Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore edcation

edcation

Description: edcation

Search

Read the Text Version

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 93 กจิ กรรมเรอ่ื งท่ี 2 แหลงอารยธรรมโลก 2บทท่ี กจิ กรรมที่ 6 ใหศกึ ษาคน ควา และทาํ รายงานสง ประ ัวติศาสต ร ใหเปรยี บเทียบอารยธรรมของโลกตะวนั ออกและตะวนั ตก กิจกรรมท่ี 7 จงทําเครอื่ งหมาย  หนาคาํ ตอบที่ถูกตอ งท่ีสดุ เพียงขอ เดียว 1. ขอ ใดตรงกับความหมายของคาํ วา อารยธรรม ก. สภาพโบราณ ข. สภาพประวตั ิศาสตร ค. การถา ยทอดอดีตสปู จจุบนั ง. สภาพท่ีพน จากความปาเถื่อน 2. อารยธรรมเมโสโปเตเมยี กาํ เนดิ ในบริเวณลุมแมน ํ้าใด ก. แมน ้าํ ไททรัสและแมน้ํายูเฟรตีส ข. แมนา้ํ ไทกรสี และแมน ้ําสเุ มเรียน ค. แมนาํ้ ยเู ฟรตีสและแมน ้าํ สเุ มเรียน ง. แมน าํ้ ยูเฟรตสี และแมน้ําอะมอไรต 3. ประวตั ศิ าสตรของจีนแบง เปน กย่ี ุค ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6 4. โคลอสเซียม เปน สถาปต ยกรรมของอารยธรรมประเทศใด ก. ฝร่ังเศส ข. อยี ปิ ต ค. โรมัน ง. กรกี 5. อารยธรรมของโลกตะวนั ออก มรี ากฐานมาจากแหลง อารยธรรมประเทศอะไร ก. จนี และกมั พูชา ข. จนี และอนิ เดยี ค. อินเดียและกัมพูชา ง. จีนและประเทศไทย 

ประวตั ิศาสตร 94 หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม เร่อื งที่ 3 ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย ความเปนมาของดินแดนประเทศไทยในสมัยโบราณสวนใหญมาจากหลักฐานดาน โบราณคดีและเอกสารประวัติศาสตรจีนโบราณและภาพถายทางอากาศและเห็นถึงที่ต้ังและ สภาพของแหลง ชมุ ชนโบราณในประเทศไทย สภาพคนู า้ํ และคนั ดนิ ในแหลง โบราณคดแี ตล ะ แหง แสดงใหเ หน็ วา ชมุ ชนนนั้ ไดเ รมิ่ ตงั้ ถนิ่ ฐานอยา งถาวรแลว เชน ชมุ ชนบงึ คอกชา ง จงั หวดั อุทยั ธานี มคี ูน้ําและคนั ดนิ ลอมรอบถึง 3 ชั้นดว ยกนั ซ่ึงแสดงวาชุมชนดงั กลาวมปี ระชากร ตงั้ ถ่ินฐานอยอู ยางตอเน่ือง และมปี ระชาชนเพิ่มมากข้นึ จนตอ งขยายเขตชมุ ชนออกไป ดินแดนในประเทศไทยมีท้ังพฒั นามาจากอาณาจักรเดิมและมกี ารอพยพยา ยเขามา ของกลุมคนพูดภาษาไทย – ลาวจากถ่ินบรรพบุรุษ ซึ่งอยูตอนใตของประเทศจีนเดิม เขา 2บทที่ มายงั ดนิ แดนเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตร าวครสิ ตศ ตวรรษที่ 10 รฐั ของชาวไทยมคี วามสาํ คญั ตามยคุ สมัย ไดแก อาณาจกั รโยนกเชียงแสน อาณาจักรลา นนา อาณาจกั รสโุ ขทัย อาณาจกั ร อยุธยา และไดพฒั นามาเปนสมยั กรุงรตั นโกสินทร นับตง้ั แต พ.ศ. 2325 เปน ตน มา อาณาจกั รสยามเผชญิ กบั การคกุ คามในสมยั ยคุ ลา อาณานคิ มของประเทศตะวนั ตก แตส ยามสามารถรอดพน จากการถกู ยดึ ครองโดยประเทศเจา อาณานคิ มได และหลงั จากการ ปฏิวตั ิเพ่อื เปลีย่ นแปลงระบบการปกครอง ในป พ.ศ. 2475 ประเทศไทยยังคงอยใู นชว งท่ี ปกครองโดยรฐั บาลทหารเปนสว นใหญ จนกระทงั่ อกี 60 ปถ ัดมา จึงไดมรี ะบบการเลือกต้งั ท่ีเปน ประชาธปิ ไตยอยา งแทจรงิ ประวตั ศิ าสตรท ม่ี กี ารคน พบในประเทศไทยทเ่ี กา แกท ส่ี ดุ คอื ทบ่ี า นเชยี ง โดยสง่ิ ของ ทีข่ ดุ พบมาจากในสมัยยคุ 3,600 ปกอ นครสิ ตศกั ราช โดยมกี ารพัฒนาเครื่องบรอนซ และ มีการปลูกขา ว รวมถึงการตดิ ตอ ระหวางชมุ ชนและมรี ะบอบการปกครองขน้ึ มหี ลายทฤษฎที พ่ี ยายามหาทม่ี าของชนชาตไิ ทย ทฤษฎดี งั้ เดมิ เชอ่ื วา ชาวไทยในสมยั กอนเคยมีถ่ินอาศัยอยูข้ึนไปทางตอนเหนือถึงแถบเทือกเขาอัลไต จากน้ัน ไดมีการทยอย อพยพเคลื่อนยา ยลงมาทางใตสูค าบสมุทรอินโดจนี หลายละลอกเปนเวลาตอ เนอ่ื งกนั หลาย พนั ป โดยเชอ่ื วา เกดิ จากการแสวงหาทรพั ยากรใหม แตท ฤษฎนี ขี้ าดหลกั ฐานทางโบราณคดี ท่ีนาเชื่อถือได ในขณะเดียวกันก็มีหลายทฤษฎีที่อธิบายวาเดิมชนชาติไท ไดอาศัยอยูเปน บริเวณกวางขวางในทางตอนใตของจีนจนถึงภาคเหนือของไทยและไดมีการอพยพลงใต เรื่อยๆ เขา มาอาศัยอยูในดนิ แดนคาบสมทุ รอนิ โดจนี จากน้ันไดอ าศยั กระจดั กระจายปะปน กบั กลมุ ชนดง้ั เดมิ ในพน้ื ท่ี โดยไมม ปี ญ หามากนกั ซง่ึ อาจเนอ่ื งดว ยดนิ แดนคาบสมทุ รอนิ โด จนี ในชว งเวลานนั้ ยงั มพี น้ื ทแ่ี ละทรพั ยากรธรรมชาตเิ ปน จาํ นวนมาก ในขณะทม่ี กี ลมุ ชนอาศยั อยเู บาบาง ปญ หาการแยง ชงิ ทรพั ยากรจงึ ไมร นุ แรง รวมทง้ั ลกั ษณะนสิ ยั ของชาวไทยนน้ั เปน ผูออนนอมและประนีประนอม ความสัมพันธระหวางชาวไทยกลุมตางๆ อาจมีการติดตอ อยา งใกลช ดิ อยบู า ง ในฐานะของผมู ภี าษาวฒั นธรรมและทม่ี าอนั เดยี วกนั แตก ารรวมตวั เปน นคิ ม

รายวิชาสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 95 ขนาดใหญหรือแวนแควนยังไมปรากฏ ในเวลาตอมาเม่ือมีชาวไทยอพยพลงมาอาศัยอยูใน 2บทที่ ดินแดนคาบสมทุ รอนิ โดจีนเปน จาํ นวนมากขน้ึ ชาวไทยจึงเริ่มมบี ทบาทในภมู ภิ าค แตก ย็ งั คงจาํ กดั อยเู พยี งการเปน กลมุ อาํ นาจยอ ยๆ ภายใตอ าํ นาจการปกครองของชาวมอญและขอม ประ ัวติศาสต ร กระทั่งอํานาจของขอมในดินแดนที่ราบลุมแมน้ําเจาพระยาเร่ิมออนกําลังลง กลุมชนที่เคย ตกอยภู ายใตอ าํ นาจปกครองของขอม รวมทง้ั กลมุ ของชาวไทย ในชวงตอมา มีการปกครองของหลายอาณาจักรในบริเวณท่ีเปนประเทศไทยใน ปจจบุ ัน ไดแ ก ชาวมาเลย ชาวมอญ ชาวขอม โดยอาณาจกั รท่ีสําคัญ ไดแก อาณาจกั รทวาร วดใี นตอนกลาง อาณาจกั รศรวี ชิ ยั ในตอนใต และอาณาจกั รขอมซงึ่ มศี นู ยก ลางการปกครอง ที่นครวัด โดยคนไทยมีการอพยพมาจากดินแดนทางตะวันตกเฉียงใตและทางใตของจีน ผา นทางประเทศลาว ภาคกลาง 1. อาณาจกั รทวารวดี 2. อาณาจักรละโว ภาคใต 1. อาณาจักรศรวี ิชัย 2. อาณาจักรตามพรลิงก ภาคอีสาน 1. อาณาจักรฟูนาน 2. อาณาจักรขอม 3. อาณาจักรศรโี คตรบรู ณ ภาคเหนือ 1. อาณาจักรหริภุญชยั 2. อาณาจักรโยนกเชียงแสน ดินแดนในประเทศไทยมีทั้งพฒั นามาจากอาณาจักรเดิมกอ นหนา นั้น เชน ละโว ศรีวชิ ยั ตามพรลงิ ก ทวารวดี ฯลฯ อาณาจกั รที่สาํ คญั ของไทยในชวงปลายพทุ ธศตวรรษที่ 19 ถงึ ปจจุบนั ไดแก อาณาจักรสโุ ขทัย อาณาจักรอยุธยา กรงุ ธนบรุ ี และรตั นโกสินทร กรุงธนบรุ ี พ.ศ. 2310 – 2325 หลังจากพระเจาตากสินไดกอบกูกรุงศรีอยุธยากลับคืนจากพมาไดแลว พระเจาตากสินทรงเห็นวากรุงศรีอยุธยาถูกพมาเผาผลาญเสียหายมาก ยากท่ีจะฟนฟูให เหมือนเดิม พระองคจึงยายเมืองหลวงมาอยูที่กรุงธนบุรีแลวปราบดาภิเษกข้ึนเปนกษัตริย ทรงพระนามวา “พระบรมราชาธริ าชที่ 4” (แตป ระชาชนนยิ มเรยี กวา สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราชหรอื สมเดจ็ พระเจา กรงุ ธนบรุ )ี ครองกรงุ ธนบรุ อี ยู 15 ป นบั วา เปน พระมหากษตั รยิ  พระองคเดียวทป่ี กครองกรุงธนบุรี

ประวตั ิศาสตร 96 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม สมเด็จพระเจาตากสินทรงยายเมืองหลวงมาอยูท่ีกรุงธนบุรี เนื่องจากสาเหตุดังตอ ไปน้ี 1. กรงุ ศรอี ยธุ ยาชาํ รดุ เสยี หายมากจนไมส ามารถบรู ณปฏสิ งั ขรณใ หด เี หมอื นเดมิ ได กาํ ลังรี้พลของพระองคมีนอยจงึ ไมส ามารถรักษากรงุ ศรีอยุธยาเปนเมืองใหญได 2. ทาํ เลที่ต้งั ของกรุงศรอี ยธุ ยาทาํ ใหข า ศกึ โจมตีไดง าย 3. ขา ศกึ รูเ สนทางการเขา ตกี รุงศรีอยุธยาดี สวนสาเหตุท่ีพระเจาตากสินทรงเลือกกรุงธนบุรีเปนเมืองหลวงเนื่องจากทําเลที่ต้ัง กรงุ ธนบรุ อี ยใู กลท ะเล ถา เกดิ มศี กึ มาแลว ตงั้ รบั ไมไ หวกส็ ามารถหลบหนไี ปตงั้ มน่ั ทางเรอื ได กรุงธนบุรีเปนเมืองเล็ก จึงเหมาะกับกําลังคนท่ีมีอยูพอจะรักษาเมืองไดกรุงธนบุรีมีปอม ปราการทีส่ รา งไว ต้ังแตส มยั กรุงศรีอยธุ ยาหลงเหลอื อยู ซง่ึ พอจะใชเปนเคร่อื งปองกนั เมอื ง 2บทท่ี ไดในระยะแรก ดานการปกครอง หลังจากกรุงศรีอยุธยาเสียใหแกพมา เม่ือ พ.ศ. 2310 บานเมืองอยูในสภาพไม เรยี บรอ ย มกี ารปลน สะดมกนั บอ ย ผคู นจงึ หาผคู มุ ครองโดยรวมตวั กนั เปน กลมุ เรยี กวา ชมุ นมุ ชมุ นมุ ใหญๆ ไดแก ชมุ นุมเจาพระยาพษิ ณุโลก ชุมนมุ เจาพระฝาง ชุมนุมเจาพิมาย ชุมนมุ เจานครศรธี รรมราช เปนตน สมเด็จพระเจาตากสนิ ทรงใชเ วลาภายใน 3 ป ยกกองทพั ไป ปราบชมุ ชนตา งๆ ทตี่ ง้ั ตนเปน อสิ ระจนหมดสนิ้ สาํ หรบั ระเบยี บการปกครองนนั้ พระองคท รง ยึดถือและปฏิบัติตามระเบียบการปกครองแบบสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายตามที่สมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถทรงวางระเบยี บไว แตร ดั กมุ และมคี วามเดด็ ขาดกวา คนไทยในสมยั นนั้ จึงนิยมรับราชการทหาร เพราะถาผูใดมีความดีความชอบ ก็จะไดรับการปูนบําเหน็จอยาง รวดเรว็ ลักษณะการปกครอง ในสว นกลางมีตาํ แหนงอคั รมหาเสนาบดี 2 ตําแหนง ไดแ ก สมหุ นายก ควบคมุ ดูแลหัวเมืองฝายเหนอื สมุหกลาโหม ควบคมุ ดูแลหวั เมืองฝา ยใต นอกจากนย้ี งั มีเสนาบดีอกี 4 ตําแหนง คอื เสนาบดีจตุสดมภ ไดแ ก เสนาบดกี รม เมอื ง (นครบาล) เสนาบดกี รมวงั (ธรรมาธกิ รณ) เสนาบดกี รมคลงั (โกษาธบิ ด)ี และเสนาบดี กรมนา (เกษตราธิการ) สว นภมู ภิ าคแบง เปน หวั เมอื งชน้ั ใน คอื เมอื งทร่ี ายรอบพระนครและหวั เมอื งชน้ั นอก คือ เมืองทอี่ ยไู กลพระนคร ดา นเศรษฐกจิ และสงั คม ตลอดระยะเวลาทบ่ี า นเมอื งไมส งบ สภาพเศรษฐกจิ ตกตา่ํ ลงอยา งมาก เพราะพลเมอื งไมเ ปน อนั ทาํ มาหากนิ เมอื่ กเู อกราชไดแ ลว ความอดอยากหวิ โหย ก็ยังคงมีอยู เปนเหตุใหมีโจรผูรายชุกชุมและเกิดโรคระบาด ผูคนลมตายเปนจํานวนมาก สภาพหัวเมืองตางๆ จึงเหมือนเมืองราง สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีไดสละพระราชทรัพยซื้อ ขาวสารราคาแพงจากพอคาตางเมืองเพ่ือนํามาแจกจายราษฎรนอกจากน้ันไดพระราชทาน เสอ้ื ผา เคร่ืองนุงหม ดว ย

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 97 สมยั กรงุ ธนบรุ ี ประชาชนทาํ การขดุ ทรพั ยส มบตั จิ ากแหลง ซอ นทรพั ยใ นกรงุ ศรอี ยธุ ยา 2บทท่ี ซ่ึงผูคนนํามาฝงซอนไว การขุดแตละครั้งผูขุดจะไดทรัพยสินเงินทองมากมาย แตก็ทําให โบราณวตั ถถุ กู ทําลายลง ประ ัวติศาสต ร ดานศาสนา หลังจากท่ีพระเจาตากสินขึ้นครองกรุงธนบุรีแลว พระองคจึงไดจัด ระเบยี บสังฆมณฑลรวบรวมพระไตรปฎ กและบูรณปฏิสังขรณว ดั ดา นวฒั นธรรมและศลิ ปกรรม สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีทรงพระราชนิพนธ รามเกียรตไ์ิ ว 4 ตอน นอกจากนั้นก็มกี วีทส่ี าํ คัญในสมยั น้นั คือ หลวงสรวิชติ (หน) นายสวน มหาดเล็กและพระยามหานภุ าพ ดา นศลิ ปกรรม เกิดศิลปกรรมหลายแขนง เชน นาฏกรรม จิตรกรรม และ สถาปตยกรรม หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตรกรุงธนบรุ ี เนื่องจากสมัยกรุงธนบรุ ีเปนราชธานีเปนชวงระยะเวลาสัน้ ๆ และมพี ระมหากษตั รยิ  เพยี งพระองคเ ดยี ว (สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราชเสดจ็ สวรรคตใน พ.ศ. 2325 พระชนมายุ ได 45 พรรษา) ดังนั้นหลักฐานทปี่ รากฏจึงไมม ากนกั ไดแก 1. บันทึกสวนเอกชน เชน จดหมายเหตคุ วามทรงจํากรมหลวงนรนิ ทรเ ทวี 2. เอกสารไทยรว มสมยั ไดแ ก เอกสาราชการ เชน หมายรบั สง่ั จดหมายเหตรุ ายงาน การเดินทพั จดหมายเหตุโหร พระราชกําหนด และอีกประเภทหนง่ึ คอื งานวรรณกรรมรวม สมัยอิงประวัติศาสตร เชน คําโคลงยอพระเกียรติพระเจากรุงธนบุรีของนายสวนมหาดเล็ก นิราศเมืองกวางตุงของพระยามหานุภาพและสังคีติยวงศ ของสมเด็จพระวันรัตน วัดพระเชตุพน 3. พระราชพงศาวดารกรงุ ธนบรุ ี 4. เอกสารตางประเทศ ไดแก เอกสารจีน เอกสารประเทศเพื่อนบานและเอกสาร ตะวันตก กรงุ รัตนโกสินทร พ.ศ. 2325 – ปจจบุ ัน หลงั จากปราบดาภเิ ษกขน้ึ เปน พระมหากษตั รยิ  ในป พ.ศ. 2325 แลว สมเดจ็ เจา พระยา มหากษตั รยิ ศ กึ ทรงใชพ ระนามวา “พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลก” และไดย า ย ราชธานีจากกรุงธนบุรีขามแมน้ําเจาพระยามายังฝงตรงขาม และตั้งช่ือราชธานีใหมน้ีวา “กรุงเทพมหานคร” พรอมๆ กับการสถาปนาราชวงศจักรีขึ้นมา โดยกําหนดในวันท่ี 6 เมษายน ของทกุ ปเ ปนวนั จกั รี เหตุผลในการยา ยราชธานี 1. พระราชวังเดิมไมเหมาะสมในแงยุทธศาสตร เพราะมีแมนํ้าไหลผานกลางเมือง ยากแกก ารปอ งกนั รักษา 2. ฝง ตะวนั ออกของแมน า้ํ เจา พระยามชี ยั ภมู ดิ กี วา เพราะเปน ดา นหวั แหลม มลี าํ นาํ้ เปน พรมแดนกวาครงึ่

ประวตั ิศาสตร 98 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม 3. เขตพระราชวงั เดมิ ขยายไมไ ด เพราะมวี ดั กระหนาบอยทู งั้ สองขา ง ไดแ ก วดั แจง และวัดทายตลาด ลกั ษณะของราชธานใี หม ราชธานีใหมท ี่พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชโปรดฯ ใหสรางข้นึ ไดท าํ พิธียกเสาหลกั เมอื ง เม่อื วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2325 การสรา งราชธานใี หมน โี้ ปรดฯ ใหส รา งเลยี นแบบกรุงศรอี ยธุ ยา กลา วคอื กําหนดผงั เมืองเปน 3 สว น 1. สวนที่เปนบริเวณพระบรมมหาราชวัง วังหนา วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วดั พระแกว ) ทงุ พระเมรุ และสถานทส่ี าํ คญั อน่ื ๆ มอี าณาบรเิ วณตง้ั แตร มิ ฝง แมน า้ํ เจา พระยา มาจนถึงคเู มอื งเดมิ สมยั กรุงธนบรุ ี 2. สวนท่ีเปนบริเวณท่ีอยูอาศัยภายในกําแพงเมือง เริ่มตั้งแตคูเมืองเดิมไปทางทิศ 2บทที่ ตะวนั ออกจนจดคเู มอื งทขี่ ดุ ใหมห รอื คลองรอบกรงุ ประกอบดว ย คลองบางลาํ พู และคลอง โอง อา ง และเพอ่ื สะดวกในการคมนาคม โปรดใหข ดุ คลองสองคลอง คอื คลองหลอด 1 และ คลองหลอด 2 เช่ือมคเู มอื งเกากับคูเมืองใหมติดตอ ถึงกัน ตามแนวคลองรอบกรุงน้ี ทรง สรางกําแพงเมอื ง ประตูเมืองและปอ มปราการขึน้ โดยรอบ นอกจากน้ียงั โปรดใหสรางถนน สะพาน และสถานทอ่ี น่ื ๆ ทจ่ี าํ เปน ราษฎรทอ่ี าศยั อยใู นสว นนป้ี ระกอบอาชพี คา ขายเปน หลกั 3. สว นทเ่ี ปน บรเิ วณทอ่ี ยอู าศยั นอกกาํ แพงเมอื ง มบี า นเรอื นตง้ั อยรู มิ คลองรอบกรงุ เปนหยอมๆ กระจายกันออกไป คลองสําคญั ทโ่ี ปรดใหขดุ ขึ้น คอื คลองมหานาค ราษฎรใน สวนน้ีประกอบอาชีพการเกษตร และผลติ สนิ คาอุตสาหกรรมทางชา งประเภทตางๆ สําหรับการสรางพระบรมมหาราชวังน้ัน นอกจากจะใหสรางปราสาทราชมณเฑียร แลว ยงั โปรดใหส รา งวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม (วัดพระแกว) ขึน้ ภายในวังดวย เหมอื นวดั พระศรสี รรเพชญสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา แลว ใหอ ญั เชญิ พระแกว มรกตมาประดษิ ฐานเปน สริ มิ งคล แกกรุงเทพมหานคร และพระราชทานนามใหมวา พระพุทธมหามณีรัตนปฏมิ ากร สาํ หรับ พระนครเม่ือสรางเสร็จสมบูรณในป พ.ศ. 2328 แลวจัดใหมีการสมโภช และพระราชทาน นามพระนครใหมวา กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยามหาดิลก ภพ นพรัตนราชธานีบุรีรมยอุดมราชนิเวชมหาสถาน อมรพิมานอวตาลสถิตสักกะทัศติยวิศนุ กรรมประสิทธ์ิแตตอมาในสมัยรัชกาลท่ี 4 ทรงเปล่ียน จากบวรรัตนโกสินทร เปน อมร รัตนโกสนิ ทร สืบมาจนปจจุบัน สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพภูมิประเทศของกรุงรัตนโกสิทรนั้นต้ังอยูบริเวณแหลมยื่นลงไปในแมน้ํา เจา พระยาฝง ตะวนั ออก มแี มน า้ํ เจา พระยาไหลผา นลงมาจากทางเหนอื ผา นทางตะวนั ตกและ ใตกอ นทจ่ี ะมงุ ลงใตสูอา วไทย ทําใหดคู ลา ยกับกรุงศรอี ยุธยา รชั กาลที่ 1 โปรดเกลา ใหขดุ คู พระนครตง้ั แตบางลําพูไปถงึ วดั เลยี บ ทําใหกรงุ รัตนโกสนิ ทรมสี ภาพเปนเกาะสองช้นั คอื สว นทเ่ี ปน พระบรมมหาราชวงั กบั สว นระหวา งคเู มอื งธนบรุ ี (คลองคเู มอื งเดมิ ) กบั คพู ระนคร ใหม ในขณะเดียวกันไดมีการสรางพระบรมมหาราชวังแบบงายๆ เพื่อใชประกอบพระราช พิธีบรมราชาภิเษก พอประกอบพิธีแลวจึงรื้อของเกาออกและกออิฐถือปูน สวนกําแพง

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 99 พระนครนัน้ นาํ อฐิ จากกรงุ ศรอี ยุธยามาใชส รา งและถือวามชี ยั ภูมชิ ้ันเยี่ยมในการปองกันศึก 2บทท่ี ในสมยั นนั้ คอื พมา เพราะไดม นี า้ํ เจา พระยาขวางทางตะวนั ตก อกี ทง้ั กรงุ ธนบรุ เี ดมิ กส็ ามารถ ดดั แปลงเปน คา ยรบั ศกึ ได แตเ หตกุ ารณท พี่ มา เขา เหยยี บชานพระนครกไ็ มเ คยเกดิ ขน้ึ สกั ครง้ั ประ ัวติศาสต ร เปน ทสี่ งั เกตเหน็ ไดว า การสรา งกรงุ รตั นโกสนิ ทรน น้ั เปน การลงหลกั ปก ฐานของคนไทยอยา ง เปนทางการหลังกรุงแตก เพราะมีการสรางปราสาทราชมณเฑียรท่ีสวยสดงดงามจากสมัย ธนบรุ ี ทั้งๆ ทข่ี ณะนน้ั เกดิ สงครามกบั พมาคร้ังใหญ การขยายพระนคร การขยายพระนครนั้นเริม่ ในรชั กาลท่ี 4 เม่ือมกี ารขดุ คลองผดงุ กรุงเกษมข้นึ พรอม สรางปอมแตไมมีกําแพง นอกจากน้ันยังมีการตัดถนนเจริญกรุงและพระรามส่ีหรือสมัยน้ัน เรยี กถนนตรง ทาํ ใหค วามเจรญิ ออกไปพรอ มกบั ถนน กส็ รปุ ไดว า ในรชั กาลที่ 4 เมอื งไดข ยาย ออกไปทางตะวนั ออก ในรัชกาลท่ี 5 ความเจรญิ ไดต ามถนนราชดําเนินไปทางเหนือพรอม กับการสรางพระราชวังดุสิตขึ้น กําแพงเมืองตางๆ เร่ิมถูกร้ือเนื่องจากความเจริญและศึก ตา งๆ เริ่มไมม แี ลว ความเจริญไดตามไปพรอ มกับวงั เจานายตางๆ นอกพระนคร ทงุ ตา งๆ กลายเปน เมอื ง ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดเกดิ สะพานขามแมน ํ้าเจาพระยาแหง แรก เปน สะพาน ขามทางรถไฟชื่อสะพานพระรามหก พอมาถึงรัชกาลที่ 7 ฝงกรุงธนบุรีกับพระนครไดถูก เช่ือมโดยสะพานปฐมบรมราชานุสรณ (สะพานพุทธ) ทําใหประชาชนเกิดความสะดวกข้ึน มามากในการสญั จรเมอ่ื เกดิ สงครามโลกครงั้ ทส่ี องในรชั กาลท่ี 8 พระนครถกู โจมตที างอากาศ จากฝายสมั พนั ธมิตรบอยครัง้ แตพระบรมมหาราชวังปลอดภัยเนือ่ งจากทางเสรไี ทยไดร ะบุ พิกัดพระบรมมหาราชวงั มิใหม ีการยิงระเบดิ เมื่อส้ินสงครามแลว พระนครเริ่มพฒั นาแบบไม หยดุ เกิดการรวมจงั หวดั ตา งๆ เขา เปนกรงุ เทพมหานคร และไดเ ปน เขตปกครองพิเศษหน่งึ ในสองแหง ของประเทศไทย พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย (รัชกาลที่ 2) เสด็จพระราชสมภพเมอื่ วนั ที่ 24 กุมภาพนั ธ พ.ศ. 2310 พระนามเดิมวา ฉิม เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช พระองคท รงใฝพ ระทยั ในศลิ ปวฒั นธรรมมาก ทงั้ ทางดา น วิจิตรศิลปและวรรณคดีพระองคไดรับการยกยองวาเปนกษัตริยผูเปนอัครศิลปน ทรงสราง และบูรณะวัดวาอารามจํานวนมาก ท่ีสําคัญท่ีสุดคือโปรดเกลาฯ ใหบูรณะ วัดสลักใกล พระราชวังเดิมฝงธนบุรี จนยิ่งใหญสวยสงากลายเปนวัดประจํารัชกาลของพระองคและ พระราชทานนามวา “วัดอรุณราชวรารามมหาวิหาร” ความเปนศิลปนเอกของพระองค เห็นไดจากการท่ีพระองคทรงแกะสลักบานประตูหนาวัดสุทัศนฯ ดวยพระองคเอง ผลงาน อนั วจิ ติ รชน้ิ นป้ี จ จบุ นั เกบ็ รกั ษาไวท พ่ี พิ ธิ ภณั ฑส ถานแหง ชาตกิ รงุ เทพฯ นอกจากฝพ ระหตั ถ เชิงชา งแลว รัชกาลที่ 2 ยงั ทรงพรอ มอัจฉรยิ ภาพในทางกวีดวย พระราชนิพนธช ิ้นสาํ คญั ของพระองค บทละครเรื่อง อิเหนา และรามเกียรต์ิ นอกจากทรงพระราชนพิ นธด ว ยพระองคเ องแลว ยงั ไดช อ่ื วา เปน องคอ ปุ ถมั ภบ รรดา ศิลปน และกวดี ว ย ยุคน้ีจงึ เรยี กไดวา เปน ยคุ สมยั ที่กวรี ุงเรืองท่สี ดุ กวีเอกท่ีปรากฏในรัชกาล ของพระองค คอื พระศรีสนุ ทรโวหาร (ภู) ทคี่ นไทยทั่วๆ ไปเรยี กวา “สุนทรภู”

ประวตั ิศาสตร 100 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม ในดา นการตา งประเทศ พระองคท รงไดเ รม่ิ ฟน ฟคู วามสมั พนั ธก บั ประเทศตะวนั ตก ใหม หลงั จากหยดุ ชะงกั ไปตงั้ แตส มยั สมเดจ็ พระนารายณม หาราช โดยมพี ระบรมราชานญุ าต ใหโปรตุเกสเขา มาตั้งสถานทตู ไดเ ปน ชาติแรก พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลา เจา อยหู วั (รชั กาลท่ี 3) เสดจ็ พระราชสมภพ เม่อื วัน ท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 มพี ระนามเดมิ วา พระองคเจาทับ เปน พระราชโอรสในพระบาท สมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั และเจา จอมมารดาเรยี บ เปน กษตั รยิ ผ ทู รงเครง ครดั ในศาสนา พทุ ธ ชาวตะวนั ตกมกั มองวาพระองคต งึ และตอ ตา นศาสนาอ่นื แมก ระน้นั กท็ รงอนญุ าตให มิชช่ันนารีจากอเมริกานําแพทยแผนตะวนั ตกเขามาเผยแพรไ ด ความจริงในสมัยรัชกาลท่ี 3 ประเทศสยามตองรบั บรรดาทตู ตา งๆ จากชาติตะวนั ตกท่ีเขามาทําสัญญาทางการคาบางแลว โดยเฉพาะการมาถึงของเซอรจอหน เบาริ่ง จาก 2บทที่ องั กฤษทเี่ ขา มาทาํ สญั ญาเบารง่ิ อนั สง ผลอยา งใหญห ลวงตอ งานประเทศสยามในเวลาตอ มา อยางไรก็ตามผลจากการเปดประเทศมาปรากฎอยางเดนชัดในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจา อยหู ัว รชั กาลที่ 4 ซึง่ ทรงสนพระทยั ในศิลปะวิทยาการของตะวนั ตกมาก พระองคท รงศกึ ษาวชิ าการตา งๆ อยา งแตกฉาน ทรงเขา ใจภาษาบาลเี ปน อยา งดตี ง้ั แตค รง้ั ที่ ออกผนวชเปน เวลาถึง 27 พรรษากอ นทรงขนึ้ ครองราชย สวนภาษาอังกฤษน้ันทรงไดเรยี น กบั มชิ ชนั นารจี นสามารถตรสั ไดเ ปน อยา งดี นอกจากนย้ี งั มคี วามรใู นวทิ ยาศาสตรแ ขนงตา งๆ โดยเฉพาะดาราศาสตร ในยคุ สมยั ของพระองค ขนมธรรมเนยี มตา งๆ ในราชสาํ นกั ไดเ ปลย่ี น ไปมาก เชน การแตง กายเขา เฝา ของขนุ นาง ทรงใหส วมเสอ้ื ผา แบบตะวนั ตกแทนทจี่ ะเปลอื ย ทอนบนเชน สมัยกอ น หรอื ยกเลกิ ประเพณีหมอบคลาน เปนตน สว นในดานการศาสนาน้นั ทรงตง้ั นกิ ายธรรมยตุ ิข้นึ มา ซ่งึ เปนการเริ่มตนการรวม อํานาจของคณะสงฆ ซ่งึ เคยกระจดั กระจายทั่วประเทศใหเขา มาอยทู ี่สว นกลาง พระองคน บั วาทรงเปนกษัตริยผูมีวิสัยทัศนยาวไกล และทรงตระหนักถึงภัยจากลัทธิลาอาณานิคมของ ประเทศตะวันตก ซึ่งในเวลาน้ันเขายึดครองประเทศเพื่อนบานของสยามจนหมดส้ินแลว พระองคทรงมีพระราชดําริวา ความเขมแข็งแบบตะวันออกของสยามไมสามารถชวยให ประเทศรอดพน จากการตกเปนอาณานคิ มได จึงทรงเนนใหประเทศสยามพฒั นาใหท นั สมยั เพือ่ ลดความขดั แยง กบั ชาติตะวนั ตก ยคุ สมยั นก้ี ลา วไดว า ประเทศสยามเรมิ่ หนั ทศิ ทางไปสตู ะวนั ตกแทนทจี่ ะแขง็ ขนื อยา ง ประเทศเพอื่ นบา น ซง่ึ ถงึ ทสี่ ดุ แลว กไ็ มอ าจสคู วามไดเ ปรยี บทางเทคโนโลยขี องชาตติ ะวนั ตก ไดใ นราชสาํ นกั ทรงจา งครฝู รง่ั มาสอนภาษาใหแ กพ ระราชโอรสและพระราชธดิ า สว นภายนอก มชี าวตา งประเทศจาํ นวนมากที่มาประกอบกิจการในเมอื งสยาม สมยั นม้ี ีหนงั สือพิมพภ าษา ไทยออกมาเปนคร้ังแรก นัน่ คอื บางกอกรีคอดเดอรของหมอบัดเลย  พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู วั (รชั กาลที่ 4) เสด็จพระราชสมภพเมอ่ื วนั ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลยั และสมเด็จพระศรีสรุ เิ ยนทราบรมราชินี มีพระนามเดิมวา เจาฟามหามาลา เมื่อพระชมมายุ ได 9 พรรษา ไดรบั สถาปนาเปน เจาฟา มงกุฎมีพระราชอนชุ ารวมพระราชมารดา คอื เจา ฟา

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 101 จุฬามณี ซง่ึ ตอ มาไดรบั สถาปนาเปน พระบาทสมเดจ็ พระปนเกลาเจา อยูหัว เม่อื พระชนมายุ 2บทที่ ได 21 พรรษา ไดอ อกผนวชตามประเพณแี ละอยใู นเพศบรรพชิต ตลอดรชั สมัยรชั กาลที่ 3 เม่อื รัชกาลท่ี 3 สวรรคตจึงไดล าสกิ ขามาขนึ้ ครองราชยสมบตั ิ ประ ัวติศาสต ร ระหวางท่ีทรงผนวช ประทับอยูท่ีวัดมหาธาตุ แลวทรงยายไปอยูวัดราชาธิวาส (วดั สมอราย) พระองคไ ดทรงต้ังคณะสงฆ ชือ่ “คณะธรรมยุตนิ กิ าย” ขน้ึ ตอ มาทรงยา ย ไปอยูวัดบวรนิเวศวิหารไดรับแตงต้ังเปนพระราชาคณะ และไดเปนเจาอาวาสวัดบวรนิเวศ องคแ รก ทรงรอบรภู าษาบาลแี ละแตกฉานในพระไตรปฏ ก นอกจากนนั้ ยงั ศกึ ษาภาษาลาตนิ และภาษาอังกฤษจนสามารถใชง านไดด ี ในรชั สมัยของพระองค องั กฤษ สหรฐั อเมริกา และ ฝรัง่ เศส ตางก็สงทตู มาขอทาํ สนธสิ ญั ญาในเรื่องสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขตใหแ กค นในบงั คบั ของตน และสทิ ธกิ ารคาขายเสรี ตอมาไทยไดทาํ สญั ญาไมตรกี ับประเทศนอรเ วย เบลเยี่ยม และอติ าลี และไดท รงสง คณะทตู ออกไปเจรญิ พระราชไมตรกี บั ตา งประเทศ นบั เปน ครงั้ ทส่ี อง ของไทย นบั ตอ จากสมยั สมเดจ็ พระนารายณม หาราช โดยไปยงั ประเทศองั กฤษ และฝรง่ั เศส ทรงจา งชาวยโุ รปมารบั ราชการในไทย ในหนา ทลี่ า มแปลเอกสารตาํ รา ครฝู ก วชิ าทาง ทหารและตาํ รวจ และงานดานการชา ง ทรงต้ังโรงพมิ พข องรฐั บาล ต้งั โรงกษาปณเ พอ่ื ผลิต เงนิ เหรยี ญ แทนเงินพดดวงและเบีย้ หอยที่ใชอ ยเู ดิม มีโรงสไี ฟ โรงเลอ่ื ยจกั ร เปด ท่ที าํ การ ศลุ กากร ตัดถนนสายหลกั ๆ ไดแก ถนนบํารงุ เมอื ง ถนนเฟองนคร ถนนเจริญกรงุ และ ถนนสีลม มีรถมาขึ้นใชครั้งแรกขุดคลองผดุงกรุงเกษม คลองมหาสวัสดิ์ คลองภาษีเจริญ คลองดาํ เนินสะดวก และคลองหัวลาํ โพง ดา นการปกครอง ไดจ ดั ตงั้ ตาํ รวจนครบาล ศาล แกไ ขกฎหมายใหท นั สมยั ใหเ สรภี าพ ในการนับถือศาสนาดา นศาสนา ไดส รา งวดั ราชประดิษฐ วดั มงกฎุ กษัตริยารามและวดั ปทมุ วนาราม เปนตน ทรงเชยี่ วชาญทางโหราศาสตร สามารถคาํ นวนการเกดิ จนั ทรปุ ราคา และ สุริยุปราคาไดอยางแมนยํา ทรงคํานวณการเกิดสุริยุปราคาหมดดวงในวันขึ้น 1 ค่ํา เดือน 10 ป พ.ศ. 2411 ณ ตาํ บลหวากอ (คลองวาฬ) จังหวัดประจวบคีรขี ันธ ไดอ ยางถกู ตอ ง พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั (รชั กาลท่ี 5) เสดจ็ พระราชสมภพเมอื่ วันท่ี 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 มพี ระนามเดิมวา เจาฟาจฬุ าลงกรณ เปนพระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว และสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย กอนขึ้นครอง ราชยท รงดาํ รงพระยศเปนกรมขุนพินิตประชานาถ พระองคไดท รงสรางความเจรญิ รงุ เรอื งใหแกประเทศนานปั การ ทรงบริหารประเทศ กาวหนาทัดเทียมนานาอารยประเทศ ทรงประกาศเลิกทาส ปรับปรุงระบบการศาล ต้ัง กระทรวงยตุ ธิ รรม ปรบั ปรงุ กฎหมายตา งๆ สง เสรมิ การศกึ ษาอยา งกวา งขวางในหมปู ระชาชน ทว่ั ไป ตงั้ กระทรวงธรรมการ ตง้ั โรงเรยี นฝก หดั ครู สง นกั เรยี นไทยไปศกึ ษาในยโุ รป สรา งการ รถไฟ โดยทรงเปด เสน ทางเดนิ รถไฟสายกรงุ เทพฯ ถงึ นครราชสมี า เมอื่ วนั ที่ 9 มนี าคม พ.ศ. 2421 สรางโรงไฟฟาจัดใหม กี ารเดินรถรางขึ้นในกรงุ เทพฯ จัดตงั้ การ ไปรษณียโทรเลข เมอื่ พ.ศ. 2421 สรางระบบการประปา ฯลฯ

ประวตั ิศาสตร 102 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม ดา นการตา งประเทศ ทรงมวี สิ ยั ทศั นก วา งไกลยง่ิ นกั ไดท รงนาํ ประเทศไทยใหร อดพน จากการเปน เมอื งขน้ึ ของชาตติ ะวนั ตกไดต ลอดรอดฝง โดยดาํ เนนิ การผกู สมั พนั ธไมตรกี บั ประเทศมหาอาํ นาจเพื่อคานอํานาจ พระองคไดเ สดจ็ ประพาสยุโรป ถึงสองครัง้ ไดเ สดจ็ เยือนประเทศ ฝรัง่ เศส รัสเซีย เยอรมนี อังกฤษ ออสเตรยี ฮงั การี เบลเยีย่ ม อติ าลี สวีเดน และเดนมารก เมอ่ื ป พ.ศ. 2440 ทรงแตง ตง้ั ราชทตู ไปประจาํ ประเทศตา งๆ ในป พ.ศ. 2424 ไดแก อติ าลี เยอรมนั เนเธอรแ ลนด เบลเยี่ยม ออสเตรีย ฮงั การี เดนมารก สวเี ดน โปรตุเกส นอรเ วย และสเปน อังกฤษ ในป พ.ศ. 2425 สหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. 2427 รสั เซยี ในป พ.ศ. 2440 และญี่ปนุ ในป พ.ศ. 2442 พระองคท รงปกครองอาณาประชาราษฎร ใหเ ปน สขุ รมเยน็ โปรดการเสด็จประพาส ดวยตนเองเพ่ือใหไดทรงทราบความเปนอยูที่แทจริงของพสกนิกร ทรงสนพระทัยในวิชา 2บทที่ ความรู และวิทยาการแขนงตา ง ๆ อยางกวางขวาง และนํามาใชบ รหิ ารประเทศใหเจรญิ รุด หนา อยางรวดเร็ว พระองคจ ึงไดรับถวายพระราชสมญั ญานามวา สมเด็จพระปยมหาราช ดา นการพระศาสนาทรงทาํ นบุ าํ รงุ และจดั การใหเ หมาะสมเจรญิ รงุ เรอื ง ทรงสถาปนา มหาจุฬาลงกรณร าชวิทยาลยั ขึ้น ณ วัดมหาธาตุ และมหามงกฎุ ราชวิทยาลัยขึน้ ณ วัดบวร นิเวศวิหารเพื่อใหเปนสถานศึกษาพระปริยัติธรรม และวิชาการช้ันสูง นอกจากนั้น ยังทรง สรางวัดเทพศิรนิ ทราวาส และวดั เบญจมบพติ ร ซ่งึ นับวา เปนสถาปต ยกรรมที่งดงามยิง่ แหง หนึ่งของกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 6) เสดจ็ พระราชสมภพเมือ่ วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2423 มพี ระนามเดมิ วา สมเดจ็ เจา ฟา มหาวชริ าวธุ เปน พระราชโอรส ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั และสมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ ได รับสถาปนาเปน สมเดจ็ เจา ฟา กรมขนุ เทพทวาราวดี เมอ่ื พระชนมายไุ ด 8 พรรษา เมือ่ พระ ชนมายไุ ด 11 พรรษา ไดเ สดจ็ ไปศกึ ษาวชิ าการทป่ี ระเทศองั กฤษ ทรงศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั ออกซฟ อรด และศกึ ษาวชิ าการทหารบกท่ีโรงเรียนนายรอยแซนดเฮิสต ไดรบั สถาปนาเปน สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าชสยามมกฎุ ราชกมุ าร เมือ่ ป พ.ศ. 2437 เสด็จกลับประเทศไทยแลว ทรงเขารับราชการในตําแหนงจเรทัพบก และทรง บัญชาการทหารมหาดเล็กดํารงพระยศพลเอก เสดจ็ ขน้ึ ครองราชยส มบตั ิ เมอ่ื วนั ท่ี 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 ไดท รงปรบั ปรงุ ดา นการ ศกึ ษาของไทย โปรดใหต ราพระราชบญั ญตั ิ ประถมศกึ ษา ใหเ ปน การศกึ ษาภาคบงั คบั ทรงตง้ั กระทรวงการทหารเรอื กองเสอื ปา และกองลกู เสอื โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ กรมศลิ ปากร โรง ไฟฟา หลวงสามเสน คลงั ออมสนิ กรมสถติ พิ ยากรณ กรมสรรพากร กรมตรวจเงนิ แผน ดนิ กรม มหาวทิ ยาลยั กรมรถไฟหลวง และเปด เดนิ รถไฟไปเชอ่ื มกบั มลายู ตง้ั สถานเสาวภาและกรมรา ง กฎหมาย ทรงเปลย่ี นการใชร ตั นโกสนิ ทรศ ก (ร.ศ.) เปน พทุ ธศกั ราช (พ.ศ.) พระองคไ ดท รงปลกู ฝง ความรกั ชาตใิ หเ กดิ ขนึ้ ในหมปู ระชาชาวไทย ทรงเปน ศลิ ปน และสง เสริมงานประพันธเ ปนอยางมาก ทรงเปนผูน ําในการประพันธวรรณคดไี ทย ทัง้ ท่เี ปน

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 103 รอยแกวและรอยกรอง ทรงเขียนหนังสือทางดานประวัติศาสตร และดานการทหารไวเปน 2บทที่ จาํ นวนมากประมาณถึง 200 เคร่อื ง พระองคจ ึงไดร บั ถวายพระราชสมัญญานามวา สมเด็จ พระมหาธรี ราชเจา ทรงเปนนกั ปราชญท ย่ี ่ิงใหญพ ระองคห น่ึงของไทย ประ ัวติศาสต ร การปกครองประเทศไดทรงเจริญรอยตามสมเด็จพระราชบิดา สานตองานท่ียังไม เสรจ็ สน้ิ ในรชั สมยั ของพระองคไ ดเ กดิ สงครามโลกครงั้ ที่ 1 โดยมสี มรภมู อิ ยใู นทวปี ยโุ รป ทรง ตดั สนิ พระทยั ประกาศสงครามกบั เยอรมนั โดยเขา รว มกบั สมั พนั ธมติ รไดส ง ทหารไทยไปรว ม รบ ณ ประเทศฝรง่ั เศส ผลทสี่ ดุ ไดเ ปน ฝา ยชนะสงคราม ทาํ ใหไ ทยไดร บั การแกไ ขสนธสิ ญั ญา ท่ไี ทยเสยี เปรยี บตางประเทศไดเปน อันมาก พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูห ัว (รัชกาลที่ 7) เสด็จพระราชสมภพเม่อื วนั ที่ 8 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2436 มพี ระนามเดมิ วา สมเดจ็ เจา ฟา ประชาธปิ กศกั ดเิ ดชน เปน พระ ราชโอรส พระองคเล็กของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว และสมเด็จศรีพัชริน ทราบรมราชนิ นี าถไดร บั สถาปนาเปน กรมขนุ สโุ ขทยั ธรรมราชา เมอ่ื พระชนมายไุ ด 12 พรรษา ไดเ สด็จไปศึกษาวิชาการทหารบกทปี่ ระเทศอังกฤษ และฝรั่งเศส สําเร็จการศึกษาแลวเสดจ็ กลับประเทศไทย เขารับราชการที่กองพันทหารปนใหญที่ 1 รักษาพระองคในตําแหนงผู บงั คบั กองรอ ย ตอ มาไดร บั ราชการในตาํ แหนง ผบู งั คบั การโรงเรยี นนายรอ ยทหารบกชน้ั ปฐม ปลดั กรมเสนาธกิ ารทหารบก ผบู ญั ชาการกองพลทหารบกที่ 2 แลว ไดท รงกรมเปน กรมหลวง สโุ ขทยั ธรรมราชา เสด็จข้นึ ครองราชยส มบัติ เมือ่ วนั ท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ในชว งเวลาที่ เศรษฐกิจของประเทศและของโลกกาํ ลงั ทรุดหนัก อันเปน ผลเน่อื งมาจากสงครามโลก ครง้ั ท่ี 1 ซึ่งพระองคก็ไดทรงแกไขอยา งเต็มพระกาํ ลังความสามารถจนประเทศไทย ไดรอดพน จากวกิ ฤตกิ ารณน น้ั ได ในรชั สมยั ของพระองค ไทยสามารถตดิ ตอ กบั นานาประเทศทางวทิ ยุ และโทรเลขไดโดยท่ัวไปเปนคร้ังแรก ทรงพระราชทานนามหอสมุดแหงชาติ พิมพพระ ไตรปฎ กเลมใหม สรา งโรงเรียนวชริ าวธุ วทิ ยาลยั เปด เดินรถไฟไปถึงชายแดนไทยตดิ ตอกบั เขมร แกไขระบบการจัดเก็บภาษาอากรใหม ตั้งสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ประกาศพระราชบญั ญตั เิ งนิ ตรา และทรงตรากฎหมายอนื่ ๆ อกี เปน จาํ นวนมาก สรา งสะพาน พระปฐมบรมราชานุสรณ (สะพานพระพุทธยอดฟาฯ) วันที่ 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 คณะ ราษฎรไ ดป ฏวิ ตั ิเปล่ยี นแปลงการปกครองตอ มาเมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 พระองค ไดต ดั สนิ พระทยั สละราชสมบตั ิ ตอ มาไดเ สดจ็ สวรรคต เมอ่ื วนั ท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ณ ประเทศอังกฤษ พระราชหัตถเลขาที่ทรงลาออกจากราชบัลลังก มีความตอนหน่ึงวา “ขาพเจามี ความเห็นใจท่ีจะสละอํานาจอันเปนของขาพเจาอยูเดิมใหแกราษฎรโดยท่ัวไป แต ขา พเจา ไมย นิ ยอมยกอาํ นาจทง้ั หลายของขา พเจา ใหแ กผ ใู ด คณะใดโดยเฉพาะ เพอื่ ใช อํานาจโดยสทิ ธิขาดและโดยไมฟง เสียงอนั แทจ ริงของประชาราษฎร”

104 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวอานันทมหิดล (รชั กาลที่ 8) เสดจ็ พระราชสมภพ เมือ่ วันที่ 20 กันยายน 2468 ณ เมอื งไฮเดลเบิรก ประเทศเยอรมนั ทรงเปน พระราชโอรส องคท ี่สองของสมเดจ็ พระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม บรมราชชนก และสมเด็จพระศรี นครนิ ทราบรมราชชนนี เม่อื พระชนมายุได 3 เดอื น ไดต ามเสด็จพระบรมราชชนกนาถและพระราชมารดา ไปประทับอยู ณ ประเทศฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกา จนพระชนมายไุ ด 3 พรรษา จึงเสดจ็ กลับประเทศไทย เมื่อป พ.ศ. 2471 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง สมเด็จพระราชชนนีได นาํ เสด็จไปประทับอยู ณ เมอื งโลซานน ประเทศสวติ เซอรแลนด เมื่อป พ.ศ. 2476 เมอ่ื พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั ทรงสละราชสมบตั ิ เม่อื วนั ที่ 2 มนี าคม พ.ศ. 2477 พระองคไดเ สดจ็ ขึ้นครองราชย เมอ่ื พระชนมายุได 10 พรรษา จึงตองมีคณะผู สาํ เรจ็ ราชการแผน ดินปฏบิ ัติหนา ที่แทนพระองค พระเจาวรวงศเ ธอ กรมหมน่ื อนวุ รรตนจา 2บทท่ี ตุรงต เปน ประธาน ตอมาพระองคเจาอาทิตยท พิ อาภา เปน ประธาน พระองคม นี า้ํ พระราชหฤทยั เปย มดว ยพระเมตตากรณุ าในพสกนกิ รโปรดการศกึ ษา การกีฬา การชาง และการดนตรีไดเสด็จไปศึกษาตอ ณ ประเทศสวิตเซอรแลนดเมื่อ ประวตั ิศาสตร สงครามโลกครั้งท่ี 2 สงบ ไดเสด็จนิวัติประเทศไทย เม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2488 ผูสาํ เรจ็ ราชการแทนพระองค จงึ ไดถวายราชกจิ เพ่อื ใหทรงบรหิ ารโดยพระราชอาํ นาจ เมือ่ วันท่ี 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 ไดเ กิดเหตุการณอ ันไมค าดฝน พระองคต อ ง อาวุธปนเสด็จสวรรคต ณ ที่นั่งบรมพิมานในพระบรมมหาราชวัง ยังความเศราสลด และ ความอาลยั รกั จากพสกนิกรเปนทย่ี ่ิง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (รัชกาล ท่ี 9) เสด็จ พระราชสมภพ เมอ่ื วนั ท่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 ณ มลรฐั แมซซาชเู ซทส ประเทศสหรฐั อเมรกิ า เปน พระราชโอรส องคเ ล็กของสมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศรอดลุ ยเดชวกิ รม บรมราชชนกและ สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เมอ่ื พระชนมายไุ ด 1 พรรษา ไดเ สดจ็ นวิ ตั สปู ระเทศไทย ในป พ.ศ. 2471 ภายหลงั จากทส่ี มเดจ็ พระราชบดิ าเสดจ็ ทวิ งคตแลว ไดเ สดจ็ กลบั ไปประทบั ทีเ่ มืองโลซานน ประเทศสวิตเซอรแลนด และเขารบั การศกึ ษา ณ ท่ีนั้น เมื่อสมเดจ็ พระบรม เชษฐาธริ าช พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั อานนั ทมหดิ ลเสดจ็ สวรรคตเมอ่ื วนั ที่ 13 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2489 ไดเ สดจ็ ขึ้นครองราชยส ืบแทน เม่ือพระชนมายไุ ด 19 พรรษา โดยมีผสู ําเร็จ ราชการแทนพระองค แลว ทรงเสดจ็ ไปศกึ ษาตอ ในวชิ านติ ศิ าสตร ทป่ี ระเทศสวติ เซอรแ ลนด พระองคไ ดเ สดจ็ นวิ ตั สิ ปู ระเทศไทย เมอื่ ป พ.ศ. 2493 เพอื่ ถวายพระเพลงิ พระบรม ศพพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลและไดทรงเขาพระราชพิธี อภิเษกสมรสกับ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ซ่ึงขณะนั้นดํารงพระยศ เปน ม.ร.ว.สิริกิต์ิ กิติยากร พระธิดาของพระวรวงศเธอ กรมหม่ืนจันทบุรีสุรนาถ และไดประกาศพระบรม ราชโองการสถาปนาเปนสมเดจ็ พระบรมราชนิ ี ไดม ีพระบรมราชาภเิ ษก เฉลมิ พระปรมาภไิ ธยวา พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา ภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศร รามาธบิ ดี จกั รนฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร เมื่อวนั ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 105 ไดเ สดจ็ กลบั ไปทรงศกึ ษาตอ ณ ประเทศสวติ เซอรแ ลนด เมอ่ื วนั ที่ 5 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2บทที่ 2493 จนถึงป พ.ศ. 2494 จึงเสด็จนิวัติพระนคร ไดเสด็จออกผนวช ณ วัดพระ ศรีรตั นศาสดารามเมอ่ื วันท่ี 22 ตลุ าคม พ.ศ. 2499 แลวเสด็จประทบั ณ วัดบวรนเิ วศวหิ าร ประ ัวติศาสต ร ระหวา งทที่ รงผนวชสมเดจ็ พระนางเจา ฯ พระบรมราชนิ ี ทรงเปน ผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค จงึ ไดร บั โปรดเกลา ฯ ใหส ถาปนาเปน สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชนิ นี าถ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ทรง บาํ เพ็ญพระราชกรณยี กิจเปนเอนกประการแผไพศาลไปท่ัวทั้งในประเทศและตา งประเทศ ทรงเสด็จพระราชดาํ เนินเยอื นตางประเทศท้งั ในยุโรป เอเชยี และอเมริกา เพ่ือเจรญิ พระราชไมตรีอยางกวางขวาง ปรากฏพระเกียรติคุณอยางที่ไมเคยปรากฎมากอน ดานใน ประเทศทรงเสดจ็ เยยี่ มเยยี นราษฎรในชนบททอี่ ยหู า งไกลเพอื่ รบั ทราบปญ หาตา งๆ โดยตรง และไดท รงรเิ รม่ิ โครงการตามพระราชดาํ ริ เพอ่ื แกป ญ หาเหลา นนั้ พรอ มทง้ั พฒั นาใหด ขี น้ึ เพอ่ื ใหสามารถชวยตนเองได พระราชกรณยี กจิ ของพระองค ทงั้ ในฐานะทท่ี รงเปน พระประมขุ ของประเทศและใน ฐานะสว นพระองคเปน ไปอยา งไมห ยดุ ยง้ั ทรงเตม็ เปย มดว ยทศพธิ ราชธรรม ทรงมพี ระอจั ฉ รยิ ภาพในดา นตา งๆ ยากทจี่ ะหาผเู สมอเหมอื น ทรงมพี ระราชศรทั ธาตง้ั มน่ั และแตกฉานใน พระศาสนาและทรงถา ยทอดแกพ สกนกิ รของพระองคใ นทกุ โอกาส ดงั เราจะไดพ บในพระบรม ราโชวาทที่พระราชทานแกป ระชาชนในโอกาสตา งๆ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง ภายหลงั การปฏิรปู การปกครองและการปฏริ ูปการศกึ ษาในรัชกาลท่ี 5 พระองคไ ด มีกระแสความคิดที่จะใหประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการปกครองท่ีมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการ ปกครองประเทศ โดยมีรัฐสภาเปนสถาบันหลักท่ีจะใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครอง มากข้ึนเปนลําดับ จนกระทั่งไดมีคณะนายทหารชุดกบฏ ร.ศ.130 ซึ่งมีความคิดที่ปฏิบัติ การใหบรรลุความมุงหมายดังกลาว แตไ มท ันลงมือกระทาํ การกถ็ ูกจับไดเสียกอ นเม่อื พ.ศ. 2454 ในตน รชั กาลที่ 6 อยางไรก็ตาม เสียงเรียกรองใหม กี ารเปลี่ยนแปลงการปกครองก็ยงั คงมีออกมาเปน ระยะๆ ทางหนาหนังสือพิมพ แตยังไมผลตอการเปล่ียนแปลงใดๆ มากนัก นอกจากการ ปรบั ตวั ของรฐั บาลทางดา นการเมอื งการปกครองใหท นั สมยั ยงิ่ ขนึ้ กวา เดมิ เทา นน้ั แตก ย็ งั ไม ไดม กี ารประกาศใชร ฐั ธรรมนญู เปน กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศแตป ระการใด จน กระทงั่ ในสมยั รชั กาลท่ี 7 ไดม คี ณะผกู อ การภายใตก ารนาํ ของ พ.อ.พระยาพหลพลพยหุ เสนา ซ่ึงไดกอ การเปล่ยี นแปลงการปกครองเปนผลสําเรจ็ ใน พ.ศ. 2475 ดงั นนั้ การเปลย่ี นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 จงึ เปน การเปลยี่ นแปลงทางการ เมืองทสี่ ําคญั ของประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทย

ประวตั ิศาสตร 106 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม สภาพการณโ ดยท่วั ไปของบานเมืองกอ นเกิดการเปล่ียนแปลงการปกครอง สงั คมไทยกาํ ลงั อยใู นชว งเวลาของการเปลย่ี นแปลงเขา สคู วามทนั สมยั ตามแบบตะวนั ตก ในทกุ ๆ ดา น อนั เปนผลสืบเน่อื งมาจากการปฏริ ปู แผน ดินเขาสูความทันสมยั ในรชั กาลที่ 5 (พ.ศ. 2411 – 2453) ความจริงแลวสงั คมไทยเริ่มปรับตัวใหเขากับกระแสวัฒนธรรมตะวนั ตกมาต้ังแตสมยั รชั กาลท่ี 4 ภายหลังไดทาํ สนธสิ ัญญาบาวรง่ิ กับอังกฤษใน พ.ศ. 2398 และ กับประเทศอน่ื ๆ ในภาคพื้นยโุ รปอีกหลายประเทศ และทรงเปด รับประเพณีและวฒั นธรรม ของตะวนั ตก เชน การจา งชาวตะวนั ตกใหเ ปน ครสู อนภาษาองั กฤษแกพ ระราชโอรสและพระ ราชธิดาในพระบรมมหาราชวัง การใหขาราชการสวมเส้ือเขาเฝา การอนุญาตใหชาวตาง ประเทศเขาเฝา พรอมกับขนุ นางขา ราชการไทยในงานพระบรมราชาภิเษก เปน ตน ในสมยั รัชกาลท่ี 5 ไดทรงดาํ เนินพระบรมราโชบายปลดปลอ ยไพรใหเ ปน อสิ ระและ 2บทท่ี ทรงประกาศเลกิ ทาสใหเ ปน ไทแกต นเอง พรอ มกนั นนั้ ยงั ทรงปฏริ ปู การศกึ ษาตามแบบตะวนั ตก เพอื่ ใหค นไทยทกุ คนไดร บั การศกึ ษาถงึ ขน้ั อา นออกเขยี นไดแ ละคดิ เลขเปน ไมว า จะเปน เจานาย บุตรหลาน ขุนนาง หรือราษฎรสามัญชนทพ่ี นจากความเปนไพรหรอื ทาส ถา บุคคล ใดมสี ตปิ ญ ญาเฉลยี วฉลาดกจ็ ะมโี อกาสเดนิ ทางไปศกึ ษาตอ ยงั ประเทศตะวนั ตกโดยพระบรม ราชานุเคราะหจ ากผลการปฏริ ปู การศกึ ษา ทําใหค นไทยบางกลมุ ท่ไี ดรับการศกึ ษาตามแบบ ตะวันตก เริ่มรับเอากระแสความคิดเก่ียวกับการเมืองสมัยใหม ที่ยึดถือรัฐธรรมนูญเปน กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศมาจากตะวันตก และมีความปรารถนาที่จะเห็นการ เปลยี่ นแปลง สมยั รชั กาลท่ี 5 ทรงปฏริ ปู ประเทศเขา สคู วามทนั สมยั สงั คมไทยกเ็ รมิ่ กา วเขา สคู วาม มีเสรีในการแสดงความคิดเห็นมากข้ึน โดยเร่ิมเปดโอกาสสื่อมวลชนเสนอความคิดเห็นตอ สาธารณชนไดค อ นขางเสรี ดงั นนั้ จึงปรากฏวาสื่อมวลชนตา งๆ เชน น.ส.พ. สยามประเทศ, ตลุ วภิ าคพจนกจิ , ศริ พิ จนภาค, จนี โนสยามวารศพั ท ซงึ่ ตพี มิ พจ าํ หนา ยในรชั กาลท่ี 5 น.ส.พ. บางกอกเมอื ง ซ่งึ พิมพจาํ หนายในสมัยรัชกาลที่ 6 และน.ส.พ. สยามรวี ิว ซึง่ พมิ พจ ําหนาย ในสมัยรชั กาลท่ี 7 ไดเรียกรอ งและช้ีนําใหมีการเปลย่ี นแปลงการปกครองประเทศไปสรู ะบบ รฐั สภา โดยมีรัฐธรรมนญู เปน หลกั ในการปกครองประเทศอยา งตอเนอื่ ง อยา งไรกต็ าม เนอ่ื งจากการปลดปลอยไพรและทาสใหเปน อิสระในสมัยรชั กาลท่ี 5 ไดผ า นพน ไปไดเ พยี ง 20 ปเ ศษ ดงั นน้ั สภาพสงั คมสว นใหญใ นสมยั รชั กาลท่ี 7 กอ นทจี่ ะเกดิ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง จงึ ยงั ตกอยภู ายใตอ ทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมในระบบเจา ขนุ มลู นาย นอกจากนค้ี นสว นนอ ยยงั คงมฐี านะ สทิ ธผิ ลประโยชนต า งๆ เหนอื คนไทยสว นใหญ คนสว น ใหญม กั มคี วามเหน็ คลอ ยตามความคดิ ทสี่ ว นนอ ยซง่ึ เปน ชนชน้ั นาํ ของสงั คมไทยชนี้ าํ ถา จะ มคี วามขัดแยงในสังคมกม็ ักจะเปนความขัดแยง ในทางความคิด และความขดั แยงในเชิงผล ประโยชนในหมูชนช้ันนําของสังคมท่ีไดรับการศึกษาจากประเทศตะวันตกมากกวาจะเปน ความขัดแยงระหวางชนชน้ั นาํ ของสังคมไทยกบั ราษฎรท่ัวไป สภาพการณทางการเมืองและการปกครองของไทยกําลังอยูในระยะปรับตัวเขาสู แบบแผนการปกครองของตะวันตก เหน็ ไดจากพระบรมราโชบายของพระมหากษตั รยิ ไ ทย

รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 107 ทุกพระองค ภายหลังท่ีไทยไดมีการติดตอกับประเทศตะวันตกอยางกวางขวาง นับต้ังแต 2บทที่ สมยั รับกาลท่ี 4 – 7 สมัยรชั กาลที่ 4 ยงั ไมไดทรงดาํ เนินนโยบายปรบั ปรงุ การปกครองให เปนแบบตะวนั ตก แตก ท็ รงมีแนวพระราชดาํ ริโนมเอียงไปในทางเสรีนิยม เชน ประกาศให ประ ัวติศาสต ร เจา นายและขา ราชการเลอื กตงั้ ตาํ แหนง มหาราชครปู โุ รหติ และตาํ แหนง พระมหาราชครมู หธิ ร อันเปนตําแหนงตุลาการท่ีวางลง แทนท่ีจะทรงแตงตั้งผูพิพากษาตามพระราชอํานาจของ พระองค และเปลย่ี นแปลงวธิ ถี วายนาํ้ พพิ ฒั นส ตั ยาดว ยการทพ่ี ระองคท รงเสวยนาํ้ พพิ ฒั นส ตั ยา รวมกับขุนนางขาราชการและทรงปฏิญาณความซื่อสัตยของพระองคตอขุนนางขาราชการ ท้ังปวงดว ย สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรปู การเมอื งการปกครองครัง้ ใหญ เพอื่ ใหก ารปกครองของ ไทยไดเจริญกาวหนาทัดเทียมกับชาติตะวันตก โดยจัดต้ัง สภาที่ปรึกษาราชการแผนดิน (Council of State) และสภาท่ปี รกึ ษาสวนพระองค (Privy Council) ใน พ.ศ. 2417 เพ่ือ ถวายคาํ ปรกึ ษาเกย่ี วกบั การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ในเรอ่ื งตา งๆ ทพ่ี ระองคข องคาํ ปรกึ ษาไป นอกจากนพ้ี ระองคย งั ทรงปฏริ ปู การปกครองทสี่ าํ คญั คอื การจดั ตงั้ กระทรวงแบบใหมจ าํ นวน 12 กระทรวงข้ึนแทนจตุสดมภในสวนกลางและจัดระบบการปกครองหัวเมืองตางๆ ในรูป มณฑลเทศาภิบาลในภูมภิ าค โดยเร่มิ ตัง้ แต พ.ศ. 2435 เปนตนมา นอกจากนี้พระองคทรง ริเรม่ิ ทดลองการจัดการปกครองทองถิน่ ในรูปสขุ าภิบาล จดั ตง้ั รัฐมนตรสี ภา เพ่อื ทําหนา ท่ี ตามกฎหมาย ใน พ.ศ. 2437 ตามแบบอยางตะวันตก สมัยรัชกาลที่ 6 ทรงริเร่ิมทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตยโดยการจัดตั้ง ดสุ ิตธานี เมอื งประชาธิปไตยขน้ึ ในบริเวณพระราชวงั ดสุ ิต พ.ศ. 2461 เพือ่ ทดลองฝกฝน ใหบ รรดาขา ราชการไดท ดลองปกครองตนเองในนครดสุ ติ ธานี เหมอื นกบั การจดั รปู แบบการ ปกครองทองถนิ่ ท่ีเรยี กวา “เทศบาล” นอกจากนยี้ ังทรงจดั ตงั้ กระทรวงขน้ึ มาใหมจากที่มี อยูเดมิ และยุบเลกิ กระทรวงบางกระทรวงใหมีความทนั สมัยมากข้นึ โดยทรงจัดตงั้ มณฑล เพมิ่ ขน้ึ และทรงปรบั ปรงุ การบรหิ ารงานของมณฑลดว ยการยบุ รวมมณฑลเปน หนว ยราชการ ที่เก่ียวกับการปกครองเรียกวา มณฑลภาค เพ่ือใหการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาลมี ความคลอ งตวั มากขน้ึ สมยั รชั กาลที่ 7 (พ.ศ. 2468 – 2475) ทรงเลง็ เหน็ ความจาํ เปน ทจี่ ะตอ งเปลยี่ นแปลง การปกครองใหทันสมัย และตองเตรียมการใหพรอมเพิ่มมิใหเกิดความผิดพลาดได โดย พระองคไดทรงจดั ตั้งอภิรฐั มนตรีสภา เพอื่ เปน ท่ีปรกึ ษาราชการแผนดิน พ.ศ. 2468 และ ทรงมอบหมายใหอ ภริ ฐั มนตรสี ภาวางระเบยี บสาํ หรบั จดั ตงั้ สภากรรมการองคมนตรี เพอื่ เปน สภาท่ีปรึกษาสวนพระองคอ กี ดวย นอกจากน้ีทรงมอบหมายใหอภิรัฐมนตรีวางรูปแบบการปกครองทองถิ่นในรูป เทศบาลดวยการแกไขปรับปรุงสขุ าภบิ าลทม่ี อี ยใู หเ ปน เทศบาล แตไ มม โี อกาสไดประกาศใช เพราะไดเ กิดการเปลีย่ นแปลงการปกครองขึ้นกอ น นอกจากนี้ยังทรงโปรดเกลาฯ ใหพ ระยา ศรีวิศาลวาจาและนายเรยมอนด บี. สตเี วนส ซึง่ เปน ทีป่ รกึ ษากระทรวงการตางประเทศชวย กนั รา งรฐั ธรรมนญู ตามกระแสพระราชดาํ รใิ น พ.ศ. 2474 มีสาระสาํ คัญดังนี้

ประวตั ิศาสตร 108 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม อาํ นาจนติ บิ ญั ญัตจิ ะมีการเลอื กตั้งสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรทางออ ม โดยมีสมาชกิ 2 ประเภท คอื มาจากการเลอื กตง้ั และการแตง ตง้ั สว นผทู มี่ สี ทิ ธสิ์ มคั รเลอื กตง้ั จะตอ งมอี ายุ ไมต่าํ กวา 30 ป มีพน้ื ฐานความรูอานออกเขียนได สวนอาํ นาจบรหิ ารใหพ ระมหากษตั ริย ทรงเลือกนายกรัฐมนตรี แตเน่ืองจากอภิรัฐมนตรีมีความเห็นประชาชนยังไมพรอม ดังนั้น การประกาศใชร ฐั ธรรมนญู ควรระงบั ไวช วั่ คราว จนกระทงั่ ไดเ กดิ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง เสียกอนจึงมิไดม ีการประกาศใชแตอ ยางใด สาเหตกุ ารเปลย่ี นแปลงการปกครองในพ.ศ. 2475 1. ความเสือ่ มของระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย การทค่ี ณะนายทหารหนมุ ภายใตก ารนาํ ของ ร.อ. ขนุ ทวยหาญพทิ กั ษ (เหลง็ ศรจี นั ทร) 2บทท่ี ไดว างแผนยดึ อาํ นาจการปกครอง เพอ่ื เปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย มาเปน ระบอบทจ่ี าํ กดั พระราชอาํ นาจของพระมหากษตั รยิ ใ หอ ยใู นฐานะประมขุ ของประเทศ ภายใตร ฐั ธรรมนญู เมอื่ พ.ศ. 2454 แตไ มป ระสบความสาํ เรจ็ เพราะถกู จบั กมุ กอ นลงมอื ปฏบิ ตั ิ งาน แสดงใหเหน็ ถึงความเส่ือมของระบอบนอี้ ยางเหน็ ไดช ัด ขณะเดียวกันในสมัยรัชกาลที่ 6ไดมีการวิพากษวิจารณกันอยางกวางขวางเกี่ยวกับการใชจายเงินงบประมาณท่ีไมดุลกับ รายรบั ทาํ ใหมีการกลา วโจมตรี ฐั บาลวา ใชจ ายฟมุ เฟอยเกนิ ไป ครั้งตอมาในสมยั รชั กาลท่ี 7 พระองคก็ถูกโจมตีวาทรงตกอยูใตอิทธิพลของอภิรัฐมนตรีสภา ซ่ึงเปนสภาที่ปรึกษาที่ ประกอบดวยสมาชกิ ทเ่ี ปน พระบรมวงศานวุ งศช ้ันสงู และบรรดาพระราชวงศก ม็ ีบทบาทใน การบริหารบานเมืองมากเกินไป ควรจะใหบุคคลอ่ืนที่มีความสามารถเขามีสวนรวมในการ บริหารบานเมืองดวย ปรากฎการณดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงความไมพอใจตอระบอบการ ปกครองทมี่ พี ระมหากษตั ริยอ ยเู หนือกฎหมาย ซ่ึงนบั วันจะมีปฏิกริ ิยาตอตา นมากขึ้น 2. การไดร บั การศกึ ษาตามแนวความคดิ ตะวนั ตกของบรรดาชนชน้ั นาํ ในสงั คมไทย อทิ ธพิ ลจากการปฏริ ปู การศกึ ษาในสมยั รชั กาลท่ี 5 ทาํ ใหค นไทยสว นหนงึ่ ทไ่ี ปศกึ ษา ยงั ประเทศตะวันตก ไดร ับอทิ ธพิ ลแนวคดิ ทางการเมอื งสมยั ใหม และนํากลับมาเผยแพรใ น ประเทศไทย ทาํ ใหค นไทยบางสว นทไ่ี มไ ดไ ปศกึ ษาตอ ในตา งประเทศรบั อทิ ธพิ ลแนวความคดิ ดงั กลา วดว ย อทิ ธพิ ลของปฏริ ปู การศกึ ษาไดส ง ผลกระตนุ ใหเ กดิ ความคดิ ในการเปลยี่ นแปลง การปกครองมากข้ึน นับตั้งแตคณะเจานายและขาราชการเสนอคํากราบบังคมทูลให เปลย่ี นแปลงการปกครอง ในพ.ศ. 2427 นกั หนงั สอื พมิ พอ ยา งเทยี นวรรณ (ต.ว.ส.วณั ณาโภ) ก.ศ.ร.กหุ ลาบ (ตรษุ ตฤษณานนท) ไดเ รยี กรอ งใหป กครองบา นเมอื งในระบบรฐั สภา เพอื่ ให ประชาชนมีสวนรวมในการปกครองและยังไดกลาววิพากษวิจารณสังคม กระทบกระเทียบ ชนชั้นสูงท่ีทําตัวฟุงเฟอ ซึ่งตัวเทียนวรรณเองก็ไดกราบบังคมทูลถวายโครงรางระบบการ ปกครองทเ่ี ปน ประชาธปิ ไตยแดร ชั กาลท่ี 5 ตอ มาในรชั กาลที่ 6 กลมุ กบฏ ร.ศ.130 ทวี่ างแผน ยึดอํานาจการเปล่ียนแปลงการปกครอง ก็เปนบุคคลท่ีไดรับการศึกษาแบบตะวันตกแตไม เคยไปศกึ ษาในตา งประเทศ แตค ณะผกู อ การเปลย่ี นแปลงการครองในพ.ศ. 2475 เปน คณะ

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 109 บคุ คลทส่ี ว นใหญผ า นการศกึ ษามาจากประเทศตะวนั ตกแทบทง้ั สนิ้ แสดงใหเ หน็ ถงึ อทิ ธพิ ล 2บทที่ ของความคดิ ในโลกตะวนั ตกทมี่ ตี อ ชนชน้ั ผนู าํ ของไทยเปน อยา งยง่ิ เมอื่ คนเหลา นเี้ หน็ ความ สาํ คญั ของระบอบประชาธปิ ไตยทมี่ พี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ การเปลยี่ นแปลงการปกครอง ประ ัวติศาสต ร จงึ เกดิ ขนึ้ 3. ความเคล่อื นไหวของบรรดาสื่อมวลชน ส่ือมวลชนมีบทบาทในการกระตุนใหเกิดความตื่นตัวในการปกครองแบบใหม และปฏิเสธระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย เชน น.ส.พ.ตุลวิภาคพจนกิจ (พ.ศ. 2443 – 2449) น.ส.พ.ศริ พิ จนภาค (พ.ศ. 2451) น.ส.พ.จนี โนสยามวารศพั ท (พ.ศ. 2446 – 2450) น.ส.พ. บางกอกการเมอื ง (พ.ศ. 2464) น.ส.พ. สยามรวี วิ (พ.ศ. 2430) น.ส.พ. ไทยใหม (พ.ศ. 2474) ตา งกเ็ รยี กรอ งใหม กี ารปกครองในระบบรฐั สภาทม่ี รี ฐั ธรรมนญู เปนหลักในการปกครองประเทศ โดยชใี้ หเหน็ ถึงความดงี ามของระบอบประชาธิ ปไตยที่จะ เปนแรงผลักดันใหประชาชาติมีความเจริญกาวหนามากกวาที่เปนอยู ดังเชนท่ีปรากฎเปน ตัวอยางในหลายๆ ประเทศท่ีมีการปกครองในระบอบรัฐธรรมนูญ กระแสเรียกรองของ สื่อมวลชนในสมัยนั้นไดมีสวนตอการสนับสนุนใหการดําเนินของคณะผูกอการในอันท่ีจะ เปลยี่ นแปลงการปกครองบรรลผุ ลสาํ เร็จไดเหมอื นกัน 4. ความขดั แยงทางความคดิ เก่ยี วกบั การปกครองในระบอบประชาธิปไตย รชั กาลที่ 7 ทรงเล็งเห็นความสาํ คญั ของการมรี ัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสงู สุดใน การปกครองประเทศและทรงเต็มพระทัยท่ีจะสละพระราชอํานาจมาอยูภายใตรัฐธรรมนูญ เมอ่ื ถงึ เวลาทเ่ี หมาะสม แตเ มอื่ พระองคท รงมกี ระแสรบั สงั่ ใหพ ระยาศรวี ศิ าลวาจาและนายเรย มอนด บ.ี สตเี วนส รางรฐั ธรรมนูญข้ึนมาเพอื่ ประกาศใช พระองคไดท รงนําเรอ่ื งนไ้ี ปปรึกษา อภริ ฐั มนตรสี ภา แตอ ภริ ฐั มนตรสี ภากลบั ไมเ หน็ ดว ย โดยอา งวา ประชาชนยงั ขาดความพรอ ม และเกรงจะเปนผลเสียมากกวาผลดี ทั้งๆ ท่ีรัชกาลท่ี 7 ทรงเห็นดวยกับการประกาศใช รัฐธรรมนูญ แตเมือ่ อภิรัฐมนตรสี ภาคดั คาน พระองคจึงมีนํา้ พระทัยเปนประชาธิปไตยโดย ทรงฟงเสียงทัดทานจากอภิรัฐมนตรีสภาสวนใหญ ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงยังไมมีโอกาสไดรับ การประกาศใช เปน ผลใหค ณะผกู อ การชงิ ลงมอื ทาํ การเปลยี่ นแปลงการปกครองในวนั ที่ 24 มถิ นุ ายน 2475 ในทีส่ ดุ 5. สถานการณคลังของประเทศและการแกปญ หา การคลงั ของประเทศเริม่ ประสบปญ หามาตงั้ แตสมยั รัชกาลที่ 6 เพราะการผลติ ขาวประสบความลมเหลว เน่ืองจากเกิดภาวะน้ําทวมและฝนแลงติดตอกันใน พ.ศ.2460 และ พ.ศ. 2462 ซง่ึ กอ ใหเ กดิ ผลเสยี หายตอ การผลติ ขา วรนุ แรง ภายในประเทศกข็ าดแคลน ขาวท่จี ะใชใ นการบริโภค และไมสามารถสง ขา วไปขายยังตา งประเทศได ทาํ ใหร ฐั ขาดรายได เปนจํานวนมาก รัฐบาลจึงตองจัดสรรเงินงบประมาณชวยเหลือชาวนา ขาราชการ และผู ประสบกบั ภาวะคาครองชีพท่สี งู ข้ึน มที ั้งรายจายอ่ืนๆ เพมิ่ ข้ึนจนเกนิ งบประมาณรายได ซ่งึ

ประวตั ิศาสตร 110 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม ใน พ.ศ. 2466 งบประมาณขาดดลุ ถงึ 18 ลา นบาท นอกจากนรี้ ัฐบาลไดนาํ เอาเงินคงคลงั ท่ีเก็บสะสมไวอ อกมาใชจ า ยจนหมดส้ิน ในขณะที่งบประมาณรายไดต่ํา รัชกาลท่ี 6 ทรงแก ปญ หาดว ยการกเู งนิ จากตา งประเทศ เพอื่ ใหม เี งนิ เพยี งพอกบั งบประมาณรายจา ย ทาํ ใหเ กดิ เสยี งวพิ ากษว จิ ารยว า รฐั บาลใชจ า ยเงนิ งบประมาณอยา งไมป ระหยดั ในขณะทเี่ ศรษฐกจิ ของ ประเทศกาํ ลงั คับขนั ตอมาสมัยรัชกาลที่ 7 ทรงดําเนินนโยบายตัดทอนรายจายของรัฐบาลลดจํานวน ขาราชการในกระทรวงตางๆ ใหนอยลง และทรงยินยอมตัดทอนงบประมาณรายจายสวน พระองคใ หน อ ยลง เมอ่ื พ.ศ. 2469 ทาํ ใหร ฐั บาลมรี ายไดเ พม่ิ ขน้ึ ปล ะ 3 ลา นบาท แตเ นอ่ื งจาก เศรษฐกจิ ของโลกเรมิ่ ตกตา่ํ มาเปน ลาํ ดบั ตง้ั แต พ.ศ. 2472 ทาํ ใหม ผี ลกระทบตอ ประเทศไทย อยา งไมม ที างหลกี เลยี่ ง รฐั บาลตอ งตดั ทอนรายจา ยอยา งเขม งวดทสี่ ดุ รวมทงั้ ปลดขา ราชการ 2บทที่ ออกจากตําแหนง เปนอันมาก จัดการยุบมณฑลตา งๆ ทวั่ ประเทศ งดจา ยเบย้ี เล้ยี งและเบีย้ กันดารของขา ราชการ รวมทง้ั การประกาศใหเ งินตราของไทยออกจากมาตรฐานทองคํา พ.ศ. 2475 รัฐบาลไดประกาศเพมิ่ ภาษรี าษฎรโดยเฉพาะการเกบ็ ภาษเี งนิ เดอื นจาก ขาราชการ แตมาตรการดังกลาวก็ไมสามารถจะกอบกูสถานการณคลังของประเทศได กระเตอื้ งขน้ึ ได จากปญ หาเศรษฐกจิ การคลงั ทร่ี ฐั บาลไมส ามารถแกไ ขใหม สี ภาพเปน ปกตไิ ด ทาํ ใหค ณะผกู อ การใชเ ปน ขอ อา งในการโจมตปี ระสทิ ธภิ าพการบรหิ ารงานของรฐั บาล จนเปน เงือ่ นไขใหค ณะผกู อ การดาํ เนนิ การเปลีย่ นแปลงการปกครองเปนผลสาํ เร็จ กจิ กรรม เรอื่ งท่ี 3 ประวัติศาสตรชาติไทย กจิ กรรมที่ 8 ใหผูเรียนแบงกลุม 4 กลุม แตละกลุมศึกษาคนควาและทํารายงานสง พรอ มกบั นาํ เสนอ โดยมหี วั เรือ่ ง ดังนี้ กลมุ ท่ี 1 ประวตั ิความเปน มาของชาติไทย ตงั้ แตสมยั โบราณจนถงึ กรงุ ธนบรุ ี กลุมท่ี 2 ประวัติความเปนมาของกรงุ รัตนโกสนิ ทร กลุม ท่ี 3 การเปลีย่ นแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 กลมุ ท่ี 4 ใหว เิ คราะหส ถานการณป จ จบุ นั ของกรงุ เทพมหานครฯ วา แนวโนม ประเทศไทยจะยา ยเมืองหลวงไปยงั แหง ใหม หรอื ไม เพราะเหตใุ ด

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 111 เรอ่ื งที่ 4 บคุ คลสําคัญของไทยและของโลกในดา นประวตั ิศาสตร 2บทที่ จากการศึกษาประวัติศาสตรไทยและของโลกทําใหเราไดทราบเรื่องราวและผลงาน ประ ัวติศาสต ร ทดี่ าํ รงความเปน เอกราช มวี ฒั นธรรมดา นตา งๆ ทเ่ี ปน เอกลกั ษณ และทสี่ รา งคณุ คา ประโยชน ส่งิ ทดี่ ีงามใหแกม วลมนษุ ย ฉนัน้ อนชุ นรุนหลังจะตอ งเอาใจใสด ูแลรกั ษามรดกตางๆ เหลานี้ เพอ่ื ถา ยทอดสคู นรนุ หลงั ตอ ไป บุคคลสาํ คัญของไทยและของโลก 1. สมยั กรงุ สโุ ขทยั 1.1 พอ ขนุ รามคําแหงมหาราช พอขุนรามคําแหงมหาราช เปนพระราชโอรสของพอขุนศรีอินทราทิตย (บางกลางทาว) กบั นางเสือง มพี ระนามเดิมวา พระราม เมอ่ื ชนมายุ 19 พรรษา ไดตาม เสด็จพระบิดาไปในการสงครามระหวา งสโุ ขทยั กบั เมอื งฉอด ทรงชว ยพระบดิ าทํายุทธหัตถี ชนะขนุ สามชน เจา เมอื งฉอด พระบิดาจึงเฉลิมพระนามใหเปน “พระรามคาํ แหง” พระราชกรณียกจิ ที่สาํ คัญ 1. ทรงขยายอาณาเขตออกไปกวางขวางกวารัชสมัยใดๆ และสรางความสัมพันธ อันดกี บั รฐั ใกลเคียง เชน พญาเมง็ รายแหง อาณาจักรลา นนา พญางําเมอื งแหงแควนพะเยา พระเจา ฟารว่ั แหงอาณาจกั รมอญ 2. ทรงประดษิ ฐตวั อักษรไทยใน พ.ศ. 1826 3. ทรงสง เสริมการคา ทัง้ การคา ภายในและการคาภายนอก เชน ใหงดเวน การเก็บ จังกอบหรือภาษีดา น 4. ทรงบํารุงศาสนา เชน ใหนิมนตพระสงฆนิกายเถรวาทแบบลังกาวงศจาก นครศรธี รรมราชมาเปนพระสงั ฆราช และรเิ ร่มิ การนมิ นตพ ระสงฆมาแสดงธรรมในวันพระ 5. ทรงดูแลทกุ ขส ขุ ของราษฎรอยา งใกลช ิด เชน ใหผเู ดือดรอ นมาสั่นกระดิง่ ถวาย ฎกี าไดใ หทายาทมสี ิทธิไดร ับมรดกจากพอ แมทเ่ี สียชีวิตไป เปน ตน 1.2 พระมหาธรรมราชาที่ 1 พญาลิไท หรือ พระยาลไิ ท หรือ พระศรีสรุ ยิ พงศร ามมหาธรรม-ราชาธิราช หรอื พระมหาธรรมราชาท่ี 1 ทรงเปน พระราชโอรสของพระยาเลอไทและพระราชนดั ดา (หลานป)ู ของพอขุนรามคําแหง ครองราชย พ.ศ. 1890 แตไมทราบปสิ้นสุดรัชสมัยที่แนนอน สนั นษิ ฐานวา อยรู ะหวา ง พ.ศ. 1911 – 1966 พระมหาธรรมราชาท่ี 1 ทรงเปนแบบฉบับ ของกษตั รยิ ใ นคตธิ รรมราชา ทรงปกครองบา นเมอื งและอาณาประชาราษฎรด ว ยทศพธิ ราชธรรม ทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองจนสุโขทัยกลายเปนศูนยกลางของพระพุทธ ศาสนาและทรงปฏิบัติพระองคชักนําชนทั้งหลายใหพนทุกข หลักฐานสําคัญอีกชิ้นหน่ึงท่ี

ประวตั ิศาสตร 112 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม แสดงวา พระองคม คี วามรแู ตกฉานในพระไตรปฎ กเปน อยา งดี ไดแ ก วรรณกรรมเรอื่ ง ไตรภมู ิ พระรวง วรรณคดชี ้ินแรกของประเทศไทย เม่ือป พ.ศ. 1888 ทีท่ รงนพิ นธขน้ึ ต้งั แตกอ น เสวยราชยหลังจากทรงเปน รัชทายาทครองเมอื งศรสี ชั นาลัยอยู 8 ป จงึ เสด็จมาครองสโุ ขทัย เมอ่ื ป พ.ศ. 1890 โดยตอ งใชก าํ ลงั ทหารเขา มายดึ อาํ นาจเพราะทส่ี โุ ขทยั หลงั สน้ิ รชั กาลพอ ขนุ งวั นําถมแลวเกดิ การกบฏการสบื ราชบัลลงั กไ มเ ปน ไปตามครรลองครองธรรม พระราชกรณียกิจทีส่ าํ คัญ 1. การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาศูนยรวมจิตใจของคนในชาติ เพราะสุโขทัยหลัง รชั สมยั พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชแลว บา นเมอื งแตกแยกแควน หลายแควน ในราชอาณาจกั ร แยกตัวออกหางไป ไมอ ยูในบังคับบัญชาสโุ ขทัยตอไป 2. พญาลิไททรงคิดจะรวบรวมสุโขทัยใหกลับคืนดังเดิม แตก็ทรงทําไมสําเร็จ 2บทที่ นโยบายการปกครองท่ีใชศาสนาเปนหลักรวมความเปนปกแผนจึงเปนนโยบายหลักใน รชั สมัยนี้ 3. ทรงสรา งเจดียที่นครชุม (เมอื งกาํ แพงเพชร) สรางพระพทุ ธชนิ ราชทพี่ ษิ ณโุ ลก ทรงออกผนวช เมือ พ.ศ. 1905 การท่ีทรงออกผนวช นบั วา ทําความมนั่ คงให พทุ ธศาสนามากข้นึ ดงั กลา วแลววา หลังรัชสมัยพอขนุ รามคาํ แหงมหาราชแลว บา นเมือง แตกแยกวงการสงฆเ องก็แตกแยก แตล ะสาํ นักแตละเมืองก็ปฏบิ ตั แิ ตกตา งกนั ออกไป เมื่อ ผนู าํ ทรงมีศรัทธาแรงกลา ถึงขั้นออกบวช พสกนิกรทั้งหลายกค็ ลอ ยตามหนั มาเลอื่ มใสตาม แบบอยา งพระองค กิตตศิ ัพทข องพระพทุ ธศาสนาในสโุ ขทัยจึงเลอ่ื งลือไปไกล พระสงฆช ัน้ ผใู หญห ลายรปู ไดอ อกไปเผยแพรธ รรมใสแ ควน ตา งๆ เชน อโยธยา หลวงพระบาง เมอื งนา น พระเจา กือนา แหงลา นนาไทย ไดนมิ นตพระสมณะเถระไปจากสุโขทยั เพ่อื เผยแพรธรรมใน เมืองเชียงใหม 2. สมยั กรุงศรีอยธุ ยา 2.1 สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เปน พระราชโอรสของสมเดจ็ พระบรมราชาธบิ ดที ่ี 2 (เจาสามพระยา) กับพระราชธดิ าของพระมหาธรรมราชาท่ี 2 แหง สโุ ขทัย พระองคจึงเปน เชื้อสายราชวงศส ุพรรณบุรีและราชวงศพ ระรวง พระรว ง ทรงเปน พระมหากษตั รยิ ท ย่ี ง่ิ ใหญพ ระองคห นง่ึ ของอยธุ ยา ขน้ึ เสวยราชย ใน พ.ศ. 1991 เสดจ็ สวรรคตใน พ.ศ. 2031 ทรงอยใู นราชสมบตั ิ 40 ป นับวา นานที่สุด พระราชกรณียกิจท่ีสําคญั 1. การรวมอาณาจักรสุโขทัยเขากับอยุธยา เมื่อสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถข้ึน เสวยราชยใ น พ.ศ. 1991 นนั้ ทางสโุ ขทยั ไมม พี ระมหาธรรมราชาปกครองแลว คงมแี ตพ ระยา ยทุ ธษิ เฐยี ร พระโอรสของพระมหาธรรมราชาท่ี 4 ไดร บั แตง ตงั้ จากอยธุ ยาใหไ ปปกครองเมอื ง พิษณุโลก ถงึ พ.ศ. 1994 พระยายุทธษิ เฐียรไปเขา กับพระเจาติโลกราชแหง ลานนา พระราช

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 113 มารดาของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถไดป กครองเมอื งพษิ ณโุ ลกตอ มาจนสนิ้ พระชนมเ มอ่ื 2บทท่ี พ.ศ. 2006 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดเ สด็จไปประทับท่พี ิษณุโลกและถอื วา อาณาจักร สุโขทัยถูกรวมเขา กบั อาณาจกั รอยุธยานบั ตัง้ แตน ัน้ เปนตนมา ประ ัวติศาสต ร 2.2 สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี 2 สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 เปนพระราชโอรสของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ครองราชย พ.ศ. 2034 ถึง พ.ศ. 2072 ใน พ.ศ. 2054 โปรตเุ กสไดเ ขา มาตดิ ตอ กบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา นบั เปน ชาวตะวนั ตกชาติ แรกที่เขามาเจริญสัมพันธไมตรีกับไทย ไทยจึงเร่ิมเรียนรูศิลปวิทยาของชาวตะวันตก โดย เฉพาะดา นการทหาร ทําใหส มเด็จพระรามาธิบดที ่ี 2 ทรงพระราชนพิ นธตาํ ราพชิ ัย-สงคราม ของไทยไดเ ปน ครั้งแรก นอกจากนีท้ รงใหทาํ สารบัญชี คอื การตรวจสอบจดั ทําบัญชีไพรพ ล ทง้ั ราชอาณาจกั ร นบั เปน การสาํ รวจสาํ มะโนครัวครั้งแรก โดยทรงตงั้ กรมสรุ ัสวดีใหม ีหนาท่ี สาํ รวจและคมุ บญั ชไี พรพ ลทางดา นศาสนา สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 2 ทรงสรางวัดพระศรี สรรเพชญไ วในเขตพระราชฐาน และใหห ลอ พระศรสี รรเพชญ สุง 8 วา หุม ทองคาํ ไวในพระ มหาวหิ ารของวัดดว ย ในรัชสมยั นอี้ ยุธยาและลา นนายังเปน คสู งครามกนั เชนเดมิ เนื่องจาก กษตั รยิ ล า นนา คอื พระเมอื งแกว (ครองราชย พ.ศ. 2038 – 2068) พยายามขยายอาณาเขต ลงมาทางใต จนถงึ พ.ศ. 2065 มีการตกลงเปนไมตรกี ัน สงครามจึงสิ้นสดุ ลง ทางดานศาสนา สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ 2 ทรงสรา งวดั พระศรสี รรเพชญไ วใ นเขตพระราชฐานและให หลอ พระศรสี รรเพชญ สงู 8 วา หมุ ทองคาํ ไวในพระมหาวิหารของวัดดว ย ในรัชสมยั นี้ อยธุ ยาและลานนายังเปน คูสงครามกนั เชน เดมิ เนื่องจากกษัตริยลา นนา คือ พระเมืองแกว (ครองราชย พ.ศ. 2038 - 2068) พยายามขยายอาณาเขตลงมาทางใต จนถงึ พ.ศ. 2065 มี การตกลงเปน ไมตรกี นั สงครามจงึ สน้ิ สดุ ลง 2.3 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เปนโอรสของสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาในราชวงศ สโุ ขทยั กบั พระวสิ ทุ ธกิ ษตั รยิ  พระราชธดิ าของสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรดิ ประสตู เิ มอ่ื พ.ศ. 2098 ท่ีเมืองพิษณุโลกเม่ือพระชนมายุได 9 พรรษา ทรงถูกสงไปเปนตัวประกันที่กรุงหงสาวดี เพราะพมายึดเมืองพิษณุโลกได ทรงไดรับการเล้ียงดูในฐานะพระราชบุตรธรรมเปนเวลา 7 ป จน พ.ศ. 2112 กรงุ ศรอี ยธุ ยาเสียแกพมา พระมหาธรรมราชาไดรบั การสถาปนาข้ึนเปน กษตั รยิ ข องกรงุ ศรอี ยธุ ยาในฐานะเมอื งขนึ้ ของกรงุ หงสาวดี และอนญุ าตใหพ ระนเรศวรกลบั กรงุ ศรอี ยธุ ยา และไดร บั การสถาปนาใหเ ปน เจา เมอื งพษิ ณโุ ลกและมตี าํ แหนง อปุ ราช ระหวา ง นนั้ ทรงทาํ สงครามกบั เขมรและพมา เพอื่ ปอ งกนั อยธุ ยา พระเจา หงสาวดเี หน็ ดงั นจี้ งึ คดิ กาํ จดั พระนเรศวร แตพระองคทรงทราบจึงทรงประกาศอิสรภาพท่ีเมืองแครง รวมเวลาท่ีกรุง ศรอี ยธุ ยาตกอยภู ายใตก ารปกครองของพมา เปน เวลา 15 ป หลงั จากประกาศอสิ รภาพกท็ รง ทาํ สงครามกบั พมา หลายครง้ั และไดก วาดตอ นผคู นจากหวั เมอื งฝา ยเหนอื มาไวเ ปน กาํ ลงั ได

ประวตั ิศาสตร 114 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม มาก ตอ มาใน พ.ศ. 2133 สมเดจ็ พระธรรมราชาสวรรคต พระนเรศวรจงึ เสดจ็ ขนึ้ ครองราชย และทรงสถาปนาพระเอกาทศรถพระอนุชาขึ้นเปนพระมหาอุปราช พระราชภารกิจของ พระองค ไดแก การทําศกึ สงคราม โดยเฉพาะสงครามครั้งสําคัญ คือ สงครามยทุ ธหัตถี ท่ี ทรงรบกับพมาที่ตําบลหนองสาหราย แมแตฝายแพก็ยังไดรับการยกยองวาเปนนักรบแท หลังจากน้ันตลอดระยะเวลา 150 ป กรุงศรีอยุธยาไมถูกรุกรานจากพมาอีก สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชทรงขยายอาณาเขตออกไปอยา งกวา งขวางครอบคลมุ ทง้ั ลา นนา ลา นชา ง ไทยใหญ และกมั พูชา รวมถงึ พมา คร้งั สุดทาย คือ การเดนิ ทัพไปตเี มอื งองั วะ ซึ่งพระองค ประชวร และสวรรคตทเี่ มืองหาง ใน พ.ศ. 2148 พระชนมายไุ ด 50 พรรษา เสวยราชสมบัติ ได 15 ป สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ทรงเปน วรี กษตั รยิ ท ไี่ ดร บั การจารกึ ไวใ นประวตั ศิ าสตร ในฐานะผูกอบกูเอกราชใหแกกรุงศรีอยุธยา ประชาชนชาวไทยจึงยกยองพระองคใหเปน 2บทที่ มหาราช พระองคห นง่ึ พระราชกรณียกจิ ทส่ี าํ คญั 1. การลดสวยและงดเกบ็ ภาษอี ากรจากราษฎรเปน เวลา 3 ปเ ศษ 2. การประกาศใชกฎหมายพระราชกําหนดและกฎหมายเพม่ิ เติมลกั ษณะรับฟอ ง 3. การสงเสรมิ งานดานวรรณกรรม หนงั สอื ทแี่ ตงในสมัยนี้ เชน สมทุ รโฆษคาํ ฉันท โคลงทศรถสอนพระราม โคลงพาล-ี สอนนอง โครงราชสวสั ดิ์ เพลงพยากรณกรุงเกา เพลง ยาวบางบท รวมถึงวรรณกรรมชิ้นสําคญั คือ โครงเฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระนารายณนับ เปน ยุคทองแหง วรรณกรรม ของไทยยคุ หนง่ึ 4. การทาํ ศกึ สงครามกบั เชียงใหมและพมา พ.ศ. 2203 และไดอัญเชิญพระพุทธสิ หิงค ลงมาอยธุ ยาดวย 5. ดา นความสมั พนั ธก บั ตา งประเทศนนั้ เจรญิ รงุ เรอื งมาทง้ั ประเทศตะวนั ออก เชน จนี อนิ เดีย และประเทศตะวันตกทีส่ ําคัญ ไดแ ก โปรตุเกส ฮอลันดา องั กฤษ และฝร่งั เศส ทงั้ ดา นการเชอ่ื มสมั พนั ธไมตรแี ละการปอ งกนั การคมุ คามจากชาตติ า งๆ เหลา นจ้ี ากพระราช กรณียกิจตางๆ ดังกลา ว จงึ ทรงไดรบั การยกยองวา ทรงเปน มหาราช พระองคห น่งึ อกี ทั้ง ในรัชสมัยของพระองคยังไดรับการยกยองวาเปนบุคคลสําคัญดานศิลปวัฒนธรรมยุคหนึ่ง ดวย สมเดจ็ พระนารายณม หาราชเสด็จสวรรคตใน พ.ศ. 2231 ที่เมอื งลพบรุ ี ราชธานที ่ีสอง ท่พี ระองคโ ปรดเกลาฯ ใหสรา งขึน้ 3. สมัยกรุงธนบรุ ี สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ มหาราช มนี ามเดมิ วา สนิ ประสตู เิ มอ่ื วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2277 ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาอยหู ัวบรมโกศ เปนบุตรของนายไหฮอง และนางนกเอ้ยี ง เจา พระยาจกั รีรบั ไปเปนบตุ รบุญธรรม ตอ มาเขารบั ราชการจนไดต าํ แหนงหลวงยกกระบตั ร เมืองตาก และเปนเจาเมืองตากครัน้ เมือ่ พมา ลอ มกรงุ ใน พ.ศ. 2308 พระยาตากถกู เรียกตัว เขาปองกันพระนครหลวง แตเกิดทอใจวาหากสูกับพมาท่ีอยุธยาตองเสียชีวิตโดยเปลา

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 115 ประโยชนเปนแน จึงพาทัพตีฝาหนีไปต้ังตัวท่ีจันทบูร(จันทรบุรี) พอถึงเดือนเมษายน 2บทท่ี พ.ศ. 2310 กรงุ ศรอี ยธุ ยา ก็เสยี แกพมา แตหลังจากนั้น 7 เดือน พระยาตากกไ็ ดยกทพั มา ขบั ไลพ มา ออกจากกรงุ ศรอี ยธุ ยา ไดท ง้ั หมด แตเ หน็ วา กรงุ ศรอี ยธุ ยาเสยี หายมาก จงึ สถาปนา ประ ัวติศาสต ร กรุงธนบุรีเปนเมืองหลวง และประกอบพิธีบรมราชาภิเษกข้ึนครองราชยใน พ.ศ. 2310 ทรงพระนามวา สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 แตคนทั่วไปนิยมออกพระนามวา สมเด็จ พระเจา ตากสนิ พรอ มทงั้ พระราชทานนามเมอื งวา กรงุ ธนบรุ ศี รมี หาสมทุ ร เหตทุ เ่ี ลอื กธนบรุ ี เปนเมืองหลวง เน่ืองจากทรงเห็นวาธนบุรีเปนเมืองเล็กปองกันรักษางายอยูใกลปากอาว สะดวกแกการติดตอคาขายกับตางชาติ และการลําเลียงอาวุธ มีเสนทางคมนาคมสะดวก โดยเฉพาะทางเรอื มแี มน าํ้ คนั่ กลาง เชน เดยี วกบั พษิ ณโุ ลกและสพุ รรณบรุ ี เพอ่ื จะไดใ ชก องทพั เรือสนบั สนนุ การรบ และตง้ั อยูไ มไกลศูนยก ลางเดิมมากนัก เปน แหลงรวมขวญั และกาํ ลงั ใจ ของผูค น โดยอาศยั มผี นู าํ ท่เี ขม แขง็ พระราชกรณยี กจิ ที่สาํ คัญที่สุด การรวบรวมบรรดาหัวเมืองตางๆ เขาอยูภายใตการปกครองเดียวกัน เน่ืองจากมี คนพยายามตงั้ ตวั ขนึ้ เปน ผนู าํ ในทอ งถนิ่ ตา งๆ มากมาย เชน ชมุ นมุ เจา เมอื งพษิ ณโุ ลก ชมุ นมุ เจา เมืองพมิ าย ชุมนุมเจา เมอื งนครศรีธรรมราช เปนตน ตลอดรัชกาลมศี กึ สงครามเกดิ ขน้ึ มากมาย ไดแก ศกึ พมาท่บี างกุง ศกึ เมืองเขมร ศึกเมืองเชยี งใหม ศกึ เมอื งพชิ ัย ศึกบางแกว ศกึ อะแซหวนุ กี้ ศกึ จาํ ปาศกั ด์ิ ศกึ เวยี งจนั ทน ซงึ่ พระเจา กรงุ ธนบรุ ไี ดร บั ชยั ชนะในการศกึ ษา มาโดยตลอด ในสมัยกรงุ ธนบรุ ตี อนปลาย 4. สมยั กรงุ รัตนโกสินทร 4.1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลก ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 พระบดิ ามีพระนามเดิมวา ทองดี พระมารดาชื่อ หยก เมือ่ ทรงมพี ระชนั ษา 21 พรรษา ทรงผนวชเปน พระภิกษุ 3 เดือน เมื่อลาสกิ ขา ก็ทรงเขารบั ราชการในแผนดินสมเด็จพระเจา อุทุมพร คร้นั ถึงแผน ดินสมเดจ็ พระเจา เอกทัศ ทรงไดรบั ตาํ แหนงเปนหลวงยกกระบตั ร ประจําเมืองราชบุรี พระองคท รงมีความชํานาญใน การรบอยา งยง่ิ จงึ ไดร บั พระราชทานปนู บาํ เหนจ็ ความดคี วามชอบใหเ ลอ่ื นเปน พระราชวรนิ ทร พระยาอภัยรณฤทธิ์ พระยายมราชวาที่สมุหนายก เจาพระยาจักรี และในที่สุดไดเล่ือนเปน เจา พระยามหากษตั รยิศ์ กึ มีเคร่อื งยศอยา ง เจาตางกรม เมือ่ ทรงตไี ดเวยี งจนั ทร พระองคไ ด อญั เชญิ พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฎมิ ากร (พระแกว มรกต) จากเมอื งเวยี งจนั ทนม ายงั กรงุ ธนบรุ ี ดวย ตอมาเกิดเหตุจลาจล ขาราชการและประชาชนจึงอัญเชิญเปนพระมหากษัตริยแทน สมเด็จพระเจาตากสนิ มหาราช พระราชกรณยี กิจทสี่ ําคัญ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชทรงเปน ทง้ั นกั ปกครองและนกั การ ทหารที่ยอดเยี่ยม ทรงแตงต้ังใหเจานายท่ีเคยผานราชการทัพศึกมาทําหนาที่ชวยในการ ปกครอง บา นเมืองโปรดเกลาฯ

ประวตั ิศาสตร 116 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม 1. ใหช าํ ระกฎหมายใหส อดคลอ งกบั ยคุ สมยั ของบา นเมอื ง คอื กฎหมายตราสามดวง 2. รวมถงึ การชาํ ระพระพทุ ธศาสนาใหบ รสิ ทุ ธอิ์ นั เปน เครอ่ื งสง เสรมิ ความมนั่ คงของ กรงุ รตั นโกสนิ ทร 3. นอกจากนี้พระองคยังคงทรงสงเสริมวัฒนธรรมของชาติ ท้ังดานวรรณกรรมท่ี ทรงแสดงพระปรีชาสามารถในการประพนั ธ โดยพระราชนิพนธ บทละครเรื่องรามเกียรต์ิ บทละครเรอ่ื งอณุ รทุ บทละเครอื่ งอเิ หนา บทละครเรอ่ื งดาหลงั เพลงยาวรบพมา ทท่ี า ดนิ แดง นอกจากดานวรรณกรรมแลว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชยังทรงสง เสรมิ ศิลปะดา นสถาปต ยกรรม ประตมิ ากรรม และนาฏกรรม 4. ภายหลังทค่ี รองกรงุ รตั นโกสนิ ทรเ พยี ง 3 ป ไดเกดิ ศึกพมา ยกทัพมาตีเมอื งไทย พระองคทรงจดั กองทพั ตอสูจนทพั พมา แตกพา ย ยงั ความเปน เอกราชใหก ับแผน ดินไทยมา 2บทที่ จนทกุ วนั น้ี พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชทรงเปน พระมหากษตั รยิ ท ที่ รง มีพระมหากรุณาธิคุณอยางลนพนตอพสกนิกรชาวไทย เปน มหาราชอีกพระองคหน่ึงใน ประวตั ศิ าสตรไ ทย และทรงเปน ปฐมบรมกษตั รยิ แ หง ราชจกั รวี งศ ทปี่ กครองบา นเมอื งใหเ กดิ ความสงบสขุ จวบจนปจ จบุ นั 4.2 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูหัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยหู ัว มีพระนามเดมิ วา สมเด็จพระเจา ลูกยาเธอ เจา ฟามงกุฎ เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั รัชกาลท่ี 2 กบั กรมสมเดจ็ พระศรสี รุ เิ ยนทราบรมราชนิ ี ทรงพระราชสมภาพเมอ่ื วนั ท่ี 17 ตลุ าคม พ.ศ. 2347 ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชเมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั จะเสดจ็ สวรรคตนนั้ พระองคม ไิ ดต รสั มอบราชสมบตั ใิ หแ กเ จา นายพระองคใ ด ที่ ประชมุ พระบรมวงศานวุ งศแ ละขนุ นางผใู หญจ งึ ปรกึ ษายกราชสมบตั ใิ หแ กพ ระเจา ลกู ยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร ฝายเจามงกุฎซ่ึงทรงผนวชตามราชประเพณีกอนพระราชบิดา สวรรคตไมก่ีวัน จึงไดดํารงอยูในสมณเพศตอไปถึง 26 พรรษา ทําใหพระองคมีเวลาทรง ศึกษาวิชาการตางๆ อยางมากมาย โดยเฉพาะภาษาตางประเทศ เปนเหตุใหทรงทราบ เหตุการณโลกภายนอกอยางกระจางแจง ทั้งยังไดเสด็จธุดงคจาริกไปนมัสการปูชนียสถาน ตามหัวเมืองหา งไกล ท่ที าํ ใหทรงทราบสภาพความเปน อยูของราษฎรเปนอยางดี พระราชภารกจิ ทส่ี าํ คญั 1. การทําสนธิสญั ญากับอังกฤษ เพ่ือแลกกับเอกราชของประเทศ ยอมใหต้ังสถาน กงสุลมีสิทธิสภาพนอกราชอาณาเขต ยอมเลิกระบบการคาผูกขาดเปนการคาเสรี เก็บภาษี ขาเขาในอตั รารอยชกั สาม 2. ทรงปรบั ปรงุ การรกั ษาความมนั่ คงของประเทศ มกี ารตงั้ ขา หลวงปก ปน พระราช อาณาเขตชายแดนดานตะวันตกรวมกับอังกฤษ ทรงจางผูเช่ียวชาญชาวยุโรปมาสํารวจทํา แผนที่พระราชอาณาเขตชายแดนดานตะวันออก จางนายทหารยุโรปมาฝกสอนวิชาทหาร

รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 117 แบบใหม ทรงใหตอเรือกลไฟข้ึนใชหลายลําและผลจากการทําสัญญากับอังกฤษทําให 2บทที่ เศรษฐกจิ เจริญรุงเรืองมาก ประ ัวติศาสต ร 3. พระองคจึงขยายพระนครออกไปทางทิศตะวันออก ไดม ีการขุดคลองและสรา ง ถนนขึ้นมากมาย เชน คลองผดุงกรุงเกษม คลองภาษีเจริญ คลองดําเนินสะดวก ถนน เจรญิ กรุง ถนนบาํ รงุ เมอื ง ถนนเฟอ งนคร 4. ไดเ กิดกจิ การแบบตะวันตกข้ึนหลายอยาง เชน ใชร ถมาเดินทาง มตี กึ แบบฝรง่ั มโี รงสไี ฟ โรงเลอ่ื ยจกั ร เปน ตน นอกจากนยี้ งั มกี ารรบั ชาวตา งประเทศเขา มารบั ราชการ ออก หนังสอื ราชกิจจานเุ บกษา ต้งั โรงกษาปณ ฯลฯ 5. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดพระราชทานเสรีภาพในการนับถือ ศาสนา เพราะทรงเห็นวาไมมผี ลตอกจิ การแผนดิน 6. พระองคไดท รงปญ ญัติกฎหมายขึ้นเกือบ 500 ฉบับ ซึง่ เปน กฎหมายที่เต็มไป ดว ยมนุษยธรรม 7. พระองคทรงเปนนักวิทยาศาสตร ทรงยอมรับวิชาการทางตะวันตกมาใช เชน การถา ยรปู การกอ สรา ง และงานเครื่องจกั ร เปน ตน ท้ังยงั ทรงมีพระปรชี าสามารถในดาน ดาราศาสตร คือ ทรงคํานวณเวลาเกิดสุริยุปราคาหมดดวงในประเทศไทย ที่ตําบลหวากอ แขวงเมอื งประจวบครี ขี นั ธ ไดว า จะเกดิ ขนึ้ วนั ท1ี่ 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2411 เวลา 10.32 นากิ า เวลาดวงอาทติ ยมืดเต็มดวง คอื 6 นาที 46 วินาที และเหตกุ ารณไดเ กิดขนึ้ จริงตามท่ที รง คาํ นวณไวทกุ ประการ ในการเสดจ็ ไปทอดพระเนตรสรุ ยิ ปุ ราคาครงั้ นนั้ ทาํ ใหพ ระองคป ระชวรดว ยไขส บั สนั่ อยางแรง และเสด็จสวรรคตเมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 สิริพระชนมายไุ ด 64 พรรษา รวมเวลาครองราชยได 17 ปเ ศษ 4.3 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูห ัว พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั เปน พระราชโอรสในรชั กาลท่ี 4 และสมเดจ็ พระเทพศริ นิ ทราบรมราชนิ ี พระราชสมภพเม่อื วนั ที่ 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 มพี ระนาม เดิมวา สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาจุฬาลงกรณ ทรงไดรับการศึกษาข้ันตนในพระบรม มหาราชวังเมอ่ื พระชนมายุ 13 พรรษา ทรงเปน กรมขนุ พินติ ประชานาถ เสวยราชยเม่ือวัน ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 ขณะมพี ระชนมพรรษาเพยี ง 15 พรรษา โดยมเี จา พระยาศรสี รุ ยิ วงศ (ชว ง บนุ นาค) เปนผสู าํ เร็จราชการแผนดิน จนถงึ พ.ศ. 2416 ทรงบรรลนุ ิติภาวะ พระชนมพรรษาครบ 20 พรรษา จึงมีพระราชพิธีบรมราชาภิเษกคร้ังที่ 2 ทรงครองราชยสมบัติยาวนานถึง 42 ป สวรรคตเมอ่ื วนั ท่ี 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 พระราชกรณยี กจิ ที่สาํ คญั เพอื่ ใหไ ทยเจรญิ กา วหนา ทดั เทยี มอารยประเทศและรอดพน จากภยั จกั รวรรดนิ ยิ มท่ี กาํ ลงั คมุ คามภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตอ ยขู ณะนน้ั รชั กาลท่ี 5 ทรงพฒั นาและปรบั ปรงุ ประเทศ ทุกดาน เชน

ประวตั ิศาสตร 118 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสังคม การปกครอง ทรงปฎริ ูปการปกครองใหมต ามอยางตะวนั ตก แยกการปกครองออกเปน 3 สว น คือ การปกครองสวนกลาง แบงเปนกระทรวงตางๆ การปกครองสวนภูมิภาคโดยระบบ เทศาภิบาลและการปกครองสว นทอ งถน่ิ ในรูปสขุ าภิบาล กฎหมายและการศาล ใหต ้งั กระทรวงยตุ ธิ รรมรบั ผดิ ชอบศาลยตุ ิธรรม เปนการแยกอาํ นาจตุลาการ ออก จากฝา ยบรหิ ารเปน ครงั้ แรก ยกเลกิ จารตี นครบาลทใี่ ชว ธิ โี หดรา ยทารณุ ในการไตส วนคดคี วาม ตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้น และประกาศใชประมวลกฎหมายลักษณะอาญาอันเปนประมวล กฎหมายฉบบั แรกของไทย การปรบั ปรงุ กฎหมายและการศาลนเี้ ปน ลทู างทที่ าํ ใหป ระเทศไทย สามารถแกป ญ หาสิทธิสภาพนอกอาณาเขตไดใ นภายหลัง 2บทที่ สงั คมและวัฒนธรรม ทรงยกเลิกระบบทาสและระบบไพร ใหประชาชนมีอิสระในการดํารงชีวิต ยกเลิก ประเพณที ่ลี า สมัย และรบั เอาวัฒนธรรมตะวนั ตกเขา มา การเงนิ การธนาคารและการคลงั ผลจากการทําสนธิสญั ญาเบาวร งิ ในสมยั รชั กาลท่ี 4 ทําใหเ ศรษฐกิจการคาขยายตวั มชี าวตา งประเทศเขามาทาํ กจิ การในประเทศไทยมากขนึ้ รัชกาลท่ี 5 จงึ ใหอ อกใชธนบัตร และมกี ารกาํ หนดอตั ราแลกเปลยี่ นทแ่ี นน อนเปน ครง้ั แรก ทรงอนญุ าตใหธ นาคารพาณชิ ยข อง ตา งประเทศเขา มาตง้ั สาขาและสนบั สนนุ ใหค นไทยตงั้ ธนาคารพาณชิ ยข น้ึ ในดา นการคลงั มี การจัดทํางบประมาณแผนดินเปนคร้ังแรก และปรับปรุงระบบจัดเก็บภาษีอากรใหมี ประสิทธิภาพขึน้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงมีพระกรุณาธิคุณตอประชาชนชาว ไทยและประเทศไทยอยางใหญหลวง จึงทรงไดรับพระราชสมัญญาวา พระปยมหาราช อนั หมายถึงวา ทรงเปนทร่ี กั ยงิ่ ของปวงชนชาวไทย และในโอกาสครบรอบ 150 พรรษาแหง วันคลา ยวันพระราชสมภพ วนั ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2546 องคการศกึ ษาวทิ ยาศาสตรและ วัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ หรอื ยูเนสโก (UNESCO) ไดประกาศยกยองใหพ ระองคเปน บคุ คลสาํ คญั และมผี ลงานดเี ดน ของโลกทางสาขาการศกึ ษา วฒั นธรรม สงั คมศาสตร มนษุ ย วิทยา การพัฒนาสงั คม และสื่อสาร 4.4 สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ เปน พระโอรสในรชั กาลท่ี 4 กับเจาจอมมารดาชุม มีพระนามเดิมวา พระองคเจาดิศวรกุมาร ประสูติเมื่อวันท่ี 21 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2405 ทรงไดร บั การศกึ ษาเบอ้ื งตน ในพระบรมมหาราชวงั ในสมยั รชั กาลท่ี 5 ไดรับการสถาปนาเปนกรมหมื่นดํารงราชานุภาพ แลวเล่ือนเปนกรมหลวง ตอมาในสมัย รชั กาลท่ี 6 ไดเล่ือนข้ึนเปน กรมพระยา และเมือ่ ถงึ สมยั รชั กาลท่ี 7 ไดร บั การสถาปนาเปน

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 119 สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ สมเด็จฯ กระพระยาดํารงราชานุ 2บทท่ี ภาพทรงเปน กาํ ลงั สาํ คญั ในการพฒั นาบา นเมอื ง โดยเฉพาะการปฏริ ปู ประเทศในสมยั รชั กาล ที่ 5 ทรงปฏิบตั ิหนา ท่ีราชการดานความวิรยิ ะอตุ สาหะ มีความรอบรู มีความซื่อสตั ย และ ประ ัวติศาสต ร จงรักภักดตี อ พระมหากษตั ริยท ุกพระองค กรณยี กิจท่ีสาํ คัญ การศึกษา ใน พ.ศ. 2423 ทรงไดร ับแตง ตงั้ ใหด ํารงตําแหนงผูบ ังคบั การกรมทหารมหาดเล็ก จึงเกยี่ วของกบั การศึกษามาต้งั แตนัน้ เนือ่ งจากมีการต้งั โรงเรยี นทหารมหาดเล็กขึ้นในกรม ทหารมหาดเล็ก ตอ มาเปล่ียนเปนโรงเรยี นเรยี นพลเรอื น จนถึง พ.ศ. 2433 ทรงเปนอธิบดี กรมศึกษาธิการและกํากับกรมธรรมการ จึงปรับปรุงงานดานการศึกษาใหทันสมัย เชน กาํ หนดจดุ มงุ หมายทางการศกึ ษาใหส อดคลอ งกบั ความตอ งการของประเทศ คอื ฝก คนเพอ่ื เขารับราชการกําหนดหลักสูตร เวลาเรียนใหเปนแบบสากล ทรงนิพนธแบบเรียนเร็วขึ้นใช เพื่อสอนใหอานไดภายใน 3 เดือน มีการตรวจคัดเลือกหนังสือเรียน กําหนดแนวปฏิบัติ ราชการในกรมธรรมการ และริเริม่ ขยายการศึกษาออกไปสูราษฎรสามญั ชน เปน ตน การปกครอง ทรงตําแหนงเสนาบดกี ระทรวงมหาดไทยคนแรกเปน เวลานานถึง 23 ป ติดตอกนั ต้งั แต พ.ศ. 2435 – 2458 ทรงมบี ทบาทสําคญั ในการวางรากฐานระบบการบรหิ ารราชการ แผน ดนิ สว นภมู ภิ าพในแนวใหม โดยยกเลกิ การปกครองทเี่ รยี กวา ระบบกนิ เมอื ง ซงึ่ ใหอ าํ นาจ เจา เมืองมาก มาเปน การรวมเมอื งใกลเ คียงกนั ตง้ั เปน มณฑล และสง ขา หลวงเทศาภบิ าลไป ปกครองและจายเงินเดือนใหพอเล้ียงชีพ ระบบนี้เปนระบบการรวมอํานาจเขาสูศูนยกลาง นอกจากนมี้ กี ารตง้ั หนว ยงานใหมข น้ึ ในกระทรวงมหาดไทย เพอื่ ทาํ หนา ทดี่ แู ลทกุ ขส ขุ ราษฎร เชน กรมตาํ รวจ กรมปา ไม กรมพยาบาล เปน ตน ตลอดเวลาทที่ รงดแู ลงานมหาดไทย ทรง ใหความสําคัญแกการตรวจราชการเปนอยางมาก เพราะตองการเห็นสภาพเปนอยูที่แทจริง ของราษฎร ดูการทํางานของขาราชการ และเปนขวญั กาํ ลงั ใจแกขา ราชการหวั เมอื งดว ย งานพระนิพนธ ทรงนพิ นธง านดา นประวตั ศิ าสตรโ บราณคดี และศลิ ปวฒั นธรรมไวเ ปน จาํ นวนมาก ทรงใชวิธีสมัยใหมในการศึกษาคนควาประวัติศาสตรและโบราณคดี จนไดรับการยกยองวา เปนบิดาทางโบราณคดีและประวตั ิศาสตรไทย สมเดจ็ ฯ กรมพระยาดํารงราชานภุ าพทรงลา ออกจากตาํ แหนง เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเมอื่ พ.ศ. 2458 ในสมยั รชั กาลท่ี 6 เนือ่ งจาก มปี ญ หาดานสุขภาพ แตตอ มาเสดจ็ กลับเขารบั ราชการอีกคร้ัง ในตาํ แหนง เสนาบดีมุรธาธร และเมอ่ื ถงึ สมยั รชั กาลท่ี 7 ทรงดาํ รงดาํ แหนง อภริ ฐั มนตรี งานสาํ คญั อน่ื ๆ ทที่ รงวางรากฐาน ไว ไดแ ก หอสมดุ สาํ หรบั พระนคร และงานดา นพพิ ธิ ภณั ฑแ ละหอจดหมายเหตุ สมเดจ็ ฯ กรม พระยาดาํ รงราชานภุ าพสน้ิ พระชนมเ มอ่ื พ.ศ. 2486 ทรงเปน ตน ราชสกลุ ดศิ กลุ ใน พ.ศ. 2505

ประวตั ิศาสตร 120 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม ยูเนสโกประกาศยกยองพระองคใหเปนผูมีผลงานดีเดนทางดานวัฒนธรรมระดับโลก นับ เปนคนไทยคนแรกท่ไี ดรบั เกยี รติ 4.5 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ เจา ฟากรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ เปนเจาฟาผูทรง พระปรีชาสามารถในวิชาการหลายแขนง ทรงเปนปราชญทางอักษรศาสตร ประวัติศาสตร ดนตรี และงานชา ง พระองคมีพระนามเดิมวา พระองคเ จาจิตรเจริญ เปน พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว กับหมอมเจาหญิงพรรณราย ประสูติที่ตําหนักใน พระบรมมหาราชวงั เมอ่ื วนั ท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2406 ทรงไดร บั การศกึ ษาขน้ั ตน ทโ่ี รงเรยี น เตรยี มทหาร จากนน้ั ผนวชเปน สามเณรอยทู ว่ี ดั บวรนเิ วศวหิ าร หลงั จากนน้ั ทรงศกึ ษาวชิ าการ ตา งๆ และราชประเพณี ครน้ั ลาผนวชแลว ทรงรบั ราชการในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา 2บทท่ี เจา อยหู วั ทรงมีพระสติปญญารอบรู เปน ที่วางพระราชหฤทยั จนไดรับพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหเล่อื นพระอิสริยยศเปน พระเจา นองยาเธอเจาฟา กรมขนุ นรศิ รานุวัดติวงศ ทรงรบั ราชการ ในตําแหนงสําคัญ อยูหลายหนวยงานเพ่ือวางรากฐานในการบริหารราชการใหมั่นคง ท้ัง กระทรวงโยธาธิการ กระทรวงพระคลัง และกระทรวงวัง ใน พ.ศ. 2452 ทรงกราบบงั คมลาออกจากราชการ เน่อื งจากประชวร ดวยโรค พระหทัยโต ทรงปลกู ตาํ หนักอยทู ่คี ลองเตย และเรยี กตาํ หนักนว้ี า บา นปลายเนิน ครัน้ เมื่อ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลื่อน พระอสิ รยิ ยศเปน สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ เจา ฟา กรมพระนรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ และโปรดเกลา ฯ ใหท รงกลบั เขารบั ราชการอกี คร้งั หนึ่ง จนกระท่งั มกี ารเปล่ียนแปลงการปกครอง จงึ ทรงพน จากตําแหนง ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดล ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเลื่อนกรมขึ้นเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ในบั้นปลายพระชนมทรงประทับที่บานปลายเนินจนส้ินพระชนมลงเม่ือวันท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2490 พระชันษา 83 ป ทรงเปน ตน ราชสกลุ จติ รพงศ สมเด็จฯ เจาฟากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ ทรงมีพระปรีชาสามารถในงานชาง หลายแขนง ไดท รงงานออกแบบไวเ ปน จาํ นวนมาก ทง้ั งานภาพเขยี นในวรรณคดี ภาพประดบั ผนงั พระราชลัญจกรและตราสญั ลกั ษณต างๆ ตาลปต ร ตลอดจนสถาปต ยกรรม ซ่ึงเปนที่ รจู กั แพรห ลาย เชน พระอโุ บสถวดั เบญจมบพติ รดสุ ติ วนาราม พระอโุ บสถวดั ราชาธวิ าส พระ อุโบสถวดั พระปฐมเจดยี  ฯลฯ ดวยพระปรชี าสามารถทางดา นงานชา งนเี้ อง ทําใหทรงไดร บั พระสมญั ญานามวา นายชา งใหญแ หงกรงุ สยาม นอกจากนยี้ งั ทรงพระปรชี าสามารถทางดา นดนตรี ทรงพระนพิ นธเ พลงเขมรไทรโยค เพลงตับนทิ ราชาคริต เพลงตบั จลู ง ฯลฯ สว นดา นวรรณกรรมทรงมีลายพระหตั ถโ ตตอบกับ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซึ่งภายหลังไดกลายเปนเอกสารท่ีมีคุณคาดาน ประวตั ิศาสตรโ บราณคดี ศลิ ปวัฒนธรรมประเพณแี ละอักษรศาสตร ทร่ี จู กั กนั ทว่ั ไปในนาม

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 121 สาสน สมเดจ็ ความทสี่ มเด็จฯ เจา ฟากรมพระยานรศิ รานุวดั ตวิ งศ ทรงพระปรชี าสามารถใน 2บทท่ี วิชาการหลายแขนง จึงมิไดเปนบุคคลสําคัญของชาติไทยเทาน้ัน หากแตทรงเปนบุคคลที่ ชาวโลกพงึ รจู กั โดยใน พ.ศ. 2506 อนั เปน วาระครบรอ ยปแ หง วนั ประสตู ิ ยเู นสโกไดป ระกาศ ประ ัวติศาสต ร ใหพระองคเปนบคุ คลสาํ คญั ของโลกพระองคห นงึ่ 4.6 ขรัวอนิ โขง ขรัวอินโขง เปนช่ือเรียกพระอาจารยอิน ซึ่งเปนจิตรกรในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา เจาอยูหวั ขรวั อินโขง เปนชาวบางจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี บวชอยูจนตลอดชวี ิต ที่วดั ราชบรู ณะ (วัดเลยี บ) กรงุ เทพฯ การท่ที า นบวชมานานจึงเรียกวา ขรวั สว นคาํ วา โขง นนั้ เกดิ จากทานบวชเปน เณรอยนู านจนใครๆ พากันเรยี กวา อนิ โขง ซงึ่ คําวา โขง หรือ โคง หมายถึง ใหญหรอื โตเกนิ วยั นน้ั เอง ขรวั อนิ โขง เปน ชา งเขยี นไทยคนแรกทม่ี คี วามรใู นการเขยี นภาพทง้ั แบบไทยทน่ี ยิ ม เขยี นกนั มาแตโ บราณ และทงั้ แบบตะวนั ตกดว ย นบั เปน จติ รกรคนแรกของไทยทมี่ พี ฒั นาการ เขยี นรปู จิตรกรรมฝาผนงั โดยการนาํ ทฤษฎกี ารเขยี นภาพแบบสามมติ แิ บบตะวันตกเขา มา เผยแพรใ นงานจติ รกรรมของไทยยคุ นน้ั ภาพตา งๆ ทข่ี รวั อนิ โขง เขยี นจงึ มแี สง เงา มคี วามลกึ และเหมอื นจรงิ ผลงานของขรวั อนิ โขง เปน ทโ่ี ปรดปรานของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั มาก เคยโปรดเกลาฯ ใหเขยี นรูปตางๆ ตามแนวตะวนั ตกไวท พ่ี ระอโุ บสถวัดบวรนเิ วศวหิ าร ซ่ึงเปน ภาพเขียนแรกๆ ของขรัวอินโขง นอกจากนั้นมภี าพเหมอื นพงศาวดารกรงุ ศรีอยุธยา ทหี่ อพระราชกรมานสุ รณ ภาพของขรัวอินโขง เทาทม่ี ีปรากฏหลกั ฐานและมีการกลา วอางถงึ อาทิ ภาพเขยี น ชาดก เร่ืองพระยาชางเผือก ท่ีผนังพระอุโบสถ และภาพสุภาษิตที่หนาตางพระอุโบสถวัด พระศรีรัตนศาสดาราม ภาพพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทรในหอพระราชพงศานุสรณใน พระบรมมหาราชวัง ภาพปริศนาธรรมท่ีผนังพระอุโบสถวัดบรมนิวาส ภาพพระบรมรูป รัชกาลที่ 4 ฯลฯ ภาพเขยี นจากฝม ือขรวั อนิ โขงเหลา น้ี มีเอกลักษณเฉพาะตวั โดดเดน แปลกตา ใช สเี ขมและสอี อ นแตกตางจากงานจติ รกรรมท่ีเคยเขยี นกนั มาในยุคนั้น ทาํ ใหเ กดิ รูปแบบใหม ของงานจติ รกรรมในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยหู วั ทเ่ี รยี กกนั วา จติ รกรรมสกลุ ชางขรัวอนิ โขงที่เปน ตนกาํ เนดิ ของงานจติ รกรรมไทยในยคุ ตอ ๆ มา 4.7 สมเด็จพระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนชี ทรงมีพระนามเดิมวา สังวาล ตะละภัฏ พระราชราชสมภพเมื่อ วันอาทิตยที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2443 ทรงเปนบุตรคนที่ 3 ใน พระชนกชู และพระชนนีคํา ทรงมพี ระภคนิ ี และพระเชษฐา 2 คนซ่งึ ไดถงึ แกก รรมตง้ั แต เยาวว ยั คงเหลือแตพระอนชุ าออนกวา พระองค 2 ป คอื คณุ ถมยา

ประวตั ิศาสตร 122 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนอี ภเิ ษกสมรสกบั สมเดจ็ เจา ฟา ฯ กรมขนุ สงขลา นครินทรไ ดป ระสูติพระโอรสและพระธิดา ดงั นี้ 1. หมอมเจากัลยาณิวัฒนามหิดล ภายหลังทรงไดรับการสถาปนาพระอิสริยศักด์ิ เปน สมเด็จพระเจา พี่นางเธอ เจาฟา กัลยาณวิ ฒั นา กรมหลวงนราธวิ าสราชนครนิ ทร 2. หมอ มเจาอานนั ทมหิดล (รชั กาลที่ 8) 3. พระวรวงศเ ธอพระองคเจาภูมพิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9) พระราชกรณยี กจิ ทสี่ ําคัญ การแพทย พยาบาล การสาธารณสุข และการศกึ ษา สมเด็จยา ทรงจดั ต้งั หนว ยและมูลนิธิทีส่ าํ คัญขน้ึ ดงั น้ี 2บทท่ี 1. หนว ยแพทยอ าสาสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี (พอ.สว.) เปน หนว ย แพทยอาสาเคลื่อนที่ที่เดินไปในถิ่นทุรกันดาร ประกอบดวย แพทย ทันตแพทย เภสัชกร พยาบาล เจา หนาที่สาธารณสขุ และสมาชกิ สมทบอกี คณะหนง่ึ ซ่งึ ไมไดรับสิง่ ตอบแทนและ เบี้ยเลย้ี ง เงินเดือน 2. มูลนิธขิ าเทยี ม จัดต้งั เม่อื 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 3. มลู นธิ ถิ นั ยรกั ษ ทโ่ี รงพยาบาลศริ ริ าช จดั ตง้ั เมอื่ เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2538 เพอื่ ใชเปน สถานทต่ี รวจวนิ จิ ฉัยเตา นม 4. ทรงบริจาคเงนิ เพ่ือสรางโรงเรยี นกวา 185 โรงเรยี น และทรงรบั เอาโครงการ ของโรงเรียนตาํ รวจตระเวนชายแดนไวใ นพระราชปู ถมั ภ การอนุรักษธ รรมชาติ และสง่ิ แวดลอม สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงเปนพระราชวงศท่ีโปรดธรรมชาติมาก ทรงสรางพระตาํ หนักดอยตุง ขึน้ บรเิ วณดอยตุง เน้ือที่ 29 ไร 3 งาน ที่บา นอีกอ ปากลว ย อาํ เภอแมฟ า หลวง จงั หวดั เชยี งราย ดว ยพระราชทรพั ยส ว นพระองคเ อง ในพนื้ ทเ่ี ชา ของกรม ปา ไมเ ปน เวลานาน 30 ป มีความสงู กวาระดบั นาํ้ ทะเลประมาณ 1,000 เมตร โดยทรงเรียก พระตําหนักน้ีวา บานทีด่ อยตงุ ทรงพฒั นาดอยตงุ และสงเสริมงานใหชาวเขาอกี ดว ย ดังนี้ 1. โครงการพัฒนาดอยตงุ เม่ือป พ.ศ. 2531 2. ทรงพระราชทานกลาไมแกผตู ามเสด็จ และทรงปลูกปาดวยพระองคเ อง 3. ทรงนาํ เมลด็ กาแฟพนั ธุอาราบกิ า และไมด อกมาปลูก 4. โครงการขยายพันธุโดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อหนอไมฝร่ัง กลวย กลวยไม เห็ด หลินจอื สตรอเบอรร ่ี 5. จดั ตง้ั ศนู ยบาํ บดั และฟน ฟูสมรรถภาพผูตดิ ยาเสพติด ท่ีบานผาหมี ตาํ บลเวียง พางคาํ อาํ เภอแมส าย จังหวดั เชยี งราย จากพระราชอตุ สาหะดงั กลา ว และโครงการทย่ี งั มไิ ดน าํ เสนอขน้ึ มาขา งตน น้ี ยอดดอย ทเี่ คยหวั โลน ดว ยการถางปา ทาํ ไรเ ลอื่ นลอยปลกู ฝน จงึ ไดก ลบั กลายมาเปน ดอยทเี่ ตม็ ไปดว ย

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 123 ปาไมตามเดิม ดวยเหตนุ ้ี พระองคจึงทรงไดรบั ขนานนามวา สมเด็จยาแมฟ า หลวงของ 2บทที่ ชาวไทย ประ ัวติศาสต ร ในวนั องั คารที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงไดเ สดจ็ สวรรคต แตพระเกยี รตคิ ุณ และพระมหากรณุ าธคิ ณุ ทีท่ รงปรารถนาใหชาวไทย มีความสุข ยังคงสถิตถาวรอยูในความทรงจําของพสกนิกรท่ัวไทยตลอดกาล และในวันที่ 21 ตลุ าคม พ.ศ. 2543 เปน วนั คลา ยวนั พระราชสมภพครบรอบ 100 ป องคก ารวทิ ยาศาสตร และวฒั นธรรมแหงสหประชาชาติ หรือ ยเู นสโก ไดเฉลมิ พระเกียรติยกยอ งใหส มเดจ็ พระศรี นครนิ ทราบรมราชชนนีทรงเปน “บคุ คลสาํ คญั ของโลก” 4.8 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระราชโอรสพระองค เล็กในสมเดจ็ เจาฟามหดิ ลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครนิ ทร และหมอ มสังวาล ประสูติ ณ โรงพยาบาลเมานทอ อเบรน เมอื งเคมบรดิ จ รฐั แมสสาซูเสตต ประเทศสหรัฐอเมรกิ า วนั ท่ี 5 ธันวาคม 2570 ตรงกับวันจันทร เดือนอา ย ข้นึ 12 คํา่ ปเ ถาะ เหตทุ ี่ประสตู ิทอ่ี เมริกาเพราะ ขณะน้นั พระบรมราชนกเสดจ็ ทรงศึกษาและปฏบิ ัตหิ นา ที่ราชการในตา งประเทศ ทรงเปนพระมหากษัตริยรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี เสด็จข้ึนครองราชยตั้งแตว ัน ท่ี 9 มถิ ุนาย พ.ศ. 2489 จนถงึ ปจ จุบัน ทรงพระสถานะเปนประมุขแหง รัฐตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พระองคท รงไดร ับการถวายพระราชสมญั ญาวา “สมเดจ็ พระภทั รมหาราช” ซึ่งมี ความหมายวา “พระมหากษตั รยิ ผ ปู ระเสรฐิ ยง่ิ ” ตอ มาไดม กี ารถวายพระราชสมญั ญาใหม วา “พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช” เม่ือ พ.ศ. 2530 และ “พระภมู พิ ลมหาราช” อนโุ ลมตามธรรมเนยี มเชน เดยี วกบั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูหวั (รัชกาลท่ี 5) ท่ีทรงไดร บั พระราชสมัญญาวา “พระปยมหาราช” อนึ่ง ประชาชน ทว่ั ไปนยิ มเรยี กพระองคว า “ในหลวง” คาํ ดงั กลา วคาดวา ยอ มาจาก “ใน (พระบรมมหาราชวงั ) หลวง” บา งกว็ าเพีย้ นมาจากคาํ วา “นายหลวง” ซ่ึงแปลวา เจา นายผูเ ปนใหญ ท้ังน้ี ทรงเปนพระมหากษัตริยท่ีมีพระชนมชีพอยูและทรงอยูในตําแหนงยาวนาน ทีส่ ดุ ในโลก และเสวยราชยย าวนานทส่ี ุดในประวัตศิ าสตรช าติไทยดวยเชนกัน พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช ทรงหมน้ั กบั ม.ร.ว. สริ กิ ติ ิ์ เมอื่ วนั ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2492 เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ นวิ ตั พระนครในปถ ดั มา โดยประทบั ณ พระท่นี ั่งอมั พรสถาน ตอ มาวันท่ี 28 เมษายน พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว โปรดเกลาฯ ใหจัดการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสกับหมอมราชวงศสิริกิต์ิ กิติยากร ณ พระตาํ หนักสมเด็จพระศรสี วรินทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยิกาเจา ในวงั สระปทุม ซ่งึ ในการพระราชพิธีราชาภิเษกสมรสน้ี มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหสถาปนาหมอม ราชวงศหญิงสิรกิ ิต์ิ กติ ยิ ากร ขึ้นเปน สมเด็จพระราชนิ ีสริ กิ ิติ์ วันท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา กระหมอ มใหต ง้ั การพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกตามแบบอยา งโบราณ

ประวตั ิศาสตร 124 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม ราชประเพณขี นึ้ ณ พระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษณิ เฉลมิ พระปรมาภไิ ธยตามทจ่ี ารกึ ในพระสพุ รรณบฏั วา พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มหติ ลาธเิ บศรามาธบิ ดี จกั รนี ฤ บดินทร สยามมนิ ทราธิวาส บรมนาถบพิตร พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการวา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชนส ุขแหง มหาชนชาวสยาม” และในโอกาสน้ี มี พระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหเ ฉลมิ พระนามาภไิ ธย สมเดจ็ พระราชนิ สี ริ กิ ติ ์ิ เปน สมเดจ็ พระนางเจาสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ ี 2บทที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถมีพระราชโอรส และพระราชธดิ าดว ยกันสี่พระองคต ามลําดบั ดังตอไปน้ี 1. ทูลกระหมอมหญงิ อุบลรตั นราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี (พระนามเดมิ : สมเดจ็ พระเจา ลกู เธอเจา ฟา อบุ ลรตั นราชกญั ญา สริ วิ ฒั นาพรรณวดี ประสตู ิ 5 เมษายน 2494 สถานพยาบาล มงตช วั ชี เมอื งโลซาน ประเทศสวติ เซอรแ ลนด) สมเดจ็ พระเจา ลกู เธอพระองค นี้ไดทรงลาออกจากฐานันดรศักดิ์แหงพระราชวงศ โดยมีพระโอรสหนึ่งองคและพระธิดา สององค ทงั้ น้ี คาํ วา “ทลู กระหมอ มหญงิ ” เปน คาํ เรยี กพระราชวงศท มี่ พี ระชนนเี ปน สมเดจ็ พระบรมราชินี 2. สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟา มหาวชิราลงกรณ สยามมกฎราชกุมาร (พระนามเดิม : สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณ บรมจักรยาดิศรสันตติวงศ เทเวศรธํารงสบุ รบิ าล อภคิ ณุ ปู ระการมหติ ตลาดลุ เดช ภูมิพลนเรสวรางกูร กิตตสิ ิริสมบรู ณ สวางควัฒน บรมขัตตยิ ราชกมุ าร; ประสตู ิ: 28 กรกฎาคม 2495, พระทีน่ ั่งอัมพรสถาน) 3. สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า เจา ฟามหาจักรสี ริ ินธร รฐั สีมาคุณากรปย ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี (พระนามเดมิ : สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจา ฟาสิรนิ ธรเทพรตั นสุดา กิติ วฒั นาดลุ โสภาคย; ประสตู :ิ 2 เมษายน 2498, พระท่นี ัง่ อัมพรสถาน) 4. สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟา จฬุ าภรณวลยั ลกั ษณ อัครราชกุมารี (ประสูต:ิ

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 125 4 กรกฎาคม 2500, พระทนี่ ัง่ อัมพรสถาน) 2บทท่ี พระราชกรณยี กิจ พระราชนิพนธ และผลงานอืน่ โดยสงั เขป ทรงประกอบพระราชกรณียกิจท่ีถึงพรอมท้ังความบริสุทธิ์บริบูรณ จึงเปนชวงเวลา ประ ัวติศาสต ร 60 ป ท่พี สกนกิ รชาวไทยอยไู ดอ ยางรม เยน็ เปน สุขภายใตรม พระบารมี พระราชกรณยี กิจท้งั หลายทพี่ ระองคทรงบําเพญ็ นบั เปนพระมหากรุณาธคิ ุณอยา งหาทสี่ ุดไมไ ดทพ่ี ระองคท รงมี ตอประเทศชาตแิ ละประชาชนชาวไทย ดังพระราชกรณียกจิ และพระราชนพิ นธ ดังน้ี 1. มูลนธิ ชิ ัยพัฒนา 2. มลู นิธิโครงการหลวง 3. โครงการสวนพระองคสวนจติ รลดา 4. โครงการหลวงอางขาง 5. โครงการปลูกปา ถาวร 6. โครงการแกมลิง 7. โครงการฝนหลวง 8. โครงการสารานกุ รมไทยสาํ หรบั เยาวชน 9. โครงการแกลงดิน 10. กงั หนั ชยั พฒั นา 11. แนวพระราชดาํ ริ ผลิตแกส โซออลใ นโครงการสว นพระองค (พ.ศ. 2528) 12. แนวพระราชดาํ ริ เศรษฐกิจพอเพียง 13. เพลงพระราชนพิ นธ 14. พระสมเดจ็ จติ รลดา พระเกยี รตยิ ศ กงั หนั ชยั พฒั นา

ประวตั ิศาสตร 126 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงไดรับการทูลเกลาฯ ถวาย รางวัลและเกียรติยศตางๆ มากมาย ท้ังจากบคุ คลและคุณบุคคลในประเทศและตา งประเทศ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชกรณยี กจิ และพระราชอธั ยาศยั ในการแสวงหาความรู ทส่ี าํ คญั เปน ตน วา 1. ประธานรฐั สภายุโรปและสมาชกิ รว มกันทลู เกลา ฯ ถวาย “เหรียญรฐั สภายโุ รป” (19 กรกฎาคม พ.ศ. 2519) 2. ประธานคณะกรรมมาธกิ ารเพอ่ื สนั ตภิ าพของสมาคมอธกิ ารบดรี ะหวา งประเทศ ทลู เกลา ฯ ถวาย “รางวัลสันตภิ าพ” (9 กันยายน พ.ศ. 2529) 3. สถาบนั เทคโนโลยแี หง เอเชยี ทลู เกลา ฯ ถวาย “เหรยี ญทองเฉลมิ พระเกยี รตคิ ณุ ในการนาํ ชนบทใหพ ัฒนา” (21 กรกฎาคม พ.ศ. 2530) 4. ผูอ ํานวยการใหญโครงการสง่ิ แวดลอ มแหงสหประชาชาติ (UNEP) ทลู เกลาฯ 2บทที่ ถวาย “เหรียญทองประกาศพระเกียรติคุณดานส่ิงแวดลอม” (4 พฤจิกายน พ.ศ. 2535) 5. ผอู ํานวยการใหญองคก ารอนามัยโลก (WHO) ทูลเกลา ฯ ถวาย “เหรยี ญทอง สาธารณสขุ เพ่อื มวลชน” (24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2535) 6. คณะกรรมการสมาคมนิเวศวิทยาเชิงเคมีสากล (International Society of Chemical Ecology) ทูลเกลา ฯ ถวาย “เหรียญรางวัลเทิดพระเกียรตใิ นการ สงวนรกั ษาความหลายหลายทางชวี ภาพ” (26 มกราคม พ.ศ. 2536) 7. หวั หนา สาขาเกษตร ฝา ยวชิ าการภมู ภิ าคเอเชยี ของธนาคารโลก ทลู เกลา ฯ ถวาย “รางวัลหญาแฝกชุบสําริด” สดุดีพระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงเปนนักอนุรักษ ดินและน้าํ (30 ตุลาคม พ.ศ. 2536) 8. ผอู ํานวยการบริหารของยูเอ็นดซี พี ี (UNDCP) แหงสหประชาชาติ ทูลเกลาฯ ถวาย “เหรยี ญทองคาํ สดดุ พี ระเกยี รตคิ ณุ ดา นการปอ งกนั แกไ ขปญ หายาเสพตดิ ” (12 ธันวาคม พ.ศ. 2537) 9. องคก ารอาหารและเกษตรแหง สหประชาชาติ (FAO) ทลู เกลา ฯ ถวาย “เหรยี ญ สดดุ ีพระเกยี รติคณุ ในดา นการพัฒนาการเกษตร” (6 ธันวาคม พ.ศ. 2539) 10. สาํ นกั งานโครงการพฒั นาแหง สหประชาชาติ (UNDP) ทลู เกลา ฯ ถวาย “รางวลั ความสาํ เรจ็ สงู สดุ ดา นการพฒั นามนษุ ย” จากการทไ่ี ดท รงอทุ ศิ กาํ ลงั พระวรกาย และทรงพระวิริยะอุตสาหะในการปฏิบัติพระราชกรณียกิจนอยใหญนานัปการ เพ่ือยังประโยชนและความเจริญอยางย่ังยืนมาสูประชาชนชาวไทยท้ังประเทศ มาโดยตลอด (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549) 11. ในป พ.ศ. 2550 องคการทรัพยสินทางปญญาโลก (World Intellectual Property Organization-WIPO) แถลงขาวการทูลเกลาฯ ถวาย “เหรียญ รางวัลผูนําโลกดานทรัพยสินทางปญญา” (Global Leaders Award) โดย นายฟรานซิส เกอรรี่ ผูอํานวยการใหญเปนผูนําข้ึนทูลเกลาฯ ถวาย ณ

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 127 พระราชวงั ไกลกงั วล ในวนั ที่ 14 มกราคม 2552 เพ่อื เทดิ พระเกียรตทิ ีท่ รงมี 2บทที่ บทบาทและผลดา นทรัพยสินทางปญญาทีโ่ ดดเดน ทั้งนีพ้ ระองคทรงเปน ผนู าํ โลกคนแรกท่ไี ดรบั การทลู เกลาฯ ถวายเหรยี ญรางวัลดงั กลา ว ประ ัวติศาสต ร 4.9 พระยากลั ยาณไมตรี (ดร.ฟรานซสิ บี แซร) Dr. Francis Bowes Sayre ดร.ฟรานซิส บ.ี แซร เปน ชาวตะวนั ตกคนท่ี 2 ทไี่ ดรบั พระราชทานบรรดาศักดเ์ิ ปน พระยากัลยาณไมตรีชาวตะวนั ตก คนแรกทเ่ี ปนพระยากัลยาณไมตรี มนี ามเดิมวา เจนสไอ เวอรสันเวสเตนการด (Jens Iverson Westengard) เกิดเม่ือ พ.ศ. 2428 ท่ีมลรัฐ เพนซลิ วาเนยี สหรัฐอเมรกิ าสําเรจ็ การศกึ ษาจากมหาวิทยาลยั ฮารว ารด เขา มารับราชการใน ประเทศไทยในสมัยรัชกาลที่ 5-6 โดยใน พ.ศ. 2446-2451 เปนผูชวยท่ีปรึกษาราชการ แผน ดนิ หลังจากนัน้ เปน ที่ปรึกษาราชการแผนดนิ จนถึง พ.ศ. 2458 จงึ กราบถวายบงั คม ลาออกกลับไปสหรัฐอเมริกา เวสเตนการดไดรับพระราชทานบรรดาศักดิ์เปนพระยา กลั ยาณไมตรเี มือ่ พ.ศ. 2454 ดร.แซร มีบทบาทสําคัญในการปลดเปล้ืองขอผูกพันตามสนธิสัญญาเบาวริงท่ีไทย ทาํ ไวก ับประเทศอังกฤษในสมยั รชั กาลที่ 4 และสนธิสัญญาลกั ษณะเดียวกันทไี่ ทยทาํ ไวก บั ประเทศอน่ื ซงึ่ ฝา ยไทยเสยี เปรยี บมากในเรอื่ งทค่ี นในบงั คบั ตา งชาตไิ มต อ งขนึ้ ศาลไทย และ ไทยจะเกบ็ ภาษีจากตางประเทศเกนิ รอยละ 3 ไมได ประเทศไทยพยายามหาทางแกไ ขสนธิ สญั ญาเสียเปรียบนม้ี าโดยตลอด ตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 5 มาจนถึงสมัยรชั กาลที่ 6 ปรากฏวา มีเพยี ง 2 ประเทศทยี่ อมแกไขให โดยมขี อแมบางประการ ไดแก สหรัฐอเมรกิ าเปนประเทศ แรกท่ียอมแกไขใน พ.ศ. 2436 และญ่ปี ุน ยอมแกไ ขใน พ.ศ. 2466 เมื่อ ดร.แซร เขามาประเทศไทยแลว พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยหู วั ทรง แตงตั้งใหเปนผูแทนประเทศไทยไปเจรจาขอแกไขสนธิสัญญากับประเทศในยุโรป ดร.แซร เร่ิมออกเดินทางไปปฏิบัตงิ านใน พ.ศ. 2467 การเจรจาเปน ไปอยา งยากลําบาก โดยเฉพาะ อยา งยง่ิ การเจรจากับอังกฤษ และฝรง่ั เศสซึง่ ตางก็พยายามรักษาผลประโยชนของตนเต็มที่ แตเ นอ่ื งจาก ดร.แซร เปน ผมู ีวิรยิ ะอุตสาหะ มคี วามสามารถทางการทูต และมีความตัง้ ใจดี ตอ ประเทศไทย ประกอบกบั สถานภาพสว นตวั ของ ดร.แซร ทเี่ ปน บตุ รเขยของประธานาธบิ ดี วดู โรว วสิ สัน แหง สหรฐั อเมรกิ า จงึ ทาํ ใหการเจรจาประสพความสาํ เร็จ ประเทศในยโุ รปท่ี ทําสนธิสัญญากับไทย ไดแก ประเทศอังกฤษ ฝร่ังเศส เนเธอรแลนด สเปน โปรตุเกส เดนมารก สวีเดน อิตาลี และเบลเยี่ยม ยินยอมแกสนธิสัญญาใหเปนแบบเดียวกับที่ สหรฐั อเมรกิ ายอมแกให ดร.แซร ถวายบังคมลาออกจากหนาที่กลบั ไปสหรฐั อเมริกาใน พ.ศ. 2468 แตก ็ยงั ยนิ ดที จี่ ะชว ยเหลอื ประเทศไทย ดงั เชน ใน พ.ศ. 2469 หลงั จากทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยูหัวทรงขึ้นครองราชยไดไมนาน ดร.แซรไดถวายคําแนะนําเกี่ยวกับสถานการณบาน เมือง และแนวทางแกปญ หาตา งๆ ตามทีท่ รงถามไป และยงั ไดร างรฐั ธรรมนญู ถวายใหทรง พจิ ารณาดว ย จากคุณงามความดที ี่ ดร.แซร มีตอ ประเทศไทย จงึ ไดรับพระราชทานบรรดาศกั ดิ์

128 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม เปนพระยากลั ยาณไมตรี เม่ือ พ.ศ. 2470 และตอ มาใน พ.ศ. 2511 รัฐบาลไทยไดต ง้ั ชอื่ ถนนขา ง กระทรวงตางประเทศ (วังสราญรมย) วา ถนนกลั ยาณไมตรี พระยากลั ยาณไมตรี ถงึ แกอ นิจกรรมทปี่ ระเทศสหรัฐอเมริกาเม่ือ พ.ศ. 2515 4.10 หมอบรัดเลย (Dr. Dan Beach Bradley) ดร.แดน บชี แบรดเลย ชาวไทยเรียกกนั วา หมอบรดั เลย หรือ ปลัดเล เปนชาว นิวยอรก ประเทศสหรัฐอเมรกิ า เกิดเม่อื พ.ศ. 2345 หมอบรัดเลยเดินทางเขา มายงั สยาม เมือ่ พ.ศ. 2378 โดยพักอาศยั อยูกับมิชชันนารี ชือ่ จอหนสัน ทวี่ ัดเกาะ เมื่อเขามาอยูเ มือง ไทย ในตอนแรกหมอบรดั เลยเ ปด โอสถศาลาขน้ึ ทข่ี า งใตว ดั เกาะ รบั รกั ษาโรคใหแ กช าวบา น แถวนนั้ พรอ มทงั้ สอนศาสนาครสิ ตใ หแ กช าวจนี ทอ่ี ยใู นเมอื งไทย สว นซาราหภ รรยาของหมอ เปน ครสู อนภาษาอังกฤษ ตอ มาหมอบรดั เลยย า ยไปอยแู ถวโบสถว ดั ซางตาครสู ขยายกจิ การจากรบั รกั ษาโรค 2บทที่ เปนโรงพิมพ โดยรับพิมพหนังสือเก่ียวกับศาสนาคริสต แจกและพิมพประกาศของทาง ราชการ เรื่อง หามนําฝนเขามาในประเทศสยามเปนฉบับแรก จํานวน 9,000 แผน เมื่อ วนั ท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2382 อกี ดว ย กจิ การโรงพมิ พน ีน้ บั เปน ประโยชนสําหรับคนไทย ประวตั ิศาสตร มาก เอกสารทางประวตั ศิ าสตรท สี่ าํ คญั ซงึ่ คนรนุ หลงั ไดศ กึ ษาสว นหนง่ึ กม็ าจากโรงพมิ พข อง หมอบรดั เลย นอกจากนท้ี า นไดอ อกหนงั สอื พมิ พร ายปฉ บบั หนง่ึ ชอ่ื วา บางกอกคาเลนเดอร (Bangkok Galender) ตอ มาไดอ อกหนงั สอื พมิ พรายปก ษอกี ฉบบั หนึง่ เม่ือ พ.ศ. 2387 ชื่อวา บางกอกรีคอรเดอร (Bangkok Recorder) นอกจากหนังสือพิมพแลวยังไดพิมพ หนงั สอื เลม จาํ หนายอกี ดว ย เชน ไคเกก็ ไซฮ ั่น สามกก เลียดกก หองสิน ฯลฯ หนงั สอื ของ หมอบรัดเลยนั้นเปนท่ีรูจักแพรหลายในหมูขุนนางและราชสํานัก โดยเฉพาะหนังสือพิมพท่ี ลงบทความแสดงความคิดเห็นอยา งกวา งขวาง นอกจากงานดา นโรงพมิ พท ห่ี มอบรดั เลยเ ขา มาบกุ เบกิ และพฒั นาใหว งการสงิ่ พมิ พ ไทยแลว งานดานการแพทยและดานสาธารณสุขที่ทานทําไวก็มิไดยิ่งหยอนไปกวากัน หมอบรัดเลย นับเปนหมอฝร่ังคนแรกที่ไดน าํ เอาหลกั วิชาการแพทยสมยั ใหมเขามาเผยแพร ในเมอื งไทย มกี ารผา ตดั และชว ยรกั ษาโรคตา งๆ โดยใชย าแผนใหม ซง่ึ ชว ยใหค นไขห ายปว ย อยางรวดเร็ว ทีส่ าํ คญั ที่สดุ คอื การปลกู ฝป อ งกันไขท รพิษ ดว ยคณุ งานความดีท่ีหมอบรดั เลยมตี อ แผน ดินไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยหู วั จึงไดพระราชทานพระบรมราชา นญุ าตใหพ วกมชิ ชนั นารี และหมอบรดั เลย เชาที่หลังปอมวิไชยประสิทธิ์อยูจนถึงรัช สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยู หวั จงึ พระราชทานใหอ ยโู ดยไมต อ งเสยี คา เชาจนกระท่ังหมอบรัดเลยถึงแกกรรมเมื่อ พ.ศ. 2416 รวมอายุได 71 ป

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 129 บคุ คลสาํ คัญของประเทศไทยทอ่ี งคการศึกษา วทิ ยาศาสตร และวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ (ยูเนสโก) ยกยอง อนั ดบั ผูไดร ับยกยอ ง ยกยอง ยกยองเน่อื งในวาระ เมอื่ วนั ท่ี 1. สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอฯ 21 มถิ นุ ายน ฉลองวันประสตู ิ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ พ.ศ. 2505 ครบ 100 พรรษา 2. สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอฯ 28 เมษายน ฉลองวันประสูต กรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ พ.ศ. 2506 ครบ 100 พรรษา 3. พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ 24 กมุ ภาพนั ธ ฉลองวันพระราชสมภพ 2บทท่ี หลา นภาลยั พ.ศ. 2511 ครบ 200 พรรษา 4. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา 1 มกราคม ฉลองวนั พระพระราช ประ ัวติศาสต ร เจา อยูห ัว พ.ศ. 2524 สมภพครบ 100 พรรษา 5. สุนทรภู 26 มถิ ุนายน ฉลองครบชาติกาล พ.ศ. 2529 200 ป 6. พระยาอนุมานราชธน 14 ธันวาคม ฉลองครบชาตกิ าล 100 ป พ.ศ. 2531 7. สมเด็จพระมหาสมณเจา กรม 11 ธนั วาคม ฉลองวันประสตู คิ รบ พระปรมานชุ ติ ชโิ นรส พ.ศ. 2533 200 พรรษา 8. พระเจาวรวงศเ ธอกรมหมืน่ 25 สิงหาคม ฉลองวนั ประสูตคิ รบ นราธิปพงศป ระพันธ พ.ศ. 2534 100 พรรษา 9. สมเดจ็ พระมหิตลาธเิ บศร 1 มกราคม ฉลองวันพระราชสมภพ อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก พ.ศ. 2535 ครบ 100 พรรษา 10. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว 9 มิถุนายน ฉลองสิริราชสมบตั ิครบ ภูมิพลอดลุ ยเดช พ.ศ. 2539 50 ป 11. สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบราชชนนี 11 พฤษภาคม ฉลองวนั พระราชสมภพ พ.ศ. 2543 ครบ 100 พรรษา 12. นายปรดี ี พนมยงค 20 กันยายน ฉลองครบชาตกิ าล 100 ป พ.ศ. 2543 13. พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา 20 กันยายน ฉลองวนั พระราชสมภพ เจาอยูหัว พ.ศ. 2546 ครบ 150 พรรษา

130 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม อนั ดับ ผไู ดร ับยกยอ ง ยกยอ ง ยกยอ งเนื่องในวาระ ประวัติศาสตร 14. หมอมหลวงปน มาลากุล เม่อื วันท่ี ฉลองครบชาติกาล 20 ตุลาคม 100 ป พ.ศ. 2546 15. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา 18 ตุลาคม ฉลองวนั พระราชสมภพ อยหู ัว พ.ศ. 2547 ครอบ 200 พรรษา 16. นายกหุ ลาบ สายประดิษฐ 31 มีนาคม ฉลองครบชาติกาล พ.ศ. 2548 100 ป 2บทที่ 17. พทุ ธทาสภกิ ขุ 20 ตุลาคม ฉลองครบชาตกิ าล พ.ศ. 2548 100 ป 18. พระเจาบรมวงศเธอฯ กรมหลวง 19 พฤศจกิ ายน ฉลองวันประสตู คิ รบ วงศาธริ าชสนทิ พ.ศ. 2550 200 พรรษา กิจกรรมที่ 9 เร่ือง บุคคลสําคญั ของไทยและของโลกดานประวตั ศิ าสตร ใหนักศกึ ษาแบงกลมุ 4 กลุม แตละกลมุ ศกึ ษาคน ควา และทํารายงานสง พรอมกบั นําเสนอ โดยมีหัวเร่อื ง ดงั น้ี กลุม ที่ 1 พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกจิ ทีส่ ําคญั ของ พอขนุ รามคาํ แหงมหาราช กลมุ ที่ 2 พระราชประวัติและพระราชกรณยี กิจท่ีสาํ คัญของ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยหู ัว กลมุ ที่ 3 พระราชประวัตแิ ละพระราชกรณียกิจทีส่ ําคัญของ สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี กลุมท่ี 4 พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกจิ ทส่ี าํ คญั ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช 

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 131 เรื่องท่ี 5 เหตุการณส าํ คญั ของโลกทม่ี ีผลตอปจจบุ นั 2บทท่ี เหตุการณสําคัญที่มีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของโลกน้ันหมายถึงเหตุการณ ประ ัวติศาสต ร สําคัญท่ีทําใหโลกเกิดการเปล่ียนแปลงภายหลังสงครามสิ้นสุดลง ซึ่งพบวาสหประชาชาติ สามารถยับย้ังการทําสงครามอาวุธไดในระดับหนึ่ง แตเม่ือสงครามอาวุธผานไปเหตุการณ ปจ จบุ นั จะกลายเปน สงครามเศรษฐกจิ ชีวติ ความเปนอยู วัฒนธรรม จารตี ประเพณี รวมถึง การเมอื งการปกครองในปจ จุบนั ซง่ึ เหตกุ ารณสาํ คญั ในอดตี ทีส่ ง ผลตอปจจุบันมดี งั นี้ 1. สงครามโลกครงั้ ท่ี 1 และ 2 สงครามโลกครงั้ ทหี่ นงึ่ เปน สงครามความขดั แยง บนฐานการลา อาณานคิ ม ระหวา ง มหาอํานาจยุโรปสองคาย คือ ฝายไตรพันธมิตร (Triple Alliance) ซ่ึงประกอบไปดวย เยอรมนี และอิตาลี กับฝายมหาอํานาจ (Triple Entente) ประกอบไปดวยบริเตนใหญ ฝรงั่ เศสและรัสเซยี เกดิ ขน้ึ ในชวง ค.ศ.1914-1918 (พ.ศ.2547-2461) สาเหตขุ องสงครามโลกครง้ั ทหี่ นงึ่ เกดิ จากความขดั แยง ทางการเมอื งของทวปี ยโุ รป โดยเปน จดุ เรม่ิ ตน ของการสนิ้ สดุ ของระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยข องยโุ รป การสนิ้ สดุ ของ จักรวรรดิออตโตมัน เปนตัวเรงปฏิกิริยาของการปฏิวัติรัสเซีย การพายแพของประเทศ เยอรมนีในสงครามครั้งน้ี สงผลใหเกิดลัทธิชาตินิยมขึ้นในประเทศ และเปนจุดเร่ิมตนของ สงครามโลกครั้งทส่ี อง เมอื่ พ.ศ.2482 (ค.ศ.1939) ในชว งแรกของสงครามมหาอาํ นาจกลางเปน ฝา ยไดเ ปรยี บ แตห ลงั จากทอ่ี เมรกิ าเขา รวมกับฝายพันธมิตร พรอมกับสงอาวุธยุทโธปกรณและกําลังพลเกือบ 5 ลานคน ทําให พนั ธมติ รกลบั มาไดเ ปรยี บและสามารถเอาชนะฝา ยมหาอาํ นาจกลางไดอ ยา งเดด็ ขาด ในทสี่ ดุ เมอ่ื ฝา ยมหาอาํ นาจกลางยอมแพแ ละเซน็ ตส ญั ญาสงบศกึ เมอ่ื วนั ท่ี 11 พฤศจกิ ายน ค.ศ.1918 สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 ซ่งึ กนิ ระยะเวลายาวนาน 4 ป 5 เดือน จึงยตุ ิลงอยา งเปน รปู ธรรม ผลกระทบ หลังจากท่ีสหรัฐอเมริกาไดเขารวมรบและประกาศศักดาในสงครามคร้ังน้ี ทําให สหรัฐอเมริกาไดกาวเขามาเปนหน่ึงในมหาอํานาจโลกเสรีบนเวทีโลกเคียงคูกับอังกฤษและ ฝรั่งเศส รัสเซียกลายเปนมหาอํานาจโลกสังคมนิยม หลังจากเลนินทําการปฏิวัติยึดอํานาจ และตอ มาเมอ่ื สามารถขยายอาํ นาจไปผนวกแควนตา ง ๆ มากขน้ึ เชน ยูเครน เบลารสุ ฯลฯ จงึ ประกาศจดั ตั้งสหภาพโซเวยี ต (Union of Soviet Republics – USSR) ในป ค.ศ.1922 เกิดการรา งสนธสิ ัญญาแวรซาย (The treaty of Veraailles) โดยฝา ยชนะสงครามสําหรับ เยอรมนี และสนธิสัญญาสันตภิ าพอกี 4 ฉบบั สําหรบั พนั ธมิตรของเยอรมนี เพ่ือใหฝา ยผู แพยอมรับผิดในฐานะเปนผูกอใหเกิดสงครามในสนธิสัญญาดังกลาว ฝายผูแพตองเสียคา ปฏกิ รรมสงคราม เสยี ดินแดนทัง้ ในยโุ รปและอาณานิคม ตอ งลดกาํ ลังทหาร อาวุธ และตอง ถูกพันธมิตรเขายึดครองดินแดนจนกวาจะปฏิบัติตามเงื่อนไขของสนธิสัญญาเรียบรอย

ประวตั ิศาสตร 132 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม อยา งไรกต็ ามดวยเหตุทีป่ ระเทศผูแพไมไ ดเ ขา รวมในการรางสนธิสัญญา แตถ กู บีบบงั คบั ให ลงนามยอมรับขอตกลงของสนธสิ ญั ญา จึงกอใหเ กิดภาวะตงึ เครียดขนึ้ เกิดการกอ ตัวของ ลัทธิฟาสซิสตในอิตาลี นาซีในเยอรมัน และเผด็จการทหารในญี่ปุน ซ่ึงทายสุดประเทศ มหาอํานาจเผด็จการท้ังสามไดรวมมือเปนพันธมิตรระหวางกัน เพ่ือตอตานโลกเสรีและ คอมมิวนิสต เรียกกันวาฝายอักษะ (Axis) มีการจัดต้ังขึ้นเปนองคกรกลางในการเจรจา ไกลเ กลยี่ ขอ พพิ าทระหวา งประเทศ เปน ความรว มมอื ระหวา งประเทศ เพอื่ รกั ษาความมน่ั คง ปลอดภยั และสนั ตภิ าพในโลก แตค วามพยายามดงั กลา วกด็ จู ะลม เหลว เพราะในป ค.ศ. 1939 ไดเ กดิ สงครามทร่ี ุนแรงขน้ึ อกี ครงั้ นน่ั คอื สงครามโลกครงั้ ที่ 2 เปน ความขัดแยงในวงกวาง ครอบคลุมทุกทวปี และประเทศสว นใหญใ นโลก เริม่ ตนในป พ.ศ.2482 (ค.ศ.1939) และ ดาํ เนนิ ไปจนกระทงั่ สนิ้ สดุ ในป พ.ศ. 2488 (ค.ศ.1945) ไดช อื่ วา เปน สงครามทมี่ ขี นาดใหญ 2บทที่ และทาํ ใหเ กิดความสญู เสียครั้งใหญที่สุดในประวตั ิศาสตรโ ลก ตน เหตทุ แ่ี ทจ รงิ ของสงครามครง้ั น้ี ยงั เปน ประเดน็ ทถี่ กเถยี งกนั อยไู มว า จะเปน สนธิ สัญญาแวรซ ายส ภาวะเศรษฐกจิ ตกตาํ่ ครั้งใหญ ความเปน ชาตนิ ิยม การแยง ชิงอาํ นาจและ ตองการแบงปนโลกใหมของประเทศที่เจริญตามมาทีหลังและกระแสนิยม เชนเดียวกับวัน เริ่มตนสงครามท่ีอาจเปนไปไดท้ังวันท่ี 1 กันยายน พ.ศ. 2482 (ค.ศ.1939) ที่เยอรมัน รกุ รานโปแลนด, วนั ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2480 (ค.ศ.1937) ที่ญปี่ นุ รกุ รานแมนจูเรีย บาง คนกลาววาสงครามโลกคร้ังที่หน่ึงและสงครามโลกคร้ังน้ีเปนขอพิพาทเดียวกัน แตแยกกัน ดว ย “การหยดุ ยงิ ” การตอ สมู ขี น้ึ ตงั้ แตม หาสมทุ รแอตแลนตกิ ยโุ รปตะวนั ตกและตะวนั ออก ทะเลเมดิเตอรเรเนียน แอฟริกา ตะวนั ออกกลาง มหาสมทุ รแปซฟิ ก เอเชียตะวนั ออกเฉียง ใต และจีน สงครามในยุโรปสนิ้ สุดเมื่อเยอรมนยี อมจาํ นนในวันท่ี 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ.1945) แตในเอเชียยังดําเนนิ ตอไปจนกระท่ังญี่ปนุ ยอมจาํ นนในวันที่ 15 สิงหาคม ป เดยี วกัน คาดวามีผเู สยี ชีวิตในสงครามครง้ั นีร้ าว 57 ลานคน 2. สงครามเยน็ สงครามเย็น (อังกฤษ : Cold War) (พ.ศ.2490-2534 หรอื ค.ศ.1947-1991) เปน การตอ สกู นั ระหวา งกลมุ ประเทศ 2 กลมุ ทมี่ อี ดุ มการณท างการเมอื งและระบบการเมอื ง ตา งกัน เกิดขนึ้ ในชวงหลงั สงครามโลกครงั้ ทีส่ อง ฝา ยหน่ึงคอื สหภาพโซเวยี ต เรยี กวา คาย ตะวันออก ซ่ึงปกครองดวยระบอบคอมมิวนิสต อีกฝายหน่ึงคือ สหรัฐอเมริกาและกลุม พนั ธมติ ร เรียกวา คา ยตะวันตก ซงึ่ ปกครองดว ยระบอบเสรปี ระชาธิปไตย นโยบายตา งประเทศของสหรฐั อเมรกิ าและสหภาพโซเวยี ตในชว งเวลาดงั กลา ว คาํ นงึ ถงึ สงครามเยน็ เปน หลกั นบั จากป ค.ศ.1947 (พ.ศ.2490) จนกระทง่ั การลม สลายของสหภาพ โซเวียต ใน ค.ศ.1991 (พ.ศ.2534) สมัยเริ่มตนสงครามเยน็ นาจะอยใู นสมัยวิกฤตการณ ทางการทูตในตอนกลางและปลาย ค.ศ.1947 เม่อื สหรฐั อเมริกากบั สหภาพโซเวยี ตเกดิ ขัด แยงเรือ่ งการจดั ตงั้ องคก ารสันตภิ าพในตรุ กี ยโุ รปตะวนั ออกและเยอรมนี

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 133 ความตึงเครียดเน่ืองจากการเผชิญหนากันระหวางอภิมหาอํานาจ แตยังไมมีการ 2บทที่ ประกาศสงครามหรือใชกําลังเปนสมัยลทั ธิทรูแมน วันที่ 12 มนี าคม คศ.1947 กบั ประกาศ แผนการมารแชลล เพอ่ื ฟน ฟูบรู ณะยุโรปตะวันตก ซ่งึ ไดรับความเสยี หายจากสงครามโลก ประ ัวติศาสต ร คร้งั ทส่ี อง การขยายอทิ ธิพลของโซเวียตในยโุ รปตะวนั ออกและการแบงแยกเยอรมนี การวิจัยและพัฒนาโครงการทางการทหารทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญจํานวนมาก เกิดข้ึนในชวงเวลาน้ีรวมถึงการแขงขันกันสํารวจอวกาศ การจารกรรมและการสะสมอาวุธ นวิ เคลียรด ว ยทง้ั หมดนีเ้ ปนไปเพอื่ แสดงแสนยานภุ าพของฝายตน 3. สงครามเศรษฐกจิ หากยอนไปเม่ืออดีตการเกิดข้ึนของสงครามจะเปนการแกงแยงชิงดินแดนและ ทรพั ยากร เพราะสงครามในขณะนน้ั จะเปน การขยายอาณาเขตออกไป โดยมไิ ดม งุ หวงั เพยี ง ดนิ แดนเทา นน้ั แตย งั มงุ หวงั ทรพั ยากรในดนิ แดนอกี ดว ย ภายหลงั สงครามโลกสน้ิ สดุ ลง การ แขงขันดานการคา ชีวิตความเปนอยูเปลี่ยนแปลงไปกลางเปนสงครามเศรษฐกิจ การทํา สงครามเศรษฐกิจจะมีการใชวัฒนธรรมเขาไปแทรกแซงเปนการกลืนชาติดวย ที่เรียกวา “Crelization” หมายความวา เปน ความพยายามยดั เยยี ดวฒั นธรรมของตนใหเ ปน สว นหนงึ่ ของวฒั นธรรมในชาตนิ น้ั ๆ โดยครอบงาํ ทาํ ใหค นมวี ถิ ชี วี ติ ตามแบบฉบบั วฒั นธรรมของตน หรือรสู ึกวา เหมือนเปน วฒั นธรรมของตน เพราะวา วถิ ชี วี ิตจะมีตัวสินคาเปน องคป ระกอบ 4. เหตกุ ารณโลกปจ จุบัน หลักการเกิดสงครามโลกทั้งประเทศที่ชนะและแพสงครามตางก็เปนประเทศ อุตสาหกรรมทําใหทุกประเทศตองฟนฟูเศรษฐกิจในประเทศตน ในท่ีสุดผลผลิตมีมากเกิน ความตองการจนกลายเปน สาเหตเุ ศรษฐกิจตกตํ่าท่วั โลกในป ค.ศ. 1929-1933 เหตุการณโลกปจจุบันมีการแขงขันดานเศรษฐกิจสูงหรือการทําสงครามดาน เศรษฐกิจทําใหวิถีชีวิตของชาวไทยไมวาจะเปนการดําเนินชีวิตปจจุบัน การบริโภคคานิยม เปลยี่ นแปลงไป เมอื่ เรายอมรบั วถิ ชี วี ติ ใด ๆ กต็ าม วถิ ชี วี ติ เหลา นนั้ ยอ มจะตอ งรอ งขอสนิ คา บางอยางเพื่อที่จะทําใหการดําเนินชีวิตเหลาน้ันเดินตอไปได เชน เม่ือเรายอมรับวิถีชีวิต ดิจทิ ลั (Digital) เครือ่ งมืออิเลก็ ทรอนิกส และ PC ก็จะกลายเปน สวนหนง่ึ ของวิถีชีวติ เรา ญี่ปุนเปนชาติหนึ่งที่ผลิตเครื่องเสียงไดดี ซึ่งการรองเพลงตามเน้ือรองท่ีเรียกกันเปนภาษา ญป่ี นุ วา “คาราโอเกะ” เมอ่ื เรายอมรบั วธิ กี ารรอ งเพลงกนั ตามเนอ้ื เพลงทเ่ี ปน คาราโอเกะ ใน ท่ีสุดสินคาเก่ียวกับการรองเพลงคาราโอเกะแบบญี่ปุนก็จะขายดีไปดวย การรับประทาน อาหารฟาสตฟ ดู ตามแบบฉบบั วฒั นธรรมอเมรกิ นั หรอื การยอมรบั ภาษาทใี่ ชใ นการสอ่ื สารทาง ธรุ กจิ ตองเปน ภาษาอังกฤษ ภาษาจนี เปน ตน การเกดิ ขนึ้ ของกระแสวฒั นธรรมโลกจะทาํ ใหบ รษิ ทั ยกั ษใ หญร ะดบั โลกสามารถผลติ สินคาดวยตนทุนต่ําท่ีขายไดท่ัวโลก ซ่ึงเปนการแสวงหาผลประโยชนขามชาติจากประเทศ ดอยพัฒนาหรือการทําการคาโดยเสรีจากบริษัทใหญ ซ่ึงมีตนทุนหรือกําลังทรัพยมากมา

ประวตั ิศาสตร 134 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม แขงขันธุรกิจในประเทศท่ีกําลังพัฒนาจะเห็นไดวาในยุคเศรษฐกิจใหม มีการหล่ังไหลของ วฒั นธรรมตางชาตเิ ขามาในสงั คมไทยอยา งหนักจนทาํ ใหรูสึกวา วัฒนธรรมคา นยิ ม รปู แบบ วิถีการดําเนนิ ชีวิตแบบไทยๆ กําลงั ถกู กลืนและถกู ทาํ ลายความเปน ไทย ทําใหปฏเิ สธไมไ ด วา ปจ จบุ นั วฒั นธรรม รปู แบบวถิ ชี วี ติ ตะวนั ตกหรอื ของตา งชาตกิ าํ ลงั มบี ทบาทตอ การดาํ เนนิ ชีวิตความเปนอยูของคนทุกเพศทุกวัย อยางไรก็ตาม แมวาระบบตลาดทุนนิยมนี้จะมี การแขงขันที่สงผลดีตอผูบริโภคในเร่ืองคุณภาพผลิตภัณฑและรูปแบบของนวัตกรรม (Innovation) กต็ าม แตก ท็ าํ ใหส งั คมไทยยคุ ใหมม ลี กั ษณะเปน บรโิ ภคนยิ ม (Consumerism) และสังคมมีความเสี่ยงตอการถูกกลืนทางวัฒนธรรม ซึ่งคนรุนใหมท่ีจะเปนฟนเฟองกลไก ทางสงั คมตอ ไปในอนาคตกก็ าํ ลงั หลงใหลนยิ มชมชอบกบั ความสขุ จากสง่ิ บนั เทงิ ตา งๆ ทมี่ า กบั กระแสโลกาภิวฒั นและการเปด เสรที างการคา 2บทท่ี ในป ค.ศ.2508 (พ.ศ.2551) วันท่ี 15 กันยายน 2551 บริษัทยักษใหญใน สหรัฐอเมริกาประกาศภาวะขาดทุนลม ทําใหสงผลกระทบตอเศรษฐกิจโลกถดถอยจนถึง ปจ จุบนั ป พ.ศ. 2552 

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 135 กิจกรรมท่ี 10 เรอ่ื ง เหตุการณสาํ คัญของโลกทีม่ ีผลตอปจจุบัน 2บทที่ 1. ขอใดคอื สาเหตุของการเกิดสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ประ ัวติศาสต ร ก. ความขดั แยงทางดา นวัฒนธรรมของทวปี ยุโรป ข. ความขดั แยง ทางเศรษฐกจิ ของทวีปยโุ รป ค. ความขดั แยง ทางการเมืองของทวีปยุโรป ง. ถกู ทงั้ 3 ขอ 2. สงครามท่ีรุนแรงและทาํ ใหเ กิดความสญู เสยี ครั้งใหญท่สี ุดในประวัติศาสตรโ ลกคอื ก. สงครามโลกคร้งั ที่ 1 ข. สงครามโลกครง้ั ที่ 2 ค. สงครามเศรษฐกจิ ง. สงครามเยน็ 3. สงครามในยโุ รปส้ินสดุ ลง แตใ นเอเชยี ยงั ตอ สูกันอยูจนกระท่ังญี่ปนุ ประกาศ ยอมจํานนเม่อื ก. 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 ข. 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2488 ค. 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2488 ง. 15 สงิ หาคม พ.ศ. 2488 4. การแขงขันทางดานเทคโนโลยีและสะสมอาวุธนิวเคลยี ร การสํารวจอวกาศ การจารกรรมตางๆ เพอื่ แสดงแสนยานภุ าพเกดิ ขึ้นในชว งไหน ก. สงครามเย็น ข. สงครามเศรษฐกจิ ค. สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ง. ถูกทุกขอ 5. บรษิ ทั ยักษใหญของสหรฐั อเมรกิ าประกาศภาวะขาดทุนลม ทาํ ใหภ าวะเศรษฐกจิ ทัว่ โลกถดถอยเมอื่ ป พ.ศ.อะไร ก. พ.ศ. 2552 ข. พ.ศ. 2551 ค. พ.ศ. 2550 ง. พ.ศ. 2548 

136 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม 3บทที่ เศรษฐศาสตร สาระสําคัญ การเรยี นรูเกีย่ วกับเศรษฐศาสตรพ นื้ ฐาน เก่ียวกบั ระบบเศรษฐกิจ สถาบนั ทางการ เงนิ และการคลงั ความสมั พนั ธแ ละความเชอื่ มโยงของระบบเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ และ การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศตา งๆ เพอื่ เชอื่ มโยงสแู นวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั ชมุ ชนและการดาํ รงชวี ิต ตวั ชวี้ ดั 1. วิเคราะหป ญหาและแนวโนมทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทยได 2. เสนอแนวทางการแกปญ หาของเศรษฐกิจของประเทศไทยในปจ จบุ ันได 3. รูและเขาใจตระหนักในความสําคัญของการรวมกลุมเศรษฐกิจระหวางประเทศ และประเทศตา งๆ ในโลก 4. รแู ละเขา ใจในระบบเศรษฐกจิ แบบตางๆ ในโลก 5. รูและเขาใจความสัมพันธและผลกระทบทางเศรษฐกิจระหวางประเทศของ ประเทศไทยกับกลมุ เศรษฐกจิ ของประเทศตา งๆ ในภูมภิ าคในโลก 6. วเิ คราะหค วามสาํ คญั ของระบบเศรษฐกจิ และการเลอื กจดั กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศตางๆ ในโลกและผลกระทบ 7. เขา ใจในเรอ่ื งกลไกราคากบั ระบบเศรษฐกิจ 8. รแู ละเขา ใจในเรือ่ งการเงนิ การคลังและการธนาคาร 9 เขาใจในระบบของการธนาคาร 10. ตระหนกั ในความสําคัญของการเงิน สถาบนั การเงิน 11. วิเคราะหผลกระทบจากปญหาทางเศรษฐกิจ ในเร่ืองการเงิน การคลังของ ประเทศ และของโลกไว 12. รแู ละเขา ใจเร่ืองแผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง ชาติ ขอบขายเนือ้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ความรเู บ้ืองตนเก่ยี วกบั เศรษฐศาสตร เร่ืองที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทย เรื่องที่ 3 กระบวนการทางเศรษฐกิจ เรื่องที่ 4 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ เร่อื งท่ี 5 สถาบนั การเงินและการเงนิ การคลงั เรอ่ื งท่ี 6 ความสมั พนั ธแ ละผลกระทบเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศกบั ภมู ภิ าคตา งๆของโลก เรือ่ งที่ 7 การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 137 เร่อื งที่ 1ความรเู บือ้ งตน เกย่ี วกับเศรษฐศาสตร 3บทที่ 1. ความรเู บือ้ งตน เก่ยี วกับเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสต ร 1.1 ความหมายและความสาํ คญั ของเศรษฐศาสตร 1) ความหมายของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร หมายถงึ สาขาวชิ าหนงึ่ ในสงั คมศาสตร ทศ่ี กึ ษาพฤตกิ รรมของมนษุ ย ในการใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัด โดยการจัดสรรทรัพยากรไดอยางเสมอภาคและเปน ธรรมและเปน ทพี่ งึ พอใจ 2) ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร เปน เรอ่ื งเกย่ี วเนอ่ื งสมั พนั ธก บั พฤตกิ รรมของคนในสงั คมกบั กจิ กรรม ทางเศรษฐกิจ ซ่ึงประกอบดว ยการผลติ การกระจายผลติ และผบู รโิ ภค เศรษฐศาสตรจ งึ มี บทบาทสาํ คญั ตอ การดาํ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทกุ ชนดิ โดยเฉพาะเรอื่ งการตดั สนใจเกยี่ ว กบั การผลิต การบริโภค และการซ้อื ขาย การแลกเปล่ียนสนิ คาและบรกิ าร เศรษฐศาสตรจ งึ เกย่ี วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของเราทกุ คน ทกุ ระดบั ตงั้ แตป ระชาชน ทว่ั ไปถงึ ระดบั ประเทศ เศรษฐศาสตรเ ขา ไปมบี ทบาทในดา นการใชท รพั ยากรของประเทศให เกดิ ประโยชนสงู สดุ ใหประชาชนกนิ ดีอยูดี ไมถ กู เอารัดเอาเปรยี บ แตเ นอ่ื งจากทรพั ยากรตา งๆ ในโลกมจี าํ กดั เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ความตอ งการมนษุ ย ซึ่งมีไมจํากัด จึงทําใหเกิดการขาดแคลนข้ึน ในการอยูรวมกันของมนุษยจึงตองตัดสินใจ เลือกอยางใดอยางหนึ่ง ในกระบวนการตัดสินใจเลือกจึงนําความรูเชิงเศรษฐศาสตรเขามา ชว ยใหการตดั สนิ ใจแตล ะครง้ั ใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ นอกจากนน้ั เขา ใจเศรษฐศาสตร จะทําใหเขา ใจเหตกุ ารณแ ละระเบยี บกฎเกณฑบาง อยางท่ีตนเองตองมีสวนในการใหและรับผลประโชนรวมกัน เชน การเสียภาษี การไดรับ ประโยชนตอบแทนจากการเสยี ภาษีไป เปนตน 1.2 หลกั การและวิธีการจัดสรรทรัพยากรท่มี อี ยอู ยา งจาํ กดั เศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีพยายามแกไขปญหาเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานของมนุษย ไดแก ปญ หาวา ทาํ ไมจงึ ผลติ จะผลติ อะไร ผลติ อยา งไร และผลติ เพอ่ื ใคร รวมทง้ั ยงั ชว ยแกไ ขปญ หา ที่ซับซอนมากขึ้น เพ่ือใหประเทศสามารถบริหารจัดการทรัพยากรใหสัมฤทธิผลและมี ประสทิ ธภิ าพ โดยมีวัตถปุ ระสงคดานเศรษฐกจิ ดังนี้ 1) ความมปี ระสทิ ธภิ าพทางเศรษฐกจิ หมายถงึ การใชท รพั ยากรทมี่ อี ยอู ยา งจาํ กดั ไดแ ก ทด่ี นิ แรงงาน และอื่นๆ ทาํ การผลิตโดยไดรับผลผลติ สูงสุด 2) การจา งงานเต็มท่ี หมายถงึ การทีค่ นงานทุกคนทสี่ มัครใจทาํ งาน มงี านทํา และ เปน การทํางานเต็มความสามารถของแตล ะคน 3) ความมีเสถียรภาพของระดับราคาสินคาและบริการ หมายถึง การท่ีระดับราคา สินคาและบรกิ ารมกี ารเปลีย่ นแปลงเพยี งเล็กนอ ยและไมเปลีย่ นแปลงบอย เพราะจะทําใหผู

เศรษฐศาสตร 138 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม บริโภคเดือดรอ นและผูผลิตจะไมสามารถคาดการณภาวะทางธุรกจิ ไดอ ยางถูกตอง 4) ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ หมายถงึ การทผ่ี ลผลติ ของประเทศมแี นว โนมสูงข้นึ อยางสมา่ํ เสมอ แสดงถงึ ีความเปนอยูด ขี น้ึ อยางตอ เนอื่ งของคนในชาติ 5) ความเทา เทยี มกนั ของการกระจายรายได หมายถงึ คนสว นใหญข องประเทศ มรี ายไดไ มแ ตกตา งกนั มากนกั ทง้ั นเ้ี พอื่ ใหค นสว นใหญส ามารถซอ้ื สนิ คา และบรกิ ารไดอ ยา ง เสมอภาค สรปุ การใชจายของรฐั บาล เปน มหภาค อุปสงคตอ สนิ คาและบรกิ าร เปน จลุ ภาค 3บทท่ี ความแตกตา งทางเศรษฐกจิ ประเทศตา งๆ มคี วามเจริญทางเศรษฐกิจแตกตางกนั เปน เพราะมนษุ ยด าํ เนินกจิ กรรม ทางเศรษฐกจิ ทงั้ ดา นเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมไดเ หมาะสมสอดคลอ งกบั สภาพแวดลอ ม ของประเทศ 1. ปจจัยทท่ี าํ ใหเกดิ ความแตกตางทางเศรษฐกิจ ปจ จัยที่ทําใหเ กดิ ความแตกตา งทางเศรษฐกจิ มีดังน้ี 1) ภูมปิ ระเทศ เปน ลกั ษณะท่ปี รากฏบนผวิ โลกเปน รูปแบบตางๆ เชน แมน ํ้า ภูเขา ทรี่ าบ ทร่ี าบสูง เปน ตน ประเทศสวนใหญท ่ีมีเศรษฐกิจดี ประชากรมกั ตัง้ ถ่นิ ฐาน บริเวณท่ีเปนท่ีราบลุมแมนํ้าอันมีดินตะกอนทับถมซึ่งมีธาตุอาหารอุดมสมบูรณเหมาะกับ กจิ กรรมเพาะปลูก 2) ภมู อิ ากาศ เปน สภาพดนิ ฟา อากาศซง่ึ ประกอบดว ยแสงแดด อณุ หภมู ิ นาํ้ ฝน ความชนื้ ความกดอากาศและลม ในเขตอากาศรอ นอณุ หภมู จิ ะสงู กวา ในเขตอบอนุ และเขต หนาว นอกจากนยี้ งั มคี วามเขม ของแสงแดดอนั เปน ปจ จยั ในการเจรญิ เตบิ โตของพชื และสตั ว บริเวณท่ีมีฝนตกมากหรือมีนํ้าใตดินจะสามารถเพาะปลูกและเลี้ยงสัตวได ลมท่ีพัดไมแรง มากจะชวยในการผสมเกสรและกระจายพันธุพืช ทําใหประเทศที่อยูในลักษณะภูมิอากาศ แตกตา งกนั มีความเจริญทางเศรษฐกจิ ตา งกนั 3) ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ีส่ ําคัญมี 4 ประเภท ไดแก (1) ทรัพยากรดนิ ดนิ ทมี่ ีอนิ ทรียวัตถุ ไมแ นนทบึ เกินไปจะชวยใหพืชเจรญิ เติบโตไดดีเหมาะแกการเพาะปลูก บริเวณที่ดินสลายตัวมากจากหินปูนกลายเปนดินขาว สามารถนาํ มาใชเ ปนวตั ถดุ ิบ ในการอุตสาหกรรมซีเมนตได (2) ทรัพยากรน้ํา ประเทศที่มีแหลงนํ้ากระจายอยูทั่วไปจะชวยใหสามารถ ประกอบกิจกรรมทางเกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมไดดี

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 139 (3) ทรพั ยากรปา ไม ชว ยใหม แี หลง ตน นา้ํ ลาํ ธาร มคี วามชมุ ชนื้ ปอ งกนั อทุ กภยั 3บทที่ ไดส วนเน้ือไมใ ชเปนวัตถดุ บิ ในการผลติ เฟอรนิเจอรและอืน่ ๆ ได เศรษฐศาสต ร (4) ทรัพยากรแร ถา เปนแรกน็ าํ ไปใชในอุตสาหกรรมหนักประเภทตา งๆ ได เชน แรโลหะ นําไปใชเปน วตั ถดุ บิ ในอุตสาหกรรมเคมี ใชท ําปยุ ทําวัสดุกอ สรา ง แรร ัตนชาติ นาํ ไปใชเ ปนเครอ่ื งประดบั ราคาคอนขางสูง แรเช้ือเพลงิ นาํ ไปใชเ ปน แหลง พลังงานท่ีสําคัญ มีทง้ั ท่อี ยูบนบกและในทะเล 4) การเมืองการปกครอง ประเทศที่ปกครองโดยเสรี มักจะเปดโอกาสให ประชาชนตัดสินใจดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสามารถและโอกาส โดยอาศัย กลไกราคาเปนปจ จยั ในการเลือกตดั สินใจ เกดิ การแขงขันกันเต็มที่ในการผลิต รายไดข อง บคุ คลยอ มแตกตา งกนั ไปตามความสามารถและโอกาสของแตล ะคน สว นประเทศทปี่ กครอง ระบอบคอมมวิ นสิ ต รฐั เปน ผดู าํ เนนิ การผลติ ซอ้ื ขายแลกเปลยี่ นสนิ คา และบรกิ าร ประชาชน มีรายไดจากคาแรงเทาน้ัน สําหรับประเทศที่ปกครองแบบสังคมนิยม ประชาชนดําเนิน กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทง้ั เกษตรกรรมและอตุ สาหกรรมขนาดยอ มโดยควบคมุ การผลติ ขนาด ใหญ ทําใหประชาชนมีฐานะไมแตกตางกันมากนัก 5) ความกา วหนา ทางเทคโนโลยี ประเทศทดี่ าํ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ไดโ ดย เสรจี ะเกดิ การแขง ขนั อยา งเตม็ ท่ี ใชค วามสามารถ ความคดิ รเิ รมิ่ มกี ารลงทนุ และพฒั นาเพอ่ื เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการผลติ มสี นิ คา ใหมๆ และมสี นิ คา คณุ ภาพดี และสามารถลดการทาํ ลาย สภาพแวดลอมได 6) ประชากร ประเทศที่มีประชากรเพ่ิมอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดการพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คม เพราะมคี วามตองการในการบริโภคในประเทศมาก พืชผลทีผ่ ลติ ได ภายในประเทศมีปริมาณลดลงไมเพียงพอกับการสงออกทําใหประเทศขาดรายได ขาด ดลุ การคา และดลุ ชาํ ระเงนิ สขุ ภาพอนามยั ของประชากรไมด เี พราะขาดอาหาร มกี ารวา งงาน มากข้นึ และการอพยพยายถิ่นจากชนบทสูเมืองมีสงู ขึน้ ประเทศที่มีลกั ษณะเชนนมี้ กั เปน ประเทศดอ ยพัฒนาคอนขา งยากจน 

140 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม เศรษฐศาสตร แบบฝก หดั ทายบท เรอ่ื งที่ 1 : ความรูเบอื้ งตนเกย่ี วกบั เศรษฐศาสตร คาํ สงั่ เมอ่ื ผเู รยี นศกึ ษาเรอ่ื งความรเู บอ้ื งตน เกยี่ วกบั เศรษฐศาสตรจ บแลว ใหท าํ แบบฝก หดั ตอไปน้ี โดยเขียนในสมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู แบบฝก หัดที่ 1 ใหต อบคาํ ถามตอไปนี้ 1. เศรษฐศาสตร หมายถงึ อะไร และมคี วามสาํ คญั และทเ่ี กย่ี วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของประชาชนอยางไร ............................................................................................... 2. ระบุปจจัยที่มาํ ใหเ กดิ ความแตกตางทางเศรษฐกิจ ม 3-5 ปจ จยั 3บทท่ี ........................................................................................................................ แบบฝกหดั ท่ี 2 ใหศกึ ษาพฤติกรรมของมนษุ ยในทางเศรษฐศาสตรและตัดสนิ วาเกย่ี วของ กับเศรษฐศาสตรสาขาใด โดยกาเครอื่ งหมาย  ใหตรงชอ งที่ถูกตอง พฤตกิ รรม เศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร จลุ ภาค มหภาค 1. การปลอ ยนาํ้ เสยี ของโรงงานอตุ สาหกรรมใน กทม. 2. การวางงานของประชากรไทย 3. การผลติ ขา วของชาวนาในภาคเหนอื 4. การซอื้ ขายแลกเปล่ยี นสนิ คาในตลาด 5. การเกบ็ ภาษอี ากร 6. พฤติกรรมของผบู รโิ ภค 7. ปญหาเงินเฟอ 8. ปญหาทางการคลังของรฐั บาล 9. การกกั ตนุ สนิ คา ของพอ คา คนกลาง 10. รายไดป ระชาชาติ 11. ปญ หาการขาดดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั 12. ปญหาการสงออกลดลง 13. ปญ หาการจราจรตดิ ขดั ในกรุงเทพมหานคร 14. ความนิยมในการใชสนิ คาฟมุ เฟอ ยของเยาวชน 15. ปญ หาการลงทุนในประเทศลดลง

รายวิชาสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 141 แบบฝกหดั ที่ 3 ใหผ เู รยี นอาน เรือ่ งตอไปนี้ แลว ตอบคาํ ถามในตอนตอไป 3บทที่ “ครอบครวั ของขวัญ” เศรษฐศาสต ร ขวญั เปน ผหู ญงิ ตวั เลก็ ๆ คนหนงึ่ ทจี่ าํ เปน ตอ งแบกรบั ภาระของครอบครวั เนอื่ งจาก สามีเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุขณะทํางานกอสราง แมวาขวัญจะด้ินรนเพื่อปากทองของ ครอบครวั อยา งไรกต็ าม แตค า ใชจ า ยกย็ งั ไมพ อเพยี งอยนู น่ั เอง เธอมปี ญ หาเรอื่ งคา เชา บา น คา นา้ํ คา ไฟ จนกระทงั่ วนั หนง่ึ เธอตดั สนิ ใจวา จะเลกิ เชา และออกหาทอ่ี ยใู หมแ ตด ว ยความ สงสารเจา ของบา นเชา มเี มตตาอนญุ าตใหเ ธอและลกู อยไู ดโ ดยไมต อ งเสยี คา นา้ํ คา ไฟ ชว ย หางานใหข วญั ทําโดยใหเ ธอไปซกั ผา จายคาจา งเดือนละ 2,000 บาท เม่ือหักคาเชาบาน แลว ขวัญกจ็ ะเหลือไวใชจ ายแค 1,200 บาท ซ่ึงมนั กย็ ังไมเพียงพอสาํ หรบั เธออยูน่นั เอง แตขวัญก็ไมทอถอยหรือสิ้นหวัง เพราะเธอยังมีลูกๆ ที่ตองคอยดูแล มีภาระท่ีจะตองหา เลยี้ งครอบครัว ส่ิงที่เธอวาดหวังอยูในขณะนี้คือ การท่ีลูกๆ ไดกินอิ่มนอนหลับ และไดเรียน หนังสือเหมอื นเดก็ คนอ่นื ๆ ผูเรยี นตอบคําถามตอไปนน้ี ้ี 1.เพราะเหตุใดคนเราจงึ ตอ งแสวงหารายได ........................................................ 2. ในการดาํ รงชีวติ ของคนเราตองอาศัยปจ จัยอะไรบา ง........................................ 3. เศรษฐศาสตรไดเ ขามาเก่ยี วของกบั ชวี ิตมนษุ ยใ นเรอื่ งใดบา ง............................ 4. สง่ิ ทท่ี าํ ใหข วญั มชี วี ติ อยไู ดโ ดยไมย อ ทอ ตอ อปุ สรรคคอื อะไร............................. 5. ขวญั เปน ตวั อยา งทด่ี ใี นเรอื่ งอะไรบา ง.............................................................. แบบฝก หดั ท่ี 4 ใหผ เู รียนศกึ ษาปญ หาพื้นฐานทางเศรษฐกิจตอ ไปน้แี ลวตอบคําถาม ปญ หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ เปน ปญ หาทเี่ กดิ ขน้ึ ในทกุ สงั คม ไมว า จะเปน ประเทศ ที่ใชระบบเศรษฐกิจแบบใด เน่ืองจากทุกประเทศจะประสบปญหาความไมสมดุลระหวาง ประชากรและทรัพยากร ไดแก 1. ปญ หาการจัดระบบการผลิต ไดแ ก 1.1 ปญหาวา จะผลิตอะไรดี (What) เนอื่ งจากทรัพยากรมีจํากัดแตค วาม ตองการของเรามีไมจํากัด จงึ ตองตดั สนิ ใจวา จะผลิตอะไรกอ น หรอื หลงั 1.2 ปญ หาวา จะผลิตอยางไร (How) คือจะใชวิธผี ลติ อยางไร หรือจะใช เทคโนโลยีอะไรทีจ่ ะนํามาใชในการผลิต 1.3 ปญ หาวา จะผลิตเพื่อใคร (For Whom) คอื สินคา ทผี่ ลิตไดจะแบง สรรไปยังบุคคลกลมุ ใดบาง

เศรษฐศาสตร 142 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม การตดั สนิ ปญ หาทง้ั 3 น้ี ในประเทศทใ่ี ชร ะบบเศรษฐกจิ ทนุ นยิ ม จะปลอ ยให กลไกราคาเปน เครอ่ื งตดั สนิ ในประเทศสงั คมนยิ มรฐั บาลจะเปน ผตู ดั สนิ ปญ หา สว นในประเทศ ทใ่ี ชร ะบบเศรษฐกจิ แบบผสม รฐั บาลจะกาํ หนดกลไกแหง ราคา มสี ว นในการตดั สนิ ปญ หา 2. ปญหาการเลอื ก เนื่องจากทรพั ยากรมีจาํ กดั จึงตองตัดสินใจวาจะเลือกผลิต สินคา อะไร มากนอ ยเทาใด เพราะตอ งแบง ปจจัยการผลิตในการผลิตสนิ คา เหลานนั้ ไปสู การผลติ สินคาชนดิ อน่ื ๆ ในการเปรยี บเทยี บการผลิตสินคา 2 ชนิด ในทางเศรษฐศาสตร จะแสดงโดยใชเ สน แสดงความสามารถในการผลติ ตามหลกั การทว่ี า เมอ่ื เราผลติ สนิ คา ชนดิ หน่ึงไดม าก เรายอมผลติ สนิ คาอกี ชนิดหนึ่งไดนอยลง 3. ปญ หาประชากร ปญ หาประชากรโลกเกดิ จากบางประเทสมปี ระชากรมากเกนิ ไปบางประเทศมปี ระชากรนอ ยเกินไป โทมสั โรเบิรต มลั ทสั ไดเสนอแนวทางควบคมุ ประชากรโลกโดยการ 3บทท่ี 3.1 มนุษยห าทางคมุ กาํ เนิด 3.2 มตี วั ยับยง้ั ธรรมชาติ เชน ภัยธรรมชาติ โรคระบาด สงคราม เปนตน การมปี ระชากรมาก ไมไดเปน ผลเสียเสมอไป ผลดีของการมีประชากรมากคอื ทาํ ใหม แี รงงานมากประชากรมคี วามตอ งการบรโิ ภคสนิ คา มาก ทาํ ใหเ ศรษฐกจิ ขยายตวั การ ผลิตสินคา ในปรมิ าณมากๆ ทาํ ใหต น ทนุ ในการผลติ ต่ํา แตผลเสยี ของการมปี ระชากรมาก ก็มีมากกวากลาวคือทําใหประชากรในวัยเด็กมากเกินไปฐานะครอบครัวยากจน และเปน ภาระของรฐั ในการเลย้ี งดู ประชากรมากอ ใหเ กดิ ปญ หาทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื งกต็ ามมา ทกุ ประเทศจงึ ตอ งการใหม ปี ระชากรพอดี หมายถงึ จาํ นวนประชากรทมี่ รี ายได เฉลยี่ แตละบคุ คลสงู สุดตามกาํ ลังทรพั ยากรทม่ี ีอยู มผี ลทําใหคนในประเทศนนั้ มีมาตรฐาน การครองชีพสูง มกี ารศกึ ษาดี มปี ระสทิ ธิภาพในการผลิตและการบริโภค เชน ประเทศ ญปี่ ุน เปน ตน ผเู รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. ปญ หาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจของทกุ ๆ ประเทศ ไดแก .................................... 2. ปญ หาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจเกดิ ขึน้ เนอ่ื งจาก ................................................. 3. การแกป ญ หาการจดั ระบบการผลิตประเทศไทยใช .......................................... ชวยแกป ญ หา 4. ปญ หาการเลือก หมายถงึ .......................................................................... 5. เสนแสดงความสามารถในการผลติ หมายถึง ................................................ 6. การท่เี สนแสดงความสามารถในการผลิตเคล่อื นมาทางขวามือ หมายความวา .................................................................................................................... 7. ประเทศทีม่ ีจาํ นวนประชากรมากเกินไป ไดแก .............................................. 8. การมปี ระชากรมาก กอ ใหเกิดผลดคี อื ......................................................... การมีประชากรมาก กอใหเกิดผลเสยี คือ........................................................ 9. การมีประชากรนอ ย กอ ใหเกดิ ผลเสยี คอื ........................................................ 10. โทมสั โรเบิรต มลั ทัส กลาววา “มนษุ ยจะไมอ ดตาย ถา ..........................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook