Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore edcation

edcation

Description: edcation

Search

Read the Text Version

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 243 เปน การเผชญิ หนาระหวาง “ตะวนั ออก” และ “ตะวันตก” อยางชดั เจน ประมาณป ค.ศ. 4บทท่ี 1946 – 1947 คาํ ประกาศของสตาลนิ ในป ค.ศ. 1946 เรยี กระดมพลังในชาตเิ พ่ือเตรียม การเผชิญหนากับฝายตะวนั ตก (ความจริงจุดมุงหมายในทางปฏวิ ัติ นา จะเพอ่ื ฟน ฟูบูรณะ การเ ืมองการปกครอง และพฒั นาประเทศอยา งเรงรัด) นบั เปน การ “ประกาศสงครามเยน็ ” โดยฝายคอมมิวนสิ ต และการประกาศ “หลักการทรูแมน” ในปตอมาก็นับเปนการ “ประกาศสงครามเย็น” ของฝายตะวันตก การลมสลายของระบอบปกครองคอมมิวนิสตในยุโรปตะวันออกและ ความเปล่ียนแปลงในรัสเซียที่เปนแมแบบของระบบปกครองแบบน้ีท่ีส่ันคลอน ไมเพียงแต การผกู ขาดอาํ นาจของพรรคคอมมวิ นสิ ตร สั เซยี แตร วมไปถงึ “จกั รวรรด”ิ รสั เซยี เลยทเี ดยี ว ซึ่งสงผลกระทบสําคัญย่ิงตอความสัมพันธทางอํานาจในโลก ในชวงตอระหวางป ค.ศ. 1989 – 1990 นกั สงั เกตการณท างการเมืองบางคนระบุอยางไมล ังเลยวา “โลกไดเปลย่ี น ไปแลว ในชว งเวลาเพียงหนึ่งป” 5. การเมืองโลกสูส งั คมไทย จุดเปล่ียนแปลงที่สําคัญที่นําสูสังคมไทยในยุคปจจุบัน กลาวไดวาเหตุการณสําคัญ กค็ อื การลม สลายของสหภาพโซเวยี ต ในป ค.ศ. 1997 อดีตสหภาพโซเวียตเปนประเทศที่ มดี นิ แดนกวา งใหญ มอี าณาเขตครอบคลมุ ทง้ั ในทวปี ยโุ รปและทวปี เอเชยี นอกจากนส้ี หภาพ โซเวียตยังมีบทบาทในการเปนผูนําของโลกคอมมิวนิสตดวยการขยายตัวของลัทธิ คอมมวิ นสิ ตแ ละปญ หาในสหภาพโซเวยี ต เรม่ิ จากการเปลย่ี นแปลงครงั้ แรกในการปฏวิ ตั ิ เมอ่ื เดือนตุลาคม ค.ศ. 1917 โดยเลนินผซู ึ่งนาํ สหภาพโซเวียตเขา สคู วามเปน คอมมวิ นิสตแ ละ ทาํ ใหโ ลกแบงออกเปน 2 ฝา ย คือ ฝา ยลทั ธคิ อมมวิ นิสตโ ดยมแี กนนํา คือ สหภาพโซเวยี ต และฝายโลกเสรนี าํ โดยสหรฐั อเมรกิ า การกระทําดงั กลาวก็มอี าจจะลุลวงไปไดด วยดี ในชวง เวลาดงั กลา วนน้ั โลกจงึ เตม็ ไปดว ยความวนุ วาย ตอ มาเมอ่ื ถงึ ชว งปลายศตวรรษท่ี 20 ประเทศ มหาอํานาจทั้ง 2 ตองประสบกับปญหาทางดานเศรษฐกิจอันเน่ืองมาจากการสนับสนุน ประเทศตา งๆ ในคา ยของตนทงั้ ทางดา นอาวธุ ยทุ โธปกรณ ทนุ เทคโนโลยตี า งๆ จนลมื ผลก ระทบท่ีจะมีมาสูประเทศ นอกจากนี้ ประเทศตางๆ เหลานั้นเริ่มจะมีอิสระในการดําเนิน นโยบายภายในประเทศและคาํ นงึ ผลประโยชนห ลกั ของตนมากขน้ึ ดงั นนั้ ประเทศมหาอาํ นาจ ทงั้ สองจงึ ไดต กลงเจรจาจาํ กดั อาวธุ ยทุ ธศาสตรข นึ้ ทาํ ใหส ถานการณโ ลกเรม่ิ คลค่ี ลายลง การ เปลี่ยนแปลงครั้งที่สองของสหภาพโซเวียตท่ีสงผลกระทบท่ัวโลกและทําใหสหภาพโซเวียต ตอ งลม สลายนน้ั กค็ อื การปรบั เปลยี่ นนโยบายบรหิ ารประเทศแบบใหมข องนายมดิ าฮลิ กอร บาซอฟ ประธานาธิบดีของสหภาพโซเวยี ต ซ่งึ ไดใชนโยบาย เปเรสทอยกา กลาสนอสต ซ่งึ มสี าระสาํ คญั อยทู กี่ ารปฏริ ปู โครงสรา งทางการเมอื ง การขจดั ความเฉอ่ื ยชา การคอรปั ชน่ั ของ เจาหนาท่ีพรรคและยังรวมถึงการเปดโอกาสใหมีประชาธิปไตยในการรับขาวสารขอมูลนั้น ไดท าํ ใหเ กิดความวนุ วายในสหภาพโซเวียต ทาํ ใหผนู ําคอมมิวนิสตไมไ วว างใจผูน ํา และนํา ไปสกู ารปฏวิ ตั ทิ ล่ี ม เหลว การหมดอาํ นาจของพรรคคอมมวิ นสิ ต ประเทศบรวิ ารของสหภาพ โซเวยี ตในยโุ รปตะวนั ออกตา งแยกตวั เปน อสิ ระและทา ยทส่ี ดุ รฐั ตา งๆ ในสหภาพโซเวยี ตตา ง

การเมอื งการปกครอง 244 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม แยกตัวเปนประเทศอิสระปกครองตนเอง สงผลใหสหภาพโซเวียตถึงการลมสลายและ ดุลอาํ นาจ 6. เกิดขบวนการนักศึกษาเปนปรากฏการณระดับโลก ในชวงสงครามโลก ทัง้ 2 คร้ัง ขบวนการนักศกึ ษานีไ้ ดเกิดขึน้ จากแนวความคิด “การปฏิบตั วิ ฒั นธรรม” ในเชงิ การปลดปลอ ยตนเองเปน รปู แบบของการตอ ตา นสถาบนั เดมิ หรอื การปลดปลอ ยตนเองจาก วฒั นธรรมเกาสรางวฒั นธรรมใหม ดังจะเหน็ ไดจ ากความนยิ ม “เพลงรอ็ ค” “กางเกงยนี ” “บุปผาชน” “ซายใหม” โดยความคิดท่ีเกิดกับนักศึกษาน้ีไมเพียงเกิดกับนักศึกษาของ สหรัฐ ยุโรปตะวันตก ญ่ีปุนเทานั้น แตยังเขามาสูนักศึกษาไทยดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งใน ชว งสงครามเวียดนามนักศกึ ษาไทยมสี วนรวมในขบวนการตอตา นสงครามเปน อยา งมาก 4บทท่ี ขบวนการนักศึกษาโลกกลายเปนพลังทางสังคมและการเมืองสําคัญโดยเฉพาะใน การประทวงใหญของนักศึกษาฝรงั่ เศส (ค.ศ. 1968) ทีท่ าํ ใหเ มืองปารสี และอีกหลายเมอื ง ของฝร่งั เศสกลายเปน อมั พาต และในปเ ดยี วกัน การประทว งของนักศกึ ษาอเมริกันกท็ าํ ให นายลนิ คอน จอหน สนั ไมก ลา ลงสมัครรบั เลือกตง้ั เปน ประธานาธิบดขี องสหรฐั สมัยที่ 2 สําหรับประเทศไทยน้ัน กระแสความคิดท่ีปลดปลอยและขบวนการนักศึกษาได เกดิ ขน้ึ อนั เปน ผลมาจากระยะชว งเวลาอนั ยาวนานของการเมอื งโลก โดยในชว ง 14 ตลุ าคม 2516 เกดิ ขบวนการนกั ศกึ ษาประทว งตอ ตา นระบอบถนอม – ประภาส – ณรงค จนนกั ศกึ ษา ตอ งถกู รฐั ทาํ ลายชวี ติ ไปกวา 70 คน แตใ นทส่ี ดุ กส็ ามารถไล ถนอม – ประภาส และณรงคไ ด สรุปไดว า ขบวนการนักศึกษาไทย ชว ง พ.ศ. 2516 – 2519 นับเปน สวนหนึ่งของ “ชวงระยะเวลายาว” ของการเมืองไทยกวา 100 ป ในขณะเดียวกันก็เปนสวนหนึ่งของ “ชว งเวลาระยะยาว” ของการเมืองโลกกวา 2 ศตวรรษ โดยมาพรอมและทันกบั ระยะเวลา ของการปลดปลอ ย และเปลย่ี นแปลงของโลกครง่ึ หลงั ของศตวรรษที่ 20 ซงึ่ หลงั จากนน้ั เพยี ง ไมก ี่ป เมื่อถงึ ศตวรรษ 1980 ทุกอยางก็เปลีย่ นแปลงไปโดยสน้ิ เชิง โดยสหภาพโซเวียตและ ระบบสงั คมนยิ มไดลม สลาย เศรษฐกิจตลาดและโลกาภิวัตนก็เตบิ โตมาแทนท่ี ซึ่งเชือ่ กนั วา จะมคี วามกา วหนา ไปพรอ มกบั “ความพนิ าศของอดตี ” และ “การสน้ิ สดุ ของประวตั ศิ าสตร ทางการเมือง” 

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 245 กิจกรรมที่ 1 4บทท่ี ใหผ เู รยี นเขยี นเครอื่ งหมาย หนา ขอ ความทถ่ี กู ตอ งและเขยี นเครอื่ งหมาย  หนา ขอ ความท่ีเห็นวาผิด การเ ืมองการปกครอง ................... 1. เมืองฮิโรชิมาและเมืองนาวาซากิ เปนเมืองของประเทศญี่ปุนที่ถูกระเบิด ปรมาณใู นชว งสงครามโลกคร้งั ที่ 2 ................... 2. ผลกระทบจากการเกิดสงครามโลกคร้ังที่ 2 ท่ีมีตอสหภาพโซเวียต คือ ไดร ับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ................... 3. สงครามเย็น คือ การตอสูระหวา งคา ยประชาธปิ ไตยและคา ยคอมมวิ นิสต ................... 4. ลัทธนิ าซีเปนลทั ธขิ องประเทศรสั เซีย ................... 5. ในชว งสงครามเย็น ยโุ รปตะวนั ออกปกครองระบอบประชาธิปไตย ................... 6. สังคมไทยไดรับผลกระทบจากเหตุการณการลมสลายของสหภาพโซเวียต ในป ค.ศ. 1997 ................... 7. “ขบวนการนกั ศกึ ษาโลก” เกดิ ขน้ึ จากแนวความคดิ “การปฏบิ ตั วิ ฒั นธรรม” ................... 8. นกั ศกึ ษาไทยมสี วนรวมในขบวนการตอ ตานสงครามเย็น ................... 9. ในป ค.ศ. 1968 เกิด “ขบวนการนกั ศกึ ษา” ประทวงในประเทศฝรง่ั เศส และสหรฐั อเมริกา ................... 10. “ขบวนการนกั ศกึ ษาไทย” ไดเ กดิ ขนึ้ อนั เปน ผลมาจาก “การเมอื งโลก” ในชวง 14 ตุลาคม 2520 เฉลย 4.  5.  1.  2.  3.  9.  10.  6.  7.  8.  กิจกรรมที่ 2 ใหผ เู รยี นศกึ ษาขอ มลู เกยี่ วกบั เหตกุ ารณส าํ คญั ทางการเมอื งของโลกชว งสงครามโลก ครง้ั ท่ี 1 และสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ตลอดจนเหตกุ ารณป ฏวิ ตั ทิ างการเมอื งของประเทศตา งๆ จาก Internet

การเมอื งการปกครอง 246 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม เรอ่ื งที่ 6 หลกั ธรรมาภบิ าล ความหมายของหลักธรรมาภิบาล หลกั ธรรมาภิบาล หมายถึง แนวทางในการจดั ระเบียบเพอื่ ใหส ังคมของประเทศ ท้งั ภาครฐั ภาคธรุ กจิ เอกชนและภาคประชาชนสามารถอยรู ว มกนั ไดอ ยา งสงบสขุ โดยตง้ั อยใู น ความถูกตอ งและเปน ธรรม ปจ จบุ นั จงึ เหน็ ไดว า การบรหิ ารจดั การองคก รทงั้ ภาครฐั และเอกชนไดใ หค วามสาํ คญั กับการนําหลักธรรมาภิบาลมาใชโดยเฉพาะเรื่องคุณธรรมเน่ืองจากพบวา มีการประสบกับ ภาวะวกิ ฤตอิ ันเกิดจากการทุจริตท่รี ะบาดออกไปอยางรวดเรว็ และกวางขวาง มที งั้ ความไม รบั ผดิ ชอบตอ สงั คมหรอื สว นรวมโดยคาํ นงึ แตป ระโยชนข องตนเองและพวกพอ ง อนั เปน การ 4บทท่ี บริหารจัดการทขี่ าดคุณธรรมและจริยธรรมอยางยิง่ ธรรมาภิบาลในองคกรภาครฐั หรอการบรหิ ารจัดหารที่ดีในภาครัฐ (Good Gover- mnance) จะชวยกระตุนอยางมากตอการพัฒนาและขยายตัวของจริยธรรมในทางธุรกิจ ท้ังน้ีเพราะความสัมพันธระหวางภาครัฐกับภาคเอกชนมีอยูอยางใกลชิด ภาครัฐในฐานะท่ี เปนผูควบคุมกติกาการดําเนินของเอกชนยอมมีผลตอการเสริมสรางการบริหารจัดการที่ดี ในวงการธรุ กจิ และการยดึ มน่ั ในหลกั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม รวมทงั้ ความรบั ผดิ ชอบทธ่ี รุ กจิ มตี อ สงั คม ถา การควบคมุ ยอ หยอ นหรอื หนว ยงานในภาครฐั มสี ว นรเู หน็ เปน ใจกบั การทจุ รติ หรือการเอารัดเอาเปรียบสังคมและผูบริโภคของธุรกิจเอกชนหรือมีการรวมมือกันระหวาง คนในภาครัฐกับในภาคเอกชนเพื่อแสวงหาผลประโยชนอันมิชอบแลว จะเปนอุปสรรคซึ่ง ทาํ ใหการเสรมิ สรางจรยิ ธรรมในการทําธรุ กจิ เปน ไปไดลาํ บาก หลกั ธรรมาภบิ าล หลักธรรมาภิบาลท่ีทุกคนไมวาจะเปนคนทํางานในหนวยงาน ภาครัฐหรือเอกชน ตองยดึ มั่นหลกั ธรรมาภิบาล 6 ประการ เปนแนวทางในการปฏบิ ัตงิ าน ดังน้ี 1. หลกั นติ ิธรรม (The Rule of Law) หลกั นติ ธิ รรม หมายถึง การปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎ ระเบยี บ ขอ บงั คบั ตา งๆ โดย ถือวาเปนการปกครองภายใตกฎหมายมิใชตามอําเภอใจหรืออํานาจของตัวบุคคลจะตอง คาํ นึงถึงความเปน ธรรมและความยตุ ธิ รรม รวมท้ังมีความรดั กมุ และรวดเร็วดวย 2. หลักคุณธรรม (Morality) หลักคุณธรรม หมายถงึ การยดึ ม่ันในความถูกตอง ดงี าม การสงเสริมใหบ คุ ลากร พัฒนาตนเองไปพรอมกัน เพื่อใหบุคลากรมีความซ่ือสัตย จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วนิ ัย ประกอบอาชีพสุจรติ เปนนิสัยประจาํ ชาติ 3. หลักความโปรง ใส (Accountability) หลกั ความโปรง ใส หมายถงึ ความโปรง ใส พอเทยี บไดว า มคี วามหมายตรงขา มหรอื เกือบตรงขามกับการทุจริต คอรรัปชช่ัน โดยที่เรื่องทุจริต คอรรัปช่ันใหมีความหมายใน

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 247 เชงิ ลบและความนา สะพรงึ กลวั แฝงอยู ความโปรง ใสเปน คาํ ศพั ทท ใ่ี หแ งม มุ ในเชงิ บวกและให 4บทที่ ความสนในเชิงสงบสุข ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวกและเขาใจงายและมี กระบวนการใหป ระชาชนตรวจสอบความถกู ตอ งอยา งชัดเจน ในการนี้เพ่ือเปน สริ มิ งคลแก การเ ืมองการปกครอง บคุ ลากรทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหม คี วามโปรง ใส ขออญั เชญิ พระราชกระแสรบั สงั่ ในองคพ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราชทไี่ ดท รงมพี ระราชกระแสรบั สง่ั ไดแ ก ผทู ม่ี คี วามสจุ รติ และบริสุทธิใ์ จ แมจ ะมีความรนู อยกย็ อมทาํ ประโยชนใหแ กสวนรวมไดมากกวาผูท่มี ีความรู มาก แตไมม คี วามสจุ รติ ไมมีความบรสิ ทุ ธิใ์ จ 4. หลักการมสี ว นรวม (Participation) หลกั การมีสว นรว ม หมายถึง การใหโอกาสใหบ คุ ลากรหรอื ผูม ีสวนเกี่ยวขอ งเขา มา มสี ว นรว มทางการ บรหิ ารจดั การเกยี่ วกบั การตดั สนิ ใจในเรอื่ งตา งๆ เชน เปน คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและหรือคณะทํางานโดยใหขอมูล ความคิดเห็น แนะนํา ปรึกษา รวม วางแผนและรวมปฏิบัติ 5. หลกั ความรับผดิ ชอบ (Responsibility) หลกั ความรบั ผดิ ชอบ หมายถงึ การตระหนกั ในสทิ ธแิ ละหนา ท่ี ความสาํ นกึ ในความ รบั ผดิ ชอบตอ สงั คม การใสใ จปญ หาการบรหิ ารจดั การ การกระตอื รอื รน ในการแกป ญ หาและ เคารพในความคิดเห็นท่ีแตกตาง รวมทั้งความกลา ที่จะยอมรบั ผลดแี ละผลเสียจากการกระ ทําของตนเอง 6. หลักความคุม คา (Cost-effectiveness or Economy) หลักความคุมคา หมายถึง การบริหารจัดการและทรัพยากรท่ีมีจํากัด เพ่ือใหเกิด ประโยชนส งู สดุ แกส ว นรวม โดยรณรงคใ หบ คุ ลากรมคี วามประหยดั ใชว สั ดอุ ปุ กรณอ ยา งคมุ คา และรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตใิ หส มบูรณย ัง่ ยนื แนวปฏิบัตติ ามหลักธรรมาภบิ าล แนวการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลที่นํามาเสนอตอไปนี้จะเปนหลักธรรมาภิ บาลในภาครัฐ ซึ่งผูปฏิบตั ิงานในองคกรของรฐั ควรมแี นวทางการทาํ งานดงั น้ี 1. ยึดมั่นในวัตถุประสงคขององคกรและผลผลิตท่ีจะสงมอบใหแกประชาชน และผทู ีม่ ารบั บรกิ าร แนวการปฏบิ ัติ คือ 1) ตอ งมคี วามเขา ใจอยา งแจม แจง ในวตั ถปุ ระสงคแ ละผลผลติ ทต่ี ง้ั ใจจะทาํ ให 2) ผรู บั ไดผลผลิตที่มีคุณภาพเปนเลิศ 3) คมุ คา กบั ภาษที ี่เสยี ใหแกรัฐบาล 2. ทาํ งานอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพในหนา ทแี่ ละบทบาทของตน แนวการปฏบิ ตั ิ คอื 1) บคุ ลากรตอ งเขา ใจในหนาท่ขี องผบู ริหาร 2) เขา ใจอยา งแจม ชดั ในความรบั ผดิ ชอบของผใู ตบ งั คบั บญั ชาและผบู รหิ าร รวมทั้งตองม่นั ใจวา ทกุ คนปฏิบัตหิ นาท่ีตามความรบั ผดิ ชอบของตน 3) มีความเขา ใจอยางชัดเจนในความสมั พนั ธระหวา งผูบรหิ ารกับประชาชน ผูรับบรกิ าร

การเมอื งการปกครอง 248 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม 3. สงเสริมคานิยมขององคกรและแสดงใหเห็นถึงคุณคาของธรรมาภิบาล โดย การปฏบิ ัติหรือพฤตกิ รรม แนวการปฏิบตั ิคือ 1) นาํ คา นิยมขององคกรมาใชป ฏบิ ตั ิ 2) ผูบรหิ ารองคกรประพฤตติ นเปน ตวั อยา งทด่ี ี 3) ผบู ริหารตดั สนิ และวินจิ ฉยั อยางโปรง ใสและเปด เผย 4) บริหารงานอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. มีการสื่อสารที่ดี มีการตัดสินใจอยางโปรงใสและมีการบริหารความเส่ียงท่ี รดั กมุ แนวการปฏบิ ัตคิ ือ 1) การตัดสินใจทกุ ครัง้ ตอ งกระทาํ อยางโปรง ใสและยตุ ธิ รรม 2) ใชข อมูลที่ดี รวมทงั้ คาํ แนะนําและการสนับสนุน 4บทที่ 3) ตองม่ันใจวามีระบบบริหารความเส่ียงท่ีมีประสิทธิภาพอยูในระบบการ ทาํ งาน 5. พฒั นาศกั ยภาพและความสามารถของสว นบรหิ ารจดั การอยา งตอ เนอื่ ง พรอ ม ทั้งใหมีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้นึ แนวการปฏิบตั ิ คอื 1) ตองม่ันใจวาผูไดเล่ือนตําแหนงขึ้นมาเปนผูบริหารจัดการนั้น มีทักษะ ความรแู ละประสบการณท จี่ าํ เปน ตองใชในหนา ทีน่ ้ันๆ 2) พฒั นาความสามารถของผทู ท่ี าํ หนา ทใ่ี นสว นบรหิ าร รวมทง้ั มกี ารประเมนิ ผลงานไมวา จะเปน รายบุคคลหรือเปน กลุม ก็ได 3) มีความเชื่อมโยงในการทดแทนบุคลากรในสายบริหารจัดการเพ่ือความ ตอ เน่ืองในการปฏิบตั ิงานขององคกร 6. เขาถึงประชาชนและตองรับผิดชอบตอการทํางานและผลงานอยางจริงจัง แนวการปฏิบตั ิ คือ 1) ตอ งมคี วามเขาใจถึงขอบเขตของความรบั ผดิ ชอบ 2) รเิ รม่ิ การวางแผนทจ่ี ะตดิ ตอ กบั ประชาชน เพอ่ื ใหท ราบถงึ หนา ทแ่ี ละความ รบั ผดิ ชอบในผลงานของตน 3) ริเรม่ิ การแสดงออกถึงความรบั ผดิ ชอบตอบุคลากรภายในองคก ร 4) ประสานงานกับหนว ยเหนอื หรอื ผบู ังคับบัญชาอยางใกลช ดิ 

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 249 กิจกรรมที่ 1 4บทที่ ใหผูเรียนเขียนเคร่ืองหมาย หนาขอความที่ถูกตอง และเขียนเคร่ืองหมาย  การเ ืมองการปกครอง หนาขอ ความท่ีผิด แลว ตรวจกบั เฉลยทา ยกิจกรรม .......... 1. หลักธรรมาภิบาล เปนแนวทางในการจัดระเบียบเพ่ือใหสังคมของประเทศ ทง้ั ภาครัฐ ภาคธุรกจิ และภาคประชาชนอยรู ว มกันอยา งสงบสขุ .......... 2. การปฏิบัติงานโดยยึดหลักนิติธรรมน้ัน ตองทําอะไรดวยตนเองอยางม่ันใจ อาจถูกตองตามระเบียบหรือไมก็ได .......... 3. บุคคลใดก็ตามท่ียึดม่ันในความถูกตอง ดีงาม จริงใจ และขยัน ถือวาเปนผู ยดึ ม่ันในหลักความคุมคา .......... 4. “สมชาย” มักจะชวยทํากิจกรรมของชุมชนอยูเสมอ และเปนผูท่ียอมรับฟง ความคดิ เหน็ ของเพอ่ื นรว มงาน ถอื วา “สมชาย” เปน ผยู ดึ มน่ั ในหลกั การมสี ว นรว ม .......... 5. ในการทํากิจกรรมกลุมทุกคร้ัง “นุน” จะเปนผูที่กลาออกความคิดเห็น และ รับอาสาเปนผดู ูแลการทาํ งาน ซ่งึ งานจะประสบความสาํ เร็จทุกคร้งั ถือวา “นุน” เปน ผูย ดึ มัน่ ในหลกั ความโปรงใส กิจกรรมท่ี 2 คาํ สงั่ หากผเู รยี นไดท าํ งานเอกชนกบั บรษิ ทั แหง หนงึ่ ผเู รยี นมแี นวการปฏบิ ตั งิ าน ตามหลกั ธรรมาภบิ าลอยางไร แบบบันทึกผลการเรยี นรู ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

การเมอื งการปกครอง 250 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม กจิ กรรมที่ 3 1. ใหผ เู รยี นศกึ ษาเรยี นรเู พม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั เรอื่ งการพฒั นาของระบอบประชาธปิ ไตย ของประเทศตา งๆ ในโลกจาก Internet เอกสารแบบเรยี น ตาํ ราตา งๆ ตลอดจน ศกึ ษาจากผูรู 2. ใหผเู รียนทําแบบฝก หดั แลวตรวจเฉลยทายเรื่อง แบบฝกหัด คาํ สง่ั ใหผ เู รยี นเลอื กคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ ง แลว วงกลมลอ มรอบตวั อกั ษรหนา ขอ ความทถ่ี กู ตอ ง 1. ประเทศใดบางที่เปนจุดเริ่มตนของการปกครองระบอบประชาธิปไตยใน 4บทท่ี “ยคุ โบราณ” ก. ญป่ี ุน จีน เกาหลี ข. กรกี ซเี รยี อินเดยี ค. กรีก เกาหลี จนี ง. ไทย จีน ญป่ี ุน 2. ประเทศใดบา งท่จี ัดอยูใน “ยคุ กลาง” ของการพัฒนาการระบอบประชาธปิ ไตย ก. ไทย จีน ญ่ปี ุน ข. กรีก ซีเรีย อนิ เดีย ค. ยเุ ครน อังกฤษ สหพันธไ อโรโควอสิ ง. องั กฤษ ฝรั่งเศส อเมริกา 3. “คอสแซ็ค” มคี วามเกย่ี วของกับประเทศยเู ครนอยางไร ก. เปน รฐั ทางการทหารของยูเครน ข. เปน รัฐท่ีปกครองโดยประชาชนของยเู ครน ค. เปนรัฐทปี่ กครองแบบประชาธิปไตย ง. ไมม ขี อ ใดถูก 4. รูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย “สหพนั ธไ อโรโควอิส” เปน แบบใด ก. ราชาธปิ ไตย ข. รัฐอสิ ระ ค. อาณาธิปไตย ง. ระบบชนเผา 5. ประเทศใดบา งทีม่ ีการพัฒนาการระบอบประชาธิปไตยในชว ง “ครสิ ตศตวรรษที่ 18 – 19” ก. อินเดยี ซีเรีย เกาหลี ข. สหรฐั อเมรกิ า ฝรง่ั เศส นวิ ซแี ลนด ค. สหรฐั อเมริกา รสั เซีย องั กฤษ ง. ไทย จีน ญปี่ นุ

รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 251 6. ขอ ใดเปน การแสดงถงึ พฒั นาการการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของฝรง่ั เศส 4บทท่ี ก. การทาํ สงครามในประเทศ ข. การเขา รว มสงครามโลกคร้งั ที่ 2 การเ ืมองการปกครอง ค. ภายหลังการปฏวิ ัติ มีการเลอื กต้งั สมัชชาแหง ชาตฝิ รั่งเศส ง. การยดึ ครองอาณานิคมในยุโรป 7. ในชว งปลายคริสตว รรษที่ 19 ลักษณะของประชาธปิ ไตยของประเทศตา งๆ ในโลกเปน อยา งไร ก. ประชาธิปไตยที่เคารพเสียงขา งนอย ข. ประชาธิปไตยทเี่ คารพเสียงขางมาก ค. ประชาชนไมสามารถแสดงความคิดเห็นได ง. ไมมขี อ ใดถกู 8. ภายหลงั การสน้ิ สดุ ของสงครามโลกคร้ังที่ 2 เกดิ เหตกุ ารณสําคญั เกยี่ วกับ การเมอื งการปกครองของประเทศตา งๆ ในโลกอยางไร ก. ทกุ ประเทศแพสงคราม ข. กระแสการเปลี่ยนแปลงไปสรู ะบอกประชาธปิ ไตยในหลายประเทศ ค. กระแสของระบอบประชาธิปไตยแพรขยายไปยังแอฟรกิ าใต ง. ขอ ข และ ค ถูก 9. ประเทศไทยเขาสกู ารปกครองระบอบประชาธิปไตยในรชั สมยั ใด ก. รชั กาลท่ี 6 ข. รชั กาลที่ 7 ค. รัชกาลที่ 8 ง. รัชกาลที่ 9 10. ขอใดคอื รูปแบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของประเทศไทย ก. ประชาชนมสี ทิ ธิเสรีภาพเทา เทียมกนั ข. พระมหากษตั ริยทรงเปน ประมขุ ภายใตร ัฐธรรมนญู ค. อํานาจอธปิ ไตยเปนของปวงชนชาวไทย ง. ถูกทุกขอ 

252 หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม แนวเฉลยกิจกรรมท่ี 1 ภมู ศิ าสตรก ายภาพ กิจกรรมท่ี 1.1 สภาพภมู ิศาสตรกายภาพ 1. ใหบ อกลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและลกั ษณะเศรษฐกจิ ของประเทศไทยและทวปี ยโุ รป พื้นท่ี ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะเศรษฐกิจ ประเทศไทย  ภาคเหนือมีเทือกเขาสูงทอดยาวนานในแนว  มีการทําเกษตรกรรม ทํา เหนอื ใต ทม่ี ีราบลมุ สลบั อยู เปน แหลง กาํ เนิด นา ทาํ ไร ทาํ สวนผลไม แมนาํ้ สายสําคญั คอื ปง วงั ยม นา น พืน้ ที่ ยางพารา ปาลม ปา ไม สองฝงน้ําอุดมสมบูรณ เหมาะแกการเพาะ และเลย้ี งสัตว ปลกู  อุตสาหกรรมเหมืองแร  ภาคกลางเปน ดินดอนสามเหลี่ยม ปากแมนาํ้ อุตสาหกรรมการแปร เจา พระยาที่เกิดการรวมตัวของแมน า้ํ ปง วงั สภาพผลผลิตทางการ แนวเฉลย ยม นาน เกษตร ฯลฯ  ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มี ราบสงู ทมี่ รี าบลมุ แมน า้ํ ท่ีสาํ คญั คอื มลู และชี  ภาคตะวนั ออก มที ร่ี าบใหญอ ยทู างตอนเหนอื ตอนกลางมเี ทอื กเขาจนั ทบรุ ขี องภาค มที ร่ี าบ แคบๆ ชายฝงทะเล ทวปี ยุโรป  ตอนเหนอื มเี ทอื กเขาสงู และทร่ี าบชายฝง ทะเล  มีการทําเกษตรกรรม ที่เวาแหวง และอาวลึกท่ีเรียกวาฟยอรด ปลูกขาวสาลีไรปศุสัตว เนอ่ื งจากเกดิ ถกู ธารนํ้าแขง็ กัดเซาะ เล้ียงสัตวควบคูกับการ  เขตที่ราบสูงตอนกลาง เชน แบล็กฟอเรสต ปลกู พชื และเลยี้ งสตั วแ บบ ของเยอรมนั ทีร่ าบสูง โบฮเี มยี เขตตดิ ตอ เรร อ น เยอรมนั นกี้ บั สาธารณรฐั เชค ทร่ี าบเมเซตา ใน  การทําอุตสาหกรรมแร เขตสเปน และโปรตุเกส เหล็กและถานหนิ  เขตทีร่ าบตอนกลาง ต้งั แตช ายฝง มหาสมทุ ร  มกี ารทาํ ประมง เพราะมี แอตแลนติกไปถึง เทือกเขาอูราลในรัสเซีย ชายฝง ทย่ี าวและเวา แหวง ตะวันตกของฝรั่งเศสตอนใตของเบลเยี่ยม และติดทะเลทั้ง 3 ดาน เนเธอรแลนด เดนมารก ภาคเหนือของ เยอรมันนีมีประชากรอาศัยอยูหนาแนน เพราะมีความสําคญั ทางเศรษฐกจิ  เขตเทือกเขาตอนใต มีเทือกเขาสูงทอดตัว ยาวตงั้ แตต ะวนั ออกเฉยี งใตข องฝรง่ั เศสผา น สวิส เยอรมันนีไปจนถึงทางเหนือของอิตาลี ยอดเขามนี า้ํ แข็งปกคลุมเกอื บตลอดป

รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 253 แนวเฉลย แนวตอบกจิ กรรม 1.1 สภาพภมู ิศาสตรก ายภาพ 2. ปจ จยั ที่มอี ิทธิพลตอ ภูมอิ ากาศของทวีปอเมริกาใต คือ 1. ละติจูด พ้นื ท่ีสวนใหญข องทวีปครอบคลุมเขตอากาศรอ น และประมาณ 1 ใน 3 ของพ้ืนทีท่ วปี เปนเขตอากาศแบบอบอนุ ภูมภิ าคทางเหนอื ของทวีปจะมีฤดกู าล ที่ตรงขามกบั ภูมภิ าคทางใต 2. ลมประจาํ ไดแก 2.1 ลมคา ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พดั ผา นมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จงึ นาํ ความ ชมุ ชื่นเขาสูทวีปบรเิ วณชายฝง ตะวันออกเฉยี งเหนือ 2.2 ลมคา ตะวนั ออกเฉยี งใต พดั ผา นมหาสมทุ รแอตแลนตกิ จงึ นาํ ความชมุ ช่นื เขาสูทวีปบรเิ วณชายฝงตะวันออกเฉียงใต 2.3 ลมตะวันตกเฉียงเหนือ พัดผานมหาสมทุ รแปซฟิ ก จงึ นาํ ความชุมชน่ื เขา สูทวีปบริเวณชายฝง ตะวันตกของทวีป ตัง้ แตประมาณละติจูด 40 องศาใตล งไป 3. ทิศทางของเทือกเขา ทวีปอเมริกาใตมีเทือกเขาสูงอยูทางตะวันตกของ ทวปี ดงั นน้ั จงึ เปน สงิ่ ทกี่ นั้ ขวางอทิ ธพิ ลจากทะเลและมหาสมทุ ร ทาํ ใหบ รเิ วณทใ่ี กลเ ทอื กเขา คอ นขางแหงแลง แตใ นทางตรงกนั ขา ม ชายฝงดา นตะวันออกจะไดร ับอิทธิพลจากทะเล อยา งเต็มที่ 4. กระแสน้ํา มี 3 สายทส่ี าํ คญั คอื 4.1 กระแสนาํ้ อุน บราซลิ ไหลเลียบชายฝงของประเทศบราซิล 4.2 กระแสนา้ํ เย็นฟอลกแลนด ไหลเลียบชายฝงประเทศอารเจนตินา 4.3 กระแสนาํ้ เย็นเปรู (ฮัมโบลด) ไหลเลียบชายฝง ประเทศเปรแู ละชลิ ี 3. ปจ จัยสําคญั ทท่ี ําใหท วีออสเตรเลยี มสี ภาพภูมอิ ากาศท่ีแตกตา งกัน ปจจยั สําคญั ที่ทาํ ใหทวปี ออสเตรเลียมภี ูมอิ ากาศตางๆ กัน คือ ต้งั อยูในโซน รอ นใตแ ละอบอนุ ใต มลี มประจาํ พดั ผา น ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศและมกี ระแสนา้ํ อนุ และกระแส นาํ้ เห็นไหลผา น แนวตอบกิจกรรมท่ี 1.2 ลักษณะปรากฏการณทางธรรมชาตทิ ี่สาํ คญั และการปองกนั อันตราย 1. ปรากฏการณเรอื นกระจกคอื อะไร คําวา เรอื นกระจก (greenhouse) หมายถงึ อาณาบริเวณที่ปด ลอ มดวย กระจกหรือวสั ดอุ น่ื ซงึ่ มีผลในการเกบ็ กักความรอ นไวภายใน ในประเทศเขตหนาวนยิ มใช เรอื นกระจาํ ในการเพาะปลกู ตน ไมเ พราะพลงั งานแสงอาทติ ยส ามารถผา นเขา ไปภายในไดแ ต ความรอ นท่อี ยภู ายในจะถกู กักเก็บโดยกระจกไมใหสะทอ น หรือแผอ อกสูภายนอกไดทาํ ให

แนวเฉลย 254 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม อุณหภูมิของอากาศภายในอบอุนและเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชแตกตางจาก ภายนอกท่ียังหนาวเย็น นักวิทยาศาสตรจึงเปรียบเทียบปรากฏการณ ท่ีความรอนภายใน โลกถูกกบั ดักความรอนหรือกาซเรือนกระจก (Greenhouse agses) เก็บกักเอาไวไ มให สะทอนหรือแผอ อกสูภายนอกโลกวาเปนปรากฏการณเ รือนกระจก โลกของเราตามปกติมีกลไกควบคุมภูมิอากาศโดยธรรมชาติอยูแลว กระจกตาม ธรรมชาติของโลกคอื กา ซคารบอนไดออกไซดแ ละไอนาํ้ ซง่ึ จะคอยควบคมุ ใหอ ุณหภูมขิ อง โลกโดยเฉลี่ยมีคาประมาณ 15 °C และถาหากในบรรยากาศไมมีกระจกตามธรรมชาติ อุณหภมู ขิ องโลกจะลดลงเหลือเพียง -20°C มนุษยและพชื กจ็ ะลม ตายและโลกกจ็ ะเขา สยู คุ นา้ํ แข็งอกี ครัง้ หน่ึง 2. ในฐานะท่ีทานเปนสวนหน่ึงของประชากรโลกทานสามารถจะชวยปองกัน และแกไ ขปญหาภาวะโลกรอนไดอยางไรใหบอกมา 5 วธิ ี 1. อาบนํ้าดวยฝกบัวจะชวย ประหยัดวาการตักนํ้าอาบหรือใชอางอาบน้ําถึง คร่งึ หนงึ่ ในเวลาเพยี ง 10 นาที และ ปดนํ้าขณะแปรงฟน 2. ใชหลอดไฟตะเกียบ ประหยัดกวาหลอดธรรมดา 4 เทา ใชงานนานกวา 8 เทา แตล ะหลอดชว ยลดการปลอ ยกา ซคารบ อนไดออกไซด ได 4,500 กโิ ลกรมั หลอด ไฟธรรมดาเปลยี่ นพลงั งานนอ ยกวา 10% ไปเปน แสงไฟ สว นทเ่ี หลอื ถกู เปลยี่ นไปเปน ความ รอ น เทากับสูญพลังงานเปลาๆ มากกวา 90% 3. ถอดปลก๊ั เคร่ืองใชไฟฟาทกุ คร้งั จากใชงาน 4. พกถงุ ผาแทนการใชถุงพลาสติก 5. เชค็ ลมยาง การขับรถโดยท่ยี างมลี มนอ ย อาจทาํ ใหเ ปลอื งน้าํ มัน แนวตอบ กิจกรรมท่ี 1.3 วธิ ีใชเครื่องมือทางภูมศิ าสตร 1. แผนท่ี หมายถงึ การแสดงลกั ษณะพนื้ ผวิ โลกลงบนแผน ราบ โดยการยอ สว น และการใชส ญั ลกั ษณไ มว า เครอ่ื งหมายหรอื สี แทนสง่ิ ตา งๆ บนพนื้ ผวิ โลก แผนทจี่ งึ ตา งจาก ลกู โลกและแผนผัง 2. จงบอกประโยชนของการใชแผนท่มี า 5 ขอ 1. ประโยชนใ นการศกึ ษาลกั ษณะภมู ิประเทศ แผนทจ่ี ะทาํ ใหผูศ กึ ษาทราบวา พน้ื ท่ใี ดมีลักษณะภูมปิ ระเทศแบบใดบา ง 2. ประโยชนตอการศึกษาธรณีวิทยา เพื่อใหทราบความเปนมาของแหลง ทรัพยากร ดนิ หนิ แร ธาตุ 3. ประโยชนดานสมุทรศาสตรและการประมง เพ่ือใหทราบสภาพแวดลอม ชายฝง ทะเล 4. ประโยชนด า นทรัพยากรน้ํา รูขอ มลู เกยี่ วกบั แมน ํา้ และการไหล อา งเก็บนาํ้ ระบบการชลประทาน 5. ประโยชนด า นปา ไม เพอ่ื ใหท ราบคณุ ลกั ษณะของปา ไมแ ละการเปลยี่ นแปลง พืน้ ท่ปี า ไม

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 255 3. ใหบอกวธิ กี ารใชเขม็ ทิศคูก บั การใชแผนทา พอสงั เขป 1. วางเขม็ ทศิ ใหเปนตามทศิ จากจุดเรมิ่ ตน ไปยังจดุ ทจ่ี ะไป 2. หมุนตวั เข็มทศิ จนเสน เมอริเดยี นในแผนทขี่ ยายกบั แนว orienting lines 3. หมนุ แผนท่ีกับเข็มทศิ ไปดวยกนั จนกระทัง่ ปลายเขม็ แดงของเข็มทศิ ช้ไี ปท่ี ทศิ เหนือ 4. เดินไปตามทิศน้นั โดยรกั ษาแนวไวใหเข็มยังอยูในแนวเดมิ ตลอด แนวตอบ กิจกรรมที่ 4 การทําลายทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม จงเลอื กคาํ ตอบท่ถี กู ตองทีส่ ดุ เพยี งคําตอบเดยี ว 1. ข 2. ค 3. ง 4. ง แนวเฉลย 5. ก 6. ข 7. ง 8. ง แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 2 เรอ่ื ง ประวตั ศิ าสตร เรอ่ื งท่ี 1 กิจกรรมท่ี 1 1. ค 2. ก 3. ง 4. ข 5. ง เรอื่ งที่ 2 กิจกรรมท่ี 3 1. ค 2. ก 3. ข 4. ค 5. ค เรือ่ งที่ 5 กิจกรรมท่ี 5 1. ค 2. ข 3. ง 4. ง 5. ข เฉลยบทที่ 4 การเมอื งการปกครอง 1. ข 2. ค 3. ก 4.ง 5. ข 6. ค 7. ก 8. ง 9.ข 10. ง

256 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม บรรณานกุ รม โกเมน จริ ฐั กลุ , รศ.ดร.และเสรี ลลี าลยั , รศ. หนงั สอื เรยี น ส.504 สงั คมศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปท ่ี 5. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ จาํ กดั การศึกษาทางไกล, สถาบัน, กรมการศึกษานอกโรงเรียน. 2546. ชุดการเรียนทางไกล ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หมวดวิชาสพัฒนาสังคมและชุมชน. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค รุ สุ ภาลาดพรา ว คมิ ไชยแสนสขุ , รศ. และศนั สนยี  วรรณากรู . 2545. ชดุ ปฏริ ปู การเรยี นรหู ลกั สตู รการศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 กลมุ สาระการเรยี นรู สว นศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชว งชน้ั ท่ี 4 สาระ 3 เศรษฐศาสตร. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พป ระสานมติ ร ประเวศ วะส.ี 2544. เศรษฐกจิ พอเพยี งและประชาสงั คม : แนวทางผลติ ฟน ฟเู ศรษฐกจิ สงั คม. กรงุ เทพฯ : พมิ พด ี ปยพร บุญเพญ็ . หลักเศรษฐศาสตร 3200–0101, 05-110-103. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั บัณฑติ สาสน จํากดั . มปป. ไพฑูรย พงศะบตุ ร และวันชยั ศริ ิรตั น. หนังสอื เรียนสังคมศึกษา ส. 504 สังคมศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปท ่ี5. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ทั โรงพมิ พไ ทยวฒั นาพานชิ ย จาํ กดั 2537. สมชาย ภคภาสนว วิ ฒั น. การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ . วารสารเอเชยี ปรทิ ศั น. ปท ่ี 15 ฉบบั ท่ี 1 (ประจาํ เดอื นมกราคม –เมษายน 2537) : 1-7 อภินันท จันตะนี และชัยยศ ผลวัฒนา. 2538. ระบบเศรษฐกิจไทยและการสหกรณ. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พพ ทิ กั ษอ กั ษร. อภนิ นั ท จนั ตะน.ี 2541. เอกสารคาํ สอนเศรษฐศาสตร มหภาค 1 . ภาคงชิ าเศรษฐศาสตร คณะวทิ ยาการจดั การ สถาบนั ราชภฎั พระนครศรอี ยธุ ยา. กรงุ เทพฯ : พทิ กั ษอ กั ษร http : //rirs3.royin.go.th/dictionary.asp สถาบันการศึกษาทางไกล ชุดการเรียนทางไกล หมวดวิชาพัฒนาสังคมและชุมชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2548 พรรณภิ า ศรสี ขุ และผดุ ผอ ง ปตฐิ พร, พฒั นาสงั คมและชมุ ชน. กรงุ เทพ : บรษิ ทั บางกอก- บคุ สแ อนดม เี ดยี จาํ กดั , 2548. วไิ ล ทรงโดม , พฒั นาสงั คมและชมุ ชน. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สามเจรญิ พาณชิ ย, 2548 มานติ กติ ตจิ งู จติ และสรุ พล เอย่ี มอทู รพั ย, สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ : แสงจนั ทรก ารพมิ พ, ปป. http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/09.htm http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/20.htm http://st. mengrai.ac.th/users/doremon/03_SURAPONG/05.htm http://seas.art.tu.ac.th/6tula.htm http://th.wikipedia.orq/wiki%EO%B8%9B%E0%B8%A3%E0%b8%B0%E0%... http://www.thaigoodview.com/node/16621 http://www.parliament.go.th/parcy/889.0.htm file://C:\\DOCUME 1\\ADMINI 1\\LOCALS 1\\Temp\\1I2k4IKW.htm http://dek-d.com/board/view.php?id = 663147 http://www.kr.ac.th/ebook/saiyud/b1.htm http://www. Pathumthani.go.th/webkm/km. file / lefe –l – k .ppt#256,)

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 257 คณะผูจดั ทํา ทป่ี รึกษา บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน. อิม่ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 1. นายประเสริฐ จําป รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ แกวไทรฮะ ท่ปี รกึ ษาดา นการพฒั นาหลักสตู ร กศน. 3. นายวชั รนิ ทร ตณั ฑวฑุ โฒ ผอู ํานวยการกลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. ดร.ทองอยู 5. นางรกั ขณา ผูเขยี นและเรยี บเรยี ง 1. นางสาวสดุ ใจ บตุ รอากาศ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื 2. นางสาวพิมพาพร อนิ ทจกั ร สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 3. นางดุษณี เหลีย่ มพนั ธุ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื แนวเฉลย 4. นางดวงทพิ ย แกว ประเสรฐิ สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 5. นายนิพนธ ณ จันตา สถาบัน กศน. ภาคเหนอื 6. นางอบุ ลรัตน มีโชค สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 7. นางกรรณกิ าร ยศตื้อ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 8. นางณชิ ากร เมตาภรณ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื ผูบรรณาธิการและพฒั นาปรบั ปรุง 1. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางสาวพิมพาพร อนิ ทจกั ร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 3. นางสาวสรุ ตั นา บูรณะวทิ ย สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก 4. นางสาวสปุ รดี า แหลมหลกั สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก 5. นางสาวสาลนิ ี สมทบเจริญกุล สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก 6. นายอุดมศักดิ์ วรรณทวี สาํ นกั งาน กศน. อ.โขงเจยี ม 7. นายเรอื งเวช แสงรัตนา สาํ นกั งาน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 8. นางพฒั นสุดา สอนซอื่ ขา ราชการบาํ นาญ 9. นางธญั ญาวดี เหลาพาณชิ ย ขา ราชการบํานาญ 10.นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 11.นางสาววรรณพร ปท มานนท กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 12.นายเรอื งเดช แสงวฒั นา สถาบนั กศน. ภาคตะวันนออกเฉียงเหนอื 13. นางมยุรี สวุ รรณาเจรญิ สถาบนั กศน. ภาคใต 14.นางสาววาสนา บรู ณาวทิ ย สถาบัน กศน. ภาคตะวันออก

258 หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม 15. นางสาววาสนา โกลยี ว ฒั นา สถาบนั การศกึ ษาทางไกล 16. นางธัญญาวดี เหลาพาณิชย ขา ราชการบาํ นาญ 17. นางพรทพิ ย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน คณะทํางาน มั่นมะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1. นายสรุ พงษ ปท มานนท กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค กุลประดิษฐ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร เหลอื งจิตวัฒนา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศรญิ ญา 5. นางสาวเพชรินทร ผพู ิมพต น ฉบับ แนวเฉลย 1. นางปย วดี คะเนสม กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางเพชรนิ ทร เหลอื งจิตวฒั นา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพิพฒั น กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. นางสาวชาลีนี ธรรมธิษา กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 5. นางสาวอรศิ รา บานชี กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น ผูออกแบบปก นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook