Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-23 12:04:33

Description: top hits ความรู้สุขภาพจิต ฉบับนักสื่อสาร

Search

Read the Text Version

“อาการนอนไม่หลบั ” จากขอ้ มลู ขององคก์ ารอนามัยโลก พบวา่ 45% ของประชากรโลก เคย มีอาการผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่งเกี่ยวกับการนอน โดยที่ 35 % จะเป็น อาการนอนไม่หลบั การนอนไมห่ ลบั เปน็ ปญั หาทพ่ี บไดบ้ อ่ ย ไมเ่ ฉพาะในโรคตา่ งๆ แมใ้ นคน ปกตทิ ไี่ ม่ไดม้ ีโรคประจำ�ตวั ก็สามารถมีอาการ นอนไมห่ ลับได้ อาการ คอื นอนหลบั ได้ยาก หลบั แลว้ ต่ืนบอ่ ย ต่ืนแลว้ ไม่สามารถหลับ ต่อได้ คุณภาพการนอนไม่ค่อยดี ต่ืนนอนตอนเช้า ไวกว่าปกติ ซ่ึงคนปกติ ทั่วไป สามารถเกิดอาการนอนไม่หลับข้ึนได้ ประมาณ 1-2 คืนต่อสัปดาห์ เกิดขนึ้ ไดใ้ นทกุ ชว่ งอายุ พบมากข้ึนในผหู้ ญิง และ ผ้สู งู อายุ โดยเฉพาะอายุ มากกวา่ 65 ปีข้ึนไป ผทู้ ม่ี ปี ญั หานอนไมห่ ลบั จะมปี ญั หาขาดงานหรอื ท�ำ งานดว้ ยประสทิ ธภิ าพ ทลี่ ดลงในสดั สว่ นทมี่ ากกวา่ ผทู้ ไี่ มม่ ปี ญั หาถงึ 3 เทา่ และการนอนไมเ่ พยี งพอ ยังทำ�ใหก้ ารเรียนรู้ ความจ�ำ และสมาธใิ นการท�ำ งานตา่ งๆ ลดลง เม่อื เทียบ กบั ผ้ทู ี่ไมม่ ีปญั หาการนอน นอกจากนี้ หากนอนหลับไม่เพียงพอติดต่อกันเป็นเวลานานจะส่งผล ทำ�ให้การทำ�งานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายลดลง โดยเฉพาะกับกลุ่ม ผ้ปู ว่ ยเบาหวาน ภาวะโรคอว้ น รวมไปถงึ ผู้ทมี่ ปี ัญหาสุขภาพจิต เชน่ ภาวะ เครยี ด โรควิตกกังวลและโรคซมึ เศร้า สาเหตุหน่ึง ท่ีพบได้บ่อย คือ ความวิตกกังวล หรือ ความเครียดและ หากมีปญั หานอนไมห่ ลบั เร้อื รงั นอนไมห่ ลบั นานกวา่ 3 เดือน อาจสัมพนั ธ์ กับสภาวะทางจิตใจ หรือโรคทางจติ เวช จงึ ควรรีบปรึกษาแพทย์ “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” 129 ฉบบั นกั สื่อสาร

การรักษา มีท้ังการรักษาสาเหตุท่ีเกี่ยวข้องโรคทางกาย หรือ โรคทาง จิตเวชท่ีส่งผลให้มีอาการนอนไม่หลับ เช่น การรักษาโรคกรดไหลย้อน การรักษาโรคซึมเศร้า หรือ โรควิตกกังวล การรักษาโดยการปรับ ความคดิ และพฤตกิ รรม และการรกั ษาโดยการใชย้ า เชน่ การใชย้ าคลายกงั วล ยาต้านซึมเศรา้ และยาแก้แพ้ 10 เคลด็ ลบั ช่วยใหน้ อนหลับไดด้ ี 1. เข้านอนและตน่ื นอนให้ตรงเวลาเปน็ ประจ�ำ ทุกวัน 2. ถา้ นอนกลางวันเปน็ ประจำ� ไมค่ วรงบี กลางวนั เกิน 45 นาที 3. หลกี เลยี่ งการด่ืมแอลกอฮอลท์ ี่มากเกินไป เป็นระยะเวลา 4 ช่วั โมง กอ่ นนอนและงดการสบู บหุ ร่ี 4. หลีกเลย่ี งเครือ่ งดืม่ คาเฟอนี เช่น กาแฟ ชา น้าํ อัดลมประเภทตา่ งๆ และช็อกโกแลต 6 ช่ัวโมงกอ่ นนอน 5. หลีกเล่ียงการรับประทานอาหารมื้อหนัก อาหารเผ็ด หรืออาหาร หวาน เป็นระยะเวลา 4 ชั่วโมงกอ่ นนอน ของว่างเบาๆ สามารถรับประทาน กอ่ นนอนได้ 6. ออกกำ�ลังกายสมาํ่ เสมอ แต่ หลีกเล่ียงการออกกำ�ลงั กายก่อนนอน 7. ใช้เครอื่ งนอนที่ท�ำ ให้หลับสบาย 8. ห้องนอนควรมอี ุณหภูมทิ ี่เหมาะสมและถา่ ยเทอากาศได้สะดวก 9. หลีกเล่ียงเสียงรบกวนท้ังหมดและหลีกเลี่ยงแสงให้มากท่ีสุด เทา่ ทจ่ี ะเปน็ ไปได้ 10. ใช้ห้องนอนเพื่อการนอน อย่าใช้เตียงนอนเป็นที่ทำ�งานหรือ การพักผ่อนหย่อนใจ  130 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” ฉบับนกั สื่อสาร

“โรคอารมณส์ องขั้ว” โรคไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองข้วั (Bipolar Disorder) เปน็ หน่งึ ในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติท่ีพบได้บ่อยในท่ัวโลก ประมาณ 1-2% พบได้ ในผหู้ ญิงและผชู้ ายในอัตราทเ่ี ท่ากนั อายุเฉลย่ี ที่เรมิ่ พบ คือ 20-30 ปี อกี ทงั้ พบวา่ 1 ใน 5 ของผปู้ ว่ ยฆา่ ตวั ตายส�ำ เรจ็ ผู้ป่วยไบโพลาร์จะมีอารมณ์เปล่ียนแปลงอย่างเห็นได้ชัด ในลักษณะ ท่แี ตกต่างกนั คนละขว้ั โดยมีความผดิ ปกติในระยะพลุ่งพลา่ น ฟุ้งเฟ้อหรอื มาเนยี (Mania) สลบั กับระยะซมึ เศรา้ (Depression) ระยะพลงุ่ พลา่ นฟงุ้ เฟอ้ อารมณด์ ี หรอื หงดุ หงดิ งา่ ยมากกวา่ ปกติ มคี วาม ม่ันใจในตวั เองมาก ขาดความยับย้งั ชัง่ ใจ ไม่หลบั ไมน่ อน หากถกู ห้ามปราม หรือขัดขวางในสง่ิ ท่ีต้องการ มกั หงุดหงิด ฉุนเฉยี ว ในรายทม่ี อี าการรนุ แรง อาจพบมอี าการหลงผิดแบบมีความสามารถพเิ ศษเหนอื คนอ่ืนจนถึงมีภาวะ หวาดระแวงได้ ระยะซมึ เศรา้ จะรสู้ กึ หดหู่ เบอื่ หนา่ ย จติ ใจไมส่ ดชนื่ อารมณอ์ อ่ นไหวงา่ ย ร้องไห้ง่าย ไม่อยากพบใครหรือไม่อยากทำ�อะไร เบื่ออาหาร นํ้าหนักลด เคลอ่ื นไหวช้า ใจลอย หลงๆ ลมื ๆ ไมม่ ัน่ ใจ ตดั สนิ ใจไม่ได้ คิดว่าตนเองเปน็ ภาระและหากมอี าการหนักจะถงึ ขัน้ ฆ่าตัวตาย อาการของโรค ผู้ท่ีเป็นจะมีอาการแสดงออกมาท้ังในด้านอารมณ์ ความคิด และ พฤตกิ รรมโดยในแตล่ ะระยะจะมอี าการนานหลายวนั จนอาจถงึ เปน็ สปั ดาห์ หรือหลายเดอื นหากไมไ่ ดร้ บั การรักษา “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 131 ฉบบั นกั สอื่ สาร

สาเหตแุ ละปัจจยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง โรคอารมณ์สองขั้วไม่ได้เกิดจากการมีจิตใจอ่อนแอหรือคิดมากอย่างที่ คนอื่นมักมองกัน แต่เป็นความผิดปกติทางสมอง พบว่าผู้ท่ีเป็นโรคนี้มีการ ทำ�งานของสมองและสารเคมีในสมองซ่ึงทำ�หน้าท่ีสื่อสารระหว่างเซลล์ ประสาทแปรปรวนไป อาจมีปัจจัยเสริม เช่น ประสบวิกฤตการณ์หรือ มีเหตุการณ์พลิกผันของชีวิต หรือมีปัจจัยกระตุ้นอื่นๆ ได้แก่ การอดนอน ารใชส้ ารเสพตดิ หรอื ยากระตนุ้ และกรรมพนั ธมุ์ สี ว่ นเพมิ่ ความเสยี่ งการปว่ ย การรกั ษา โดยท่ัวไป หากเป็นการป่วยคร้ังแรกหลังจากที่แพทย์รักษาจนผู้ป่วย อาการกลบั ส่ปู กตแิ ล้ว จะให้ยากนิ ต่อไปอกี จนครบ 6 เดือน แลว้ คอ่ ย ๆ ลด ยาลงจนหยดุ ไป โดยทว่ั ไปใชเ้ วลาเกอื บปี ทต่ี อ้ งใหย้ านานถงึ แมว้ า่ อาการจะ หายดีแล้วกเ็ พือ่ เป็นการป้องกันไม่ให้โรคกำ�เริบ การกนิ ยาอยา่ งสมา่ํ เสมอจงึ เปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ทจ่ี ะท�ำ ใหส้ ามารถควบคมุ อาการ ไดด้ ี รวมทง้ั สามารถปอ้ งกนั การก�ำ เรบิ ในครง้ั ตอ่ ไป และควรพบแพทยต์ ามนดั เพ่ือประเมินผลการรักษาตลอดจนผลข้างเคียงจากยา แพทย์อาจปรับยา เป็นช่วง ๆ ตามแต่อาการของโรค ควรบอกแพทย์อย่างไม่ปิดบัง ถงึ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ โดยเฉพาะหากไมแ่ นใ่ จวา่ เปน็ ชว่ งทอ่ี ารมณ์ เปลี่ยนแปลงหรือไม่ นอกจากน้ี ผู้ป่วยควรออกกำ�ลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ยกตวั อยา่ งงา่ ย ๆ เดนิ ออกก�ำ ลงั กายวนั ละ 30 นาที งดเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอล์ และเครื่องด่ืมประเภทคาเฟอีนอย่างเด็ดขาด เพราะจะกระตุ้นให้อาการ ก�ำ เรบิ ได้ ทสี่ �ำ คญั หลกี เลยี่ งภาวะทอี่ าจท�ำ ใหเ้ กดิ สง่ิ เรา้ สงิ่ กระตนุ้ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความเครยี ด โดยการส�ำ รวจอารมณต์ วั เองอยา่ งสมาํ่ เสมอเปน็ สง่ิ ส�ำ คญั ทสี่ ดุ 132 “Top Hits ความร้สู ุขภาพจติ ” ฉบับนกั สอื่ สาร

ในส่วนของญาติและคนใกล้ชิดควรร่วมเรียนรู้ เข้าอกเข้าใจ และให้ ก�ำ ลงั ใจแกผ่ ปู้ ว่ ย ชว่ ยดแู ลใหผ้ ปู้ ว่ ยกนิ ยา ปฏบิ ตั ติ วั ตามค�ำ แนะน�ำ ของแพทย์ สงั เกตอารมณแ์ ละพฤตกิ รรมของผปู้ ว่ ย รบี พาไปพบแพทยก์ อ่ นจะมอี าการมาก แนวทางป้องกัน ปรับวงจรการกินการนอนให้ปกติและสมํ่าเสมอ ดูแลสุขภาพ เช่น ออกก�ำ ลงั กาย ท�ำ กจิ กรรมคลายเครยี ด ไมใ่ ชส้ ารเสพตดิ เชน่ สรุ า ยากระตนุ้ ตลอดจนหมน่ั สงั เกตอารมณแ์ ละพฤตกิ รรมของตนเอง เรยี นรอู้ าการเรม่ิ แรก และรบี พบแพทย์กอ่ นจะมอี าการมาก  “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจิต” 133 ฉบับนกั ส่ือสาร



“สมองเสอ่ื ม” สมองเสื่อม (Dementia) เป็นโรคท่ีพบได้บ่อยในผู้สูงอายุและพบ มากขน้ึ ตามอายทุ ส่ี งู ขนึ้ พบรอ้ ยละ 5 ในประชากรทม่ี อี ายตุ งั้ แต่ 65 ปขี น้ึ ไป และอาจจะเพมิ่ สูงขึ้นร้อยละ 50 ในประชากรท่ีมีอายุ 85 ปี แนวทางการสังเกต สงสัยว่ามภี าวะสมองเสื่อม 1. ความจ�ำ ระยะสน้ั ไมด่ ี เชน่ ลมื วนั นดั ลมื สง่ิ ของบอ่ ยๆ พดู ซา้ํ ถามซา้ํ 2. มีปัญหาทางด้านการใช้ภาษา เช่น เรียกช่ือสิ่งของและชื่อคนท่ี ค้นุ เคยไมถ่ กู หรอื สญู เสียความเข้าใจภาษา 3. มปี ญั หาในดา้ นทศิ ทางและสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ขบั รถแลว้ หลงทางในที่ ๆ เคยขับได้ หรอื หลงทางเวลาเดินทางออกนอกบา้ นคนเดียว 4. มีความผิดปกติในการทำ�งานที่ซับซ้อน เช่น วางแผนการทำ�งาน การเดินทาง การใช้อุปกรณ์เคร่ืองมือต่างๆ การใช้จ่ายและเก็บเงินหรือ การไปธนาคาร 5. มีความผิดปกติของอารมณ์และบุคลิกภาพท่ีเปล่ียนแปลงไป เช่น ซึมเศร้า หงุดหงิด ก้าวร้าว มีพฤติกรรมแปลกไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ แวดลอ้ ม มีความเชอื่ ท่ีผดิ แปลก เห็นภาพหลอน “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” 135 ฉบับนกั สือ่ สาร

เกณฑ์ในการวินจิ ฉัย คอื 1. มคี วามผิดปกตขิ องความจ�ำ 2. มีความผิดปกตอิ ย่างนอ้ ง 1 ข้อในสิ่งเหลา่ นี้ คือ - ความผดิ ปกตขิ องการใชภ้ าษา เชน่ นกึ ค�ำ พดู ไมอ่ อก ความเขา้ ใจ ภาษาลดลง - การสูญเสียทักษะในการทำ�กิจกรรม เช่น ไม่สามารถแปรงฟัน หวผี มได้ ตอกตะปไู มเ่ ปน็ โดยไมไ่ ดเ้ กดิ จากความผดิ ปกตขิ องระบบกลา้ มเนอ้ื เช่น การเคลอื่ นไหวผิดปกติ นํ้าลายไหล ตวั แขง็ เกรง็ หนา้ เรยี บเฉย เปน็ ต้น - การไม่รับรู้ในส่ิงที่เคยรู้มาก่อน เช่น เห็นส่ิงของแล้วไม่รู้ว่า คอื อะไร ไม่รู้วา่ ใช้ทำ�อะไร เหน็ หนา้ คนคนุ้ เคยแต่นึกหน้าไมอ่ อก เป็นตน้ - ความผิดปกติในการบริหารจัดการ เช่น ความผิดปกติในการ วางแผนการตัดสินใจ จัดระบบงาน เรียงลำ�ดับงาน และคิดอย่างเป็น นามธรรม 3. ความผิดปกติท่ีเกิดข้ึนใน ข้อ 1 และ 2 ส่งผลกระทบต่อความ สามารถทางสังคมและอาชพี แลมีระดบั ความสามารถท่ลี ดลงจากเดิม 4. ความผดิ ปกติทเ่ี กิดขึ้นไมไ่ ดอ้ ยู่ในช่วงทก่ี ำ�ลงั มภี าวะซมึ เศรา้ สับสน เฉยี บพลัน 5. ความผิดปกติทเี่ กดิ ขึ้นไม่สามารถอธิบายไดด้ ว้ ยสาเหตอุ ่นื ๆ แนวทางการรักษา ขนึ้ อยกู่ บั ภาวะของสมองเสอ่ื มนนั้ เกดิ จากอะไร ภาวะสมองเสอ่ื มบางชนดิ สามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยยา เช่น อัลไซเมอร์ดีซีส (Alzheimer’s disease) แตภ่ าวะสมองเสอ่ื มบางชนดิ ไมส่ ามารถรกั ษาใหห้ ายขาดไดเ้ ปน็ เพยี ง การประคับประคอง ยืดเวลาและชะลอไม่ให้อาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว เชน่ ดเิ มนเชยี ซนิ โดรมออฟเมเจอร์ ดีเพรสชั่น (Dementia Syndrome of major depression) หรอื ไฮโปไทยรอยด์ดิซึ่ม (Hypothyroidism) 136 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบับนกั ส่อื สาร

ความจ�ำ ไมด่ ี ใช่ภาวะสมองเสอ่ื มหรอื ไม่ ความจำ�ไม่ดี เกิดจากหลายปัจจัยในคนปกติ ถ้าไม่สนใจ ไม่มีสมาธิ ซมึ เศรา้ โกรธ วติ กกงั วล กจ็ ะจ�ำ ไมไ่ ด้ โดยทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาทางดา้ นสมอง วธิ ีป้องกันสมองเส่ือม 1. หมนั่ ออกก�ำ ลงั กายชนดิ แอโรบกิ เชน่ เดนิ เรว็ วงิ่ วา่ ยนา้ํ เปน็ ประจ�ำ ประมาณ 30 นาทีตอ่ ครัง้ สัปดาห์ละ 3 -5 วนั 2. เลือกรบั ประทานอาหารทเ่ี หมาะสม ให้ครบ5 หมู่ หลกี เล่ยี งอาหาร มันจดั หวานจัด ควรรับประทานผกั ถั่วเมล็ดแหง้ ผลไม้ ธัญพชื ทไ่ี ม่ผ่านการ ขัดสี และปลา 3. นอนหลบั พักผ่อนอยา่ งเพียงพอ ประมาณ 6 - 8 ช่ัวโมงตอ่ วนั 4. ท�ำ กจิ กรรมทช่ี ว่ ยเสรมิ การเรยี นรสู้ ง่ิ ใหม่ ๆ หรอื กระตนุ้ การคดิ อา่ น ความจ�ำ ประมาณวนั ละครง่ึ ชว่ั โมง 4 - 5 ครงั้ ตอ่ สปั ดาห์ ซง่ึ ควรเปน็ กจิ กรรม ทช่ี ื่นชอบ เหมาะสม และท�ำ แลว้ เพลิดเพลิน 5. สร้างความสัมพนั ธ์กบั ผอู้ ่นื ดว้ ยการพูดคยุ อย่างสม่ําเสมอ 6. ทำ�จติ ใจใหเ้ บกิ บาน ไมเ่ ครียด ไม่เศรา้ หมอง 7. ไมส่ บู บหุ ร่ี ด่มื เหล้า 8. ตรวจสขุ ภาพเปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี หากพบโรคประจ�ำ ตวั เชน่ เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ควรแก้ไขและปฏบิ ตั ติ ามคำ�แนะน�ำ ของแพทย์ 9. หลกี เลย่ี งการใชย้ า ทม่ี ผี ลกดการท�ำ งานของสมอง ท�ำ ใหง้ ว่ งซมึ และ อาจทำ�ใหเ้ กิดอาการสับสนได้ 10. ระมดั ระวงั การเกดิ อุบัตเิ หตทุ ่ศี ีรษะ ระวังหกลม้  “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” 137 ฉบบั นกั สอ่ื สาร

“บทบาทสื่อมวลชน ในการสร้างสรรคส์ ังคมสขุ ภาพจติ ด”ี เมอื่ พดู ถงึ ผมู้ ปี ญั หาสขุ ภาพจติ หลายคนในสงั คมอาจจะยงั ไมค่ อ่ ยเขา้ ใจ หรอื อาจมคี วามเขา้ ใจทคี่ ลาดเคลอ่ื นอยู่ โดยสว่ นหนงึ่ อาจจะมองวา่ การปว่ ย เปน็ การเสแสรง้ หรอื แกลง้ ท�ำ นา่ เบอ่ื หนา่ ย พฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขนึ้ บางอยา่ ง เชน่ การฆา่ ตวั ตาย มกั จะถกู มองว่าเปน็ การกระทำ�ของคนโง่ ออ่ นแอ ไมเ่ ข้มแขง็ เปน็ การเรยี กรอ้ งความสนใจ และมกั ถกู เยาะเยย้ หรอื ซา้ํ เตมิ เชน่ เดยี วกนั กบั ปญั หาทางจติ สว่ นหนง่ึ ก็ถูกมองว่าเปน็ เรื่องทแ่ี กไ้ ขไม่ได้ เป็นเรื่องของนิสัย หรอื ถา้ ไดร้ บั การรกั ษากร็ กั ษาไมห่ าย รวมทง้ั ผปู้ ว่ ยทางจติ ทเ่ี คยมพี ฤตกิ รรม รนุ แรงมากอ่ น กถ็ กู มองวา่ เปน็ อนั ตรายตอ่ สงั คมตลอดชวี ติ ท�ำ ใหค้ นในชมุ ชน รู้สึกหวาดกลัว รงั เกยี จ ญาติก็รู้สกึ อบั อายท่มี ผี ูป้ ่วยทางจิตอย่ใู นครอบครวั นอกจากน้ี ภาพต่างๆ ที่ปรากฏผ่านสื่อ เช่น การนำ�เสนอภาพผู้ป่วย จติ เวชทมี่ พี ฤตกิ รรมรนุ แรง ท�ำ รา้ ยคนอนื่ ซงึ่ ในความเปน็ จรงิ มเี พยี งสว่ นนอ้ ย หรอื การน�ำ เสนอภาพหรอื ขา่ วการฆา่ ตวั ตายซา้ํ ๆ ตดิ ๆ กนั หลายวนั รวมทง้ั การนำ�เสนอข่าวการฆา่ ตวั ตายของผู้มชี อื่ เสียง การเผยแพรภ่ าพยนตรห์ รือ ละครทมี่ บี ทพยายามฆา่ ตวั ตายหรอื มกี ารฆา่ ตวั ตายทแี่ สดงวธิ อี ยา่ งละเอยี ด ตลอดจนการน�ำ เสนอตวั ละครหรอื การใชค้ �ำ พดู ทลี่ อ้ เลยี นผปู้ ว่ ย ทางจติ เชน่ คนบา้ คนไม่เตม็ บาท คนไมค่ รบ คนไม่สมประกอบ คนนา่ กลัว โรคจติ ลว้ น ก่อให้เกิดภาพลบตอกย้ําให้เกิดตราบาปต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและผู้ป่วย จิตเวชในสังคมมากยิ่งขึ้น ท่ีถือเป็นอุปสรรคสำ�คัญในการป้องกันปัญหา 138 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบบั นกั ส่อื สาร

สขุ ภาพจติ และการฆา่ ตวั ตาย ซง่ึ ในความเปน็ จรงิ แลว้ \"โรคทางจติ เวช ไมใ่ ช่ โรคร้าย ไม่ใช่ตราบาป ไมใ่ ชเ่ ร่ืองนา่ ละอาย สามารถเกิดขน้ึ ไดก้ ับทกุ คน และสามารถรกั ษาใหห้ ายกลับคนื สู่สังคมได้อย่างมีคณุ คา่ \" นอกจาก บคุ ลากรทางการแพทย์ ครอบครวั และ ชมุ ชน แลว้ สอื่ มวลชน นบั วา่ เปน็ อกี หนงึ่ พลงั ส�ำ คญั ทจ่ี ะชว่ ยสรา้ งสรรคส์ งั คมใหม้ สี ขุ ภาพจติ ดี ชว่ ย ลดตราบาป สอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรคใ์ หเ้ กดิ ความเขา้ ใจทางบวก ปอ้ งกนั ปญั หา สขุ ภาพจิตและปัญหาการฆ่าตัวตายในสังคมได้ โดย 1. ระมัดระวัง การพาดหัวข่าว หรือนำ�เสนอภาพข่าวในลักษณะ ที่มสี สี ัน เนน้ หรอื ตอกยํ้า ใหค้ วามโดดเดน่ หรอื ดราม่า ก่อใหเ้ กิดความรสู้ ึก สะเทือนใจ ซ้ําเตมิ ความทุกข์หรือโศกนาฏกรรมท่ีมากเกนิ ไป 2. ค�ำ นงึ ถงึ การน�ำ เสนอขา่ วทอ่ี าจสง่ ผลตอ่ ความรสู้ กึ หรอื เกดิ ผลกระทบ ในทางลบตอ่ ผปู้ ว่ ย ญาติ และผใู้ กลช้ ดิ ไมล่ ว่ งละเมดิ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนษุ ย์ ของบคุ คลทตี่ กเปน็ ขา่ ว โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สทิ ธมิ นษุ ยชนของเดก็ สตรี และ ผ้ดู อ้ ยโอกาส 3. สอดแทรกความรู้ สร้างความเข้าใจท่ีถูกต้องให้กับประชาชน เกย่ี วกบั ปญั หาสขุ ภาพจติ เชน่ การใหค้ วามรทู้ ถ่ี กู ตอ้ งเกย่ี วกบั อาการหรอื โรค ทางจิตเวช การนำ�เสนอสญั ญาณเตอื น แนวทางการดูแลจิตใจ การป้องกัน ปัญหา ตลอดจน การนำ�เสนอตัวอย่างด้านบวกแก่สังคม โดยสามารถขอ ความรู้หรือข้อแนะนำ�ได้จากจิตแพทย์ ผู้เช่ียวชาญ หรือนักวิชาการด้าน สุขภาพจิต “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 139 ฉบบั นักสอื่ สาร

4. ให้ข้อมูลแหล่งให้การช่วยเหลือด้านจิตใจ หน่วยงานให้บริการ หรอื ให้คำ�ปรกึ ษา เช่น สายดว่ นสุขภาพจิต 1323 ทค่ี วรระบุอย่างชัดเจนใน ตอนทา้ ยของขา่ ว บทความ หรือละคร 5. ดูแลกายและใจของตัวเองให้ดีเพราะการติดตามทำ�ข่าว แต่ละ ครัง้ อาจได้รับความเครียดและความทุกข์ไดม้ าก แม้วา่ จะมปี ระสบการณ์สูง แลว้ กต็ าม จงึ อยา่ ลมื พดู คยุ ระบายกบั เพอ่ื นรว่ มงาน เพอื่ น คนในครอบครวั หรือหนว่ ยงานที่ให้ความช่วยเหลือดา้ นจิตใจ  140 “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” ฉบบั นักสอ่ื สาร

ทป่ี รกึ ษาและคณะท�ำ งาน ที่ปรกึ ษา น.ต.นพ.บญุ เรือง ไตรเรอื งวรวัฒน ์ อธบิ ดีกรมสุขภาพจิต นายแพทย์ชิโนรส ลี้สวสั ด ิ์ รองอธบิ ดีกรมสขุ ภาพจิต นายแพทย์พงศ์เกษม ไข่มกุ ด์ รองอธิบดกี รมสุขภาพจติ นายแพทย์สมยั ศิรทิ องถาวร รองอธบิ ดีกรมสุขภาพจิต นายแพทยย์ งยุทธ วงศภ์ ิรมยศ์ านต์ิ ทปี่ รกึ ษากรมสขุ ภาพจิต นางนันทนา รตั นากร ผอู้ ำ�นวยการ กองสขุ ภาพจติ สังคม แพทยห์ ญิงวมิ ลรตั น์ วันเพ็ญ สถาบันสขุ ภาพจิตเด็กและวยั รุน่ ราชนครินทร์ แพทย์หญงิ ศุทรา เออ้ื อภสิ ทิ ธว์ิ งศ ์ สถาบนั สุขภาพจิตเด็กและวยั รนุ่ ราชนครนิ ทร์ แพทยห์ ญงิ ฐติ ิมา สงวนวิชัยกลุ สถาบนั สขุ ภาพจติ เดก็ และวยั รุ่น ราชนครนิ ทร์ แพทยห์ ญงิ กนกวรรณ โมสกิ านนท ์ สถาบันจิตเวชศาสตรส์ มเดจ็ เจ้าพระยา แพทย์หญิงทศั นยี ์ กุลจะนะพงศพ์ นั ธ ์ สถาบันจติ เวชศาสตรส์ มเด็จ เจา้ พระยา นายแพทยอ์ ภิชาต ิ จริยาวลิ าศ โรงพยาบาลศรีธัญญา นายแพทยอ์ ภิชาต ิ แสงสิน สถาบนั กัลยาณ์ราชนครินทร์ “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 141 ฉบับนักส่ือสาร

คณะท�ำ งาน ทบั ทิมเจือ กองสุขภาพจติ สังคม นางสาวปิยฉตั ร ธนาพัฒนธั นนท ์ สถาบนั จิตเวชศาสตร์ นางสาวชนสินันท ์ สมเด็จเจา้ พระยา นาทะพันธ ุ์ กองสขุ ภาพจิตสังคม นายชนนิ ทร ์ ฉตั รทอง กองสุขภาพจติ สังคม นายอานนท์  142 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบับนักสอ่ื สาร





สุขภาพจิตกับปัญหาซึมเศรา้ ฆ่าตัวตาย “โรคซึมเศร้า” โรคซมึ เศร้า เป็นภยั เงียบทค่ี ุกคามสขุ ภาพของประชาชน สง่ ผลกระทบ ต่อประชากรทั่วโลก โดยองค์การอนามัยโลกไดป้ ระมาณการวา่ ประชากร มากกว่า 300 ล้านคนเป็นโรคซึมเศร้า หากไม่ได้รับการบำ�บัดรักษา อยา่ งถูกต้องนานเป็นเดอื น เรอ้ื รังเปน็ ปี จะกลับเปน็ ซํ้าได้บ่อย หากอาการ ซมึ เศรา้ รนุ แรง อาจจบชวี ติ ดว้ ยการฆา่ ตวั ตายไดม้ ากกวา่ คนทว่ั ไปถงึ 20 เทา่ สำ�หรับประเทศไทย พบผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 1.5 ล้านคน เข้าถึง บริการเพียงคร่ึง สาเหตุส่วนใหญ่ มาจากการขาดความตระหนัก คิดว่า เป็นเร่ืองปกติ ประกอบกับ ผู้มีภาวะเช่นนี้มักถูกมองว่า เป็นคนอ่อนแอ เสแสร้ง หรือแกล้งทำ� ท้ังๆ ที่ภาวะนี้ มีความเส่ียง หากปล่อยทิ้งไว้ นำ�ไปสู่การท�ำ ร้ายตัวเองได้ ซมึ เศรา้ เป็นความเจ็บป่วย พวกเขาตอ้ งการความชว่ ยเหลือ ไม่ใช่เรื่อง น่าอับอาย หรอื ตอ้ งหลบหลกี หนหี น้า สามารถพูดคุยกันได้ หากคนใกลช้ ดิ ได้สังเกต และใหค้ วามสนใจ สามารถดแู ลและใหก้ ารชว่ ยเหลือได้ สาเหตุ มาจากสารสื่อประสาทในสมองท�ำ งานผิดปกติ ซึง่ เกดิ ได้หลาย สาเหตุ เช่น การหลง่ั ฮอร์โมน การหลง่ั สารสอ่ื ประสาทผิดปกติ หรือ ปจั จัย ภายนอก เช่น ความผิดหวัง ความสูญเสีย ความเครียด เมื่อปัจจัยเหล่าน้ี มารวมกนั ท�ำ ใหค้ นๆ นนั้ เกดิ ภาวะซมึ เศรา้ ได้ ความคดิ ทศั นคติ การตดั สนิ ใจ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 143 ฉบับนกั สอ่ื สาร

การมองโลก ทุกสงิ่ ทุกอย่างจงึ เปลยี่ นแปลงไป โดยทไี่ ม่สามารถบงั คบั ความ คดิ ของตวั เองได้ เพราะสารสือ่ ประสาทในสมองผิดปกติ ต่อใหจ้ ิตใจเขม้ แขง็ สกั เท่าไรก็ตาม แต่สามารถรกั ษาให้หายได้ สัญญาณบอกเหตขุ องโรคซมึ เศรา้ มี 9 ข้อ ไดแ้ ก่ 1. ซมึ เศร้า ท้อแท้ เบื่อ ไมอ่ ยากท�ำ อะไร 2. ขาดความสนใจส่งิ รอบข้าง 3. ไม่มสี มาธิ 4. อ่อนเพลีย 5. เช่ืองช้า 6. รบั ประทานอาหารมากขนึ้ หรอื น้อยลง 7. นอนมากขนึ้ หรือนอ้ ยลง 8. ตำ�หนิตวั เอง 9. พยายามฆา่ ตัวตาย หากพบว่า ตวั เองหรอื คนใกล้ตัวมีอาการ ขอ้ 1 หรอื 2 ขอ้ ใดขอ้ หน่งึ ร่วมกับอาการในข้อ 3-9 อย่างน้อย 5 อาการ ติดต่อกันนาน 2 สัปดาห์ ใหส้ งสยั ว่าอาจเป็นโรคซมึ เศรา้ แนวทางการช่วยเหลือ/ข้อแนะนำ� การดูแลด้วยความต้ังใจและอดทน จากเพื่อน ครอบครวั และคนใกล้ชิด จะช่วยใหอ้ าการซึมเศร้าหายเร็วขนึ้ 144 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” ฉบบั นักสอ่ื สาร

การใชห้ ลัก 3 ส. สอดสอ่ ง มองหา (LOOK) จากพฤตกิ รรมท่เี ปลยี่ นไปจากเดมิ เชน่ พูดน้อยลง กนิ ไมไ่ ด้ นอนไมห่ ลบั ไม่สามารถท�ำ กิจวตั รประจำ�วนั ไดเ้ หมอื นเดิม การใส่ใจรับฟงั (Listen) พดู คยุ หรอื สมั ผสั โอบกอด เพอ่ื ใหร้ สู้ กึ วา่ ไมไ่ ดถ้ กู ทอดทง้ิ สรา้ งความผอ่ น คลาย ใหไ้ ดร้ ะบาย การช่วยเหลอื เล็ก ๆ น้อย ๆ สามารถช่วยใหผ้ ่อนคลาย ไดม้ าก ส่งตอ่ เชอ่ื มโยง (LINK) เม่ือพบว่ามีภาวะซึมเศร้า คนในครอบครัวรู้สึกเกินกำ�ลังให้รีบพบ จิตแพทย์ เพือ่ ให้การชว่ ยเหลืออยา่ งถูกตอ้ ง ผู้ใกล้ชิดหรือคนในครอบครัว ต้องเข้าใจธรรมชาติของภาวะซึมเศร้า อย่าปล่อยใหผ้ ู้ป่วยตอ้ งเผชญิ เพียงล�ำ พัง ท้ังนี้ สามารถขอรบั บรกิ ารปรึกษา ได้ที่ สายดว่ นสขุ ภาพจติ 1323 ตลอด 24 ช่ัวโมง การแสดงความเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายหรือ โรคซมึ เศรา้ โดยไมไ่ ดค้ ดิ กอ่ นวา่ จะกระทบกบั ผใู้ ดหรอื ไมน่ น้ั อาจสง่ ผลกระทบ ตอ่ ผู้ที่มีปัญหาอยูเ่ ดิม หรือ กลุ่มคนทีอ่ อ่ นไหว มคี วามเปราะบางทางจติ ใจ ทอี่ าจคดิ วา่ อยไู่ ปกไ็ มม่ ปี ระโยชนแ์ ละตดั สนิ ใจจบชวี ติ ในลกั ษณะเดยี วกนั ได้ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” 145 ฉบบั นักสือ่ สาร

โรคซึมเศรา้ จึงเปน็ ประเด็นทางสาธารณสขุ ท่ตี อ้ งการความร่วมมือจาก ทุกภาคส่วน และมาตรการหนึ่งท่ีสำ�คัญท่ีภาคประชาสังคมสามารถเข้ามา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ีได้ คือ ร่วมกันรณรงค์สร้างความตระหนัก เพอ่ื ลดอคตแิ ละตราบาป และเพมิ่ การเขา้ ถงึ การรกั ษาทางจติ เวช เสรมิ สรา้ ง ความรู้ความเข้าใจเร่ืองภาวะซึมเศร้าและอาการของโรค และรู้วิธีพื้นฐาน ในการรบั มือและให้ความช่วยเหลือ เป็นตน้  146 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนกั สือ่ สาร





“ซึมเศร้าหลังคลอด” กลุ่มแม่หลังคลอดเป็นกลุ่มเสี่ยงเกิดภาวะซึมเศร้าได้ ในประเทศไทย มีการศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าหลังคลอด พบสูงถึง ร้อยละ 16.8 หญิงหลังคลอดมีความเสี่ยงเกิดภาวะซึมเศร้ามากข้ึน 3 เท่าเมื่อเทียบกับ ชว่ งเวลาอนื่ ๆ ปัจจัยท่ีสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าหลังคลอด ได้แก่ สุขภาพมารดา ความขดั แยง้ ระหวา่ งคสู่ มรส ความเพยี งพอของรายได้ และความกดดนั ทาง สังคมของเพศหญงิ ภาวะซมึ เศร้าหลังคลอดมกั มอี าการรุนแรงในชว่ ง 3 เดือนแรก ซงึ่ เป็น ชว่ งเวลาส�ำ คญั ในการสง่ เสรมิ พฒั นาการทารก โดยเฉพาะดา้ นภาษา หญงิ ทม่ี ี ภาวะซมึ เศรา้ หลงั คลอดมกั จะมปี ญั หาในการเลยี้ งดบู ตุ ร เชน่ ขาดปฏสิ มั พนั ธ์ กบั เดก็ ขาดพฤตกิ รรมการเลยี้ งดทู เี่ หมาะสม ขาดการแสดงความรกั รวมถงึ มีพฤติกรรมเส่ียงอันตรายมากข้ึน เช่น การใช้อารมณ์กับบุตร โดยพบถึง รอ้ ยละ 41 ท่ีมีความคดิ ท�ำ ร้ายลูก การช่วยเหลือแม่มีภาวะซึมเศร้าหลังคลอดต้ังแต่เริ่มแรกจึงมีความ สำ�คญั อย่างมาก ซ่ึงจะสง่ ผลถงึ พฒั นาการของเด็กๆ ในอนาคต โดยเฉพาะ พัฒนาการทางดา้ นภาษา การสังเกตแม่หลังคลอดที่เส่ียงมีภาวะซึมเศร้า สามารถสังเกตได้จาก มอี าการเซอื่ งซมึ งา่ ย เศรา้ งา่ ย รอ้ งไหง้ า่ ย อารมณจ์ ะขนึ้ -ลง เปลยี่ นแปลงงา่ ย หงุดหงิดง่าย วิตกกังวลไปหมด ร่างกายอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เป็นต้น หากอาการเป็นอยู่นานกว่า 2 สัปดาห์ ควรพบจิตแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย เพราะอาจกลายเป็นโรคซมึ เศรา้ หลังคลอดได้ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” 149 ฉบบั นักสอื่ สาร

การดูแลช่วยเหลือ ส่ิงสำ�คัญท่ีสุด คือ ความร่วมมือจากคนใกล้ชิด ทั้งจาก พ่อ แม่ และสามีท่ีต้องคอยให้กำ�ลังใจว่า ภาวะที่เกิดขึ้นไม่ใช่โรค ไม่ใชค่ วามอ่อนแอ ภาวะน้สี ามารถพบไดแ้ ละจะหายไป ซ่งึ คุณพ่อควรผลดั เปล่ยี นกนั ดแู ลลกู เพื่อให้คณุ แมไ่ ดพ้ กั ผอ่ น ลดปัญหาการนอนไมห่ ลับ อย่า ตำ�หนิ หรอื โมโห เวลาคณุ แม่แสดงอารมณแ์ ปลกๆ ขึ้นๆ ลงๆ อยา่ ปล่อยให้ เล้ียงลูกคนเดียว ต้องช่วยกัน สนับสนุนกัน เป็นกำ�ลังใจให้กัน อดทนและ เขา้ ใจกนั รวมทงั้ ควรกระตนุ้ ใหไ้ ดท้ �ำ กจิ กรรมตา่ งๆ พาไปออกก�ำ ลงั กายเบาๆ ให้คำ�ชม และอาจพาเข้ากลุ่มบำ�บัด ได้เจอกับครอบครัวอื่นที่เผชิญปัญหา เช่นเดยี วกันน้แี ละผา่ นไปได้ เป็นต้น  150 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบับนักสื่อสาร



“การฆ่าตวั ตายในวยั รุน่ ” วัยรุ่นมีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงอย่างมากท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และ สงั คม รวมทงั้ รปู แบบครอบครวั สงั คม และวฒั นธรรมทเ่ี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ ง รวดเร็วต่างจากในอดีต เช่น ครอบครัวเป็นครอบครัวเดี่ยวมากข้ึน พ่อแม่ มีอัตราการหย่าร้างและแยกกันอยู่สูงข้ึน พ่อแม่ต้องทำ�งานมากข้ึน จนไม่มีเวลาในการใส่ใจในรายละเอียดของลูก อันมีผลมาจากแรงกดดัน ทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทำ�ให้วัยรุ่นเข้าถึงข้อมูลท่ีมี ผลกระทบดา้ นลบได้ง่าย เป็นต้น ปัจจัยเหล่าน้ีทำ�ให้วัยรุ่นในปัจจุบันเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับความเครียด มากกวา่ วยั รนุ่ ในอดตี และการเปลย่ี นแปลงทางสงั คมและวฒั นธรรมทท่ี �ำ ให้ มปี จั จยั เสยี่ งตอ่ ปญั หาสขุ ภาพจติ มากขนึ้ จงึ พบวา่ ในปจั จบุ นั วยั รนุ่ มปี ญั หา โรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายสูงข้ึนทั่วโลก และเริ่มมีอาการซึมเศร้าตั้งแต่ อายุนอ้ ยกว่าแตก่ ่อน ในประเทศทพี่ ัฒนาแลว้ พบว่าวยั ร่นุ มโี อกาสเป็นโรค ซึมเศร้าสูงถึงร้อยละ 20 ก่อนท่ีจะเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และมากกว่าร้อยละ 15 เคยมีความคิดฆา่ ตวั ตาย พ่อแม่ผู้ปกครองจึงจำ�เป็นต้องรู้จัก และเข้าใจปัญหาวัยรุ่นและควรให้ ความเอาใจใส่แต่เนิ่นๆ เพ่ือป้องกันปัญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึน ดีกว่าพยายาม แก้ไขในภายหลงั ตลอดจน สอื่ มวลชนตา่ งๆ รว่ มมือกันในการท�ำ ข่าวไมใ่ ห้ เกิดกระแสมวลชน ท่อี าจจะกระพอื ความร้สู ึกซมึ เศรา้ หรอื การฆ่าตัวตายใน หมู่วัยรนุ่ ใหก้ ลายเปน็ ฮีโร่หรอื กลายเปน็ แฟชนั่ ไป 152 “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” ฉบับนกั ส่อื สาร

วยั รุ่นทม่ี ีปัญหา จะคิดว่า ไม่มีคนในครอบครัวคนไหนทเ่ี ขา้ ใจเขา รู้สกึ โดดเดี่ยวอ้างว้าง และไม่มีใครให้ความสำ�คัญ หลายคนรู้สึกว่าพ่อและแม่ ไมส่ นใจทจ่ี ะรบั ฟงั ในเรอื่ งความรสู้ กึ ทเ่ี ขามี เขาไมส่ ามารถระบายความในใจ ความสับสน ความทุกข์ และความร้สู ึกลม้ เหลวให้ใครฟังได้ พอ่ แมห่ ลายคนจะมองวา่ การทล่ี กู วยั รนุ่ มคี วามรสู้ กึ เชน่ นนั้ เปน็ เพราะใจ ไมส่ ู้ ยอมแพง้ า่ ยๆ ไมเ่ อาไหน และเปน็ คนอ่อนแอ ท�ำ ใหย้ ิง่ กดดนั หรือบังคับ ใหว้ ยั รนุ่ ตอ้ งเขม้ แขง็ และไมแ่ สดงออกถงึ ความรสู้ กึ ทตี่ นเองมอี ยู่ ท�ำ ใหว้ ยั รนุ่ ยิ่งรสู้ กึ วา่ ไม่มใี ครใสใ่ จรบั ฟังเขา เขาไม่มีความส�ำ คัญอะไร และบางคร้ังอาจ ถูกคนรอบข้างดวุ ่า หรอื ใชค้ วามรนุ แรงกบั เขาทีเ่ ขาเป็นเชน่ น้ี วัยรุ่นจะมองทุกอย่างรอบข้างอย่างท้อแท้ สิ้นหวัง รู้สึกว่าตนเอง นน้ั อ่อนแอ ไมส่ ามารถควบคมุ หรือแกไ้ ขอะไรไดก้ ับชวี ติ ตนเอง แมแ้ ต่จะ ชว่ ยตนเองกไ็ มไ่ ด้ ท�ำ ใหร้ ู้สกึ วา่ ตนเองนน้ั ไม่มีค่าพอทจ่ี ะอยู่ต่อไป จะเหน็ วา่ ในบางครง้ั ความรสู้ กึ เชน่ นจี้ ะถกู แปลงออกมาเปน็ เพลงทเี่ หลา่ วยั รุ่นชอบฟงั กัน และท�ำ ใหเ้ กดิ ความรูส้ ึกเหล่านี้ พ่อแม่และคนรอบข้างจึงควรเข้าใจและช่วยให้เขาได้รับการรักษาก่อน ที่จะสายเกนิ แก้ แต่ในทางปฏิบตั ิยงั มพี อ่ แมแ่ ละคนอ่ืน ๆ อกี มากทไ่ี ม่เขา้ ใจ ในเรอ่ื งการรกั ษาน้ี และอาจจะรสู้ กึ อบั อายหรอื ปฏเิ สธ ไมย่ อมรบั ในสงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ลกู วยั รนุ่ ของตน อาจจะขดั ขวางหรอื ใชค้ วามรนุ แรงทงั้ ดา้ นก�ำ ลงั หรอื วาจา ไมย่ อมใหว้ ยั รนุ่ ไดเ้ ขา้ พบแพทยห์ รอื ตดิ ตอ่ ผทู้ สี่ ามารถชว่ ยเหลอื เขาได้ “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจิต” 153 ฉบับนักส่อื สาร

ปจั จยั เสีย่ งทีส่ ัมพนั ธ์กบั พฤติกรรมฆ่าตัวตาย ไดแ้ ก่ 1. ปัจจัยทางชีวภาพ สารสื่อประสาทท่ีมีผลต่อการควบคุมอารมณ์ ของคน คนท่ีมีพฤติกรรมฆ่าตัวตายและคนท่ีฆ่าตัวตายสำ�เร็จจะมีระดับ เซโรโตนินตํ่ากว่าปกติ ซ่ึงความผิดปกตินี้อาจเกิดจากปัจจัยทางพันธุกรรม ท่ีทำ�ให้เกิดโรคซึมเศร้า หรือปัจจัยด้านประสบการณ์ด้านลบท่ีมีผลต่อ สื่อประสาทดงั กลา่ ว 2. โรคทางจิตเวช มากกว่าร้อยละ 80 ของวัยรุ่นที่ฆ่าตัวตายเป็น โรคซึมเศร้า โรคอ่ืนๆ ได้แก่ โรคจิตเภท หรือไม่สามารถปรับตัวกับเร่ือง เครยี ดได้ 3. การเสพสารเสพติด ร้อยละ 70 – 80 ของวัยรุ่นที่ฆ่าตัวตายเคย ดืม่ เหล้า บางคนมีการใช้สารเสพตดิ อน่ื ด้วย สารเสพติดท�ำ ให้ความสามารถ ในการควบคุมตัวเองลดลง 4. ปญั หาครอบครวั ครอบครวั ทมี่ คี วามรนุ แรง ความขดั แยง้ สงู พอ่ แม่ หย่าร้างหรือเป็นโรคทางจิตเวช ครอบครัวท่ีเคยมีคนฆ่าตัวตายเป็นปัจจัย เส่ียงทสี่ �ำ คญั 5. พยายามฆา่ ตวั ตายหรอื ท�ำ รา้ ยตวั เอง เปน็ กลมุ่ ทค่ี วรใหค้ วามสนใจ ใกล้ชดิ เน่ืองจากมีโอกาสฆ่าตวั ตายส�ำ เรจ็ สูงขึน้ 6. ความโดดเดี่ยว เด็กที่ฆ่าตัวตายบางคนมีเพ่ือนน้อย ชอบแยกตัว ขาดคนใกล้ชดิ คอยให้ก�ำ ลังใจ ปญั หาการฆ่าตัวตาย สามารถปอ้ งกันได้ และสว่ นใหญม่ ักมีสัญญาณ บอกเหตุ สังเกตได้จาก สัญญาณเตือนที่ตรงไปตรงมา เช่น การพูดจา ในลักษณะท่ีไม่อยากมีชีวิตอยู่ หรืออยากตาย หรือสัญญาณเตือน ทางออ้ ม เชน่ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมหลงั เจอกบั ปญั หา โดยมกั จะเกบ็ ตวั เซอื่ งซมึ ไม่ออกพบปะผู้คน 154 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบบั นกั ส่ือสาร

ในเด็กโตและวัยรุ่นอาจสังเกตได้จาก การที่เด็กมีผลการเรียน เปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด มีการใช้สารเสพติด หรือด่ืมสุรา การกินการ นอนเปลี่ยนไปจากเดิม เบ่ืออาหาร นอนไม่หลับ ก้าวร้าว ต่อต้านผู้ใหญ่ หนีโรงเรียน อารมณไ์ มแ่ จม่ ใส มองโลกในแงล่ บ คิดเร่อื งตายบอ่ ย ๆ หรือมี อารมณโ์ มโหรุนแรงจนไม่สามารถควบคุมตนเองได้ เปน็ ตน้ แนวทางการชว่ ยเหลือ 1. ใหค้ วามส�ำ คญั ทกุ ครง้ั หากวยั รนุ่ มพี ฤตกิ รรมทท่ี �ำ ใหส้ งสยั วา่ จะฆา่ ตวั ตาย แมว้ า่ บางครง้ั อาจจะสงสยั วา่ เขาท�ำ เพอ่ื เรยี กรอ้ งความสนใจ วยั รนุ่ ทเี่ รยี กรอ้ ง ความสนใจ ดว้ ยการฆา่ ตวั ตายเปน็ วยั รนุ่ ทต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื ดว้ ยเชน่ กนั 2. การถามวัยรุ่นเร่ืองความคิดในการฆ่าตัวตายมีความสำ�คัญมาก เนอ่ื งจากท�ำ ใหค้ รเู ขา้ ใจความคดิ ของวยั รนุ่ โดยไมไ่ ปกระตนุ้ วยั รนุ่ ทไี่ มเ่ คยคดิ ฆ่าตวั ตายไปคิดฆ่าตัวตาย 3. ประเมนิ วา่ วยั รนุ่ ทคี่ ดิ ฆา่ ตวั ตายเปน็ โรคซมึ เศรา้ ทตี่ อ้ งการการรกั ษา ด้วยหรือไม่ เน่ืองจากเป็นปจั จยั เส่ยี งตอ่ การฆ่าตวั ตายส�ำ เรจ็ ที่สำ�คัญที่สุด 4. พ่อ แม่ ครูอาจารย์ ต้องส่งวัยรุ่นท่ีสงสัยว่าจะมีความคิดหรือ พฤตกิ รรมฆ่าตวั ตายปรกึ ษาแพทย์หรือผู้เชย่ี วชาญทุกครงั้ การปอ้ งกันปญั หาในระยะยาว ท่สี ำ�คัญ คอื ตอ้ งสรา้ งภูมิคมุ้ กนั ท่ดี ีให้ กบั พวกเขาตงั้ แตเ่ ดก็ ดว้ ยการฝกึ ทกั ษะชวี ติ อยา่ งรอบดา้ น โดยเฉพาะทกั ษะ ในการแกไ้ ขปญั หาเชงิ สรา้ งสรรค์ หาทางออกทเี่ ปน็ ไปได้ ไมห่ นปี ญั หา ลงมอื แก้ไขจนส�ำ เร็จ อดทน ต่อสกู้ บั ชวี ติ เอาชนะปัญหาและอุปสรรคได้ สามารถขอรบั ค�ำ ปรกึ ษาไดท้ ส่ี ายดว่ นสขุ ภาพจติ 1323 ตลอด 24 ชว่ั โมง หรอื หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสุขใกล้บา้ นทุกแหง่ ทั่วประเทศ  “Top Hits ความรูส้ ขุ ภาพจิต” 155 ฉบับนกั สอื่ สาร



“การฆา่ ตัวตายผ่านสื่อออนไลน์” การฆ่าตัวตายบนอนิ เตอรเ์ น็ต (internet suicide) เป็นการเผยแพร่ ภาพให้สาธารณะรับรู้โดยผ่านทางอินเตอร์เน็ตหรือการชักชวน วางแผน ร่วมกัน/มีข้อตกลงร่วมกันท่ีจะกระทำ�การฆ่าตัวตาย (internet suicide pats) กับคนแปลกหน้าที่เจอกันในไซเบอร์ การวางแผนอาจเป็นระหว่าง คนสองคน สามคน หรอื มากกวา่ นัน้ ในแผนการอาจจะเปน็ การฆา่ ตวั ตาย พร้อมกัน ทเ่ี ดยี วกัน หรือฆา่ ตัวตายตา่ งสถานท่แี ต่หว้ งเวลาใกลเ้ คยี งกนั การฆา่ ตวั ตายผา่ นทางอนิ เตอรเ์ นต็ พบไดน้ อ้ ยมาก ของประเภทฆา่ ตวั ตาย แนวโน้มพบในกลุ่มวัยรุ่นมากท่ีสุด อาจวางแผนคนเดียว หรือวางแผน ระหวา่ งคนแปลกหนา้ ในอินเตอรเ์ น็ต อิทธิพลส่ือตอ่ พฤติกรรมการฆา่ ตัวตาย ที่ผ่านมา พบว่า ส่ือมีอิทธิพลต่อการฆ่าตัวตาย โดยเฉพาะการเลือก วิธีการฆ่าตัวตาย เช่น จากนวนิยาย จากส่ือทีวี ภาพยนตร์ท่ีแสดงวิธีการ ฆ่าตัวตาย มีผลต่อการพยายามฆ่าตัวตายและการเพิ่มอัตราการฆ่าตัวตาย ของประเทศ “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” 157 ฉบบั นกั สอื่ สาร

แนวทางป้องกันแก้ไข คำ�แนะน�ำ ส�ำ หรบั ผู้ปกครอง 1. ให้คำ�แนะนำ�ลูกวัยรุ่นเกี่ยวกับการใช้ Internet ให้เกิดประโยชน์ ในการแสวงหาความรทู้ เ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การด�ำ รงชวี ติ การศกึ ษา และความ ร้ใู หมๆ่ ควรวางคอมพิวเตอรไ์ ว้ในหอ้ งกลางของบา้ น พ่อแมม่ องเหน็ ได้ 2. ใกล้ชิดลูกวัยรุ่น คอยซักถามความทุกข์สุข เปิดโอกาสให้ลูกเล่า/ ปรกึ ษาปญั หาที่เกิดข้ึนทกุ วัน 3. สงั เกตพฤตกิ รรมทผี่ ดิ ปกติ เชน่ เกบ็ ตวั ไมพ่ ดู กบั ใคร ซมึ เศรา้ มผี ลการ เรียนตกต่ํา ลกู วยั ร่นุ เล่นอินเตอรเ์ ขา้ เว็บไซตท์ ี่อนั ตราย เช่น เวบ็ ไซต์แนะน�ำ การฆ่าตัวตาย หรอื ใหบ้ รกิ ารเก่ยี วกบั วธิ ีการฆา่ ตวั ตายด้วยวิธตี ่างๆ เว็บไซต์ ผิดกฎหมายต่างๆ ควรให้ความใกล้ชิด ถ้าลูกมีซึมเศร้ามาก หรือเจ็บป่วย ด้วยโรคทางจิตเวช ควรปรึกษาจิตแพทยว์ ัยรุน่ /นกั จติ วทิ ยาเพื่อรักษาต่อไป 4. พอ่ แมผ่ ปู้ กครอง ควรติดตอ่ ครู/อาจารย์ เพ่ือนๆ ของลกู เพอ่ื ทราบ การดำ�เนินชีวิตในโรงเรยี น 5. ถ้าพบเว็บไซต์ที่เป็นอันตรายต่อสังคมควรแจ้งเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง เพือ่ ด�ำ เนินการต่อไป 158 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบับนักสื่อสาร

หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง 1. ส่งเสริมการใช้อินเตอร์เน็ตให้เป็นประโยชน์ในการป้องกัน การฆ่าตวั ตาย เชน่  เว็บไซตแ์ นะน�ำ ความรเู้ กย่ี วกบั การปอ้ งกันการฆ่าตวั ตาย ขอ้ มูล ของแหล่งชว่ ยเหลือผู้ทีม่ ปี ัญหา  การให้คำ�ปรึกษาทางอินเตอร์เน็ตสำ�หรับผู้ป่วย/วัยรุ่นที่มีภาวะ ซมึ เศรา้ /คดิ ฆา่ ตวั ตาย มชี อ่ งทางใหผ้ ทู้ ม่ี ปี ญั หาความทกุ ขท์ างใจ ไดร้ ะบายออกใหผ้ คู้ นไดแ้ ลกเปลย่ี นความรู้ และบรรยายถงึ ความ ทุกข์ของตน ใหไ้ ด้ผ่อนคลายจากความทุกขท์ เี่ ผชิญอยู่  เว็บไซต์ท่ีมีแบบคัดกรอง/แบบประเมินเก่ียวกับการฆ่าตัวตาย/ ให้ความร้เู กย่ี วกบั การแสวงหาความชว่ ยเหลอื /การบ�ำ บดั รกั ษา  เว็บไซต์ท่ีให้ความรู้ในการจัดการกับซึมเศร้า รวมทั้งการ รกั ษาและเปดิ ชอ่ งทางเขยี นขอ้ ความหรอื พดู คยุ กนั บนเวบ็ บอรด์ ได้แลกเปล่ียนประสบการณ์ กลยุทธ์/วิธีการในการจัดการ โรคซึมเศร้า ให้คนท่ีเคยมีพฤติกรรมทำ�ร้ายตนเองได้เขียน เรือ่ งเล่าของเขาใหค้ นอน่ื ได้รบั รู้ 2. ให้ความรู้กับประชาชนทั่วไปในการใช้อินเตอร์เน็ต และข้อ ระมัดระวังในการดูแลบุตรหลานในการใชอ้ ินเตอร์เนต็ 3. ครู/อาจารย์/สถาบันการศึกษา ให้ความรู้เรื่องการใช้อินเตอร์เน็ต ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ 4. ควบคมุ /ลดการเขา้ ถงึ เวบ็ ไซต/์ หอ้ งสนทนา chat room /เวบ็ บอรด์ ที่เป็นอันตราย เว็บไซต์ที่เผยแพร่ข้อมูลในด้านคำ�แนะนำ�/สอน/วิธีการ ฆ่าตัวตาย โดยหน่วยงานของรัฐที่จัดการเร่ืองสารสนเทศ กระทรวงไอซีที ด้วยการปิดเว็บไซต์/ตรวจสอบ/ควบคุมเว็บไซต์ท่ีเป็นอันตรายและ ผดิ กฎหมายตา่ งๆ  “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 159 ฉบับนกั สอ่ื สาร

“Live สดฆ่าตัวตายในสอ่ื โซเชียลมีเดยี ” การ live สดฆ่าตัวตายผ่านสังคมออนไลน์ เริ่มปรากฏให้เห็นมากข้ึน ซึ่งการถ่ายทอดสดลักษณะนี้ ไม่สามารถที่จะตัดต่อได้ หรือเซ็นเซอร์ได้ ในขณะออกอากาศ หากมผี ตู้ ดิ ตามจ�ำ นวนมาก ยอ่ มสง่ ผลใหผ้ ทู้ ม่ี สี ภาพจติ ใจ เปราะบางอยู่แล้ว หรืออาจเคยมีความคิดอยากตาย หรือมีปัญหาทุกข์ใจ คล้ายๆ กัน เกิดการฆ่าตัวตายเลียนแบบ (copycat suicide) หรือช้ีนำ� ใหเ้ กดิ การฆา่ ตวั ตายตามดว้ ยความเขา้ ใจผดิ วา่ เปน็ ทางออกของปญั หา และ หากผู้รับชมเป็นเด็กและเยาวชนที่ยังไม่มีวุฒิภาวะเพียงพอ ไม่ระมัดระวัง ในการรับสื่อ อาจเข้าใจผิดคิดว่า การฆ่าตัวตายเป็นเร่ืองท่ียอมรับได้ง่าย หากได้รับการตอบรับจากผู้ชมจำ�นวนมาก ทำ�ให้เกิดพฤติกรรมเลียนแบบ ได้งา่ ยยิ่งขึน้ หากพบเห็นภาพเหล่าน้ี ต้องรีบยับยั้ง อย่าแชร์ หรือบอกต่อ และไม่ ติดตามการถ่ายทอดสดจนจบ เพราะอาจส่งผลกระทบต่อจิตใจตนเอง ในอนาคต เชน่ เกดิ ความรสู้ กึ สะเทอื นใจ เกบ็ ไปเปน็ ความเครยี ดฝงั ใจ ครนุ่ คดิ จนนอนไม่หลับ เป็นภาพตดิ ตาซึง่ ไม่เปน็ ผลดตี อ่ สุขภาพจติ การฆา่ ตวั ตายหรอื พยายามฆา่ ตวั ตายดว้ ยอารมณช์ ว่ั วบู ในลกั ษณะหนุ หนั พลันแล่นเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาการฆ่าตัวตายอยู่แล้ว และผู้ท่ีฆ่าตัวตาย มักจะส่งสัญญาณเตือนมาก่อน ทั้งจากคำ�พูด การเขียนจดหมาย การส่ง ขอ้ ความสน้ั (SMS) การไลน์ หรอื การโพสตข์ อ้ ความบนโซเชยี ลมเี ดยี เปน็ ตน้ คนท่ีอยากฆา่ ตัวตาย หรอื ท�ำ ร้ายตวั เองมักจะมีความลงั เล พะวกั พะวง การ 160 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจิต” ฉบับนกั ส่ือสาร

ช่วยเหลือในระยะน้ี จึงมีความสำ�คัญและเป็นการป้องกันการฆ่าตัวตาย ท่ดี ีท่ีสุดจากคนใกลช้ ิด การปรากฏตัวในโลกโซเชียล จึงเป็นสัญญาณหน่ึงที่บอกได้ว่า เขาอาจ ยงั มีความลังเลอยู่ เขาก�ำ ลังรอ้ งขอความช่วยเหลอื ซ่งึ ในจังหวะน้นั สามารถ ช่วยเหลือผู้ท่ีตกอยู่ในภาวะวิกฤตน้ีได้ ด้วยการประวิงเวลา ให้กำ�ลังใจ ให้ข้อคิด สนทนาเรียกสติ ยับย้ังความคิด ให้หลุดพ้นห้วงอารมณ์นั้น ใหผ้ า่ นพน้ 24 ชวั่ โมงไปใหไ้ ด้ อยา่ นง่ิ เฉย ทา้ ทาย เยาะเยย้ ดา่ วา่ หรอื ต�ำ หนิ ตลอดจนโทร191และเชอื่ มประสานคนทเ่ี ขารกั ไวใ้ จหรอื ใกลช้ ดิ ทส่ี ดุ เพอ่ื ชว่ ย ดงึ สตเิ ขากลบั มา หรอื ขอความชว่ ยเหลอื จากสายดว่ นสขุ ภาพจติ 1323 หรอื สถานพยาบาลท่ีใกลท้ ่สี ุด เพ่อื ใหเ้ ขาเข้าสรู่ ะบบการช่วยเหลอื โดยเร็ว แนวทางปอ้ งกัน ระดบั บคุ คล โดยพน้ื ฐานหลกั แลว้ คอื การมวี ธิ จี ดั การกบั ความเครยี ดทดี่ ี เช่น การออกกำ�ลังกายสม่ําเสมอ ยึดหลักศาสนาเป็นท่ีพ่ึงทางจิตใจ เพื่อทำ�ให้จิตใจสงบมากข้ึน รวมท้ัง การฝึกสติ ฝึกสมาธิ หาเพ่ือนปรึกษา พูดคยุ ระบาย ช่วยกนั คิดแก้ปัญหา ไม่เกบ็ ปัญหาไว้คนเดยี ว ตลอดจนขอรับ คำ�ปรึกษาและความชว่ ยเหลอื จากบุคคลหรอื หน่วยงานที่เกย่ี วข้อง เป็นตน้ ระดบั ครอบครัว ชุมชน และสังคม ต้องสื่อสารดีต่อกัน ตลอดจนเอาใจใส่กันและกัน ปัญหาการฆ่าตัวตาย ปอ้ งกนั ได้ ทกุ คนช่วยได้ “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจติ ” 161 ฉบับนกั สื่อสาร

แนวทางใหค้ วามชว่ ยเหลอื  หลัก 3 ส. สอดส่อง มองหา (LOOK) คนใกลช้ ดิ ทม่ี คี วามเสย่ี ง สญั ญานเตอื น เชน่ การโพสตข์ อ้ ความสง่ั เสยี เปน็ นยั ๆ ขอบคณุ ขอโทษ ลากอ่ น โพสต์ข้อความเก่ียวกับความตาย หรือเขยี น ประมาณว่า ไมอ่ ยากอยอู่ ีกต่อไปแลว้ โพสตข์ ้อความเก่ยี วกับความเจบ็ ปวด ความทกุ ขท์ รมาน โพสตข์ อ้ ความวา่ รสู้ กึ ผดิ ลม้ เหลว หมดหวงั ในชวี ติ โพสต์ ขอ้ ความว่า เป็นภาระของผอู้ ืน่ หรอื ข้อความท่ีบง่ บอกวา่ รู้สึกไร้คุณคา่ ท้ังนี้ ตอ้ งยอมรับว่าสง่ิ ท่เี ขาโพสต์นนั้ เป็นปญั หาของเขาจริง ๆ ไมใ่ ชเ่ ร่ืองล้อเลน่ ใส่ใจรับฟัง (Listen) แสดงความช่วยเหลืออย่างเต็มใจ รับฟังปัญหาของเขาอย่างตั้งใจ หรือ ให้คำ�แนะนำ�อยา่ งจริงใจ ให้กำ�ลงั ใจ คอยอยู่เคียงขา้ ง ปลอบใจใหเ้ ขามสี ติ ค่อย ๆ คิดหาทางแก้ไขปัญหา ทำ�ให้เขาเห็นว่าปัญหาน้ันสามารถแก้ไข และผ่านไปได้ ซึง่ จะทำ�ใหค้ นทีก่ ำ�ลงั อยู่ในสภาวะล�ำ บาก กล้าทีจ่ ะบอกเลา่ เรือ่ งราวต่าง ๆ มากข้ึนเสมอ สง่ ตอ่ เชือ่ มโยง (LINK) พาไปโรงพยาบาล หรือหนว่ ยงานใหค้ �ำ ปรกึ ษา เพื่อเข้าสรู่ ะบบบริการ 162 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบับนกั ส่ือสาร

 หลกั 5 อย่า 3 ควร 5 อย่า 1. อยา่ ทา้ ทาย เชน่ ท�ำ เลย เอาจรงิ กล็ งมอื สิ กลา้ ท�ำ หรอื เปลา่ ตายไปเลย คำ�พดู เหลา่ นจี้ ะย่งิ กระตนุ้ ผปู้ ่วยให้ตัดสนิ ใจทำ�ร้ายตวั เองมากขน้ึ 2. อย่านิ่งเฉย หากเห็นแล้วปล่อยเลยตามเลย ถือเป็นการสนับสนุน ใหผ้ ปู้ ่วยทำ�ร้ายตวั เองทางออ้ ม 3. อยา่ ใชค้ �ำ พดู เยาะเยย้ หรอื ดา่ วา่ เชน่ ออ่ นแอจงั โงจ่ งั บา้ ปญั ญาออ่ น สมควรตาย เพราะค�ำ พดู เหลา่ นอี้ าจกระทบกระเทอื นจติ ใจของผปู้ ว่ ย สง่ ผลให้ ผปู้ ่วยมีความคิดในทางลบจนกระท่งั ท�ำ ร้ายตัวเองได้ 4. อยา่ แชรต์ อ่ การแชรข์ อ้ ความหรอื ไลฟส์ ดในโซเชยี ลตอ่ ไป อาจสง่ ผล ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมเลยี นแบบในกลมุ่ คนทม่ี คี วามคดิ อยากฆา่ ตวั ตาย หรอื คดิ วา่ ชวี ิตตัวเองไม่มคี ุณคา่ เขาเหล่าน้ันอาจทำ�ร้ายตัวเองเลยี นแบบบา้ งกไ็ ด้ 5. อย่าติดตามจนจบ หากเจอคนไลฟ์สดจะทำ�ร้ายตัวเอง หากเรา ช่วยเหลือไม่ได้ ก็อย่าพยายามดูต่อจนจบ เพราะอาจทำ�ให้รู้สึกสะเทือนใจ เศรา้ ใจ มคี วามเครยี ดฝงั ใจจนกระทบกบั การนอนหลบั และการใช้ชวี ิตได้ 3 ควร 1. ควรห้ามหรือขอรอ้ งให้หยุดพฤตกิ รรมดังกลา่ ว เพราะส่วนใหญ่คนที่คดิ อยากท�ำ ร้ายตวั เองจะลงั เลใจ 2. ควรชวนคุย เพ่ือให้เขาได้มีโอกาสทบทวนความคิดตัวเองใหม่ เนน้ รบั ฟงั สงิ่ ทเี่ ขาอยากระบาย และพยายามอยา่ ใหเ้ ขาอยตู่ วั คนเดยี ว 3. ติดต่อขอความช่วยเหลือ รีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีตำ�รวจติดต่อคนท่ี อยูใ่ กลช้ ิดเขาทสี่ ุดในขณะนัน้ หรอื ติดต่อโรงพยาบาลทใี่ กล้ทสี่ ดุ  “Top Hits ความรสู้ ุขภาพจิต” 163 ฉบบั นักสอ่ื สาร





“แนวทางการน�ำ เสนอขา่ วและภาพขา่ ว ความรนุ แรงทสี่ ่งผลกระทบต่อจติ ใจ สาธารณชน” การเผยแพร่หรือถ่ายทอดสดความรุนแรง โดยเฉพาะภาพการทำ�ร้าย ตัวเอง ผ่านสื่อและช่องทางสังคมออนไลน์ ไม่ควรทำ�อย่างยิ่ง เน่ืองจาก เป็นการส่งต่อความน่ากลัวและฉายภาพความรุนแรงซํ้า อาจก่อให้เกิด พฤตกิ รรมเลยี นแบบไดท้ ง้ั ในเดก็ และผใู้ หญท่ ต่ี า่ งกย็ อ่ มมวี ฒุ ภิ าวะและความ เปราะบางทางจิตใจท่ีแตกต่างกัน ส่ือมวลชนจึงต้องเพ่ิมความระมัดระวัง และคำ�นึงถึงผลกระทบในระยะยาวรว่ มด้วย ส่ือมวลชนสามารถมีบทบาทในการช่วยป้องกันปัญหาการ ฆ่าตัวตายได้ ดังนี้ 1. หลีกเลี่ยงการนำ�เสนอภาพของผู้ตกอยู่ในสภาพท้อแท้สิ้นหวัง หรือ ลงรายละเอยี ดของการฆา่ ตวั ตายและไมค่ วรเสนอขา่ วเพอื่ ความตน่ื เตน้ เรา้ ใจ ดรามา่ ก่อให้เกิดความรสู้ ึกสะเทือนใจ ซํ้าเติมความทกุ ข์หรอื โศกนาฏกรรม ทม่ี ากเกนิ ไป 2. ค�ำ นงึ ถงึ การน�ำ เสนอขา่ วทอี่ าจสง่ ผลตอ่ ความรสู้ กึ หรอื เกดิ ผลกระทบ ในทางลบตอ่ ญาติและผใู้ กลช้ ดิ ไมล่ ่วงละเมิดสิทธสิ ่วนบุคคล 166 “Top Hits ความร้สู ขุ ภาพจติ ” ฉบบั นักสอื่ สาร

3. ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก เสริมสร้างความเข้าใจท่ีถูกต้อง ดา้ นการปรบั ตวั ในชวี ติ ตลอดจนสรา้ งก�ำ ลงั ใจกบั ผทู้ กี่ �ำ ลงั รสู้ กึ ทอ้ แทใ้ นชวี ติ 4. การนำ�เสนอภาพการทำ�ร้ายตนเองในภาพยนตร์หรือละครควร ได้รับคำ�แนะจากผู้เชี่ยวชาญ และขณะนำ�เสนอภาพการทำ�ร้ายตนเอง ควรมีการแจ้งให้ทราบถึงสถานบริการช่วยเหลือผู้คิดฆ่าตัวตายและบริการ ใหค้ ำ�ปรกึ ษา 5. ดูแลกายและใจของตัวเองให้ดีเพราะการติดตามทำ�ข่าวแต่ละคร้ัง อาจได้รับความเครียดและความทุกข์ใจได้มาก แม้ว่าจะมีประสบการณ์สูง แลว้ กต็ าม จงึ อยา่ ลมื พดู คยุ ระบายกบั เพอื่ นรว่ มงาน เพอ่ื น คนในครอบครวั หรอื หน่วยงานที่ให้ความชว่ ยเหลอื ด้านจิตใจ  “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” 167 ฉบับนักสอ่ื สาร

ท่ีปรึกษาและคณะทำ�งาน ที่ปรึกษา น.ต.นพ.บุญเรอื ง ไตรเรืองวรวัฒน ์ อธิบดกี รมสุขภาพจิต นายแพทย์ชิโนรส ลส้ี วัสด์ิ รองอธิบดกี รมสุขภาพจติ นายแพทย์พงศเ์ กษม ไข่มกุ ด์ รองอธิบดกี รมสขุ ภาพจติ นายแพทยส์ มยั ศิรทิ องถาวร รองอธิบดีกรมสุขภาพจติ นายแพทยย์ งยุทธ วงศ์ภริ มย์ศานต์ิ ทป่ี รึกษากรมสุขภาพจติ นางนันทนา รตั นากร ผู้อำ�นวยการ กองสุขภาพจิตสงั คม แพทย์หญงิ วิมลรัตน์ วันเพ็ญ สถาบนั สุขภาพจติ เดก็ และวัยรุ่นราชนครินทร์ แพทยห์ ญงิ ศทุ รา เอ้ืออภสิ ิทธ์วิ งศ์ สถาบนั สขุ ภาพจิตเดก็ และวัยรุ่นราชนครนิ ทร์ คณะทำ�งาน ทบั ทิมเจอื กองสขุ ภาพจิตสังคม นางสาวปยิ ฉตั ร นาทะพันธ์ ุ กองสุขภาพจิตสงั คม นายชนินทร ์ ฉตั รทอง กองสขุ ภาพจติ สังคม นายอานนท์  168 “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” ฉบับนักสื่อสาร





สขุ ภาพจิตครอบครัว เดก็ สตรี และผู้สูงอายุ “ความรุนแรงในครอบครัว” ปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั ไมไ่ ดม้ เี ฉพาะการท�ำ รา้ ยรา่ งกายเทา่ นนั้ ยังมีรูปแบบการใช้ความรุนแรงอีกหลายรูปแบบ เช่น การด่าทอ ดูถูก เหยยี ดหยามท�ำ ใหอ้ บั อายเศรา้ เสยี ใจกกั ขงั หนว่ งเหนยี่ วทอดทง้ิ การอนาจาร ข่มขู่ การนอกใจ การเพิกเฉย ไม่สนใจไยดี หรือแม้แต่การโพสต์ข้อความ ผา่ น Social Network ทที่ �ำ ให้ร้สู กึ อับอายตอ่ สงั คม การทำ�ธรุ กจิ ทางเพศ เชน่ การถ่ายภาพลามก การบงั คบั ให้ค้าประเวณี เปน็ ต้น สาเหตุ/ปจั จยั  ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว/การทะเลาะวิวาท ปัญหา ทางการเงนิ  ความไม่พร้อมในการมีบตุ ร  สภาพความเปน็ อย/ู่ สง่ิ แวดล้อม/ปญั หาทางสงั คม/แรงกดดัน  พฤติกรรมของบุคคล/ความโกรธ/ความโมโห  ความเชอ่ื หรอื เข้าใจว่าเพศชายนั้นมสี ทิ ธโิ ดยชอบธรรมในการใช้ ความรนุ แรง  ปัญหายาเสพตดิ /การดืม่ สุรา “Top Hits ความรสู้ ขุ ภาพจติ ” 169 ฉบับนักสอื่ สาร

ข้อแนะนำ�/แนวทางการรบั มอื  สื่อสารด้วยคำ�พูดเชิงบวก พูดจาถนอมนํ้าใจกัน พูดจาช่ืนชมกัน เมอ่ื ท�ำ สงิ่ ดๆี ขอบคณุ เมอ่ื อกี ฝา่ ยท�ำ อะไรให้ ขอโทษทที่ �ำ ผดิ หรอื ท�ำ ใหอ้ กี ฝา่ ย ไมส่ บายใจ ยม้ิ ใหก้ นั อยเู่ สมอ รจู้ กั สงบปากสงบค�ำ อยา่ ตอ่ ปากตอ่ ค�ำ ไปเรอื่ ย ไม่พดู ถึงความผิดพลาดในอดตี ไม่พูดต�ำ หนิหรือเปรียบเทยี บ ลำ�เลิกบุญคุณ คกุ คามใหอ้ กี ฝา่ ยหนึ่งต้องเสยี หน้า  เมื่อขัดแย้งกันควรใช้วิธีจับเข่าคุยกัน อย่าพูดขณะที่ต่างฝ่าย ตา่ งมอี ารมณ์ ควรนกึ ถงึ ความรสู้ กึ ทมี่ ตี อ่ กนั พยายามขม่ ใจ และคดิ ถงึ สงิ่ ตา่ งๆ ทช่ี อบ คุมอารมณต์ วั เอง คดิ ถึงคนทผี่ า่ นมา เชน่ คิดถึงลูก คิดถึงความดงี าม ของอกี ฝา่ ย ถา้ ไมไ่ หวจรงิ ๆ ใหพ้ ยายามเดนิ หลบไปสงบอารมณส์ กั พกั หรอื หา คนกลาง ท่ีมีความเปน็ ผ้ใู หญ่ มวี ุฒภิ าวะทางอารมณท์ ่เี รานบั ถือชว่ ยแนะนำ�  พยายามลดทิฐิ และเข้าหากัน มีใจอภัยให้กัน อย่ามองว่า การ อ้อนวอน ยอมรบั ผิด หรือพดู ขอโทษเป็นเรอ่ื งเสียศกั ดศ์ิ รี  ชว่ ยเหลอื กนั ในการอบรมเลย้ี งดบู ตุ ร ท�ำ กจิ กรรมรว่ มกนั ในครอบครวั ท่ีทำ�ด้วยความเต็มใจและความรู้สึกสนุกเม่ือได้ช่วยกันทำ� ควรจัดให้มีวัน สำ�หรบั ครอบครวั สปั ดาหล์ ะ 1 วนั หรอื แลว้ แต่ตกลงกัน เพือ่ ให้มเี วลาอยู่ พรอ้ มหน้าพร้อมตากนั พอ่ แม่ ลูก และท�ำ กิจกรรมร่วมกนั  แต่งเติมสีสันให้กับชีวิต ทำ�อะไรท่ีพิเศษไปจากชีวิตประจำ�วัน ซง่ึ เปน็ สง่ิ ท่สี นใจร่วมกัน และอยากท�ำ รว่ มกนั 170 “Top Hits ความรู้สขุ ภาพจิต” ฉบับนักสอื่ สาร

ความรนุ แรงทเี่ กดิ ขน้ึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งของคนใดคนหนงึ่ หรอื เรอ่ื งสว่ นตวั ของใคร หากพบเห็นต้องไม่เพิกเฉย รีบให้ความช่วยเหลือตามกำ�ลังความสามารถ เชน่ โทรศพั ท์แจ้งต�ำ รวจ ให้กำ�ลงั ใจ ใหค้ �ำ ปรกึ ษา แนะนำ�แหล่งข้อมูลหรอื หน่วยงานให้ความช่วยเหลือ รวมท้ังช่วยกันสอดส่องดูแลไม่ให้เกิดการใช้ ความรุนแรงภายในชุมชน หรือ หากพบคนในครอบครัวหรือบุคคลใกล้ชิด มีปัญหาทางจิตใจเนอื่ งจากถูกกระทำ�ความรุนแรง สามารถขอรบั ค�ำ ปรึกษา ได้ทีส่ ายดว่ นสุขภาพจติ 1323 ฟรตี ลอด 24 ชว่ั โมง ตลอดจนขอรับบริการ ศูนย์พง่ึ ได้ ในโรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ทวั่ ประเทศ  “Top Hits ความร้สู ุขภาพจิต” 171 ฉบับนักส่อื สาร

“กกาารรฆท่าำ�ยรก้าคยรบัวุค”คลในครอบครัว/ การทำ�ร้ายบุคคลในครอบครัว/การฆ่ายกครัว โดยสมาชิกในครอบครัว เป็นผู้ลงมือกระทำ�ด้วยตนเองหรือจ้างวานให้ผู้อื่นกระทำ� ได้สร้างความ สะเทือนขวัญและถูกพูดถึงอย่างกว้างขว้างในสังคมไทย โดยเฉพาะกับ คำ�ถามทต่ี ามมาวา่ เกดิ อะไรขน้ึ กับสถาบันครอบครวั กรณีลักษณะเช่นนี้ สังคมไทยยังขาดความเข้าใจและพยายาม หาค�ำ ตอบกนั อยู่ แมแ้ ตใ่ นดา้ นวชิ าการกย็ งั มขี อ้ มลู และความเขา้ ใจตอ่ เรอื่ งนี้ อยอู่ ยา่ งจ�ำ กดั ซง่ึ หากมกี ารท�ำ ความเขา้ ใจปจั จยั ในเชงิ ลกึ ไดม้ ากเทา่ ไรยอ่ มจะ เปน็ ผลดตี อ่ การหาแนวทางในการปอ้ งกนั เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วไดอ้ ยา่ งตรงจดุ ไมก่ อ่ ใหเ้ กิดโศกนาฏกรรมซํ้าแลว้ ซํา้ เล่า ในต่างประเทศได้มีข้อมูลเก่ียวกับการฆ่าบุพการีหรือบิดามารดา ว่าผู้กระทำ�มักมีอาการทางจิตเวช ท่พี บบอ่ ย ไดแ้ ก่ ซมึ เศร้า อารมณ์สองขัว้ เกเรตอ่ ตา้ น และอาจพบการใชส้ ารเสพตดิ รว่ มดว้ ยได้ รอ้ ยละ 81 เปน็ การฆา่ ผู้เป็นพ่อ และร้อยละ 76 เปน็ การฆา่ ผู้เป็นแม่ อาวธุ ที่ใช้ ส่วนใหญเ่ ป็นปนื ถึงรอ้ ยละ 57-80 เมอ่ื พจิ ารณาตามอายุ จะพบวา่ ผกู้ ระท�ำ หรอื บคุ คลทอี่ ายมุ ากกวา่ 18 ปี มูลเหตุจูงใจในการกระทำ�จะสัมพันธ์กับอาการทางจิต ขณะที่ บุคคลอายุ น้อยกวา่ 18 ปี มลู เหตจุ งู ใจในการกระทำ�จะสัมพนั ธก์ บั การถูกทารณุ กรรม ในวยั เด็ก 172 “Top Hits ความรู้สุขภาพจิต” ฉบับนักสอ่ื สาร

สำ�หรับในประเทศไทย จะมีข้อมูลลักษณะน้ีค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะใน บุคคลท่ีอายนุ อ้ ยกวา่ 18 ปี แตส่ ำ�หรบั บคุ คลท่อี ายมุ ากกว่า 18 ปี จะพบ ว่า การฆ่าบิดามารดา มีความสัมพันธ์กับอาการทางจิต สาเหตุที่ยังไม่มี ข้อมูลท่ีชัดเจน อาจเป็นไปได้ว่า บุคคลเหล่านี้ไม่ได้ถูกส่งมาประเมินสภาพ จิตเน่ืองจากไม่มีเหตุท่ีทำ�ให้เช่ือได้ว่ามีความผิดปกติทางจิตตามประมวล กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญามาตรา 14 สาเหตุ มาจากหลายตัวแปร ได้แก่ ความผิดปกติทางระบบประสาท และสมอง บดิ ามารดามคี วามผดิ ปกตทิ างจติ การดแู ลทไ่ี มเ่ หมาะสม ซง่ึ อาจ เกิดจากความสัมพันธ์ในครอบครัวที่ไม่ดี มีการใช้ความรุนแรงในครอบครัว มปี ระวตั เิ คยถกู ทารณุ กรรมมากอ่ น ท�ำ ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมการเลยี นแบบความ รนุ แรงจากครอบครวั สงั คมรอบขา้ ง และสื่อตา่ ง ๆ รวมไปถึงขาดแนวทาง การจัดการความเครียดทเ่ี หมาะสม การตดิ สารเสพติด ทม่ี ผี ลทำ�ลายสมอง ช่วยทำ�ให้มีอารมณ์ท่ีรุนแรง และขาดความยับยั้งช่ังใจได้ ซึ่งปัจจัยเหล่าน้ี มผี ลตอ่ ความออ่ นแอทางจติ ใจในบคุ คลทจ่ี ะสง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมรนุ แรงได้ ผู้เช่ียวชาญพยายามตั้งทฤษฎีเพ่ือที่จะอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ซึง่ ทฤษฎที เ่ี ปน็ ทีย่ อมรบั และสามารถอธิบายปรากฏการณ์นไ้ี ด้ดี คือ ทฤษฎี ท่ีอธิบายว่า ปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดจากการสะสมความรู้สึกว่าตนเอง ถูกเยาะเย้ยหรือน่าละอาย ซ่ึงเป็นผลมาจากการถูกทารุณกรรมท่ีทำ�ให้ รู้สึกว่าตนเองนั้นไม่เป็นท่ีต้องการ ไม่ได้รับความยุติธรรม และ เมื่อเกิด การทารุณกรรมซํ้าๆ ก็จะยิ่งไปตอกยํ้าให้เกิดความรู้สึกเหล่านี้ซ้ําๆ ทำ�ให้ รสู้ กึ ตงึ เครยี ดเกดิ เปน็ ปมฝงั แนน่ อยภู่ ายในจติ ใจ เมอ่ื เตบิ โตเขา้ สวู่ ยั รนุ่ ปมที่ ฝังแน่นเหล่านี้ก็จะเป็นแรงผลักดันให้เกิดการปลดปล่อยตนเองจากสภาวะ “Top Hits ความรูส้ ุขภาพจติ ” 173 ฉบบั นกั สอ่ื สาร

ท่ีถูกทารุณกรรม โดยการตัดสินใจที่จะสู้หรือจะหนี (Fight or Flight) ทางหนี คือ การฆ่าตวั ตาย (Flight) ขณะท่ี ทางสู้ คอื การทำ�รา้ ยผูท้ ก่ี ระทำ� ทารุณกรรม (Fight) การฆ่าบุพการีจึงเป็นหนทางหน่ึงท่ีจะช่วยปลดปล่อยตนเองจากความ รู้สึกไม่สบาย ความต้องการแก้แค้น ความก้าวร้าว และการไม่ได้รับความ ยตุ ิธรรม ขอ้ แนะน�ำ /แนวทางป้องกนั 1. ครอบครวั ควรสรา้ งความรกั ความผกู พนั กนั ใหม้ ากขนึ้ โดยการเขา้ ใจ และยอมรับความแตกต่าง รวมท้ังข้อจำ�กัดของกันและกัน มองหาจุดดี และรจู้ กั ชนื่ ชมกนั รวมทงั้ ใชเ้ วลาพดู คยุ หรอื ท�ำ กจิ กรรมรว่ มกนั ใหม้ ากขนึ้ ซง่ึ นอกเหนอื จากพ่อแมแ่ ลว้ ปยู่ า่ ตายาย พ่ีป้าน้าอา กม็ ีความสำ�คัญไม่แพก้ ัน ท่ีจะให้ความรักความอบอุ่นและเป็นท่ีพึ่งทางใจให้เด็กๆ ได้สามารถพูดคุย เรือ่ งที่ไม่สบายใจใหฟ้ งั ได้ 2. ครอบครัวต้องไม่ใช้ความรุนแรง เพราะจะย่ิงกลายเป็นวงจร ความรุนแรงต่อเน่ืองในรุ่นต่อๆไป พ่อแม่จึงควรเลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาท่ี เหมาะสม มคี วามยดื หยุ่น และคอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป 3. พอ่ แม่ ตอ้ งเปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ี หรอื เปน็ ซเู ปอรโ์ มเดล (Super model) ให้กับลูก โดยเฉพาะเร่ืองของความดีงาม ความยับย้ังชั่งใจ เพราะนิสัย สว่ นหนงึ่ ของลกู ยอ่ มเกดิ จากการเลยี นแบบพอ่ แมโ่ ดยไมร่ ตู้ วั เดก็ ๆ กเ็ หมอื น กระจกสะทอ้ น หากเราตอ้ งการใหภ้ าพทส่ี ะทอ้ นในกระจกนน้ั สวยงาม เราเอง ก็ตอ้ งเปน็ ภาพทส่ี วยทสี่ ดุ ให้ไดเ้ สยี ก่อน 174 “Top Hits ความรู้สุขภาพจติ ” ฉบบั นกั สือ่ สาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook