Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore edcation

edcation

Description: edcation

Search

Read the Text Version

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 143 เรื่องที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ 3บทที่ ระบบเศรษฐกจิ หมายถงึ สถาบันทางเศรษฐกจิ ทป่ี ระกอบดวยหนวยเศรษฐกิจ เศรษฐศาสต ร หลายๆ หนว ยมารวมกนั มกี ฎเกณฑ ระเบียบแบบแผน และแนวปฏิบตั อิ ยางเดยี วกนั มี รูปแบบการจัดระบบสังคม เพ่ือนําทรัพยากรมาใชในการผลิตสินคา และบริการรวมถึงการ จาํ แนกแจกจา ยสนิ คา และบรกิ ารนนั้ ใหก บั คนในสงั คม ระบบเศรษฐกจิ ยงั รวมถงึ การจดั ระบบ การครอบครองปจจัย การผลติ การควบคุมราคาและคาจา งหรอื ระบบตลาด ซง่ึ สง่ิ เหลา นี้ จะเปน ตวั กาํ หนดชนดิ ปรมิ าณ และวธิ กี ารผลติ โดยใชเ ปน เกณฑใ นการแบง ปน สว นสนิ คา และบรกิ ารใหก ับคนในสงั คมดวย ความหมายระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกจิ หมายถงึ กลมุ บคุ คลของสงั คมทรี่ วมตวั กนั เปน กลมุ ของสถาบนั ทางเศรษฐกิจซึ่งยืดถือแนวปฏิบัติแนวทางเดียวกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพอื่ ใหส ามารถบาํ บดั ความตอ งการแกบ คุ คลตา งๆ ทอ่ี ยรู ว มกนั ในสงั คมนนั้ ใหไ ดร บั ประโยชน มากท่ีสดุ เกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด ความสําคัญของระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกจิ มคี วามสาํ คญั ในฐานะเปน ผดู าํ เนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของสงั คม ซ่ึงจะพอสรุปไดด งั น้ี 1. ความสาํ คญั ในการจดั หาสนิ คา และบรกิ าร เพอ่ื สนองความตอ งการของสมาชกิ ในสงั คมนบั ตงั้ แตค วามตอ งการขน้ั พนื้ ฐานในการดาํ รงชวี ติ จนถงึ ความตอ งการในสง่ิ อาํ นวย ความสะดวก ระบบเศรษฐกจิ จงึ กาํ หนดการแกไ ขปญ หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ทาํ ใหท ราบวา จะผลติ อะไร ผลติ อยา งไร ผลิตเพื่อใคร และจะแลกเปล่ยี นหรือกระจายสินคาอยา งไร 2. ความสาํ คญั ในการผลติ สนิ คา และบรกิ าร โดยการจดั แบง งานใหส มาชกิ ในสงั คม มีการทํางานในอาชีพที่ตนถนัดเพื่อใหไดผลผลิตท่ีดีมีประสิทธิภาพ เปนการใชทรัพยากร อยางประหยัดและเกิดประโยชนสงู สุด 3. ความสําคัญในการกําหนดระเบียบแผนการผลิต ระบบเศรษฐกิจจะกําหนด ระเบยี บการเปน เจา ของทรพั ยส นิ หรอื ปจ จยั การผลติ และควบคมุ สถาบนั ทางเศรษฐกจิ ใหม ี ระเบียบแบบแผน เชน ตลาด คนกลาง ธนาคาร ฯลฯ 4. ความสาํ คญั ในการแกป ญ หาทางเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกจิ จะเปน แนวทางแกไ ข ปญ หาทางเศรษฐกจิ ของประเทศ และดาํ เนนิ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศใหเ จรญิ กา วหนา 5. ความสาํ คญั ในการกระจายรายไดไ ปยงั สว นตา งๆ ของสงั คม เพอื่ ลดชอ งวา ง ทางเศรษฐกจิ ระหวา งผทู ม่ี คี วามเขม แขง็ และออ นแอทางเศรษฐกจิ ของสงั คม เพอ่ื มาตรฐาน การครองชีพท่ดี ีและการอยรู วมกนั อยา งเปน สุขของสมาชิกในสังคม

เศรษฐศาสตร 144 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม ระบบเศรษฐกิจจงึ มคี วามสําคัญตอสมาชกิ ของสงั คมและผบู ริหารประเทศ ในการ เลือกใชระบบเศรษฐกิจใหเ หมาะสมกับการเมอื งการปกครอง จารตี ประเพณี วัฒนธรรม และชีวิตความเปนอยูของสมาชิกในสังคม เพ่ือใหไดมาตรฐานการดํารงชีวิตที่ดี และมี ประสิทธภิ าพ ระบบเศรษฐกจิ ในปจจุบนั การแบง ระบบเศรษฐกจิ ในปจ จบุ นั โดยพจิ ารณาจากสภาพความเปน จรงิ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ประกอบกนั เราอาจแบง ระบบเศรษฐกจิ ออกเปน ระบบใหญๆ ได 3 ระบบ คอื 1. ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม 1.1 ลกั ษณะสาํ คัญของระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม 1) เอกชนเปนเจาของทรัพยสินและปจจัยการผลิต บุคคลมีกรรมสิทธ์ิใน 3บทที่ ทรพั ยสินสว นตัวมสี ทิ ธทิ ีจ่ ะใช แสวงหา หรือจําแนกแจกจายอยา งใดก็ได 2) เอกชนมเี สรภี าพในการประกอบกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ทง้ั ในดา นการผลติ สนิ คา การจาํ แนกแจกจา ยหรอื การกระจายสนิ คา การบรโิ ภค ซงึ่ จะทาํ ใหเ กดิ การผลติ สนิ คา ใหมๆ มากขึ้นและสงผลใหส ังคมนน้ั เจรญิ กาวหนา 3) มีการแขงขันระหวางเอกชนในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยาง กวา งขวางเนอ่ื งจากทกุ คนมอี สิ ระในการผลติ การบรโิ ภค การคา การแขงขนั จงึ เปนส่ิงท่ี หลกี เลี่ยงไมไ ด การแขงขนั จึงทําใหมกี ารเพ่มิ ประสิทธภิ าพมากข้ึน และเปน ผลดตี อระบบ เศรษฐกิจ 4) การผลิตขึ้นอยูกับกลไกราคา ในระบบนี้ราคาและตลาดจะทําหนาท่ี ตัดสินปญ หาพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ กลาวคือ การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในเร่ืองการ ผลติ กรรมวธิ ใี นการผลติ การจดั สรรผลผลติ จะถกู จดั สรรโดยผา นตลาด ผทู ม่ี อี าํ นาจตดั สนิ ใจในเร่ืองนี้ ไดแก ผผู ลิตและผบู ริโภคโดยทั้งสองฝายจะมีสวนรว มในการดาํ เนนิ กจิ กรรม ทางเศรษฐกจิ ผานกระบวนการปรับตัวของราคาผานกลไกราคา 5) มีกําไรเปนแรงจูงใจในการผลิต จุดมุงหมายสูงสุดของการประกอบ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ คือ การพยายามแสวงหาผลประโยชนในการดําเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ตา งๆ ใหไดม ากทส่ี ุด โดยผูผลติ มจี ุดมุงหมายเพ่อื แสวงหากาํ ไรสูงสดุ ในขณะที่ ผบู รโิ ภค กจ็ ะพยายามใหตนเองไดรบั ความพอใจสงู สุดจากการซ้ือสนิ คาและการบริการมา บริโภคในแตละครัง้ 6) มกี ารใชท ุนและเทคโนโลยที กี่ า วหนา จากการทีเ่ อกชนมีการแขง ขันกนั อยางกวา งขวางผูผ ลิตแตละรายตางเนน การผลติ สินคาที่ดีมคี ณุ ภาพเหนอื คูแ ขงขัน จงึ นํา ทุนและเทคโนโลยที กี่ า วหนามาใชใ นการผลิต สงผลใหประเทศชาติเจรญิ กา วหนา มากขน้ึ 7) รัฐไมเขาแทรกแซงการผลิต รัฐบาลไมเขาควบคุมหรือแทรกแซงใดๆ ปลอ ยใหก ิจกรรมทางเศรษฐกจิ ดาํ เนนิ ไปอยา งเสรี

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 145 1.2 ขอดขี องระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม 3บทที่ 1) เกดิ ประโยชนต อ ผบู รโิ ภค เพราะมกี ารแขง ขนั ทาํ ใหม สี นิ คา ทมี่ คี ณุ ภาพ เศรษฐศาสต ร และราคาไมสงู มาก 2) เกดิ ประโยชนต อ ผผู ลติ เพราะมเี สรภี าพในการผลติ ทาํ ใหเ อกชนมคี วาม คดิ รเิ รม่ิ สรา งสรรคท จ่ี ะผลติ สนิ คา ใหมๆ และมคี ณุ ภาพทดี่ เี พอื่ สนองความตอ งการผบู รโิ ภค 3) ลดภาระของรัฐบาลในการเขาไปดําเนนิ ธรุ กจิ ดว ยตนเอง 4) การมีเสรีภาพในการประกอบธุรกิจอยางเต็มที่ กอใหเกิดการแขงขัน อยางเสรี ทาํ ใหเกดิ ประสทิ ธิภาพสูงสุดในการผลติ 5) ทําใหเกิดการสะสมความม่ังค่ังในรูปทุนตางๆ ซ่ึงเปนแรงจูงใจใหผู ประกอบการขยายความม่ังคั่งออกไปและพัฒนาความสามารถในการสรางสรรคเทคโนโลยี ตา งๆ ตอไป 1.3 ขอ เสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม 1) กอใหเกิดปญหาความเหล่ือมล้ําอันเน่ืองจากความสามารถที่แตกตาง กันในแตละบุคคลโดยพ้ืนฐาน ทําใหความสามารถในการหารายไดไมเทากัน ผูที่มีความ สามารถสงู กวาจะเปน ผไู ดเปรียบผูท่อี อนแอกวา ในทางเศรษฐกิจ 2) สินคาและบริการที่มีลักษณะของการผูกขาด โดยธรรมชาติหรือสินคา และบริการสารธาณะ ซงึ่ ไดแ ก บรกิ ารดา นสาธารณูปโภค (นา้ํ ประปา ไฟฟา โทรศัพท ฯลฯ) โครงสรา งพนื้ ฐาน (ถนน เขอื่ น สะพาน ฯลฯ) จะเหน็ ไดว า สนิ คา และบรกิ ารดงั กลา วสว นใหญ จะตอ งใชเ งนิ ลงทนุ มาก เทคโนโลยที ที่ นั สมยั เสย่ี งกบั ภาวะการขาดทนุ เนอื่ งจากมรี ะยะการ คนื ทนุ นาน ไมค มุ คา ในเชงิ เศรษฐกจิ ทาํ ใหเ อกชนไมค อ ยกลา ลงทนุ ทจ่ี ะผลติ สง ผลใหร ฐั บาล ตอ งเขามาดาํ เนินการแทน 3) การใชระบบการแขงขันหรือกลไกลราคาอาจทําใหเ กิดการใชทรัพยากร ทางเศรษฐกิจอยา งสิ้นเปลือง เชน การแขง ขันกันสรา งศูนยการคาเพราะคดิ วา เปน กิจการที่ ใหผ ลตอบแทนหรอื กาํ ไรดี ศนู ยก ารคา เหลา นเ้ี มอื่ สรา งขน้ึ มามากเกนิ ไปกอ็ าจไมม ผี ซู อ้ื มาก พอ ทาํ ใหประสบกับการขาดทุน 2. ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม เปน ระบบเศรษฐกจิ ทใี่ หเ สรภี าพเอกชนในการ ดาํ เนนิ ธรุ กจิ ขนาดเลก็ และขนาดกลาง รฐั เขา ควบคมุ การผลติ และเปน เจา ของปจ จยั การผลติ ทเ่ี ปน ทรพั ยากรธรรมชาติ เพอ่ื ลดชองวางทางเศรษฐกิจและจัดสวสั ดิการใหส ังคม 2.1 ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม มีลักษณะดงั นี้ 1) เอกชนมสี ทิ ธใิ์ นทรพั ยสนิ หรอื ธุรกิจขนาดยอ มได 2) รัฐเปนผูดําเนินการในเร่ืองการใหบริการสาธารณูปโภคตางๆ เชน ประปา ไฟฟา อุตสาหกรรมท่ีใชท รพั ยากรธรรมชาติเปนวตั ถดุ บิ กิจการธนาคาร 3) มกี ารใชร ะบบภาษีเพือ่ กระจายทรพั ยสินและรายได 4) รฐั ใหบ รกิ ารทางสงั คมอยา งกวางขวาง 5) เอกชนดําเนนิ การธุรกจิ ในรปู ของสหกรณ 6) กลไกราคามีบทบาทแตไ มใชสวนสาํ คัญของระบบ

146 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม การที่รัฐเขาไปควบคุมและดําเนินการใชทรัพยากรธรรมชาติทําใหผลประโยชนเกิด กบั ประชาชนเตม็ ที่ ทง้ั ยงั เปน การลดชอ งวา งทางเศรษฐกจิ ของบคุ คลในสงั คมลง ประชาชน มเี สรภี าพทางการเมืองและไดร ับสวสั ดิการจากรัฐ ในทางธุรกจิ เอกชนที่เปน ผผู ลิตขาดแรง จูงใจในการประกอบธุรกจิ 2.2 ขอ ดีของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ ม จดุ เดน ของระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ มกค็ อื เปน ระบบเศรษฐกจิ ทชี่ ว ย ลดปญหาความเหลื่อมลํ้าทางฐานะและรายไดของบุคคลในสังคม ภายใตระบบเศรษฐกิจนี้ เอกชนจะทําการผลิตและบริโภคตามคําส่ังของรัฐ ผลผลิตท่ีผลิตขึ้นมาจะถูกนําสงเขา สว นกลาง และรฐั จะเปน ผจู ดั สรรหรอื แบง ปน สนิ คา และบรกิ ารดงั กลา วใหป ระชาชนแตล ะคน อยา งเทาเทยี มกันโดยไมม กี ารไดเปรียบเสยี เปรยี บ 2.3 ขอ เสียของระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม 3บทที่ ภายใตร ะบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม เนอื่ งจากปจ จยั การผลติ พนื้ ฐานอยู ในการควบคมุ ของรฐั บาลทาํ ใหข าดความคลองตวั การผลิตถกู จํากดั เพราะตอ งผลติ ตามที่ เศรษฐศาสตร รัฐกําหนด โอกาสที่จะขยายการผลิตหรือพัฒนาคุณภาพการผลิตเปนไปคอนขางลําบาก ทําใหการใชทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพ ขาดการแขงขัน การผลติ ทําใหส ินคา ไมม คี ณุ ภาพเพราะเปน การผลิตผูกขาด บรกิ ารจดั การผลิตโดยรฐั บาล 3. ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม เปน ระบบเศรษฐกจิ ทใี่ หเ สรภี าพเอกชนในการดาํ เนนิ ธรุ กิจเปนสวนใหญ รัฐบาลเขาแทรกแซงกจิ กรรมบางอยา งเชน เขาแทรกแซงการผลิตและ การตลาดเฉพาะทีจ่ าํ เปน เพ่ือการกระจายรายไดท ่ีเปนธรรม 3.1 ลักษณะสําคญั ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1) เอกชนมสี ิทธใิ์ นทรพั ยส นิ และปจจัยการผลติ 2) รฐั มบี ทบาทเพอ่ื ดาํ เนนิ การผลติ บางอยา งทจ่ี าํ เปน เชน การรถไฟ ขนสง มวลชน ไฟฟา โทรศัพท ในรปู ของรัฐวสิ าหกิจ 3) เอกชนเปน ผูวางแผนและดาํ เนินการผลิต 4) การผลิตมีการแขงขันโดยผานกลไกราคาแตรัฐแทรกแซงไดเม่ือเกิด ปญหา ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมชว ยแกไขปญ หาการผูกขาด การแทรกแซงเศรษฐกิจของ รฐั เฉพาะทจ่ี าํ เปน ประชาชนมีเสรีภาพทางการเมอื ง กจิ กรรมบางอยางทีร่ ฐั ดาํ เนนิ การเอง อาจขาดทนุ และขาดประสทิ ธิภาพได ขอ ดีของระบบเศรษฐกจิ แบบผสม เปน ระบบเศรษฐกจิ ทค่ี อ นขา งมคี วามคลอ งตวั กลา วคอื มกี ารใชก ลไกรฐั รว มกบั กลไก ราคาในการจดั สรรทรพั ยากรของระบบ กจิ การใดทก่ี ลไกราคาสามารถทาํ หนา ทไ่ี ดอ ยา งมปี ระ สิทธภาพ รัฐก็จะใหเอกชนเปนผูดําเนินการโดยการแขงขัน แตถากิจการใดท่ีกลไกลรา คาไมสามารถทําหนาท่ไี ดอยางมีประสิทธภาพรัฐก็จะเขามาดําเนินการแทน จะเห็นไดวา เศรษฐกจิ แบบผสมเปน ระบบเศรษฐกจิ ทผ่ี สมผสาน กลา วคอื รวมขอ ดขี องทง้ั ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ มและสงั คมนยิ มเขา ไวด ว ยกนั อยา งไรกต็ ามระบบเศรษฐกจิ ดงั กลา วกม็ ขี อ เสยี ดว ย เชนกนั

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 147 ขอเสียของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 3บทที่ 1) การแกไ ขปญ หาชอ งวา งทางสงั คมและปญ หาความเหลอื่ มลา้ํ ทางรายได มกั เศรษฐศาสต ร ไมม ปี ระสทิ ธิภาพ 2) นายทนุ มอี ทิ ธพิ ลเขม แขง็ ทางดา นเศรษฐกจิ และการเมอื ง โดยเปน ผสู นบั สนนุ พรรคการเมอื ง ตลอดจนไดรับผลประโยชนจากพรรคการเมืองที่ตนสนับสนนุ 3) การกําหนดนโยบายและการใชอํานาจตางๆ ขึ้นอยูกับรัฐบาล จึงทําใหนัก ธุรกิจขาดความม่ันใจในการลงทุน ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในปจ จุบนั ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศในปจ จบุ นั เปน ระบบผสมทเี่ นน ทนุ นยิ ม โดยมรี ฐั บาล เปนผูวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เปนเจาของปจจัยการผลิต และเปนผูดําเนิน กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เฉพาะทเ่ี ปน พน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ สาํ หรบั เอกชนมเี สรภี าพในการผลติ และการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจเปนสวนใหญมีสิทธิเปนเจาของทรัพยสินและปจจัย การผลิต มกี ารแขง ขัน และมกี ลไกตลาดเปน เครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากร โดยรัฐบาล จะแทรกแซงการผลติ และการตลาดเมอื่ จาํ เปน เชน ควบคมุ ราคาสนิ คา เมอ่ื เกดิ ภาวะขาดแคลน หรือประกันราคาขาวเปลือกเพื่อชวยเหลือกเกษตรกรในกรณีราคาขาวตกต่ํา เปนตน การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลจะเขามามีบทบาทเฉพาะเทาที่จําเปนเทาน้ัน เชน 1) ดาํ เนินการเก่ยี วกบั การปองกนั ประเทศ ความสงบภายใน และการใหความ ยุตธิ รรม เชน กจิ การดา นการทหาร ตํารวจ และศาล เปน ตน 2) ดาํ เนินการดา นเศรษฐกิจพื้นฐาน โดยการสรางถนน สะพาน เข่อื น การ สํารวจเพอื่ หาทรพั ยากรธรรมชาติ เปนตน 3) ควบคมุ และดาํ เนนิ การดา นการศกึ ษา และสาธารณสุข โดยใหการศกึ ษาแก เยาวชนควบคมุ การจดั การศกึ ษาของเอกชน จดั การเกยี่ วกบั การรกั ษาพยาบาลแกป ระชาชน 4) ดาํ เนินกิจการสาธารณปู โภคทีส่ าํ คญั เชน การรถไฟ การไฟฟา การประปา การสอื่ สารไปรษณยี  การจัดเก็บขยะมูลฝอย เพราะเปนกจิ การท่ปี ระชาชนสว นใหญต อ งใช รว มกัน สวนกจิ กรรมทางเศรษฐกิจอนื่ ๆ นอกเหนือจากรัฐดาํ เนนิ การ เอกชนมสี ทิ ธิที่ ดําเนนิ การอยางเสรี โดยมกี ลไกแหง ราคาเปน เครอ่ื งช้นี ํา นอกจากนร้ี ฐั บาลยงั ใชร ะบบภาษใี นอตั รากา วหนา เพอื่ กระจายรายไดแ ละลดความ เหล่ือมล้ําในรายได ตลอดจนจัดใหมีการสวัสดิการแกประชาชน ผูมีรายไดนอย เชน การประกันสังคม กองทุนเลยี้ งชีพ 30 บาทรักษาทกุ โรค การกาํ หนดคา จา งแรงงานขนั้ ต่ํา เพอ่ื ปอ งกนั การเอาเปรยี บผใู ชแ รงงาน การสรา งงานในชนบท การสงเคราะหค นชรา คนพกิ าร เปนตน

เศรษฐศาสตร 148 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ นกั เศรษฐศาสตรจ ะใชร ายไดป ระชาชาตเิ ปน เครอื่ งมอื ในการวดั และวเิ คราะหก จิ กรรม ทางเศรษฐกจิ วามคี วามเจริญเตบิ โต หรือตกตา่ํ ปญ หาท่เี กิดขึ้นและแนวทางแกไข รายได ประชาชาติจงึ เปนตวั เลขท่แี สดงถงึ ฐานะเศรษฐกจิ ของประเทศ การศกึ ษาการเปลยี่ นแปลง ของรายไดประชาชาติจะทําใหทราบถึงความเคลื่อนไหวในทางเศรษฐกิจ องคการ สหประชาชาติ สนับสนุนใหประเทศทั่วโลกจัดทํารายไดประชาชาติเพื่อเปนมาตรฐานทาง เศรษฐกจิ ใชวเิ คราะหแ ละเปรียบเทยี บกบั ประเทศตา งๆ 1. ความหมายของรายไดป ระชาชาติ รายไดป ระชาชาติ หมายถึง มลู คา ที่เปน ตัวเงนิ ของสินคา และบรกิ ารขัน้ สดุ ทาย ที่ ประชาชาตขิ องประเทศผลติ ไดใน 1 ป 3บทท่ี รายไดป ระชาชาตขิ องไทย หมายถงึ ผลรวมของคา เชา คา จา ง เงนิ เดอื น ดอกเบยี้ และกําไรท่ีประชาชนคนไทยผลิตสินคา และบริการในรอบ 1 ป รายไดป ระชาชาตขิ องไทย เรมิ่ จดั ทาํ ในป พ.ศ. 2493 โดยกองบญั ชรี ายไดป ระชาชาติ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี โดย นาํ เอารายไดท งั้ หมดทเี่ กดิ จาก คา เชา คา จา ง ดอกเบย้ี และกาํ ไร ของประชาชนทผ่ี ลติ สนิ คา และบริการในรอบ 1 ป มารวมกัน 2. ความสําคญั ของรายไดป ระชาชาติ รายไดประชาชาติเปนตัวเลขที่ชี้ใหเห็นวาในปน้ีน้ันระบบเศรษฐกิจสามารถผลิต สินคา และบริการรวมไดม ากนอ ยเพยี งใด อยา งไร บญั ชรี ายไดประชาชาติจึงมคี วามสาํ คญั และเปน ประโยชนดงั นี้ 1) รายไดประชาชาติ เปนเครื่องช้ีภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เปนตัวบอกระดับ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน เชน ถารายได ประชาชาติสงู ขึ้นแสดงวา เศรษฐกจิ ในภาพรวมของประเทศเจรญิ รงุ เรอื งขนึ้ ในทางตรงขาม ถา รายไดป ระชาชาตลิ ดลงแสดงวาเศรษฐกจิ ถดถอยเขาสภู าวะตกต่ํา 2) รายไดประชาชาติบอกใหทราบการผลิตในแตละสาขามีมูลคาเทาใด ผลผลิต สว นใหญม าจากสาขาใด ทาํ ใหท ราบถงึ โครงสรา งการผลติ ของประเทศนน้ั วา เปน เกษตรกรรม หรืออุตสาหกรรมนอกจากนี้ทําใหทราบรายไดสวนใหญวาอยูในประเภทใดระหวาง คาเชา คา จา ง ดอกเบย้ี และกาํ ไร ตลอดจนรขู อ มลู การใชจ า ยสว นใหญข องประชาชน เปน การใชจ า ย ในลกั ษณะใด เพ่ือการอุปโภค บรโิ ภค หรือการลงทุน 3) ตัวเลขรายไดประชาชาติสามารถใชเปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจของ ประเทศในปจจุบันกับระยะเวลาท่ีผานมา ขณะเดียวกันสามารถใชเปรียบเทียบฐานะทาง เศรษฐกจิ ระหวา งประเทศไดอ กี ดว ย 4) ตวั เลขรายไดป ระชาชาตสิ ามารถใชเ ปน เครอ่ื งมอื สาํ คญั ในการกาํ หนดนโยบาย และการวางแผนเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 149 3. ประเภทของรายไดป ระชาชาติ 3บทที่ รายไดป ระชาชาติ แบงออกได ดังนี้ 3.1 ผลติ ภณั ฑใ นประเทศเบือ้ งตน (GDP) คอื มูลคารวมของสินคาและ เศรษฐศาสต ร บรกิ ารขั้นสดุ ทา ยท่ผี ลิตไดภ ายในประเทศ ในระยะเวลาหน่งึ โดย GDP จะคิดจากรายได ของประชาชนทกุ คนทท่ี าํ รายไดใ นประเทศและรวมถงึ รายไดข องชาวตา งชาตทิ ท่ี าํ รายไดใ น ประเทศนั้นดว ย เชน GDP ของประเทศไทยคดิ จากรายไดข องคนไทยท้ังหมดท่ีทําไดใน ประเทศบวกกับรายไดท่ีชาวตางประเทศทําไดในประเทศไทยรวมทั้งการลงทุนและผลผลิต ตางๆ ของชาวตางประเทศท่ีทาํ การผลิตในประเทศไทยดว ย เปน ตน 3.2 ผลิตภณั ฑประชาชาติเบื้องตน (GDP) คอื มูลคารวมของสนิ คาและ บรกิ ารขน้ั สดุ ทา ยทป่ี ระชาชนผลติ ได ทง้ั ในประเทศและตา งประเทศ ในระยะเวลาหนงึ่ เชน GDP ของไทยเกดิ จากรายไดข องประชาชนไทยในประเทศทง้ั หมดรวมทง้ั รายไดจ ากคนไทย ท่ีไปทาํ งานหรอื ลงทนุ ในตา งประเทศ แลวสง รายไดกลับประเทศไทย เปน 3.3 ผลติ ภณั ฑป ระชาชาตสิ ุทธิ (NNP) คือ มลู คารวมของสินคา และบรกิ าร ข้ันสุดทายท้ังหมดหักดวยคาเสื่อมราคาของการใชทุน ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (NNP) จึงเปนผลติ ภณั ฑร วมตามราคา ตลาด จึงรวมถึง คาเชา คาจา ง ดอกเบีย้ และกําไร รวม ทัง้ ภาษีทางออ มในทางธุรกิจดวย 3.4 รายไดป ระชาชาติ (NI) คือ ผลติ ภณั ฑประชาชาตสิ ุทธิ ทค่ี ิดตามราคา ปจจัยการผลิต ไดแก คาใชจ ายโดยตรงในการผลติ คอื คา จา ง คาเชา ดอกเบี้ย และ กําไร โดยหกั ภาษีทางออมทางธุรกิจออก 3.5 รายไดต อ หวั คอื รายไดท เี่ กดิ จากมลู คา ของสนิ คา และบรกิ ารในราคาตลาด หารดว ยจาํ นวนประชากรของประเทศท้ังหมด 4. ประโยชนของการศึกษาเกีย่ วกับรายไดประชาชาติ 4.1 ใชในการวเิ คราะหภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศ ระดับรายไดประชาชาติ เปน เครอื่ งชภี้ าวะเศรษฐกจิ ของประเทศ วา เจรญิ กา วหนา หรอื ตกตาํ่ และสามารถเปรยี บเทยี บ อตั ราความเจรญิ กา วหนา ทางเศรษฐกจิ วา มอี ตั ราการเพมิ่ ของผลผลติ มากกวา อตั ราการเพมิ่ ของประชากรหรือไม 4.2 ใชในการเปรียบเทียบมาตรฐานกาครองชีพของประชาชน ถารายได เฉลย่ี ตอบคุ คลเพิม่ สูงข้นึ ยอ มหมายถงึ ประชาชนมีการกนิ ดอี ยูดีมากขนึ้ หรอื มมี าตรฐาน การครองชพี สูงขนึ้ 4.3 เปน เครอื่ งมอื ในการกาํ หนดนโยบายเศรษฐกจิ ของประเทศ ตวั เลขราย ไดประชาชาติชวยใหทราบภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน และยังเปนเคร่ืองมือสําคัญในการ กาํ หนดนโยบายหรือการวางแผนเศรษฐกจิ ของประเทศไทยในอนาคต

เศรษฐศาสตร 150 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม การกําหนดคาจา งและราคาในระบบเศรษฐกจิ 1. การกาํ หนดคา จา ง คา จา ง คอื คา ทีจ่ ายใหแกผูใชแรงงาน เนือ่ งจากการทาํ งานอยางใดอยา งหนึง่ คา จางทไ่ี ดรบั จงึ เปนทีม่ าของรายได และเมือ่ นํามารวมกันทงั้ หมด กจ็ ะเปนสว นหนง่ึ ของ รายไดป ระชาชาติ คาจา งแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะ คือ 1. คา จา งทเี่ ปนตัวเงนิ (Money Wage) คือ คาจางท่ไี ดรับจากนายจางที่จา ย ใหอาจเปน รายวัน รายสัปดาหหรอื รายเดอื น 2. คา จา งทแ่ี ทจ รงิ (Real Wage) คอื การนาํ คา จา งทเี่ ปน ตวั จรงิ ลบดว ยอตั รา เงนิ เฟอ ตอ ปซ่งึ อตั ราเงนิ เฟอสามารถคํานวณไดจากดชั นีราคาผบู รโิ ภค การกําหนดอัตราคาจางจะขึ้นอยูกับอุปสงคและอุปทานของแรงงาน คือ ถา 3บทที่ อปุ สงคข องแรงงานมมี าก ความตอ งการจา งแรงงานมาก อตั ราคา จา งจะสงู ขน้ึ แตถ า อปุ ทาน ของแรงงานมีมาก จะทําใหค าจางลดลง 2. การกําหนดราคา ปจ จยั ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การกาํ หนดราคาของสนิ คา และบรกิ าร คอื กลไกของตลาด หรือปริมาณความตองการในการซื้อและปริมาณความตองการในการขายสินคาชนิดน้ัน นอกจากนยี้ งั ขนึ้ อยกู บั ตน ทนุ การผลติ กลา วคอื ถา ตน ทนุ การผลติ สงู ขนึ้ จะทาํ ใหร าคาสนิ คา สูงขึน้ ตามไปดว ย กลา วโดยสรปุ การกาํ หนดคา จา งและราคาจะแตกตา งกนั ตามระบบเศรษฐกจิ ถา เปนระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม การกําหนดคาจา งและราคาเปน ไปตามกลไกตลาด สวน ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม และระบบเศรษฐกจิ แบบผสม รฐั บาลสามารถเขา แทรกแซง การกาํ หนดคา จางและราคา เพือ่ สรางความเปนธรรมในระบบเศรษฐกจิ เชน รฐั บาลเขา ไป แทรกแซงการการกาํ หนดคา จา งและราคา เพอื่ สรา งความเปน ธรรมในระบบเศรษฐกจิ ไดแ ก การประกาศปรับคาแรงขนั้ ตํ่า ตามดัชนรี าคาผูบริโภค เพ่ือดึงคาจางแรงงานใหสูงขึน้ การ ทรี่ ฐั บาลเขา ไปแทรกแซงการกาํ หนดราคาสนิ คา โดยการกาํ หนดราคาขน้ั ตาํ่ และการกาํ หนด ราคาข้ันสูง เปน ตน ราคาขั้นตา่ํ ราคาขน้ั ตา่ํ หมายถงึ ราคาตา่ํ สดุ ทถ่ี กู กาํ หนดขน้ึ มาในระดบั ทส่ี งู กวา ราคาดลุ ยภาพ อนั เกดิ จากการทาํ งานของกลไกตลาดทร่ี ฐั บาลเขา ไปแทรกแซง ซง่ึ มกั จะใชก บั สนิ คา ในสาขา เกษตรกรรม เพ่ือเพ่ิมรายไดใหแ กเ กษตรกร ทําใหเกษตรกรนําผลผลิตออกขายในตลาดได มากขน้ึ ราคาข้นั สูง ราคาขนั้ สงู หมายถงึ ราคาสงู สดุ ทถ่ี กู กาํ หนดขน้ึ มาในระดบั ทตี่ า่ํ กวา ราคาดลุ ยภาพ อันเกิดจากการทํางานของกลไกตลาดที่รัฐบาลเขาไปแทรกแซงโดยการควบคุมราคาสินคา บางชนิด เพอ่ื เปนการปอ งกันไมใ หร าคาสนิ คา ชนดิ นั้น สูงเกนิ ไป

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 151 ปญหาของระบบเศรษฐกิจไทยและแนวทางแกไ ข 3บทท่ี เนอ่ื งจากระบบเศรษฐกจิ ไทยเปด โอกาสใหเ อกชนสามารถเปน เจา ของปจ จยั การผลติ และสามารถดาํ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจไดอยางเสรี การผลิตสนิ คาและบรกิ ารตางๆ จงึ มี เศรษฐศาสต ร ข้ึนอยางมากมาย กอใหเกิดการแขงขันสงผลใหผูผลิตมีแรงกระตุนในการท่ีจะปรับปรุง เทคนคิ การผลติ เพอ่ื ใหไ ดส นิ คา ทมี่ คี ณุ ภาพสงู และตน ทนุ ตา่ํ ผผู ลติ รายใดทไ่ี มส ามารถผลติ สินคาที่มีราคาตํ่าแตคุณภาพสูงไดก็จะขาดทุนและออกจากระบบการผลิตสินคานั้นๆ ไป คงเหลอื แตผ ผู ลติ ทมี่ คี ณุ ภาพ ทาํ ใหผ บู รโิ ภคไดร บั ผลประโยชนส งู สดุ จากการแขง ขนั ดงั กลา ว แตส ง่ิ ทเ่ี ปน ผลเสยี ตามมากค็ อื เกดิ การผกู ขาดและกอบโกยผลประโยชนใ สต วั มากขนึ้ กอ ให เกิดความเหล่ือมลํ้าและเกิดชองวางข้ึนในสังคม น่ันคือคนที่มีฐานะรํ่ารวยก็จะรวยมากข้ึน สวนคนท่ีมีฐานะยากจนก็ไมไดมีความเปนอยูที่ดีข้ึนกวาเดิม ซ่ึงรัฐบาลก็ไดตระหนักถึง ปญ หาดงั กลา วจะเหน็ ไดจ ากรายละเอยี ดของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ไดเ นน วัตถุประสงคในการกระจายรายไดใหมีความเทาเทียมกันมากข้ึน โดยการใชมาตรการและ นโยบายดา นการเงนิ – การคลงั เพอื่ แกปญหาดงั กลาว เชน การกําหนดคาแรงขั้นต่ํา การ เพิ่มอัตราภาษีสําหรับสินคาฟุมเฟอย การปรับอัตราภาษีเงินได ภาษีทรัพยสิน กฎหมาย ปองกันการผกู ขาด เปน ตน โดยเฉพาะมาตรการทางดา นภาษีนั้น รัฐบาลสามารถนาํ เงนิ ท่ี ไดจากการเก็บจากผูที่มีฐานะร่ํารวยมากระจายใหกับผูที่มีรายไดนอยในรูปของสวัสดิการ ตา งๆ เชน การจัดต้งั โรงเรียนของรัฐบาล การสรางที่อยูอ าศยั และการใหก ารรักษาพยาบาล ฟรีแกผ ูทีม่ ีรายไดน อ ย การจดั ใหม ีการประกนั สังคมกบั แรงงาน การลดดอกเบี้ยสนิ เช่ือเพ่อื การเกษตร เปนตน สรปุ ระบบเศรษฐกจิ แบง ออกเปน 3 ระบบ ใหญๆ คอื ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม และระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ประเทศไทยใชระบบ ผสมที่เนนทุนนิยม โดยรัฐบาลผลิตสินคาและบริการเฉพาะโครงสรางพ้ืนฐานหรือ สาธารณูปโภค สวนตัวเลขรายไดประชาชาติ แสดงใหเห็นถึงความเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจของประเทศ

152 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม แบบฝกหัดทายบทเร่อื งที่ 2 ระบบเศรษฐกิจ คําสง่ั : เมื่อผเู รยี นศึกษาเร่ืองระบบเศรษฐกจิ จบแลว ใหท าํ แบบฝกหดั ตอไปน้ี โดยเขยี นในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู แบบฝก หดั ที่ 1 ใหผเู รยี นสรา งแผนภูมิแสดงความสมั พันธระหวา งระบบการปกครอง และ ระบบเศรษฐกิจ และระบุวาระบบการปกครองแตละแบบสามารถจัดระบบเศรษฐกิจแบบใด ไดบา ง ระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกจิ 3บทท่ี ประชาธิปไตย เศรษฐศาสตร เผด็จการ (ทหาร, คอมมิวนสิ ต ฯลฯ)

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 153 แบบฝก หัดที่ 2 บอกขอ ดแี ละขอ เสยี ของระบบเศรษฐกิจตอ ไปนี้ ระบบเศรษฐกิจ ขอ ดี ขอเสยี 1. ทนุ นิยม 1..................................... 1..................................... 2..................................... 2..................................... 3..................................... 3..................................... 2. สงั คมนยิ ม (ประชาธิปไตย) 1..................................... 1..................................... 2..................................... 2. 3..................................... 3..................................... สงั คมนิยม 1..................................... 1..................................... 3บทที่ 2..................................... 2..................................... 3..................................... 3..................................... เศรษฐศาสต ร 3. แบบผสม 1..................................... 1..................................... 2..................................... 2..................................... 3..................................... 3..................................... แบบฝกหัดท่ี 3 ใหผูเรียนวิเคราะหลักษณะท่ีกําหนดใหวา เปนระบบเศรษฐกิจใดโดย กาเครือ่ งหมาย  ในเรื่องระบบเศรษฐกจิ ทค่ี ิดวา ถกู ตอ ง ระบบเศรษฐกจิ ลกั ษณะ แบบผสม สังคมนยิ ม คอมมิวนสิ ต สังคมนยิ ม ประชาธปิ ไตย ทนุ นิยม 1. เอกชนมเี สรีภาพในการผลติ และบริโภค อยางเตม็ ที่ 2. รฐั เปนผวู างแผนกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ ทงั้ หมด 3. รัฐเขาไปดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจใน สว นทีเ่ ก่ยี วของกับประโยชนส วนรวม 4. มเี ปา หมายเพ่อื ผลกําไร 5. มีเปา หมายเพื่อสรา งความเปนธรรมใน สงั คม

154 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมลักษณะ สังคมนิยม คอมมวิ นสิ ต6. มเี ปา หมายเพ่อื ความอยดู กี นิ ดีของสังคม สังคมนยิ ม ประชาธปิ ไตย ทนุ นยิ ม เศรษฐศาสตร 7. เอกชนมกี รรมสทิ ธใ์ิ นทรัพยส นิ อยา งเตม็ ท่ี 8. ไมเปดโอกาสใหม ีการแขง ขนั 9. กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ขน้ึ อยกู ับกลไกแหง ราคา 3บทที่ 10. การผลิตอะไรเทา ใดข้นึ อยกู บั รัฐบาล เทา น้ัน 11. รฐั และกลไกแหง ราคามีสวนในการกาํ หนด วา จะผลติ อะไร เทาใด 12. เปนระบบที่ประเทศสว นใหญใ ช 13. เปน ระบบท่ีพฒั นามาจากลทิ ธมิ ารก ซสิ ต 14. รฐั เกบ็ ภาษปี ระชาชนในอัตราสูงเพื่อจาย เปนสวสั ดิการสังคม แตใหเ สรภี าพในการ บริโภคเตม็ ที่ 15. เปนระบบทก่ี อใหเ กดิ ความแตกตา งดา น รายไดมากท่สี ุด 16. เปนระบบท่แี กป ญหาความแตกตา งดา น รายไดโ ดยไมจาํ กัดเสรภี าพของบคุ คล 17. เปน ระบบทม่ี คี วามแตกตางดานรายได นอยทส่ี ุด 18. มีการใชท รัพยากรสน้ิ เปลืองมาก 19. มีการวางแผนจากสว นกลาง 20. จํากดั กรรมสทิ ธิ์ในทรพั ยส นิ และปจจัยการ ผลิตบาง

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 155 เร่อื งที่ 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ 3บทที่ 1. การผลิต (Production) เศรษฐศาสต ร 1. ความหมายของการผลติ การผลติ หมายถงึ การสรา งเศรษฐทรพั ยเ พอ่ื บาํ บดั ความตอ งการของมนษุ ย หรือการนําเอาปจจัยการผลิตตางๆ ไดแก ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูประกอบการไปผาน กระบวนการผลิต หรือกรรมวิธีตางๆ จนเกิดเปนสินคาและการบริการเพื่อบําบัดความ ตอ งการของมนษุ ยในลกั ษณะที่เนน การสรางประโยชนท างเศรษฐกิจขนึ้ มาใหมไดแ ก 1) ประโยชนทเ่ี กดิ จากการเปลี่ยนรปู (Form Utility) เปน ประโยชนท่ี เกดิ จากการนาํ สนิ คา มาแปรรปู เพอ่ื เพมิ่ ประโยชนใ ชส อยมากขน้ึ เกดิ ความหลากหลายในการ ผลติ มากขึ้น ราคาของสินคา สงู ขึ้นกวาวตั ถุดิบเดมิ ท่นี ํามาผลิต เชน การเปลี่ยนเหล็กเปน มีด เปลีย่ นไมเปน โตะ เกา อี้ เปล่ยี นไมไ ผเปนเครื่องจกั สานตางๆ เปน ตน 2) ประโยชนท เี่ กดิ จากการเปลยี่ นสถานท่ี (Place Utility) เปน ประโยชน ทเ่ี กดิ จากการขนยา ยสนิ คา จากแหง หนงึ่ ไปยงั อกี แหง หนงึ่ เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนใ ชส อยมากขนึ้ เชน การขนถา ย สินคาจากโรงงานไปยงั รา นคาปลีก เปน ตน 3) ประโยชนท่ีเกิดจากการเปลี่ยนเวลา (Time Utility) หมายถึง การเลอ่ื นเวลาในการบรโิ ภคสนิ คา ออกไป เนอื่ งจากสนิ คา บางอยา งอาจมขี อ จาํ กดั ในเรอ่ื งของ ฤดูกาล ไดแก ผลไมต างๆ ผกั เปนตน ซงึ่ ถา นํามาผลิตเปน ผลไมหรอื ผกั กระปอง จะ สามารถนํามาถนอมไวบริโภคนอกฤดูกาลได หรือสินคาบางอยางที่ผูบริโภคตองการสะสม ไวกเ็ ปน การสรางประโยชนท เี่ กิดจากการเล่ือนเวลาเชนเดียวกนั เชน การเก็บสุราไวนานๆ การสะสมเครอื่ งลายคราม พระเคร่อื ง หรอื ของเกาตา งๆฃ 4) ประโยชนท เ่ี กิดจากการเปล่ียนโอนกรรมสทิ ธ์ิ (Possession Utility) เปน ประโยชนท เ่ี กดิ จากการเปลยี่ นแปลงกรรมสทิ ธหิ์ รอื เจา ของ ซง่ึ สนิ คา แตล ะชนดิ จะมกี าร เปลี่ยนกรรมสทิ ธ์ิหลายทอดกวาจะถงึ ผูบริโภค กลา วคือ กรรมสิทธจ์ิ ะเปลย่ี นจากผบู ริโภค ไปยังพอคาขายสง พอคาขายปลีก หรือไปยังนายหนา จนถึงผบู ริโภค เชน การจดั สรรบาน ทด่ี ิน หรือการซอื้ ขายอสังหารมิ ทรพั ยตางๆ เปนตน 5) ประโยชนท เี่ กดิ จากการใหบ รกิ ารตา งๆ (Service Utility) เปน ประโยชน ที่เกิดจากผูใหบริการในสาขาวิชาชีพตางๆ เชน ไปหาหมอ ไปดูคอนเสิรตหรือใหบริการ ในดานการคมนาคมขนสง ตา งๆ เปนตน 2. สินคาและบรกิ าร (Goods and Services) สนิ คาและบรกิ าร คอื สง่ิ ทีไ่ ดจ ากการทาํ งานรวมกนั ของปจจัยการผลิตตา งๆ สามารถสนองความตอ งการของผบู รโิ ภคไดไ มว า ความตอ งการนนั้ จะขดั ตอ สขุ ภาพอนามยั หรือศลี ธรรมอนั ดงี ามหรือไมกต็ าม เชน บหุ ร่ี ยารกั ษาโรค อาหาร เคร่อื งนุงหม เปนตน

เศรษฐศาสตร 156 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม สนิ คา (Goods) ที่มนุษยบรโิ ภคอยูทกุ งวันนอ้ี าจแบงไดเปน 2 ลักษณะ คอื 1) เปน สง่ิ ผลติ ทม่ี นษุ ยผ ลติ ขน้ึ อาจเปน สง่ิ ทด่ี ี (Good) เชน อาหาร เครอ่ื งนงุ หม ยารกั ษาโรคหรอื สิง่ ท่ไี มด ี (Bad) เชน ยาเสพตดิ ขยะ วตั ถุระเบดิ เปนตน 2) เปน สงิ่ ทไี่ ดจ ากธรรมชาตซิ งึ่ มนษุ ยจ ดั หามาสนองความตอ งการโดยไมเ สยี คา ใชจา ยใดๆ เชน นํ้า อากาศ บรรยากาศ ทิวทัศน แสงแดด เปน ตน จากสินคา ทัง้ สองลกั ษณะสามารถจาํ แนกประเภทของสินคา ในทางเศรษฐศาสตรไ ดด งั น้ี 3บทท่ี ดังน้นั สินคาในทางเศรษฐศาสตรส ามารถจําแนกได ดงั นี้ 1. สนิ คาไรร าคา (Free Goods) เปนสินคา ที่ไมมีตน ทนุ หรอื มีการบริโภคแตไมมี คาใชจา ยเปนสนิ คา ที่มอี ยูมากมายเกินความตองการของมนุษยห รอื กลา วอกี นยั หน่ึง เปน สนิ คา ที่อุปทานมากกวา อุปสงค ณ ราคาศนู ย เชน อากาศ หรือขยะ นํ้าทะเล ดังนน้ั ถาสินคา ในโลกทกุ ชนิดเปนสนิ คา ไรราคาวชิ าเศรษฐศาสตรก ็คงจะไรความหมาย 2. สินคา เศรษฐกจิ ทรัพย (Economic Goods) คือ สินคาที่มีตน ทนุ โดยปกติ ผูบริโภคจะเปนผูจายคาสินคาโดยตรง แตในบางกรณีผูบริโภคกับผูจายคาสินคาอาจเปน

รายวิชาสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 157 คนละคน ซ่ึงไดแก เศรษฐทรพั ยท่ไี ดจ ากการบริจาคหรือจากการให รฐั บาลจัดหามาให 3บทท่ี เรยี กวา “สินคาใหเ ปลา” สินคาเศรษฐทรัพยแบง ออกเปน 2 ประเภท คือ เศรษฐศาสต ร 2.1 สนิ คา เอกชน (Private Goods) คอื สนิ คาทแ่ี ยกการบริโภคออกจากกัน ได (Rival Consumption) เชน อาหาร ซึง่ แตล ะคนแยกกนั บริโภคได เคร่ืองนุงหม รถยนต เปน ตน นอกจากนี้ยังเปน สินคาทีเ่ จา ของสามารถกีดกนั ผูบริโภครายอ่นื ได (Ex- clousion Principle) เชน การบรโิ ภครถยนตคันหนง่ึ ของนายแดงสามารถกดี กนั ไมให นายดําบริโภครถยนตค ันนัน้ ได 2.2 สนิ คา สาธารณะ (Public goods) คอื เปน สนิ คา ทบี่ รโิ ภครว มกนั (Joint Consumption) เชน ถนนที่เราใชอยูก็เปนถนนที่คนอื่นๆ ใชสัญจรไปมา เชนเดียวกัน นอกจากนย้ี งั เปน สนิ คา ทไ่ี มส ามารถกดี กนั บคุ คลหรอื กลมุ บคุ คลใดใหพ น จากการบรโิ ภคได (Non Exclusion Principle) เพราะมีผบู รโิ ภคจํานวนมากจนทาํ ใหก ารกดี กันเปน ไปได ยาก เชน โรงพยาบาล นาํ้ ประปา การศกึ ษาของรฐั เปน ตน หรอื อาจเปน เพราะการบรโิ ภค ของบุคคลกลุมหนึ่งจะไมเปนเหตุใหคนกลุมอื่นตองบริโภคลดลงหรือขาดโอกาสในการ บริโภค เชน การปองกันประเทศ รายการโทรทศั น เปน ตน 3. ปจ จยั การผลติ ในการผลติ สนิ คา และบรกิ ารจะตอ งอาศัยปจ จยั การผลติ ตอไปนี้ 1) ท่ีดนิ (Land) มิไดหมายถึงเน้ือทด่ี นิ ท่ีใชประโยชนใ นทางเศรษฐกิจ เชน ทําการเพาะปลูกสรางโรงงานอุตสาหกรรมหรืออยูอาศัยเทาน้ัน แตหมายรวมถึง ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีอยใู ตดิน บนดินและเหนอื พื้นดินทุกชนิด เชน ปาไม แรธาตุ สัตว นํา้ ความอุดมสมบรู ณข องดิน ปรมิ าณ น้ําฝนและสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติตา งๆ ส่งิ เหลานี้มีอยูโดยธรรมชาติ มนุษยสรางขึ้นไมได แตสามารถปรับปรุงคุณภาพของ ทรพั ยากรธรรมชาตไิ ดบ าง เชน ปรับปรงุ ทด่ี ิน ใหอดุ มสมบูรณข ้ึน ผลตอบแทนของที่ดนิ เรยี กวา คาเชา (Rent) 2) แรงงาน (Labour) หรอื ทรพั ยากรมนษุ ย (Human Resource) หมายถงึ ความมานะพยายามของมนษุ ยท ัง้ ทางกาย ทางใจ และทางสมอง คอื สตปิ ญ ญาความรู ความคิดที่มนุษยทุมใหกับการผลิตสินคาและบริการเพื่อกอใหเกิดรายไดในการดํารงชีวิต ซึง่ มผี ลตอบแทนเปนคาจา งและเงนิ เดอื น (Wages and Salary) 3) ทุน (Capital) คอื ส่ิงท่ีมนุษยผลิตขึ้นมาเพื่อใชรวมกบั ปจจยั การผลิตอืน่ ๆ ในการผลิตสนิ คา และบรกิ าร เรยี กอีกอยางหนงึ่ วาสินคา ทนุ (Capital Goods) ทุนเปนสง่ิ ท่ผี ลิตขึน้ มาเพื่อใชใ นการผลิตตอไปไมใชเพอื่ การบริโภค เชน ขา วเปลือก หากถูกนําไป เปน เมล็ดพนั ธเุ พอื่ เพาะปลูกขาวเปลอื กกเ็ ปนสินคา ทุน หากถกู ใชเพ่อื การบรโิ ภคจะไมน บั เปน สินคาทุน ทนุ อาจแยกไดเ ปน 3 ประเภท ประเภทแรกทเ่ี ปน สินคา สาํ หรบั ใชใ นการ ผลิต (Capital Goods) เชน เครอ่ื งจกั ร โรงงาน เปนตน ประเภททสี่ องทุนที่เปน เงิน (Monetary Capital) หมายถงึ เงนิ ที่จดั ไวเ พ่อื จางคนงานหรือเชา ท่ีดิน หรอื เงินซง่ึ จาย เพือ่ จดั หาเครื่องจกั ร เครือ่ งมอื และทีด่ นิ เพื่อขยายโรงงาน ประเภทท่สี ามคอื ความรทู าง เทคนคิ (Technical Knowledge) หมายถึง ความรูตางๆ สําหรบั ที่ใชในการผลิต

เศรษฐศาสตร 158 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม ทนุ ทแ่ี ทจรงิ จึงไมไ ดห มายถึงเงนิ อยา งเดียว เงินเปนเพยี งรปู หนึง่ ของทนุ เรยี กวา เงนิ ทนุ (Money Capital) ซงึ่ เปนเพียงสื่อกลางใหเ กิดสนิ ทรัพยประเภททุน ทนุ ที่แทจ ริง จงึ รวมถงึ เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชผ ลติ สนิ คา และเจา ของทนุ จะไดร บั ผลตอบแทนเปน ดอกเบย้ี (Interest) 4) ผปู ระกอบการ (Enterpreneur) หมายถงึ การจดั ตง้ั องคก ารเพอ่ื ผลติ สนิ คา และบริการโดยอาศัยทรัพยากร แรงงาน ทุน มาดําเนินการโดยผูดําเนินการเรียกวา ผปู ระกอบการ ซงึ่ เปน ผรู วบรวมปจ จยั การผลติ ตา งๆ เขา สกู ระบวนการผลติ สนิ คา และบรกิ าร ตอบสนองความตอ งการของตลาด ผูป ระกอบการจึงเปนผูท่ตี องเผชญิ กบั ความเสี่ยงของ ความไมแ นน อนเกย่ี วกบั ภาวะตลาด ซง่ึ ตา งจากในกรณขี องแรงงานทไ่ี มต อ งเผชญิ กบั ความ เส่ียงแมวาจะเปนทรัพยากรมนุษยเหมือนกันก็ตาม ผลตอบแทนของผูประกอบการ คือ กําไร (Profit) ปจ จยั การผลติ ทงั้ หมดนเี้ ปน สง่ิ สาํ คญั และจาํ เปน มากในการประกอบกจิ กรรมทาง 3บทที่ เศรษฐกิจท่ีจะขาดสวนใดสวนหน่ึงไปไมได ถาขาดสวนใดสวนหน่ึงไปจะมีผลทําใหการ ดําเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจน้ันหยดุ ชะงัก หรอื ไมไ ดผ ลตามเปาหมายที่วางไว 4. ลาํ ดับขนั้ การผลิต ในการดําเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจในแตล ะครัวเรือนแบงออกเปน 3 ข้นั คือ 1) การผลติ ขน้ั ตน หรอื การผลติ ขน้ั ปฐมภมู ิ (Primary Production) หมายถงึ การผลติ ทอี่ าศยั ธรรมชาติ หรอื ไดจ ากธรรมชาติ เปน การผลติ แบบดง้ั เดมิ ของมนษุ ย ไดแ ก การเก็บของปา ลาสัตว จับปลา จนพัฒนาเปนอาชีพเกษตรกรกรรมในปจจุบัน เชน การเพาะปลกู เล้ียงสัตว ประมง ทาํ ปาไมทอ่ี าศัยท้งั ธรรมชาติ และเทคโนโลยเี ขามาชวย 2) การผลติ ขนั้ ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Production) หมายถงึ การแปรสภาพ วตั ถดุ บิ เปน วตั ถสุ าํ เรจ็ รปู หรอื ผลติ ภณั ฑต า งๆ ไดแ ก อาชพี หตั ถกรรม และอตุ สาหกรรม ประเภทตางๆ 3) การผลติ ขน้ั ตติยภูมิ (Tertitary Production) หมายถงึ การจาํ หนายจาย แจกสนิ คา และการบรกิ ารตา งๆ ไดแ ก อาชพี พาณชิ ยกรรมและการบรกิ าร เชน การคา ขาย การคมนาคมขนสง การส่ือสารการโฆษณา การธนาคาร ขาราชการ เปนตน 5. การกาํ หนดปรมิ าณการผลิต ในการผลิตสินคาและบริการนั้น ผูผลิตควรตัดสินใจวาจะผลิตอะไรในปริมาณ เทา ใดจงึ จะไดก าํ ไรสงู สดุ ดงั นน้ั สงิ่ ทก่ี าํ หนดปรมิ าณการผลติ ในตลาดทมี่ กี ารแขง ขนั สมบรู ณ ไดแก 1) อปุ สงค (Demand) คอื ปริมาณความตองการของผูบริโภคในการบริโภค สินคา อยางใดอยางหนง่ึ ดวยเงนิ ที่เขามีอยู ณ เวลาใดเวลาหนงึ่ ซง่ึ พรอมทจ่ี ะซือ้ สนิ คานนั้ อปุ สงคแ บงออกเปน 2 ประเภทคือ 1.1) อุปสงคส ว นบคุ คล (Individual Demand) หมายถึง อปุ สงคข อง บคุ คลแตละคนหรอื ผซู ื้อแตล ะราย เชน อุปสงคเ ส้อื กันหนาวของนายชัยยุทธ เปน ตน 1.2) อปุ สงคต ลาด (Market Demand) หมายถงึ ผลรวมของผซู อ้ื ทกุ คน ทซ่ี อื้ สนิ คา ชนดิ หนง่ึ ในตลาดแหง หนง่ึ เชน อปุ สงคต อ เสอ้ื กนั หนาวในฤดหู นาวของประชากร ในจงั หวัดแพร เปนตน

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 159 คําวาอุปสงคในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง อุปสงคที่มีประสิทธิผล (Effecive 3บทที่ Demand) กลาวคือ อปุ สงคจ ะประกอบดวยความเตม็ ใจที่จะซื้อ (Willingness to buy) กบั อาํ นาจซอ้ื (Purchasing Power) ณ แตล ะระดบั ราคาของสนิ คา ตา งๆ (สขุ มุ อตั วาวฒุ ชิ ยั , เศรษฐศาสต ร 2539 : 20) 2) อปุ ทาน (Supply) คอื ปรมิ าณสนิ คา ทผ่ี ขู ายสามารถนาํ มาสนองความตอ งการ ของผซู อ้ื ไดเ ปน สภาพการตดั สนิ ใจของผขู ายวา จะขายสนิ คา จาํ นวนเทา ใดและในราคาเทา ใด ณ เวลาใดเวลาหน่งึ อปุ ทาน แบงออกเปน 2 ประเภทคอื 2.1) อปุ ทานสว นบุคคล (Individual supply) หมายถึง ปรมิ าณสนิ คา หรอื บรกิ ารท่ีผูผ ลติ หรอื ผขู ายแตละรายนําออกมาเสนอขาย 2.2) อปุ ทานตลาด (Market Supply) หมายถงึ ปรมิ าณสนิ คา หรอื บรกิ าร ของผผู ลิตหรอื ผขู ายทกุ คนรวมกันนาํ ออกมาเสนอขาย 6. ราคาดลุ ยภาพและปรมิ าณดลุ ยภาพ เมอ่ื ผซู อ้ื และผขู ายพบกนั ในตลาดเพอื่ ตกลงซอ้ื ขายสนิ คา และบรกิ าร ปรากฏวา มรี าคาอยรู าคาหนง่ึ ทปี่ รมิ าณการเสนอซอื้ และปรมิ าณการเสนอขายเทา กนั พอดี ซงึ่ เรยี กวา ราคาดลุ ยภาพ (Equilibrium Price) และปริมาณสินคา และบริการที่ซอ้ื ขายกนั ณ ราคา ดลุ ยภาพนั้นเรยี กวา ปริมาณดลุ ยภาพ (Eauilibrium Quantity) ในระบบเศรษฐกิจท่ีอาศัยตลาดเปนเครื่องมือในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หรอื ใหก จิ กรรมทางเศรษฐกจิ ดาํ เนนิ ไปโดยผา นกลไกราคา เชน ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม ปริมาณการผลิตจะข้ึนอยูกับอุปสงคและอุปทาน สวนในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ปริมาณการผลิตจะขน้ึ อยูกับการวางแผนของรัฐ ตารางท่ี 2 แสดงราคาดุลยภาพของสม ราคา ปริมาณซ้ือ (กก.) ปริมาณขาย (กก.) (บาท) (Demand) (Supply) 12 0 18 10 3 15 8 6 12 699 4 12 6 2 15 3 ทม่ี า : โกเมน จิรญั กลุ และเสรี ลลี าลัย, 2537, หนา 16

160 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม จากตารางท่ี 2 แสดงใหเ หน็ วา ปรมิ าณเสนอซอื้ สม ของตลาดจะเทา กบั ปรมิ าณเสนอ ขายสม ของตลาด ณ ราคากโิ ลกรมั ละ 6 บาท ซง่ึ แสดงใหเ หน็ วา ราคาดลุ ยภาพเทา กบั 6 บาท และปรมิ าณดลุ ยภาพเทากบั 9 กโิ ลกรัม ดังนน้ั เราสามารถสรปุ กฎของอปุ สงค (Demand) ไดวา “ปรมิ าณสินคาท่ีมีผู ตองการซ้ือในขณะใดขณะหนึ่ง จะมีความสัมพันธในทางตรงกันขามกับราคาสินคา ชนดิ น้ัน” (รตั นา สายคณติ และชลลดา จามรกุล, 2537 : 34) แสดงวา ถาราคาสินคาสูง ข้ึนอุปสงคจะลดลงและถาราคาสินคาลดลงอุปสงคจะเพ่ิมข้ึน ในขณะท่ีกฎของอุปทาน (Supply) กลาววา “ปริมาณสินคาที่ผูผลิตเต็มใจจะนําออกขายในขณะใดขณะหน่ึงจะมี ความสมั พนั ธใ นทางเดยี วกนั กบั ราคาสนิ คา ชนดิ นน้ั ” (รตั นา สายคณติ และชลลดา จามรกงุ , 2537 : 81) หมายความวา ถา ราคาสินคาสงู ผูผลติ จะเตม็ ใจนําสินคา ออกขายมาก แตถา 3บทท่ี สินคา ราคาตา่ํ ผผู ลิตจะเต็มใจนาํ สนิ คา ออกขายนอ ย ทงั้ นอ้ี ยูภ ายใตข อ สมมตวิ า ปจจยั อน่ื ๆ ที่มอี ิทธพิ ลตออปุ ทานคงท่ี เศรษฐศาสตร สขุ มุ อัตวาวุฒชิ ยั (2541 : 37 – 40) ไดอธบิ ายเพ่ิมเติมเกย่ี วกับความสัมพนั ธ ระหวางอปุ สงคอ ปุ ทานและราคาวา ราคาตลาดหรอื ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) จะถูกกําหนดโดยจดุ ตัดของเสนอปุ สงคแ ละอปุ ทานตาดน่นั เอง ณ ระดบั ราคาอนื่ ๆ จะไม ทาํ ใหต ลาดอยใู นภาวะดลุ ยภาพ ถา มผี เู สนอขายสนิ คา ในราคาทส่ี งู กวา ราคาดลุ ยภาพจะกอ ใหเกิดอุปทานสวนเกิน (Excess Supply) สินคาจะลนตลาดหรือเม่ือใดที่มีผูเสนอขาย สินคา ตํา่ กวา ราคาดุลยภาพ จะเกิดอปุ สงคสว นเกิน (Excess Demand) สินคา จะขาด ตลาด และกลไกตลาดจะมกี ารปรับตวั โดยอตั โนมัติเพื่อกลบั เขาสูภ าวะดลุ ยภาพ 7. ประเภทของการผลติ สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตไิ ดแ บง กจิ กรรมทาง เศรษฐกิจของประเทศไทย โดยอาศยั แนวทางการจําแนกขององคก ารสหประชาชาติ แบง การผลิตออกเปน 11 ประเภท ดงั นี้ 1) การเกษตร ไดแ ก การเพาะปลกู การปศสุ ตั ว การประมง การทาํ ปา ไม และอน่ื ๆ 2) การทําเหมอื งแรแ ละยอยหนิ 3) หตั ถอุตสาหกรรม 4) การกอ สราง 5) การผลติ ไฟฟาและน้ําประปา 6) การขนสงและการสอื่ สาร 7) การขายสง และการขายปลีก 8) การธนาคาร ประกนั ภัย และอสงั หารมิ ทรัพย 9) การเปนเจา ของที่อยูอาศัย 10) การบรหิ ารงานสาธารณะและปองกันประเทศ 11) การบริการ (โกเมน จิรัญกุล และเสรี ลีลาลยั , 2535 : 9)

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 161 8. การสะสมทนุ (Capital Aceumulation) หมายถงึ การเพมิ่ พนู สนิ คา ประเภท 3บทท่ี ทนุ หรือการเกบ็ สะสมเงินทุนใหม ากขน้ึ เพื่อนาํ ไปใชป ระโยชนในการขยายความสามารถใน การผลติ การสะสมทนุ สว นหนงึ่ ไดจ ากการลงทนุ ในสง่ิ กอ สรา ง การซอ้ื เครอื่ งจกั รเครอ่ื งมอื เศรษฐศาสต ร และสวนเปลี่ยนสินคาคงเหลือ ในการสะสมทุนนั้นสวนหนึ่งไดจากการออมในประเทศ ซึ่ง เปน การนาํ เงนิ ออมทกี่ นั ไวจ ากรายไดส ว นหนงึ่ ไมน าํ ไปใชจ า ยเพอ่ื การบรโิ ภคมาลงทนุ เพอ่ื หา ผลประโยชนตอบแทน การสะสมทุนอีกทางหน่ึงไดจากเงินทุนจากตางประเทศ ซึ่งอาจ เปน การระดมทนุ จากตา งประเทศดว ยการกเู งนิ จากตา งประเทศหรอื สถาบนั การเงนิ ระหวา ง ประเทศ การลงทนุ ในหลักทรัพย เปน ตน 9. ประเภทของหนวยธุรกิจ หนวยธุรกิจ หมายถึง องคก รที่จัดต้ังข้นึ มาเพื่อดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ในดานการผลิตสนิ คาและบรกิ าร ไดแก 1) กิจกรรมทมี่ ีเจาของคนเดยี ว (Single Proprietorship) เปนกิจกรรมที่ การตดั สินใจข้นึ อยกู บั คนๆ เดียว เมือ่ ไดผ ลกําไรมาเปน ของเจา ของเพียงคนเดยี ว 2) หา งหุนสว น (Partnership) เปนธุรกจิ ท่ปี ระกอบกันข้ึนจากคน 2 คนขึ้น ไป มกี ารตกลงกนั วา หนุ สว นใดจะรบั ผดิ ชอบในสว นใด หา งหนุ สว นแบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 2.1) หางหุนสวนจํากัด จะมีหุนสวนพวกหน่ึงจํากัดความรับผิดชอบตาม จาํ นวนเงินท่ีระบไุ วเมอ่ื กจิ กรรมขาดทุน 2.2 หางหนุ สว นสามัญ ผเู ปน หนุ สว นทุกคนตองรบั ผดิ ชอบตอการขาดทุน ไมจํากัดจํานวน กิจการท่ีมีเจาของคนเดียวและหางหุนสวนจะมีขอเสียคือกิจการทั้งสองประเภท ตอ งรบั ผดิ ชอบหนสี้ นิ อยา งไมจ าํ กดั จาํ นวนเมอ่ื กจิ การขาดทนุ การดาํ เนนิ งานไมเ ปน ไปอยา ง ตอ เนอ่ื ง โดยเฉพาะกรณีที่เจาของกิจกรรมเนนเสียชวี ิตกิจการเจา ของคนเดียวมักมปี ญหา ในดา นการขยายเงนิ ลงทุน 3) บรษิ ทั จํากัด (Corparation) เปนหนวยธุรกิจท่จี ดทะเบียนเปนนติ ิบคุ คล โดยมหี ลายคนรว มกนั จดั ตงั้ จะมขี นาดใหญห รอื เลก็ ขนึ้ อยกู บั จาํ นวนหนุ (Stock) ผูถ อื หนุ เปนเจา ของบรษิ ทั รวมกนั มคี วามรับผิดชอบจาํ กัดตามจํานวนหุนทีถ่ ือ 4) สหกรณ (Cooperative) เปนหนว ยธรุ กิจท่ีจดั ตั้งโดยคนต้ังแต 10 คน ขึ้นไป จดทะเบยี นโดยถูกตอ งตามกฎหมาย โดยมีจดุ มงุ หมายเพอ่ื ชวยเหลือสมาชกิ หรือ ผถู ือหุนซง่ึ ตอ งปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บของสหกรณ 5) รฐั วสิ าหกิจ (Public Enterprise) คอื กจิ การท่รี ฐั เปน เจาของ หรอื มหี ุน สว นมากกวา ครง่ึ หนงึ่ ของหนุ สว นทงั้ หมด สว นใหญเ ปน ธรุ กจิ ดา นสาธารณปู โภคหรอื กจิ การ ที่ตอ งลงทุนสงู ใหผลตอบแทนชาและเอกชนไมต องการลงทนุ การดําเนนิ งานตามระบบ ราชการจึงมกั กอใหเกดิ ความลาชา และไมม ีประสทิ ธภิ าพเทา ทีค่ วร

เศรษฐศาสตร 162 หนังสือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม ธุรกจิ ท้งั 5 ประเภท 3 ประเภทแรกเปน ธุรกิจทมี่ งุ แสวงกําไรและ 2 ประเภทหลงั เปนธรุ กิจท่ีไมไดม ุงแสวงหาผลกําไร สรุป การผลติ หมายถึง การสรางเศรษฐทรัพยเพ่อื บําบัดความตอ งการของมนุษย หรือการสรางอรรถประโยชนดวยการเปลี่ยนรูป เปลี่ยนสถานท่ี เล่ือนเวลาใชสอย เปลยี่ นโอนกรรมสทิ ธิ์ และการใหบริการตางๆ สิ่งผลิตของมนุษยเ รียกวาสนิ คา แบง ออกเปนสินคาเศรษฐทรัพยและสินคาไรราคา ในการผลิตจะตองอาศัยปจจัยการผลิต 4 อยา ง ไดแ ก ท่ีดิน แรงงาน ทุน และผปู ระกอบการ มีลาํ ดบั ขน้ั การผลติ 3 ขน้ั คือ การผลิตขัน้ ปฐมภมู ิ ทตุ ยิ ภูมแิ ละตตยิ ภมู ิ การจะผลติ อะไรมากนอยเทาใดเปน 3บทท่ี ไปตามหลักของอุปสงคและอุปทานของตลาดสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสงั คมแหงชาตไิ ดแ บงประเภทของการผลติ ในประเทศไทย 2. การบรโิ ภค 1. ความหมายของการบริโภค การบริโภคในเชิงเศรษฐศาสตรมหภาคหรือการบริโภคมวลรวม (Aggregate Consumption) คือการใชจายเพื่อการบริโภคสินคาท้ังประเภทส้ินเปลืองและคงทนถาวร รวมทงั้ บรกิ ารตา งๆ ทกุ ชนดิ รวมกนั ของทงั้ ระบบเศรษฐกจิ เชน การศกึ ษา การรกั ษาพยาบาล เปนตน 2. ประเภทของสินคาเพอื่ การบรโิ ภค การบรโิ ภคของมนษุ ยน นั้ ตอ งอาศยั ทรพั ยากรมาแปรสภาพเปน สนิ คา และบรกิ าร ซ่งึ อาจจําแนกไดดงั น้ี 1) สนิ คา เพอ่ื การผลติ และสนิ คา เพอื่ การบรโิ ภค สนิ คา บางอยา งเปน สนิ คา ของผผู ลิตในขณะท่ีสินคาบางอยางเปนสินคาของผบู รโิ ภค เชน จกั รเยบ็ ผา เปน สินคา ของผผู ลิต และเส้อื ผา เปน สนิ คา ของผบู รโิ ภคเปน ตน 2) สนิ คาคงทน และสินคา ไมคงทน สนิ คาคงทน คือ สินคา ทเ่ี ก็บไวใ ชไ ดนานเปน ป เชน ปากกา นาิกา กระเปา บา น ยานพาหนะตา งๆ เปนตน สนิ คา ทไ่ี มค งทน คอื สนิ คา ทใ่ี ชแ ลว หมดสน้ิ ไปภายใน 1 ป เชน อาหาร นา้ํ ดมื่ เครื่องสําอาง เปน ตน (อเนก เธยี รถาวร, 2535 : 18) 3. ปจ จัยท่ีกาํ หนดการบรโิ ภค ในบางครง้ั เราจะพบวา ความสามารถของคนเราในการบรโิ ภคหรอื ปรมิ าณการ เสนอซอื้ สนิ คา และบรกิ ารในชวี ติ ประจําวันจะแตกตา งกนั ไป ทงั้ น้ขี ึน้ อยูกบั ปจจัยหลายๆ อยาง ไดแก

รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 163 1) รายได (Income) นบั เปน ปจ จัยสาํ คัญอันดบั แรกของมนษุ ยใ นการตดั สนิ 3บทที่ ใจบรโิ ภค สงิ่ ใดสง่ิ หน่ึง โดยปกตผิ มู ีรายไดน อยจะมอี ตั ราการบริโภคตา่ํ กวาผูมีรายไดมาก แตทั้งนี้อาจจะขน้ึ อยกู บั ปจจัยอืน่ ๆ ดว ย การทร่ี ายไดข องผูช อื้ เปล่ียนแปลงไป จะมผี ลตอ เศรษฐศาสต ร ปรมิ าณการเสนอซอื้ ดว ย กลา วคอื หากรายไดข อง ผซู อ้ื เพมิ่ สงู ขนึ้ สง่ิ อน่ื ๆ คงที่ ปรมิ าณ การเสนอซือ้ ณ แตละระดับราคาจะมากขนึ้ เปน ตน 2) ราคาสนิ คาอ่นื ๆ (Price of other Goods) เปน สงิ่ ท่จี ูงใจในการตดั สิน ใจของผูบริโภคใหเลอื กซ้อื สินคาไดตามความเหมาะสมแกฐานะของตนเอง การทป่ี รมิ าณ การเสนอซอื้ สนิ คา ชนดิ หนง่ึ เปลย่ี นแปลงไป ไมเ พยี งเพราะราคาสนิ คา นนั้ เปลยี่ นแปลงเทา นน้ั แตอาจจะขน้ึ อยกู บั ราคาสินคา อื่นๆ เปลี่ยนแปลงไปดวย 2.1) ราคาสินคาทที่ ดแทนได (Price of Substitute) เชน สมมตวิ า ขนนุ สามารถบรโิ ภคแทนทเุ รียนหมอนทองได หากราคาตอ หนว ยของขนนุ ลดลงในขณะท่ี ราคาทเุ รยี นหมอนทองไมเ ปลย่ี นแปลงราคาเปรยี บเทยี บของขนนุ ตอ ทเุ รยี นจะถกู ลง ผบู รโิ ภค จะลดการบรโิ ภคเรยี นหมอนทองลง และหนั ไปบรโิ ภคขนนุ มากขนึ้ ดงั นนั้ ปรมิ าณการเสนอ ซื้อของทเุ รียนหมอนทอง ณ ทุกระดับราคาจะลดลง ในทางตรงกันขามหากราคาขนนุ เพิ่ม สงู ขน้ึ ผบู รโิ ภคจะหนั มาบรโิ ภคทเุ รยี นหมอนทองมากขน้ึ ณ ทกุ ระดบั ราคา และบรโิ ภคขนนุ นอ ยลง 2.2) ราคาสนิ คา ทใ่ี ชค วบคกู นั (Price of Complement) สนิ คา บางอยา ง ตองใชควบคกู ัน เชน โตะและเกาอี้ ปากกากบั หมึก เปนตน ถาราคาหมกึ ตอขวดแพงขน้ึ ขณะทสี่ นิ คา อน่ื ๆ อยคู งทปี่ รมิ าณความตอ งการซอ้ื ปากกาจะลดลง ณ ทกุ ระดบั ราคา ในทาง ตรงกันขา มถาราคาหมึกลดลงปริมาณการเสนอซอ้ื ปากกาจะสงู ขึ้น ณ ทกุ ระดับราคา 3) รสนยิ ม (Taste) คอื ความนยิ มชมชอบของผบู รโิ ภคในการเลอื กซอื้ สนิ คา แตละชนิดซึ่งแตกตางกันตามลักษณะของผูบริโภคแตละทองถิ่นหรือตามฤดูกาลท่ี เปลย่ี นแปลงไป 4) การใหเ ครดติ (Credit) หรอื ยทุ ธวธิ กี ารขาย เชน การขายสนิ คา ดว ยระบบ เงนิ ผอ นเปน ส่งิ หน่งึ ที่จูงใจใหค นหันมาซื้อสนิ คา มากข้ึน เชน ยานพาหนะตา งๆ เปน ตน 5) สภาวะอากาศ มผี ลกระทบตอ ปรมิ าณความตอ งการบรโิ ภคสนิ คา บางอยา ง เชน ปริมาณ ความตองการซ้ือเสื้อกันหนาวในฤดูหนาวของภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉยี งเหนอื จะเพิม่ สงู ขนึ้ มีผลกําไรราคาเส้อื กันหนาวสงู ขึน้ ในชวงฤดหู นาว เปน ตน ในกรณีของอุปสงคตลาดหรือการบริโภคมวลรวมตัวกําหนดจะมีมากกวากําหนด ขางตน เชน 1) ปรมิ าณซอ้ื ขนึ้ อยกู บั จาํ นวนประชากร ตามปกตเิ มอื่ ประชากรมจี าํ นวนเพมิ่ มาก ขึ้นความตอ งการสนิ คาและบรกิ ารจะเพม่ิ ตาม แตการเพ่มิ ประชากรยังไมเปนการเพียงพอ ประชากรเหลาน้ีจะตอ งมอี าํ นาจซอื้ ดว ยจงึ จะสามารถซอื้ สนิ คา ไดม ากข้ึน 2) ปริมาณซื้อขน้ึ อยกู บั สภาพการกระจายรายไดในระบบเศรษฐกจิ เชน ประเทศ ท่ีมีบอนํ้ามันบางประเทศปรากฏวารายไดสวนใหญตกอยูในมือของคนกลุมนอย สวนคน

เศรษฐศาสตร 164 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม กลมุ ใหญจ ะมรี ายไดต า่ํ มาก ในสงั คมของประเทศลกั ษณะนก้ี ารบรโิ ภคจะแตกตา งจากสงั คม ทม่ี กี ารกระจายรายไดค อ นขา งทดั เทยี มกนั ถงึ แมว า รายไดเ ฉลย่ี ของทงั้ สองประเทศจะอยใู น ลกั ษณะใกลเ คียงกันกต็ าม 4. การบริโภคและการออม ในการบรโิ ภคของคนเรานนั้ จะตอ งอาศยั เงนิ ทมี่ าจากรายไดเ ปน สว นใหญ แตถ า เรานาํ รายไดท ง้ั หมดมาใชใ นการบรโิ ภค เมอ่ื ถงึ เวลาจาํ เปน หรอื ในยามเดอื ดรอ นจะกอ ใหเ กดิ ปญ หายงุ ยาก เชน เกดิ ภาวะทงั้ หมดมาใชใ นการบรโิ ภค เมอื่ ถงึ เวลาจาํ เปน หรอื ในยามเดอื ด รอ นจะกอ ใหเ กดิ ปญ หายงุ ยาก เชน เกดิ ภาวการณเ จบ็ ปว ยในครอบครวั การศกึ ษาของบตุ ร ท่ีตองใชเงนิ มาก สงเคราะหญ าติท่เี ดือดรอน เปนตน คนเราจงึ จาํ เปน ตอ งเหลือรายไดสว น หนงึ่ ไวเพอ่ื รองรบั ความจาํ เปน ดงั กลา ว เงนิ สวนน้ีคือ เงนิ ออม ซึง่ เปนเงนิ ท่ีเหลอื จากการ 3บทที่ ใชจ า ยดว ยการประหยดั หรอื เกบ็ ออมไวใ นสถาบนั การเงนิ ซงึ่ กอ ใหเ กดิ ประโยชนห ลายประการ คอื 1) เพอ่ื เกบ็ ไวใ ชจ า ยในยามจาํ เปน คอื เงนิ รายไดท เ่ี กบ็ ไวส าํ หรบั รบั รองความ จาํ เปน ในครอบครัว เชน สมาชกิ ในครอบครัวเจ็บปว ย เปน คน 2) เพอ่ื ใชจ า ยในอนาคต เปน เงนิ รายไดท เี่ กบ็ ไวส าํ หรบั สงิ่ ทยี่ งั ไมเ กดิ ในปจ จบุ นั แตจ ะเกิดในอนาคต เชน เมือ่ ยามแกจะตองมเี งินสว นหนึง่ ไวส ําหรับใชจาย หรือเพื่อการ ศกึ ษาของบตุ ร เปน ตน 3) เพอ่ื ใหเกดิ ดอกผลงอกเงย คือการนําเงนิ ไปฝากกบั สถาบันการเงนิ การ ซอ้ื หนุ การซื้อพันธบตั รรฐั บาล การนาํ เงินไปลงทนุ ซึง่ ไดผ ลตอบแทนเปน ดอกเบย้ี หรือ กําไร 4) เพอ่ื ประโยชนท างเศรษฐกจิ สว นรวม คอื เงนิ ออมของประชาชนในสถาบนั การเงนิ รฐั บาลสามารถกเู งนิ มาลงทนุ ขยายการผลติ มากขน้ึ มผี ลตอ การจา งงานในประเทศ มากข้นึ ทําใหประชาชนมีเศรษฐกิจดขี ้นึ (อเนก เธยี รถาวร, 2542 : 25) สรุป การบรโิ ภค หมายถงึ การใชจ า ยเพอื่ การบรโิ ภคสนิ คา และบรกิ ารตา งๆ ใน ระบบเศรษฐกิจการบริโภคจะมากหรือนอ ยขนึ้ อยกู บั ปจจยั หลายๆ อยา ง และสว น หน่ึงทเ่ี หลอื จากการบริโภคก็คือเงนิ ออม 3. การแบงสรรหรือการกระจาย (Distribution) 1. ความหมายของการแบงสรรหรอื การกระจาย การแบง สรร หมายถงึ การแบง สรรผลผลติ จากผผู ลติ ไปยงั ผบู รโิ ภคและแบง ปน ราย ไดไ ปยงั ผูเกี่ยวของกับการผลิต การแบงสรรจาํ แนกออกเปน 2 ประเภท คือ

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 165 1) การแบง สรรสนิ คา และบริการ ที่ผลติ มาไดไปยงั ผบู รโิ ภค เชน ชาวสวน ขายผลไมใหก บั ผบู ริโภค หรือ ชางตัดผมบริการตัดผมแกลกู คา เปน ตน 2) การแบง สรรใหเ จาของปจจัยการผลิต ดังนี้ ปจ จัยการผลิต ผลตอบแทนทไ่ี ดรับ ทดี่ ิน คาเชา (rent) แรงงาน คาจาง (wages) ทนุ ดอกเบยี้ (interests) ผปู ระกอบการ กาํ ไร (profit) 2. ความไมเทา เทียมกนั ของรายได 3บทท่ี การแบงสรรรายไดไ ปยงั กลมุ คนตา งๆ ในสังคมมกั กอใหเกดิ ความไมเ ทาเทียม เศรษฐศาสต ร กนั ของรายได มสี าเหตุมาจาก 1) ความไมเทาเทียมกันในกําเนิดและทรัพยสินเกิดจากพ้ืนฐานและฐานทาง เศรษฐกจิ ของครอบครวั แตกตา งกนั เชน คนทเี่ กดิ มาในครอบครวั ทรี่ า่ํ รวยยอ มมฐี านะทาง เศรษฐกจิ สงู กวาคนทเ่ี กิดในครอบครัวทยี่ ากจน เปน ตน 2) ความไมเ ทาเทียมกนั ในการทํางาน เกิดจากการมีหนา ท่ีความรบั ผิดชอบใน การทํางานแตกตา งกัน เชน ผอู ํานวยการโรงเรียนมีรายไดส ูงกวา นกั การภารโรง เปนตน 3) ความไมเทาเทยี มกนั ในความรู คอื บคุ คลที่มคี วามรเู ฉพาะดาน ซึง่ ไมอาจ ทดแทนกนั ได เชน อาชพี แพทย วศิ วกร ชา งเจียระไนเพชรพลอย จะมรี ายไดสงู เปนตน 4) ลกั ษณะของอปุ สงคอ ปุ ทาน คอื ความสมั พนั ธร ะหวา งปรมิ าณความตอ งการ และปริมาณเสนอขายไมสมดุลกัน เชน อุปสงคของแรงงานในกลุมประเทศแถบ ตะวันออกกลางสูงมากในขณะที่อุปทานของแรงงานมีนอยกวาจึงทําใหคาจางแรงงานใน ประเทศเหลา นี้สงู เปนตน 5) การกระจายการบรกิ ารของรัฐ ในดา นสาธารณูประโภค และความเจรญิ ใน ดานตางๆ ไมท ่วั ถึง เชน ถนนหนทาง ระบบการสือ่ สารโทรคมนาคมสาธารณูปโภคตางๆ ทาํ ใหบ ริเวณนั้นมีความเจริญทางเศรษฐกจิ ประชาชนมีรายไดส ูงเปนตน ดังน้นั รฐั บาลของประเทศตา งๆ จงึ หาวิธีการจัดระบบเศรษฐกจิ เพอ่ื ใหม ีการกระ จายรายไดไ ปสปู ระชาชนอยา งเปน ธรรมและทว่ั ถงึ กนั กลา วคอื ประเทศทใี่ ชร ะบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม เอกชนมีเสรีภาพในการผลิตและการบริโภคอยางเต็มที่กอใหเกิดรายไดใน ทรัพยสินมาก รฐั จะเรียกเก็บภาษีในอตั ราสูง ประเทศท่ใี ชร ะบบเศรษฐกิจแบบสังคมนยิ มรฐั จะควบคุมการใชปจจัยการผลิตและกระจายรายไดไปยังประชาชนอยางเปนธรรม สวน ประเทศทใ่ี ชร ะบบเศรษฐกจิ แบบผสม เชน ประเทศไทยจะมมี าตรการในการกระจายรายได อยา งเปน ธรรมดว ยการใชม าตรการทางภาษี การจดั สวสั ดกิ ารแกผ มู รี ายไดน อ ย การควบคมุ ราคาสนิ คา เปน ตน

เศรษฐศาสตร 166 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม สรปุ การแบง สรรหรือการกระจาย หมายถึง การแบงสรรผลผลิตจากผผู ลติ ไปยงั ผูบรโิ ภคและการแบงปน รายไดไ ปยังเจา ของปจ จัยการผลิตในรูปของ คาเชา คาจาง ดอกเบยี้ กาํ ไร ในการแบง สรรอาจจะเกดิ ความไมเ ทา เทยี มกนั ของรายไดซ งึ่ เปน หนา ที่ ของรฐั ทจ่ี ะตอ งดูแลการกระจายรายไดไปสูกลุมคนตา งๆ อยา งทวั่ ถงึ และเปนธรรม 4. การแลกเปลยี่ น (Exchange) 1. ความหมายของการแลกเปล่ียน การแลกเปลย่ี น หมายถึง การเปลีย่ นความเปน เจาของในสนิ คา และบรกิ าร 3บทที่ โดยการโอนหรือการยายกรรมสิทธิ์ หรือความเปน เจาของ (Ownership) ระหวา งบุคคล หรอื ธุรกจิ 2. วิวฒั นาการของการแลกเปลยี่ น การแลกเปลีย่ นมีวิวฒั นาการ 3 ระยะคอื 1) การแลกเปลี่ยนสิ่งของกับส่ิงของ มักเกิดข้ึนในสังคมท่ีมีความสัมพันธ กันอยางใกลชิด เชน ในสังคมสมัยโบราณหรือในสังคมชนบท โดยการนําเอาสินคาและ บริการมาแลกเปลยี่ นกนั โดยตรงไมตอ งมสี ่อื กลางในการแลกเปล่ยี น เชน ชาวนาเอาขา ว มาแลกกบั ปลาชาวประมง เปนตน ระบบการแลกเปล่ียนสินคาตอสินคาจะมีขอเสียในเรื่องความตองการไมตรงกัน ทาํ ใหเ กดิ ความไมค ลอ งตวั ในการแลกเปลยี่ น เชน ชาวนาอาจจะไมต อ งการปลา แตต อ งการ นาํ ขา วไปแลกผา จงึ ตอ งไปหาบคุ คลทม่ี คี วามตอ งการตรงกนั การแลกเปลย่ี นจงึ จะเกดิ ขน้ึ ได อกี ประการหนง่ึ คอื มลู คา สง่ิ ของทน่ี าํ มาแลกเปลยี่ นกนั อาจจะมมี ลู คา หรอื สดั สว นไมเ ทา กนั ทาํ ใหเ กดิ ความไมย ตุ ธิ รรมในการแลกเปลี่ยน 2) การใชเ งนิ เปน สอ่ื กลาง เนอ่ื งจากความไมส ะดวกและคลอ งตวั ในการแลก เปลย่ี นสนิ คา กบั สนิ คา และความตอ งการไมต รงกนั ทาํ ใหม นษุ ยค ดิ สอื่ กลางในการแลกเปลยี่ น เปนการแลกเปล่ยี นระหวางสงิ่ ของและเงิน ไดแ ก การแลกเปล่ยี นซอื้ ขายสินคา และบรกิ าร ในสงั คมปจ จบุ นั เงนิ ในยคุ แรกๆ ท่ี มนษุ ยน าํ มาใชใ นการแลกเปลยี่ นอาจอยใู นรปู ของเปลอื ก หอย โลหะ แรธ าตุ หรอื สง่ิ ของตางๆ ท่สี ังคมนน้ั ยอมรบั ทําใหการแลกเปลย่ี นนัน้ มคี วาม คลอ งตัวมากยงิ่ ขึ้น 3) การใชต ราสารอยา งอน่ื แทนเงนิ หรอื การใชเ ครดติ เนอ่ื งจากตลาดในระบบ เศรษฐกจิ มคี วามซบั ซอ นมากยง่ิ ขนึ้ การซอื้ ขายแลกเปลย่ี นจงึ ไดพ ฒั นาจากระบบการใชเ งนิ เปนส่ือกลางมาเปนระบบการใชตราสารอยางอ่ืนแทนเงิน หรือการซ้ือขายแลกเปล่ียนโดย ผานระบบเครดติ โดยการใชเ ชค็ ใชตั๋วแลกเงินหรอื บัตรเครดิตตางๆ ระบบเครดติ ชวยใน การแลกเปลยี่ นสนิ คา และบรกิ ารระหวา งผผู ลติ (Producers) หรอื หนว ยธรุ กจิ (Business) กบั ผูบ รโิ ภคหรือครัวเรือน (Households) เปนไปอยา งรวดเรว็

รายวิชาสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 167 3. สถาบนั ทเ่ี กย่ี วของกับการแลกเปล่ยี น ไดแ ก 3บทที่ 1) คนกลาง (Middleman) หมายถึง ผทู าํ หนาท่เี ปนสอ่ื กลางระหวา งผูผลติ เศรษฐศาสต ร กับผูบริโภค เชน พอคาขายปลีก พอคาเรตางๆ คนกลางมีประโยชนทําใหผูบริโภคไดใช สินคาและบริการตามความตองการแตถาคนกลางเปนผูเอาเปรียบผูบริโภคมากเกินไปจะ ทาํ ใหประชาชนเดอื ดรอน 2) ธนาคาร (Bank) คอื สถาบนั การเงนิ ทใ่ี หค วามสะดวกในดา นการแลกเปลยี่ น ธนาคารทาํ หนา ทีเ่ ปน ตวั กลางระหวางผูออมและผูลงทนุ 3) ตลาด (Market) ในทางเศรษฐศาสตร หมายถงึ กระบวนการแลกเปลย่ี น ซื้อขายสินคาและบริการ มิไดหมายถึงสถานท่ีทําการซื้อขายสินคาแตเปนสถานท่ีใดๆ ที่ สามารถตดิ ตอ ซือ้ ขายกนั ได อาจจะมหี ลายรปู แบบ เชน ตลาดขา ว ตลาดหนุ ตลาดโค กระบือ เปน ตน หนาที่สําคัญของตลาด ไดแก 3.1) การจดั หาสนิ คา (Assembling) คอื จดั หา รวบรวมสนิ คา และบรกิ าร มาไวเ พื่อจําหนายแกผูตองการซอ้ื 3.2) การเก็บรักษาสินคา (Storage) คือ การเก็บรักษาสินคาท่ีรอการ จาํ หนายแกผ ูตอ งการซือ้ หรือเกบ็ เพ่ือการเก็งกาํ ไรของผขู าย เชน โกดงั หรือไซโลเก็บพืช ผลตางๆ เปนตน 3.3) การขายสินคาและบริการ (Selling) ทําหนา ท่ีขายสนิ คาและบรกิ าร แกผ ตู อ งการซ้อื เชน รานคา ปลกี หา งสรรพสนิ คา ตลาดสด เปนตน 3.4) การกําหนดมาตรฐานของสินคา (Standardization) ทําหนาที่ กําหนดมาตรฐานของสนิ คาท่นี าํ มาเสนอขายในดา นของนา้ํ หนัก ปริมาณและคณุ ภาพ เพื่อ ใหผซู ้ือเกิดความไววางใจในสินคา ทน่ี าํ มาเสนอขาย 3.5) การขนสง (Transportation) ระบบการขนสง ทาํ หนา ทส่ี ง สนิ คา ทนี่ าํ มาแลกเปลยี่ นซอ้ื ขายกนั การขนสง มคี วามสาํ คญั เพราะทกุ ขน้ั ตอนของการผลติ จะตอ งผา น กระบวนการขนสงทง้ั สนิ้ 3.6) การยอมรับการเส่ยี งภยั (Assumtion of Risk) ตลาดจะยอมรับ การเส่ยี งภัยตา งๆ อันอาจเกดิ ขน้ึ จากการแลกเปล่ยี นซอื้ ขาย เชน ความเส่ียงภัยเกย่ี วกับ สนิ คา สญู หายหรือเส่ือมภาพ เชน สนิ คาการเกษตร ยารักษาโรค อาหาร เปน ตน 3.7) การเงิน (Financing) ตลาดทําหนาที่รับจายเงินในขั้นตอนตางๆ ของการซอ้ื ขายตลอดจนการจดั หาทนุ หมนุ เวยี นและสนิ เชอื่ ตา งๆ เพอ่ื การดาํ เนนิ ธรุ กจิ เกย่ี ว กับการแลกเปล่ยี นซ้ือขาย ในการแขงขัน ตลาดแบง ออกเปน 2 ลักษณะคอื 1) ตลาดทม่ี กี ารแขงขนั ทีไ่ มส มบูรณ (Imperfect Competitive Market) เปนตลาดที่พบอยูโดยท่ัวไปในประเทศตางๆ ลักษณะสําคัญของตลาดชนิดนี้คือมักมีการ จาํ กดั อยา งใดอยา งหนงึ่ ทท่ี าํ ใหผ ขู ายหรอื ผซู อื้ มอี ทิ ธพิ ลตอ การกาํ หนดราคาหรอื ปรมิ าณได

เศรษฐศาสตร 168 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม ตลาดทม่ี ีการแขง ขนั ไมส มบูรณแ บงออกเปน 3 แบบ ไดแ ก 1.1) ตลาดก่งึ แขง ขนั กง่ึ ผกู ขาด (Monopolistic Comtetition) คอื ตลาดท่ีมีผูซื้อขายจํานวนมาก สินคาของผูขายแตละรายจะมีความแตกตางกันเพียงเล็ก นอยแตไมเหมือนกันทุกประการ สามารถที่จะทดแทนกันไดแตไมอาจทดแทนกันไดอยาง สมบูรณ สวนใหญจะแตกตางกันในเรื่องของการบรรจุหีบหอและเครื่องหมายการคา ใน ตลาดชนดิ นผี้ ขู ายสามารถกาํ หนดราคาไดบ า งแตต อ งคาํ นงึ ถงึ ราคาของผขู ายรายอน่ื ๆ ดว ย ตวั อยา งของสนิ คาในตลาด กง่ึ แขงขนั กึ่งผูกขาด ไดแก ผงซกั ฟอก ยาสีฟน สบู ยาสระ ผม แปง เดก็ เปนตน 1.2) ตลาดผูข ายนอ ยราย (Oligopoly) หมายถึง ตลาดทมี่ ีผขู ายไมม าก นกั ผูขายแตละรายจะมีสว นแบง ในตลาด (Market Share) มาก สินคา ทซี่ อื้ ขายในตลาด 3บทที่ จะมลี กั ษณะคลา ยคลงึ กนั แตไ มเ หมอื นกนั ทกุ ประการ เชน การผลติ นา้ํ อดั ลมในประเทศไทย มีเพียงไมกี่ราย ถาหากผูผลิตนํ้าอัดลมรายใดลดราคาสินคาลงจะทําใหปริมาณขายของผู ผลิตรายนน้ั เพิม่ ข้ึนและปรมิ าณขายของผอู น่ื จะลดลง แตอ ยางไรก็ตามผขู ายในตลาดชนิด นมี้ กั จะไมล ดราคาแขง ขนั กนั เพราะการลดราคาเพอื่ แยง ลกู คา ซงึ่ กนั และกนั ในทส่ี ดุ จะทาํ ให รายไดของผูขายทุกรายลดลงโดยที่ไมไดลูกคาเพ่ิม ดังนั้น ผูขายมักจะแขงขันกันดวยวิธี อน่ื เชน การโฆษณา และการปรบั ปรงุ คณุ ภาพของสนิ คา เปน ตน ตวั อยา งสินคา ในตลาด ชนิดน้ี ไดแก นา้ํ ดมื่ น้ําอัดลม นาํ้ มัน รถยนต เปน ตน 1.3) ตลาดผกู ขาด (Monopoly) หมายถงึ ตลาดทม่ี ผี ขู ายเพยี งรายเดยี ว สนิ คา ทซี่ อื้ ขายในตลาดมคี ณุ ลกั ษณะพเิ ศษไมเ หมอื นใคร ไมส ามารถหาสนิ คา อนื่ มาทดแทน ไดอ ยา งใกลเ คยี ง เปนการผูกขาดตามนโยบายของรัฐบาล เชน การผลิตบุหร่ี การออก สลากกนิ แบง เปน ตน หรอื ขนาดของกจิ การตอ งใหญม าก เชน กจิ การรถไฟใตด นิ โทรศพั ท การผลติ ไฟฟา เปนตน 2) ตลาดแขงขันสมบูรณ (Prefect Competitive Market) มลี กั ษณะดงั นี้ 2.1) ผูขายและผูซ้ือมีจํานวนมากราย การซื้อขายของแตละรายเปน ปรมิ าณสนิ คาเพียงเลก็ นอ ยเมอื่ เทียบกับจํานวนซือ้ ขายทง้ั ตลาด ดงั นน้ั การเปลยี่ นแปลง ปริมาณซื้อขายของผูซื้อและผูขายรายใดรายหนึ่งจึงไมทําใหอุปสงคของตลาดเปลี่ยนแปลง และไมส งผลกระทบตอราคาตลาด 2.2) สนิ คา มคี ณุ ลกั ษณะและคณุ ภาพใกลเ คยี งกนั มาก (Homogeneous Product) หมายความวา ในสายตาของผูซอื้ เห็นวา สนิ คา ดงั กลา วของผูข ายแตละรายไม แตกตา งกนั จะซอ้ื จากผูขายรายใดก็ไดตราบเทาท่ขี ายในราคาตลาด 2.3) ผูผลิตรายใหมสามารถเขาสูตลาดไดโดยงาย ขณะเดียวกันการเลิก กจิ การกส็ ามารถทาํ ไดโ ดยไมม อี ปุ สรรคในการเขา และออกจากตลาด (Free Entry and Exit) กิจการใดท่ีมีกําไรสูงจะมีผูเขามาแขงขันมากเพ่ือจะไดมีสวนแบงในกําไรน้ัน แตกิจการใด ขาดทนุ ผปู ระกอบกิจการจะเลกิ ไปเพอื่ ไปประกอบกิจการอยางอืน่ ทท่ี าํ กาํ ไรมากกวา

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 169 2.4) ปจ จยั การผลติ สามารถเคลอ่ื นยา ยไดโ ดยสมบรู ณ (Perfect Mobility 3บทท่ี of factors of Production) ปจ จยั การผลติ สามารถเคลอ่ื นยา ยจากกจิ กรรมทม่ี ผี ลตอบแทน ตาํ่ ไปยงั กจิ กรรมทม่ี ผี ลตอบแทนสงู กวา ทนั ทโี ดยไมต อ งเสยี ตน ทนุ การเคลอ่ื นยา ยแตอ ยา งใด เศรษฐศาสต ร 2.5) ผูซื้อผขู ายมขี อ มูลขา วสารสมบรู ณ (Perfect information หรอื Perfect Knowledge) กลา วคอื ผซู อื้ ผขู ายสามารถเขา ถงึ ขอ มลู เกย่ี วกบั ตลาด เชน ราคา สินคา ในแตล ะพื้นทีไ่ ดส ะดวกและเสมอภาคกนั ในตลาดแขง ขนั สมบรู ณด งั กลา ว การจดั สรรและการใชท รพั ยากรทม่ี อี ยอู ยา งจาํ กดั รวมท้ังสนิ คา และบริการตางๆ จะถูกกาํ หนดโดยกลไกตลาด (Price Mechanism) หรอื โดยปฏสิ มั พนั ธข องผซู อื้ และผขู ายจาํ นวนมากในตลาดซง่ึ ในทางเศรษฐศาสตร กค็ อื อปุ สงค และอปุ ทานตลาดนน่ั เอง การซอ้ื ขายเปน ไปตามความพอใจของผซู อื้ และผขู ายอยา งแทจ รงิ 4. การแทรกแซงราคาในตลาดของรฐั บาล ราคาสินคาและบริการในตลาดบางคร้ังอาจถูกแทรกแซงโดยรัฐบาลก็ไดซึ่งสามารถ ทําไดใ น 3 กรณี คือ 1) การกําหนดราคาสูงสุด (Fixing of Maximum Prices) ในกรณีที่รัฐบาล เหน็ วา สนิ คา ทจ่ี าํ หนา ยจาํ เปน ตอ การครองชพี ในทอ งตลาดเกดิ การขาดแคลนและราคาสนิ คา สงู ขนึ้ ทาํ ใหป ระชาชนไดร บั ความเดอื ดรอ น รฐั บาลจะเขา ควบคมุ โดยกาํ หนดราคาสงู สดุ ของ สินคานนั้ ๆ เชน เน้อื สตั ว นา้ํ ตาลทราย เปน ตน 2) การประกันราคาขน้ั ตาํ่ (Guaranteed Minimum Prices) ในกรณที ่ี รฐั บาลเหน็ วา ราคาสนิ คา บางอยา งลดตา่ํ ลงจนอาจเกดิ ผลเสยี แกผ ผู ลติ เชน สนิ คา การเกษตร บางประเภทรัฐบาลจะเขา ควบคุม โดยกาํ หนดราคาขัน้ ตํา่ หรอื ถาไมม พี อ คา รบั ซอ้ื รัฐบาลจะ เขา รับซอ้ื เอง 3) การพยุงราคา (Price Support) เปน มาตรการที่รัฐบาลชวยใหร าคาสินคา ชนิดใดชนิดหนึ่งเพ่ิมสูงขึ้นเพื่อประโยชนของผูผลิตหรือผูขาย อาจกระทําโดยการเขา แทรกแซงตลาดของรฐั บาลดว ยการเขา แขง ขนั การซอ้ื กบั เอกชนเพอ่ื ขยายอปุ สงคห รอื การให เงินอดุ หนนุ แกผูผลิตทล่ี ดการผลติ ลงเพื่อลดอปุ ทานใหมนี อ ยลงกไ็ ด กลา วไดว า การแลกเปลยี่ นเปน กจิ กรรมทส่ี าํ คญั ตอ การกระจายสนิ คา และรายไดไ ป ยังบุคคลตางๆ ซึ่งตองอาศัยสถาบันท่ีเก่ียวของกับการแลกเปล่ียนหลายสถาบัน เชน คนกลาง ตลาด ธนาคาร และสถาบนั อื่นๆ อีกมากมาย รวมท้ังบทบาทของรฐั บาลท่จี ะ เขามาอํานวยความสะดวกใหการแลกเปลย่ี นดาํ เนนิ ไปดวยดี สรปุ การแลกเปลย่ี น หมายถงึ การเปลีย่ นความเปนเจาของในสินคา และบริการโดยการ โอนหรอื ยา ยกรรมสทิ ธหิ์ รอื ความเปน เจา ของระหวา งบคุ คลหรอื ธรุ กจิ การแลกเปลยี่ น มีวิวัฒนาการมายาวนานตั้งแตการแลกสิ่งของกับส่ิงของจนถึงปจจุบันที่ใชระบบเงิน และเครดติ และอาศัยสถาบันตางๆ เปนตวั กลางในการแลกเปลี่ยน

170 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม แบบฝกหัดทา ยบทเร่อื งท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ คาํ ส่ัง เมื่อผูเรียนศึกษาเร่ือง กระบวนการทางเศรษฐกิจแลวใหทําแบบฝกหัดตอไปนี้ โดยเขยี นในสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู แบบฝกหัดที่ 1 ใหผูเรียนศึกษาวิเคราะหชื่อสินคา และประเภทของสินคาตามท่ีกําหนด แลว นาํ ช่อื ประเภทสนิ คา ใสท าย ช่ือสนิ คาใหสมั พันธ / สอดคลองกนั ก. สนิ คาไรราคา (Free Goods) ข. สนิ คา เศรษฐกจิ ทรพั ย (Economic Goods) ค. สนิ คา ไรราคา (Free Goods) 3บทที่ ง. สินคา สาธารณะ (Public Goods) เศรษฐศาสตร 1. น้าํ ทะเล ............................................................................... 2. ผลไม ............................................................................... 3. โทรศัพท ............................................................................... 4. รถยนต ............................................................................... 5. ขยะ ............................................................................... 7. ปลาทตู ัวเลก็ ............................................................................... 8. กองทพั แหงชาติ ............................................................................... 9. ขาวสารชนดิ 25% ............................................................................... 10. แสงแดด ............................................................................... แบบฝก หดั ท่ี 2 ใหผูเ รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. การผลติ หมายถึง อะไร …………………………………………………………… ……………………………..……………………………………………………………… 2. ปจ จยั การผลติ ไดแ กอ ะไรบา ง ……………………………………………………… …………………………………..………………………………………………………… 3. ลาํ ดับข้ันการผลิตมกี ล่ี ําดับข้ัน ไดแกอ ะไรบาง ………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………...... 4. สนิ คา มกี ่ปี ระเภท อะไรบา ง ................................................................................ ....................................................................................................................................

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 171 5. สง่ิ กาํ หนดการผลิตไดแกอ ะไรบา ง 3บทที่ …………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………...... เศรษฐศาสต ร 6. ประเภทของหนวยธุรกิจไดแ กอ ะไรบาง …………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………... 7. การแบงสรร หมายถงึ อะไร …………………………………………………………………………………………..… …………………………………………………………………………………………...... 8. การแบงสรรมีก่ปี ระเภท อะไรบาง …………………………………………………………………………………………...... ……………………………………………………………………………………………… 9. ความแตกตางในดา นรายไดของคนเราเกิดจากอะไร …………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………… แบบฝก หัดที่ 3 ใหผเู รยี นอา นขอ ความทีก่ าํ หนดใหแ ลว ตอบคําถาม อปุ สงค (Demand) หมายถงึ ความตอ งการของผบู รโิ ภคในการทจี่ ะบรโิ ภคสนิ คา อยางใด อยา งหน่งึ ดว ยเงินทเ่ี ขามอี ยู ณ ราคา และเวลาใดเวลาหนงึ่ เปน ความตอ งการท่ี ผูซอ้ื ตองการและเตม็ ใจที่จะซอื้ สินคา อุปทาน (Supply) หมายถงึ ปริมาณการเสนอขายสินคา ณ ราคาหน่งึ ตามความ ตองการของผูซื้อเปนสภาพการตัดสินใจของผูขายวาจะขายสินคาจํานวนเทาใด ในราคา เทาใด ใหผ เู รยี นพจิ ารณาตารางแสดงอปุ สงค อปุ ทานของลาํ ไยในตลาดแหง หนงึ่ แลว ตอบ คําถาม ตารางราคาลําไย ราคา (บาท) ปริมาณซื้อ (Demand) ปริมาณจาย (Supply) (กก.) (กก.) 30 20 80 25 35 65 20 50 50 15 65 35 10 80 20

172 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม เศรษฐศาสตร คําถาม 1. ราคาสนิ คาจะสงู หรอื ต่าํ ขน้ึ อยกู ับ .................................................................................................................... 2. เพราะเหตุใดลําไยราคากโิ ลกรมั ละ 30 บาท ผซู ื้อจึงตองการซื้อนอย .................................................................................................................... 3. ณ ราคาเทา ใดทผ่ี ขู ายตอ งการขายลําไยนอ ยท่ีสดุ .................................................................................................................... 4. ลําไยราคา 20 บาท เรยี กวา .................................................................................................................... 5. ปริมาณลาํ ไย 50 กโิ ลกรมั เรยี กวา 3บทที่ .................................................................................................................... แบบฝก หดั ท่ี 4 ใหผ เู รยี นศกึ ษาวเิ คราะหป จ จยั การผลติ และผลตอบแทนตอ ไปนแ้ี ลว ตอบ คําถามผลตอบแทนของปจ จัยการผลิตแตละชนดิ ในการผลิตสินคา จะตองอาศัยปจ จยั การผลิต 4 อยาง คอื 1. ทด่ี นิ (Land) หมายถงึ ทรพั ยากรธรรมชาตทิ กุ ชนดิ มผี ลตอบแทนเปน คา เชา 2. แรงงาน (Labour) หมายถึง ความมานะพยายามของมนุษยท งั้ ทางกายและ ทางสมอง มีผลตอบแทนเปน คา จาง 3. ทุน (Capital) หมายถงึ สนิ คาประเภททุน หรือเครอ่ื งมือในการผลิต มผี ล ตอบแทนเปน ดอกเบ้ยี 4. ผูประกอบการ (Entrepreneurship) หมายถึง การจัดต้ังองคการเพื่อผลิต สินคา และบริการ ใหผ เู รียนแสดงผลตอบแทนของปจจยั การผลติ แตล ะชนิด ปจจยั การผลติ ผลตอบแทนของปจจยั การผลิต 1. ทีด่ ิน 2. แรงงาน 3. ทุน 4. ผูประกอบการ

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 173 เรอื่ งท่ี 4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ 3บทที่ 1. ความหมายและความสําคญั ของการพฒั นาเศรษฐกจิ เศรษฐศาสต ร การพฒั นาเศรษฐกจิ หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงโครงสรา งทางสงั คม การเมอื ง และเศรษฐกจิ ใหอ ยใู นภาวะทเ่ี หมาะสม เพอ่ื ทาํ ใหร ายไดท แี่ ทจ รงิ เฉลยี่ ตอ บคุ คลเพม่ิ ขนึ้ อยา ง ตอเน่ือง อนั เปนผลทาํ ใหประชากรของประเทศมมี าตรฐานการครองชีพสงู ขึน้ การพัฒนาเศรษฐกิจของแตละประเทศ จะมีจุดมุงหมายท่ีแตกตางกัน ทั้งน้ี เนื่องจากทรัพยากรการผลิต สภาพภมู ิศาสตร ตลอดจนพืน้ ฐานทางวัฒนธรรมไมเ หมอื น กนั แตอ ยา งไรกต็ าม ในแตล ะประเทศ ยงั คงมจี ดุ มงุ หมายทเี่ หมอื นกนั ประการหนงึ่ คอื มงุ ใหเกดิ ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยา งมเี สถยี รภาพ เพอื่ ใหประชากรของประเทศอยดู ี กินดีนนั่ เอง การพฒั นาเศรษฐกจิ หากทาํ ไดผ ลดยี อ มสง ผลใหป ระเทศมฐี านะทางเศรษฐกจิ ดขี ึน้ ประชาชนมคี วามเปนอยูสขุ สภาพในทางตรงกนั ขา ม หากการพัฒนาเศรษฐกจิ ไมไ ด ผลหรอื ไมไดรบั การเอาใจใสอยางจริงจงั ฐานะทางเศรษฐกจิ ของประเทศก็จะทรดุ โทรมลง และประชาชนมคี วาม เปนอยูแ รน แคน มากขน้ึ สําหรับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นไดมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง และใหค วามสาํ คญั มาก โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ โดยจะเหน็ ไดจ าก การกาํ หนดให มหี นว ยงานรบั ผดิ ชอบในการจดั ทาํ แผน คอื สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นา เศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ซงึ่ ในปจ จบุ นั ประเทศไทยมแี ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตทิ ัง้ หมด 10 ฉบับ 2. ปจจัยท่ีเกีย่ วของกบั การพัฒนาเศรษฐกจิ ปจ จยั ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การพฒั นาเศรษฐกจิ มี 4 ประการ คอื ปจ จยั ทางเศรษฐกจิ ปจ จยั ทางการเมอื ง ปจ จยั ทางสงั คม และปจ จยั ทางเทคโนโลยี ซง่ึ ปจ จยั ดงั กลา วมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 2.1 ปจ จยั ทางเศรษฐกจิ ปจ จยั ทางเศรษฐกจิ ทมี่ ผี ลใหเ กดิ การเพมิ่ ขน้ึ ของราย ไดต อ บคุ คล มี 4 อยาง คอื 1) การสะสมทุน การสะสมทนุ จะเกิดขน้ึ ไดในกรณที มี่ รี ายไดป ระชาชาติ สงู ขึน้ ซงึ่ ทําใหเกิดเงนิ ออมและเงนิ ลงทนุ เพิม่ ขนึ้ ซง่ึ เมอ่ื มีการสะสมทนุ ขนึ้ แลว ก็จะมผี ล ตอ การเพิม่ การผลิตและรายไดตอบคุ คลตามมา 2) การเพิ่มจํานวนประชากร ในปจ จบุ นั น้นั การเพิม่ จาํ นวนประชากรกอ ใหเ กิดผลเสยี ทางเศรษฐกจิ อยา งมาก โดยเฉพาะอยา งยิง่ การผลติ จะมีประสทิ ธภิ าพตํา่ ลง เนอ่ื งจากมีการใชท รพั ยากรธรรมชาติกนั มากขึ้น ซง่ึ มีผลทําใหทรัพยากรเสื่อมคณุ ภาพและ ทรัพยากรบางอยาง ก็ไมสามารถงอกเงยมาทดแทนได นอกจากนี้เม่ือมีประชากรเพิ่มข้ึน ทาํ ใหรัฐบาลตอ งเสยี คาใชจ า ย ดา นสวสั ดิการเพ่มิ ข้นึ เชน คาใชจา ยดา นการจัดการศกึ ษา

เศรษฐศาสตร 174 หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม การสาธารณสขุ และการสาธารณูปโภคเปน ตน นอกจากรัฐบาลจะตองเสยี คาใชจายดังกลา ว แลว ยังมปี ญ หาอยา งอ่นื ตามมาอกี เชน ปญหาดา นการจราจร ปญ หาดานมลพษิ ฯลฯ 3) การคน พบทรพั ยากรใหมๆ ทาํ ใหเ กดิ โอกาสใหมๆ ในการผลติ รวมทง้ั มผี ลทาํ ใหม กี ารลงทนุ เพมิ่ ขน้ึ และสง ผลในการเพมิ่ ขนึ้ ของผลผลติ เพอื่ ใหป ระชาชนไดบ รโิ ภค มากขน้ึ 4) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีใน ปจจุบัน จะเหน็ ไดว ามกี ารนาํ เคร่ืองจักรมาใชในการผลติ ดังนั้นจึงทําใหม ีความสามารถใน การผลติ ไดมาก ปริมาณผลผลิตกเ็ พิม่ ขนึ้ และเปนไปอยา งสมาํ่ เสมอ ประการที่สําคัญชวย ลดตนทนุ ในการผลติ ไดเ ปนจาํ นวนมากอกี ดวย 2.2 ปจ จัยทางการเมอื ง 3บทที่ ปจ จยั ทางการเมอื งนบั วา มผี ลตอ การพฒั นาเศรษฐกจิ มากดว ยเชน กนั โดย เฉพาะ ในดา นนโยบายและความมนั่ คงการปกครอง การเปลย่ี นแปลงรฐั บาลบอ ยๆ หรอื การ ยดึ อาํ นาจ โดยรฐั บาลเผดจ็ การ จะมสี ว นทาํ ใหเ กดิ ปญ หาดา นการผลติ ตา งชาตไิ มส ามารถ เขา ไปลงทนุ ดา นการผลติ ได นอกจากนอี้ งคก รธรุ กจิ ภายในประเทศเองกอ็ าจตอ งหยดุ ซะงกั ตามไปดวย 2.3 ปจ จยั ทางสงั คม ปจ จยั ทางสังคมมีผลตอ การพัฒนาเศรษฐกิจไมแพป จ จยั อ่ืนๆ โดยเฉพาะ ประเทศ ทก่ี าํ ลงั พฒั นา ซง่ึ พบวา สว นใหญป ระชาชนมกั ขาดความกระตอื รอื รน ในการทาํ งาน และมีนิสัยใช จา ยเงินฟุม เฟอ ยการเก็บออมจึงมีนอย และเมอื่ มรี ายไดเพม่ิ มกั ใชจ ายในการ ซือ้ เครอ่ื งอุปโภค บรโิ ภคท่อี ํานวยความสะดวกสบายมากกวา ท่จี ะไปลงทนุ ในการผลติ เพื่อ ใหรายไดงอกเงยข้ึน 2.4 ปจ จัยดา นเทคโนโลยี ในประเทศอตุ สาหกรรม การใชเ ทคโนโลยชี น้ั สงู ชวยทําใหเพมิ่ ผลผลิตได มากขึ้น ในขณะเดียวกันก็สามรถประหยัดการใชแรงงาน ซ่ึงมีอยูอยางจํากัด โดยการใช เครอ่ื งจกั รทนุ แรงตา งๆ แตใ นประเทศกาํ ลงั พฒั นาการใชเ ทคโนโลยมี ขี อบเขตจาํ กดั เนอื่ งจาก ยงั ขาดผมู คี วามรู ความสามารถดา นการใชเ ทคโนโลยี ขาดเงนิ ทนุ ทจี่ ะสนบั สนนุ การคน ควา วจิ ยั ทางดา นเทคโนโลยใี หมๆ และทส่ี าํ คญั การใชเ ครอ่ื งจกั รทนุ แรงในประเทศทก่ี าํ ลงั พฒั นา จะกอใหเกดิ ปญ หาดา น แรงงานสวนเกิน แทนทจี่ ะทาํ ใหการวางงานนอยลง 3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย ประเทศไทยไดม กี ารจดั ทาํ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตติ งั้ แตม ี พ.ศ. 2504 โดยเร่ิมตงั้ แตฉบับท่ี 1 จนถึงปจ จบุ นั คอื ฉบับที่ 10 มกี ารกาํ หนดวาระของแผน ฯ ดงั น้ี แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2504 – 2509 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ. 2510 – 2514

รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 175 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2515 – 2519 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2520 – 2524 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 5 พ.ศ. 2525 – 2529 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2530 – 2534 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 7 พ.ศ. 2535 – 2539 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ. 2540 – 2544 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 9 พ.ศ. 2545 – 2549 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 10 พ.ศ. 2550 – 2554 3. สาระสาํ คญั และผลการใชพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ แผนฯ สาระสําคัญ ผลจากการใชแผนฯ 3บทท่ี ฉบบั ท่ี 1 จุดมุงหมาย สงเสริมอุตสาหกรรม 1. G.D.P. เพมิ่ ขึ้น 8 % ตอไป เศรษฐศาสต ร พ.ศ. ทดแทนการนาํ เขา 2. การกระจายรายไดไมเปน 2504-2509 สาระสาํ คญั เนน การลงทุนเศรษฐกิจ ธรรม ขน้ั พื้นฐาน เชน เข่ือน ไฟฟา ประปา  เกดิ ปญ หาสาํ คญั ในชว งนคี้ อื ถนน และสาธารณปู การอนื่ ๆ ป ร ะ ช า ก ร เ พิ่ ม ข้ึ น อ ย า ง  นอกจากนยี้ งั มกี ารพฒั นาการศกึ ษา รวดเรว็ ระดับอุดมศึกษาไปสูภูมิภาคเปน ครงั้ แรก (ตง้ั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม, ขอนแกน )  อปุ สรรค ขาดบุคลากรทางวชิ าการ และการบริการ ฉบับท่ี 2 จุดมุงหมาย พัฒนาสังคมควบคูกับ 1. อั ต ร า ก า ร ข ย า ย ตั ว ท า ง การ พฒั นาเศรษฐกจิ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สู ง แ ต ต่ํ า ก ว า พ.ศ.  แผนฉบับน้ีจึงเร่ิมใชช่ือวา “แผน เปาหมาย 2510- 2514 2. การกระจายรายไดไมเปน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาต”ิ ธรรม  สง เสรมิ การผลิตเพ่อื การสงออก

176 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม แผนฯ สาระสําคญั ผลจากการใชแ ผนฯ ฉบบั ท่ี 3 สาระสาํ คญั เนน การพฒั นาสงั คม โดย 1. G.D.P. เพ่ิมขึ้น 6.2% ลดชองวางของการกระจายรายได ตอปซ่ึงต่ํากวา เปาหมาย พ.ศ.  นอกจากนยี้ งั ไดเ รมิ่ โยบายประชากร ท้ั ง น้ี เ พ ร า ะ ส ภ า พ ดิ น ฟ า 2515- 2519 อากาศแปรปรวนประกอบ และการวางแผนครอบครัว กั บ ก า ร ผั น ผ ว น ข อ ง เศรษฐกิจโลก (โดยเฉพาะ การขึ้นราคา น้าํ มัน) 2. อุตสาหกรรม ทําใหไทย ตองนําเขาสินคาทุนมากข้ึน 3บทท่ี จนตองประสบภาวะขาด ดุลการคา และดุลชําระเงิน เศรษฐศาสตร อยา งมาก ฉบับท่ี 4 จดุ มงุ หมาย เนน การกระจายรายได 1. ผลการพัฒนาสูงกวาเปา และสรา งความเปนธรรมทางสงั คม หมายเล็กนอ ย พ.ศ.  มีการปรับปรุงอุตสาหกรรมเพ่ือ 2. ยังคงมีปญหา 2520 - 2524 ข ย า ย ก า ร ส ง อ อ ก แ ล ะ พั ฒ น า  ตองพึ่งพาการนําเขา ทรพั ยากรธรรมชาติ (โดยเฉพาะนาํ้ มนั  ขาดดุลการคา และกา ซธรรมชาต)ิ มาใชป ระโยชน  ความยากจนในชนบท  นอกจากนมี้ กี ารพฒั นาเมอื งหลกั ใน  การพฒั นาสังคม แตล ะภาคอยา งชัดเจน  ความเส่ือมโทรมของส่ิง แวดลอ ม ฉบับที่ 5 จุดมุงหมาย แกปญหาการกระจาย 1. G. D.P. เพม่ิ ขน้ึ 4.4% ตอ รายได และความยากจนในชนบท โดย ปซ งึ่ ตาํ่ กวาเปาหมาย พ.ศ. ใหชาวชนบทมีสวนรวมในการแก 2. ประสบความสําเร็จในการ 2525 - 2529 ปญ หาดว ยตวั เองมากที่สุด พัฒนาชนบทท่ียากจนและ  นอกจากนย้ี งั เนน การพฒั นาเมอื งใน ก า ร ล ด อั ต ร า ก า ร เ พิ่ ม พืน้ ทช่ี ายฝง ตะวันออก ประชากร

รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย>> 177 แผนฯ สาระสําคญั ผลจากการใชแ ผนฯ ฉบบั ที่ 6 จุดมุงหมาย เนนการขยายตัวทาง 1. เศรษฐกจิ ขยายตวั สงู และ เศรษฐกจิ และพฒั นาคณุ ภาพประชากร เปด กวา งเขา สรู ะดับ พ.ศ. สาระสําคัญ นานาชาตมิ ากข้นึ 2530 - 2534 1. พฒั นาคณุ ภาพประชากร วทิ ยาศาสตร 2. โครงสรางเศรษฐกิจเริ่มเขาสู เทคโนโลยี และทรพั ยากรธรรมชาติ ภาคอตุ สาหกรรม 2. ปรับปรุงคุณภาพสินคาไทยเพ่ือ 3. ฐานะการเงินการคลังของ แขง ขันในตลาดโลก ประเทศมเี สถยี รภาพ 3. กระจายรายไดสภู ูมภิ าคและชนบท (ดลุ การคลงั เกินดุลคร้ังแรก  แผนฉบับนี้หันมาเพ่ิมบทบาท ในป 2531) ของภาคเอกชนในการพัฒนา 4. ยังคงมีปญหา 3บทที่ ป ร ะ เ ท ศ ม า ก ขึ้ น อุ ป ส ร ร ค  การกระจายรายได ขาดแคลนบริการข้ันพ้ืนฐาน  ขาดบริการข้ันพื้นฐาน เศรษฐศาสต ร (เชน ถนน ไฟฟา ทาเรือ และเงนิ ออม สนามบิน) และแรงงานฝม อื  ปญ หาสังคมและความ เสือ่ มโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติ  ระบบราชการไมดีพอ ฉบับท่ี 7 จุดมุงหมาย เนน “ปริมาณทาง การเปดเสรีทางการเงินทําให เศรษฐกิจ” “คุณภาพประชากร” และ ฟองสบูแตก เปนตนเหตุของ พ.ศ. “ความเปน ธรรมทางสงั คม” ใหส มดลุ กนั วกิ ฤตเิ ศรษฐกจิ ไทย (ตม ยาํ กงุ ) 2535 - 2539 สาระสาํ คญั เนน การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ โดย  มุงการขยายตัวและเสถียรภาพทาง เศรษฐกจิ  พัฒนากรุงเทพฯ และปริมณฑลให เชอ่ื มโยงกบั พนื้ ทช่ี ายฝง ทะเลตะวนั ออก

178 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม แผนฯ สาระสําคัญ ผลจากการใชแ ผนฯ ฉบบั ท่ี 8 จุดมุงหมาย เนน “การพัฒนา เกิดวิกฤตเศรษฐกิจไทยใน ทรพั ยากร เดือนกรกฎาคม 2540 ทําให พ.ศ.  มนษุ ย และคณุ ภาพชวี ติ ของคนไทย เกดิ ภาวะชะงกั งนั ทางเศรษฐกจิ 2540 - 2544 และรัฐตองกูเงินจาก IMF มา เปนสาํ คัญ  การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ สงิ่ แวดลอ ม พยงุ ฐานะทางเศรษฐกจิ และทรพั ยากรธรรมชาติ สาํ หรบั การ พฒั นาอยา งยัง่ ยนื และยาวนาน  การกระจายความเจริญสูสวน ภูมิภาคโดยใหความสําคัญแกการ 3บทท่ี พัฒนากลุมคนในชนบท และ กระจายอาํ นาจบริหารสทู อ งถิน่ เศรษฐศาสตร  กําหนดเขตเศรษฐกิจอยางจริงจัง และชดั เจนโดยรฐั เขา ไปดแู ลใหก าร สนบั สนนุ การปลกู พชื ตามทกี่ าํ หนด ให ฉบบั ที่ 9 จุดมุงหมาย เนน พัฒนาคนเปน ศูนยกลางปรับโครงสรางการพัฒนา พ.ศ. ประเทศ 2545 - 2549  ใชความคิดเห็นประชาชนทั้ง ประเทศ มากําหนดกรอบและ ทิศทางของแผน พฒั นาฯ  ใชแ นวพระราชดาํ ริ “เศรษฐกจิ พอ เพียง” เปนวิสยั ทัศนของแผน  การพฒั นาทยี่ งั่ ยนื และความอยดู มี ี สขุ ของคนไทย  รากฐานการพัฒนาประเทศท่ี เขมแขง็  กระจายผลประโยชน  แกป ญหาความยากจน

รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 179 แผนฯ สาระสาํ คญั ผลจากการใชแผนฯ ฉบบั ที่ 10 จุดมุงหมาย เนน “สังคมอยูเย็น เปนสุขรวมกัน” ภายใตแนวปฏิบัติ พ.ศ. ของ “ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง” 2550 - 2554  การพัฒนาแบบบูรณาการเปนองค รวมท่ีมี “คนเปนศูนยกลางการ พฒั นา”  การพัฒนาท่ียั่งยืน การพัฒนาคน และ เทคโนโลยี 4. วเิ คราะหส าระสาํ คญั จากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 10 3บทท่ี จากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 10 ไดส รปุ สาระสาํ คญั เกย่ี ว เศรษฐศาสต ร กับสถานะดานเศรษฐกิจของประเทศไว คือ ประเทศไทยมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง อตั ราเฉลยี่ 5.7 ตอ ป ชวงป 2545- 2548 และจัดอยใู นกลุม ประเทศท่ีมรี ายไดปานกลาง โดยมขี นาดเศรษฐกจิ ใหญเ ปน อนั ดบั ท่ี 20 จาก จาํ นวน 192 ประเทศของโลก มบี ทบาท ทางการคาระหวางประเทศ และรักษาสวนแบงการตลาดไวไดในขณะท่ีการแขงขันสูงข้ึน ตลอดถึงการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานความรขู องประเทศไทยปรบั ตวั สูงข้นึ โครงสรา งการผลติ มีจุดแข็งคือมีฐานการผลิตท่ีหลากหลาย ชวยลดความเส่ียงจากภาวะผันผวนของวัฎจักร เศรษฐกจิ สามารถเชอ่ื มโยงการผลติ เพอื่ สรา งมลู คา เพมิ่ ไดม ากขน้ึ แตเ ศรษฐกจิ ไทยมจี ดุ ออ น ในเชิงโครงสรางทีต่ องพงึ พิงการนาํ เขา วัตถุดิบ ชิ้นสวน พลงั งาน เงนิ ทุนและเทคโนโลยี ในสดั สว นทส่ี งู การผลติ อาศยั ฐานทรพั ยากรมากกวา องคค วามรู มกี ารใชท รพั ยากรเพอ่ื การ ผลิตและบริโภคอยา งสิน้ เปลือง ทาํ ใหเกดิ ปญ หาสภาพแวดลอมและผลกระทบในดา นสังคม ตามมา โดยไมไดมีการสรางภูมิคุมกันอยางเหมาะสม ภาคขนสงมีสัดสวนการใชพลังงาน เชงิ พานิชยส ูงถงึ รอยละ 38 โครงสรางพ้ืนฐานดา นเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือสารรวมถงึ น้ําเพื่อการบริโภคยังไมกระจายไปสูพื้นท่ีชนบทอยางเพียงพอและท่ัวถึง โครงสรางพื้นฐาน ดา นวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมยงั อยใู นระดบั ตาํ่ และเปน รองของประเทศทเ่ี ปน คแู ขง ทางการคา ประเทศไทยยังมีจุดแข็งอยูที่มีเสถียรภาพเศรษฐกิจในระดับที่ดี จากการดําเนิน นโยบายเพอ่ื ฟน ฟเู สถียรภาพเศรษฐกจิ ของประเทศและวิกฤตเศรษฐกิจ อยา งไรก็ตามราคา นา้ํ มนั ทเี่ พม่ิ สงู ขน้ึ และตอ เนอ่ื งถงึ ปจ จบุ นั สง ผลใหด ลุ การคา ดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั ขาดดลุ เพมิ่ ขนึ้ สะทอ นถงึ ปญ หาความออ นแอในเชงิ โครงสรา งทพี่ ง่ึ พงิ ภายนอกมากเกนิ ไป ประเทศไทย ยังมีการออมตํ่ากวาการลงทุน จึงตองพ่ึงเงินทุนจากตางประเทศทําใหมีความเสี่ยงจากกา ขาดดลุ บญั ชเี ดนิ สะพดั และจากการเคลอื่ นยา ยเงนิ ทนุ ระหวา งประเทศ จงึ จาํ เปน ตอ งพฒั นา

เศรษฐศาสตร 180 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม ระบบภูมิคุมกัดทางเศรษฐกิจภายใตเง่ือนไขบริบทโลกท่ีมีการเคลื่อนยายอยางเสรีของคน องคค วามรู เทคโนโลยี เงนิ ทนุ สินคาและบรกิ าร การพัฒนาเพ่ือเสริมสรางความเปนธรรมทางเศรษฐกิจและการแกไขปญหาความ ยากจน มสี ว นชว ยใหค วามยากจนลดลงตามลาํ ดบั และการกระจายรายไดป รบั ตวั ดขี น้ึ อยา ง ชาๆ 5. แนวคดิ หลกั และทศิ ทางการปรบั ตัวของประเทศไทย จากสถานการณดังกลา ว จาํ เปน ตอ งปรบั ตวั หนั มาปรบั กระบวนทรรศนก ารพฒั นาในทศิ ทางทพ่ี ง่ึ ตนเองและภมู คิ มุ กนั มากขน้ึ โดยยดึ หลกั “ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน แนวทางปฏบิ ตั คิ วบคไู ปกบั การพฒั นา แบบบรู ณาการเปน องคร วมทย่ี ดึ “คนเปน ศนู ยก ลางการพฒั นา” เพอ่ื เกดิ ความเชอ่ื มโยงทงั้ ดา นตวั คน สงั คม เศรษฐกจิ สงิ่ แวดลอ มและการเมอื ง โดยมกี ารวเิ คราะหอ ยา งมี “เหตผุ ล” 3บทที่ และใชห ลกั “ความพอประมาณ” ใหเ กดิ ความสมดลุ ระหวา งความสามารถในการพง่ึ ตนเอง กับความสามารถในการแขง ขันในเวทีโลก ความสมดลุ ระหวางสงั คมชนบทกับสังคมเมอื ง โดยมีการเตรยี ม “ภูมคิ นุ กัน” ดวยการบรหิ ารจดั การความเสีย่ งใหเพยี งพอพรอมรับผลก ระทบจากการเปลีย่ นท้งั จากภายนอกและภายในประเทศ การขบั เคล่ือนการพัฒนาทกุ ข้นั ตอนตอ งใช “ความรอบร”ู ในการพฒั นาดา น ตางๆ ดว ยความรอบคอบ เปน ไปตามลําดบั ขน้ั ตอน รวมทัง้ เสริมสรางศลี ธรรมและสํานึก ใน “คณุ ธรรม” จริยธรรมในการปฏิบัตหิ นา ที่และการดาํ เนินชีวติ ดวยความเพียร อนั เปน ภมู คิ มุ กนั ในตวั ทดี่ ี พรอ มรบั การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ทง้ั ในระดบั ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ และสอดคลองกับวิถีชีวิตสังคมและสอดคลองกับเจตนารมณของ รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2550 เปา หมายดา นเศรษฐกจิ ปรับโครงสรา งเศรษฐกิจใหม คี วามสมดุลและยงั่ ยนื โดย ใหสดั สว นภาคเศรษฐกจิ ในประเทศตอภาคการคาระหวางประเทศเพม่ิ ขึน้ สัดสว นภาคการ ผลติ เกษตรและ อุตหกรรมเพมิ่ ขน้ึ กาํ หนดอัตราเงนิ เฟอ ลดการใชพลังงานโดยเฉพาะ ภาคขนสง สัดสวนผลผลิตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมตอผลิตภัณฑรวมใน ประเทศตํ่ากวา รอ ยละ 40 

รายวิชาสงั คมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 181 แบบฝก หัดทายบท เรอื่ งท่ี 4 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ 3บทที่ คาํ ส่งั เมื่อผูเรียนศึกษาเรื่อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติจบแลว เศรษฐศาสต ร ใหทําแบบฝกหัดตอ ไปน้ี โดยเขียนในสมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรู แบบฝกหดั ที่ 1 ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี โดยกาเครือ่ งหมาย  คําตอบท่ถี ูกทสี่ ดุ 1. การพัฒนาเศรษฐกจิ หมายถึงอะไร ก. การเพมิ่ ข้นึ ของรายได ข. การขายตวั ทางดานเศรษฐกิจและการคา ค. อัตราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจและรายไดเ พิ่มสงู ข้ึน ง. การเปล่ียนโครงสรางทางเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง นําไปสกู ารกระจาย รายไดทส่ี งู ขึ้น 2. ประเทศตา งๆ เร่ิมมีความต่ืนตัวในการพฒั นาเศรษฐกจิ เมื่อใด ก. กอนสงครามโลกครงั้ ที่ 1 ข. หลังสงครามโลกครงั้ ที่ 1 ค. กอนสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ง. หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 3 3. เหตผุ ลใดไมไดสง ผลกระตนุ ใหป ระเทศตางๆ หันมาพัฒนาเศรษฐกจิ ก. ภาวะเศรษฐกจิ ตกตาํ่ หลังสงครามโลกครั้งท่ี 2 ข. ภาวะสงครามเย็นหลงั สงครามโลกครงั้ ท่ี 2 ค. ความเจรญิ ทางการส่ือสารกอใหเกดิ การเลยี นแบบกัน ง. ประเทศเอกราชหลงั สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ตน่ื ตวั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ มากขน้ึ 4. สิง่ ท่ใี ชว ดั ระดบั การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตางๆ คอื อะไร ก. รายไดต อ บคุ คล ข. รายไดป ระชาชาติ ค. รายไดร วมจากสนิ คาและบริการ ง. ความกาวหนาทางเทคโนโลยี 5. ประเทศ A มรี ายไดแ ทจ ริงตอ บคุ คล 500,000 บาท / คน / ป ประเทศ B มี รายไดแ ทจ รงิ ตอ บคุ คล เทากบั ประเทศ A แสดงวาอยา งไร ก. ประเทศ A และประเทศ B เปนประเทศพฒั นาแลวเหมอื นกัน ข. ประเทศ A มรี ะดบั การพฒั นาเทา กบั ประเทศ B ถา ดชั นชี ว้ี ดั ความอยดู กี นิ ดี ของ 2 ประเทศ ใกลเ คยี งกนั ค. ประเทศ B มรี ะดบั การพฒั นาสงู กวา ประเทศ A ถา ประเทศ B มดี ลุ การชาํ ระเงนิ เกนิ ดลุ ง. ท้ังประเทศ A และประเทศ B เปน ประเทศกาํ ลังพฒั นาเหมือนกนั

เศรษฐศาสตร 182 หนังสือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม 6. นอกเหนือจากรายไดตอหัว ตอคน ตอปแลว ส่ิงสําคัญท่ีบงบอกถึงระดับ การพฒั นาของประเทศตางๆ คืออะไร ก. จาํ นวนประชากร ข. อาชีพของประชากร ค. คุณภาพประชากร ง. อตั ราการเพมิ่ ของประชากร 7. ขอใดไมใ ชส งิ่ บง บอกวา เปน ประเทศดอ ยพฒั นาหรือกาํ ลงั พฒั นา ก. รายไดต า่ํ ข. ประชากรสว นใหญเ ปนเกษตรกร ค. มคี วามแตกตา งกันมากเรอื่ งรายได 3บทท่ี ง. เศรษฐกิจของประเทศพ่งึ ตวั เองได 8. จุดเรมิ่ ตน ของวัฏจักรแหงความอยากจนอยูท่ใี ด ก. การลงทุนต่ํา ข. รายไดแ ทจ ริงตํา่ ค. ปจ จยั ทนุ มปี ระสิทธิภาพตา่ํ ง. ประสิทธภิ าพการผลิตต่าํ 9. ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจจะมีกระบวนการพัฒนาโดยเร่ิมตนและส้ินสุด อยา งไร ก. สาํ รวจภาวะเศรษฐกิจ - กาํ หนดเปาหมาย ข. สํารวจภาวะเศรษฐกจิ – ประเมนิ ผลการพฒั นา ค. กาํ หนดเปาหมาย – ปฏบิ ตั ิงานตามแผนพัฒนา ง. กาํ หนดเปา หมาย – ประเมนิ ผลการพฒั นาเศรษฐกจิ 10. ขอ ใดไมถูกตอง ก. ประเทศไทยไดประกาศใชแผนพัฒนาเศรษฐกิจหลังการเปล่ียนแปลง การปกครอง พ.ศ. 2475 ข. ประเทศไทยเริ่มใชแ ผนพัฒนาเศรษฐกจิ ครั้งแรกใน พ.ศ. 2504 ค. ประเทศไทยเรม่ิ ใชแ ผนพฒั นาเศรษฐกจิ ครง้ั แรกในสมยั จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต ง. แผนพัฒนาเศรษฐกิจแผนแรกของประเทศไทยเปนแผนที่มีระยะเวลา ยาวนานท่สี ุด 11. ระยะแรกของการใชแผนพัฒนาเศรษฐกจิ แหง ชาติ ฉบับท่ี 1 เนน ในเร่อื งใด ก. การพฒั นาสังคม ข. การผลิตสินคา สาํ เรจ็ รูป ค. การลงทุนปจจยั พ้ืนฐาน ง. การควบคมุ อตั ราเพิ่มประชากร

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย>> 183 12. ขอบกพรอ งของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 1 คืออะไร 3บทที่ ก. ขาดการลงทุนปจ จัยพ้นื ฐาน ข. ละเลยการพัฒนาชนบท เศรษฐศาสต ร ค. พัฒนาอตุ สาหกรรมมากกวาการเกษตร ง. ละเลยการพฒั นาทางดานสังคม 13. แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับใดทเ่ี ริม่ พฒั นาเศรษฐกจิ ควบคกู ับสังคม ก. ฉบบั ท่ี 1 ข. ฉบบั ที่ 2 ค. ฉบบั ท่ี 3 ง. ฉบบั ท่ี 4 14. ขอใดไมใชอุปสรรคของการดําเนินงานตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง ชาติ ฉบับท่ี 3 ก. สภาพดนิ ฟา อากาศแปรปรวน ข. ภาวะการคาและเศรษฐกิจโลกซบเซา ค. ดลุ การคาและดุลการชําระเงินของประเทศเกนิ ดลุ ง. การขน้ึ ราคานา้ํ มันของกลุม โอเปคทําใหเกิดภาวะเงินเฟอ 15. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตฉิ บบั ใดทม่ี งุ แกป ญ หาความยากจนใน ชนบทอยางจริงจงั ก. ฉบับท่ี 4 ข. ฉบบั ท่ี 5 ค. ฉบับท่ี 6 ง. ฉบบั ที่ 7 16. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาตฉิ บบั ใดทกี่ าํ หนดเปา หมายการลดอตั รา เพ่ิมประชากรเปนครง้ั แรก ก. ฉบบั ท่ี 3 ข. ฉบบั ที่ 4 ค. ฉบับที่ 5 ง. ฉบับท่ี 7 17. ขอใดไมไดอยูในเปาหมายการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ฉบบั ท่ี 6 ก. พัฒนาคณุ ภาพของทรพั ยากร ข. กําหนดอัตราเพิ่มประชากรไมเ กินรอ ยละ 1.2 ค. การผลิตสินคา เพอื่ การสง ออกไปแขงขันในตลาดโลก ง. การขยายตัวทางดา นการลงทนุ และดา นอตุ สาหกรรม

เศรษฐศาสตร 184 หนังสือเรียนสาระการพฒั นาสังคม 18. ขอ ใดไมใชจ ดุ เนนของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 7 ก. การกระจายรายไดไปสูภมู ิภาคมากขึน้ ข. การพัฒนาคุณภาพชวี ิต รักษาสง่ิ แวดลอมและทรพั ยากรธรรมชาติ ค. การขยายตวั ทางเศรษฐกจิ อยางตอเนื่องเหมาะสมและมเี สถยี รภาพ ง. การพฒั นาอุตสาหกรรมโดยใชวตั ถุดิบทางการเกษตรเพื่อพ่ึงตนเอง 19. การมุงพัฒนาประเทศใหเปนประเทศอุตสาหกรรมตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 1-7 ไดกอ ใหเกิดผลตอ สังคมไทยอยา งไร ก. รายไดต อ หัวของประชากรสงู ขน้ึ และกระจายไปสคู นสว นใหญอ ยา งท่ัวถงึ ข. ประชาชนไดรับการบริการพ้ืนฐานอยางเพียงพอและมีความเปนธรรม ในสงั คม 3บทท่ี ค. สังคมไดรับการพัฒนาทางวัตถุ ละเลยการพัฒนาทางจิตใจเกิดชองวาง ระหวางเมืองและชนบท ง. เกดิ เสถยี รภาพทางเศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง มาตรฐานการครองชีพ ของประชาชนสูงขนึ้ 20. เปา หมายหลกั ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 8 คอื อะไร ก. การกระจายรายไดท ่เี ปนธรรม ข. อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจสูงข้นึ ค. คุณภาพประชากร ง. การเปนประเทศอุตสาหกรรมชน้ั นาํ 

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 185 เรือ่ งที่ 5 สถาบนั การเงนิ และการธนาคาร การคลงั 3บทที่ ความหมายและความสาํ คญั ของเงิน เศรษฐศาสต ร เงิน (Money) หมายถึง อะไรกไ็ ดท ี่มนษุ ยน ํามาใชเปนสือ่ กลางในการแลกเปล่ียน แตต อ งเปน สง่ิ ทสี่ งั คมนนั้ ยอมรบั ในการชาํ ระหน้ี เชน คนไทยสมยั สโุ ขทยั ใชเ บย้ี หรอื เปลอื ก หอย เปนตน เงินอาจจะอยูในรปู ของโลหะ กระดาษ หนงั สัตว ใบไมก ็ได เงนิ ทด่ี จี ะ ตองมีลกั ษณะดังน้ี 1. เปนของมคี า และหายาก เงินจะตอ งเปนสิง่ ท่ีมปี ระโยชน และมีคา ในตวั ของมัน เอง เชน ทองคําและโลหะเงนิ 2. เปน ของทดี่ อู อกงา ย สามารถรไู ดว า เปน เงนิ ปลอมหรอื เงนิ จรงิ โดยไมต อ งอาศยั วธิ ี การทซ่ี บั ซอ นในการตรวจสอบ 3. เปน ของท่มี ีมลู คาคงตวั ไมเ ปลี่ยนแปลงมากนักแมเ วลาจะผา นไป 4. เปนของที่แบงออกเปนสวนยอยได และมูลคาของสวนท่ีแบงยอยๆ นั้น ไม เปลยี่ นแปลงและใชเ ปนสอ่ื กลางในการแลกเปลยี่ นได 5. เปนของทข่ี นยายสะดวก สามารถพกพาตดิ ตัวไปไดงาย 6. เปน ของทคี่ งทนถาวร เงินสามารถจะเกบ็ ไวไ ดน าน ไมแตกหกั งาย คําวา “เงนิ ” ในสมัยกอนใชโลหะทองคําและเงิน ตอมามีการปลอมแปลงกนั มาก จึงมีการประทับตรา เพ่ือรับรองนํ้าหนักและความบริสุทธ์ิของเงิน เงินที่ไดรับการประทับ ตรานจี้ ึงเรียกวา “เงินตรา” ความสําคัญของเงนิ เงนิ เปน สอ่ื กลางในการแลกเปลยี่ นทม่ี คี วามสาํ คญั ตอ ชวี ติ ประจาํ วนั ของมนษุ ยม าก เงินชวยอาํ นวยความสะดวกใหแ กม นษุ ย 3 ประการ คือ 1. ความสะดวกในการซอื้ ขาย ในสมยั โบราณมนษุ ยน าํ สงิ่ ของมาแลกเปลยี่ นกนั ทาํ ให เกิดความยุงยากในการแลกเปล่ียนเพราะความตองการไมตรงกัน หรือไมยุติธรรมเพราะ มลู คา ของสง่ิ ของไมเ ทา เทยี มกนั การนาํ เงนิ เปน สอื่ กลางทาํ ใหเ กดิ ความสะดวกในการซอื้ ขาย มากขึน้ 2. ความสะดวกในการวดั มลู คา เงนิ จะชว ยกาํ หนดมลู คา ของสง่ิ ของตา งๆ ซง่ึ สามารถ นาํ มาเปรียบเทียบกนั ได 3. ความสะดวกในการสะสมทรพั ยส นิ สนิ คา ทมี่ นษุ ยผ ลติ ไดบ างอยา งไมส ามารถเกบ็ ไวไดน านๆ แตเมือ่ แลกเปล่ยี นเปนเงิน สามารถท่ีจะเกบ็ ไวและสะสมใหเ พิ่มขึน้ ได

เศรษฐศาสตร 186 หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม สรุป เงิน หมายถงึ อะไรกไ็ ดทม่ี นุษยน ํามาใชเปนสอ่ื กลางในการแลกเปลีย่ นและ เปน สงิ่ ทส่ี งั คมนน้ั ยอมรบั เงนิ นอกจะมคี วามสาํ คญั ในแงข องสอื่ กลางในการแลกเปลย่ี น แลว ยงั ชวยอํานวยความสะดวกในการซื้อขายการวัดมลู คา และการสะสมทรัพยส ิน ประเภท และหนา ท่ีของเงิน ประเภทของเงิน เงินในปจ จบุ ันแบง ออกเปน 3 ประเภท ไดแก 3บทท่ี 1. เหรยี ญกษาปณ (Coinage) เปน เงนิ โลหะทสี่ ามารถชาํ ระหนไ้ี ดต ามกฎหมาย ใน ประเทศไทยผลิตโดยกรมธนารกั ษ กระทรวงการคลงั 2. เงนิ กระดาษหรอื ธนบตั ร (Paper Currency) เปน เงนิ ทสี่ ามารถชาํ ระหนไ้ี ดต าม กฎหมาย ในประเทศไทยผลติ โดยธนาคารแหงประเทศไทย 3. เงนิ เครดติ (Credit Money) ไดแ ก เงนิ ฝากกระแสรายวนั หรอื เงนิ ฝากทส่ี ง่ั จา ย โอนโดยใชเชค็ รวมท้งั บตั รเดรดติ ท่ีใชแ ทนเงินได การทสี่ งั คมยอมรบั วา ทง้ั 3 ประเภทเปน เงนิ (Money) เพราะวา มสี ภาพคลอ ง (Liquid- ity) สงู กวาสนิ ทรัพยอน่ื ๆ กลา วคือ สามารถเปลยี่ นเปน สินคาและบริการไดท ันที สวนสิน ทรัพยอ น่ื ๆ เชน เงนิ ฝากประจําเงินฝากออมทรัพย ต๋ัวแลกเงนิ พนั ธบตั รรฐั บาล มสี ภาพ คลองนอ ยกวา จงึ เรยี กวา เปน สนิ ทรัพยท่มี ลี ักษณะใกลเ คยี งกบั เงิน (Near Money) หนา ที่ของเงนิ เงินมีหนาทส่ี าํ คัญ 4 ประการ คอื 1. เปน มาตรฐานในการเทียบเทา (Standard of Value) มนษุ ยใชเ งนิ ในการ เทียบคา สินคาและบรกิ ารตา งๆ ทําใหการซื้อขายแลกเปลี่ยนสะดวกนนั้ 2. เปน สอื่ กลางในการแลกเปล่ยี น (Medium of Exchange) เงินทําหนา ทส่ี ื่อ กลางในการซือ้ ขายสนิ คาตา งๆ เพราะวาเงนิ มอี ํานาจซอื้ (Purchasing Power) ที่จะ ทําใหการซ้อื ขายเกิดขึน้ ไดท ุกเวลา 3. เปนมาตรฐานในการชาํ ระหนภี้ ายหนา การซ้ือแลกเปล่ยี นสินคา ภายในประเทศ และระหวางประเทศยอมเกิดหน้ีสินท่ีจะตองชําระ เงินเขามามีบทบาทในการเปนสัญญาท่ี จะตองชําระหน้ีนัน้ 4. เปน เครอ่ื งรกั ษามลู คา (Store of Value) เงนิ ทเ่ี กบ็ ไวจ ะยงั คงมลู คา ของสนิ คา และบรกิ ารไวไ ดอ ยา งครบถวนมากกวา การเก็บเปน ตัวของสินคา ซงึ่ อาจจะอยไู ดไมนาน

รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย>> 187 สรุป 3บทที่ เงนิ แบงออกเปน 3 ประเภท คอื เหรียญกษาปณ ธนบตั ร และเงินเครดติ เศรษฐศาสต ร เงนิ มหี นา ทส่ี าํ คญั ในดา นเปน มาตรฐานในการเทยี บคา เปน สอ่ื กลางในการแลกเปลย่ี น เปนมาตรฐานในการชาํ ระหน้ีภายหนา และเปน เครือ่ งรักษามลู คา วิวฒั นาการของเงิน ววิ ฒั นาการในดา นการแลกเปลยี่ นของมนษุ ยม ีดังน้ี 1. ระบบเศรษฐกิจที่ไมใชเงินตรา เปนการแลกเปลย่ี นโดยใชส ่ิงของกบั สง่ิ ของซ่ึง มีขอ ยงุ ยากและไมส ะดวกหลายประการ ไดแก 1.1 ความตองการไมตรงกันทง้ั ชนดิ และจาํ นวนของสินคา 1.2 ขาดมาตรฐานในการเทียบคา เพราะสง่ิ ของนําทน่ี าํ มาแลกเปลีย่ นมมี ูลคา ไมเทากนั 1.3 ยุง ยากในการเก็บรักษา การเก็บเปน สนิ คาเปลอื งเน้ือท่มี าก 2. ระบบเศรษฐกจิ ทีใ่ ชเงนิ ตรา มีวิวฒั นาการดงั นี้ 2.1 เงินทเ่ี ปน สง่ิ ของหรอื สินคา คอื การนําสง่ิ ของหรือสนิ คา บางอยา งมาเปน ส่อื กลาง เชน ลูกปด ผาขนสตั ว เปลือกหอย เปนตน ซึง่ เงินชนิดน้อี าจจะไมเหมาะสมใน ดา นความไมค งทน มมี าตรฐานและคุณภาพไมเหมอื นกัน ทําใหคา ไมม่นั คง ยุงยากในการ พกพาและแบงยอ ยไดย าก 2.2 เงนิ กษาปณ (Coinage) การนาํ โลหะมาเปน สอ่ื กลางในการแลกเปลยี่ นแต เดมิ ใชไ ปตามสภาพเดมิ ของแรน นั้ ๆ ยงั ไมร จู กั การหลอม ตอ มาไดม วี วิ ฒั นาการดขี นึ้ เรอื่ ยๆ มกี ารหลอม การตรวจสอบนํา้ หนกั และความบริสุทธิ์ หรือผสมโลหะหลายชนิดเขา ดว ยกนั 2.3 เงินกระดาษ (Paper Money) นิยมใชเปนส่ือกลางในการแลกเปล่ียน เพราะมีนาํ้ หนกั เบาพกพาสะดวก ประเทศแรกท่รี ูจักการใชเ งนิ กระดาษคอื ประเทศจนี 2.4 เงนิ เครดติ (Credit Money) เปน เงินที่เกดิ ขน้ึ ในสงั คมเศรษฐกิจสมยั ใหมท ม่ี รี ะบบธนาคารแพรห ลายเร็ว การใชเ งินชนิดนีก้ อใหเกิดความรวดเรว็ และปลอดภัย ในการแลกเปลย่ี น สาํ หรบั ประเทศไทยมีววิ ัฒนาการของเงนิ ประเภทตางๆ ดงั น้ี 1. เหรียญกษาปณ ประเทศไทยใชเงนิ เบ้ียเปนสื่อกลางในการแลกเปล่ียนมาต้งั แต สมัยสุโขทัยและใชมาถึงสมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยพระเจาอยูหัวบรมโกศเกิดการ ขาดแคลนเบ้ยี จงึ นําดินเผามาปนและตีตราประทับ เรยี กกวา “ประกบั ” ตอมาไดมีการ ทาํ เงนิ พดดวงขน้ึ ซึง่ ไดใชตอ มาถงึ สมยั รัชกาลที่ 4 แหง กรงุ รตั นโกสินทร เมอื งไทยเรา ทําการคากับตางประเทศมากข้ึนทําใหเกิดความขาดแคลนเงินพดดวง จึงไดจัดทําเงิน เหรยี ญข้ึนแทน ในสมัยรชั กาลท่ี 5 ไดจัดทําเหรียญสตางคขนึ้ เพ่อื สะดวกในการทาํ บัญชี

เศรษฐศาสตร 188 หนงั สือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม 2. ธนบัตร รัชกาลที่ 4 ไดมพี ระราชดาํ ริใหผลติ ธนบตั รข้ึนเรียกวา “หมาย” แต ไมแ พรหลายมากนักในสมยั รชั กาลท่ี 5 ไดประกาศใชพระราชบญั ญัตธิ นบัตร เม่ือวันที่ 24 มิถนุ ายน 2445 ดาํ เนนิ การออกธนบัตรโดยรัฐบาล ธนบัตรจึงแพรหลายตงั้ แตน ั้นมา สรุป การแลกเปลย่ี นของมนษุ ยม วี วิ ฒั นาการจากระบบเศรษฐกจิ ทไี่ มใ ชเ งนิ ตรามา เปน ระบบเศรษฐกจิ ทใ่ี ชเ งนิ ตรา สาํ หรบั ประเทศไทยใชเ งนิ เบย้ี เปน สอ่ื กลางในการแลก เปล่ียนมาต้ังแตสมัยสุโขทัย มาจนถึงการใชเหรียญสตางคในสมัยรัชกาลท่ี 5 สวน ธนบตั รมกี ารผลติ และประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ธิ นบตั รเปน ครง้ั แรกในสมยั รชั กาลท่ี 5 3บทท่ี ปริมาณและการหมนุ เวยี นของเงนิ 1. ปริมาณเงนิ ปรมิ าณเงนิ ในความหมายอยา งแคบ หมายถงึ ปรมิ าณของเหรยี ญกษาปณ ธนบตั ร และเงินฝากกระแสรายวนั รวมกันทัง้ หมดนาํ ออกใชห มุนเวียนอยใู นมอื ประชาชนขณะใด ขณะหนึง่ ปรมิ าณเงนิ ในความหมายอยา งกวา ง หมายถงึ ปรมิ าณของเหรยี ญกษาปณ ธนบตั ร และเงนิ ฝาก กระแสรายวนั รวมทง้ั เงนิ ฝากประจาํ และเงนิ ฝากออมทรพั ยใ นสถาบนั การเงนิ ทุกประเภท 2. การวดั ปริมาณเงิน ปริมาณเงินจะเปน เครอ่ื งช้ีบอกภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ในขณะใด ถาปริมาณเงนิ สงู ข้นึ อาํ นาจซื้อของประชาชนกจ็ ะสงู ขึน้ ถาปรมิ าณสนิ คาและ บรกิ ารไมเ พียงพอประชาชนจะแยงกันซ้ือและกกั ตุนสินคา ถาปริมาณเงนิ นอยลง อาํ นาจ ซ้ือของประชาชนก็จะลดลง สนิ คาจะลน ตลาด ผูผลิตอาจจะลดการผลติ สนิ คาลง หรอื อาจจะเกดิ การวางงานได 3. การหมุนเวยี นของเงินกบั กฎของเกรแชม การหมนุ วยี นของเงิน หมายถึง เงนิ ที่เราจับจายใชสอย เปล่ยี นมอื ไปเรื่อยๆ เซอรโ ทมสั เกรแชม ไดต ง้ั กฎทเ่ี รยี กวา กฎ ของเกรแชม (Greshan’s Law) กลา ววา ถาประชาชนใหค วามสาํ คญั แกเงินทกุ ชนิดเทา เทียมกันการหมุนเวียนของเงินก็จะไมติดขัด ถาขณะใดประชาชนเห็นวาเงินชนิดหน่ึงสูง กวาเงนิ อีกชนดิ หนง่ึ ประชาชนจะเก็บเงินท่ีมีคาสูงไวไมนําออกมาใชจายแตจะรบี นาํ เงินที่ มีคาตํ่ามาใช 4. คาของเงิน หมายถึง ความสามารถหรืออาํ นาจซ้อื ของเงนิ แตล ะชนดิ ท่จี ะซือ้ สินคาหรือบริการไดการวัดคาของเงินจะวัดดวยระดับราคาทั่วไปซ่ึงเปนราคาถัวเฉลี่ยของ สินคา และบริการ คา ของเงินจะเปล่ียนแปลงในทางเพ่มิ ข้ึนหรอื ลดลง ยอ มมผี ลกระทบตอ บุคคลกลมุ ตางๆ

รายวิชาสังคมศึกษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย>> 189 สรุป 3บทที่ ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจมีทั้งปริมาณเงินในความหมายอยางแคบและ เศรษฐศาสต ร ปรมิ าณเงนิ ในความหมายอยา งกวา ง ปรมิ าณเงนิ จะเปน เครอื่ งชบี้ อกภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศ การวัดวาเงินจะมคี าหรอื ไมว ัดดว ยระดับราคาทัว่ ไป หรอื ดัชนรี าคา สถาบันการเงนิ 1. ความหมายของสถาบันการเงิน สถาบันการเงินเปนตลาดเงิน (Financial Market) หรือแหลงเงินทุนใหผูท่ี ตองการลงทุนกูยืม เพอื่ นําไปดําเนินธรุ กจิ ตลาดการเงนิ มีทั้งตลาดการเงนิ ในระบบ ไดแก แหลง การเงนิ ของสถาบันการเงินตา งๆ กบั ตลาดการเงนิ นอกระบบ ซง่ึ เปนแหลงการกยู มื เงินระหวางบคุ คล เชน การจํานํา จํานอง เปนตน 2. ประเภทของสถาบนั การเงนิ สถาบันการเงนิ ที่สาํ คัญในประเทศไทย ไดแก 2.1 ธนาคารแหง ประเทศไทย เปน สถาบนั การเงนิ ทจี่ ดั ตงั้ ขนึ้ เพอ่ื รกั ษาเสถยี รภาพ ทางการเงินและเศรษฐกิจของประเทศ 2.2 ธนาคารพาณชิ ย เปน สถาบนั การเงนิ ทใี่ หญท ส่ี ดุ ของประเทศ เพราะมปี รมิ าณ เงนิ ฝากและเงนิ กมู ากท่สี ดุ เมอื่ เทียบกบั สถาบนั อื่นๆ 2.3 ธนาคารออมสิน เปน สถาบันการเงินของรฐั ทาํ หนาท่เี ปน สื่อกลางในการ ระดมเงินออมจากประชาชนสูรัฐบาล เพื่อใหหนวยงานของรัฐและวิสาหกิจกูไปใชในการ พฒั นาประเทศ 2.4 บริษทั เงินทุนและบริษัทหลักทรพั ย บริษทั เงินทนุ หมายถงึ บรษิ ทั จํากัดทไ่ี ดร บั อนุญาตจากรัฐมนตรวี าการกระทรวง การคลงั ใหป ระกอบกจิ การกยู มื หรอื รบั เงนิ จากประชาชน การใหก มู ที งั้ ระยะสน้ั และระยะยาว บรษิ ทั หลักทรพั ย หมายถึง บริษทั จาํ กดั ทีไ่ ดรบั อนุญาตจากรัฐมนตรกี ระทรวง การคลังใหประกอบธุรกิจหลักทรัพยประเภทใดประเภทหนึ่งหรือหลายประเภทก็ไดในดาน การเปนนายหนา การคา การใหค ําปรึกษาดานการลงทนุ เปน ตน 2.5 สถาบันการเงินเฉพาะอยาง 1. ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) เปนธนาคาร ของรฐั บาลจดั ตง้ั ขน้ึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคท จี่ ะใหค วามชว ยเหลอื ทางการเงนิ เพอื่ สง เสรมิ อาชพี หรอื การดาํ เนนิ งานของเกษตรกร กลมุ เกษตรกร หรอื สหกรณการเกษตร โดยใหเงินกทู งั้ ระยะสน้ั และระยะยาว 2. บรรษทั เงนิ ทนุ อตุ สาหกรรมแหง ประเทศไทย จดั ตงั้ ขนึ้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค ท่ีจะจัดหาทุน เพ่ือใหกูระยะยาวแกกิจการอุตสาหกรรม เพื่อสรางสินทรัพยถาวร เชน

เศรษฐศาสตร 190 หนงั สือเรียนสาระการพฒั นาสงั คม โรงงาน เคร่อื งจักร เครอื่ งมือ เปนตน และรบั ประกันเงินกลู ูกคาท่กี ูจากสถาบนั การเงิน ภายในและภายนอกประเทศดว ย 3. ธนาคารอาคารสงเคราะห เปน ธนาคารของรฐั บาล จดั ตง้ั ขนึ้ เพอื่ ดาํ เนนิ การสงเสรมิ ใหประชาชนมอี าคารและที่ดนิ เปนทอ่ี ยอู าศยั ท้งั การซ้อื ขาย ไถถ อน จาํ นอง รบั จาํ นาํ 4. บรษิ ทั ประกนั ชวี ติ และบรษิ ทั ประกนั ภยั เปน สถาบนั การเงนิ ทดี่ าํ เนนิ การ รับประกันภัยใหกับผูอื่นโดยไดรับเบ้ียประกันตอบแทน ถาเปนการประกันภัยอันเกิดกับ ทรัพยส ินเรียกวา การประกนั วนิ าศภยั 5. สหกรณก ารเกษตร เปน สถาบนั การเงนิ ทต่ี ง้ั ขน้ึ เพอ่ื ใหเ กษตรกรรว มมอื กนั ชว ยเหลือในการประกอบอาชพี ของเกษตรกร 3บทที่ 6. สหกรณอ อมทรพั ย เปนสถาบันทีร่ บั ฝากเงนิ และใหส มาชกิ กูยืมโดยคดิ ดอกเบย้ี มีผูถอื หนุ เปนสมาชิก 7. บรษิ ทั เครดติ ฟองซเิ อร เปน สถาบนั ทรี่ ะดมเงนิ ทนุ ดว ยการออกตว๋ั สญั ญา ใชเงินและนาํ มาใหประชาชนกูยมื เพือ่ ซื้อที่ดินและสรา งทอี่ ยูอ าศัย 8. โรงรับจํานํา เปนสถาบันการเงินที่เล็กที่สุด มีจุดมุงหมายที่จะให ประชาชนกยู มื โดยการรับจํานาํ สงิ่ ของ 3. การวัดความสาํ คัญของสถาบันการเงนิ สถาบนั การเงนิ แตล ะประเภททาํ หนา ทร่ี ะดมเงนิ ออมจากประชาชนใหผ ตู อ งการ เงนิ ทนุ กยู มื มากนอยแตกตา งกันไป สถาบันการเงนิ มคี วามสาํ คญั วดั ไดม าก 1. ความสามารถในการระดมเงนิ ออม การระดมเงนิ ออมโดยวธิ รี บั ฝากเงนิ ของ สถาบันการเงินแตละแหงจะแตกตางกันไป ในประเทศไทยธนาคารพาณิชยสามารถระดม เงนิ ออมไดม ากทีส่ ดุ 2. ความสามารถในการใหกูยืมเงิน ธนาคารพาณิชยเ ปนสถาบันการเงนิ ทใี่ หกู เงินแกประชาชนมากท่ีสุด รองลงมาคือบริษัทเงินทุน และทั้งสองสถาบันยังมีอัตราการ ขยายตัวของการใหก ูในแตล ะปสงู ดวย 3. ยอดรวมของสินทรัพย ธนาคารพาณิชย เปนสถาบันท่ีมียอดรวมของ สินทรัพยม ากท่ีสุดรองลงมาคือธนาคารออมสิน และบริษทั เงินทุน 4. ความสําคัญดานการพัฒนาเศรษฐกิจ สถาบันการเงินประเภทธนาคารและ บรษิ ทั เงนิ ทนุ เปน สถาบนั ทเ่ี ปน กาํ ลงั สาํ คญั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ไทย เพราะทาํ หนา ทรี่ ะดม เงนิ ออม ใหกแู กผลู งทนุ และเปน แหลงเงนิ กูของรัฐบาล

รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค31001) <<ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย>> 191 การคลัง 3บทที่ ความหมายและความสําคัญของเศรษฐกจิ ภาครัฐบาล เศรษฐศาสต ร หรือคลงั รัฐบาล (Public Economy) ความหมายของเศรษฐกจิ ภาครัฐบาล เศรษฐกิจภาครัฐบาล (Public Economy) หมายถึง การศึกษากิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ของภาครฐั บาลในดานรายได รายจาย นโยบายท่รี ัฐกําหนดโครงสรางของรายได รายจา ยและการกอ หนส้ี าธารณะตลอดจนผลกระทบจากการจดั เกบ็ รายไดแ ละการใชจ า ยเงนิ ของรฐั เพอ่ื ดาํ เนนิ กจิ กรรมทางดา นเศรษฐกจิ ทม่ี ผี ลตอ เศรษฐกจิ สงั คมและการเมอื ง เพอื่ ใหบรรลวุ ตั ถุประสงคดา นเศรษฐกจิ ของประเทศ ไดแ ก การมีงานทําการมีรายได การรกั ษา เสถยี รภาพของราคาและดลุ การชาํ ระเงนิ การผลกั ดนั ใหร ะบบเศรษฐกจิ มคี วามมนั่ คง เปน ตน ริชารด อาร มัสเกรฟ กลาววา การศึกษาเศรษฐกิจภาครัฐบาลเพื่อตอบสนอง วตั ถปุ ระสงคทางเศรษฐกจิ 4 ประการ คือ 1. เพื่อจัดสรรทรัพยากรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและตอบสนองความ ตองการของสงั คม 2. เพ่ือการกระจายรายไดในสังคมที่มีความแตกตางกัน ลดชองวางระหวาง คนรวยและคนจน 3. เพอื่ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ ประชาชนมงี านทําและมีรายได 4. เพื่อรักษาเสถียรภาพดานเศรษฐกิจ แกปญหาการวางงาน รักษาระดับ ดลุ การชาํ ระเงินไมใหข าดดุลและรกั ษาระดบั ราคาสินคาไมใ หส ูงข้ึน เศรษฐกจิ ภาครัฐบาล กค็ ือ คลังรฐั บาล ซึง่ หมายถึง การแสวงหารายไดและการ ใชจา ยเงินของรฐั บาลตามงบประมาณแผนดินประจาํ ป ความสําคญั ของเศรษฐกจิ ภาครฐั บาล นบั ต้ังแตศตวรรษท่ี 18 เปนตน มา นักเศรษฐศาสตรม คี วามเชื่ออยา งแพรหลาย วา รฐั บาลไมควรแทรกแซงกจิ กรรมทางเศรษฐกิจ แตค วรมีหนาที่ 3 ประการคอื หนา ท่ีใน การปองกันประเทศ หนาท่ีรักษาความสงบและความยุติธรรมในประเทศ และใหบริการ สาธารณะบางอยาง เชน การศกึ ษา สาธารณสขุ เสนทางคมนาคม เปน ตน ท่เี ปน เชน น้ี เพราะนักเศรษฐศาสตรเหลานั้นมีความเชื่อวาถาบุคคลแตละคนสามารถจะตัดสินใจทํา กจิ กรรมตางๆ ซ่ึงจะเปนประโยชนส งู สุดแกต นเอง ยอมจะกอ ใหเ กิดประโยชนสูงสุดตอ สงั คมดว ยแตน ับตั้งแตศ ตวรรษที่ 19 เปน ตน มา นักเศรษฐศาสตรบ างกลุมเริ่มมองเห็น วา การปลอ ยใหร ะบบเศรษฐกจิ ดาํ เนนิ ไปอยา งเสรโี ดยรฐั บาลไมแ ทรกแซงนนั้ กอ ใหเ กดิ ปญ หา บางประการ เชน ปญหาการวา งงาน ปญหาเศรษฐกจิ ตกต่ํา จงึ เกดิ ความคิดวา รฐั บาลนา จะเขา มามบี ทบาทในกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เพอ่ื แกไ ขปญ หาตา งๆ ขจดั การเอารดั เอาเปรยี บ ระหวางกลมุ เศรษฐกจิ ตา งๆ สงเสรมิ การผลติ สินคาและบริการทเี่ ปนประโยชนต อสว นรวม ควบคมุ การผลติ สนิ คา และบรกิ ารทก่ี อ ใหเ กดิ โทษตอ สงั คม การแทรกแซงของรฐั บาลจะชว ย

192 หนงั สอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม เศรษฐศาสตร รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกจิ ไมใ หเกิดภาวะเงินเฟอหรือเงินฝด และการวางงาน เครอื่ ง มอื สาํ คญั ในการดาํ เนินงานของรัฐบาล คือ นโยบายการคลงั (Fiscal Policy) เศรษฐกจิ ภาครฐั บาลไมวา จะเปน เรือ่ งการจัดเกบ็ รายได การกอ หนี้สาธารณะ การ ใชจ า ยเงนิ จากภาครฐั สภู าคเอกชนลว นมผี ลกระทบตอ การผลติ การบรโิ ภค และการจา งงาน โดยเฉพาะในประเทศดอยพฒั นาเศรษฐกิจภาครัฐบาลมคี วามสาํ คญั มากเพราะ 1. รัฐบาลประเทศตางๆ มภี าระหนาทไ่ี มเ พียงแตก ารบริหารประเทศเทา น้ัน รัฐยงั ตองพัฒนาเศรษฐกจิ ในทุกๆ ดาน ซ่งึ ตองใชจ ายเงินจํานวนมาก 2. การหารายไดจากภาษีอากร การใชจายเงินและการกูเงินของรัฐบาลผลกระทบ ตอกจิ กรรมทางเศรษฐกิจในดา นการผลิต การบริโภค การแลกเปล่ียน และการกระจาย รายได 3บทท่ี ดงั นน้ั การคลงั จงึ มคี วามสาํ คญั ในการดาํ เนนิ งานของรฐั บาลเพราะรฐั บาลจะใชก าร คลังควบคมุ ภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศดวยวธิ กี ารดังตอ ไปน้ี 1. สงเสริมการจัดสรรทรัพยากรของสงั คม (Allocation Function) ใหเปน ไป อยา งมปี ระสิทธิภาพ เนื่องจากทุกประเทศประสบปญหาทรัพยากรมีจํากัด จึงเกดิ ปญหาวา จะจัดสรรทรัพยากรของสังคมอยางไรจึงจะสามารถตอบสนองความตองการของประชาชน ไดดี นโยบายการคลงั จงึ มบี ทบาทสําคัญในการกาํ หนดการจดั สรรทรพั ยากรระหวางภาครัฐ กบั ภาคเอกชนใหเปน ไปในสดั สว นทีท่ าํ ใหสงั คมไดรับประโยชนส ูงสุด 2. สง เสรมิ การกระจายรายไดทเี่ ปน ธรรม (Distribution Function) นโยบาย การคลงั ของรฐั บาลจงึ มวี ตั ถปุ ระสงคท จ่ี ะใหเ กดิ ความเปน ธรรมในการไดร บั ประโยชนแ ละรบั ภาระรายจายของรัฐบาล 3. การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของสังคม (Stabilization Function) รฐั บาลจะตอ งควบคมุ และดแู ลใหเ ศรษฐกจิ ของสงั คมเปน ไปดว ยความราบรนื่ ดว ยการรกั ษา ระดบั การจา งงานใหอ ยใู นอตั ราสงู ระดบั ราคาสนิ คา และบรกิ ารมเี สถยี รภาพ รวมทงั้ อตั ราการ เจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) อยใู นระดบั ทนี่ าพอใจ รัฐบาลจึงใชนโยบายการคลังในการควบคุมดูแลตลอดจนแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น ในระบบเศรษฐกิจเพือ่ ใหระบบเศรษฐกิจของประเทศคงไวซ ึ่งเสถยี รภาพ ตารางแสดงความแตกตางระหวางการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชน และภาครัฐบาล การดาํ เนินกิจกรรม ภาคเอกชน ภาครฐั บาล มีวัตถุประสงคเพ่ือประโยชน 1. วัตถุประสงคและ เพอื่ แสวงหาผลกําไรและ ของสาธารณชน จดุ มุง หมาย ประโยชนสว นตวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook