอื อ่านหนงั สือร่วมกับพวกเขา • ปฏิบัติต่อลูกทุกคนอย่างเท่าเทียม เพ่ือช่วยลดช่องว่างและความ นอ้ ยเนื้อตาํ่ ใจที่เกิดข้ึนไดใ้ นเด็กทุกคน • เลือกส่ือที่เหมาะสมให้กับลูก หลีกเลี่ยงรายการที่มีเน้ือหาก้าวร้าว น่ากลัว สยดสยอง • ไมเ่ ปน็ ตวั แบบของความรนุ แรง หรอื ทะเลาะเบาะแวง้ กนั ในครอบครวั ใช้เหตผุ ลในการแก้ไขปัญหา ไมใ่ ชก้ ำ�ลังและความรนุ แรง “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” 51 ฉบับนกั ส่อื สาร

ระดบั สถาบนั การศึกษา : ครูอาจารย์ • ครอู าจารย์ ตอ้ งเปน็ เหมอื นพอ่ แมอ่ ปุ ถมั ภ์ เปดิ ใจคยุ ปญั หาไดท้ กุ เรอื่ ง • ติดตามเยีย่ มบ้านอยา่ งใกล้ชดิ • เฝ้าระวังเด็กท่เี ริม่ มผี ลการเรยี นตกต่ําหรือใชส้ ารเสพติด • ปลูกฝังความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน สนับสนุนให้เกิดระบบ เพือ่ นช่วยเพือ่ น • สง่ เสรมิ ใหท้ �ำ กจิ กรรมทสี่ รา้ งสรรค์ ท�ำ ประโยชนเ์ พอ่ สงั คมหรอื ชมุ ชน ที่เกดิ จากความต้องการของเด็กเอง • จัดกิจกรรมปรับพฤตกิ รรม เสรมิ ทักษะชีวิต พฒั นา EQ โดยเฉพาะ การฝกึ สติ ดว้ ยการใหเ้ ดก็ ลองฝกึ อยกู่ บั ลมหายใจหรอื อารมณท์ มี่ อี ยู่ รบั รวู้ า่ มอี ารมณแ์ บบใด ถา้ เปน็ อารมณ์ด้านลบ กใ็ หพ้ ยายามขจดั มันออกไป การรู้ เทา่ ทันอารมณ์ตนเอง จะทำ�ให้อารมณข์ ุ่นมัวท่มี นี ้อยลงไปดว้ ย • เปลย่ี นวธิ กี ารลงโทษทเ่ี ขม้ งวดหรอื บบี บงั คบั เปน็ วธิ กี ารปรบั พฤตกิ รรม • พฒั นาครใู หเ้ ปน็ แบบอยา่ งที่ดี เด็กไวว้ างใจ เปน็ ทป่ี รึกษา • มีระบบบริการสุขภาพ และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้านการ คัดกรอง การวนิ ิจฉัย การส่งตอ่ • ไม่ส่งเสริมการใช้ความรุนแรง เช่น ระหว่างครูกับนักเรียน และ นกั เรยี นกบั นกั เรยี น ปฏบิ ตั ติ อ่ กนั ดว้ ยการใหเ้ กยี รตแิ ละสภุ าพออ่ นโยน ไมม่ ี การลงโทษเดก็ ด้วยความรุนแรง 52 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบบั นกั สือ่ สาร

สอ่ื มวลชน • ต้องเป็นสื่อกลางในการเสนอข่าวเพื่อให้คนในสังคมมีความรู้สึกที่ดี ในตัวเด็ก • ไม่ควรนำ�เสนอข่าวที่เน้นความรุนแรงจนทำ�ให้เกิดพฤติกรรม ลอกเลยี นแบบ การเสนอข่าวว่าสถาบันใดเป็นค่อู รกิ นั จะกลายเป็นการช้นี �ำ ทางความคดิ ใหเ้ ดก็ รนุ่ ตอ่ ไปเกดิ การทะเลาะววิ าทกนั ซง่ึ มแี ตจ่ ะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี ชุมชนและสังคม • การระดมการมีส่วนร่วมของครอบครัว และชุมชนในการช่วยเหลือ เด็กวัยรุ่น สอดส่องเมื่อมีแนวโน้มว่าจะเกิดสถานการณ์รุนแรงในพ้ืนที่ และมีการประสานงานกันอย่างรวดเรว็ เมอ่ื เกิดเหตุการณ์ • ควรมพี น้ื ทดี่ ใี หเ้ ดก็ ไดแ้ สดงออกใหเ้ หมาะสม ไดแ้ ก่ การมสี ถานทอี่ อก กำ�ลังกาย ห้องสมดุ และกำ�จดั แหลง่ มั่วสุมต่างๆ นอกจากนี้ ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน รู้จักการควบคุมอารมณ์ มคี วามอดทนในการรอคอย มรี ะเบยี บวนิ ยั ในตนเอง กอ่ นทเี่ ขาจะแสดงความ ก้าวรา้ วรุนแรงเกินเหตุจนกลายเป็นอาชญากรท่ีเราคาดไม่ถึง การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรงในวยั รนุ่ จ�ำ เปน็ ตอ้ งปลกู ฝงั ตง้ั แต่ ในวยั เยาว์ ตอ้ งฝกึ ความอดึ หรอื ความอดทนใหก้ บั เดก็ โดยไมต่ ามใจหรอื ชว่ ย เหลือมากเกนิ ไป ควรให้พวกเขาเจอกบั ปัญหาอปุ สรรคบ้าง เพอื่ ให้ร้จู กั การ แกป้ ญั หาดว้ ยตนเอง การสรา้ งเสรมิ สรา้ งความฉลาดทางอารมณ์ ใหเ้ ดก็ มวี ฒุ ิ ภาวะทางอารมณ์ทเ่ี หมาะสม ตระหนกั รตู้ นเองและสามารถควบคมุ อารมณ์ ตนเองได้ มีระเบยี บวนิ ัย รู้จักปฏเิ สธเพอ่ื น ร้วู ่าอะไรถกู อะไรผิด คิดอยา่ งมี เหตุผล ไม่หุนหันพลันแล่น รู้ถึงผลกระทบท่ีจะได้รับตามมา ย่อมช่วยลด ปัญหาความรุนแรงทเ่ี กดิ ขึน้ ในสงั คมได้  “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 53 ฉบับนกั ส่ือสาร



“ติดเกม” เกมออนไลนเ์ ปน็ ชมุ ชนเสมอื นจรงิ ระบบการใหร้ างวลั ของเกมออนไลน์ ทำ�ให้ผู้เล่นเกมรู้สึกว่าตัวเองได้รับรางวัลและชัยชนะอยู่เร่ือย ๆ โดยจะให้ รางวัลเล็ก ๆ อยู่ตลอดเวลา พอผู้เล่นกำ�ลังเบ่ือก็จะให้รางวัลใหญ่ ๆ เพ่ือ จูงใจใหเ้ ลน่ ตอ่ เน่ืองไปไม่รจู้ บ ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเกม ประกอบดว้ ย ปัจจัยภายในตวั บุคคล ได้แก่ เพศ : โดยเดก็ ผชู้ ายมโี อกาสเส่ยี งติดเกมสูงกวา่ เด็กผู้หญิง 1.6 เทา่ วยั : วยั รนุ่ มคี วามเส่ียงต่อการตดิ เกมมากกว่าวัยผใู้ หญ่ โรคทางจิตเวช : เด็กท่ีมีความเสี่ยงต่อการติดเกมมากกว่าเด็กท่ัวไป เช่น เด็กท่ีเป็นโรคสมาธิสั้น (ADHD) เด็กท่ีมีปัญหาอารมณ์ ซึมเศร้า หรือ วิตกกังวล ขาดทักษะทางสังคม เข้ากับเพ่ือนไม่ได้ เด็กที่มีปัญหาการเรียน มีความรู้สกึ มีคุณคา่ ในตัวเองตาํ่ เป็นต้น ทักษะการจัดการอารมณ์ : ความเครียด และการขาดทักษะในการ จัดการกบั ความเครียดอยา่ งเหมาะสม ปัจจยั ดา้ นครอบครัว ไดแ้ ก่ การเลยี้ งดู ซงึ่ ผปู้ กครองมสี ว่ นส�ำ คญั หากใชเ้ หตผุ ล เดก็ จะลดโอกาสตดิ เกมลงถงึ 7 เทา่ นอกจากน้ี ผู้ปกครองควรเปลีย่ นแนวคดิ ใหม่ เช่น การให้ ลกู เลน่ เกมเพราะกลวั ลกู เหงา การใหล้ กู เลน่ เกมเพราะตอ้ งการใหล้ กู อยนู่ ง่ิ ๆ การใชค้ อมพวิ เตอรเ์ ลย้ี งลกู หรอื อนญุ าตทกุ ครงั้ ทลี่ กู อยากเลน่ เปน็ การเพมิ่ โอกาสให้เดก็ ตดิ เกมทงั้ ส้นิ “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 55 ฉบับนกั สอื่ สาร

ปจั จยั ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและสงั คม ไดแ้ ก่ สงั คมทเ่ี ปลยี่ นแปลงไป สงั คมในยคุ ปัจจบุ ันมเี ครื่องมือท่เี รา้ ความตื่นเต้นให้เกดิ ขนึ้ ในตัวเด็กมากมาย เดก็ ทเี่ ลน่ เกมออนไลนม์ คี วามเสยี่ งตอ่ การตดิ เกมมากกวา่ เดก็ ทไ่ี มไ่ ดเ้ ลน่ เกมออนไลนเ์ กอื บ 4 เทา่ ซง่ึ พฤตกิ รรมการตดิ เกมถอื วา่ อนั ตรายมาก เพราะ หากรุนแรงจะมีภาวะลงแดง คือ เหงื่อท่วมตัว กระวนกระวาย เครียดจัด กา้ วรา้ ว อารมณแ์ ปรปรวน ท�ำ ร้ายข้าวของ หรืออาจทำ�รา้ ยบุคคลรอบข้าง หากไม่ได้เลน่ เกม เมอ่ื ติดเกมออนไลนม์ ากขน้ึ อาจจะตกอยใู่ นภาวะซมึ เศรา้ ได้ โดยจะติด อยใู่ นโลกเสมอื นจรงิ มากเกนิ ไป ท�ำ ใหไ้ มส่ นในเรอ่ื งอนื่ ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ เรอ่ื งงาน การศกึ ษา ปลกี ตวั ออกจากสงั คม ท�ำ ใหก้ ารใชช้ วี ติ ในโลกแหง่ ความจรงิ ลม้ เหลว และตกอยู่ในความโศกเศร้า โทษตัวเองโดยไม่ได้คำ�นึงถึงสาเหตุที่แท้จริง ลักษณะของเดก็ ติดเกม 1. ไม่สามารถควบคุมตัวเองให้เล่นในเวลาท่ีกำ�หนด ทำ�ให้เล่นนาน ติดต่อกันหลายชั่วโมง มากกว่า 4 ช่วั โมง เลน่ เกือบจะทุกวัน 2. หากถกู บงั คบั ใหเ้ ลกิ หรอื หยดุ เลน่ จะตอ่ ตา้ นหรอื มปี ฏกิ ริ ยิ าหงดุ หงดิ ไมพ่ อใจอยา่ งรุนแรง บางคนถึงขนั้ ก้าวรา้ ว อาละวาด 3. มผี ลกระทบตอ่ หนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบของเดก็ เชน่ ไมส่ นใจการเรยี น ไม่สนใจที่จะทำ�การบ้าน หนีเรียนหรือหลบหนีจากบ้านเพื่อไปเล่นเกม ผลการเรยี นตก ละเลยการเข้าสงั คมหรือทำ�กจิ กรรมร่วมกบั ครอบครวั 4. บางรายอาจมีปัญหาพฤติกรรมอน่ื ๆ รว่ มดว้ ย เชน่ โกหก ลกั ขโมย ดื้อ ตอ่ ต้าน แยกตัว เกบ็ ตัว เป็นตน้ 56 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบบั นกั ส่ือสาร

แนวทางใหค้ วามช่วยเหลอื  เพมิ่ เวลาคณุ ภาพ/กจิ กรรมในครอบครัว - มเี วลาอยกู่ บั เดก็ มากขน้ึ สง่ เสรมิ หรอื จดั กจิ กรรมทส่ี นกุ สนานอยา่ ง อ่ืนให้เด็กทำ� หรือมีกิจกรรมทำ�ร่วมกันในครอบครัว พาเด็กออกนอกบ้าน เพอื่ ไปท�ำ กจิ กรรมทเี่ ดก็ ชอบ อยา่ ลมื วา่ เดก็ สว่ นหนงึ่ ตดิ เกมเพราะความเหงา เบอ่ื ไมม่ อี ะไรสนกุ ๆ ทำ� - หลีกเลยี่ งการใช้เกมเป็นเสมอื นพเ่ี ล้ียงเดก็  ลดโอกาสการเข้าถึงเกม/อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ - จัดวางตำ�แหน่งคอมพิวเตอร์หรือเคร่ืองเล่นเกมในสถานที่ท่ีโล่ง ไม่ควรตั้งไว้ในห้องนอนหรือห้องที่ปิดมิดชิด ควรจัดวางคอมพิวเตอร์ไว้ใน พ้ืนท่ีที่ใช้รว่ มกันของบ้าน เพือ่ ที่ผู้ปกครองจะเฝา้ ดูได้  เสรมิ คุณคา่ ในตัวเองและความรับผดิ ชอบให้กบั เด็ก - พูดคุยกับเด็กเพ่ือกำ�หนดกติกากันล่วงหน้าก่อนซ้ือเกมหรือ อนญุ าตใหเ้ ดก็ เลน่ เชน่ เลน่ ไดว้ นั ละกชี่ ว่ั โมง กอ่ นเลน่ ตอ้ งรบั ผดิ ชอบท�ำ อะไร ให้เสร็จเรียบร้อยก่อน หากเดก็ ไม่รกั ษากตกิ าจะถูกลงโทษอย่างไร - วางนาฬกิ าขนาดใหญไ่ วห้ นา้ เครอ่ื ง หรอื ในต�ำ แหนง่ ทเี่ ดก็ สามารถ มองเห็นได้ชดั เจน - ให้คำ�ชมเด็ก เม่ือสามารถรักษาเวลาในการเล่น และควบคุม ตัวเองไม่เล่นเลยเวลาที่กำ�หนดได้ เอาจริงและเด็ดขาด หากเด็กไม่รักษา กตกิ า เช่น ริบเกม ลดจำ�นวนชัว่ โมงการเลน่ เกมลง หรอื เลกิ อยา่ งเดด็ ขาด - สอนใหเ้ ด็กรู้จกั การแบ่งเวลา รู้จักใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม - ผู้ปกครองควรร่วมมือกันในการแก้ปัญหา โดยใช้ กฎเดียวกัน อย่าปัดให้เป็นภาระหรอื ความรบั ผดิ ชอบของใครคนใดคนหนึ่ง - รักษาสัมพันธภาพระหว่างกันให้ดี หลีกเลี่ยงการบ่น ตำ�หนิ “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 57 ฉบบั นกั ส่อื สาร

ใช้อารมณ์ หรือถ้อยคำ�รุนแรง แสดงความเห็นใจ เข้าใจว่าเด็กไม่สามารถ ควบคมุ ตนเองได้ หรอื ตัดขาดจากเกมได้จรงิ ๆ ในรายทต่ี ดิ มาก และเดก็ ตอ่ ตา้ นรนุ แรงทจ่ี ะเลกิ ในระยะแรกพอ่ แม่ ควรร่วมเล่นเกมกับเด็ก ทำ�ความรู้จักกับเกมท่ีเด็กชอบเล่น หากเห็นว่า เปน็ เกมทไ่ี มเ่ หมาะสม พยายามเบย่ี งเบนใหเ้ ดก็ สนใจเกมอนื่ ทม่ี สี ว่ นดี ดงึ เอา ส่วนดีของเกมมาสอนเดก็ เมอื่ สมั พันธภาพกบั เดก็ เร่ิมดขี ้ึน พ่อแม่จงึ คอ่ ย ๆ ดงึ เดก็ ใหม้ าสนใจ ในกิจกรรมอ่นื ทีละเลก็ ทีละนอ้ ย หากทำ�ทุกวิธีแล้วไม่ได้ผล พ่อแม่ควรพาเด็กมาพบจิตแพทย์ เนอื่ งจากเดก็ อาจจะปว่ ย มปี ญั หาสขุ ภาพจติ อยลู่ กึ ๆ เชน่ ปว่ ยเปน็ โรคซมึ เศรา้ วติ กกงั วล สมาธสิ นั้ เปน็ ตน้ เพอ่ื วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละรบั การรกั ษาอยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสมต่อไป  58 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจิต” ฉบบั นักส่ือสาร

“ตดิ พนันบอล” การตดิ พนนั (Gambling addiction : GA หรอื Compulsive gambling) เป็นความผิดปกตทิ างจิตใจ ในด้านความยับยงั้ ช่ังใจ พฤติกรรมที่เปน็ ความ ผดิ ปกตใิ นกลุม่ น้ี เชน่ การติดพนัน โรคอยากขโมยของ กดั เลบ็ ถอนเสน้ ผม ชอบเล่นไฟ เป็นตน้ สาเหตุของการตดิ การพนนั ไม่ได้มาจากสาเหตใุ ดสาเหตุเดยี ว อาจรว่ มกนั ทั้งปัญหาทางพันธุกรรม ปญั หาทางสงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม (อยใู่ นแหลง่ เสอ่ื มโทรม/มบี อ่ นการพนนั /คนใน บา้ นเล่นการพนัน/สือ่ ต่าง ๆ อนิ เตอร์เนต็ (ฟตุ บอลออนไลน)์ /ความผิดปกติ ทางบคุ ลกิ ภาพและการปว่ ยดว้ ยโรคทางจติ เวช เชน่ พฤตกิ รรมตอ่ ตา้ นสงั คม (anti-social) โรคจติ เภทขาดการยบั ยง้ั ชง่ั ใจ ในการใชจ้ า่ ยเงนิ โรคไบโพลาร์ ทั้งนี้ ในวัยรุ่น อาจมีปัญหาอ่ืน ๆ เช่น เรียนไม่ดี พ่อแม่การศึกษาน้อย ตดิ สุรา ยาเสพติด ร่วมดว้ ย โดยทั่วไป ความชุกในการติดการพนันอยู่ท่ี 2-3% ของประชากร แนวทางสังเกตพฤตกิ รรมเสยี่ งตดิ พนัน หากมี 1 ใน 3 ข้อตอ่ ไปน้ี ถอื วา่ เส่ียงติดพนนั 1. นอนไม่หลบั หงดุ หงิด หรอื วติ กกงั วล เมอื่ พยายามหยุดเล่นพนัน 2. ปดิ บงั ครอบครวั หรอื เพือ่ น ไมใ่ หร้ ูว้ า่ เสียพนัน 3. ต้องการความชว่ ยเหลือด้านการเงิน “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” 59 ฉบับนักสือ่ สาร

การเลกิ เลน่ พนนั ปกติ 1 ใน 3 ของคนทต่ี ดิ การพนนั จะเลกิ ไดเ้ อง โดยไมต่ อ้ งรกั ษา/บ�ำ บดั การคดิ เลกิ เลน่ พนันเปน็ เร่ืองปกตขิ องคนที่ตดิ พนัน แตไ่ ม่ใช่เรือ่ งงา่ ย แนวทางการรับมือ 1. ต้องกล้าบอกและขอความช่วยเหลือ บอกพ่อแม่ เพื่อนฝูงว่า ตนตดิ การพนันและต้องการท่จี ะเลกิ 2. หากิจกรรมอื่นแทนการเล่นพนัน เช่น การทำ�ความสะอาดบ้าน ไปออกก�ำ ลังกายทีย่ มิ ไปว่ายนํ้า หรือไปดหู นัง 3. บอกตัวเองว่า จะเลกิ คิดหมกมุน่ ถึงการพนัน ดว้ ยการไม่คดิ ถงึ เร่ือง การพนนั เรม่ิ ตน้ ก�ำ หนด/บอกตวั เองวา่ จะไมค่ ดิ ถงึ การพนนั เปน็ เวลา 5 นาท/ี 15 นาที/30 นาที/จนกระท่งั 1 ชว่ั โมง ยิ่งเลือ่ นเวลาคดิ ถึงการพนนั ได้นาน เท่าใด การเลิกเลน่ กง็ านมากขึน้ เท่านน้ั 4. นึกถึงส่ิงท่ีจะเกิดขึ้นตามมาเม่ือเล่นการพนัน นึกถึงความรู้สึก เมื่อสูญเสียเงินไป เมื่อรู้สึกผิดหวังในตัวเองและเมื่อครอบครัวรู้สึกผิดหวัง ในตวั เรา หรอื บนั ทกึ จ�ำ นวนเงนิ ทต่ี อ้ งสญู เสยี จากการพนนั เมอื่ รวมแลว้ จะเสยี มากกวา่ เงินที่ได้ตอบแทน 5. ถ้าปฏิบัติตามแนวทางข้างต้นไม่ประสบผลสำ�เร็จ ควรปรึกษา จิตแพทย์/นักจิตวิทยา เพ่ือรับการบำ�บัด ซ่ึงอาจจะเป็นการรักษาด้วยยา รว่ มกับการทำ�จติ บ�ำ บดั ตอ่ ไป ขอ้ แนะน�ำ ท่วั ไป เชียร์บอลกันอย่างมีสติ ดูแลตนเอง บริหารเวลาการดูฟุตบอลอย่าง เหมาะสม มีเวลาพักผ่อน ไม่ควรติดตามตอ่ เนอื่ งนานเกนิ 2 วนั หรอื ติดตาม จากสื่ออื่นๆ แทน  60 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” ฉบับนักสื่อสาร

“วยั ร่นุ กับการด่มื สุราและใช้สารเสพติด” พ่อแม่หรือผู้ปกครองเป็นปัจจัยสำ�คัญที่สุดในการป้องกันยาเสพติด เพราะมีอิทธิพลสูงสุดต่อการเจริญเติบโตของลูกตนเอง ทั้งน้ี ลักษณะ พนื้ ฐานการเตบิ โตของเดก็ แตล่ ะคนจะท�ำ ใหเ้ กดิ โอกาสเสพสารเสพตดิ ตา่ งกนั ลกั ษณะของเด็กท่มี ีโอกาสเสพสารเสพติด เช่น 1. เดก็ ทีเ่ กิดจากพอ่ แม่ทด่ี ่ืมหรอื ติดเหล้าท่ีใชห้ รือติดยาเสพตดิ 2. เด็กที่มคี วามพิการทางรา่ งกาย มปี ญั หาทางสุขภาพต้งั แตเ่ ด็ก ๆ 3. เด็กที่มีครอบครัวแตกแยก ทะเลาะเบาะแว้ง สับสน ไร้ความรัก ขาดความอบอุ่น 4. เดก็ ที่ถูกทารุณกรรมทางกาย ทางใจ หรอื ทางเพศ 5. เดก็ ทมี่ ปี ญั หาสขุ ภาพจติ เชน่ ชอบท�ำ รา้ ยตนเอง หรอื คดิ ฆา่ ตวั ตาย 6. เดก็ ท่ีมีนสิ ยั กา้ วร้าว พาล ขวางสังคม เขา้ กบั เด็กอนื่ ไมไ่ ด้ 7. เดก็ ทเี่ อาแตใ่ จตวั เอง 8. เด็กขอ้ี ายเกินไป หรือเด็กทีป่ ระเมินคา่ ตนเองต่ํา 9. เดก็ ทไ่ี มช่ อบไปโรงเรยี น ขาดเรยี น หนเี รยี น หยดุ เรยี นกอ่ นวยั อนั ควร เดก็ ท่ีมีปัญหาการเรียน 10. เดก็ ทไี่ ม่มีจิตผกู พนั กบั คนอื่น หรือกับสงั คมแวดลอ้ มใกลต้ ัว 11. เดก็ ที่ขาดทักษะชีวติ แกป้ ัญหาไม่เปน็ 12. เด็กท่คี บเพ่ือนใชย้ า 13. เดก็ ที่ลองยาตั้งแตก่ อ่ นอายุ 15 ปี “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 61 ฉบับนกั สื่อสาร

 อารมณแ์ ปรเปลย่ี นไปเชน่ อารมณค์ มุ้ ดคี มุ้ รา้ ยเปลย่ี นงา่ ยมากซมึ เศรา้ เบอ่ื หนา่ ย เหนอื่ ยงา่ ย เกบ็ ตวั ปลอ่ ยตวั โมโหงา่ ย อารมณฉ์ นุ เฉยี ว ชอบขนึ้ เสยี ง นํ้าเสยี งไม่เปน็ มติ ร พาลหาเรอ่ื ง  ความสมั พนั ธแ์ ปรเปลย่ี นไป เชน่ ความสมั พนั ธก์ บั ครอบครวั แยล่ ง ทงิ้ เพื่อนเก่า คบคนแปลกหนา้ เป็นเพ่อื น ทำ�ตัวลกึ ลบั  พฤติกรรมแปรเปลี่ยนไป เช่น ไม่มีสมาธิ เหม่อลอย ไม่สนใจ การเรยี น ผลการเรยี นแย่ลง ละทงิ้ กจิ กรรมทเี่ คยชอบ เชน่ กฬี า หรืองาน อดเิ รกท่เี คยทำ� ไมก่ นิ อยู่ หลบั นอนตามเวลา ข้อสงั เกตอนื่ ๆ เชน่ เงนิ ทอง และขา้ วของในบา้ นหายไป มีอาการทาง กายผดิ ปกติ เช่น ตาแดง นํ้ามูกไหลทัง้ ๆ ทไ่ี ม่เปน็ หวัด เปน็ ตน้ ลักษณะเดก็ ทม่ี ภี มู ิคมุ้ กนั 1. มจี ิตผกู พนั กับครอบครัว รกั พ่อแมพ่ น่ี อ้ ง 2. ครอบครัวมีระเบียบกฎเกณฑ์แน่นอนสำ�หรับความประพฤติของ สมาชกิ ในครวั เรือน 3. สมาชิกในครอบครัวพูดจากันรู้เรื่อง แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4. เดก็ ทม่ี คี วามส�ำ เรจ็ ในการเรยี น และกจิ กรรมทง้ั ในและนอกหลกั สตู ร 5. เดก็ ท่มี ที กั ษะชวี ติ ได้แก่ เด็กทม่ี คี ณุ ลกั ษณะ - เคารพรักในศักด์ิศรีของตนเอง มีความเช่ือม่ันในตัวเอง ประเมนิ คา่ ตนเองดพี อควร - ชอบช่วยผอู้ ่ืน ชว่ ยท�ำ ประโยชน์ให้สังคม - มที กั ษะในการแก้ปญั หาและมีทักษะในการตัดสินใจทด่ี ี - สามารถเข้ากบั คนอนื่ ได้ดี - มีทกั ษะในการจัดการกับอารมณ์ 62 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสอื่ สาร

เม่อื สงสยั วา่ ลกู ดื่มเหลา้ หรอื ใชส้ ารเสพติด ควรปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ควบคมุ สตขิ องตวั เอง ควบคมุ อารมณ์ และความคดิ ใหเ้ ปน็ กลาง ในการหาทางออก โดยไม่เพง่ โทษตัวเองและผูอ้ ่ืน 2. อยา่ สอบถามหรอื ไตส่ วนในขณะทยี่ งั เมายาอยู่ เพราะจะเปน็ ชนวน ให้เกิดการทะเลาะวิวาท เหมือนราดน้ํามนั ลงในกองไฟ 3. พดู คุยกันให้ร้เู รอ่ื งตามข้อเท็จจรงิ เม่ือลกู สรา่ งเมาแลว้ 4. วางกฎเกณฑ์ และบทลงโทษใหเ้ หมาะสม ตามความเปน็ จรงิ 5. ปฏิบตั ติ ามกตกิ า ขอ้ ตกลงอย่างเครง่ ครัด 6. ให้ความช่วยเหลือลูก เพ่ือให้รับการบำ�บัดรักษาที่ถูกต้องและ เหมาะสมตอ่ ไป ขอ้ แนะน�ำ /แนวทางป้องกนั หวั ใจของการเลย้ี งลกู ใหพ้ น้ ภยั ยาเสพตดิ คอื การสรา้ ง “สบิ สรา้ งทรงพลงั ” ซึ่งน�ำ ไปปฏบิ ัตไิ ด้ง่ายไม่สลบั ซับซอ้ น เรียนรูแ้ ละฝึกหัดกนั ไดไ้ ม่ยากนัก สร้างที่หน่ึง คือ “สรา้ งเวลาทีม่ ีคุณภาพ” การให้เวลาซึ่งกันและกันในครอบครัวไม่จำ�เป็นต้องใช้เวลานาน ขอให้ เป็นเวลาท่ีมีความหมาย คือ ใช้เวลาทุกนาทีให้คุ้มค่า เป็นประโยชน์ เป็น “เวลาคณุ ภาพ” สรา้ งทส่ี อง คอื “สรา้ งการส่ือสารทม่ี ีคณุ ภาพ” สร้างระบบการสื่อสารแบบไปกลับสองทาง รู้จักพูด รู้จักฟัง รู้จัก ออกความเหน็ รจู้ กั วจิ ารณ์รจู้ กั ชมรจู้ กั ต�ำ หนิรจู้ กั รบั รคู้ วามรสู้ กึ ของผอู้ น่ื ฝกึ ลกู และตนเองให้ “พูดกันรู้เร่ือง” หันมาฟังลูกและรับรู้ในความรู้สึกและ ความนึกคิดของลูกได้ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 63 ฉบบั นกั สื่อสาร

สรา้ งทีส่ าม คอื “สรา้ งการรู้คณุ คา่ ของตัวเอง” เด็กที่มีมุมมองในแง่ดีต่อตนเอง รู้แจ้งเห็นจริงในจิตสำ�นึกว่า “ของดี ตนมอี ยู”่ ไมโ่ ออ้ วดแต่มีศกั ดศิ์ รี มโี อกาสตดิ ยาเสพตดิ นอ้ ยมาก สงิ่ ดเี หลา่ น้ี ได้มาจากการฝึกให้มองตนเอง มองพ่อแม่ พ่ีน้อง มองผู้อ่ืนและมองโลก ในแงด่ ี จงึ ควรฝกึ ลกู ใหน้ กึ ถงึ แตส่ งิ่ ดงี ามประจ�ำ ตวั วนั ละขอ้ สองขอ้ จนตดิ เปน็ นิสัย ฝึกให้รู้จักชมสมาชิกในครอบครัววันละอย่างสองอย่าง ฝึกให้รู้จัก มองเห็นข้อดีของคนอ่ืน ฝึกให้รู้จักให้กำ�ลังใจตนเองและผู้อื่น แต่ท้ังหมดนี้ ตอ้ งท�ำ ดว้ ยความจรงิ ใจ ไมป่ ระจบสอพลอ “คดิ ด”ี ตอ่ ตวั เองเทา่ ไร ยอ่ มไมล่ อง ยาเสพติดเทา่ น้นั สรา้ งที่ส่ี คือ “สรา้ งกฎระเบียบในบา้ น” ใหม้ กี ฎเกณฑแ์ ละกตกิ าการอยรู่ ว่ มกนั โดยท�ำ ความตกลงกนั กอ่ น วางขอ้ ยกเว้นใหช้ ัดเจนไมค่ ลุมเครอื วางขอ้ ลงโทษที่น�ำ ไปปฏิบัติได้ ไมอ่ อกกฎและ ลงโทษตามอารมณห์ รอื เกินกว่าเหตุ เช่น ตดั ขาดจากความเป็นแมล่ กู กนั ไม่ ใจอ่อนเมอ่ื ถงึ เวลาท่ตี ้องลงโทษ มีกฎระเบยี บเกี่ยวกับยาเสพติดในบา้ นให้ ชัดเจน สรา้ งทีห่ ้า คอื “สร้างหนา้ ที่และความรบั ผิดชอบ” โดยแบง่ งานบา้ นใหท้ �ำ เพอ่ื ฝกึ ใหร้ จู้ กั หนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบ โดยเรม่ิ จากท�ำ กจิ กรรมครอบครวั รว่ มกนั ฝกึ ใหร้ จู้ กั ชว่ ยเหลอื สงั คมและผดู้ อ้ ยโอกาส กวา่ เปน็ การลดความเหน็ แกต่ วั ซง่ึ จะเพมิ่ ศกั ดศ์ิ รขี องตนเองและยงั สง่ ผลให้ “ดูแลตวั เอง” ในภายหลัง หัดใหล้ ูกทำ�งานบา้ นและเสยี สละเป็นบ้าง สรา้ งทห่ี ก คอื “สรา้ งทกั ษะในการจดั การกบั อารมณ์ ทไ่ี มเ่ หมาะสม” ความเครยี ดและอารมณท์ ไ่ี มเ่ หมาะสม ไดแ้ ก่ อารมณโ์ กรธ อารมณเ์ ศรา้ เบอ่ื หนา่ ย มกั เปน็ แมเ่ หลก็ ยกั ษผ์ ลกั ลกู ใหเ้ ขา้ หายาเสพตดิ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งฝกึ ลกู ใหร้ จู้ กั จดั การกบั ความเครยี ดและอารมณท์ ไ่ี มด่ นี นั้ ฝกึ ใหร้ วู้ า่ เมอื่ ไรเครยี ด 64 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” ฉบบั นกั ส่ือสาร

หรอื มีอารมณไ์ ม่ดี รูถ้ งึ ผลกระทบตอ่ ร่างกาย จิตใจ และพฤตกิ รรม ร้จู ักหา สาเหตุและฝึกวิธีคลายเครียดและระบายอารมณ์ให้เป็น พ่อแม่ควรถาม ทกุ ขส์ ขุ ของลกู อยเู่ สมอ ชว่ ยใหล้ กู รจู้ กั อา่ นความเครยี ดและอา่ นอารมณข์ อง ผอู้ น่ื ฝกึ ใหร้ จู้ กั “เอาใจเขามาใสใ่ จเรา” หมนั่ ฝกึ ซอ้ มกบั ลกู เพอื่ ใหเ้ กดิ ทกั ษะ ในการผอ่ นคลายความเครยี ดและระบายอารมณ์ใหเ้ หมาะสม สร้างท่เี จด็ คือ “สรา้ งความค้นุ เคยกับสงิ่ แวดล้อมของลูก” พ่อแม่ต้องรู้จักเพื่อนและสังคมนอกบ้านของลูก ฝึกให้แยกเพ่ือนดี ออกจากเพ่ือนไม่ดี พร้อมช่วยลูกยามท่ีคบเพ่ือนผิด ควรรู้จักพ่อแม่ของ เพอื่ นลกู ดว้ ย จะไดเ้ ปน็ แนวรว่ มปรกึ ษาและอาจท�ำ กจิ กรรมทเี่ ปน็ ประโยชน์ ต่อลูกร่วมกัน รู้จักแหล่งสถานท่ีเส่ียงต่อการเสพสารเสพติดและ สิง่ มึนเมา เพ่อื ช้แี นะให้ลกู หลบหลีก ร้จู ักสงั คมออนไลนบ์ นโลกอนิ เตอรเ์ นต็ คอมพิวเตอร์ เช่น การท่ีลูกใช้เวลาอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์นาน ๆ ท้ังวัน คยุ กับเพ่ือนจนพฤตกิ รรมอารมณเ์ ปลยี่ นไปไมเ่ หมาะสม สร้างทีแ่ ปด คือ “สรา้ งความรูเ้ รือ่ งยาเสพตดิ ใหแ้ ก่ลกู ” มีการวิจัยพบวา่ เดก็ ทีไ่ ด้รบั ความร้เู ร่ืองยาเสพตดิ จากพอ่ แมโ่ ดยตรงจะ ไม่ลองยา และเด็กส่วนใหญ่อยากจะได้รับความรู้ด้านน้ีจากพ่อแม่มากกว่า เพื่อนฝูง พ่อแม่จึงควรหม่ันศึกษาหาความรู้เก่ียวกับยาเสพติด หาโอกาส ท่เี หมาะสมเพือ่ พดู คุยกับลูก ให้ขอ้ เทจ็ จรงิ เจาะลึกผลด-ี ผลเสยี และใหล้ กู แสดงความคดิ เห็นและสิ่งที่เขาเรียนรู้มาจากเพอ่ื น สร้างที่เกา้ คอื “สรา้ งทกั ษะในการแกป้ ัญหาและการตดั สินใจ” ฝึกลูกให้ “คิดเป็น” คือ รู้จักแยกแยะปัญหา รู้จักหาทางแก้ปัญหา ทอ่ี าจจะเปน็ ไปได้ รจู้ กั ไตรต่ รองถงึ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี โดยชงั่ นา้ํ หนกั ผลกระทบ และรู้จัก ตัดสินใจโดยมีสติปัญญากำ�กับ ให้ฝึกทักษะด้านน้ีจากชีวิตจริง “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจติ ” 65 ฉบบั นักสือ่ สาร

ของลูก โดยพอ่ แมส่ นบั สนนุ ใหน้ �ำ ปัญหามาถกเถียงหาสาเหตุและทางแกไ้ ข เม่ือผิดพลาดไป ช่วยลูกให้รู้จักหาสาเหตุและยึดไว้เป็นบทเรียน ฝึกลูกให้ คิดเป็น แก้ปญั หาเปน็ ตดั สินใจเป็น สร้างที่สบิ คอื “สรา้ งทกั ษะการปฏเิ สธยาเสพติด” ต้องฝึกให้เด็กเรียนรู้ว่า การปฏิเสธเป็น คือ สิ่งท่ีน่ายกย่องและเป็น สว่ นหนง่ึ ของการเตบิ โตของผใู้ หญท่ กี่ ลา้ หาญ เดก็ ทวั่ ไปเมอ่ื เผชญิ กบั สงิ่ ยวั่ ยุ และแรงกดดันให้ใช้ยา มักวางตัวไม่ถูก ตกเป็นเหยื่อชักจูงให้ลองยาได้ง่าย พอ่ แม่จำ�เปน็ ต้องฝกึ ซอ้ มกบั ลูกอยเู่ สมอ โดยสมมตเิ หตุการณ์ข้ึน เล่นละคร ซอ้ มบทกนั ใหส้ มจรงิ เพอ่ื ใหล้ กู รจู้ กั เทคนคิ ปฏเิ สธยาในสถานการณเ์ สยี่ งตา่ ง ๆ ฝึกลูกให้รู้จักสถานท่ีย่ัวยุให้ใช้ยา ฝึกให้ลูกรู้จักผลกระทบที่แท้จริง ของสอื่ โฆษณาและการเผยแพรซ่ ปุ เปอรส์ ตารท์ ด่ี มื่ เหลา้ เบยี ร์ สบู บหุ รี่ หรอื เสพยาเสพตดิ ว่า การเลยี นแบบสอ่ื หรอื ดารามีผลรา้ ยอย่างไรบ้าง  66 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” ฉบบั นกั สอื่ สาร

“วัยรุ่นกบั พฤตกิ รรมเสย่ี งทางเพศ” วยั รนุ่ เปน็ ชว่ งวยั ทเี่ ผชญิ กบั ความทา้ ทาย ทง้ั ในเรอ่ื ง เพศ ยาเสพตดิ และ ความรนุ แรง วยั รนุ่ ตอ้ งคอ่ ย ๆ เรยี นรเู้ รอื่ งการควบคมุ ตนเอง สมั พนั ธภาพทด่ี ี ระหวา่ งพอ่ แมก่ บั ลกู ตง้ั แตว่ ยั เดก็ และทา่ ทขี องพอ่ แมท่ ร่ี บั ฟงั เปดิ ใจ พยายาม เขา้ ใจ ยอมรบั ความสนใจเรอ่ื งเพศตามวยั ไมด่ ว่ นต�ำ หนหิ รอื ตดั สนิ ลกู ใชเ้ วลา คณุ ภาพรว่ มกนั ในครอบครวั จะเปน็ ปจั จยั ปกปอ้ งทส่ี �ำ คญั ทส่ี ดุ ในการปอ้ งกนั ปัญหาพฤติกรรมเส่ียงๆ ต่างๆ ในชว่ งลกู วยั ร่นุ ได้ การเสริมสร้างคุณคา่ ใหว้ ัยรุ่น เชน่ การสร้างกิจกรรมหรือมีพน้ื ทใ่ี หก้ บั กลุ่มวัยรุ่นเยาวชนได้แสดงความสามารถหรือได้ทำ�ในกิจกรรมที่ตนสนใจ และมีความชอบจะทำ�ให้วัยรุ่นได้มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณค่าให้กับตนเอง ได้มากกวา่ การมงุ่ ไปท่กี ิจกรรมการแสดงความรัก กิจกรรมที่เสริมสร้างคุณค่าให้วัยรุ่น เช่น กิจกรรมการมอบความรัก ใหก้ ับพ่อแม่ ผูด้ ้อยโอกาส(เดก็ /คนชราผู้ป่วย) กิจกรรมชว่ ยเหลือสาธารณะ ประโยชน์ เพื่อท่ีวัยรุ่นจะได้เข้าใจแง่มุมของความรักว่ามีความรัก หลายรปู แบบไม่ใช่เฉพาะความรักระหว่างหนมุ่ สาว แตม่ ีความรกั ท่ีสามารถ จะเผื่อแผใ่ หก้ ับผใู้ กล้ชิด ผู้มพี ระคุณ ร้จู ักเสียสละเพ่อื ผ้อู น่ื พรอ้ มท้ังไดร้ บั ความชื่นชมจากคนรอบข้างและสังคม ที่จะทำ�ให้เกิดความภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าของความรัก ในขณะเดียวกันสังคมก็จะได้รับประโยชน์ จากกลุม่ วยั รุ่น มีทัศนคติทดี่ ตี ่อวัยรนุ่ ด้วย “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” 67 ฉบับนกั สอื่ สาร

แนวทางการลดความเส่ียงของการมีพฤติกรรมทางเพศ ที่ไมเ่ หมาะสมของวยั รนุ่  พฒั นาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ทั้ง 3 ด้าน ใหก้ บั เด็ก ไดแ้ ก่ 1) ด้านเก่ง พฒั นาในเรอ่ื งการตัดสินใจแกป้ ญั หา ซ่ึงจะชว่ ยใหเ้ ดก็ มีสติ คดิ ถงึ ผลทีจ่ ะตามมาเมอื่ อย่ใู นสถานการณท์ เ่ี ส่ียงต่อการมีเพศสมั พนั ธ์ 2) ด้านดี พัฒนาในเรื่องการควบคุมตนเองและการรับผิดชอบ ซ่ึงจะทำ�ให้เด็กตระหนักรู้ถึงอารมณ์เพศของตนเอง รู้ว่าเมื่อเกิดอารมณ์ ทางเพศจะระบายออกด้วยวิธีท่ีเหมาะสมอย่างไรหรือสถานการณ์ใด ท่ีเส่ียงต่อการถูกกระตุ้น ซ่ึงควรหลีกเล่ียง รวมทั้งตระหนักได้ว่าถ้ามี เพศสัมพันธ์แล้วเกิดผลกระทบขึ้น ถ้ารับผิดชอบส่ิงที่ตามมาไม่ได้ย่อมถูก ต�ำ หนิ ลงโทษไม่ไดร้ ับการยอมรบั 3) ดา้ นสขุ พัฒนาในเร่ืองของการสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง ซึ่งจะทำ�ให้วัยรุ่นสามารถตัดสินใจได้อย่างมีสติ เป็นตัวของตัวเอง ไม่กลัว คนรักโกรธ ม่ันใจในคุณค่าของตนเอง ไม่ตกเป็นเหย่ือของการท้าทาย ไมพ่ ิสจู นต์ นเองด้วยวิธีทเ่ี ส่ียง 5 พฤติกรรมเสี่ยงประเมนิ ควบคู่กับความฉลาดทางอารมณ์ 6 ข้อ 5 พฤติกรรมเสี่ยง 1. มคี นรกั หรือแฟน 2. มพี ฤตกิ รรมที่ชอบเลน่ อินเตอรเ์ น็ตช่วงดึกๆ 3. มกี ิจกรรมสงั สรรค์ทีม่ ีสุราเกย่ี วข้องบ่อย 4. มที ่พี ัก/กจิ กรรมท่นี อกสายตาพ่อแม่ 5. ไม่มีกิจกรรมอดเิ รกอื่น ๆ ทำ� 68 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนักส่อื สาร

ความฉลาดทางอารมณ์ 6 ข้อ 1. ใจร้อน รอไม่เป็น 2. ชอบทำ�สง่ิ ที่พอ่ แม่ห้าม 3. ตดิ เพอ่ื น เกรงใจเพ่อื นมากกว่าพ่อแม่ 4. ท�ำ อะไรไม่เสรจ็ ล้มเลกิ งา่ ย 5. มคี วามลับกบั พอ่ แม่ ปกปิด โกหก 6. เอาแตใ่ จ เบ่ือง่าย หงุดหงิดง่าย ซึ่งหากประเมินแล้ว พบว่า วัยรุ่นมีพฤติกรรมเสี่ยง ตั้งแต่ 3 ข้อข้ึนไป จาก 5 ขอ้ โดยเฉพาะขอ้ 1 และ ขอ้ 4 ประกอบกบั มพี ฤตกิ รรม ตง้ั แต่ 2 ขอ้ ขน้ึ ไป จากการประเมนิ ความฉลาดทางอารมณ์ โดยเฉพาะ ขอ้ 2 หรอื ขอ้ 5 เด็กและวัยรุ่นมีความเส่ียงท่ีจะมีเพศสัมพันธ์มากถึงข้ันท่ีผู้ปกครองควรต้อง ระมัดระวังหรอื ปอ้ งกนั พ่อแม่ผู้ปกครอง และครู สามารถเป็นโค้ชท่ีดีในการช่วยฝึกทักษะ “การปฏเิ สธ” สงิ่ ต่างๆ ทไี่ มด่ ีใหก้ ับเดก็ ได้ โดยอาจเลอื กสถานการณส์ มมติ ขึ้นมาจากเหตุการณ์ข่าวหรือเร่ืองต่างๆ ท่ีเด็กนำ�มาเล่า หรืออาจดัดแปลง เรื่อง โดยใช้ผูค้ นและสถานท่ที เี่ ดก็ รูจ้ กั มาผกู เป็นสถานการณป์ ัญหาที่จะคุย กนั เพอ่ื ความสมจรงิ แลว้ ใหเ้ ดก็ โตต้ อบดว้ ยการกระท�ำ และค�ำ พดู ของตนเอง ซงึ่ ต้องนำ�มาคยุ และฝกึ กนั บอ่ ยๆ ที่ส�ำ คัญ ควรเปิดใจ ยอมรับโลกท่ีเปล่ียนไป มองว่า เร่ืองเพศเป็นเรื่อง ธรรมชาติ สามารถคยุ กันได้ “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” 69 ฉบบั นกั ส่อื สาร

เทคนคิ การปฏิเสธส�ำ หรบั วยั ร่นุ ได้แก่ 1. ต้องรกู้ ่อนวา่ “การปฏเิ สธเปน็ สิทธิส่วนบคุ คล” 2. บอกความรู้สึกประกอบเหตุผล เช่น “ฉันไม่สบายใจเลยท่ีเธอ ขอมีอะไรกันกับฉัน ถา้ แม่รู้แมข่ องเราคงเสยี ใจมาก” 3. ขอปฏิเสธ/ไม่เปิดโอกาสให้เป็นใจ เช่น “ฉันขอไม่ไปต่อกับเธอ และคดิ ว่าจะหยุดเพียงแค่น้เี พอื่ อนาคตของเราทง้ั สองคน” 4. ปฏเิ สธซ้ํา/บอกลา เช่น “ฉนั จะไม่ทำ�สิง่ ที่ไมเ่ หมาะสมแบบนีอ้ กี ขอตวั ก่อนนะคะ” 5. ต่อรอง/ผัดผ่อนเพ่ือยืดเวลา เช่น “เราแยกย้ายกันกลับดีกว่า... เอาไวว้ ันหลังคอ่ ยไปดหู นังกนั ใหม่ละกัน” เปน็ ตน้  70 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” ฉบับนกั ส่อื สาร

ทีป่ รกึ ษาและคณะท�ำ งาน ทีป่ รึกษา น.ต.นพ.บญุ เรอื ง ไตรเรอื งวรวัฒน์ อธิบดกี รมสขุ ภาพจิต นายแพทย์ชโิ นรส ล้ีสวสั ดิ์ รองอธบิ ดีกรมสุขภาพจิต นายแพทย์พงศเ์ กษม ไขม่ กุ ด ์ รองอธิบดกี รมสุขภาพจิต นายแพทยส์ มยั ศิรทิ องถาวร รองอธิบดกี รมสุขภาพจิต นายแพทยย์ งยุทธ วงศภ์ ริ มย์ศานต ิ์ ท่ีปรกึ ษากรมสขุ ภาพจิต นางนนั ทนา รตั นากร ผอู้ ำ�นวยการ กองสุขภาพจิตสังคม แพทย์หญิงวมิ ลรตั น์ วันเพ็ญ สถาบนั สขุ ภาพจติ เดก็ และวยั รนุ่ ราชนครินทร์ แพทยห์ ญงิ ศุทรา เอ้ืออภสิ ิทธ์วิ งศ์ สถาบนั สขุ ภาพจติ เดก็ และวยั รนุ่ ราชนครินทร์ แพทย์หญงิ อาภาภรณ ์ พึ่งยอด สถาบันราชานกุ ูล คณะท�ำ งาน ทับทิมเจอื กองสขุ ภาพจิตสงั คม นางสาวปยิ ฉัตร สวุ รรณานนท์ สถาบันราชานุกลู นางณัฐชนก นาทะพนั ธุ์ กองสุขภาพจติ สงั คม นายชนนิ ทร์ ฉัตรทอง กองสขุ ภาพจิตสงั คม นายอานนท์  “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจติ ” 71 ฉบบั นักส่อื สาร





สขุ ภาพจติ และจิตเวชผู้ใหญ่ “ความสขุ ” สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น ได้กำ�หนดให้วันท่ี 20 มีนาคม ของทุกปี เป็นวัน “ความสุขสากล” หรือ The International Day of Happiness การกำ�หนดวันดังกล่าวขึ้นน้ัน “ยูเอ็น” มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ เพ่ือให้ ทกุ คนรว่ มเฉลมิ ฉลอง และตระหนกั ถงึ ความสขุ อนั เปน็ เปา้ หมายพนื้ ฐานของ มนุษยชนรวมถึงแรงบันดาลใจในการใช้ชีวิตของมนุษย์ และเพื่อเรียกร้อง ให้แต่ละประเทศผลักดันและเข้าถึงนโยบายสาธารณะที่จะเพิ่มความสุขให้ แก่ประชาชน การพัฒนาทางเศรษฐกิจจะต้องมาพร้อมกับสังคมและส่ิงแวดล้อมที่ดี เป็นส่งิ ส�ำ คญั ทจี่ ะทำ�ใหบ้ รรลุความสขุ ของโลก โดยไดส้ ำ�รวจวดั ระดับความ สขุ ใน 156 ประเทศท่ัวโลก ตัวช้ีวัดความสุขของประเทศต่าง ๆ เช่น รายได้ การมีงานทำ� ความ สัมพันธ์ท่ีดี ความไว้วางใจกันในชุมชน การมีค่านิยมท่ีเอื้อต่อความสุขและ ศาสนา สุขภาพกาย สุขภาพจิต ความสัมพันธ์ในครอบครัว การศึกษา เสรภี าพทางการเมอื ง ความเขม้ แขง็ ของเครอื ข่ายสังคม การไม่มีคอรร์ ปั ช่ัน และความเท่าเทยี มทางเพศและสงั คม เปน็ ตน้ 72 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสื่อสาร

สำ�หรับประเทศไทย ได้ทำ�การสำ�รวจความสุขคนไทย ล่าสุด คือ ปี 2558 โดยความร่วมมือระหว่างกรมสุขภาพจิต สำ�นักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) สถาบันวิจัยประชากรและสังคม และสำ�นักงานกองทุนสนับสนุน การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ(สสส.)ดว้ ยแบบส�ำ รวจสขุ ภาพจติ คนไทยฉบบั สนั้ 15ขอ้ พบวา่ การจดั สรรเวลาส�ำ หรบั งาน/ชวี ติ สว่ นตวั /ครอบครวั ไดด้ ี จะมคี วามสขุ มากกวา่ 4.2 เทา่ ขณะที่ การมสี ขุ ภาพดี จะมคี วามสขุ มากกวา่ 3.9 เทา่ และ การอาศัยอยู่ในชมุ ชนและสงั คมท่ปี ลอดภยั จะมีความสขุ มากกว่า 2.9 เทา่ นอกจากนี้ ยังพบว่า ปัจจัยกำ�หนดความสุขของคนในแต่ละพื้นท่ี ได้แก่ การมีสิ่งแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติสวยงาม ชุมชนมีสายสัมพันธ์ท่ีดี ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ผู้คนรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อาหาร การกนิ อดุ มสมบรู ณ์ มหี นว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ ใกลบ้ า้ นทไี่ วใ้ จได้ มเี ศรษฐกจิ ค่อนข้างดี สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชน ภาคธุรกิจมีความใกล้ชิดกับชุมชน มเี อกลกั ษณท์ างวฒั นธรรม มงี านประเพณที ชี่ มุ ชนภมู ใิ จ ลกู หลานรกั ถนิ่ เกดิ ผูค้ นมสี ขุ ภาพดี ส่วนปจั จัยคกุ คามความสุขของประชากร ท่สี ำ�คัญ คอื การแพร่ระบาด ของยาเสพติด ปัญหาจราจรในเขตเมือง ปัญหาส่ิงแวดล้อม การขายท่ีดิน ละแวกบา้ น การลงทุนขนาดใหญ่ เหลา่ นสี้ ะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ความสขุ ของประชาชนเกดิ ขนึ้ จากปจั จยั หลาย อยา่ งร่วมกนั ไมใ่ ชเ่ พยี งตัวเลขทางเศรษฐกจิ เทา่ นัน้ แต่รวมถึงการมสี ุขภาพ ทีด่ ี และสงั คมทีแ่ ขง็ แรงดว้ ย “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” 73 ฉบับนกั สอื่ สาร

สำ�หรับแนวทางสร้างสุข ขอเชิญชวนให้ร่วมกันสร้างสุขด้วยบัญญัติสุข 10 ประการ ท่ีพัฒนาข้ึนจากผลการวิจัย เรื่อง ความสุขคนไทย งานวิจัย ความสขุ จากต่างประเทศ และขอ้ คิดของปราชญ์ชาวบา้ น ได้แก่ 1. ออกก�ำ ลังกายเปน็ ประจำ� อย่างนอ้ ย 30 นาที สปั ดาหล์ ะ 3 ครง้ั 2. คน้ หาจดุ แข็ง ความถนดั และศักยภาพ พัฒนาจนเป็นความส�ำ เร็จ 3. ฝกึ หายใจคลายเครยี ด และทกั ษะผอ่ นคลายอน่ื ๆ (เชน่ โยคะ ไทเ้ กก๊ ) 4. คิดทบทวนสง่ิ ดี ๆ ในชวี ติ และฝกึ มองโลกในแงด่ ี 5. บริหารเวลาใหส้ มดลุ ระหว่างการงาน สขุ ภาพ และครอบครวั 6. คดิ และจดั การปญั หาเชงิ รุก อยา่ ปลอ่ ยใหส้ ถานการณช์ วี ติ หรอื ปญั หาตา่ ง ๆ ทผี่ า่ นเขา้ มา ก�ำ หนด ความเป็นไปของชวี ติ คุณ ควรจดั เวลาท�ำ ความเข้าใจปญั หา คิดหาทางเลือก ในการก้าวเดิน โดยการตั้งคำ�ถามกับตัวเองว่า ปัญหาท่ีประสบอยู่นั้น “มันเป็น ปญั หาอย่างไร” เราหว่ งอะไร กงั วลใจในแงใ่ ด ในปญั หานั้น แต่ละเรอ่ื งทเี่ ราหว่ งหรอื กงั วลใจ ทบทวนดวู ่า “เราทำ�อะไรได้บา้ ง” จากน้ัน ให้ลงมอื ท�ำ อย่ามัวแต่คิดกงั วลใจ “คณุ จะรสู้ กึ เปน็ เจา้ ของชวี ติ ตนเองมากขน้ึ พอใจในชวี ติ มากขนึ้ ” เตมิ สขุ ดว้ ยการเพม่ิ คณุ ภาพจติ ใจ 74 “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสอ่ื สาร

7. มองหาโอกาสในการมอบสงิ่ ดี ๆ ใหก้ ับผอู้ ่ืน ความสุขในทางโลก อาจแบง่ ออกไดเ้ ปน็ สามระดับ หนง่ึ ความสขุ และความเพลิดเพลนิ ทางรา่ งกาย เชน่ รบั ประทาน อาหารอร่อย สอง ความสุขจากชวี ิตท่ลี งตวั มีงานทีท่ า้ ทาย มีความรกั และงาน อดเิ รก สาม ความสุขจากชีวิตท่ีมีความหมาย ได้ใช้ศักยภาพของตน เพ่ือ ประโยชน์ส่วนรวม ท�ำ สง่ิ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและสงั คม กิจกรรมสนุกสนานประเภทต่าง ๆ ไม่สามารถสร้างความสุขใจ ไดล้ กึ ซง้ึ เท่ากบั การทีเ่ ราได้มอบส่งิ ดี ๆ ให้กบั ผอู้ ่ืน เมอ่ื เราชว่ ยเหลอื ผอู้ นื่ ใหเ้ ปน็ สขุ ตวั เราเองกม็ คี วามสขุ มากขนึ้ ไปดว้ ย 8. ศึกษาและปฏบิ ตั ิตามหลกั คำ�สอนทางศาสนา ผศู้ กึ ษาและปฏบิ ตั ติ ามหลกั ค�ำ สอนทางศาสนา ไดร้ บั ประโยชนจ์ าก ศาสนาอยา่ งนอ้ ย 4 ดา้ น ได้แก่ 1) มสี งั คม เพ่ือนฝงู ที่ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิธรรมรว่ มกัน 2) มจี ดุ หมายในการท�ำ สงิ่ ตา่ งๆมากขน้ึ และในเวลาทต่ี อ้ งตดั สนิ ใจ เร่ืองสำ�คญั กม็ ีแนวทางท่ชี ดั เจนจากหลักคำ�สอนทางศาสนา 3) หลกี เลี่ยงจากพฤตกิ รรมเส่ยี งต่าง ๆ เช่น ดืม่ สรุ า ใชย้ าเสพติด 4) เข้าใจชีวติ มากข้นึ มคี วามสุขไดง้ า่ ยขน้ึ “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 75 ฉบับนักสื่อสาร

9. ให้เวลาและทำ�กิจกรรมความสุขร่วมกับสมาชิกในครอบครัว เปน็ ประจ�ำ อยา่ คาดหวงั วา่ คขู่ องตนตอ้ งสมบรู ณแ์ บบ ควรยอมรบั ขอ้ จ�ำ กดั ของ กันและกนั ฝกึ รบั ฟังอย่างใสใ่ จ ชืน่ ชมกนั ด้วยความจรงิ ใจ จดั เวลาทำ�กิจกรรมความสุขรว่ มกนั ชว่ ยกนั ทำ�งานบา้ น อยา่ ใหค้ วามส�ำ คญั กบั เรื่องเงนิ ทองและวตั ถมุ ากเกิน ให้ความสำ�คัญกับการเพิ่มทักษะทางอารมณ์และสังคม เติมความ เขม้ แขง็ ทางใจ และฝกึ นิสัยการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ให้กบั ลูก หากมเี หตุการณล์ บ ใหม้ องแง่ดไี วก้ อ่ นเสมอ 10. ชน่ื ชมคนรอบขา้ งอย่างจรงิ ใจ คนเราทกุ คนตอ้ งการความรกั การยอมรบั และความชน่ื ชม ค�ำ ชน่ื ชม จงึ เปน็ สิ่งเติมกำ�ลงั ใจและความสุขให้แกก่ ัน เราฝกึ ชนื่ ชมคนรอบขา้ งได้ ดว้ ยวิธีตอ่ ไปนี้ 1) ปล่อยวางความคาดหวังลง เปิดใจรับและมองหาข้อดี ที่นา่ ชืน่ ชมของคนรอบข้าง 2) กล่าวค�ำ ช่ืนชมดว้ ยความจรงิ ใจทุกครัง้ ทมี่ ีโอกาส 3) ควรฝึกชื่นชมตนเองด้วยการมองเห็นข้อดีของผู้อื่นเป็นการ ฝกึ จติ ใจของเราเอง และยังช่วยเตมิ ความสขุ ให้กับชวี ิต เราทุกคนสามารถสร้างความสุขให้เกิดขึ้นได้ด้วยตนเองในทุกวัน ทกุ เวลา และทุกสถานท่ี มาร่วมสร้าง ความสขุ และสง่ ตอ่ ความสขุ ไปยงั คน รอบข้างดว้ ยกนั ต้ังแตว่ นั น้ี เพือ่ ความสุขทยี่ ่ังยนื ของสังคมไทย  76 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบับนกั สื่อสาร

“สต”ิ เพอื่ การสรา้ งความสขุ อยา่ งยงั่ ยนื องค์กรและคนทำ�งานสามารถสร้างความสุขให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืนได้ ซง่ึ เปน็ การยกระดบั ของความสขุ ทเ่ี หนอื กวา่ ความสขุ ทางวตั ถุ เงนิ ทอง และ เกยี รตยิ ศชอ่ื เสยี ง ทต่ี อ้ งพฒั นาจากสว่ นลกึ ของจติ ใจ เกดิ เปน็ คณุ คา่ ความดงี าม เชน่ ความรกั ความรบั ผดิ ชอบความซอ่ื สตั ย์เสยี สละอดทนความเหน็ อกเหน็ ใจ และการใหอ้ ภยั เปน็ ตน้ คณุ ลกั ษณะเหลา่ น้ี จะแสดงออกอยา่ งชดั เจน ถา้ คน มคี วามสงบทางจติ ใจ ปัจจุบัน หลายองค์กรท่ีทันสมัยและมีวิสัยทัศน์กว้างไกลท้ังในประเทศ และตา่ งประเทศ ได้น�ำ “การพฒั นาสต”ิ ด้วยการใช้สมาธแิ ละสติเป็นเครอื่ ง มอื สร้างสุขและความส�ำ เรจ็ ในการทำ�งาน และการใชช้ วี ิตประจำ�วัน เพราะ การฝึกสมาธิจะช่วยลดอารมณ์และความเครียดที่สะสมอยู่ในจิตใจ ทำ�ให้ สามารถทำ�งานได้อย่างต่อเน่ืองด้วยความสงบ ขณะท่ี การฝึกสติ จะช่วย ท�ำ ให้จติ ใจอยู่กบั ปัจจบุ ัน อยกู่ ับงานทท่ี �ำ ไมว่ ้าวุ่น และไม่ถกู แทรกแซงดว้ ย อารมณ์ หากฝกึ เปน็ ประจ�ำ สมาํ่ เสมอจะชว่ ยปอ้ งกนั บรรเทาและบ�ำ บดั อาการ เจ็บป่วยได้หลากหลาย เช่น ความวิตกกังวล อาการซึมเศร้า พฤติกรรม เสพตดิ อาการปวดเรื้อรัง นอนไม่หลบั ไมเกรน ภมู ิแพ้ หอบหดื ซงึ่ มีสาเหตุ สว่ นหนงึ่ มาจากความเครยี ด การฝึกสติ สามารถทำ�ไดโ้ ดย การรับร้ลู มหายใจเขา้ ออกในขณะทที่ �ำ งานหรอื ทำ�กจิ ต่างๆ ทั้งทางกาย ทางการสื่อสาร ตลอดจนความร้สู ึกนึกคิด “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 77 ฉบบั นักสอื่ สาร

การฝึกสมาธิ ทำ�ไดโ้ ดย 1. ฝกึ หยดุ ความคดิ ดว้ ยการรลู้ มหายใจทผี่ า่ นเขา้ ออกทป่ี ลายจมกู โดย สงั เกตข้างที่ชัดกวา่ ตรงต�ำ แหนง่ ทช่ี ดั ทส่ี ดุ 2. ฝึกหยุดความคิดจนเกิดความสงบด้วยการรับรู้ลมหายใจที่ผ่าน เขา้ ออกทปี่ ลายจมกู อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จดั การกบั ความคดิ ทเี่ กดิ ขน้ึ โดยไมค่ ดิ ตาม แต่รูต้ วั และกลบั มาตามรูล้ มหายใจทกุ คร้ังทม่ี คี วามคดิ เกดิ ขึ้น 3. ฝกึ หยดุ ความคดิ จนเกดิ ความสงบและผอ่ นคลายดว้ ยการรลู้ มหายใจ อยา่ งตอ่ เนอื่ งและจดั การกบั ความงว่ งดว้ ยการยดื ตวั ตรง หายใจเขา้ ออกลกึ ๆ หรือจินตนาการเปน็ แสงไฟทสี่ วา่ งมากๆ ใหห้ ายง่วง แลว้ กลับมารลู้ มหายใจ อย่างต่อเนอ่ื ง องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ สามารถเร่ิมฝึกได้จากการกำ�หนดกติกา การประชุมในแต่ละครั้งให้มีการทำ�สมาธิก่อนการประชุม เน้นการสนทนา อย่างมีสติ เพื่อให้เกิดการฟังอย่างใส่ใจ อภิปรายอย่างสร้างสรรค์ ในการ แก้ปัญหามากกว่าการเอาชนะ แล้วสรุปการประชุมด้วยความเห็นทางบวก รวมทัง้ ทำ�สมาธิก่อนและหลงั เลิกงาน หรืออาจสรา้ งบรรยากาศการทำ�งาน อยา่ งมีสติ ด้วยการเปิดระฆังสติระหวา่ งการทำ�งาน ซ่ึงจะสง่ เสียงระฆงั เปน็ ระยะๆ ตามเวลาทีเ่ รากำ�หนด เพ่ือเตอื นใหก้ ลบั มารู้ลมหายใจ รู้ในกจิ ท่ีท�ำ เปน็ ตน้ การพฒั นาสตใิ หไ้ ดผ้ ลในระยะยาวและเกดิ ความสขุ ทยี่ ง่ั ยนื ไดน้ น้ั จ�ำ เปน็ ต้องมีการฝึกและนำ�ไปใช้อย่างต่อเนื่อง เมื่อผู้ปฏิบัติเห็นประโยชน์ในการ น�ำ ไปใช้แลว้ กย็ ่อมขยายผลดไี ปส่ผู รู้ ับบริการหรือลกู คา้ ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คมตอ่ ไปได้ 78 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” ฉบบั นักส่อื สาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook