ก วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด Journal of Roi Et Rajabhat University ปท่ี 14 ฉบับที่ 3 กันยายน – ธนั วาคม 2563 Volume 14 No.3 September – December 2020 วัตถุประสงค เพื่อสงเสริมและเผยแพรผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย บทความทางวิชาการ บทความท่ัวไป บทวิจารณห นังสือ ที่มีคณุ คาตอ การพฒั นาสังคม เปนสอ่ื กลางแลกเปลีย่ นความคิดเห็นเชงิ วิชาการ ของนักวิจัย นักวิชาการ นกั ศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา บัณฑิตศกึ ษา โดยมขี อบเขตเน้อื หา ในสาขาภาษาศาสตร ศึกษาศาสตร บริหารธุรกิจ การจดั การทัว่ ไป การตลาด นติ ิศาสตร รฐั ศาสตร รฐั ประศาสนศาสตร เศรษฐศาสตร นิเทศศาสตร สังคมศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม สงเสริมการเกษตร ส่งิ แวดลอ ม ศิลปกรรม สารสนเทศศาสตร และสาขาทเี่ กี่ยวของ ครอบคลมุ สหวิทยาการ ดานมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร กาํ หนดการเผยแพร ปล ะ 3 ฉบับ ฉบับที่ 1 เดอื นมกราคม – เมษายน ฉบับท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม – สิงหาคม ฉบับท่ี 3 เดอื นกันยายน – ธนั วาคม ที่ปรกึ ษา ศาสตราจารยพเิ ศษ นายแพทยสมพร โพธินาม ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เฉลย ภมู ิพนั ธุ อาจารย ดร.ธนาภรณ พันทวี บรรณาธกิ าร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ศรีสุนันท ประเสริฐสงั ข กองบรรณาธิการผูทรงคณุ วฒุ ภิ ายนอกมหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพธนบุรี ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ รองศาสตราจารย ดร.ปาริชา มารีเคน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย ดร.เสาวลักษณ โกศลกิตตอิ ัมพร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย ดร.พิศมัย ศรอี ําไพ มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี รองศาสตราจารย ดร.สืบชาติ อันทะไชย จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย ผูชว ยศาสตราจารย ดร.พันธศกั ด์ิ พลสารัมย มหาวิทยาลัยพะเยา ผูชวยศาสตราจารย ดร.จิตติมา กาวีระ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน ผชู วยศาสตราจารย ดร.ไพศาล สวุ รรณนอย Indiana State University Professor Dr.William R. Barratt Indiana State University Professor Dr.Leslie B. Barratt สถานทจี่ ัดพิมพ โรงพิมพต ักสลิ าการพิมพ โทรศพั ท 088 560 8139
Journal of Roi Et Rajabhat University ก Volume 14 No.3 September - December 2020 กองบรรณาธิการผทู รงคุณวฒุ ภิ ายในมหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ผชู วยศาสตราจารย ดร.สมใจ ภมู ิพนั ธุ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ยุวธิดา ชาปญญา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ผูชว ยศาสตราจารย ดร.จิตราภรณ วงศคําจันทร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอด็ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.รชั นีเพญ็ พลเย่ียม มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ผชู วยศาสตราจารย ดร.วรฉัตร วริวรรณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด อาจารย ดร.มงคล เอกพันธ ผทู รงคณุ วุฒิกลัน่ กรองบทความ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี รองศาสตราจารย ดร.สมาน อัศวภูมิ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย ดร.ประสาท เนืองเฉลิม มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม รองศาสตราจารย ดร.สัญญา เคณาภมู ิ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม รองศาสตราจารย ดร.สวุ กิจ ศรปี ดถา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผูชวยศาสตราจารย ดร.วนิดา ผาระนัด มหาวิทยาลัยนครพนม รองศาสตราจารย ดร.นริ าศ จนั ทรจิตร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี รองศาสตราจารย ดร.จาํ ลอง วงษประเสรฐิ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ รองศาสตราจารย ดร.กตัญู แกว หานาม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รองศาสตราจารย ดร.จุฬามาศ จันทรศ รีสคุ ต มหาวิทยาลัยราชภฏั บรุ รี มั ย ผชู วยศาสตราจารย ดร.รพพี รรณ พงษอินทรวงศ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร ผชู วยศาสตราจารย ดร.สัญญาศรณ สวัสด์ิไธสง มหาวทิ ยาลัยการกีฬาแหงชาติ วิทยาเขตมหาสารคาม ผูช วยศาสตราจารย ดร.นกิ ร ยาสมร มหาวทิ ยาลัยนครพนม ผชู วยศาสตราจารย ดร.ชัยยทุ ธ ศิรสิ ุทธิ์ มหาวทิ ยาลัยนครพนม ผชู วยศาสตราจารย ดร.สุมาลี ศรีพทุ ธรนิ ทร มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.พนารัตน มาศฉมาดล มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค ผูชว ยศาสตราจารย ดร.อรทยั อินตะ ไชยวงค มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อาํ ภาศรี พอ คา มหาวทิ ยาลัยขอนแกน ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกศินี สราญฤทธชิ ัย มหาวทิ ยาลัยขอนแกน ผูช วยศาสตราจารย ดร.ดาวรวุ รรณ ถวิลการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม ผชู วยศาสตราจารย ดร.สมาน เอกพิมพ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา ผูชวยศาสตราจารย ดร.สิริรตั น นาคนิ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ปยาภรณ พมุ แกว มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี อาจารย ดร.ปริญา ปรพิ ฒุ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อาจารย ดร.ติณณ ชัยสายณั ต มหาวทิ ยาลัยเวสเทิรน วทิ ยาเขตบุรรี ัมย อาจารย ดร.ปณ ณทัต บนขุนทด หมายเหตุ บทความที่ตพี มิ พในวารสารเปนทัศนะ ลขิ สิทธิ์ และความรับผิดชอบของผเู ขียนเจาของผลงาน หนว ยงาน บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 (ช้นั 7) เลขท่ี 113 หมู 12 ตาํ บลเกาะแกว อําเภอเสลภูมิ จงั หวัดรอ ยเอ็ด 45120 โทรศัพท 043 556 231 หรือ 043 556 001-8 ตอ 1027 โทรสาร 043 556 231 หรอื 043 556 009 https://www.tci-thaijo.org/index.php/reru Email: [email protected]
ข วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 บทบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด ฉบับปท ่ี 14 ฉบับที่ 3 ประจําเดือนกันยายน – ธนั วาคม 2563 จัดทาํ ขึ้นโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอ ยเอ็ด เพื่อเผยแพรบ ทความจากวทิ ยานิพนธ บทความวิจัย บทความวิชาการ ของนักศกึ ษา คณาจารย นักวชิ าการทว่ั ไป ทง้ั ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ ซง่ึ ถือเปนการแลกเปล่ียนความรู แนวคดิ ประสบการณแ ละสรางเครือขา ยเชิงวิชาการ และงานวจิ ยั สาขาตาง ๆ วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ดฉบบั นี้ ไดรับการพัฒนาอยา งตอเนื่อง จนสามารถผานการประเมินเปนวารสาร ท่ีไดร ับการยอมรบั ในระดับชาติ ตามเกณฑคณุ ภาพของ TCI กลมุ 2 สาขามนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร กองบรรณาธิการ วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด มีความยินดีรบั บทความวิจยั (Research article) บทความทางวิชาการ (Academic article) บทความปริทัศน (Review article) และบทวิจารณหนงั สือ (Book review) ท่ยี งั ไมเคยเผยแพรใ นวารสารฉบับอ่ืนมากอน ผสู นใจสามารถดูรายละเอียดไดที่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/reru กองบรรณาธกิ ารขอขอบพระคุณ คณะผูเขยี นและผูทรงคุณวฒุ ิกล่ันกรองบทความทุกทานท่ีชวยเสนอแนะแนวคดิ ใหกบั ผูเขยี นและกองบรรณาธิการอยา งดีย่งิ ซึ่งหวังเปนอยา งย่ิงวา วารสารฉบบั น้ี จะเปนประโยชนตอ การพฒั นางานวิจัย และงานวชิ าการท้ังระดบั ทองถ่ิน ระดบั ชาติและระดับนานาชาติตอไป กองบรรณาธกิ าร
Journal of Roi Et Rajabhat University ค Volume 14 No.3 September - Dedcember 202 สารบัญ บทความ หนา บทความวิจัย.................................................................................................................................................... ภาวะผนู ําเชงิ กลยทุ ธของผูบรหิ ารที่สง ผลตอการบริหารงานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี 3 การศกึ ษาประถมศกึ ษายโสธร เขต 1 พิษณุ สมจติ ร และ สมใจ ภูมพิ นั ธุ………………….......………….......………….................................................….. การพัฒนาศกั ยภาพฝมือแรงงานทองถนิ่ สมารท ฟารม เมอร (Smart Farmers) ดา นกระบวนการ 13 ไทยแลนด 4.0 (Thailand 4.0) สกู ารเปนผปู ระกอบการวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) เขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ อนิ ทร อนิ อนุ โชติ, อัจฉราภรณ จุฑาผาด, เกรียงไกร กนั แกว , เกษศิรินทร ภิญญาคง, พรรณภา สังฆะมณี, อณุ ดาทร มูลเพ็ญ และ สุธาสนิ ี วังคะฮาต............................................................... การพฒั นาชุดกิจกรรมปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 วภิ าพร ศรีสุลัย, อรัญ ซุยกระเดื่อง และ อพนั ตรี พลู พทุ ธา........................................................................ 23 การพัฒนาหลักสตู รฝกอบรมการจัดการเรียนรตู ามแนวทางสะเต็มศกึ ษา สาํ หรบั ครูผูสอนโรงเรียนขยายโอกาส 32 ทางการศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 เจษฎา ทองกนั ทม, พรเทพ เสถียรนพเกา และ วาโร เพง็ สวัสดิ์................................................................. การใชกระบวนการเรียนรูเชิงรุกรวมกบั เทคนิคการใชคําถามเพื่อเสริมสรางความสามารถในการต้ังคําถาม 41 โครงงานวทิ ยาศาสตรของนักศึกษาสาขาวชิ าวิทยาศาสตรทว่ั ไป คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด เฉลิมวุฒิ ศภุ สุข...................................................................................................................…………..…………. การพัฒนาโปรแกรมการเสริมสรา งสมรรถนะครูดานการจดั การเรียนรวู ิชาคณิตศาสตรในสถานศึกษา 54 สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 1 จนิ ตนา สนุ ทรวัฒน และ พีระศกั ดิ์ วรฉัตร…...........................................…………………………………...………… การพัฒนาแนวทางการพฒั นาครดู านการวัดผลประเมนิ ผลการเรียนรูตามสภาพจรงิ สําหรบั สถานศึกษา 64 สังกัดสํานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 24 เชดิ เกียรติ แกวพวง และ ลักขณา สริวฒั น.............……………………......………………………………………………. กลยทุ ธการสรา งเครือขา ยความรว มมือเพ่ือพัฒนาโรงเรยี นในสํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาบึงกาฬ วาลิกา อัครนติ ย, ไชยา ภาวะบตุ ร และ เพลนิ พศิ ธรรมรัตน……………..............................................……… 72 ขอ เสนอเชิงนโยบายเพ่ือพฒั นาการจัดการศกึ ษาตามแผนการศึกษาแหง ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) 81 ในจังหวัดนครพนม วชิระ พลพิทักษ, ธวัชชัย ไพใหล และ เพลินพศิ ธรรมรัตน.....................................................................
ง วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 สารบญั (ตอ ) บทความ หนา บทความวิจัย.................................................................................................................................................... คณุ ภาพชวี ิตในการทํางานของแรงงานภาคบริการในอุตสาหกรรมการทอ งเทีย่ วท่สี งผลตอความสาํ เร็จ 93 ในการทํางานในกลมุ จังหวัดสามเหล่ียมอันดามัน ดวงรตั น โกยกิจเจริญ............................................................………………….................................................. ภาวะผนู าํ เชิงบริการของผบู ริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน : การศึกษาเพ่อื สรางทฤษฎฐี านราก เอกวทิ ย นอยมิ่ง, พงษศักดิ์ ทองพนั ชงั่ , ประดษิ ฐ ศลิ าบตุ ร และ สวสั ด์ิ โพธวิ ฒั น……………..…………….. 105 การกําหนดคําบังคบั ในคดปี กครอง สรุ ิยา ปญ ญจิตร และ พชั รวรรณ นชุ ประยรู ……………..………………..…………………………….…………………….. 117 การระงบั ขอ พพิ าทในสัญญาทางปกครองโดยอนญุ าโตตลุ าการ เยี่ยม อรุโณทัยวิวัฒน และ บรรเจิด สิงคะเนติ............................................................................................. 131 การพัฒนาทักษะการแกโจทยป ญหาทางคณิตศาสตร ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ทีไ่ ดรับการจัดการเรียนรู ตามแนวคดิ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต แคชรญิ า ภูผาสิทธ์ิ และ ปาริชาติ ประเสริฐสงั ข………………………...............................................…………….. 141 แนวทางการพฒั นาโฮมสเตยเพ่ือสงเสริมการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศกึ ษา ยา นเมืองเกาบานสิงหทา อาํ เภอเมือง จังหวัดยโสธร นรีรตั น ธงภักด์ิ และ โอชญั ญา บวั ธรรม…….............................................................................……..…...…… 149 แนวทางพัฒนาศกั ยภาพคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการชุมชนในอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี อทุ ัย ประทีป และ ประจญ กิ่งมิ่งแฮ...................................................................………………….….……..……. 160 การศกึ ษาการรูวิทยาศาสตรของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 4 ในสังกัดเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 26 จังหวดั มหาสารคาม จตรุ ภัทร มาศโสภา และ มนตรี วงษส ะพาน…......…………………………………….....................................……… 168 การสรางความเปนตัวตนของชาวนาอินทรยี วรฉตั ร วริวรรณ............................................................................................................................................. 177 ขอเสนอกลยุทธการพัฒนาภาวะผูนําทางจริยธรรมสําหรบั ครใู นโรงเรียนสังกดั สํานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน วาสนา ภักด,ี ประดษิ ฐ ศลิ าบุตร, สวสั ด์ิ โพธวิ ัฒน และ พงษศักดิ์ ทองพนั ช่งั ……….......................……….. 190 ภาวะผนู าํ ทางวิชาการของผูบรหิ ารสถานศึกษาท่สี ง ผลตอประสทิ ธิภาพการสอนของครูสังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี 199 การศกึ ษาประถมศกึ ษายโสธร เขต 1 อรรถพล เทินสะเกษ และ ยุวธิดา ชาปญญา...........................................................................................
VolumJoeu1r4naNloo.3f SReopi tEetmRbaejar b- hDaetceUmnbiveerrs2i0ty2 จ สารบัญ (ตอ ) บทความ หนา บทความวิจัย................................................................................................................................................. คณุ ภาพชวี ิตของนักศึกษาพยาบาล มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด 208 สจั จวรรณฑ พวงศรีเคน, กมุ าลีพร ตรีสอน, ปภัชญา คชั รนิ ทร, ดารณิ ี สุวภาพ, จาํ รสั ลกั ษณ เจริญแสน และ อติญา โพธิ์ศรี…..................................................................................…..… ปจจัยที่มีผลตอ ภาวะหกลมของผูสูงอายุ ชุมชนบา นทา มวง อําเภอเสลภมู ิ จังหวัดรอ ยเอด็ 220 กุมาลพี ร ตรสี อน, สัจจวรรณฑ พวงศรีเคน,จํารัสลกั ษณ เจริญแสน, ปภชั ญา คัชรินทร, อติญา โพธิ์ศรี และ เครือวัลย ดิษเจริญ ……...................................................................................…..… บทความวิชาการ........................................................................................................................................... 235 ภาวะผนู ําเชงิ กลยุทธ : การบรหิ ารเทคโนโลยี 237 บัวชมภู ภูกองไชย และ วาโร เพ็งสวสั ดิ์................................................................................................ ภาคผนวก...................................................................................................................................................... 245 หลักเกณฑการเสนอบทความเพื่อลงตพี ิมพในวารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอ ยเอ็ด............................................... 247
ฉ วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธันวาคม 2563
บทความวจิ ยั
Journal of Roi Et Rajabhat University 3 Volume 14 No.3 September - December 2020 ภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผบู ริหารท่สี ง ผลตอ การบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษายโสธร เขต 1 Strategic Leadership of Administrators Influencing Academic Administration of Schools in the Office of Yasothon Primary Education Service Area 1 พิษณุ สมจิตร 1 และ สมใจ ภูมิพนั ธุ2 Received : 21 ก.พ. 2563 Phissanu Somjit1 and Somjai Pumipuntu2 Revised : 16 เม.ย. 2563 Accepted : 17 เม.ย. 2563 บทคดั ยอ การวิจัยน้ีมีความมงุ หมาย เพ่ือศกึ ษาระดบั ภาวะผูนาํ เชิงกลยทุ ธของผบู ริหารสถานศึกษา และระดบั การบริหารงาน วิชาการของโรงเรยี น และเพอื่ สรา งสมการพยากรณการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษายโสธรเขต 1 กลุมตวั อยาง คอื ผูบริหารสถานศึกษา จาํ นวน 35 คน และครู จาํ นวน 275 คน สงั กดั สาํ นักงาน เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 เครอื่ งมอื ท่ีใชในการวิจัย คอื แบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดบั มีคา ความเช่อื ม่ันของแบบสอบถามภาวะผูนําเชิงกลยทุ ธ เทากับ .94 และการบริหารงานวชิ าการ เทากบั .95 สถิตทิ ีใ่ ช ในการวเิ คราะหข อ มูล คือ คา เฉลย่ี สว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหถดถอยพหุคูณแบบเอ็นเทอร (Enter Multiple Regression) ผลการวิจัยพบวา 1. ระดบั ภาวะผูนําเชงิ กลยทุ ธของผบู ริหารสถานศึกษา สังกัดสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 พบวา โดยรวมอยูใ นระดบั มาก (X̅ = 4.20) และรายดา นอยใู นระดบั มาก โดยดานที่มีคาเฉลีย่ สูงสุด คอื ดานการกําหนด ทศิ ทางขององคการ (X̅ = 4.24) และสวนดานท่ีมีคาเฉล่ียตาํ่ สุด คอื ดานการควบคุมและประเมินกลยทุ ธ (X̅ = 4.15) 2. ระดบั การบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 พบวา โดยรวมอยูในระดับมาก (X̅ = 4.22) และรายดานอยูใ นระดับมากเชนกัน โดยดา นที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดา นการวดั ผล ประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียน (X̅ = 4.29) และสว นดานที่มีคาเฉลยี่ ต่ําสุด คอื ดานการพฒั นา และใชส อ่ื เทคโนโลยี ทางการศึกษา (X̅ = 4.15) 3. การสรางสมการพยากรณการบริหารงานวชิ าการจากปจ จัยภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผูบรหิ าร โรงเรียนในสังกัด สาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 พบวาภาวะผูนําเชิงกลยทุ ธข องผบู ริหารสถานศึกษา ดานการควบคุม และประเมินกลยทุ ธ (X4) ดา นการกําหนดทศิ ทางขององคการ (X1) ดานการนาํ กลยุทธไปปฏิบัติ (X2) และดานการสรา ง วฒั นธรรมองคการ (X3) สามารถรว มกันพยากรณก ารบริหารงานวิชาการของโรงเรยี น สงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษายโสธร เขต 1 ไดร อ ยละ 46.2 อยา งมีนัยสําคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .01 โดยเขียนสมการพยากรณไ ด ดังน้ี สมการพยากรณ ในรูปคะแนนดบิ Y´ = 1.723 + .369X4 + .113X1 + .070X2 + .047X3 สมการพยากรณ ในรปู คะแนนมาตรฐาน Z´y = .470ZX4 + .143ZX1 + .089ZX2 + .059ZX3 คําสาํ คัญ : ภาวะผูนําเชงิ กลยุทธ, การบรหิ ารงานวิชาการ, ผบู ริหารสถานศึกษา 1 นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด อีเมล: [email protected] 2 ผชู วยศาสตราจารย ดร. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ 1 Mater Student Program in Educational Administration, Roi Et Rajabhat University, Email: [email protected] 2 Assistant Professor Dr., Lecturer in Educational Administration, Faculty of Education, Roi Et Rajabhat University
4 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 Abstract The purposes of this research were to study the levels of strategic leadership of school administrators and academic administration of schools, and to construct predictive equations for academic administration of schools in Yasothon Primary Educational Service Area Office 1. The sample consisted of 35 school administrators and 275 teachers in Yasothon Primary Educational Service Area Office 1. The instrument for this study was a 5-point rating scale questionnaire with the reliability of .94 for strategic leadership and .95 for academic administration. The data were analyzed by using mean, standard deviation (S.D.) and enter multiple regression. Research results showed as follows: 1.The levels of strategic leadership of school administrators in Yasothon Primary Educational Service Area Office 1, overall was rated at a high level (X̅ = 4.20) and each individual aspect was also rated at a high level. The highest aspect was the organization direction (X̅ = 4.24) and the lowest was the strategic control and assessment (X̅ = 4.15). 2. The levels of academic administration of schools in Yasothon Primary Educational Service Area Office 1, overall was rated at a high level (X̅ = 4.22) and each individual aspect was also rated at a high level. The highest aspect was the measurement, evaluation and transfer credits (X̅ = 4.29) and the lowest was the development and use of educational technology media (X̅ = 4.15). 3. The predictive equations for academic administration of schools in Yasothon Primary Educational Service Area Office 1, it was found that the aspects of strategic leadership of school administrators including; strategic control and assessment (X4), direction of the organization (X1), strategy implementation (X2) and creating organizational culture (X3) could mutually predict the academic administration of schools in Yasothon Primary Educational Service Area Office 1 for 46.2 % with statistical significance at .01 level. The predictive equations could be written as follows: The regressive equation in the form of raw score (Unstandardized Score) Y´ = 1.723 + .369X4 + .113X1 + .070X2 + .047X3 The regressive equation in the form of standard score (Standardized Score) Z´y = .470ZX4 + .143ZX1 + .089ZX2 + .059ZX3 Keywords : Strategic Leadership, Academic Administration, School Administrator บทนํา ความเจรญิ กา วหนา ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการเปล่ียนแปลงทง้ั ในดา นสภาพแวดลอ ม การเมอื ง สงั คม วฒั นธรรม และวิทยาศาสตรเ ทคโนโลยี ซง่ึ ผลการเปลีย่ นแปลงเหลานี้สงผลทั้งทางบวกและทางลบ โดยปจจัยสําคัญทที่ ําให สามารถเผชิญกับการเปลย่ี นแปลงและความทา ทายดงั กลา วไดก ็คอื การพฒั นาการศึกษา เนอื่ งจากเปนกระบวนการสําคัญ ในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ เพราะคนทม่ี ีคณุ ภาพยอ มสง ผลใหสังคมและประเทศชาตมิ คี วามกา วหนา เพอ่ื ใหสอดคลอ งกบั ความตอ งการในการพัฒนาดังกลา ว พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 จึงไดบ ัญญัตไิ ววา การจัดการ ศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบดว ย การศึกษาระดบั ประถมศึกษาและระดับมธั ยมศกึ ษา ซงึ่ มรี ะบบการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ของทัง้ สองระดับ รวมอยใู นความรับผิดชอบของแตละเขตพื้นที่การศึกษา ทาํ ใหการบริหารและการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เกดิ ความไมคลองตัว และเกิดปญหาการพัฒนาการศึกษา สมควรแยกเขตพื้นท่กี ารศึกษาออก เปนเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เพื่อใหการบริหารและการจัดการศึกษามปี ระสทิ ธิภาพ อันจะเปนการพัฒนา การศึกษาแกนักเรียนในชวงช้ันประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ใหส ัมฤทธผิ์ ลและมีคุณภาพยิง่ ขึน้ (ราชกิจานุเบกษา, 2553 : 1-3) โดยกําหนดองคประกอบและภารกิจการบริหารสถานศึกษาไว 4 งาน คอื งานวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารทัว่ ไป และงานบริหารงานบุคคล ในงานดงั กลาวทัง้ 4 ดา นน้ี งานวิชาการถือวาเปนงานหลักโดยตรง เปนงานท่ีเปนไปเพื่อใหผูเรียน
Journal of Roi Et Rajabhat University 5 Volume 14 No.3 September - December 2020 ไดบ รรลจุ ุดมงุ หมาย ผบู ริหารจะบริหารงานวิชาการใหมปี ระสิทธิภาพน้นั จะตองสามารถวินจิ ฉัยปญ หา กาํ หนดทศิ ทาง และตดั สินใจเลอื กกลยุทธ เพ่ือนาํ ไปสูแนวทางแกไขปญ หาตาง ๆ เหลานั้นใหคลค่ี ลาย โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ปญหาดา นผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผเู รียน งานวิชาการจึงถือเปนหัวใจของการบริหารสถานศึกษา เพราะจดุ มงุ หมายของสถานศึกษา ก็คอื การจัดการศกึ ษา ใหมีคณุ ภาพ ซง่ึ ข้ึนอยูกบั การบริหารงานวชิ าการทั้งส้ิน การบริหารงานวชิ าการจะเกิดประสิทธิผลได ผูบรหิ ารโรงเรยี นตอ งมี ความรูและความเขา ใจเปนอยา งดี ตอ การบริหารงานใหมีประสิทธภิ าพ งานวิชาการเปนงานหลกั ของสถานศึกษา และมี ความสําคัญอยางยงิ่ ตอการจัดการศึกษาใหบ รรลุเปา หมายที่ต้งั ไว และจากงานวิจัยเกี่ยวกบั สภาพปญหาการบรหิ าร และการจัดการศึกษาขึน้ พ้ืนฐานของสถานศึกษาในประเทศไทย พบวา สถานศึกษามศี กั ยภาพในการรับการกระจายอาํ นาจ การบริหารคอ นขา งมาก แตมีศักยภาพในการบริหารวชิ าการอยูใ นระดบั ทายสุด (ธรี ะ รุญเจริญ, 2553 : 7-9) และจากรายงาน ผลการทดสอบทางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน O-net ระดับประเทศ ปการศึกษา 2560 ของระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 พบวา ทุกรายวิชามีคะแนนเฉล่ยี ไมถงึ รอยละ 50 (สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติ, 2561 : ออนไลน) ถา เปรียบเทยี บกบั เกณฑการวัดประเมินผลตามระเบียบการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู ตามหลักสูตรแกนกลางการขั้นพน้ื ฐานพุทธศักราช 2551 แลวถือวาไมผ า นเกณฑ รวมไปถึงรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน O-net ของสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1 ปการศึกษา 2560 ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 พบวา ทุกรายวชิ ามคี ะแนนเฉล่ียไมถ งึ รอ ยละ 50 เชน เดียวกับระดบั ประเทศ (สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1, 2561 : ออนไลน) จากผลการทดสอบที่ไมผ านเกณฑและคอนขางตา่ํ สะทอนใหเหน็ วาการบรหิ ารงานวิชาการของผูบริหารสถานศึกษา ในสถานศึกษาสังกัดสาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1 ยังไมมปี ระสทิ ธิภาพเทาทีค่ วร เน่อื งจากความสาํ เร็จหรอื ประสทิ ธผิ ลของการจัดการศกึ ษาน้ัน ข้ึนอยูกบั ผูบริหารที่บรหิ ารงานวิชาการเปน สาํ คัญ ผบู ริหารจึงจาํ เปนตองมีภาวะผูน าํ ซงึ่ เปนบทบาทสําคัญในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาไปสูความสาํ เร็จ โดยเฉพาะอยา งยิ่ง การมีภาวะผูนาํ เชงิ กลยทุ ธ ซง่ึ เปนรปู แบบของผูนําที่นาํ ความเจริญกาวหนามาสอู งคกร และการเปนผูนําเชิงกลยุทธน้ี ก็มีความหมายคลายกับการเปนผูนําแบบมุงเนนเปา หมาย ซง่ึ เปนผูนาํ ที่จูงใจผใู ตบ ังคับบญั ชาดว ยรางวัล อันเกดิ จาก การบรรลุผลสาํ เร็จในงานวิชาการ หรือผูนาํ เชิงปฏริ ูป ซ่ึงเปนกระบวนการนําเพอ่ื การเปลี่ยนแปลงมากกวาการคงท่ี ผูนาํ เชงิ กลยุทธ จงึ ตองสนใจจดุ มงุ หมายหรอื เปาหมายขององคก รเปนอยา งมาก การเปนผูนาํ ท่ีมุงเนนเปา หมายตอ งอาศัยการประเมินซํ้า โดยเปนผูนาํ ทใี่ หความสําคัญและมงุ เนนท่ีเปาหมาย รวมทัง้ กาํ หนดทศิ ทางขององคกรที่จะเดินไป และใหอ าํ นาจแกผปู ฏิบตั งิ าน ดา นวชิ าการใหมีความคิดสรางสรรคในการทาํ งาน (รังสรรค ประเสรฐิ ศรี, 2551 : 1-10) ภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผบู รหิ าร จงึ เปนความสามารถของผูนําทีบ่ ริหารงานอยางมีประสทิ ธิผล และรกั ษาผลการดําเนินงานทส่ี ูงกวา มาตรฐานตลอดเวลา สามารถปรบั เปลยี่ นทศิ ทางวธิ ีการคดิ และการบรหิ ารงานวิชาการแบบใหมท่สี อดคลอ ง และทันตอ การเปล่ียนแปลงคุณภาพ การศึกษาข้ันพื้นฐานของประเทศไทย เพื่อสง ผลใหการบริหารงานวิชาการของโรงเรยี น บรรลตุ ามเปาหมาย สามารถยกระดับ ผลสัมฤทธขิ์ องผูเรียนใหสูงข้ึน เกิดผลดีตอผูเรยี น ชุมชน และสงั คมโดยรวม จากความเปนมา และความสําคญั ดังกลา ว ผูวิจัยจึงมีความสนใจทจ่ี ะศึกษาภาวะผูนาํ เชงิ กลยทุ ธของผูบริหาร ที่สงผลตอการบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรียน สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 เพื่อเปนสารสนเทศ ใหผบู ริหารสถานศึกษาและเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ใชเปน ขอมูลในการแกไ ข ปรบั ปรงุ วางแผนพฒั นางานวชิ าการของโรงเรียน ใหสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และใชเปน แนวทางในการพัฒนา ผบู ริหารสถานศึกษาใหม ภี าวะผูนําเชิงกลยุทธในการบริหารจัดการสถานศึกษา ใหมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสทิ ธผิ ล ไดอยา งสอดคลอ ง ตอเน่อื ง และตรงตามความตอ งการขององคกร สังคม ชุมชนและทอ งถิ่นตอ ไป วัตถปุ ระสงค 1. เพื่อศึกษาระดบั ภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผบู รหิ ารสถานศึกษา สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา ยโสธร เขต 1 2. เพ่ือศึกษาระดบั การบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 3. เพ่ือสรางสมการพยากรณการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน จากปจจัยภาวะผูนาํ เชงิ กลยทุ ธของผูบ ริหาร สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1
6 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 กรอบแนวคดิ และสมมติฐาน การวจิ ัยครง้ั นี้ ผวู จิ ัยไดท าํ การวิเคราะห และสงั เคราะห แนวคดิ ท่เี ก่ียวของกบั ภาวะผูนาํ เชิงกลยุทธจากนักวชิ าการ ดงั ตอ ไปน้ี พิพัฒน นนทนาธรณ (2556 : 158-160), สดุ า สุวรรณาภิรมย (2551 : 30-31), เขมมารี รักษชชู พี (2553 : 8-10), สมยศ นาวีการ (2551 : 1024-1041), ทิพาวดี เมฆสวรรค (2545 : 51-62), ทศพร ศริ สิ ัมพันธ (2543 : 145), Duggen (2013 : ออนไลน), Adair (2010 : 7-60), Hitt, Ireland & Hoskisson (2007, อา งถงึ ใน มันทนา กองเงิน, 2554 : 24), Gill (2006 : 297), Dubrin (2004 : 333-336) และไดท ําการวเิ คราะห สังเคราะห แนวคดิ ทเ่ี กี่ยวของกับการบริหารงานวชิ าการ จากนักวิชาการ ดงั ตอไปนี้ สัมมา รธนธิ ย (2556 : 99), วิเศษ พลอาจทัน (2555 : 53), รชั นี ชุณหปราณ (2554 : 75-76), ปรยี าพร วงศอนุตโรจน (2553 : 3-4), รุงชัชดาพร เวหะชาติ (2553 : 30), กระทรวงศึกษาธิการ (2552 : 6-7), รจุ ิร ภูสาระ (2551 : 58-76), กมล ภูประเสรฐิ (2547 : 9-16), อุทัย บุญประเสริฐ (2540 : 36), Sergiovanni and Other (2009 : 196) ไดกรอบแนวคิดการวิจัย ดังน้ี ตวั แปรพยากรณ ตัวแปรเกณฑ ภาวะผนู าํ เชิงกลยุทธของผูบ ริหาร การบริหารงานวิชาการของโรงเรียน ประกอบดวย 4 ดา น คอื ประกอบดวย 5 ดา น คอื 1) การกาํ หนดทิศทางขององคการ 1) การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2) การนํากลยุทธไปปฏิบตั ิ 2) การพัฒนากระบวนการเรียนรู 3) การสรางวัฒนธรรมองคการ 3) การวัดผล ประเมินผล และการเทียบโอนผลการ 4) การควบคุมและประเมนิ กลยุทธ เรยี น 4) การพฒั นาและใชสื่อ เทคโนโลยีทางการศึกษา 5) การนเิ ทศการศึกษา สมมตุ ิฐานของการวิจัย ภาวะผูนาํ เชิงกลยุทธ ดานการกําหนดทิศทางขององคการ (X1) การนาํ กลยทุ ธไ ปปฏบิ ัติ (X2) การสรา ง วฒั นธรรมองคการ (X3) และการควบคมุ และประเมินกลยุทธ (X4) สงผลตอ การบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกดั สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1 วิธดี าํ เนินการวจิ ยั 1. ประชากรและกลุมตัวอยา ง 1.1 ประชากร ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา และครู สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ปการศึกษา 2561 จํานวน 1,451 คน จําแนกเปนผบู ริหารสถานศึกษา จํานวน 160 คน และครู จํานวน 1,291 คน (สํานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1, 2562 : ออนไลน) 1.2 กลุมตัวอยา ง ไดแก ผูบริหารสถานศึกษา และครู สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ปการศึกษา 2561 กําหนดขนาดกลุมตวั อยา งโดยใชตารางของ Krejcie & Morgan (บุญชม ศรสี ะอาด, 2556 : 34-35) ไดกลุมตัวอยางจํานวน 310 คน จําแนกเปนผูบริหารสถานศึกษาจาํ นวน 35 คน และครูจํานวน 275 คน เทยี บสัดสวนเพ่ือใหได กลมุ ตัวอยาง ผบู ริหาร และครู ตามขนาดโรงเรยี น คอื ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ ไดผูบรหิ ารจากโรงเรียนขนาดเล็ก จาํ นวน 23 คน ขนาดกลาง จํานวน 10 คน และขนาดใหญ จํานวน 2 คน นาํ รายชื่อโรงเรียนท่สี ุมไดกลุมตวั อยา งผบู ริหาร มาดาํ เนินการตอ โดยนาํ รายชอ่ื ครใู นโรงเรียนดงั กลา วมาจับสลาก เพื่อใหไดกลุมตัวอยา งทเ่ี ปนครตู ามจาํ นวนท่ีคาํ นวณไว ไดก ลุมตวั อยา งท่ีเปนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 124 คน ขนาดกลาง จาํ นวน 115 คน และขนาดใหญ จํานวน 36 คน ตามลาํ ดบั
Journal of Roi Et Rajabhat University 7 Volume 14 No.3 September - December 2020 2. เคร่ืองมือท่ีใชใ นการวิจัย เปนแบบสอบถาม (Questionnaire) แบง ออกเปน 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 ขอ มูลทัว่ ไป ของผูตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเปนแบบตรวจสอบรายการ (Check list) ตอนท่ี 2 ภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผบู รหิ าร มีคา ความเชอื่ มั่นเทา กบั .94 และตอนที่ 3 การบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน มคี าความเชื่อมั่นเทา กับ .95 ลักษณะของ แบบสอบถามตอนท่ี 2 และ 3 เปน แบบมาตรสวนประมาณคา (Rating scale) 5 ระดบั 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล 3.1 ผวู ิจัยขอหนังสอื จากมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ถึงผูบรหิ ารโรงเรียนท่ีเปนกลุมตวั อยาง เพ่ือขอความ รวมมอื ในการเกบ็ ขอ มูลการวิจัย 3.2 ผวู จิ ัยนําแบบสอบถามสงไปรษณยี พรอมกับหนังสอื ขอความอนุเคราะห ในการเกบ็ รวบรวมขอมูล ถงึ ผบู รหิ ารโรงเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง 3.3 นําแบบสอบถามทีไ่ ดร ับคืนจาํ นวน 310 ฉบบั คิดเปนรอ ยละ 100 มาตรวจสอบความถูกตอ งสมบูรณ กอนนําไปประมวลผลและวิเคราะหขอมลู ในลาํ ดับตอ ไป 4. การวเิ คราะหข อมลู ผูวจิ ัยวเิ คราะหข อ มูลโดยใชโปรแกรมสําเร็จรปู ทางสถิติ วิเคราะหขอมลู ทั่วไปของผูตอบ แบบสอบถาม โดยหาคาความถี่ และรอยละ วิเคราะหระดบั ภาวะผูนําเชงิ กลยุทธของผูบ ริหาร และระดับการบริหารงาน วิชาการของโรงเรียน สงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1 โดยการหาคา เฉลีย่ (X̅) และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) วเิ คราะหเพ่อื ทดสอบสมมติฐาน ภาวะผูนําเชงิ กลยุทธของผูบรหิ ารที่สงผลตอการบริหารงานวชิ าการ ของโรงเรียนสงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยใชการวิเคราะห การถดถอยพหคุ ูณ แบบเอ็นเทอร (Enter multiple regression) สรปุ ผล การวิจัย “ภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผูบริหารที่สงผลตอการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสํานักงาน เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1” สรปุ ผลการวิจัยไดด ังน้ี 1. ภาวะผูนาํ เชงิ กลยุทธข องผูบริหารสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยรวมอยูใ นระดับมาก (X̅ = 4.20) เมอื่ พิจารณาเปนรายดานพบวา อยใู นระดับมากทุกดาน โดยดา นท่ีมีคา เฉล่ยี สูงสุด ไดแก ดา นการกาํ หนดทิศทางขององคก าร (X̅ = 4.24) รองลงมา คอื ดานการสรา งวฒั นธรรมองคการ (X̅ = 4.23) และสวนดา นที่มี คา เฉลี่ยต่ําสดุ คือ ดานการควบคุมและประเมินกลยุทธ (X̅ = 4.15) โดยแตละดา นมรี ายละเอียด ดงั น้ี ดา นการกาํ หนดทิศทางขององคก าร โดยรวมอยใู นระดบั มาก (X̅ = 4.20) และรายขอ อยูในระดบั มาก โดยขอที่มี คาเฉลี่ยสูงสุด คอื ผูบริหารสามารถมองภาพอนาคตของสถานศึกษาเพ่ือกําหนดเปนวสิ ัยทัศนท่ีเชอ่ื มโยงกับพันธกิจและเปาหมาย (X̅ = 4.37) สว นขอท่ีมคี าเฉลยี่ ตํา่ สุด คือ ผูบ ริหารสามารถกําหนดกลยุทธ และตวั บง ช้ีความสําเร็จของแตละพันธกิจ (X̅ = 4.16) ดา นการนาํ กลยทุ ธไปปฏิบัติ โดยรวมอยูในระดับมาก (X̅ = 4.17) และรายขอ อยูในระดับมาก โดยขอ ที่มี คา เฉลี่ยสูงสดุ คือ ผูบริหารมีการจัดสรรทรพั ยากร และอํานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ านใหแกบุคลากรอยา งเหมาะสม และเพียงพอ (X̅ = 4.24) สวนขอท่ีมีคา เฉลย่ี ตํา่ สุด คอื ผูบรหิ ารมีความสามารถในการปรับเปล่ียนแผนดาํ เนินการปฏิบตั ิ ใหสอดคลอง เมอ่ื สถานการณเปล่ียนแปลงไป (X̅ = 4.05) ดา นการสรา งวฒั นธรรมองคการ โดยรวมอยใู นระดับมาก (X̅ = 4.23) และรายขออยูในระดบั มาก โดยขอทีม่ ี คาเฉล่ียสูงสดุ คอื ผูบริหารจดั กิจกรรมสงเสริมใหบ ุคลากรมีจิตสาธารณะ ยินดีเสียสละเพอื่ ประโยชนของสถานศึกษาโดยรวม (X̅ = 4.34) สว นขอ ท่ีมีคา เฉลี่ยตา่ํ สุด คอื ผบู ริหารสรา งวฒั นธรรมการทํางานท่ดี ี โดยการใหเกียรติและรบั ฟง ความคิดเห็น ของสมาชิกในองคการ (X̅ = 4.15) ดานการควบคุมและประเมินกลยุทธ โดยรวมอยูในระดับมาก (X̅ = 4.15) และรายขออยูในระดับมาก โดยขอ ทีม่ ี คาเฉล่ียสงู สดุ คือ ผบู ริหารนําผลการประเมินการปฏิบัตงิ านทดี่ อยกวามาตรฐานมาเปนขอ มูล เพอ่ื ปรบั ปรงุ การปฏิบัติคร้ังตอ ไป (X̅ = 4.32) สวนขอที่มคี า เฉลี่ยตา่ํ ท่ีสดุ คอื ผูบ ริหารมีความสามารถในการแกไขปญหาและขอขัดแยง ทีเ่ กดิ ขึ้นในการปฏบิ ัติงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ (X̅ = 4.06)
8 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 2. การบริหารงานวชิ าการของโรงเรยี น สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยรวมอยูใน ระดบั มาก (X̅ = 4.22) เมอ่ื พิจารณาเปนรายดา นพบวา อยูใ นระดบั มากทกุ ดาน โดยดานทีม่ ีคา เฉล่ียสูงสุด ไดแก ดา นการวัดผล ประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรียน (X̅ = 4.29) รองลงมา คือ ดานการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา (X̅ = 4.24) และ สวนดานท่ีมีคา เฉล่ยี ตํา่ สุด คอื ดา นการพัฒนาและใชส่อื เทคโนโลยีทางการศึกษา (X̅ = 4.15) โดยแตละดา นมีรายละเอยี ดดงั นี้ ดา นการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา โดยรวมอยใู นระดบั มาก (X̅ = 4.24) และรายขออยใู นระดับมาก โดยขอท่มี ี คา เฉลี่ยสูงสุด คือ สถานศึกษาจัดระบบงานวิชาการ เพือ่ การจัดการเรียนการสอนไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ (X̅ = 4.39) สวนขอ ทีม่ ี คา เฉลี่ยตํา่ สดุ คือ หลักสูตรสถานศึกษามีความสอดคลอ งกับวิสยั ทัศน เปา หมายของสถานศึกษา และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ของนักเรียน (X̅ = 4.17) ดานการพัฒนากระบวนการเรยี นรู โดยรวมอยูในระดับมาก (X̅ = 4.20) และรายขออยใู นระดบั มาก โดยขอ ที่มี คา เฉล่ยี สูงสุด คือ สถานศึกษาพัฒนาครใู หมีความรู และทักษะท่ีหลากหลายเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ (X̅ = 4.36) สวนขอที่มีคาเฉล่ียต่าํ สุด คือ ครปู รบั เปล่ียนวธิ ีการสอนโดยเปนผชู ้ีแนะ มากกวา เปนผสู อนความรูโดยตรง (X̅ = 4.05) ดา นการวัดผล ประเมินผล และการเทยี บโอนผลการเรยี น โดยรวมอยูในระดับมาก (X̅ = 4.29) และรายขออยูใน ระดบั มาก โดยขอท่ีมีคา เฉลย่ี สงู สุด คือ สถานศึกษากําหนดระเบยี บ แนวปฏิบัตเิ ก่ียวกับการวัดและประเมินผลตามหลักสตู ร อยางชัดเจน (X̅ = 4.37) สวนขอท่ีมีคาเฉล่ียตํา่ สุด คือ สถานศึกษามีการติดตาม การวัดผลและประเมินผลใหเปนไปตามระเบยี บ (X̅ = 4.23) ดา นการพฒั นา และใชสื่อเทคโนโลยีทางการศกึ ษา โดยรวมอยูในระดบั มาก (X̅ = 4.15) และรายขอ อยูใน ระดบั มาก โดยขอ ท่ีมีคา เฉล่ียสงู สุด คือ สถานศึกษามีการนาํ ผลการประเมินสือ่ นวัตกรรม และเทคโนโลยีไปปรบั ปรุงพัฒนาตอไป (X̅ = 4.24) สว นขอท่ีมคี าเฉลี่ยตา่ํ สุด คือ สถานศกึ ษามีสื่อ นวัตกรรมทท่ี ันสมยั ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมี คุณภาพ (X̅ = 4.07) ดา นการนิเทศการศึกษา โดยรวมอยูใ นระดับมาก (X̅ = 4.23) และรายขออยูในระดับมาก โดยขอท่ีมีคา เฉล่ีย สูงสุด คอื ผูนเิ ทศมีความรู ความสามารถเปนที่ยอมรบั ของผูรับการนิเทศ (X̅ = 4.26) สวนขอทีม่ ีคาเฉลี่ยตาํ่ สุด คอื ผูนเิ ทศ ใหการชวยเหลือและแนะนาํ ครูในพฒั นาการจัดการเรียนการสอนใหมีประสทิ ธิภาพมากขึ้นอยางตอเน่ือง และสถานศึกษา มีการพัฒนากระบวนการนิเทศการศึกษาใหมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น (X̅ = 4.20) 3. การสรา งสมการพยากรณการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 พบวา ภาวะผูนําเชิงกลยทุ ธของผบู ริหารสถานศึกษา ดา นการประเมินและควบคุมกลยุทธ (X4) เปนตวั แปรทส่ี ามารถ พยากรณการบริหารงานวชิ าการของโรงเรียนไดดที ่ีสุด รองลงมาคือ ดา นการกําหนดทิศทางขององคการ (X1) ดา นการนํากลยทุ ธ ไปปฏบิ ัติ (X2) และดา นการสรางวฒั นธรรมองคการ (X3) ตามลาํ ดบั ดงั แสดงในตาราง 1 ตาราง 1 ผลการวเิ คราะหการถดถอยพหุคูณแบบเอ็นเทอร ภาวะผูนําเชงิ กลยุทธของผบู ริหารทสี่ ง ผลตอ การบรหิ ารงาน วิชาการของโรงเรียน สงั กัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ตัวแปรพยากรณ B S.E.est β t Sig 2.384 .018* X1 .113 .048 .143 1.287 .199 X2 .070 .054 .089 .825 .410 X3 .047 .056 .059 7.484 .000** X4 .369 .049 .470 a = 1.723 p <.01 R = .680 R2 = .462 F = 65.461 S.E.est = .2938 ** มีนัยสําคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .01 * มีนยั สาํ คญั ทางสถติ ิที่ระดับ .05
Journal of Roi Et Rajabhat University 9 Volume 14 No.3 September - December 2020 โดยตัวแปรพยากรณทั้ง 4 ตวั ดังกลาวสามารถรว มกันพยากรณก ารบริหารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสํานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ไดรอยละ 46.2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 โดยเขียนในรปู ของสมการ พยากรณไ ด ดังนี้ สมการพยากรณ ในรูปคะแนนดบิ Y´ = 1.723 + .369X4 + .113X1 + .070X2 + .047X3 สมการพยากรณ ในรปู คะแนนมาตรฐาน Z´y = .470ZX4 + .143ZX1 + .089ZX2 + .059ZX3 อภิปรายผล ผลการวิจัยเรอ่ื ง “ภาวะผูนาํ เชิงกลยุทธของผูบรหิ ารท่ีสง ผลตอ การบริหารงานวิชาการของโรงเรยี น สังกัดสาํ นักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต1” มีประเด็นที่สาํ คัญสามารถนาํ มาอภปิ รายผลไดดงั นี้ 1. ภาวะผนู าํ เชงิ กลยุทธของผูบริหารสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดา นพบวา อยูในระดบั มากทกุ ดา น โดยดานท่ีมคี า เฉล่ียสูงสุด คือ ดานการกําหนด ทศิ ทางขององคการ ทง้ั นี้อาจเน่อื งมาจากผบู ริหารสถานศึกษาเปนผทู ่มี ีความรูและประสบการณดา นการบริหารการศึกษา สามารถมองภาพอนาคตในการพัฒนาสถานศกึ ษาไดชัดเจน อีกทั้งมีความสามารถในการโนมนาวบุคคลอื่นใหมีพฤติกรรม ไปในทิศทางท่ีตองการ มีการสื่อสารใหผใู ตบังคับบัญชา เกิดการตระหนกั รใู นภารกิจและวิสัยทัศนของสถานศึกษา จงู ใจให ผูรว มงานเกดิ ความรว มมือในการดําเนนิ การ เพือ่ ไปสวู ิสัยทัศนแ ละบรรลุวัตถปุ ระสงคข ององคก าร สอดคลองกบั งานวิจยั ของ กมล โสวาป (2556 : 169-170) ศกึ ษาภาวะผูนําเชงิ กลยุทธทีส่ ง ผลตอความมีประสทิ ธิผลของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี ผลการวิจัยพบวา ภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผูบรหิ ารโรงเรยี นสงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 โดยภาพรวมและรายดา นมีการปฏบิ ัตอิ ยูในระดบั มาก สอดคลอ งกับงานวิจัยของ อังศุมาลิน กุลฉวะ และสมใจ ภูมิพันธุ (2562 : 60-67) ศึกษา ภาวะผูนําเชิงกลยทุ ธผ บู ริหารสถานศึกษาทสี่ งผลตอความเปน องคการแหงการเรียนรูของสถานศึกษา สังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษารอ ยเอ็ด เขต 3 ผลการวิจัยพบวา ภาวะผูนาํ เชงิ กลยุทธข องผูบริหารสถานศึกษา โดยรวมและรายดานอยูในระดบั มาก และดา นท่ีมีคา เฉลย่ี สูงสุด คอื การกาํ หนด ทิศทางขององคกร และสอดคลอ งกบั งานวจิ ัยของ ศิริเพ็ญ สกุลวลธี ร (2556 : 93-102) ศึกษา ภาวะผูนาํ เชิงกลยุทธของผบู ริหาร ท่สี งผลตอการบรหิ ารงานของสถานศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 6 ผลการวิจัยพบวา ภาวะผูนํา เชิงกลยุทธของผบู ริหารสถานศึกษา โดยรวมอยูในระดบั มาก 2. การบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 โดยรวมอยู ในระดับมาก เมือ่ พิจารณาเปนรายดานพบวา อยูในระดับมากทุกดา น โดยดา นท่ีมีคา เฉลี่ยสูงสุด คอื ดานการวัดผล ประเมินผล และการเทียบโอนผลการเรยี น ท้งั นอี้ าจเน่ืองมาจากผบู ริหารและครูทกุ คนตอ งปฏิบัติตามระเบียบวา ดวยการวัดและประเมินผล การเรยี นรูของหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งจัดทําข้ึนโดยยึดหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 เปนแนวทาง ทั้งนี้การวัดและประเมินผล การเรยี นรขู องผูเรียนเปนสง่ิ สะทอนถึงคุณภาพของผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งการบริหารงานวชิ าการ และการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ที่เก่ียวของกบั การเรียนการสอน เพอ่ื ใหเปนไปตามจุดมุงหมายของหลักสตู รและใหเกดิ ประโยชน สงู สุดกบั ผูเรียน สอดคลองกบั แนวคิดของปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2553 : 2) กลาววา การบรหิ ารงานวิชาการเปนกระบวนการ บริหารกิจกรรมทุกอยา งที่เก่ียวขอ งกบั การปรบั ปรงุ การเรียนการสอนใหดขี ้ึน ตั้งแตการกาํ หนดนโยบาย การวางแผน การปรบั ปรุง และพัฒนาการเรียนการสอนตลอดจนการประเมินผลการสอน เพ่ือใหเปนไปตามจุดมุงหมายของหลักสตู รและจดุ มงุ หมาย ของการศึกษา และสอดคลอ งกบั งานวิจัยของนิลวรรณ วฒั นา (2556 : 103-115) ศกึ ษา สภาพการบริหารงานวิชาการ ในโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเล็กสังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบวา การบริหารงานวิชาการของโรงเรยี น โดยรวมอยูในระดบั มาก และสอดคลองกับงานวิจัยของอินทุอร โควังชัย (2554 : 108-111) ศึกษา ความสัมพันธร ะหวางภาวะผูน ําการเปล่ยี นแปลงกับคณุ ภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนสังกัดสาํ นักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษาขอนแกน เขต 4 ผลการวิจยั พบวา คุณภาพการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน โดยรวมอยใู นระดับมาก 3. การสรา งสมการพยากรณการบรหิ ารงานวชิ าการ พบวา ภาวะผนู ําเชิงกลยุทธของผบู ริหารโรงเรียน ทั้ง 4 ดา น สามารถรวมกันพยากรณก ารบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรยี น สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษายโสธร เขต 1
10 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ไดร อ ยละ 46.2 อยา งมีนัยสําคัญ ทางสถิติท่รี ะดับ .01 โดยภาวะผูนําเชงิ กลยุทธข องผบู ริหาร ดา นการประเมินและควบคุม กลยทุ ธ เปนตัวแปรทส่ี ามารถพยากรณการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียนไดดที สี่ ุด รองลงมา คือ ดา นการกาํ หนดทิศทาง ขององคการ ดานการนํากลยุทธไปปฏิบัติ และดา นการสรางวฒั นธรรมองคก าร ตามลําดบั การท่ตี ัวแปรพยากรณด านการประเมิน และควบคุมกลยทุ ธ สามารถทาํ นายการบรหิ ารงานวิชาการไดด ีทีส่ ุด อาจเปนเพราะหากผบู ริหารมีการติดตาม ควบคมุ การดาํ เนินงานตามแนวทางกลยุทธทว่ี างไว และมีการประเมินความสาํ เร็จเทียบกับตวั บงชี้ที่กําหนด ยอมทาํ ใหผบู ริหาร สามารถประเมินสถานการณไดว า ควรปรบั ปรุง หรอื ตอ ยอดแนวทางการบริหารงานวิชาการอยา งไรใหบ รรลุความมุง หมาย ทกี่ าํ หนดไวใ นหลักสูตร สอดคลองกบั ผลการวิจัยของพชิ ิต โกพล, ศักดไิ์ ทย สุรกิจบวร, วาโร เพ็งสวัสดิ์ และวลั นิกา ฉลากบาง (2559 : 78-85) ศึกษา การพฒั นาตวั บงชี้ภาวะผูนําเชิงกลยทุ ธของผบู ริหารสถานศึกษา ทีส่ งผลตอ ประสทิ ธิผลโรงเรยี น ขยายโอกาสทางการศึกษา พบวาภาวะผูนําเชิงกลยุทธป ระกอบดว ย 6 องคประกอบหลัก โดยองคป ระกอบหลกั ตัวหน่งึ คือ การควบคมุ และประเมินผล มอี งคประกอบยอ ย คือ การตรวจสอบผลการดําเนินงาน การวัดประเมินผลการปฏิบัตงิ าน และการปรับปรุงและพัฒนา สอดคลองกับงานวิจัยของอังศุมาลิน กุลฉวะ และสมใจ ภมู ิพันธุ (2562 : 60-67) ศึกษา ภาวะผูนํา เชิงกลยทุ ธผ บู ริหารสถานศกึ ษาทส่ี งผลตอความเปนองคการแหง การเรียนรูของสถานศึกษา สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษารอยเอ็ด เขต 3 ผลการวจิ ัยพบวา ภาวะผูนาํ เชงิ กลยุทธของผูบรหิ ารสถานศึกษา 4 ดาน ไดแก ดานการนํากลยุทธ ไปปฏิบัติ ดานการควบคุมและประเมนิ กลยุทธ ดา นการกาํ หนดกลยุทธ และดา นการกาํ หนดทิศทางขององคก ร สามารถรว มกัน พยากรณการเปนองคกรแหงการเรียนรูข องสถานศึกษา ไดรอยละ 62.9 อยา งมีนัยสาํ คญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .01 และสอดคลอ งกับ งานวิจยั ของวิราพร ดบี ุญมี (2556 : 137-149) ศึกษา ภาวะผูนาํ เชงิ กลยุทธของผบู ริหารสถานศึกษาท่ีสงผลตอประสิทธิผลของ โรงเรียนสังกัดเทศบาลนครขอนแกน ผลการวิจัยพบวา ภาวะผูนาํ เชิงกลยุทธ 2 ดา น ไดแก การกาํ หนดกลยุทธ และการควบคมุ และประเมินกลยุทธ สามารถรวมกันทาํ นายประสทิ ธิผลของโรงเรียน ไดร อ ยละ 50.80 อยางมนี ัยสาํ คญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 กิตตกิ รรมประกาศ วิทยานิพนธน้ี สาํ เร็จลุลวงไปดว ยดี ดวยความอนุเคราะหจาก ผูช ว ยศาสตราจารย ดร. สมใจ ภูมพิ ันธุ ท่ีปรึกษา วิทยานิพนธ ทีไ่ ดใหค ําปรึกษา แนะนาํ ตรวจสอบแกไขขอ บกพรองตาง ๆ ดว ยความเอาใจใสจ นเปนวทิ ยานพิ นธทีส่ มบูรณ ผูวจิ ัยขอขอบพระคุณทา นเปนอยางสงู ขอขอบพระคณุ ผเู ชย่ี วชาญทุกทาน ท่ีกรุณาใหค ําแนะนาํ แกไ ขขอบกพรองในการสราง เครอ่ื งมือที่ใชในการวิจยั ขอขอบพระคุณคณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธทุกทา น ทใ่ี หคําแนะนํา ปรับปรงุ เติมเต็มทําใหวิทยานิพนธ มีความสมบูรณยิง่ ขึ้น ขอขอบพระคุณผูบริหารสถานศึกษาและครูสงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ท่ีกรุณาใหขอ มูลอันเปนองคป ระกอบสาํ คญั ของการทําวิทยานิพนธจนสาํ เร็จลุลวงดว ยดี ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 จากผลการวิจยั พบวา ภาวะผูนําเชิงกลยุทธข องผบู ริหาร สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 ดานที่มคี า เฉลี่ยต่ําท่ีสดุ คือ ดานการควบคุมและประเมินกลยุทธ ดงั น้ัน การที่จะพฒั นาใหโรงเรียนมีการบริหาร จดั การท่ีมปี ระสิทธิภาพนั้น ผูบริหารควรใหความสาํ คัญการควบคมุ ติดตาม ประเมินกลยุทธที่ผูบ ริหารเลอื กใชเ พ่อื ให การปฏิบตั ิงานบรรลวุ ัตถุประสงคแ ละเปาหมายทวี่ างไว โดยผูบ ริหารสามารถแกไขปญ หาและขอ ขัดแยง ท่ีอาจเกิดข้ึนระหวา ง การปฏิบัติงานได 1.2 จากผลการวิจัยพบวา การบรหิ ารงานวชิ าการของโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา ยโสธร เขต 1 ดานที่มีคา เฉลี่ยตาํ่ ท่ีสุด คอื การพัฒนาและใชส ือ่ เทคโนโลยที างการศึกษา ดังนน้ั การที่จะมงุ ใหโรงเรียนมีการ บรหิ ารงานวิชาการท่ีมคี ุณภาพ ผูบรหิ ารตองสงเสริมและสนบั สนุนใหครูผลิต พฒั นาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยที ่ีมี ความหลากหลายเหมาะสม เพียงพอ และนาํ มาใชใ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพอ่ื เพ่ิมประสิทธภิ าพในการจัด กระบวนการพัฒนาการเรยี นรู 1.3 จากผลการวิจยั พบวา ภาวะผูนําเชิงกลยุทธข องผูบริหาร สังกัดสํานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ยโสธร เขต 1 ดา นท่ีสามารถพยากรณการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนไดดีท่ีสุด คือ ดา นการควบคุมและประเมินกลยุทธ ดังนั้น ในการพฒั นาภาวะผูนําเชิงกลยุทธของผูบริหาร หนวยงานที่รับผิดชอบควรใหความสาํ คัญกับการพฒั นาสมรรถนะของ
Journal of Roi Et Rajabhat University 11 Volume 14 No.3 September - December 2020 ผูบริหารในดา นดงั กลาว โดยเนนใหมีการกาํ หนดมาตรฐานตัวบง ชี้ความสาํ เร็จในการปฏิบตั งิ านไวลว งหนาอยางชัดเจน กําหนดกลยุทธที่จะดาํ เนินการใหบ รรลผุ ลตามตวั บงชี้ มีการควบคมุ ตดิ ตาม การปฏบิ ัติงานอยางมีระบบ ใหเปนไปตาม ท่ีไดวางแผนไว มีการวิเคราะห แกไขปญหา ที่อาจเกดิ ขึ้นในการปฏิบตั งิ าน เก็บรวบรวมขอมูล สารสนเทศเพ่อื เปรียบเทียบ ผลการปฏิบัติงานจริงกบั มาตรฐานและตวั บง ชีท้ ่กี ําหนด พรอ มนาํ ผลการประเมินการปฏิบตั งิ านที่ดอยกวา มาตรฐานมาเปน ขอ มูล เพ่ือปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิคร้งั ตอ ไป และเพอ่ื พฒั นาการบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียนใหมปี ระสิทธิภาพอยางตอเนื่อง 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจยั ครั้งตอ ไป 2.1 ควรมีการวิจยั เชงิ ปฏิบตั ิการ เพอ่ื พัฒนาภาวะผูนําเชิงกลยุทธ ของผบู ริหารสถานศึกษา โดยเนน ดา นการควบคมุ และประเมินกลยุทธ และดา นการกําหนดทิศทางขององคการ ในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน ใหมีประสิทธิผล 2.2 ควรศึกษาปจ จัยอื่น ที่อาจสงผลตอ การบรหิ ารงานวิชาการของโรงเรียน เน่ืองจากงานวิจัยนี้พบปจจัย ท่ีสามารถทาํ นายการบริหารงานวิชาการไดเ พียงรอยละ 46.2 เพ่ือไดทราบปจจัยเพ่ิมเติมที่จะเปนประโยชนตอการบริหารงาน วิชาการของโรงเรยี น เอกสารอางองิ กมล ภูป ระเสรฐิ . (2547). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา (พิมพคร้ังที่ 3). กรงุ เทพฯ: เสรมิ สินพรเี พรส ซสิ เท็ม. กมล โสวาป. (2556). ภาวะผูนําเชิงกลยุทธทสี่ ง ผลตอความมีประสิทธผิ ลของโรงเรียน สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. วิทยานพิ นธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา. ขอนแกน: มหาวิทยาลยั ขอนแกน. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). คมู ือครูการปฏบิ ัติงานขาราชการคร.ู กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. เขมมารี รักษชูชีพ. (2553). การบรหิ ารเชงิ กลยุทธ (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส. ทศพร ศริ ิสัมพันธ. (2543). การวางแผนกลยทุ ธเพ่ือการปฏริ ูประบบราชการ. กรุงเทพฯ: สํานกั งาน ก.พ.. ทิพาวดี เมฆสวรรค. (2545). กลา คดิ กลาทํา กลานํา กลาเปลี่ยน (พมิ พครั้งที่ 2). กรงุ เทพฯ: เอ็กซเปอรเ น็ท. ธรี ะ รุญเจรญิ . (2553). ความเปน มอื อาชีพในการจัดและบรหิ ารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบบั ปรับปรงุ ) เพือ่ ปฏิรูป รอบสองและประเมินภายนอกรอบสาม. กรุงเทพฯ: ขาวฟา ง. นลิ วรรณ วัฒนา. (2556). การศึกษาสภาพการบรหิ ารงานวิชาการในโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเล็ก สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึ ษาจังหวัดชลบุรี. สารนิพนธ การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วธิ ีการทางสถติ ิสําหรบั การวิจัย (พิมพคร้ังท่ี 5). กรงุ เทพฯ: สุวรี ิยาสาสน. ปรยี าพร วงศอนุตรโรจน. (2553). การบรหิ ารงานวิชาการ. กรงุ เทพฯ: ศูนยสือ่ เสรมิ กรงุ เทพมหานคร. พชิ ิต โกพล, ศกั ด์ิไทย สุรกิจบวร, วาโร เพ็งสวัสด์ิ และ วลั นิกา ฉลากบาง. (2559). การพัฒนาตัวบง ช้ีภาวะผูนาํ เชงิ กลยุทธ ของผูบรหิ ารสถานศึกษาที่สง ผลตอประสทิ ธผิ ลโรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาวทิ ยาลยั นครพนม, 6(3), 78-85. พิพัฒน นนทนาธรณ. (2556). ภาวะผูนําเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร: LIFE Model Operational Leadership: LIFE Model. กรุงเทพฯ: ศูนยผ ูนาํ ธุรกิจเพอ่ื สังคม. มันทนา กองเงิน. (2554). ภาวะผนู าํ เชงิ กลยุทธกับการขจัดความขัดแยงของผบู รหิ ารในสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สงั กัดสาํ นักงานเขตพ้นื ทีป่ ระถมศึกษานครปฐม เขต 1. วทิ ยานพิ นธ ศกึ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหาร การศึกษา. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. รงั สรรค ประเสริฐศรี. (2551). ภาวะผูนาํ เชงิ กลยุทธ. วารสารการจัดการสมัยใหม มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช, 6(2), 1-10. รัชนี ชุณหปราณ. (2554). การบรหิ ารวชิ าการ. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช. ราชกิจานเุ บกษา. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาต(ิ ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2553. เลมที่ 127 (ตอนท่ี 45ก), 1-3. รงุ ชัชดาพร เวหะชาติ . (2553). การบรหิ ารงานวชิ าการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (พิมพครัง้ ที่ 4). สงขลา: นาํ ศิลปโฆษณา. รจุ ิร ภูสาระ. (2551). การพฒั นาหลกั สูตร: ตามแนวปฏิรูปการศึกษา (พมิ พคร้งั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: บุคพอยท.
12 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอด็ ปที่ 14 ฉบบั ท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 วริ าพร ดบี ุญมี. (2556). ภาวะผูนําเชิงกลยุทธข องผบู ริหารสถานศึกษาทส่ี ง ผลตอประสิทธิผลของโรงเรียนสังกดั เทศบาลนครขอนแกน. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา. ขอนแกน: มหาวิทยาลัยขอนแกน. วเิ ศษ พลอาจทัน. (2555). การบริหารโรงเรยี นแบบกระจายอํานาจ. กรงุ เทพฯ: ทิพยวิสุทธ. ศริ ิเพ็ญ สกุลวลีธร. (2556). ภาวะผนู าํ เชิงกลยุทธของผูบ รหิ ารทส่ี งผลตอ การบรหิ ารงานของสถานศึกษา สงั กดั สาํ นักงาน เขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา. ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร. สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ. (2561). สรปุ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ระดบั ชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2560. สบื คน เมอื่ 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://newonetresult.niets.or.th /AnnouncementWeb/PDF/SummaryONETP6_2560.pdf สมยศ นาวีการ. (2551). การบริหารเชิงกลยุทธ. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ. สัมมา รธนิธย. (2556). หลัก ทฤษฎีและปฏบิ ัตกิ ารบริหารการศึกษา (พมิ พคร้งั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: ขา วฟาง. สาํ นักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1. (2561). ผลทดสอบคะแนน O-NET ปก ารศกึ ษา 2560. [รายงานผลทดสอบคะแนน O-NET]. สืบคน เม่อื 20 พฤศจิกายน 2562, จาก http://www.yst1.go.th/2020/?page_id=157 สํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษายโสธรเขต 1. (2562). จาํ นวนครูและบุคลากรทางการศึกษาปการศึกษา 2561. สืบคนเม่อื 20 พฤศจิกายน 2562, จาก https://data.bopp-obec.info/emis/person-all-sum- list.php?Area_CODE=3501 สดุ า สวุ รรณาภิรมย. (2551). ภาวะผูนาํ : The leadership. กรุงเทพฯ: เอ อาร อินฟอรเมชนั แอนด พับลเิ คชัน. อังศุมาลิน กลุ ฉวะ และสมใจ ภูมิพันธุ. (2562). ภาวะผนู าํ เชงิ กลยุทธผบู ริหารสถานศึกษาที่สงผลตอความเปนองคการ แหง การเรียนรูของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษารอยเอด็ เขต 3. วารสารมนษุ ย ศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิ ยาลยั นครพนม, 9(2), 60-67. อนิ ทุอร โควงั ชัย. (2554). ความสัมพันธระหวา งภาวะผูนําการเปลี่ยนแปลงกับคณุ ภาพการบริหารงานวชิ าการโรงเรียนสงั กดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวัดขอนแกน เขต 4. วทิ ยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชา การบริหารการศึกษา. ขอนแกน: มหาวิทยาลยั ขอนแกน. อทุ ัย บุญประเสรฐิ . (2540). หลักสตู รและการบริหารงานโรงเรยี น. กรุงเทพฯ: เอส ดี เพรส. Adair, J. (2010). Strategic leadership: How to think and plan strategically and provide direction. London: Kogan Page. Dubrin, A.J. (2004). Leadership: Research Findings, Practice, and Skills. (4th ed.). New York: McGraw–Hill. Duggen, T. (2013). Strategic Leadership: Basic Concept & Theories. Retrieved February 5, 2019, from http://yourbusiness.azcentral.com/strategic–leadership–basic–concepts–thories–8736.htm Gill, R. (2006). Theory and practice of leadership. Washington: Sage. Sergiovanni, T.J. and other (2009). The Principalship: A Reflective Practice Perspective. (6th ed.). Boston: Pearson Education.
Journal of Roi Et Rajabhat University 13 Volume 14 No.3 September - December 2020 การพัฒนาศกั ยภาพฝม ือแรงงานทองถ่ินสมารท ฟารม เมอร (Smart Farmers) ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 (Thailand 4.0) สูก ารเปน ผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ ม (SMEs)ท่ียั่งยนื ในเขตจังหวัดรอ ยแกนสารสนิ ธุ The Development of Local Skills on Smart Farmers Potential in the Process of Thailand 4.0 become Sustainable Entrepreneurs of SMEs in Roi-Kaen-San-Sin Province อินทร อนิ อุนโชติ1, อจั ฉราภรณ จุฑาผาด2, เกรียงไกร กนั แกว3, เกษศริ ินทร ภิญญาคง4, พรรณภา สังฆะมณี5, อณุ ดาทร มูลเพ็ญ6 และ สุธาสนิ ี วังคะฮาต7 In Inounchot1, Atcharaporn Jutapad2, Kriangkrai Gunkaew3, Kessirin Pinyakong4, Received : 21 ก.ย. 2563 Phannapha Sangkamanee5 , Unnadathorn Moonpen6 and Suthasinee Wangkahat7 Revised : 19 พ.ย. 2563 Accepted : 23 พ.ย. 2563 บทคดั ยอ การวิจัยน้ีมวี ตั ถุประสงคเพือ่ ศกึ ษาการพฒั นาศักยภาพฝม อื แรงงานทองถ่ินสมารทฟารมเมอร (Smart Farmers) ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 (Thailand 4.0) สกู ารเปนผปู ระกอบการวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ที่ย่งั ยืน ในเขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากเกษตรกร จํานวน 381 คน ซึง่ กลุมตัวอยางไดมาจากการเลือก แบบเจาะจง สถิติท่ใี ชในการวิจยั ไดแก คา เฉลี่ย คา สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน t-test และ F–test (ANOVA และ MANOVA) ผลการวิจัย พบวา 1) เกษตรกรมีความคิดเห็นเกี่ยวกบั การมีการพัฒนาศักยภาพฝม ือแรงงานทอ งถ่ินสมารท ฟารมเมอร ดา นกระบวนการ Thailand 4.0 โดยรวมอยใู นระดับมากทุกดา น ไดแก ดานการใชเ ทคโนโลยีสูการเปน ผปู ระกอบการ ดา นการฝกอบรมฝม ือแรงงาน ดา นการสงเสริมการมีสว นรวมในกลุม ดานคุณสมบตั ขิ องแรงงาน และดา นมาตรฐานฝม ือแรงงาน 2) เกษตรกรที่มีเพศแตกตา งกัน มีความคิดเห็นดว ยเก่ียวกบั การพฒั นาศักยภาพฝมอื แรงงานทอ งถิ่นสมารทฟารมเมอร ดา นกระบวนการไทยแลนด 4.0 โดยรวม และเปนรายดา น ไมแตกตางกัน และ 3) เกษตรกรที่มีอายุแตกตางกัน มีความคดิ เห็น เกยี่ วกับการพัฒนาศักยภาพฝมือแรงงานทอ งถน่ิ สมารท ฟารม เมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 แตกตางกันอยางมีนัยสําคญั ทางสถิติ ท่รี ะดบั 0.05 คาํ สาํ คัญ : แรงงานทอ งถิ่น, กระบวนการ Thailand 4.0, ผูประกอบการ SMEs Abstract The purpose of this research was to study the development of local skills on smart farmers potential in the process of Thailand 4.0 become sustainable entrepreneurs of SMEs in Roi-Kaen-San-Sin 1 อาจารยประจําคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ อีเมล: [email protected] 2 อาจารยประจาํ คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด 3 อาจารยประจําคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอด็ 4 ผูชวยศาสตราจารย, อาจารยประจําคณะบริหารธุรกิจและการบญั ชี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด 5 อาจารยประจําคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด 6 อาจารยประจําคณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 7 อาจารยประจําคณะบริหารธุรกิจและการบญั ชี มหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอด็ 1 Lecturer in Business Administration and Accountancy, Roi Et Rajabhat University, Email: wai.ple.fi[email protected] 2 Lecturer in Business Administration and Accountancy, Roi Et Rajabhat University 3 Lecturer in Business Administration and Accountancy, Roi Et Rajabhat University 4 Assistant Professor in Business Administration and Accountancy, Roi Et Rajabhat University 5 Lecturer in Business Administration and Accountancy, Roi Et Rajabhat University 6 Lecturer in Business Administration and Accountancy, Roi Et Rajabhat University 7 Lecturer in Business Administration and Accountancy, Roi Et Rajabhat University
14 14 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 province. Data were collected from 181 farmers by selective sampling. Statistics used in this research were mean, standard deviation, t-test and F–test (ANOVA and (MANOVA). The research results found that 1) farmers had opinions about the development of local skills on smart farmers potential in the process of Thailand 4.0 overall was at a high level in all aspects including technology application to entrepreneurship, skills training, promoting of group participation, labor qualifications and labor skill standard. 2) Farmers who had different genders had opinions about the development of local skills on smart farmers potential in the process of Thailand 4.0 overall and each aspect were not different. And 3) farmers who had different ages had opinions about the development of local skills on smart farmers potential in the process of Thailand 4.0 with significantly different at the statistical level of .05. Keywords : Smart Farmers, Process of Thailand 4.0, SMEs Entrepreneur บทนาํ ปจ จบุ ันภาคเกษตรมีความสําคัญมากสาํ หรับประเทศไทย และในทามกลางการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีกาวสูยุคดิจิตอล หรือ 4.0 เทคโนโลยที เ่ี ปนแรงผลักดนั การพัฒนาเศรษฐศาสตรม หภาค (Mega Trend) ทําใหหนวยงานองคกรทง้ั ทางภาครฐั และภาคเอกชนมีการปรบั ตัวรบั การเปล่ียนแปลงของโลก ภาคเกษตรของไทยก็ไดร บั ผลกระทบเชน เดียวกัน (ศุภชัย เจียรวนนท, 2561 : 1) ทําใหภาคอุตสาหกรรมและบริการ รวมท้งั เปนแรงงานในภาคเกษตร ที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสรา งการพฒั นาประเทศ และการถดถอยของวถิ เี กษตรกรรม แนวโนมการพัฒนาการเกษตรเปนไปแบบที่เปนอยูในปจจบุ ัน และไมมีการแกไขปญหาเกษตรกร อยา งจริงจัง การคาดการณใ นอนาคต 10 ปข างหนา จํานวนเกษตรกรไทยจะเหลอื ตา่ํ กวารอ ยละ 10 (เดชรัต สุขกาํ เนิด, 2561 : ออนไลน) ซง่ึ เหมือนกับประเทศในยุโรป ญีป่ ุนและอเมริกา เกษตรกรรายเลก็ มีอัตราของการดําเนินธุรกิจไมค อยประสบความสําเร็จ ในการดาํ เนินงานสงผลใหมีการปดตวั ลงอยา งตอ เน่อื ง (เพิม่ ศักดิ์ มกราภริ มย, 2561 : 10) การขบั เคลื่อนภาคการเกษตรไทย ตองใหความสาํ คญั กับการเปล่ยี นแปลงอยางรวดเร็วของตลาดโลกยุคดิจิทัลท่ีเขา มามบี ทบาทและปฏิวัติประเทศในแทบทุกดา น ภาคการเกษตรไทยท่ไี ดรับโจทยการปรับทิศทาง เพื่อรองรับการเขาสูยุคดิจิทัลเต็มรูปแบบ (ศภุ ชยั เจียรวนนท, 2561 : 2) กระบวนการ Thailand 4.0 เปน การใชความพยายามของทางภาครฐั ในการขบั เคล่อื นเศรษฐกิจประเทศไทย ใหเปน ไปตามกลไกที่เหมาะสมเขากบั ยุคสมัย และเมอ่ื ทุกฝายตองมีสวนรว มในการทาํ งานและขับเคล่ือนไปพรอ มกัน ในประเด็นของเทคโนโลยีเพื่อท่ีจะไดใ ชเทคโนโลยีในการพัฒนาใหไดเร็วขึ้น และไมเ สียโอกาสทางธุรกิจ (จารุวรรณ รําไพบรรพต, 2562 : ออนไลน) นอกจากนั้นควรสนับสนุนบุคลากรในทุก ๆ ดาน ท้ังดานการฝกอบรม เงินทุนสนับสนุน ใหบ ุคลากรของเรา มที ักษะการคิดวิเคราะหแกไขปญหา สามารถทํางานรว มกบั ผูอ่ืนได มีใจรักบรกิ ารและความยืดหยุนทางความคิด พรอ มสราง กําลังใจและความเชอ่ื ม่ัน จะสงผลใหการทาํ งานไมมีประสทิ ธภิ าพและสอดรบั กบั นโยบายได (มันทนา วิบูลยะศักด,์ิ 2561 : ออนไลน) ซ่ึงเศรษฐกิจอุตสาหกรรมท่ขี ับเคลอื่ นดว ยนวตั กรรม มุงเนนการเพ่ิมมลู คา (Value Added) ไปสูการสรา งมูลคา (High Value) หรอื การสรา งผลิตภาพ (Productivity) และจะทาํ การพัฒนาเกิดประสิทธิภาพมากย่งิ ขึ้นและย่งั ยืนตอไป (พิมพธัญญา ฆองเสนาะ, 2560 : 11) สมารท ฟารมเมอร (Smart Farmer) เปนวัตถุประสงคของยทุ ธศาสตรที่ 1 จาก 4 ประเด็นยุทธศาสตรของแผนพัฒนา การเกษตร ซ่ึงสอดคลอ งกบั แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติฉบบั ที่ 11 แนวคดิ นี้เนนการพัฒนาเกษตรกรใหมีความสามารถ ในการพึ่งพาตนเองได มีภูมิคุมกันพรอ มรบั ความเส่ียงในมติ ิของการผลิตและการตลาด รวมทั้งมีความสามารถในการผลิต และการตลาดในระดับที่พรอ มกา วสูการเปนผูจดั การฟารมมอื อาชีพ ทีท่ ําการเกษตรไดจ นประสบความสาํ เร็จ (สิตาวีร ธีรวิรฬุ ห, 2559 : 5) และนาํ ไปสูการประกอบอาชีพในอนาคตตอ ไป ผปู ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium Enterprises = SMEs) เปนธุรกิจทมี่ ี จํานวนมากในประเทศไทย ผปู ระกอบการสว นมากประกอบการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบคุ คลหรือหา งหุนสว นสามัญ ทีม่ ิใชน ิตบิ ุคคล หา งหุนสว นจํากัด บรษิ ัทจาํ กัด หรือกจิ การรวมคา ซ่ึงจะประกอบธุรกิจขายสินคา ผลติ สนิ คา หรือใหบ รกิ าร หนวยงานตาง ๆ (กรมสรรพากร, 2561 : 6) การกระจายรายไดจากกลุมผูประกอบธุรกิจไปสูกลุมคนตา ง ๆ ทําใหเกิดการจางงาน และประชาชน มรี ายได ซงึ่ เปนตัวชว ยใหโครงสรา งทางเศรษฐกิจและสังคมดขี ึ้น (รชั ดามาศก สุดชิต, 2555 : 6) จงึ เปนโอกาส ใหกบั ผูป ระกอบการรายเลก็ ในการเจริญเติบโตและเขาสผู ปู ระกอบการ
15 Journal of Roi Et Rajabhat University 15 Volume 14 No.3 September - December 2020 กลมุ จังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบดวย จงั หวัดรอยเอ็ด จงั หวัดขอนแกน จงั หวัดมหาสารคาม และจังหวัดกาฬสินธุ มีสินคา ทางการเกษตรอินทรยี และสินคา ปลอดภยั หลากหลายชนิด อาทิ ขา ว หลากหลายสายพันธุ ฝร่งั มะมว ง และผักสดนานาชนดิ แตน โยบายทางกลมุ จังหวดั ก็มีการเตรียมความพรอมดา นแรงงาน ทางการผลิต เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแขงขันและตอ งมีการสงเสรมิ ศักยภาพและสรา งโอกาสทางการตลาด สงเสริม การตลาดสินคา เกษตรอินทรียใหกับผูผลิต ผูประกอบการ การเพ่ิมชองทางการตลาดเพอ่ื สรา งเครอื ขายดานการตลาด ประชาสัมพันธและสรา งภาพลักษณเ กษตรอินทรยี ว ิถอี ีสานกลาง เพ่ือใหสอดลองกบั นโยบายรฐั บาลในการขับเคลื่อนความม่ังคั่ง ของประเทศไทย ท่ีตั้งเปาเกิดการปรับเปลย่ี นภาคการเกษตรไทยจากเกษตรแบบด้งั เดิมไปสูเกษตรอตุ สาหกรรม และกาวไปสู เกษตรบริการ หรอื ธรุ กิจเกษตร ท่ีมีการใชนวตั กรรมเปนหลักในการขบั เคลอ่ื นภาคการเกษตรไทย (เครอื ขา ยเกษตรอินทรยี รอ ย แกนสารสินธุ, 2561 : ออนไลน) จากขอมูลดงั กลาวขา งตนทาํ ใหผวู ิจัยสนใจศึกษาการพฒั นาศกั ยภาพฝม ือแรงงานทองถ่ินสมารท ฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 สูการเปนผูประกอบการวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม เขตจงั หวัดรอ ยแกนสารสินธุ เพอื่ ทราบถงึ สภาพปญหา ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพฝมอื แรงงานทองถิ่น เพ่ือเปนแนวทางในการสง เสรมิ การประกอบอาชีพและมอี าชีพของคนในกลมุ จังหวดั รอ ยแกนสารสินธุไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ วตั ถุประสงค 1. เพือ่ ศกึ ษาความคดิ เห็นเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพฝม ือแรงงานทองถิ่นสมารท ฟารมเมอร ดา นกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 สูการเปนผปู ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม เขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ 2. เพ่ือเปรยี บเทียบความคิดเห็นเก่ียวกบั การพัฒนาศักยภาพฝม ือแรงงานทองถ่ินสมารทฟารมเมอร ดา นกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 สูการเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ จําแนกตามเพศ และอายขุ องเกษตกร กรอบแนวคิดและสมมติฐาน จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วของเก่ียวกบั การพัฒนาศักยภาพฝมอื แรงงานทอ งถ่ินสมารทฟารม เมอร (SMART FARMERS) ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 (Thailand 4.0) สูการเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) เขตจังหวดั รอยแกนสารสินธุ ผวู ิจยั สามารถกําหนดแนวคิดท่ใี ชในการศึกษา ไดด ังน้ี ตวั แปรอสิ ระ ตัวแปรตาม ขอมูลสว นบุคคล การพัฒนาศกั ยภาพฝมือแรงงานดวยกระบวนการ Thailand 4.0 1. เพศ 1. ดานคุณสมบัติของแรงงาน 2. อายุ 2. ดานการฝกอบรมฝมือแรงงาน 3. ดา นมาตรฐานฝม ือแรงงาน 4. ดานการสงเสริมการมีสว นรว มในกลุม 5. ดานการใชเ ทคโนโลยีสูการเปนผูป ระกอบการ ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย สมมติฐานการวิจัย 1. เกษตรกรท่มี เี พศแตกตา งกัน มีความคิดเหน็ ดว ยเกยี่ วกบั การพัฒนาศักยภาพฝม ือแรงงานทอ งถิ่น สมารท ฟารม เมอร ดา นกระบวนการไทยแลนด 4.0 สกู ารเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เขตจงั หวัด รอยแกนสารสินธุ แตกตางกัน
16 16 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ ยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 2. เกษตรกรท่มี อี ายุแตกตา งกัน มีความคดิ เห็นดว ยเก่ยี วกับการพฒั นาศักยภาพฝม อื แรงงานทอ งถ่ิน สมารทฟารม เมอร ดา นกระบวนการไทยแลนด 4.0 สกู ารเปนผปู ระกอบการวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เขตจงั หวดั รอ ยแกนสารสินธุ แตกตางกัน วธิ ดี ําเนินการวิจยั 1. ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง 1.1 ประชากร (Population) ทใี่ ชในการวิจัย ไดแก เกษตรกรในเขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ จาํ นวน 7,654 คน (เครอื ขายเกษตรอินทรยี รอ ยแกนสารสินธุ, 2561 : เว็บไซต) 1.2 กลุมตวั อยาง (Sample) ท่ีใชใ นการวิจัย ไดแ ก เกษตรกรในเขตจงั หวัดรอ ยแกนสารสนิ ธุ จาํ นวน 381 คน โดยวธิ ีการเปดตารางของ Krejcie and Morgan (บุญชม ศรสี ะอาด, 2557 : 42) และใชว ิธีการสุมตัวอยางแบบแบงช้ันภูมิ (Stratified Random Sampling) 2. เครื่องมือทใ่ี ชใ นการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใชในการวจิ ัยในคร้งั นี้เปนแบบสอบถาม (Questionnaire) ซ่งึ สรางตามวัตถปุ ระสงคและกรอบแนวคิด |ทกี่ ําหนดข้ึน โดยแบงออกเปนออกเปน 2 ตอน ดังน้ี ตอนท่ี 1 ขอ มูลท่ัวไปสว นบุคคลของเกษตรกรในเขตจังหวัดรอยแกนสารสินธุ จํานวน 5 ขอ โดยครอบคลุมเนื้อหา เก่ียวกบั เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายไดตอ เดอื น ลักษณะแบบสอบถามเปนแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนท่ี 2 ความคิดเหน็ เกีย่ วกบั การพัฒนาศักยภาพฝมอื แรงงานทองถิน่ สมารท ฟารมเมอร ดา นกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 จาํ นวน 5 ดา น โดยครอบคลุมเนือ้ หา ไดแก 1) ดานคณุ สมบัตขิ องแรงงาน 2) ดานการฝก อบรมฝมือแรงงาน 3) ดานมาตรฐานฝมอื แรงงาน 4) การสงเสริมการมสี วนรว มในกลุม 5) ดา นการใชเทคโนโลยีสูการเปนผูประกอบการ ลกั ษณะแบบสอบถามเปนแบบมาตราสว นประมาณคา (Rating Scale) การตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมือโดยการนําแบบสอบถามที่แกไขตามผเู ช่ียวชาญเสนอแนะไปทดลองใช (Try Out) กับเกษตรกร (Smart Farmers) ที่ไมใชกลุมตัวอยา ง จาํ นวน 30 ราย โดยหาคา อํานาจจาํ แนกของแบบสอบถามเปนรายขอ (Discriminant Power) โดยใชเทคนิค Item-total Correlation ซง่ึ การพฒั นาศักยภาพฝม ือแรงงานทอ งถิ่นสมารท ฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 ไดคาอํานาจจําแนก (r) อยูระหวาง 0.624-0.833 ซึ่งสอดคลองกบั Nunnally (1978) ไดนําเสนอวาการทดสอบคาอํานาจจําแนกเกินกวา 0.40 เปนคา ที่ยอมรับได และมีคา สัมประสทิ ธิ์แอลฟาอยูระหวาง 0.871-0.897 ซง่ึ สอดคลองกับ Nunnally (1978) ไดนําเสนอวา ความนา เชอ่ื ถือตามทฤษฎีของ Cronbach ซึ่งแนะนาํ วา คา ความเชอ่ื มั่น ของคาํ ถามไมควรต่ํากวา 0.70 3. การเก็บรวบรวมขอมลู ไดกําหนดขนั้ ตอนในการเกบ็ รวบรวมขอมูล ดงั น้ี 3.1 ดําเนินการจัดทาํ แบบสอบถามตามจํานวนกลุมตัวอยา ง 3.2 ขอหนังสอื จาก คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ดโดยแนบแบบสอบถามทส่ี งไปยัง กลุมตัวอยางกลมุ เกษตรกร กลุมวิสาหกิจชุมชน ในเขตจงั หวัดขอนแกน จงั หวัดมหาสารคาม จงั หวัดกาฬสินธุ และจังหวัดรอ ยเอ็ด เพอื่ ขอความอนุเคราะหและความรวมมือในการตอบแบบสอบถาม โดยอํานวยความสะดวกในการใหข อมูลเพือ่ พัฒนา 3.3 ใหผชู วยงานวจิ ัย ซง่ึ เปนนักศึกษาสาขาวิชาการตลาด จาํ นวน 32 คน ลงพื้นที่เก็บรวบรวมขอมูลในจังหวัด ท่ีไดร บั ผิดชอบท่ีกําหนด เร่ิมตง้ั แตวันที่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึงวันท่ี 31 กรกฎาคม 2560 รวมระยะเวลาในการลงพื้นที่ เกบ็ แบบสอบถาม จํานวน 31 วัน โดยแบงออกเปน 8 กลุม กลมุ ละ 4 คน ในการเกบ็ ขอมลู กบั กลุมเกษตรกรสมารทฟารมเมอร จํานวน 381 ราย จาํ แนกเปน 4 จังหวัด และใชวิธีการสมุ ตวั อยางแบบแบงชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) ซึ่งมขี ั้นตอน ในการสุมตัวอยา ง ดังน้ี 1) จาํ แนกเกษตรกรในเขตจังหวดั รอ ยแกนสารสินธุ จําแนกตามจังหวดั 2) กาํ หนดจาํ นวนกลุมตัวอยา งของเกษตรกรในเขตจังหวดั รอยแกนสารสินธุ ตามสัดสว น 3) ทาํ การสมุ ตวั อยางตามขอ 2 โดยใชคอมพวิ เตอรช ว ยสุม ดังตาราง 1
17 Journal of Roi Et Rajabhat University 17 Volume 14 No.3 September - December 2020 ตาราง 1 จํานวนประชากรและจํานวนกลุมตวั อยา งของเกษตรกรในเขตจงั หวัดรอยแกนสารสินธุ จําแนกตามจังหวัด จงั หวัด จํานวนประชากร จํานวนกลุมตวั อยา ง จาํ นวนผตู อบแบบสอบถาม 1. ขอนแกน (คน) (คน) (คน) 2. มหาสารคาม 2,914 145 145 3. รอ ยเอด็ 1,763 87 87 4. กาฬสินธุ 1,895 95 95 1,082 54 54 รวม 7,654 381 381 3.4 เมื่อครบกําหนดระยะเวลาในการลงพ้ืนท่ีเกบ็ รวบรวมขอมูล ไดรบั แบบสอบถามกลับมาจากท่ีกําหนด จาํ นวน 4 จงั หวัด เขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ จํานวน 381 ราย 3.5 ตรวจสอบความสมบูรณข องแบบสอบถามทไ่ี ดร บั การตอบกลบั ท้ัง 381 ฉบับ ซ่ึงมีแบบสอบถามท่ีตอบสมบูรณ จาํ นวน 381 ฉบบั คดิ เปนรอ ยละ 100 3.6 ดาํ เนินการเกบ็ รวบรวมขอ มลู จากแบบสอบถามท่ีไดรบั เพื่อนาํ มาวิเคราะหขอ มูลและแปลผลตอ ไป 4. การวเิ คราะหข อมูล ตอนท่ี 1 การวิเคราะหค วามคิดเห็นเกีย่ วกบั การพัฒนาศักยภาพฝมือแรงงานทองถ่ิน SMART FARMERS ดานกระบวนการ Thailand 4.0 ในเขตจังหวัดรอ ยแกนสารสนิ ธุ โดยใชว ธิ ีการประมวลผลทางหลักสถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ไดแก คาเฉล่ยี (Mean) และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยนาํ เสนอขอมูล ในรูปแบบตารางควบคูกับการบรรยาย และสรปุ ผลการดาํ เนินการวิจัย ไดกาํ หนดการใหคะแนนคําตอบของแบบสอบถาม ดงั น้ี (บุญชม ศรีสะอาด, 2557 : 87-88) ระดบั ความคิดเห็นมากทส่ี ุด กาํ หนดให 5 คะแนน ระดับความคดิ เห็นมาก กาํ หนดให 4 คะแนน ระดับความคิดเห็นปานกลาง กําหนดให 3 คะแนน ระดับความคดิ เห็นนอย กําหนดให 2 คะแนน ระดบั ความคดิ เห็นนอยที่สดุ กําหนดให 1 คะแนน แลวหาคาเฉลี่ยของคาํ ตอบแบบสอบถาม โดยใชการแปลความหมายคา เฉล่ีย ดงั นี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2557 : 87-88) คาเฉล่ีย 4.51-5.00 หมายถึง มีความคดิ เห็นอยูในระดับมากที่สุด คาเฉลยี่ 3.51-4.50 หมายถึง มีความคดิ เห็นอยูในระดบั มาก คา เฉลยี่ 2.51-3.50 หมายถึง มคี วามคดิ เห็นอยูในระดบั ปานกลาง คาเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มีความคิดเห็นอยูใ นระดบั นอ ย คา เฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มคี วามคดิ เห็นอยใู นระดับนอ ยที่สดุ ตอนที่ 2 การเปรียบเทยี บความคดิ เห็นเกี่ยวกับการพฒั นาศักยภาพฝม ือแรงงานทองถิ่น SMART FARMERS ดา นกระบวนการ Thailand 4.0 ในเขตจังหวดั รอยเอ็ด จําแนกตามเพศ และอายุ ของเกษตรกร โดยทดสอบความแตกตาง ระหวางคา เฉลี่ยของกลุมตวั อยา ง ท่มี ีมากกวา 2 กลุม ใชการวเิ คราะหความแปรปรวนทางเดียว (One–way Analysis of Variance MANOVA)
18 18 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอ ยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 สรปุ ผล จากการวิเคราะหขอ มูลผวู จิ ัยสามารถสรปุ ผลตามวตั ถุประสงคข องการวจิ ัย ดังน้ี 1. ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การพัฒนาศักยภาพฝม อื แรงงานทองถิ่นสมารท ฟารมเมอร ดา นกระบวนการไทยแลนด 4.0 สูการเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เขตจังหวัดรอยแกนสารสินธุ โดยรวมและเปนรายดา น แสดงในตาราง 2 ตาราง 2 ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การพัฒนาศักยภาพฝมอื แรงงานทอ งถน่ิ สมารท ฟารม เมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 สกู ารเปนผปู ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม เขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ โดยรวม และเปนรายดาน การพฒั นาศักยภาพฝมือแรงงานทองถิน่ สมารท ฟารมเมอร X̅ S.D. ระดับความคิดเห็น ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 1. ดา นคุณสมบัตขิ องแรงงาน 4.26 0.73 มาก 2. ดานการฝก อบรมฝมือแรงงาน 4.33 0.64 มาก 3. ดา นมาตรฐานฝมือแรงงาน 4.19 0.71 มาก 4. ดา นการสง เสริมการมสี ว นรวมในกลุม 4.29 0.51 มาก 5. ดา นการใชเทคโนโลยีสูการเปนผูประกอบการ 4.41 0.63 มาก โดยรวม 4.29 0.53 มาก จากตาราง 2 พบวา เกษตรกรในเขตจังหวัดรอยแกนสารสินธุ มีความคดิ เห็นดวยเก่ียวกบั การพัฒนาศักยภาพ ฝม อื แรงงานทองถ่ินสมารท ฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 โดยรวม อยใู นระดบั มาก (X̅ = 4.29) เมอ่ื พิจารณา เปนรายดาน อยูในระดบั มากทกุ ดา น โดยเรียงลําดบั คา เฉล่ียจากมากไปหานอ ย ไดแก ดานการใชเทคโนโลยีสูการเปนผูประกอบการ (X̅ = 4.41) ดานการฝกอบรมฝม ือแรงงาน (X̅ = 4.33) ดา นการสงเสริมการมีสว นรว มในกลมุ (X̅ = 4.29) ดา นคุณสมบัติ ของแรงงาน (X̅ = 4.26) และดา นมาตรฐานฝมอื แรงงาน (X̅ = 4.19) ตามลําดบั 2. การเปรียบเทยี บความคดิ เห็นเก่ียวกับการพัฒนาศักยภาพฝม ือแรงงานทอ งถ่ินสมารทฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 สูการเปนผูป ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ ท่ีมีเพศ และอายุแตกตา งกัน ดงั แสดงในตาราง 3-6 ตาราง 3 การเปรียบเทียบความคิดเห็นเก่ียวกับการพฒั นาศักยภาพฝมอื แรงงานทองถ่ินสมารท ฟารมเมอร ดานกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 โดยรวมและเปนรายดา น สูการเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม เขตจังหวัด รอยแกนสารสินธุของเกษตรกร ท่ีมเี พศแตกตา งกัน การพัฒนาศกั ยภาพฝมอื แรงงานทองถิ่นสมารทฟารม เมอร เพศชาย เพศหญงิ t p-value ดา นกระบวนการไทยแลนด 4.0 X̅ S.D. X̅ S.D. 0.714 0.476 4.28 0.64 4.23 0.74 0.569 0.572 1. ดา นคุณสมบัติของแรงงาน 4.35 0.48 4.32 0.49 0.032 0.976 2. ดานการฝก อบรมฝม อื แรงงาน 4.19 0.55 4.19 0.65 0.544 0.587 3. ดา นมาตรฐานฝมือแรงงาน 4.31 0.46 4.27 0.49 0.951 0.324 4. ดา นการสงเสรมิ การมีสว นรว มในกลมุ 4.41 0.43 4.45 0.39 0.320 0.749 5. ดา นการใชเทคโนโลยีสูการเปนผูประกอบการ 4.31 0.38 4.29 0.43 โดยรวม จากตาราง 3 พบวา เกษตรกรในเขตจังหวัดรอ ยแกนสารสินธุ ท่มี ีเพศแตกตา งกัน มีความคดิ เห็นดว ยเก่ียวกับ การพัฒนาศักยภาพฝมือแรงงานทองถิ่นสมารทฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 โดยรวมและเปนรายดา น ไดแก ดา นคณุ สมบัตขิ องแรงงาน ดา นการฝกอบรมฝม ือแรงงาน ดา นมาตรฐานฝมอื แรงงาน ดานการสงเสริมการมสี วนรว มในกลุม และดา นการใชเ ทคโนโลยีสูการเปนผูประกอบการ ไมแตกตางกัน (p>0.05)
19 Journal of Roi Et Rajabhat University 19 Volume 14 No.3 September - December 2020 ตาราง 4 การเปรยี บเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกบั การพัฒนาศักยภาพฝมือแรงงานทองถิ่นสมารท ฟารมเมอร ดา นกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 โดยรวมและเปนรายดาน สูการเปนผปู ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม เขตจงั หวัด รอยแกนสารสินธุของเกษตรกร ที่มีอายุแตกตา งกัน (ANOVA) การพฒั นาศกั ยภาพฝม ือแรงงานทองถ่ิน แหลง ของ df SS MS F p-value สมารท ฟารมเมอร ดา นกระบวนการ ความแปรปรวน ไทยแลนด 4.0 ระหวางกลุม 2 0.338 0.169 1.046 0.352 โดยรวม ภายในกลุม 397 64.103 0.161 รวม 399 64.440 จากตาราง 4 พบวา เกษตรกรในเขตจงั หวัดรอ ยแกนสารสินธุ ท่มี อี ายุแตกตา งกัน มีความคิดเห็นดว ยเก่ยี วกับการ พฒั นาศักยภาพฝม ือแรงงานทองถนิ่ สมารท ฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 โดยรวม ไมแ ตกตางกัน (p>0.05) ตาราง 5 การเปรยี บเทียบความคิดเหน็ เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพฝมอื แรงงานทองถิ่นสมารทฟารมเมอร ดา นกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 โดยรวมและเปนรายดาน สูการเปนผปู ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม เขตจงั หวัด รอ ยแกน สารสินธุของเกษตรกร ที่มีอายุแตกตา งกัน สถติ ทิ ดสอบ การพัฒนาศักยภาพฝม ือแรงงานทองถิ่น Hypothesis Error F p-value Wilks’ Lambda สมารทฟารมเมอร ดานกระบวนการ df df 4.837 0.000* 8.000 790.000 ไทยแลนด 4.0 5 ดา น *มีนัยสําคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 จากตาราง 5 พบวา เกษตรกรในเขตจงั หวัดรอยแกนสารสินธุ ท่ีมอี ายุแตกตา งกัน มีความคิดเห็นดวยเกีย่ วกบั การพฒั นาศกั ยภาพฝม ือแรงงานทองถิ่นสมารทฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 เปนรายดาน ดานมาตรฐาน ฝม อื แรงงาน และดานสง เสรมิ การมีสวนรว มในกลุมแตกตา งกัน อยา งมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดับ 0.05 สว นดา นคณุ สมบตั ิ ของแรงงาน ดานการฝกอบรมฝมือแรงงาน และดา นการใชเทคโนโลยีการเปนผูป ระกอบการไมแตกตา งกัน จึงไดท าํ การเปรียบเทียบ คา เฉล่ียเปนรายคู ดงั ตาราง 6-7 ตาราง 6 การเปรยี บเทียบความคิดเหน็ เก่ียวกบั การพัฒนาศักยภาพฝมือแรงงานทอ งถ่ินสมารท ฟารมเมอร ดา นกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 ดา นมาตรฐานฝม ือแรงงาน สูการเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม เขตจังหวัด รอ ยแกนสารสินธุของเกษตรกร ท่ีมีอายุแตกตา งกัน อายุ ตาํ่ กวา 25 ป 26-40 ป ตง้ั แต 40 ปขึ้นไป X̅ 3.67 4.04 4.22 ตํ่ากวา 25 ป 26-40 ป 3.67 - 0.114 0.000* ตั้งแต 40 ปขึ้นไป 4.04 - 0.024 *มีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.01 4.02 - จากตาราง 6 พบวา เกษตรกรในเขตจังหวัดรอยแกนสารสินธุ ท่ีมีอายุตั้งแต 40 ปขึ้นไป มคี วามคดิ เห็นดวย เกี่ยวกบั การพัฒนาศักยภาพฝมือแรงงานทอ งถน่ิ สมารทฟารมเมอรดวยกระบวนการไทยแลนด 4.0 ดานมาตรฐานฝม อื แรงงาน มากกวา เกษตรกรในเขตจงั หวัดรอยแกนสารสินธุ อายุตา่ํ กวา 25 ป แตกตา งกันอยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01
20 20 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบบั ท่ี 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 ตาราง 7 การเปรยี บเทียบความคิดเหน็ เก่ียวกบั การพฒั นาศักยภาพฝมือแรงงานทองถ่ินสมารทฟารมเมอร ดานกระบวนการ ไทยแลนด 4.0 ดา นสงเสริมการมีสวนรว มในกลุม สูการเปนผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ ม เขตจังหวัดรอยแกนสารสินธุ ท่ีมอี ายุแตกตา งกัน อายุ ต่ํากวา 25 ป 26-40 ป ต้งั แต 40 ปข้ึนไป X̅ 3.58 3.76 4.01 ต่าํ กวา 25 ป 26-40 ป 3.58 - 0.024 0.000* ตงั้ แต 40 ปข ้ึนไป 3.76 - 0.024 *มีนัยสําคัญทางสถิติท่รี ะดับ 0.01 4.01 - จากตาราง 7 พบวา เกษตรกรในเขตจงั หวัดรอ ยแกนสารสินธุ ทม่ี อี ายตุ ั้งแต 40 ปข้ึนไป มีความคดิ เห็นดว ยเกี่ยวกับ การพัฒนาศักยภาพฝมอื แรงงานทองถิ่นสมารท ฟารม เมอร ดวยกระบวนการไทยแลนด 4.0 ดา นสงเสรมิ การมีสวนรวมในกลุม มากกวา เกษตรกรในเขตจงั หวัดรอยแกนสารสินธุ อายุตา่ํ กวา 25 ป แตกตา งกันอยา งมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อภิปรายผล จากผลการวิจัยเรอื่ ง การพฒั นาศกั ยภาพฝมือแรงงานทองถ่ินสมารทฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 สูก ารเปนผูป ระกอบการวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม (SMEs) เขตจงั หวัดรอ ยแกนสารสินธุ ผวู ิจัยขอเสนอการอภิปราย ผลการวิจัย ดงั น้ี 1. เกษตรกรในเขตจงั หวัดรอยแกนสารสินธุ มีความคิดเห็นดวยเกี่ยวกับการมกี ารพฒั นาศักยภาพฝมือแรงงานทองถ่ิน ดานกระบวนการ Thailand 4.0 โดยรวม อยใู นระดับมากทุกดา น เน่ืองจากกลมุ เกษตรกร ซ่ึงเปนเพียงผผู ลติ วัตถุดบิ ในชุมชน ยงั ไมมีความรู ความสามารถในดา นตา ง ๆ ทีจ่ ะเขาสกู ระบวนการการเปนผูประกอบการคอ นขา งที่จะยาก มีคิดเห็นเก่ียวกบั การสง เสริมใหตรงตามความตองการ เชน ดานการใชเทคโนโลยี ดานการฝกอบรมฝมือแรงงาน ดา นการสงเสริมการมสี ว นรว ม ดานคุณสมบตั ขิ องแรงงาน และดานมาตรฐานฝมอื แรงงาน จึงจะทําใหก ลุมผปู ระกอบการสมารทฟารม เมอร ยอมท่ีจะลงทุน ในการผลิตสินคา ชมุ ชนและสูการเปน ผูประกอบการ SMEs ไดในอนาคตอยางยั่งยืนและมีประสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน ซึง่ สอดคลอ ง กับงานวิจัยของ ไพโรจน บุตรเพ็ง (2562 : 59-71) พบวา ความตอ งการพฒั นาศักยภาพตนเองของบุคลากรสายสนบั สนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ท่มี ีระดบั มาก ไดแก ความตอ งการพฒั นาศักยภาพตนเองดา นสังคม รองลงมาคอื ความตอ งการพัฒนา ศักยภาพตนเองดา นทัศนคติ และดานทม่ี ีคา เฉลย่ี นอ ยทีส่ ุด คือความตอ งการพฒั นาศักยภาพตนเองดานความรูความเขา ใจ ในการทํางาน และสอดคลองกับงานวิจัยของ กัญญารัตน วฒั นสุขสิน (2562 : 4016-4029) พบวาปญหาการพัฒนาฝมอื แรงงาน ทกุ ขออยูในระดบั มาก เรียงลาํ ดับความตอ งการจากมากไปหานอ ย ลําดบั ท่ี 1 ความตองการพฒั นาดานการทักษะการสื่อสาร ภาษาตา งประเทศตามมาตรฐานประเทศปลายทาง ลาํ ดบั ท่ี 2 ความตอ งการพฒั นาดา นทัศนคติตอ การทาํ งานและลําดบั ที่ 3 ความตอ งการพัฒนาดา นการนําความรูพ้ืนฐานไปใชใ นการทาํ งานอยใู นระดบั มาก 2. เกษตรกรในเขตจังหวดั รอยแกนสารสินธุ ท่ีมีเพศแตกตา งกัน มีความคดิ เห็นดวยเกี่ยวกบั การพัฒนาศักยภาพ ฝม อื แรงงานทองถิ่นสมารท ฟารมเมอร ดานกระบวนการไทยแลนด 4.0 โดยรวมและเปนรายดานไมแตกตางกัน เน่ืองจาก เกษตรกรท้งั เพศชายและเพศหญิงจะมองในเรอื่ งของศักยภาพในการทํางานหญงิ และชาย มีความเสมอภาคในการทํางาน และสวนใหญจะข้ึนอยูกับความสามารถหรอื ความขยันหมั่นเพียรในการปฏบิ ัติงาน ถงึ จะสง ผลตอ ประสิทธิภาพในการทาํ งาน มากกวา การวัดท่ีคุณสมบัติ การฝกอบรม มาตรฐานการทํางาน รวมท้ังการมสี วนรวม และการใชเทคโนโลยี ซ่งึ แตละคน ทุกวันนี้มีความเสมอภาคมากกวา (สวา ง สขุ แสง, 2560 : บทสัมภาษณ) ซ่งึ สอดคลอ งกบั งานวิจัยของ ธวิท ตยิ ะกวาง (2557 : 60-63) พบวา ประชาชนมีความคิดเห็นตอคุณภาพการใหบริการไมแตกตา งกัน จึงปฏิเสธสมมตฐิ านการวจิ ัย ทัง้ นอี้ าจเปนเพราะ ประชาชนท่ีมเี พศตา งกัน ไดมีโอกาสในเขา ถึงการรบั บริการจากองคการบริหารสวนตําบลเกาะไร ไมแตกตางกัน และสอดคลองกับ งานวิจยั ของ ซ่ึงสอดคลอ งเจษฎา นกนอย (2559 : 10-16) พบวา ปจ จยั ทม่ี ีผลตอ ความคิดเหน็ ของประชาชนตอ การใหบ ริการ
21 Journal of Roi Et Rajabhat University 21 Volume 14 No.3 September - December 2020 อินเตอรเนต็ ขององคการบริหารสวนตาํ บล ในเขตอําเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงราย ไดแก ตําแหนงทางสังคม และระยะเวลา ที่อาศัยอยใู นชุมชน สว นปจจยั ทไ่ี มม ีผลตอ ความคิดเห็นของประชาชน ตอ การใหบริการอินเตอรเน็ตขององคการบริหาร สวนตาํ บลในเขตอําเภอเชียงแสน จังหวัดเชยี งราย ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ การศึกษา อาชีพ รายได และความถ่ี ในการมารบั บริการอินเตอรเน็ต 3. เกษตรกรในเขตจังหวดั รอยแกน สารสินธุ ท่ีมีอายุแตกตา งกัน มีความคดิ เห็นดว ยเก่ียวกับการพฒั นาศักยภาพ ฝมือแรงงานทองถิ่นสมารทฟารม เมอร ดา นกระบวนการไทยแลนด 4.0 ดา นมาตรฐานฝมือแรงงาน และดา นสงเสรมิ การมสี วนรว ม ในกลมุ แตกตางกัน เน่ืองจากเกษตรกรที่มีความแตกตางดา นอายุและเปน กลุมเกษตรกรทมี่ ีประสบการณมาก และผานการอบรม มาตรฐานฝมือ ความเช่ียวชาญ ความชํานาญจากการฝกท่ีไดมาตรฐาน และสามารถทาํ งานรวมกับสมาชิกในกลุม ตดิ ตอ ประสาน วางแผนรวมกัน ตลอดไปจนถงึ เร่ืองของการผลิตสินคาหรือวัตถุดิบตาง ๆ ไปในทศิ ทางเดียวกันไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ มากกวา กลุมเกษตรกรทม่ี อี ายุไมม าก และยังขาดประสบการณการทํางานดา นตาง ๆ ซึ่งสอดคลอ งกับงานวิจยั ของ ผจงจิตต พลู ศิลป (2557 : 89) พบวา ประชาชนท่มี ีอายุแตกตางกัน มีความคดิ เห็นตอ คณุ ภาพการใหบริการของแตกตา งกัน จงึ ยอมรับ สมมติฐานการวิจัย ท้ังนี้อาจเปนเพราะประชาชนท่ีมีอายุตา งกัน จะใหความสําคัญในเร่อื งของดานการวางแผน ดานการจัดองคการ ดา นจูงใจ และดานการควบคมุ ของหนวยงานใหมากยงิ่ ข้ึน เพราะหนวยงานเทศบาลเปนหนวยงานท่ีใหบริการประชาชน ทม่ี ีความหลากหลายของฝา ยและหนาที่จะตอ งมีความพรอมในเรื่องของคน กระบวนการทํางาน แรงงานถึงจะสงผลตอ การดําเนินงานไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ ขอเสนอแนะ การวิจัยครงั้ น้ีไดมขี อเสนอแนะที่เก่ียวขอ งกับงานวิจัยที่ไดสาํ รวจและลงพื้นทใี่ นประเด็น ดังน้ี 1. ขอเสนอแนะในการนําไปใช 1.1 เกษตรกร ควรมีการสงเสริมในเร่ืองของมาตรฐานฝมือแรงงานโดยการฝกอบรม ฝกทดสอบ และเขา รับ การทดสอบเพอ่ื ใหไดมาตรฐาน และจะสงผลตอ การนาํ ไปตอยอดในการกอต้งั กลุมวิสาหกิจไดง า ยมากย่งิ ข้ึนตอ ไป 1.2 เกษตรกร ควรมีการรวมกลุมกันทาํ งาน เพ่ือจะไดมีอตั รากาํ ลงั พลในการผลิตสินคา การประกอบอาชพี รว มกันเปนกลมุ เพอื่ ทีจ่ ะสามารถยกระดับท้ังการพัฒนาตนเองและพัฒนาชุมชนและสงั คมตอไปได 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจยั คร้ังตอ ไป 2.1 ควรมีการศกึ ษาผลกระทบของผูประกอบการกบั การพัฒนาฝมอื แรงงาน เพือ่ ศึกษาและเปรยี บเทียบ กบั กลุมตวั อยา งผูประกอบการจงั หวัดใกลเ คียง 2.2 ควรมีการศึกษาการพฒั นาฝมือแรงงานทองถิ่น โดยการเลอื กใชกระบวนการ Model ตัวอืน่ แลว นําผล มาเปรียบเทียบกับ Model ดา นกระบวนการ Thailand 4.0 2.3 ควรมีการศกึ ษาการพฒั นาศกั ยภาพฝม ือแรงงานทอ งถิ่นที่ดําเนินงานในกลุมวสิ าหกิจชุมชน ท่ีมีรูปแบบ การดาํ เนินงานทช่ี ัดเจน แตยังขาดบางกระบวนการที่ไดม าตรฐาน 2.4 ควรมีการเพ่ิมวิธีการเกบ็ รวบรวมขอมลู แบบสอบถามจากผูประกอบการท่จี ดทะเบียนกับกรมพฒั นาธรุ กจิ การคาถึงความแตกตางการดําเนินงาน เอกสารอา งองิ กรมสรรพากร. (2561). พระราชบัญญัตสิ งเสรมิ วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอม พ.ศ. 2543. กรุงเทพฯ: กรมสรรพากร. กัญญารตั น วัฒนสุขสิน. (2562). ยทุ ธศาสตรการพัฒนาฝมอื แรงงานของโรงเรียนพฒั นาอาชีพฝมือแรงงานเอกชน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนประเทศไทย. วารสารมหาจฬุ านาครทรรศน, 6(8), 4016-4029. เครือขายเกษตรอนิ ทรียรอ ยแกนสารสินธ.ุ (2561). เครือขายเกษตรอินทรียอีสานกลางโชวมหกรรมขา วรอ ยแกนสารสนิ ธ สานพลังเครอื ขา ยสรา งเศรษฐกิจฐานราก. สืบคน เมอ่ื 28 กันยายน 2560, จาก https://ref.codi.or.th/public- relations/news/14950-2016-08-15-04-55-45 จารวุ รรณ ราํ ไพบรรพต. (2562). การชบั เคล่ือนเศรษฐกิจทางภาครัฐดว ยกระบวนการ Thailand 4.0. สืบคนเมอื่ 29 กันยายน 2560, จาก https://sites.google.com/site/adecmju4608/home/smachik-1
22 22 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 เจษฎา นกนอ ย. (2559). การพฒั นาฝมอื แรงงานท่ีตองการเพื่อเตรยี มพรอ มเขาสปู ระชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น: กรณีศึกษาสถาน ประกอบการใน 14 จงั หวดั ภาคใต. วารสารราชพฤกษ, 14(2), 10-16. เดชรัต สุขกาํ เนดิ . (2561). ภาคการเกษตรไทยในเงา คสช. สืบคน เมื่อ 29 กนั ยายน 2560, จาก https://adaymagazine.com/ajarn-dejarat- sukgumnerd-education/ ธวทิ ติยะกวาง. (2557). ความคดิ เห็นของประชาชนที่มีตอการใหบรกิ ารอินเตอรเน็ตขององคการบรหิ ารสวนตาํ บล : กรณศี ึกษาเฉพาะองคการ บรหิ ารสวนตําบล ในเขตอาํ เภอเชยี งแสน จงั หวดั เชียงราย. กรุงเทพฯ: สถาบนั บณั ฑิตพฒั นบริหารศาสตร. บุญชม ศรีสะอาด. (2557). การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรงุ เทพฯ: สวุ ีริยาสาสน. ผจงจิตต พูลศิลป. (2557). การใชบริการและความพงึ พอใจของประชาชน ที่มตี อ การบริหารจัดการเทศบาลตาํ บล ในเขตอาํ เภอไชโย จงั หวัดอางทอง. วทิ ยานพิ นธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบรหิ ารธุรกิจ. พระนครศรีอยธุ ยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา. พมิ พธัญญา ฆอ งเสนาะ. (2560). การปรับโครงสรา งเศรษฐกิจไทยเขา สู ประเทศไทย 4.0. กรุงเทพฯ: สาํ นักงานเลขาธิการสภา ผแู ทนราษฎร. เพ่ิมศักดิ์ มกราภิรมย. (2561). การขบั เคล่อื นภาคการเกษตรไทย. กรงุ เทพฯ: สุวรี ิยาสาสน. ไพโรจน บุตรเพ็ง. (2562). ความตองการพัฒนาศักยภาพตนเองของบคุ ลากรสายสนบั สนุน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย. วารสารวิจยั และพฒั นามหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 14(49), 59-71. มันทนา วิบูลยะศักด์ิ. (2561). ความเหมือนและความแตกตา งระหวาง Industry 4.0 VS Thailand 4.0. สืบคนเม่อื 9 ตุลาคม 2560, จาก https://www.aware.co.th/thailand/ รชั ดามาศก สุดชิต. (2555). การจําแนกประเภทของ SMEs โดยใชเกณฑจากจาํ นวนการจางงาน. รอยเอ็ด: สาํ นักงานพาณิชย จังหวัดรอยเอ็ด. ศภุ ชยั เจียรวนนท. (2561). การเกษตร 4.0 ในยุคดิจิทัลตองกาวไปขา งหนาอยา งรวดเร็วเพือ่ รบั มอื กบั การเปล่ียนแปลงของโลก. กรุงเทพฯ: สภาอตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย. สวา ง สขุ แสง. (3 ตลุ าคม 2560). สัมภาษณ. ประธานสมาพันธธรุ กจิ SMEs จงั หวัดรอยเอ็ด. สติ าวีร ธีรวิรฒุ ห. (2559). สมารทฟารม (Smart Farm) การทาํ เกษตรที่เปนมิตรกับสง่ิ แวดลอ ม. กรุงเทพฯ: สํานักงาน เลขาธิการสภาผูแทนราษฎร. Nunnally, J.C. (1978). Psychometric theory. (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.
Journal of Roi Et Rajabhat University 23 Volume 14 No.3 September - December 2020 การพัฒนาชุดกจิ กรรมปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของนกั เรียน ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 The Development of Activity Packages to Change Food Consumption Behavior of Nineth Grade Students วภิ าพร ศรีสุลัย1, อรญั ซุยกระเดื่อง2 และ อพันตรี พลู พุทธา3 Received : 17 พ.ค. 2562 Wipaporm Srisulai1, Aran Suykaduang 2 and Apantee Poonputta 3 Revised : 13 เม.ย. 2563 Accepted : 17 เม.ย. 2563 บทคดั ยอ การวจิ ัยคร้งั นี้มีวตั ถปุ ระสงคเพ่ือ 1) พฒั นาชุดกิจกรรมปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3 2) เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นและพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรียน กอนและหลงั เรียน ดวยชดุ กิจกรรม และ 3) ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั เรียนที่เรยี นดวยชุดกิจกรรม กลุมตัวอยา ง ไดแก นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษา ปท ่ี 3 โรงเรียนปทุมรตั ตพทิ ยา จํานวน 1 หอ งเรียน เครื่องมือที่ใชใ นการวจิ ัย ไดแก 1) ชดุ กิจกรรมเพอ่ื ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักเรยี น 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีตอชุดกิจกรรม ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร สถิตทิ ่ีใช ไดแก คาความเทีย่ งตรงเชงิ เน้อื หา คาความยาก ความเช่ือมั่น คาเฉล่ีย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐานและการทดสอบที (t-test) ผลการวิจัยพบวา 1) ชุดกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ประกอบดว ยชดุ กิจกรรม 4 ชุด ไดแก ภาวการณเจริญเตบิ โตตามเกณฑม าตรฐาน การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ภาวะโภชนาการ การเลือกอาหารที่เหมาะสมกบั วัย โดยมีความเหมาะสมอยใู นระดบั มาก 2) คะแนนสอบหลงั เรียนของนักเรยี น สงู กวาคะแนนทดสอบกอนเรยี นอยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 และนักเรียนมีพฤติกรรมดานการบริโภคอาหาร และดา นสขุ อนามัยดีข้ึน และ 3) นักเรยี นมีความพึงพอใจตอการเรียนดว ยชดุ กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนข้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 โดยรวมอยูใ นระดบั มากที่สุด คําสําคัญ : ชดุ กิจกรรม, แบบวดั พฤติกรรม, การบรโิ ภคอาหาร Abstract The purposes of this research were 1) to develop activity packages to change food consumption behavior of Nineth Grade students. 2) to compare students' learning achievement and food consumption behavior, before and after using activity packages and 3) to study students' satisfaction toward activity packages. Sample group was Nineth Grade students in Pathumrat Pittaya School, consisting of 1 classroom. The research instruments were 1) activity packages to change the food consumption behavior 2) achievement test 3) food consumption behavior test. The statistics used were content accuracy, difficulty, confidence, mean, and standard deviation. And the test (t-test). The results of the research revealed that 1) The food consumption behavior packages, consisted of standard growth situations, physical fitness testing, nutritional status, and choosing food suitable for aged 1 นักศกึ ษาปรญิ ญาโท สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อีเมล: [email protected] 2 ผูชว ยศาสตราจารย อาจารยประจําสาขาวชิ าวิจัยและประเมินผลการศกึ ษา คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 3 อาจารยประจําสาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 1 Master Student Program in Research and Evaluation, Faculty of Education, Rajabhat Maha sarakham University, Email: [email protected] 2 Assistant professor, Lecturer in Research and Evaluation, Faculty of Education, Rajabhat Maha sarakham University 3 Lecturer in Research and Evaluation, Faculty of Education, Rajabhat Maha sarakham University
24 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอ ยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 were sitable at a high level of 2) the post-test scores of the students were significantly higher than the pre-test scores at the .05 level and the students had better eating and sanitation behaviors. 3) The students' satisfaction toward learning by using activity packages to change the food consumption behavior of Nineth Grade students were at the highest level. Keywords : Activity packages, Behavior Test, Consumption บทนํา ปจ จบุ ันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ดา นสภาพสงั คม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และความเจริญกาวหนา ดานเทคโนโลยี สิ่งเหลาน้สี ง ผลใหการดําเนินชีวติ ในสังคมมีการแขงขันกนั สงู การดําเนินชวี ติ ของประชาชนจึงปรบั เปล่ียน ตามไปดว ย คนตองทาํ งานมากข้ึนเพื่อความเปนอยูที่ดีของตนเองและครอบครวั ทําใหขาดการดูแลเอาใจใสสขุ ภาพ การจะมสี ขุ ภาพรา งกายท่ีแข็งแรงตองออกกาํ ลังสมํ่าเสมอ พักผอนใหเพยี งพอ และท่สี ําคญั คือ การรับประทานอาหาร รางกายจะตอ งไดรบั พลังงานและสารอาหารในปริมาณท่เี พียงพอและเหมาะสมกบั ความตองการของรา งกาย ปญหาดานสขุ ภาพ เกดิ ข้ึนอยา งตอเนอ่ื ง รวมถงึ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารไมถ ูกตอง ท่ยี งั เปนปญหาการบรโิ ภคผักและผลไมนอย บรโิ ภค หวาน มัน เค็ม มากเกินความตอ งการของรา งกาย ซึง่ จากการศึกษาวิจัยแผนการลงทุนดา นสขุ ภาพในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คม แหงชาติฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2554) พบวาคนไทยมากกวารอยละ 75 บริโภคผักและผลไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน ซง่ึ องคการอนามัยโลก และองคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติกาํ หนดไว (400 กรัมตอ วัน) ภาวะนาํ้ หนักเกินในปจจบุ ันพบไดมากขึ้น จนจัดไดวามีการระบาดไปทั่วโลก สว นใหญไมพ บสาเหตทุ างกาย แตมักเกิดจากพฤตกิ รรมการดาํ รงชวี ิตท่ีไมเหมาะสม เชน รบั ประทานอาหารมากเกิน ออกกําลัง หรอื มีกิจวัตรที่ใชพลังงานนอย จากการสาํ รวจเดก็ วัยเรียนจากการสุมตวั อยางท่ัวประเทศ พบวา ประมาณ 1 ใน 10 มภี าวะโภชนาการเกินหรือโรคอวน โดยมีสาเหตุมาจากพันธุกรรม การเลีย้ งดู ส่ิงแวดลอม ดูโทรทัศน เลน Internet และ game online โดยไมมีการควบคุม โรคที่ตามมาจากภาวะโรคอวนมีหลายโรค เชน เบาหวานชนิดท่ี 2 ซึ่งในวัยรุนไทยสงู เกินกวา 3 เทา ในชวง 5 ปหลงั เปนรอยละ 17.9 ของวยั รุนท้งั หมด เกิดภาวะผิวหนังรอยทับตามขอพับ ความผดิ ปกตขิ องการหายใจโดยมีการหยดุ หายใจเปนชว งระหวา งการนอนหลับ (sleep apnea) และทางดานจิตใจ พบวา คนอว นอาจมีภาวะซมึ เศรา และภูมใิ จในตนเองนอ ยลง สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเด็กอวน มหี ลายประการแตสาเหตุสําคญั ท่ีมผี ลโดยตรง คือ พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไมถูกตองและไมเหมาะสม โดยเฉพาะอาหารท่ีมไี ขมัน และน้าํ ตาลในปรมิ าณที่สูงมากเกินไป นอกจากนพี้ บวา เด็กมักใชเวลาวางสวนใหญในการเลน โทรศัพทมือ และเลนเกมคอมพิวเตอรทาํ ใหเ ด็กรบั ประทานขนมขบเคี้ยว และเคร่อื งดื่มนํ้าหวานไปดวย เด็กจะมีปญหาสุขภาพหลายระบบและเสี่ยงตอการเกดิ โรคไมติดตอเร้อื รงั (NCDs) และปญหา ดานจิตใจสงั คมตามมา การลดอตั ราความเส่ียงตอ การเกิดโรค และผลกระทบทต่ี ามมาจึงจําเปนอยางยงิ่ ท่ีตองหาทางปอ งกัน ควบคุมโรคอวนโดยเนนการควบคุมการบรโิ ภคอาหารที่เหมาะสม และเสรมิ สรา งใหม ีการเคลื่อนไหวรางกาย (สํานักงานกองทุน สนบั สนุนการสรา งเสริมสุขภาพ, 2557 : ออนไลน) พฤติกรรมสุขภาพของเดก็ และเยาวชนมีความเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต แบบแผนการใชช ีวิต พฤติกรรม คานิยม วัฒนธรรมตา งชาติ กระแสการบริโภคนิยม สงผลตอพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนอยางมาก โดยเฉพาะความกาวหนา ทางเทคโนโลยีอยา งรวดเรว็ ทําใหเกิดส่ือใหม ๆ มากมาย ซึ่งสอ่ื ตา ง ๆ ไดพ ัฒนารูปแบบการนาํ เสนอโดยมีเปา หมายในเชิงพาณชิ ย มากยิ่งข้ึน เน่ืองจากการแขง ขันทางการตลาดทส่ี ูง จงึ ทําใหผ ูผลิตและผูจําหนา ยใชการโฆษณาและกลยทุ ธท างการตลาด เพ่ือจงู ใจ ผูบริโภคซอ้ื สินคา และบรกิ ารของตน โดยเฉพาะผลติ ภัณฑอ าหารซง่ึ สรา งรายไดมหาศาลใหแกผูป ระกอบการ ซ่งึ มีการพัฒนา การดาํ เนินการดังกลา วอยางไมหยุดยั้ง ทําใหเด็กและเยาวชนมคี วามเส่ียงตอปญหาสุขภาพ เน่ืองจากการบริโภคอาหารที่ไมมีคุณคา ทางโภชนาการ เชน ขนมกรบุ กรอบ นา้ํ อัดลม เครอ่ื งด่มื ผสมนํา้ ตาลมากเกินความตองการของรางกาย ซึง่ สงผลเสียตอสุขภาพ ท้ังปจ จุบันและในชว งวัยตอ ไปของชวี ติ กลา วคอื อาจทาํ ใหเด็กขาดสารอาหาร และมภี าวะโภชนาการเกิน การเจริญเติบโตชา เจ็บปว ยบอย ขาดความสามารถในการเรียนรูผลสัมฤทธิ์ในการเรยี นต่ํา รวมท้งั มสี มรรถภาพในการทํากิจกรรม และการเลนกีฬา ตาง ๆ (สํานกั งานกองทุนสนบั สนุนการสรา งเสรมิ สุขภาพ, 2557 : ออนไลน) และในอนาคตอาจเกิดผลกระทบตามมา ในดานการเกิดโรคไมตดิ ตอ เรื้อรงั เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และโรคไต เปนตน เนือ่ งจากอาหารดังกลาว มสี ัดสว นของแปง น้าํ ตาล ไขมัน และโซเดียมสงู จากการศึกษาวิจัยหลายชนิ้ แสดงถึงผลที่สอดคลองกันวา เด็กและเยาวชน มีการบริโภคขนมขบเคี้ยวประเภท ขนมกรบุ กรอบ นํา้ อัดลม เคร่ืองดื่มผสมน้ําตาลในสัดสวนท่สี ูง ดังผลการศึกษาของวีระชัย
Journal of Roi Et Rajabhat University 25 Volume 14 No.3 September - December 2020 นลวชัย และคณะ (2560 : 1) พบวานักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 สวนใหญรอ ยละ 62.2 บรโิ ภคขนมขบเคี้ยว น้าํ อัดลม และเครื่องดื่มผสมนํา้ ตาล ซึ่งสอดคลอ งกับผลการศึกษาของ ณรงฤทธ์ิ วุฒิพงศต ระกูล (2550 : 92 ) ทพ่ี บวา นักเรียนรอ ยละ 45.8 รับประทานขนมขบเค้ียวทุกวัน และผลการสํารวจของกรมสนับสนุนบริการสขุ ภาพ ทีพ่ บวา เด็กทกุ กลุมอายุมภี าวะ นา้ํ หนักเกิน และอวนสูงกวาภาวะผอม ทาํ ใหพ บปญหาโรคไมตดิ ตอเร้อื รงั เพิ่มข้ึน ท้ังในเด็กและผูใหญ ปจจัยดังกลา วเปนการบ่ันทอน คุณภาพของทรัพยากรมนุษย ดงั นัน้ การพฒั นาและดูแลพฤติกรรมการบริโภคในเด็ก นอกจากจะเปนการสงเสริมใหเด็ก และเยาวชนมีคุณภาพชีวิตทด่ี ขี ึ้นแลว ยังเปนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหมีความพรอ มทั้งดานรา งกายจิตใจ จากรายงานอัตราความชุกของปญหาทางโภชนาการ (Thai Growth) โรงเรียนปทุมรตั ตพิทยาคม (2561 : 13) พบวา นกั เรยี นมีน้าํ หนักตามเกณฑ รอ ยละ 78.97 น้ําหนักมากกวาเกณฑ รอยละ 14.43 นํา้ หนักคอนขา งมาก รอ ยละ 4.44, นํา้ หนักคอ นขางนอย รอ ยละ 1.55 นํา้ หนักนอยกวา เกณฑ รอยละ 0.72 ซึ่งจากการสังเกตพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน โรงเรยี นปทุมรัตตพ ทิ ยาคม พบวานักเรียนมีพฤติกรรมเสี่ยงจากการบรโิ ภคอาหารท่ไี มป ลอดภยั จากอาหารหนา โรงเรยี นทม่ี ีขาย ในตอนเชา และตอนเย็น เครื่องดืม่ จากรานสะดวกซ้อื ท่ที างโรงเรียนไมสามารถควบคุมได เชน ไกท อด ไกย าง หมูปง ลกู ชิ้นทอด นํ้าหวาน น้าํ อัดลม เปนตน ภาวะโภชนาการเกิน เปนภาวะทีร่ างกายเกบ็ สะสมอาหารที่เหลือจากการนําไปใชประโยชนในแตละวัน อยา งตอ เน่ือง จากอาการแสดงถึงโรคตา ง ๆ ไดแก โรคอว น โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันโลหติ สงู โรคหัวใจขาดเลือด ฯลฯ ในปจจุบันพบวา โรคเหลา น้ี ตอ งใชยารักษาเพอื่ ควบคมุ ตลอดชวี ิต การรักษาดวยยาอยา งเดียวยังไมเพียงพอ จาํ เปนตอ งรักษา โดยการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร การออกกําลังกายควบคูกันไป ผูวจิ ัยในฐานะครูผูสอน ไดตระหนักถึงความสาํ คัญและความจาํ เปนทน่ี ักเรียนตองมีความรูความเขาใจในพฤติกรรม การบริโภคอาหาร เพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรม สงเสริมสุขภาพดานอนามยั สวนบุคคล ดา นอาหารและโภชนาการ การตดิ ตาม ประเมินผลควรมคี วามตอเนอื่ ง ใหกิจกรรมบรรลวุ ัตถปุ ระสงค ผูวิจัยจึงตอ งการพฒั นาชุดกิจกรรม ปรับเปล่ยี นพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 วัตถุประสงค 1. เพ่ือพัฒนาชุดกิจกรรมปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 2. เพอื่ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 กอ นและหลงั เรียนดวยชดุ กิจกรรมปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 3. เพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนดวยชุดกจิ กรรมปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 3 กรอบแนวคดิ และสมมติฐาน ในการวิจัยครง้ั น้ี ผวู ิจัยแสดงกรอบแนวคิดเก่ียวกับทฤษฎีดานพฤติกรรมของการบริโภคอาหารของนักเรียน ตามแนวคิดพฤติกรรม แนวคดิ ทางสาธารณะสุข (เฉลิมพล ตันสกุล, 2543 : 9) มาประยุกตใ ชเ ปนแนวทางในการปรับเปลย่ี น พฤติกรรมสง เสริมสขุ ภาพ ดา นอนามัยสว นบุคคล ดา นอาหารและโภชนาการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยพฒั นา ชุดกิจกรรม ตามทฤษฎขี อง ระพินทร โพธ์ิศรี (2549 : 98) เพอื่ ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี น ประกอบดว ย 4 กิจกรรม ไดแก กิจกรรมที่ 1 เร่ือง ภาวะการเจริญเติบโตตามเกณฑมาตรฐาน กิจกรรมท่ี 2 เรื่อง การทดสอบสมรรถภาพ ทางกาย กิจกรรมที่ 3 เรื่อง ภาวะโภชนาการ และกิจกรรมท่ี 4 เรอื่ ง การเลือกอาหารท่ีเหมาะสมกบั วัย เพ่อื วิเคราะหเปรยี บเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นและแบบวัดพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 กอ นและหลังเรียนดวยชุดกิจกรรม ปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนดวยชุดกิจกรรม โดยแสดงการเช่ือมโยง ความสมั พันธระหวางตัวแปรตา ง ๆ ดังภาพประกอบ 1
26 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 ตัวแปรตน ตัวแปรตาม 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียน ชดุ กิจกรรมเพ่ือปรับเปล่ียนพฤติกรรม การบรโิ ภคอาหารของนกั เรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 3 2. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษา กิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง ภาวการณเ จริญเตมิ โต ตามเกณฑมาตรฐาน ปท ี่ 3 3. ความพงึ พอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 3 กจิ กรรมที่ 2 เรื่อง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมท่ี 3 เร่อื ง ภาวะโภชนาการ กิจกรรมที่ 4 เรื่อง การเลือกอาหารที่เหมาะสมกบั วยั ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย วิธีดําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลมุ ตัวอยา ง 1.1 ประชากร คือ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 โรงเรยี นปทมุ รตั ตพทิ ยาคม สังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 จํานวน 11 หอง จํานวน 320 คน 1.2 กลุมตัวอยาง คอื นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3/3 โรงเรียนปทุมรตั ตพิทยาคม สงั กัดสาํ นักงานเขตพื้นที่ การศึกษามธั ยมศึกษาเขต 27 จาํ นวน 30 คน ไดมาจากการใชการสุมแบบกลุม (Cluster Random Sampling) 2. เครื่องมือทีใ่ ชใ นการวิจัย เครื่องมือทใี่ ชในการวิจยั ครัง้ นี้ไดแก 2.1 ชุดกิจกรรมเพ่ือปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรียน ดังน้ี กิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง ภาวะการเจริญเติบโตตามเกณฑม าตรฐาน กิจกรรมที่ 2 เรอ่ื ง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมท่ี 3 เร่ือง ภาวะโภชนาการ กิจกรรมที่ 4 เร่ือง การเลือกอาหารทเ่ี หมาะสมกบั วัย 2.2 แบบประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรมเพ่ือปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี น 2.3 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน เรือ่ ง พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร รายวชิ าสขุ ศึกษา เปนแบบเลือกตอบ 4 ตวั เลอื ก จาํ นวน 30 ขอ 2.4 แบบวัดพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรียน เปนแบบมาตรประมาณคา 5 ระดบั จาํ นวน 30 ขอ 2.5 แบบวัดความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนดว ยชุดกิจกรรม ปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร ของนักเรยี นชั้นมัยธมศึกษาปท ่ี 3 เปนแบบวัดมาตราสว นประมาณคา 5 ระดับ จาํ นวน 15 ขอ 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล การวิจัยคร้งั นี้ ผวู ิจัยเปนผูดาํ เนนิ การเก็บรวบรวมขอ มูลตามข้ันตอน ดังนี้ 3.1 จัดเตรียมเคร่ืองมอื ในการวิจัยใหเพียงพอกบั จาํ นวนกลุมตัวอยา ง ขอหนังสอื แนะนาํ ตวั จากคณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม เพื่อขอความอนเุ คราะหในการเก็บรวบรวมขอ มลู ผอู าํ นวยการโรงเรียนที่เปนนักเรียน กลุมตวั อยา ง 3.2 สง หนงั สอื ขอความอนุเคราะห ไปยังกลุมโรงเรยี นทเ่ี ปนกลุมตัวอยา ง 3.3 ดําเนนิ การเกบ็ ขอ มลู ดว ยตัวผูวจิ ัยเอง ตามข้ันตอน ไดแก การทดสอบกอ นเรียน การทดลองใชชุดกิจกรรม เพื่อปรับเปลยี่ นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรียน และการทดสอบหลังเรียน 3.4 ใหนักเรียนกลมุ ตัวอยาทาํ แบบวดั ความพึงพอใจ ตอ ชุดกิจกรรมปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 3 3.5 นําคะแนนท่ีไดมาวิเคราะหหาคา ทางสถติ ิ และรายงานผลการวิจัยตอไป
Journal of Roi Et Rajabhat University 27 Volume 14 No.3 September - December 2020 4. การวิเคราะหข อมลู การวจิ ัยคร้ังน้ี ผวู จิ ยั ใชว ิธีการวิเคราะหขอมลู ดังนี้ 4.1 การพิจารณาความเหมาะสมของชุดกิจกรรมปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 3 โดยใชแบบประเมินความเหมาะสมของชุดกิจกรรม วิเคราะหขอ มลู โดยใชสถิติ คาเฉล่ีย และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 4.2 การเปรียบเทียบพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 3 กอ นและหลงั เรยี น ดวยชดุ กิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 3 โดยใชแบบทดสอบแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร วิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติ การทดสอบที (t-test) 4.3 การวิเคราะหระดบั ความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีเรยี นดวยชุดกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรียนขั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 โดยใชแ บบวัดความพงึ พอใจของนักเรยี นที่มีตอ การเรียนดว ยชุดกจิ กรรม วิเคราะหขอมูล โดยใชส ถิติ คา เฉล่ีย และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน สรปุ ผล 1. ผลการพฒั นาชุดกิจกรรมปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ผวู จิ ัย ไดสรา งขึ้นตามกระบวนการและข้ันตอน ชุดกิจกรรมปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 ประกอบดว ย สาระสําคญั จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กระบวนการเรียนรู ส่ือ–อปุ กรณ การวดั ผลประเมินผล ประกอบดว ยชุดกิจกรรม 4 กิจกรรม ไดแก กิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง ภาวการณเจรญิ เตบิ โตตามเกณฑมาตรฐาน กิจกรรมท่ี 2 เรื่อง การทดสอบสมรรถภาพทางกาย กิจกรรมที่ 3 เร่ือง ภาวะโภชนาการ กิจกรรมท่ี 4 เรอ่ื ง การเลอื กอาหารท่ีเหมาะสมกับวัย โดยประเมินความเหมาะสมโดยผูเ ชีย่ วชาญ 5 ทาน ผลการประเมิน แสดงดังตาราง 1 ตาราง 1 ความเหมาะสมของชุดกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3 รายการประเมนิ X̅ S.D. ระดบั ความพึงพอใจ 1. สาระสาํ คัญ 4.50 0.55 มากที่สุด 2. จุดประสงคการเรียนรู 4.53 0.55 มากท่ีสุด 3. สาระการเรียนรู 4.47 0.55 มาก 4. กระบวนการเรียนรู 4.45 0.52 มาก 5. สื่อ–อุปกรณ 4.57 0.55 มากทสี่ ดุ 6. การวัดผลประเมินผล 4.45 0.52 มาก 4.50 0.54 มากท่สี ุด โดยรวม จากตาราง 1 พบวา ชดุ กิจกรรมปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 3 มีความเหมาะสมโดยรวม อยูในระดับมากที่สุด (X̅= 4.50 และ S.D. = 0.54) เมอ่ื พิจารณารายดา นพบวา แตละดาน มีความเหมาะสมอยูในระดับมากถงึ มากทีส่ ุด ไดแก ดานสอ่ื –อปุ กรณ อยูในระดับมากทีส่ ุด (X̅= 4.57 และ S.D. = 0.55) ดา นจุดประสงคการเรยี นรู อยูในระดบั มากทีส่ ุด (X̅= 4.53 และ S.D. = 0.55) ดา นสาระสาํ คัญ อยใู นระดบั มากท่ีสุด (X̅= 4.50 และ S.D. = 0.55) ดานสาระการเรียนรู อยใู นระดับมาก (X̅= 4.47 และ S.D. = 0.55) ดานกระบวนการเรยี นรู อยใู นระดบั มาก ทส่ี ุด (X̅= 4.45 และ S.D. = 0.55) ดานการวัดผลประเมินผล อยูใ นระดับมากท่ีสุด (X̅= 4.45 และ S.D. = 0.52) ตามลาํ ดับ
28 วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 2. ผลการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 กอนและหลังเรียน ดวยชดุ กิจกรรมปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 ตาราง 2 ผลการผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนดวยชุดกิจกรรมปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร การทดสอบ n X̅ S.D. df t p คะแนนทดสอบกอ นเรียน 30 16.10 5.714 คะแนนทดสอบหลังเรยี น 30 27.07 8.276 29 28.71* .00 จากตาราง 2 พบวา นักเรียนที่ใชชุดกิจกรรมมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเร่อื ง พฤติกรรมการบริโภคอาหาร รายวิชา สขุ ศึกษา หลังเรียนสงู กวากอนเรียนอยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่ี .05 ซงึ่ เปนไปตามสมมติฐานขอท่ี 2 ท้ังนอ้ี าจเปนเพราะ ชดุ กิจกรรมทส่ี นองตอบสนองตอ ความสนใจและความสามารถของนักเรียน ทาํ ใหนักเรียนมีความสนใจ กระตือรอื รนในการเรียน มีสว นรว ม และกลาแสดงออกในการรวมกิจกรรมในการสบื เสาะหาความรู โดยท่นี กั เรียนไดดาํ เนินกิจกรรมดวยตนเอง คอื นักเรียนสามารถทดสอบตวั เองดูกอนวา มีความสามารถอยูใ นระดับใด หลงั จากน้ันก็จะเรม่ิ ตนเรียนในสิ่งท่ีเขาไมรู เปนการทาทายใหเกดิ ความรู เมื่อเรยี นจบแลว นักเรียนสามารถทดสอบความรูความเขา ใจดวยตนเองได และทราบผลการเรียน ของตนเองไดทนั ทีตลอดเวลา ผสู อนก็มีเวลาใหคาํ ปรึกษากับผูมปี ญหาในขณะท่ีใชชุดกิจกรรม 3. ผลการวเิ คราะหระดบั ความพงึ พอใจของนักเรยี นที่เรียนดวยชุดกิจกรรมปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรยี นขั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3 ตาราง 3 ผลการวเิ คราะหระดบั ความพึงพอใจของนักเรียนทมี่ ีตอกิจกรรมปรบั เปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร รายการประเมนิ X̅ S.D. ระดับความ 1. คาํ ช้แี จงของกิจกรรมการเรียนรูชัดเจน เหมาะสม ทาํ ใหฉันเขา ใจงา ย พึงพอใจ 2. รปู แบบชุดกิจกรรม นา สนใจสําหรับฉัน 4.61 0.45 มากทสี่ ุด 3. การไดร ับคาํ แนะนําและคาํ ชมเชยทาํ ใหกลุมฉันทาํ กิจกรรมไดสาํ เร็จ 4.45 0.51 มาก ทําใหเกดิ ความสุขและความพอใจ 4.68 0.45 มากทสี่ ุด 4. ส่อื ในชดุ กิจกรรมหลากหลาย นาสนใจ สนุก ทาํ ใหฉันอยากเรยี น 4.52 0.51 มากท่ีสุด 5. ฉนั มีเวลาเพียงพอ เหมาะสม สาํ หรับการทาํ กิจกรรม 4.74 0.45 มากทส่ี ุด 6. เนื้อหาที่เรียนมีความนาสนใจ เหมาะสมกับฉนั 4.52 0.51 มากท่สี ุด 7. ชุดกิจกรรมสง เสริมใหฉันไดเรียนรูดว ยตนเอง สนุกในการทาํ กิจกรรม 4.81 0.45 มากท่สี ุด 8. ชดุ กิจกรรมทําใหฉนั เขา ใจเรื่องทเ่ี รียนงา ยข้ึนและพอใจทจี่ ะทํากิจกรรมตอไป 4.45 0.71 9. กิจกรรมการเรียนรูเหมาะสมกับความสามารถของฉัน 4.00 0.38 มาก 10. ฉันมีสว นรวมในกิจกรรมการเรยี นรูดวยกระบวนการกลมุ ทําใหฉันสนุกสนาน 4.71 0.51 มาก 11. ฉันฝกปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นรูจากงา ยไปหายาก ทําใหต ่ืนเตนในแตละกิจกรรม 4.24 0.41 มากที่สุด 12. ฉันสามารถหาแนวทางแกปญหาอยางเปนระบบจากการเรียนรูดวยชดุ กิจกรรม มาก กิจกรรมมีความทา ทายทําใหเ กิดความสนุกและนาสนใจ 4.71 0.51 มากทส่ี ุด 13. ฉันพอใจท่ีไดท ราบความกาวหนา ของตนเองและของกลุมจากการเขา รว ม 4.55 0.45 มากที่สุด กิจกรรมกลุม 4.58 0.45 มากทส่ี ุด 14. กิจกรรมการเรียนรูชว ยใหฉันประสบผลสาํ เรจ็ ในการเรียนฉันพอใจ ในการพัฒนาท่ีดีขึ้นของตนเอง
Journal of Roi Et Rajabhat University 29 Volume 14 No.3 September - December 2020 ตาราง 3 (ตอ) รายการประเมิน X̅ S.D. ระดบั ความ 15. การเรียนรูด ว ยชุดกิจกรรมฉนั สามารถนําไปประยกุ ตใ ชในชีวติ ประจาํ วัน พึงพอใจ 4.87 4.57 มากท่ีสุด ไดอยางเหมาะสม โดยรวม 4.57 0.48 มากที่สุด จากตาราง พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจตอการเรียนดวยชดุ กิจกรรมปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของนักเรยี นข้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 โดยรวมอยใู นระดับมากท่สี ุด (X̅= 4.57 และ S.D. = 0.48) ซ่ึงคาดงั กลา วเปนไปตามเกณฑ ระดับความพึงพอใจที่ยอมรบั ได วาชุดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนขัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ทําใหนักเรียนมีความพึงพอใจอยใู นระดับมากท่ีสุด อภิปรายผล 1. ผลการพัฒนาชุดกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ผูวิจัยไดสรางขน้ึ ตามกระบวนการและขั้นตอน ชุดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 3 ประกอบดว ย สาระสาํ คญั จุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กระบวนการเรยี นรู สือ่ –อุปกรณ การวัดผลประเมินผล ประกอบดว ย ชดุ กิจกรรม 4 กิจกรรม ไดแก กิจกรรมที่ 1 เร่ือง ภาวการณเจริญเติบโตตามเกณฑมาตรฐาน กิจกรรมที่ 2 เรื่อง การทดสอบ สมรรถภาพทางกาย กิจกรรมที่ 3 เรอ่ื ง ภาวะโภชนาการ กิจกรรมท่ี 4 เร่ือง การเลือกอาหารท่เี หมาะสมกบั วัย ผลการหา คุณภาพชุดกิจกรรมปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาตอนตนเสร็จแลวจึงนาํ ชดุ กิจกรรม ไปใหผูเช่ยี วชาญ จํานวน 5 ทาน พจิ ารณาความเหมาะสม โดยมผี ลการพิจารณาและผลการประเมินความเหมาะสมของ ชุดกิจกรรม พบวา มีคาเฉล่ียเทา กับ 4.50 ความเหมาะสมในระดบั มาก สอดคลอ งกบั งานวิจัยของปณสิ รา จันทรป าละ (2553 : 76) ทาํ การศึกษาเรือ่ ง การพัฒนาชดุ กิจกรรมสง เสรมิ การคิดวิเคราะห กลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย สําหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปท ี่ 6 พบวา ชุดกิจกรรมสงเสริมการคิดวิเคราะห มีความเหมาะสมอยใู นระดับมาก 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนและพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 3 กอ นและหลังเรียน ดวยชดุ กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 พบวานักเรียน ท่ใี ชชุดกิจกรรมมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น เรื่องพฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร รายวิชาสขุ ศึกษา หลงั เรียนสูงกวากอ นเรียนอยางมี นัยสาํ คัญทางสถิติที่ .05 ซ่งึ เปนไปตามสมมตฐิ านขอ ที่ 2 เนอ่ื งจากกอนเรียนนั้นนกั เรยี นยังขาดความรูความเขา ใจเก่ียวกับ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร จึงสงผลใหผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นดว ยชุดกิจกรรมปรบั เปลยี่ นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท ่ี 3 สูงขึ้นกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดบั .05 แสดงใหเห็นวาชุดกิจกรรม มีสว นชว ยใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทส่ี ูงข้ึน สอดคลองกับงานวิจัยของ ศิรเมศร ศริ ิศักดธิ์ นากลุ (2556 : 75) ไดทําการ วจิ ัยเรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมการเรยี นรโู ดยใชกระบวนการคดิ อยางมีวิจารณญาณท่มี ีตอพฤติกรรมการบริโภคท่ียง่ั ยืน ของนักเรียนมัธยมศึกษา ผลการวิจัยพบวา นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 1 กลุมทดลอง ทไ่ี ดรับการจดั กิจกรรมการเรียนรโู ดยใช กระบวนการคดิ อยา งมีวิจารณญาณ มีคะแนนพฤติกรรมการบริโภคที่ยงั่ ยืนสูงกวานักเรียนกลมุ ที่ไดรบั การจัดกิจกรรมการ เรียนรูแบบปกติ อยา งมีนยั สาํ คญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .05 และสอดคลองกบั วีระชยั นลวชัยและคณะ (2560 : 169) ไดทําการวิจยั เร่อื ง การพัฒนาพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรียนในโรงเรียน อย.นอย เพื่อลดปจจัยเสีย่ งตอ โรคไมต ิดตอเรอ้ื รงั (NCDs). พบวาภายหลงั การเขารวมกิจกรรมกระตนุ เตอื นพฤติกรรม (booster Intervention) นักเรยี นกลมุ ทดลองมีความรูเก่ียวกับ การบริโภคอาหารปลอดภัย มีการรบั รูโอกาสเส่ียงจากการบริโภค อาหารไมปลอดภัยมากกวานักเรียนกลุมควบคุม และหลงั การทดลองนักเรียนกลุมทดลองมีการรบั รู อปุ สรรคของการบริโภคอาหารปลอดภยั นอ ยกวา นักเรียนกลุมควบคุม และมีพฤติกรรม การบริโภคอาหารปลอดภัยมากกวา นักเรยี นกลุมควบคุม อยางมนี ยั สาํ คัญทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นท่ีมีตอชดุ กจิ กรรม ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาตอนตน พบวาระดับความพงึ พอใจของนักเรียนที่มีตอ ชุดกิจกรรม โดยภาพรวมอยูในระดับมากทส่ี ุด และเพ่อื พิจารณารายขอ พบวา นักเรียน
30 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ ยเอด็ ปท่ี 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 มีความพึงพอใจในแตละขอ คาํ ถามอยใู นระดับมากถงึ มากทส่ี ุด ซึง่ เปน ไปตามสมมตฐิ านขอ ที่ 3 ทัง้ นี้เน่ืองจากผวู ิจยั จัดกิจกรรม การเรยี นการสอนทเี่ นนผูเรียนเปนสําคัญ กลาวคอื ใหผูเรียนไดป ฏบิ ตั จิ ริง ไดทดลองตามความสนใจของผูเรียน จงึ ทําใหผเู รียน มีสวนรว มในการปฏบิ ตั อิ ยางสนุกสนาน ไดเ กิดความเบื่อหนา ย สอดคลองกับงานวิจัยของภัทรลดา ประมาณพล (2560 : 85) ไดศึกษางานวิจัยเร่ืองการพัฒนาชุดกิจกรรม เรื่อง จาํ นวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหาร สําหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษา ปท ี่ 6 โดยใชเทคนิค TAI พบวา ความพึงพอใจตอชุดกิจกรรม เรื่องจาํ นวนนบั และการบวก การลบ การคูณ การหาร โดยใชเทคนิค TAI มีคา เฉล่ีย 4.46 ซึ่งมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก และยังสอดคลองกบั งานวิจัยของ สถาพร พลราชม (2555 : 91) ไดศกึ ษา การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอน วิทยาศาสตรโ ดยใชแหลงเรียนรใู นทองถ่ินเพ่อื เสริมสรางความสามารถในการคิดแกป ญหา และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที่ 6 พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจตอชุดกิจกรรมการเรียนการสอน วทิ ยาศาสตรโดยใชแหลง เรียนรใู นทอ งถ่นิ อยใู นระดบั มากที่สุด มีคาเฉล่ยี โดยรวมเทากบั 4.53 ขอ เสนอแนะ 1. ขอ เสนอในการนาํ ไปใช 1.1 กอ นนําชุดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารไปใช ผูป ระเมินควรมคี วามรูความเขา ใจ ในข้ันตอน รปู แบบของชดุ กิจกรรม เพือ่ การประเมินจะไดมีประสิทธิภาพสงู มากที่สดุ 1.2 กอ นนาํ ชุดกจิ กรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารไปใช ตองชี้แจงใหนักเรียนทราบเก่ียวกบั รายละเอียดของชุดกิจกรรม อยา งชัดเจน เพื่อการประเมินจะสอดคลอ งกบั ส่ิงท่ปี ฏิบตั ิมากทส่ี ุด 1.3 ควรแบงการประเมินเปนระยะ ๆ เพ่ือใหนกั เรียนไดร บั ผลสะทอนและนาํ มาปรบั ปรุงแกไ ขใหถ ูกตอ งได และควรมีการสรา งชุดกิจกรรมปรับเปล่ียนพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารและเกณฑการประเมินใหละเอยี ดมากยิ่งขึ้น 2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังตอไป 2.1 ควรมีการพัฒนาชุดกิจกรรมปรับเปล่ยี นพฤติกรรมการบริโภคอาหารในระดบั ชัน้ อืน่ เพอ่ื ปรบั เปล่ยี น พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักเรียนเรียนระดบั ช้ันอ่ืน ๆ ดว ย 2.2 ควรมีการวิจยั เก่ยี วกบั พฒั นาการดา นโภชนาการของนักเรยี น หลังจากไดทาํ การทดลองใชกิจกรรม ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร เอกสารอางองิ เฉลิมพล ตนั สกุล. (2543). พฤติกรรมศาสตรสาธารณสขุ (พิมพคร้งั ที่ 3). กรงุ เทพฯ: สหประชาพาณิชย. ณรงฤทธิ์ วุฒพิ งศตระกูล. (2550). การพัฒนาการลดพฤตกิ รรมการบริโภคขนมขบเค้ยี วของนักเรยี นชวงช้ันที่ 2 โรงเรียนวัดโคกงาม อาํ เภอบานหมอ จงั หวัดสระบุร.ี วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชายุทธศาสตรการพัฒนา. ลพบรุ ี: มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตร.ี ปณสิ รา จันทรป าละ. (2553). การพัฒนาชุดกิจกรรมสง เสริมการคิดวเิ คราะห กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย สําหรบั นักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน. พิษณุโลก: มหาวิทยาลยั นเรศวร. ภัทรลดา ประมาณพล. (2560). การพัฒนาชุดกจิกรรม เร่ืองจาํ นวนนบั และการบวกการลบ การคูณ การหารสําหรบั นักเรยี น ช้นั ประถมศึกษาปที่ 6 โดยใชเ ทคนิค TAI. วิทยานิพนธ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน. จันทบุร:ี มหาวิทยาลัยราชภฏั รําไพพรรณี. ระพินทร โพธ์ิศร.ี (2549). การสรา งชดุ กิจกรรมการเรยี นรู. อุตรดิตถ: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ. โรงเรียนปทมุ รัตตพ ทิ ยาคม. (2561). สรปุ ผลการตรวจระบบ Thai Growth. รอ ยเอด็ : โรงเรียนปทุมรัตตพ ิทยาคม. วรี ะชยั นลวชัย และคณะ. (2560). การพฒั นาพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของนักเรยี นในโรงเรยี น อย.นอ ยเพือ่ ลดปจจัยเสี่ยง ตอโรคไมตดิ ตอ เรอ้ื รัง (NCDs). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสขุ . ศริ เมศร ศริ ิศักด์ิธนากลุ . (2556). ผลของการจดั กิจกรรมการเรียนรูโดยใชกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณท่ีมีตอ พฤติกรรม การบริโภคท่ยี งั่ ยืนของนักเรยี นมธั ยมศึกษา. วิทยานิพนธ ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการสอนสังคมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย.
Journal of Roi Et Rajabhat University 31 Volume 14 No.3 September - December 2020 สถาพร พลราชม. (2555). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตรโดยใชแหลง เรียนรใู นทอ งถิ่น เพื่อเสรมิ สราง ความสามารถในการคิดแกปญหาและผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 6. วิทยานพิ นธ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลกั สูตรและการสอนวิทยาศาสตร. สกลนคร: มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร. สาํ นักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสขุ ภาพ. (2557). บรโิ ภคอาหารถกู ตองลดปญหาดา นสขุ ภาพคนไทย. สืบคนเม่ือ 23 มิถนุ ายน 2562, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/19644-ปรับวิถีชีวิตสมดุล+ หางไกล’โรคไมต ิดตอ.html สํานักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา งเสริมสุขภาพ. (2557). สถานการณการบริโภคผักและผลไมข องคนไทย. สบื คนเมื่อ 23 มิถนุ ายน 2562, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/19367-สถานการณการบริโภค ผกั และผลไมของคนไทย.html
32 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด ปท ่ี 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 การพัฒนาหลกั สูตรฝก อบรมการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรับครผู สู อน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา สังกดั สํานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 1 Development of a Training Curriculum in Stem Education Learning Management for Teachers at an Opportunity Expansion School under the Office of Sakon Nakhon Elementary Education Area 1 เจษฎา ทองกันทม1, พรเทพ เสถยี รนพเกา2 และ วาโร เพ็งสวัสด์ิ3 Received : 2 ต.ค. 2562 Jedsada Thongkantom1, Pornthep Sathiennoppakao2 and Waro Pengsawat3 Revised : 6 มี.ค. 2563 Accepted : 6 มี.ค. 2563 บทคดั ยอ การวิจัยครง้ั น้ีมีความมุงหมาย 1) เพอ่ื พัฒนาหลักสตู รฝก อบรมการจัดการเรียนรูต ามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรับครูผูสอนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษาสังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 1 2) เพ่ือศึกษา ประสิทธิภาพของหลกั สูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรตู ามแนวทางสะเต็มศึกษา การดาํ เนินการวิจัยแบงออกเปน 2 ระยะ ดงั น้ี ระยะที่ 1 การพฒั นาหลักสูตรฝกอบรม และระยะที่ 2 การประเมินประสิทธภิ าพและการปรบั ปรุงหลักสูตร กลมุ เปา หมาย ไดแ ก ครูผูส อนโรงเรยี นบา นมวงวิทยา อาํ เภอกุสุมาลยจ ังหวดั สกลนคร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 ใชวิธีเลอื กแบบ เจาะจง สถิติทใี่ ชในการวิเคราะหขอมูล ไดแ ก รอยละ คา เฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสถติ ิทดสอบที ผลการวิจัยพบวา หลักสตู รฝกอบรมการจัดการเรียนรตู ามแนวทางสะเต็มศึกษา สาํ หรับครูผสู อนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา มี 5 องคป ระกอบ คอื 1) หลักการและเหตผุ ล 2) จุดมงุ หมายของหลักสูตร 3) โครงสรางเนอ้ื หา 4) กิจกรรมการฝกอบรม 5) การวัดและประเมินผล และประสทิ ธภิ าพของหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรยี นรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา พบวา 1) ความรูความเขาใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา หลังฝกอบรมสงู กวากอ นฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติทีร่ ะดับ .01 2) ทักษะการปฏิบัตงิ านการจัดการเรยี นรตู ามแนวทางสะเตม็ ศึกษาของครูผูส อน อยูในระดับดมี าก และ 3) ความพงึ พอใจของครผู สู อนท่ีมตี อหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา อยูในระดบั มากท่ีสดุ คําสําคัญ : สะเต็มศึกษา, หลักสตู รฝกอบรม, โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา Abstract The purposes of this research were : 1) to develop a training curriculum in STEM education learning management for teachers at an opportunity expansion school under the Office of Sakon Nakhon Elementary Education Area 1 and 2) to study the efficiency of the training curriculum in STEM education learning management. The conduction of this research was divided into two phases. Phase 1 was the development of a training curriculum . Phase 2 was the evaluation and improvement of the training curriculum. The target group consisted of 30 teachers at Banmuangwittaya School, Kusuman district, 1 นักศึกษาหลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวตั กรรมการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร อเี มล: [email protected] 2 ดร.,อาจารยป ระจําคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 3 รองศาสตราจารย ดร., อาจารยป ระจําคณะครศุ าสตร มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร 1 Master Student Program in Educational Administration Innovation, Faculty of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University, Email: [email protected] 2 Dr., Lecturer in Faculty of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University 3 Assosiate Professor Dr., Lecturer in Faculty of Education, Sakon Nakhon Rajabhat University
Journal of Roi Et Rajabhat University 33 Volume 14 No.3 September - December 2020 Sakon Nakhon province in the second semester of academic year 2018. These participants were selected by purposive sampling. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and t-test for dependent samples. The findings were as follows: The training curriculum in STEM education learning management for teachers at the opportunity expansion school consisted of five components: 1) the rationale, 2) objectives of the training curriculum, 3) content structure, 4) training activities and 5) measurement and evaluation. The efficiency of the training curriculum in STEM education learning management for teachers at the opportunity expansion school revealed that 1) knowledge and understanding in STEM education learning management of the teachers after the training was higher than before the training with statistically significant difference at .01 level, 2) skills of teachers in practicing STEM education learning management were at a very good level, and 3) teachers’ satisfaction toward the training curriculum was at the highest level. Keywords : STEM education, training curriculum, an opportunity expansion school. บทนาํ สะเต็มศึกษาเปนหลักสตู รโดยการบูรณาการการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและกระบวนการ ทางวศิ วกรรมศาสตร เพอื่ เนนการนําความรไู ปใชแกป ญหาในการดาํ เนินชวี ิต รวมท้ังเพอื่ ใหส ามารถพัฒนากระบวนการ หรือผลผลิตใหมท ี่เปน ประโยชนตอการดาํ เนินชีวิตและการประกอบอาชพี ในอนาคต (นสั รินทร บือซา, 2558 : 10) นอกจากนั้นสะเต็มศกึ ษาจะทําใหผเู รียนเกิดพัฒนาการดา นตาง ๆ อยา งครบถวน สอดคลองกับแนวการพัฒนาคนใหม ีคณุ ภาพ ในศตวรรษที่ 21 ทัง้ ดา นปญ ญา ดานทักษะการคิด และทักษะอื่น ๆ มาใชใ นการแกป ญ หาการคนควา สรา ง และพัฒนาคดิ คน สิง่ ตางๆ ในโลกปจจบุ ัน การเนน ความเขาใจ ความทา ทาย ความสรางสรรค ความแปลกใหม และการแกปญหาอยางมีความหมาย ของบทเรยี นในสะเต็มศึกษาจงึ เหมาะที่จะทาํ ใหเยาวชนไทยรุนใหม เกดิ การเรยี นรูและอยูในโลกแหง อนาคตไดอยา งแทจรงิ (พรทพิ ย ศิรภิ ัทราชัย, 2556 : 54) การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา นับวามีความสําคัญยิง่ เพราะเปนผูท่รี บั ผิดชอบจัดการศึกษาของชาติโดยตรง จึงตอ งไดรบั การพฒั นาใหเปน ผูท่มี ีความรู ความสามารถและเทคนคิ วธิ ีในการปฏบิ ตั ิวชิ าชีพท่ยี ึดผูเรียนเปนศูนยกลาง (Learner-Center) กระบวนการนําหลักสตู รไปปฏบิ ตั ิจรงิ ใหบ รรลผุ ล จึงเปนข้ันตอนสาํ คัญที่ครจู ะตองดําเนินการใหผูเรยี น ไดพ ัฒนาขีดความสามารถของตนไดเต็มศกั ยภาพ มีความสมดุลทั้งทางรางกาย ปญญา จติ ใจ และสังคม ใหเ ปนผรู ูจักคิดวิเคราะห ใชเ หตุและผลเชงิ วทิ ยาศาสตร มีความคิดรวบยอด รักการเรยี นรู รวู ิธกี ารและสามารถเรียนรูไดดวยตวั เอง มีเจตคตทิ ่ดี ี มีวินัย มีความรบั ผิดชอบ และมีทักษะจาํ เปนตอ การพฒั นาตน พฒั นาอาชีพ และดํารงชีวิตอยใู นสังคมไดอยางมีความสขุ (ชนิตา รักษพ ลเมือง, 2557 : 135-136) จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วของกบั การจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา มวี ธิ ีการพัฒนาบุคคลากรที่หลากหลาย เชน พัฒนาหลักสูตรเพือ่ ฝกอบรม การศึกษาดูงาน การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการ การอภปิ รายกลุม การสัมมนา การระดมสมอง การแสดงบทบาทสมมติ การสาธิต เปนตน แตว ิธีท่ีนิยมใชและไดผลดี คือ การสราง หรือพัฒนาหลักสูตรเพื่อฝกอบรม เพราะเปนเครื่องมือท่ถี า ยทอดเจตนารมณ สกู ารปฏบิ ัติเปนส่ิงที่นาํ เอาความมุงหมาย และนโยบายการศึกษาไปแปลงเปนการกระทาํ พื้นฐานในโรงเรียน หรอื กลา วไดว าเปนหวั ใจของการศกึ ษา (ธํารง บวั ศรี, 2542 : 149) สวนการฝกอบรมเปน กระบวนการที่จะเพ่ิมพูนความรู ทักษะและความสามารถของบคุ คลในสังคมใดสังคมหน่ึง เพ่ือเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคลไปในทิศทางที่ตองการ เปนการเรียนการสอนชนิดเจาะจง มีเปาหมายกําหนดเฉพาะอยา งชัดเจน (Flippo, 1970 : 243) จากผลการประเมินท่ปี รากฏในรายงานประจาํ ปของ World Economic Forum ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น ของนักเรียนไทยสว นใหญ โดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ยังไมดีเทา ท่ีควร ผูเรียนขาดทักษะการคิด การสอนในปจจุบัน มงุ เนนเพียงแตการใหความรมู าก เพ่อื ใชใ นการสอบแตไมสอนใหนักเรียนไดเกิดทกั ษะการคดิ ไมมีการเชอ่ื มโยงความรทู มี่ ี ไปใชใ นการแกปญหาทพ่ี บในชวี ิตประจาํ วัน (นงนชุ เอกตระกลู , 2557 : ออนไลน) จากปญหาการเรียนวิทยาศาสตร ของนักเรยี นไทย สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) เปดเผยผลการสอบวิทยาศาสตร ในโครงการ
34 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอยเอด็ ปท ี่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 ประเมินผลนักเรยี นนานาชาติ (PISA) ในป 2015 พบวานักเรียนไทยมีผลการประเมินมีแนวโนมลดลง เมอ่ื เทยี บกับป 2012 คะแนนเฉล่ยี 421 คะแนน เมื่อเทียบกับป 2012 คะแนนเฉล่ยี 444 คะแนน ลดลง 23 คะแนน ซงึ่ ต่ํากวา คา เฉล่ยี ของ OECD เม่ือเทียบกับป 2012 (สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2558 : 4-18) การจัดการเรยี นรูตามแนวสะเตม็ ศกึ ษา ผสู อนสามารถจัดการเรียนรูโดยใชวิธีการจัดการเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Learning) ซ่งึ เปนการเรียนรทู ี่ใหผเู รียนไดเผชญิ ปญ หาและแกป ญหาจากสภาพจริง โดยคํานึงถงึ บรบิ ทแวดลอม ทส่ี ัมพันธกับความเปน จริง ซ่งึ เปนการเรียนรทู ี่มีความหมายตอผูเรียน สอดคลองกับงานวิจัยของ จารีพร ผลมูล (2559 : 1-13) ทีพ่ บวาการจดั การเรียนรูดว ยหนวยบูรณาการแบบสะเต็ม มุง สง เสรมิ การพัฒนาสมองซีกซายและซีกขวาใหเกิดความสมดลุ เกิดความคงทนในการเรยี นวิทยาศาสตร โดยคํานึงถึงศักยภาพในการเรียนรขู องนักเรียนแตละคน จึงมีวิธีการสอนที่หลากหลาย เพื่อสนองความตองการของนักเรียนท่ีแตกตางกัน การสง เสริมใหผูเ รยี นมที ักษะการคิดข้นั สูง การแกปญ หา การคดิ อยางมี วิจารณญาณ และการตัดสินใจ รวมทั้งสรา งองคค วามรูใหม ซ่ึงเกบ็ ไวใ นความทรงจาํ ไดยาวนาน และสามารถนาํ ความรทู ี่ไดจาก การคนพบไปประยุกตใชใ นสถานการณตาง ๆ ได (Glazewski & Ertmer, 2010 : 269-282) ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู ท่หี ลากหลายโดยใชกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงมากท่ีสุด เพ่อื ใหส อดคลองกับความหลากหลายทางสติปญญาของนักเรียน อนั สง ผลใหนักเรยี นประสบความสําเร็จในการเรียนไดดีข้ึน จากเหตผุ ลท่ีกลา วมาขางตน ผวู ิจัยจึงสนใจการพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรู ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา สําหรับครผู สู อนซ่งึ เปนผูท่ีมบี ทบาทสําคัญอยา งยิง่ เนือ่ งจากตองมีความรูพ้ืนฐาน และเห็นความสาํ คญั ของการจัดการเรียนรู ตามแนวสะเต็มศึกษา กับครผู สู อนทกุ กลุมสาระการเรียนรู ตองศกึ ษาทาํ ความเขาใจแนวทางการจัดการเรยี นรู ทฤษฎีการเรียนรู ที่ชว ยในการพฒั นาคุณภาพผูเรยี น วิธีการจัดการเรียนรูท่ีหลากหลายท่ีเนนใหผูเรยี นมีความรูความเขา ใจในเรือ่ งท่ีเรียน ทักษะ ในการเรียนรู ท้ังในดานการคิดไปสทู ักษะการปฏิบัติ มีเจตคตแิ ละคานิยมท่ดี งี าม และสามารถพัฒนากิจกรรมการเรียนรู ของตนเองใหมปี ระสทิ ธิภาพมากพอท่จี ะสงผลถงึ ผูเรยี นโดยตรง อีกทง้ั ยังมุงหวังใหหลักสูตรดังกลา วเปนตน ตามแนวทาง ใหกบั ผูทีส่ นใจนาํ ไปใชและพัฒนาตอไป วัตถุประสงค การวิจัยครั้งน้ี ผูวจิ ัยไดกําหนดความมุงหมายของการวิจัย ดงั น้ี 1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรยี นรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สาํ หรบั ครผู ูส อนโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา สังกดั สํานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 2. เพ่ือศึกษาประสทิ ธภิ าพของหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรบั ครผู สู อน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสาํ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ดงั น้ี 2.1 เพอ่ื เปรียบเทียบความรูความเขาใจเก่ียวกบั การจัดการเรยี นรตู ามแนวทางสะเต็มศกึ ษาระหวา งกอนและหลัง ฝก อบรม 2.2 เพื่อศกึ ษาทักษะการปฏิบัตงิ านการจัดเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2.3 เพอ่ื ศกึ ษาความพงึ พอใจของครผู สู อน ตอหลักสูตรการจดั การเรยี นรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา กรอบแนวคดิ และสมมติฐาน กรอบแนวคดิ ของการวิจัยเรอ่ื ง การพฒั นาหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรับครูผสู อนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ผูวิจัยไดศึกษา แนวคิดเก่ียวกับการพฒั นาหลักสูตรฝกอบรมใหตรงตามความตองการจําเปน ของผูเขา รบั การฝกอบรมและบรรลุตามเปา หมาย ของหลักสูตรฝกอบรม และผูว ิจัยไดศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ งกับการจัดการเรียนรูต ามแนวทางสะเต็มศึกษา ดงั ภาพประกอบ 1
Journal of Roi Et Rajabhat University 35 Volume 14 No.3 September - December 2020 หลกั สูตรฝก อบรมการจดั การเรียนรู เนอื้ หา ประกอบดว ย ประสทิ ธภิ าพ ตามแนวทางสะเต็ม ศึกษา 3 หนวยการเรียนรู ดงั นี้ ของหลักสูตรฝกอบรม ประกอบดว ย 1. หนวยการเรียนรูท่ี 1 ประกอบดวย 1. หลกั การและเหตุผล เรอื่ งการพฒั นาความรู 1. ความรูความเขาใจ 2. จดุ มงุ หมาย ความเขา ใจเกี่ยวกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู 3. โครงสรางเนอ้ื หา การจัดการเรยี นรูแบบ ตามตามแนวทาง 4. กิจกรรมการฝกอบรม สะเต็มศึกษา สะเต็มศึกษา 5. การวัดและประเมินผล 2. ทักษะการปฏิบตั งิ าน กระบวนการพฒั นาหลักสตู ร 2. หนวยการเรียนรูท่ี 2 การจัดการเรยี นรู ฝกอบรม ประกอบดว ย เรอื่ งการพฒั นาสมรรถนะ ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ระยะที่ 1 การพฒั นาหลกั สตู ร ดา นการจดั กจิ กรรมสะเตม็ 3. ความพงึ พอใจ ฝกอบรม มี 2 ข้ันตอน ศึกษา ของครูผูสอนที่มีตอ 1. การศึกษาขอ มูลพื้นฐาน หลักสตู รการจัดการเรียนรู ในการพัฒนาหลักสตู ร 3. หนว ยการเรยี นรูท ่ี 3 ตามแนวทางสะเต็มศึกษา 2. การสรา งและพัฒนาหลักสูตร เรอ่ื งการพัฒนาสมรรถนะ ฝกอบรม ดา นการออกแบบกิจกรรม ระยะท่ี 2 การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ สะเต็มศึกษา และการปรับปรงุ หลักสูตรฝก อบรม มี 2 ข้ันตอน 1. การทดลองใชหลักสูตรฝกอบรม 2. การประเมินผลและปรับปรุง หลักสตู รฝกอบรม ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวจิ ัย สมมติฐานของการวิจัย ในการวิจัยครง้ั น้ีไดตัง้ สมมติฐานของการวิจัยไว ดังน้ี 1. ครูผูสอนเขา รบั การฝกอบรมมีความรู ความเขา ใจ เก่ียวกบั การจัดการเรียนรตู ามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) หลงั การฝกอบรมสงู กวา กอ นการฝกอบรม 2. ทกั ษะการปฏบิ ตั งิ านการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา อยใู นระดับดี 3. ความพงึ พอใจของครูผูสอนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาท่ฝี กอบรมดวยหลักสูตรการจัดการเรียนรู ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 อยูในระดบั มาก วธิ ดี ําเนนิ การวิจยั 1. ประชากรและกลุมตัวอยา ง ครูผสู อนโรงเรียนบา นมวงวทิ ยา อําเภอกุสุมาลย จังหวดั สกลนคร สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2561 จํานวน 30 คน
36 วารสารมหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบับที่ 3 กนั ยายน - ธันวาคม 2563 2. เครื่องมือทใี่ ชในการวิจัย ผูวจิ ัยไดพ ฒั นาเคร่ืองมือท่ีใชในการวัดผลและประเมนิ ผลการวิจัย ผานการตรวจสอบจากผูเช่ียวชาญ จํานวน 5 คน ประกอบดวย เอกสารการพฒั นาหลักสูตรฝกอบรม แบบประเมินความรู ความเขา ใจในการจัดการเรยี นรู ตามแนวทางสะเต็มศึกษา แบบประเมินทักษะการปฏิบัติงานการจัดการเรยี นรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา และแบบประเมิน ความพงึ พอใจของครูผสู อนมีตอหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรยี นรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา 3. การเกบ็ รวบรวมขอมูล การดําเนินการวิจัยการพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรบั ครผู สู อน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษามีการดาํ เนินการวิจัย 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การพัฒนาหลักสตู รฝกอบรม มี 2 ข้ันตอน ดงั นี้ 1. การศึกษาขอมลู พ้ืนฐาน แนวคิดทฤษฎี ศึกษาเอกสารแนวคิดทฤษฎแี ละงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ผลท่ีไดจ ากการศึกษานํามาใชเปน ขอมูล ในการกาํ หนดองคประกอบของหลักสูตรฝกอบรม และกาํ หนดหวั ขอประเด็นในการสัมภาษณ 2. การสรา งและพัฒนาหลักสูตรฝกอบรม 2.1 การออกแบบรางหลักสูตรฝกอบรม โดยกาํ หนดองคป ระกอบของหลกั สูตรดงั น้ี หลกั การ และเหตุผล จุดมุงหมาย โครงสรางเนอ้ื หา กิจกรรมการฝกอบรม และการวัดและประเมินผล 2.2 ตรวจสอบคุณภาพความเหมาะสมและความสอดคลอ งของรา งหลักสูตรฝกอบรมและตรวจสอบ คณุ ภาพเครื่องมอื วัดผลประเมินผลของหลักสูตรโดยผูเช่ียวชาญ จํานวน 5 คน ระยะท่ี 2 การประเมินประสิทธภิ าพและการปรับปรงุ หลักสตู รฝก อบรม มี 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การทดลองใชห ลกั สูตรฝกอบรม นําหลักสูตรไปทดลองใชกบั กลุมตวั อยา ง เก็บรวบรวมขอมูล 2. การประเมินผลและการปรับปรุงหลักสูตรฝกอบรม วิเคราะหเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ียความรู ความเขา ใจกอ นและหลังฝกอบรม คะแนนเฉลี่ยทักษะการปฏิบัตงิ าน คะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจตอหลักสูตรฝกอบรม และปรับปรุงหลักสูตรฝกอบรมใหมีความเหมาะสม ไดห ลกั สูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา สําหรับครูผูสอนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา ฉบับสมบูรณ 4. การวิเคราะหข อมลู ผวู จิ ัยนําขอ มูลทเ่ี ก็บรวบรวมไดจากเครือ่ งมอื วัดมาวิเคราะหสถติ ิ โดยใชสถติ ิในการวิเคราะหข อ มูล ไดแก คา รอยละ คา เฉลี่ย ( ) คา เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คา t-test ตามแนวทาง Dependent Samples สาํ หรบั การปรียบเเทียบ ระหวางกอน และหลงั การฝกอบรม สรุปผล การพฒั นาหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรับครูผูส อนโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา สงั กดั สํานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 สรุปผล ไดด งั น้ี 1. ผลการพัฒนาหลกั สตู รฝก อบรม ผลการสรา งโครงรา งหลกั สูตรฝกอบรมการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สาํ หรับครผู สู อน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 สรุปไดดงั นี้ 1.1 ผลการสรา งโครงรางหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรับครูผูสอน โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 มอี งคประกอบของหลักสูตร 5 องคป ระกอบ 1) หลักการและเหตุผล 2) จุดมุงหมายของหลกั สูตร 3) โครงสรางเน้อื หา แบง ออกเปน 3 หนวยการเรียนรู ใชเ วลาฝกอบรม 14 ชัว่ โมง 4) กิจกรรมการฝกอบรม 5) การวัดและประเมินผล ประเมินผลการเรียนรูกอน ระหวา งและหลัง การฝกอบรม ใชเคร่อื งมือวดั ไดแก 1) แบบประเมินความรู ความเขาใจเกยี่ วกบั สะเต็มศึกษา 2) แบบประเมินผลทักษะ การปฏิบัตงิ านครสู ะเต็มศึกษา 3) แบบวัดความพึงพอใจของครูผูสอนตอหลักสูตรการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา 1.2 ผลการตรวจสอบโครงรางหลักสูตรฝกอบรม ผวู ิจัยไดจดั ทําโครงรา งหลักสูตรฝกอบรมใหผ ูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน ตรวจสอบคณุ ภาพหลักสตู รดานความเหมาะสม และความสอดคลองของโครงสรางหลักสูตร ดวยเครื่องมอื ท่ีใช
Journal of Roi Et Rajabhat University 37 Volume 14 No.3 September - December 2020 ในการวจิ ยั คือ คาเฉลี่ย ( X) และสว นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยเปนตามแนวทางสอบถามมาตราสวน 5 ระดบั โดยกาํ หนด คา เฉล่ียของความเหมาะสมท่ีคา เฉลย่ี ต้ังแต 3.50 ขนึ้ ไป และดชั นีความสอดคลอ งมากกวาหรือเทา กับ 0.50 ซง่ึ ในการวิจยั ในครั้งน้ี มีความเหมาะสมภาพรวมอยใู นระดบั มากที่สุด ( X = 4.87) และมีความสอดคลองกันในทุกประเด็น โดยมีคา ความสอดคลอ ง เทากบั 0.80-1.00 ใชได 2. ผลการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของหลักสตู รฝกอบรมการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สาํ หรบั ครผู ูสอนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ผลจากการทดลองใชหลักสูตรฝกอบรม พบวาหลกั สูตรฝกอบรมมคี ณุ ภาพตามเกณฑที่กําหนด ดังนี้ 2.1 ผลการวเิ คราะหเปรียบเทียบคะแนนความรูความเขา ใจ เก่ียวกบั การจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา ระหวางกอ นและหลงั ฝกอบรม ปรากฏดังตาราง 1 ตาราง 1 วเิ คราะหเปรยี บเทียบคะแนนความรคู วามเขาใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรู ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา ระหวา งกอนและหลงั การฝกอบรม จํานวน 30 คน การฝก อบรม n X S.D. df t Sig กอ นฝกอบรม 30 13.50 2.921 29 31.789** 0.000 หลังฝกอบรม 30 22.17 2.422 ** มีนัยสาํ คัญทางสถติ ิท่ีระดบั .01 จากตาราง 1 พบวาภายหลังการทดลองใชหลักสูตรฝก อบรม ผูเขา รับการฝกอบรมมีความรู ความเขา ใจเก่ียวกบั การจัดการเรยี นรตู ามแนวทางสะเตม็ ศึกษา หลงั การฝก อบรมสงู กวา กอ นการฝกอบรมอยา งมีนัยสาํ คัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 2.2 ผลการศึกษาทักษะการปฏบิ ตั ิงานการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา ปรากฏดังตาราง 2 ตาราง 2 วิเคราะหท ักษะการปฏบิ ัติงานการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา ทกั ษะการปฏิบัตงิ าน N คะแนนเตม็ X S.D. ระดับคณุ ภาพ หนวยการเรียนรูท่ี 1 30 24 20.40 2.46 ดีมาก หนวยการเรียนรทู ่ี 2 30 24 21.40 1.89 ดมี าก หนว ยการเรียนรูท่ี 3 30 24 22.20 0.76 ดีมาก 30 24 21.33 0.90 ดีมาก คาเฉลี่ย จากตาราง 2 พบวาคะแนนทักษะการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยูในระดบั ดีมาก มีคะแนนเฉลี่ย 21.33 เมื่อพิจารณาแยกเปนทักษะการปฏบิ ัตงิ านในดา นตาง ๆ พบวา หนวยการเรียนรทู ี่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยสงู สุดที่ 22.20 อยูในระดบั ดมี าก เปนไปตามสมมตฐิ านท่ตี ั้งไว โดยทักษะหนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 มีคะแนนเฉล่ียต่ําสุดท่ี 20.40 2.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของครูผสู อนทม่ี ีตอ หลกั สูตรฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา สําหรบั ครผู ูสอนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ปรากฏดงั ตาราง 3
38 วารสารมหาวทิ ยาลัยราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท่ี 14 ฉบับท่ี 3 กนั ยายน - ธนั วาคม 2563 ตาราง 3 ความพึงพอใจของครผู สู อน ท่มี ีตอ หลักสตู รฝกอบรมการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา ขอ รายการประเมิน X S.D. การแปลความหมาย 1. ดา นสถานที่/ระยะเวลา 4.82 0.25 มากทส่ี ุด 2. ดา นการนําความรไู ปใช 4.85 0.23 มากท่ีสดุ 3. ดา นวทิ ยากร 4.88 0.33 มากทส่ี ดุ 4. ดา นกระบวนการจัดการเรียนรู 4.86 0.27 มากทส่ี ุด 5. ดา นส่อื ประกอบการฝกอบรม 4.95 0.22 มากท่ีสุด 6 ดา นการวัดและประเมินผล 4.85 0.32 มากทส่ี ุด 4.87 0.28 มากทสี่ ุด คา เฉลย่ี รวม จากตาราง 3 พบวาในภาพรวมอยูในระดบั มากทีส่ ุด ( X=4.87) สงู กวาสมมติฐานท่ีต้งั ไว เม่อื พิจารณาเปนรายขอ พบวา ทุกขอ มคี วามพงึ พอใจอยูในระดบั มากทีส่ ุด โดยขอที่มีคา เฉล่ียมากที่สุด 3 ลาํ ดับแรก ไดแก 1) ดานสอื่ ประกอบการฝกอบรม ( X=4.95) 2) ดานวิทยากร ( X=4.88) และ 3) ดา นกระบวนการจัดการเรยี นรู ( X=4.86) และดา นสถานท่ี/ระยะเวลา มีคา เฉลยี่ ตา่ํ สุด ( X=4.82) อภิปรายผล จากผลการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สําหรับครูผูสอน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 มีประเด็นนา สนใจ นาํ มาอภิปรายผล ดงั นี้ 1. ผลการพฒั นาหลักสูตรฝกอบรมการจัดการเรยี นรูตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา สาํ หรบั ครูผูสอนโรงเรยี นขยายโอกาส ทางการศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ประกอบดว ย 5 องคป ระกอบ ไดแก 1) หลักการ และเหตุผล 2) จดุ มงุ หมายของหลักสตู ร 3) โครงสรา งเนื้อหา 4) กิจกรรมการฝกอบรม และ 5) การวัดและประเมินผล พฒั นาขึ้น โดยยึดหลักการแนวคิดเก่ียวกับการพฒั นาหลักสูตรและการฝกอบรมของนักวิชาการดา นหลักสตู รเชน Taba (1962 : 341) Nicholls (1978 : 17) Kerr (1989 : 16) สมชาย สังขส ี (2550 : 145-146) และจํารสั อินทลาภาพร (2558 : 2) ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของหลกั สูตร พบวามคี า เฉลี่ยอยูในระดับมากทีส่ ุด ในขณะเดียวกันผลการประเมินความสอดคลอ งขององคประกอบ ของหลักสูตรในแตละดา นเปนไปตามเกณฑท่ีกําหนดคือมีคา ความสอดคลองมากกวา .50 ทกุ ประเด็น หมายความวา องคประกอบ ของรางหลักสูตรฝกอบรมมีความสอดคลองกัน อันเนื่องมาจากผูวิจัยไดพัฒนาหลักสตู รฝกอบรมโดยดาํ เนินการผานกระบวนการ หาคณุ ภาพตามข้ันตอน 2. ผลการประเมินประสทิ ธิภาพของหลักสตู รฝก อบรมการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเตม็ ศึกษา สาํ หรบั ครผู สู อน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา ผลการวจิ ัยพบวา หลักสตู รฝกอบรมมปี ระสิทธิภาพตามสมมตฐิ านท่ตี ้ังไว ดังนี้ 2.1 ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบคะแนนความรูความเขา ใจเก่ียวกับการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา พบวาคะแนนทดสอบหลังฝกอบรมสงู กวากอ นฝกอบรมอยางมีนัยสําคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .01 ซ่งึ เปน ไปตามสมมตฐิ านทตี่ ั้งไว แสดงวา หลักสูตรฝกอบรมสามารถพฒั นาความรคู วามเขา ใจการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา ซง่ึ สอดคลองกับงานวิจัย ของจํารัส อินทลาภาพร (2558 : 728) ไดท ําการวิจัยเร่ืองการพฒั นาหลักสตู รฝกอบรม เพ่ือเสรมิ สรา งความสามารถในการ จัดการเรียนรตู ามแนวสะเตม็ ศึกษา สาํ หรับครูระดบั ประถมศึกษา พบวา คะแนนความรูความเขาใจเกี่ยวกบั การจัดการเรยี นรู ตามแนวสะเต็มศึกษาของครู หลงั ฝก อบรมสูงกวา กอนฝกอบรมอยางมีนัยสาํ คญั ทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคลองกบั นัสรินทร บอื ซา (2558 : 59) ไดทาํ การวิจยั เรือ่ งผลการจัดการเรียนรูต ามแนวคิดสะเต็มศึกษา ทม่ี ีตอผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนชวี วทิ ยา ความสามารถในการแกปญหา และความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูข องนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 5 ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีคะแนนหลังเรียนสูงกวา กอ นเรียนอยา งมีนัยสําคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั 0.1 2.2 ผลการศึกษาทักษะการปฏิบตั งิ านการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สาํ หรบั ครูผูสอน โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษา อยูในระดบั ดีมาก สงู กวาสมมติฐานที่ต้งั ไวใน แสดงวาหลักสูตรฝกอบรมสามารถพัฒนาทักษะ
Journal of Roi Et Rajabhat University 39 Volume 14 No.3 September - December 2020 การปฏิบัตงิ านไดจริง ท้ังนี้อาจเน่ืองมาจากกิจกรรมที่กําหนดใหครูผสู อน ไดใชเวลาในการปฏิบัติทักษะในแตละกิจกรรม ไดอ ยา งเหมาะสม ทาํ ใหเกิดประสบการณการเรียนรู กิจกรรมท่ีกาํ หนดมีความเหมาะสมกับครูผูสอน นอกจากน้ีกิจกรรม การฝกอบรมไดเนน ใหมีการปฏบิ ตั ิจริงทุกกิจกรรมอยางหลากหลาย โดยการใหความรดู านทฤษฎีกอ นเขา สูภาคปฏบิ ัติ ซง่ึ สอดคลอ งกับแนวคิดเก่ียวกบั รูปตามแนวทางการเรียนการสอน และการฝก อบรมท่ีเนนทักษะปฏิบัติของ ทิศนา แขมมณี (2553 : 296-298) กลาววา การเรียนการสอนท่ีเนนทักษะปฏิบัติท่ีไดผลดีประกอบดวยยุทธวธิ ี 3 ยุทธวธิ ี ไดแก 1) การสอนทฤษฎี กอ นสอนงานปฏิบัติ 2) การสอนงานปฏิบตั ิกอนสอนทฤษฎี และ 3) การสอนภาคทฤษฎีและปฏบิ ตั ิไปพรอม ๆ กัน ดว ยเหตุผล ดงั กลาว สงผลใหท ักษะการปฏิบตั ิงานของการจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษาอยูใ นระดบั ดีมาก ซ่ึงสอดคลองกับศรัณยา แสงหิรัญ (2553 : 182-183) ไดท าํ การวิจัยเร่ืองการพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมครูโรงเรียนอาชีวศกึ ษาเอกชน เพื่อใหม ีคุณลักษณะ สูการเปนองคการแหง การเรียนรู ผลการวิจัยพบวา คาเฉล่ียจากตามแนวทางทดสอบความสามารถและทักษะของผูเขา รบั การอบรม หลงั การทดลองสงู กวา กอ นการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิตทร่ี ะดับ .01 2.3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของครูผูสอนท่ีมีตอ หลกั สูตรฝกอบรม การจัดการเรียนรูตามแนวทางสะเต็มศึกษา สาํ หรบั ครผู สู อนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา ในภาพรวมอยูในระดบั มากทสี่ ุด มีคา เฉล่ยี 4.87 สงู กวา สมมตฐิ านที่ตง้ั ไว เมือ่ พิจารณาในรายละเอียดพบวา ดา นสอ่ื ประกอบการฝกอบรม มีคะแนนเฉลี่ย 4.95 รองลงมาดา นวทิ ยากร มีคะแนนเฉล่ีย 4.88 คือ ดานกระบวนการจดั การเรยี นรู มีคะแนนเฉลี่ย 4.86 และดานสถานท/ี่ ระยะเวลา มีคะแนนเฉลี่ยตํ่าสุดท่ี 4.82 ซึง่ สอดคลอ ง กบั แนวคดิ ของ สมใจ กงเตมิ (2553 : 73) ไดกลา ววา ส่ือเปนส่ิงเราท่ีนาํ เสนอเพ่อื ชว ยใหผูเรียนเกิดการเรียนรไู ดดี สื่อที่ดีจะตอง เนนการมปี ฏิสัมพันธของผเู รียนไวดว ย และผสู อนควรเนนส่ือประเภทตา ง ๆ ตอผูเรียน นอกจากนวี้ ิทยากรท่ีดาํ เนินการฝก อบรม ยังเปน ผูมีความรูความสามารถและประสบการณใ นเร่อื งที่ฝกอบรมเปน อยางดี มเี ทคนิคและวธิ ีการท่ที ําใหผูเขารบั การอบรม เขาใจไดงา ย มบี คุ ลิกภาพท่ดี ี ย้ิมแยมแจมใส คอยใหคาํ แนะนาํ ช้แี นะ ชวยเหลอื เปนอยา งดี และเรยี นรอู ยางมีความสุข เปนไปตามลักษณะการฝกอบรมที่ดี สอดคลองกบั นัสรินทร บอื ซา (2558 : 59) ไดทาํ การวิจัยเร่อื งผลการเรยี นรูตามแนวคิด สะเต็มศึกษา (STEM Education) ท่ีมีตอ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนชีววิทยา ความสามารถในการแกปญหาและความพึงพอใจ ตอ การจดั การเรียนรขู องนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 5 ผลการวิจัยพบวา นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 5/1 มีความพงึ พอใจ ตอการจดั การเรียนรตู ามแนวคดิ สะเต็มศึกษา หลงั การจัดการเรยี นรูอยูในระดับความพึงพอใจมาก ขอ เสนอแนะ จากการวิจัยการพัฒนาหลักสูตรฝก อบรมการจดั การเรียนรูตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา สําหรับครผู สู อน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศกึ ษา สงั กัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ไดข อ เสนอแนะ ดังนี้ 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใช 1.1 การออกตามแนวทางกจิ กรรมวิทยากรใหขอคิดเห็นวา การออกตามแนวทางกจิ กรรมการเรยี นรูควรแยกกิจกรรม เปนระดบั ชว งชั้น เชนกิจกรรมระดบั ช้ันอนบุ าล กิจกรรมระดับช้ันประถมศึกษา และกิจกรรมระดับมัธยมศกึ ษาเพอื่ ใหครู ไดนาํ กจิ กรรมนําไปใชในกจิ กรรมการเรียนการสอน และเปนแนวทางในการออกตามแนวทางกิจกรรมการเรียนการสอนของครู 1.2 การอบรมการจัดการเรียนรตู ามแนวทางสะเต็มศึกษาวิทยากรควรใหความรเู รือ่ งกระบวนการออกตาม แนวทางทางวิศวกรรม 6 ขัน้ ตอน ใหช ัดเจนและยกตวั อยา งการออกตามแนวทางกิจกรรมและเขียนแผนการจัดการเรียนรู เพอื่ ผเู ขา รับการอบรมจะไดเขาใจและนาํ ไปใชในกิจกรรมการเรียนการสอนไดถูกตอ ง 2. ขอเสนอแนะในการทาํ วิจัยคร้ังตอไป 2.1 ควรมีการวิจัยและพัฒนารูปตามแนวทางการฝกอบรมครู เพอื่ เสริมสรา งความสามารถในการจัดการเรียนรู ตามแนวสะเต็มศึกษาระดับอนบุ าล ระดบั ประถมศึกษาและระดบั มัธยมศกึ ษา 2.2 ควรมีการวิจยั และพฒั นาหลักสูตรฝก อบรม โดยนําแนวคิดสะเตม็ ศึกษาไปบรู ณาการกบั กลมุ สาระการเรียนรูอ่ืน ๆ 2.3 ควรทาํ การวจิ ัยผลการดาํ เนนิ งานของครูผูส อนท่ีผา นการอบรม ไดน ํากิจกรรมสะเต็ม หรือนําไปบูรณาการ กบั กลุมสาระอื่น ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน เพื่อศกึ ษาประสทิ ธภิ าพในระยะยาว
40 วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั รอยเอ็ด ปที่ 14 ฉบบั ที่ 3 กันยายน - ธนั วาคม 2563 เอกสารอา งอิง จารีพร ผลมลู (2559). การพฒั นาหนวยการเรียนรบู รู ณาการแบบ STEAM สําหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปท ี่ 3: กรณีศึกษา ชุมชนวังตะกอ จังหวัดชมุ พร. วารสารวิจัยมหาวิทยาลยั ขอนแกน, 3(2), 1-13. จาํ รัส อินทลาภาพร. (2558). การพฒั นาหลักสูตรฝก อบรมเพือ่ เสริมสรา งความสามารถในการจัดการเรยี นรูตามแนว สะเต็มศึกษาสาํ หรบั ครูระดบั ประถมศึกษา.ดษุ ฎีนพิ นธ ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าการวิจัยและพฒั นาหลักสตู ร. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. ชนิตา รักษพลเมือง (2557). กระบวนการทัศนพัฒนศึกษา. กรุงเทพฯ: วิญูชน. นัสรินทร บือซา. (2558). ผลการจัดการเรียนรูต ามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education) ท่มี ตี อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชวี วทิ ยา ความสามารถในการแกปญหาและความพึงพอใจตอการจดั การ เรียนรูข องนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 5. วิทยานิพนธ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร. พรทพิ ย ศิรภิ ทั ราชัย. (2556). STEM Education กับการพฒั นาทักษะในศตวรรษท่ี 21. สืบคน เมื่อ 10 มกราคม 2560, จากhttp://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_ journal/april_june_13/pdf/aw07.pdf ทิศนา แขมมณ.ี (2553). ศาสตรการสอน องคความรูเ พื่อการจดั กระบวนการเรยี นรูท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ (พมิ พคร้ัง 13). กรงุ เทพฯ: สํานักพิมพจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั . ธาํ รง บวั ศรี. (2542). ทฤษฎีหลกั สูตรการออกตามแนวทางและพัฒนา (พิมพครั้งท่ี 2). กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ. นงนุช เอกตระกลู . (2557). การศึกษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและความสามารถในการคดิ แกปญหาทางวทิ ยาศาสตร ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ทไ่ี ดรับการจัดการเรียนรูแบบ STEM Education. สืบคนเมอ่ื 10 มกราคม 2560, จาก http://swis.act.ac.th/html_edu/act/temp_emp_research/2204.pdf ศรัณยา แสงหิรญั . (2553). การพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมครูโรงเรียนอาชวี ศึกษาเอกชนเพอื่ ใหม คี ณุ ลักษณะสูการเปน องคการแหงการเรียนรู. ดุษฎีนิพนธ การศึกษาดษุ ฎีบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. สมใจ กงเติม. (2553). การพฒั นาหลกั สตู รฝกอบรมเพื่อเสรมิ สรางความสามารถในการสอนคิดวิเคราะหส ําหรับครู สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ การศึกษาดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาหลักสตู ร และการสอน. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. สมชาย สงั ขส.ี (2550). หลักสตู รฝกอบรมการพัฒนามาตรฐานการศึกษาดานผูเรียนในสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน. ดุษฎีนพิ นธ การศึกษาดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี. (2558). สรุปผลการวิจัย PISA 2015. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ. Flippo, E. B. (1970). Management A Behavioral Approach. Boston: Allynand Bacon. Fran, R., & Vicent, N. (2001). How to Lead Work Teams. San Francisco, Inc. U.S.A. Glazewski, K.D., and Ertmer, P.A. (2010). Foster socio-scientific reasoning in problem-based Learning : Examining teacher practice .International Journal of Learning. 16(12), 269-282. Kerr, J. F. (1989). Changing the a Curriculum. London: University of London Press. Nicholls, A. (1978). Developing a Curriculum. London: Cox and Wyman. Taba H. (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace & World, INC.
Journal of Roi Et Rajabhat University 41 Volume 14 No.3 September - December 2020 การใชกระบวนการเรียนรูเชิงรุกรวมกบั เทคนคิ การใชค าํ ถามเพอ่ื เสริมสรา งความสามารถ ในการตั้งคําถามโครงงานวทิ ยาศาสตรข องนักศึกษาสาขาวชิ าวิทยาศาสตรทัว่ ไป คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด Using Active Learning Process and Questioning Techniques to Improve Students Ability to Questioning for Science Project of General Science Education Colledge Students in Roi Et Rajabhat University เฉลิมวุฒิ ศุภสขุ 1 Received : 13 ส.ค. 2562 Chalermwoot Soopasook1 Revised : 28 ต.ค. 2562 Accepted : 29 ต.ค. 2562 บทคัดยอ การวิจัยคร้ังนี้มวี ัตถปุ ระสงคก เพ่ือ 1) ศึกษาความสามารถของนักศกึ ษาสาขาวิชาวิทยาศาสตรท ่วั ไป ในการตัง้ คําถาม เกีย่ วกับโครงงานวิทยาศาสตรหลังเรยี น โดยการใชก ระบวนการเรียนรูเชงิ รุกรว มกับเทคนิคการใชคาํ ถาม 2) เปรยี บเทียบ ระดบั ของการต้ังคาํ ถามโครงงานวทิ ยาศาสตร ของนักศกึ ษาสาขาวิชาวิทยาศาสตรทั่วไป กอ นและหลังเรียนโดยการใช กระบวนการเรยี นรูเชิงรุกรวมกับเทคนิคการใชคําถาม กลุมตวั อยางคอื นกั ศึกษาช้ันปท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 สาขาวิชาวิทยาศาสตรท ่ัวไป จํานวน 99 คน ในรายวิชา SED4135 โครงงานวิทยาศาสตร ทีไ่ ดมาโดยการเลอื กแบบเจาะจง เคร่อื งมือทีใ่ ชใ นการทดลอง คอื 1) แผนการจัดการเรยี นรเู ชิงรุกรว มกบั เทคนิคการใชคาํ ถาม จํานวน 4 แผน 16 ชวั่ โมง และ 2) แบบสังเกตพัฒนาการในการต้ังคําถามโครงงานวิทยาศาสตร เครื่องมอื เกบ็ รวบรวมขอมูลคอื แบบประเมินความสามารถ ในการต้ังคําถามโครงงานวทิ ยาศาสตร จาํ นวน 20 ขอ เปนแบบอตั นัย ใชเ กณฑการประเมินใหค ะแนนแบบแยกประเด็น วิเคราะหข อมูลดานสถิตดิ วยคา เฉลย่ี รอยละ สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัย พบวา 1) นักเรียนทเ่ี รียนโดยใชกระบวนการเรยี นรเู ชิงรุกรว มกับเทคนิคการใชคาํ ถาม มีคะแนนความสามารถ ในการตง้ั คําถามเทา กับรอ ยละ 85.84 สงู กวาเกณฑท ี่กําหนดไวที่รอยละ 75 และจัดอยูในเกณฑระดบั ดีมาก และ 2) นักศึกษาที่เรียน โดยใชกระบวนการเรยี นรูเชงิ รุกรวมกับเทคนิคการใชคําถาม มคี ะแนนความสามารถในการตั้งคําถามโครงงานวิทยาศาสตร หลังเรียนสงู กวา กอนเรียนอยา งมีนัยสาํ คญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05 คาํ สาํ คัญ : กระบวนการเรียนรูเชิงรุก, เทคนคิ การใชคําถาม, ความสามารถในการตัง้ คําถาม Abstract The purposes of this study were to 1) study the ability of students to questioning for science project after learning with active learning process and questioning techniques 2) compare students’ science project questioning ability between before and after learning with active learning process and questioning technique. The sample was a class of 99 general science education college students of faculty of education, Roi Et Rajabhat University in SED4135 Science project subject by purposive sampling. The experimental instruments were 1) 4 active learning process and questioning techniques lesson plan and 2) questioning development observation form. The data collection instrument was science project questioning ability form. The collected data were analyzed by arithmetic mean, mean of percentage, standard deviation, and t-test. The research found: 1) The mean percentage score of students’ science project questioning ability was 85.84 percent, which was higher than the criterion score set at 75 percent, and rated as very good and 2) After 1 อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตรท่ัวไป คณะครศุ าสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด อีเมล: [email protected] 1 Lecturer in General Science Education, Faculty of Education, Roi Et Rajabhat University, Email: [email protected]
42 วารสารมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรอ ยเอ็ด ปท ี่ 14 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2563 experiment, the science project questioning ability of students after learned with active learning process and questioning technique higher than before experiment at .05 level of significant Keywords : Active learning process, Using questioning technique, Questioning technique ability บทนาํ ประเทศไทยใหความสาํ คัญกบั การพฒั นาผูเ รียนใหม ีคุณภาพ และสนับสนุนปจจัยท่ีกอใหเกดิ การเรียนรูตลอดชวี ิต ดงั ปรากฏในพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553 หมวดที่ 4 มาตรที่ 23 และ 24 ท่ีเนนใหมีการจัด การเรยี นรูแบบบูรณาการตามความเหมาะสม สอดคลองกบั ความถนัด และความสนใจของผูเรยี น โดยการเรยี นรู ผา นประสบการณจ รงิ ฝกผูเรยี นใหคดิ เปน ทาํ เปน (สาํ นักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, 2542, 2553 : 8-9) สอดคลอ งกบั แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 ในยุทธศาสตรท ่ี 2 ท่เี นนใหสงเสรมิ การวิจยั และพฒั นาเพื่อสรางองคค วามรู และในยทุ ธศาสตรท่ี 3 ขอ 3.3 ทเ่ี นนพฒั นาผูเ รียนใหม ีคณุ ลักษณะและทักษะการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 (สาํ นักงานเลขาธิการ สภาการศึกษาแหง ชาติ, 2560 : ฌ-ญ) ทุกประเทศตางทบทวนและปฏริ ูปหลักสตู รการศึกษาของตนเองเพ่ือใหเยาวชน/ผเู รียนแตละคนไดพฒั นาตนเอง อยางเต็มศักยภาพ และรับรขู อมูลและตดั สนิ ใจดว ยความรับผดิ ชอบเพ่อื การดาํ รงชีวิตและทํางานไดในศตวรรษที่ 21 (Northern Ireland Curriculum, 2007 : online) สง ผลใหเ กิดการเปลยี่ นแปลงแนวทางการจัดการเรียนการสอน ในหองเรยี นระดบั มหาวิทยาลัยท่ีเปล่ยี นจากแนวทางการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน ครูเปนศูนยกลาง (Teaching-centric approach) ไปสูการจัดการเรียนการสอนที่เนนการเรยี น/ผูเรียนเปนสาํ คัญ (Learning-centric approach) ซึง่ เปนการคิด ใหม (rethinking) โดยการผสมผสานแนวทางการจัดการเรียนการสอน (pedagogical approaches) กับกระบวนการเรียนรู ของนักเรียน (learning process) ผานการคาํ นึงถึง 1) นักเรยี นเรยี นรไู ดดีแคไ หน และ 2) แนวทางการจัดการเรยี นการสอน ที่หลากหลาย แนวทางใดที่ชวยใหน ักเรียนเกิดการเรียนรูและเขา ใจไดด ยี ง่ิ ข้ึน (University of North Carolina at Chapel Hill, 2009 : online) ซง่ึ แนวทางจดั การเรียนการสอนเชิงรุก (Active learning) เปนอีกแนวทางหนึ่งทีค่ วรนาํ มาปรบั ใชใ น หองเรยี นระดบั อุดมศึกษา การเรยี นรูเชิงรุก (Active Learning) เปนกระบวนการเรียนรูท่ีผูเรียนมบี ทบาทในกิจกรรมการเรยี นรู อยางมชี วี ิตชีวาและตื่นตัว (ราชบัณฑิตยสถาน, 2551 : 8) ซง่ึ นําผูเรยี นไปสูการสะทอ นสิ่งที่นกั เรยี นไดเ รียนรูในช้นั เรียน นักเรียนจะตองไดทาํ มากกวาการน่ังฟงและจดบันทึก เชน อาน เขียน อภิปราย รวมไปถงึ กจิ กรรมที่สะทอ นความคิด หรอื สะทอ นการเรยี นรูตาง ๆ การเปล่ียนแปลงรูปแบบการสอนใหมีกิจกรรมท่ีผูเรียนมสี วนรว ม ตอ งอาศัยการพัฒนาลกั ษณะ กิจกรรมสาํ หรบั ผเู รียน และตอ งใชก ลยุทธหรอื เทคนิคเพอ่ื ชว ยใหผ เู รียนเกิดการเรียนรไู ดดีย่งิ ข้ึน ถานักเรยี นไดเรียนรู ผา นการกระตุนหรอื สงเสรมิ (encourage) และการสะทอ นผล (reflection) ในการทาํ กจิ กรรมผา นกลยทุ ธการเรยี นรู (active learning strategies) นกั เรียนจะเรียนรไู ดมีประสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น (more effectively) และเขาใจในเนอ้ื หามากย่ิงขึ้น (Dias, 2011 : online) สอดคลองกับ Brame (2016 : online) ใหค วามหมายของการเรยี นรูเชิงรุกวา เปนกจิ กรรมท่ีนักเรยี น สรา งความรแู ละความเขาใจดว ยตนเอง (construct knowledge and understanding) ซง่ึ กิจกรรมตอ งกระตุนผูเ รยี น ในการคิดขั้นสงู (higher order thinking) ผูเรียนจะไดคิดเกี่ยวกับสง่ิ ท่ตี นเองไดเรียนรู สิ่งสําคัญของการเรียนรูเชิงรุก คอื การเช่ือมโยงระหวางกิจกรรมการเรยี นรู กบั กระบวนการเรียนรขู องผูเ รียน การเรยี นรูเชิงรุกสอดคลองกบั ทฤษฎีการเรยี นรูส รรคนิยม (Constructivism) ตามที่ Brame (2016 : online) ใหเหตุผลไวว า เน่ืองจากการเรียนรเู ชิงรุกเปนการเนนใหผเู รียนสรา งความรูดวยตนเอง เชนเดียวกับทฤษฎกี ารเรียนรูสรรคนิยม ที่นักเรยี นแตละคนเรียนรูผานการสรางความรูและทําความเขา ใจดวยตนเอง รวมถงึ การเช่ือมโยงความรูใหมกบั ประสบการณเดิม เร่ิมจากการซึมซับความรูใหม (Assimilate) เขากบั ความรหู รือประสบการณเ ดิม แลวปรับใหเกิดความเขาใจ (Accommodate) โดยแนวทางการสรางความรูตามแนวทฤษฎีการเรียนรูสรรคนยิ มน้ัน สนบั สนุนการเรยี นรูโดยใชคาํ ถามเพือ่ ใหนักเรียนเชื่อมโยง ระหวางความรูหรือประสบการณเดิมกบั ความรูใหม รวมไปถงึ ตอยอดหรอื ขยายความรคู วามเขาใจของนักเรยี นใหเพิ่มมากย่ิงขึ้น โดย Teaching Assistants’ Training Program [TATP] (2014 : online) กลา วถึงประโยชนข องการใชก ิจกรรมการเรียนรู เชงิ รุกในการจัดการเรียนการสอนไว ดงั นี้ 1) เพิ่มเจตคติและความพึงพอใจของนักเรยี นใหสูงมากยิ่งขึ้น รวมถึงเพม่ิ ความม่ันใจ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262